พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : ทาน (การให)้ การให้ทานอนั เปน็ อรยิ ะ (นัยท่ี ๓) 78 -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๔๔๔/๖๙๑. ภิกษุ ! เปรียบเหมือนประทีปนำ้ �มัน เพราะอาศัย นำ้ �มนั และไสแ้ ลว้ จงึ ลกุ โพลงอยไู่ ด้ เมอ่ื หมดนำ้ �มนั และหมดไส้ พรอ้ มกบั ไมเ่ ตมิ นำ้ �มนั และไสอ้ กี ยอ่ มเปน็ ประทปี หมดเชอ้ื แลว้ ดบั ไป ภกิ ษ ุ! ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั บคุ คลนน้ั เมอ่ื เสวยเวทนามกี าย เปน็ ทส่ี ดุ รอบ ยอ่ มรชู้ ดั วา่ เราเสวยเวทนามกี ายเปน็ ทส่ี ดุ รอบ เมอ่ื เสวยเวทนามชี วี ติ เปน็ ทส่ี ดุ รอบ ยอ่ มรชู้ ดั วา่ เราเสวยเวทนา มชี วี ติ เปน็ ทสี่ ดุ รอบ และยอ่ มรชู้ ดั วา่ เวทนาทงั้ ปวง อนั เราไม่ เพลิดเพลินแล้ว จักเป็นของเย็นในอัตภาพน้ีน่ันเทียว จน กระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิตเพราะการแตกทำ�ลายแห่งกาย ดังนี้ เพราะเหตนุ ้นั ผูถ้ ึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างน้ี ชือ่ ว่า เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญาอนั เปน็ ธรรมทค่ี วรตงั้ ไวใ้ นใจเปน็ อยา่ งยง่ิ ด้วยประการอย่างนี้ ก็ปญั ญาน้ี คอื ความรูใ้ นความสิน้ ทกุ ข์ทัง้ ปวง เปน็ ปญั ญาอนั ประเสรฐิ ยง่ิ ความหลดุ พน้ ของเขานน้ั จดั วา่ ตงั้ อยู่ ในสจั จะ เปน็ คณุ ไมก่ ำ�เรบิ ภกิ ษ ุ !เพราะสง่ิ ทเี่ ปลา่ ประโยชน์ เป็นธรรมดานั้นเท็จ ส่วนส่ิงที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ไดแ้ กน่ พิ พานนน้ั จรงิ ฉะนนั้ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยสจั จะอยา่ งนช้ี อื่ ว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อย่างย่ิงดว้ ยประการอยา่ งน้ี 183
พุทธวจน - หมวดธรรม ก็สัจจะน้ี คือ นิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็น ธรรมดา เป็นสจั จะอนั ประเสรฐิ ยิง่ อน่ึง บคุ คลนัน้ แล ยงั ไม่ ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพร่ังพร้อมสมาทานอุปธิเข้าไว้ อปุ ธเิ หลา่ นนั้ อนั เขาละไดแ้ ลว้ ถอนรากขน้ึ แลว้ ทำ�ใหเ้ หมอื น ตาลยอดดว้ นแลว้ ถงึ ความเปน็ อกี ไมไ่ ด้ มคี วามไมเ่ กดิ ตอ่ ไป เป็นธรรมดา เพราะฉะน้ัน ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างน้ี ชอ่ื ว่า เป็นผถู้ งึ พร้อมดว้ ยจาคะ (การบรจิ าค) อนั เป็นธรรม ควรต้งั ไว้ในใจอยา่ งยิ่งด้วยประการอย่างน้ี ก็จาคะน้ี คือความสลัดคืนซง่ึ อุปธิทั้งปวง เป็นจาคะ อันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคลน้ันแลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีความโลภ (อภิชฌา) ความพอใจ (ฉันทะ) ราคะกล้า (สาราคะ) ความอาฆาต (อาฆาตะ) ความพยาบาท (พยาปาทะ) ความคิดประทุษร้าย (สัมปะโทโส) ความไม่รู้ (อวิชชา) ความหลงพร้อม (สัมโมโห) ความหลงงมงาย (สัมปะโมโห) อกุศลธรรมนั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากข้ึนแล้ว ท�ำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มี ความไมเ่ กดิ ตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา เพราะฉะนนั้ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ย ความสงบอยา่ งนช้ี อื่ วา่ เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยอปุ สมะ (ความสงบ) อนั เป็นธรรมควรต้งั ไว้ในใจอย่างยง่ิ ประการน้ี 184
เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ทาน (การให)้ กอ็ ปุ สมะน้ี คือ ความเขา้ ไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็นอุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง ข้อท่ีเรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสจั จะ พงึ เพ่มิ พนู จาคะ พงึ ศกึ ษาสนั ตเิ ท่านนั้ นัน่ เราอาศัยเนอ้ื ความนกี้ ลา่ วแลว้ . 185
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ทาน (การให)้ สง่ิ ท่ปี ระเสรฐิ กว่าทาน 79 -บาลี สคาถ. สํ. ๑๕/๓๐/๑๐๑. ก็การให้ทานด้วยศรทั ธา อันบณั ฑติ สรรเสริญแลว้ โดยสว่ นมาก กแ็ ต่บทแห่งธรรม (นิพพาน) นน้ั แหละ ประเสริฐกวา่ การให้ทานทั้งหลาย เพราะวา่ สัปบุรษุ ท้ังหลายผมู้ ีปัญญา ในกาลกอ่ นกด็ ี ในกาลก่อนกว่ากด็ ี บรรลซุ ่งึ นิพพานแล้ว. 186
ภาคผนวก
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ทาน (การให)้ เจริญเมตตาจติ มีผลมากกว่าใหท้ าน 80 -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๓๐๘/๖๖๗. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ผใู้ ดพงึ ใหท้ านประมาณ ๑๐๐ หมอ้ ใหญ่ในเวลาเช้า ผู้ใดพึงให้ทานประมาณ ๑๐๐ หม้อใหญ่ ในเวลาเที่ยง ผู้ใดพึงให้ทานประมาณ ๑๐๐ หม้อใหญ่ใน เวลาเยน็ ผใู้ ดพงึ เจรญิ เมตตาจติ ในเวลาเชา้ โดยทสี่ ดุ แมเ้ พยี ง ช่ัวการหยดนำ้� นมแหง่ แมโ่ ค หรือผู้ใดพึงเจริญเมตตาจิตใน เวลาเที่ยง โดยที่สุดแม้เพียงชั่วการหยดน�้ำนมแห่งแม่โค หรือผู้ใดพึงเจริญเมตตาจิตในเวลาเย็น โดยที่สุดแม้เพียง ชั่วการหยดน�้ำนมแห่งแม่โค การเจริญเมตตาจิตนี้มีผล มากกว่าทานท่บี ุคคลให้แล้ว ๓ คร้งั ในวนั หนงึ่ น้นั เพราะเหตนุ น้ั ในเรอืิ่ งน้ี เธอทงั้ หลายพงึ ศกึ ษาอยา่ งนี้ วา่ เราจกั เจรญิ เมตตาเจโตวมิ ตุ ติ กระทำ� ใหม้ าก กระทำ� ใหเ้ ปน็ ดจุ ยานทเี่ ทยี มดแี ลว้ กระทำ� ใหเ้ ปน็ ของทอี่ าศยั ได้ กระทำ� ให้ มน่ั คง ประพฤตสิ ง่ั สมเนอื งๆ ปรารภสมำ�่ เสมอดว้ ยด.ี ภิกษทุ ัง้ หลาย ! เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างน้ีแล. 188
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ทาน (การให้) ผลของการเจรญิ เมตตา 81 -บาลี นิทาน. ส.ํ ๑๖/๓๐๘/๖๖๘-๙. ภิกษุท้ังหลาย ! หอกมีใบอันคม ถ้าบุรุษพึงมา กลา่ ววา่ เราจกั งอเขา้ จกั พบั จกั มว้ นซงึ่ หอกมใี บอนั คมนดี้ ว้ ย ฝา่ มอื หรอื ดว้ ยกำ� มอื ดงั นี้ เธอจะสำ� คญั ความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บุรษุ นั้นเป็นผสู้ ามารถเพ่อื จะงอเข้า เพอื่ จะพับ เพอื่ จะมว้ น ซง่ึ หอกมใี บอนั คมโนน้ ดว้ ยฝา่ มอื หรอื ดว้ ยกำ� มอื ไดห้ รอื หนอ. เปน็ ไปไมไ่ ด้ พระเจ้าข้า. ข้อนน้ั เพราะเหตุไร. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ เพราะวา่ การทจ่ี ะงอเขา้ จะพบั และจะมว้ น ซง่ึ หอกมใี บอนั คมดว้ ยฝา่ มอื หรอื ดว้ ยก�ำ มอื กระท�ำ ไมไ่ ดง้ า่ ย กแ็ หละบรุ ษุ นน้ั พงึ เปน็ ผมู้ สี ว่ นแหง่ ความเหนด็ เหนอ่ื ยล�ำ บากถา่ ยเดยี ว. ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อภิกษุใดเจริญ เมตตาเจโตวมิ ตุ ติ กระทำ� ใหม้ าก กระทำ� ใหเ้ ปน็ ประดจุ ยาน กระท�ำให้เป็นท่ีต้ังอาศัยให้ม่ันคง สั่งสม ปรารภด้วยดี ถ้า อมนุษย์จะพงึ กระท�ำจิตของภกิ ษนุ น้ั ใหฟ้ งุ้ ซา่ น อมนษุ ย์นนั้ พึงเป็นผู้มีส่วนแห่งความเหน็ดเหน่ือย ล�ำบากถ่ายเดียว เพราะเหตุนั้นในเรื่องน้ี เธอทง้ั หลายพงึ ศกึ ษาอย่างนวี้ ่า เรา จกั เจริญเมตตาเจโตวมิ ตุ ติ กระทำ� ใหม้ าก กระทำ� ใหเ้ ป็นดจุ ยานที่เทียมดีแล้ว กระท�ำให้เป็นของท่ีอาศัยได้ กระท�ำให้ มั่นคง ประพฤติสั่งสมเนืองๆ ปรารภสม่ำ� เสมอด้วยด.ี ภิกษุทงั้ หลาย ! เธอทั้งหลายพงึ ศกึ ษาอย่างนี้แล. 189
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ทาน (การให้) วธิ ีการเจรญิ เมตตา 82 และการเจรญิ พรหมวิหาร -บาลี มู. ม. ๑๒/๕๑๔/๔๘๒. -บาลี อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๓๐๙/๑๖๐. -บาลี เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๗๐/๒๒๒. เธอพงึ ศกึ ษาอยา่ งนว้ี า่ จติ ของเราจกั ตง้ั มน่ั ดำ� รงอยู่ ด้วยดีในภายใน และธรรมอันเป็นบาปอกุศลท่ีเกิดข้ึนแล้ว จกั ไมค่ รอบงำ� จติ ได้ เมอื่ ใด จติ ของเธอเปน็ จติ ตง้ั มน่ั ดำ� รงอยู่ ดว้ ยดแี ลว้ ในภายใน และธรรมอนั เปน็ บาปอกศุ ลทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ไมค่ รอบงำ� จติ ได้ เมอ่ื นน้ั เธอพงึ ศกึ ษาอยา่ งนวี้ า่ เราจกั เจรญิ กระท�ำให้มากซ่ึงเมตตาเจโตวิมุตติ กรุณาเจโตวิมุตติ มุทิตาเจโตวิมุตติ อุเบกขาเจโตวิมุตติ ท�ำให้เป็นดุจยาน ทำ� ใหเ้ ปน็ ทต่ี ง้ั ใหม้ น่ั คง สงั่ สม ปรารภดแี ลว้ . เมื่อเธอพจิ ารณาเห็นตนบรสิ ุทธิ์ พ้นแลว้ จากบาป- อกศุ ลทเี่ กิดข้นึ ปราโมทย์ก็เกดิ เมอ่ื เธอเกิดปราโมทย์แล้ว ปีติกเ็ กดิ เมอ่ื เธอมีใจประกอบดว้ ยปีตแิ ล้ว กายก็สงบรำ� งบั ผู้มีกายสงบร�ำงับย่อมเสวยสุข จิตของผู้มีสุขย่อมต้ังมั่น เปน็ สมาธ.ิ 190
เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ทาน (การให)้ เธอ มีจิตประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศท่ีหน่ึง ทศิ ทส่ี อง ทสี่ าม ทสี่ ่ี กเ็ หมอื นอยา่ งนน้ั ทงั้ เบอ้ื งบน เบอ้ื งลา่ ง และเบอ้ื งขวาง เธอแผไ่ ปตลอดโลกทงั้ สนิ้ ในทท่ี งั้ ปวง แกส่ ตั ว์ ทงั้ หลายทวั่ หนา้ เสมอกนั ดว้ ยจติ อนั ประกอบดว้ ยเมตตา เปน็ จติ ไพบูลย์ ใหญ่หลวง ไม่มปี ระมาณ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แลว้ แลอย.ู่ มีจิตประกอบด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศที่หนึ่ง ทิศ ท่ีสอง ทสี่ าม ที่สี่ กเ็ หมือนอยา่ งนั้น ทั้งเบอื้ งบน เบอ้ื งล่าง และเบอ้ื งขวาง เธอแผไ่ ปตลอดโลกทง้ั สน้ิ ในทท่ี งั้ ปวง แกส่ ตั ว์ ทง้ั หลายทว่ั หนา้ เสมอกนั ดว้ ยจติ อนั ประกอบดว้ ยกรณุ า เปน็ จติ ไพบูลย์ ใหญห่ ลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไม่มเี วร ไม่มีพยาบาท แล้วแลอยู่. มีจิตประกอบด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศท่ีหนึ่ง ทิศ ที่สอง ทีส่ าม ท่สี ่ี ก็เหมอื นอยา่ งนั้น ท้ังเบือ้ งบน เบอื้ งลา่ ง และเบอื้ งขวาง เธอแผไ่ ปตลอดโลกทงั้ สน้ิ ในทท่ี งั้ ปวง แกส่ ตั ว์ ทง้ั หลายทว่ั หนา้ เสมอกนั ดว้ ยจติ อนั ประกอบดว้ ยมทุ ติ า เปน็ จติ ไพบลู ย์ ใหญ่หลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไม่มเี วร ไมม่ พี ยาบาท แลว้ แลอยู่. 191
พทุ ธวจน - หมวดธรรม มีจิตประกอบด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศที่หน่ึง ทิศ ท่ีสอง ทส่ี าม ทีส่ ี่ กเ็ หมือนอย่างน้นั ท้ังเบือ้ งบน เบือ้ งลา่ ง และเบอ้ื งขวาง เธอแผไ่ ปตลอดโลกทง้ั สน้ิ ในทที่ ง้ั ปวง แกส่ ตั ว์ ทง้ั หลายทวั่ หนา้ เสมอกนั ดว้ ยจติ อนั ประกอบดว้ ยอเุ บกขา เปน็ จิตไพบลู ย์ ใหญห่ ลวง ไม่มปี ระมาณ ไมม่ ีเวร ไมม่ พี ยาบาท แลว้ แลอยู่. สระโบกขรณี มนี �้ำใสจืด เยน็ สะอาด มีทา่ อนั ดี นา่ ร่นื รมย์ ถา้ บรุ ษุ มาแตท่ ิศตะวนั ออก ทศิ ตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต้ และจากท่ีไหนๆ อันความร้อนแผดเผา เร่าร้อน ลำ� บาก ระหาย อยากดม่ื น้ำ� เขามาถึงสระโบกขรณนี ้นั แลว้ ก็บรรเทาความอยากดม่ื นำ�้ และความกระวนกระวายเพราะ ความร้อนเสียได้ แม้ฉันใด เธอมาถึงธรรมวินัย ท่ีตถาคต ประกาศแลว้ เจรญิ เมตตา กรณุ า มทุ ติ า และอเุ บกขาอยา่ งนน้ั ยอ่ มไดค้ วามสงบจติ ณ ภายใน กฉ็ นั นนั้ เหมอื นกนั เรากลา่ ววา่ เป็นผ้ปู ฏิบัตขิ อ้ ปฏิบตั อิ ันดีย่ิง. เปรียบเหมือนคนเป่าสังข์ผู้มีก�ำลัง ย่อมเป่าสังข์ให้ ได้ยินได้ทั้งสี่ทิศโดยไม่ยาก ฉันใด ในเมตตาเจโตวิมุตติ กรุณาเจโตวิมุตติ... มุทิตาเจโตวิมุตติ... อุเบกขาเจโต- วมิ ุตติ... ท่ีเจริญแลว้ อยา่ งน้ี กรรมชนิดท่ที �ำอย่างมีขีดจ�ำกดั ย่อมไมม่ เี หลอื อยู่ ไม่ตง้ั อยูใ่ นนั้น ก็ฉันนน้ั . 192
เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ทาน (การให)้ เมื่อใดเธอเจริญสมาธนิ ้อี ยา่ งน้ี เจรญิ ดแี ล้ว เมือ่ นัน้ เธอจกั เดนิ ไปทางใดๆ กจ็ กั เดนิ เปน็ สขุ ในทางนนั้ ๆ ยนื อยใู่ น ทใ่ี ดๆ ก็จักยนื เปน็ สขุ ในท่นี นั้ ๆ นง่ั อยใู่ นท่ีใดๆ กจ็ ักนงั่ อยู่ เปน็ สขุ ในทนี่ น้ั ๆ นอนอยทู่ ใ่ี ดๆ กจ็ กั นอนเปน็ สขุ ในทนี่ นั้ ๆ. เม่ือเมตตาเจโตวิมุตติอันบุคคลเสพมาแต่แรก ให้ เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ท�ำให้เป็นดุจยานที่เทียมดีแล้ว ทำ� ใหเ้ ปน็ ทตี่ งั้ ประพฤตสิ งั่ สมเนอื งๆ ปรารภสมำ�่ เสมอดแี ลว้ พงึ หวังอานสิ งส์ ๑๑ อยา่ ง คอื (1) หลบั เป็นสขุ (๒) ตนื่ เปน็ สขุ (๓) ไม่ฝนั รา้ ย (๔) เป็นท่ีรักของพวกมนษุ ย์ (๕) เป็นที่รักของพวกอมนษุ ย์ (๖) เทวดารกั ษา (๗) ไฟกด็ ี ยาพษิ กด็ ี ศสั ตราก็ดี ไม่ต้องบคุ คลน้ัน (๘) จิตตั้งม่ันไดร้ วดเร็ว (๙) สีหน้าผดุ ผอ่ ง (๑๐) ไม่หลงท�ำกาละ (11) เมอื่ ยงั ไมบ่ รรลุคณุ วเิ ศษทย่ี ่ิงขึ้นไป ยอ่ มเกดิ ในพรหมโลก เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อนั บุคคลเสพมาแตแ่ รก ให้ เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ท�ำให้เป็นดุจยานที่เทียมดีแล้ว ทำ� ใหเ้ ปน็ ทต่ี งั้ ประพฤตสิ งั่ สมเนอื งๆ ปรารภสมำ�่ เสมอดแี ลว้ พงึ หวังอานิสงส์ ๑๑ อยา่ งน้แี ล. 193
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ทาน (การให้) การรับทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม หรอื 83 การรบั ท่เี ป็นธรรม -บาลี ปรวิ าร. ว.ิ ๘/๔๙๕/๑๑๗๓. อุบาลี ! การรับที่ไม่เป็นธรรม (อธัมมิกา ปฏิคคห) มี ๕ อย่าง คอื (1) ของเขาใหด้ ว้ ยกาย ไม่รบั ด้วยกาย (2) ของเขาใหด้ ว้ ยกาย ไมร่ บั ดว้ ยของเนอ่ื งดว้ ยกาย (3) ของเขาใหด้ ว้ ยของเนอ่ื งดว้ ยกาย ไมร่ บั ดว้ ยกาย (4) ของเขาให้ดว้ ยของเนือ่ งดว้ ยกาย ไม่รับดว้ ยของเนอ่ื งดว้ ยกาย (5) ของเขาให้ดว้ ยโยนให้ ไม่รับดว้ ยกาย หรอื ด้วยของเนือ่ งด้วยกาย อบุ าล ี ! เหลา่ นแ้ี ล การรบั ทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม ๕ อยา่ ง. อุบาล ี ! การรบั ท่เี ปน็ ธรรม (ธมฺมกิ า ปฏคิ คห) มี ๕ อยา่ ง คือ (1) ของเขาใหด้ ว้ ยกาย รับดว้ ยกาย (2) ของเขาใหด้ ว้ ยกาย รับด้วยของเนื่องด้วยกาย (3) ของเขาให้ดว้ ยของเนื่องดว้ ยกาย รับด้วยกาย 194
เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ทาน (การให้) (4) ของเขาให้ด้วยของเนื่องดว้ ยกาย รับดว้ ยของเน่อื งด้วยกาย (5) ของเขาให้ดว้ ยโยนให้ รบั ด้วยกายหรือดว้ ยของเนอื่ งด้วยกาย อุบาลี ! เหลา่ นี้แล การรบั ทเ่ี ปน็ ธรรม ๕ อย่าง. 195
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ทาน (การให)้ การเก่ยี วขอ้ งกับเงินทองของภกิ ษุ 84 -บาลี มหาว.ิ ว.ิ ๒/๕๔/๗๐., -บาลี มหาวิ. ว.ิ ๒/๙๐,๙๔,๙๙/๑๐๕,๑๑๐,๑๑๓., -บาลี มหา. ว.ิ ๕/๑๒๐/๘๕., สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๐๑/๖๒๕. วินัยบัญญัติ ทมี่ าในสิกขาบทปาตโิ มกข์ อน่ึง ภกิ ษใุ ด รบั ก็ดี ให้รบั ก็ดี ซง่ึ ทองเงิน หรอื ยินดี ทองเงนิ อนั เขาเก็บไว้ให้ก็ดี เปน็ นสิ สัคคิยปาจิตตีย์ อนึ่ง ภิกษุใด ถึงความแลกเปล่ียนด้วยรูปิยะมี ประการต่างๆ เป็นนสิ สคั คยิ ปาจติ ตยี ์ อนึง่ ภกิ ษใุ ด ถงึ การซือ้ และการขายมปี ระการต่างๆ เปน็ นสิ สคั คยิ ปาจติ ตยี ์ อน่ึง พระราชาก็ดี ราชอ�ำมาตย์ก็ดี พราหมณ์ก็ดี คหบดกี ด็ ี สง่ ทรพั ยส์ ำ� หรบั จา่ ยจวี รไปดว้ ยทตู เฉพาะภกิ ษวุ า่ เจ้าจงจ่ายจีวรด้วยทรัพย์ส�ำหรับจ่ายจ่ายจีวรน้ีแล้วยังภิกษุ ชอ่ื นีใ้ ห้ครองจวี ร ถา้ ทตู นนั้ เขา้ ไปหาภกิ ษนุ นั้ กลา่ วอยา่ งนว้ี า่ ทรพั ยส์ ำ� หรบั จา่ ยจวี รนนี้ ำ� มาเฉพาะทา่ น ขอทา่ นจงรบั ทรพั ยส์ ำ� หรบั จา่ ยจวี ร ภกิ ษนุ น้ั พงึ กลา่ วตอ่ ทตู นน้ั อยา่ งนว้ี า่ พวกเราหาไดร้ บั ทรัพย์สำ� หรับจ่ายจวี รไม่ พวกเรารบั แตจ่ ีวรอันเป็นของควร โดยกาล ถา้ ทูตน้นั กล่าวต่อภิกษุน้นั อยา่ งน้ีวา่ กใ็ ครๆ ผเู้ ปน็ ไวยาวัจกรของท่านมีหรอื 196
เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ทาน (การให)้ ภิกษุผู้ต้องการจีวรพึงแสดงชนผู้ท�ำการในอาราม หรืออุบาสกให้เป็นไวยาวัจกร ด้วยค�ำว่า คนนั้นแลเป็น ไวยาวัจกรของภกิ ษทุ ั้งหลาย ถ้าทูตนั้นส่ังไวยาวัจกรน้ันให้เข้าใจแล้ว เข้าไปหา ภิกษุน้ันกล่าวอย่างนี้ว่า คนที่ท่านแสดงเป็นไวยาวัจกรนั้น ขา้ พเจา้ สงั่ ใหเ้ ขา้ ใจแลว้ ทา่ นจงเขา้ ไปหา เขาจกั ใหท้ า่ นครอง จวี รตามกาล ภกิ ษุผูต้ อ้ งการจวี รเขา้ ไปหาไวยาวัจกรแลว้ พึงทวง พงึ เตอื นสองสามครงั้ วา่ รปู ตอ้ งการจวี ร ภกิ ษทุ วงอยู่ เตอื นอยู่ สองสามครั้ง ยังไวยาวัจกรนั้น ให้จัดจีวรส�ำเร็จได้ การให้ ส�ำเรจ็ ไดด้ ้วยอย่างน้ี น่ันเปน็ การดี ถ้าให้ส�ำเรจ็ ไม่ได้ พึงยนื น่งิ ตอ่ หน้า ๔ คร้งั ๕ ครง้ั ๖ คร้ัง เป็นอย่างมาก เธอยืนน่ิงต่อหน้า ๔ คร้ัง ๕ คร้ัง ๖ ครั้ง เป็นอย่างมาก ยังไวยาวัจกรนั้นให้จัดจีวรส�ำเร็จได้ การใหส้ �ำเรจ็ ได้ด้วยอย่างนี้ นั่นเปน็ การดี ถ้าให้ส�ำเร็จไม่ได้ ถ้าเธอพยายามให้ย่ิงกว่านั้น ยัง จีวรนั้นให้สำ� เร็จ เปน็ นสิ สคั คิยปาจิตตยี ์ ถ้าให้ส�ำเร็จไม่ได้พึงไปเองก็ได้ ส่งทูตไปก็ได้ใน ส�ำนักทสี่ ง่ ทรัพยส์ ำ� หรับจ่ายจีวรมาเพื่อเธอ บอกว่า ท่านสง่ ทรัพย์ส�ำหรับจ่ายจีวรไปเฉพาะภิกษุใด ทรัพย์น้ันหาส�ำเร็จ ประโยชน์น้อยหนึ่งแก่ภิกษุน้ันไม่ ท่านจงทวงเอาทรัพย์ ของท่านคืน ทรัพย์ของท่านอย่าได้ฉิบหายเสียเลย น้ีเป็น สามีจิกรรมในเรอื่ งน้นั . 197
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ธรรมะแวดลอ้ ม ที่มาในสูตรอื่นๆ ... เมณฑกะคหบดผี นู้ ัง่ อยู่ ณ ทค่ี วรส่วนขา้ งหนึง่ ได้กราบทลู พระผู้มีพระภาคว่า “มีอยู่ พระพุทธเจ้าข้า หนทางกันดารอัตคัดน้ำ� อัตคัดอาหาร ภิกษุไม่มีเสบียง จะเดินทางไปทำ�ไม่ได้ง่าย ขอประทาน พระวโรกาส ขอพระองคโ์ ปรดทรงอนญุ าตเสบยี งเดนิ ทางแกภ่ กิ ษทุ งั้ หลาย ด้วยเถิด พระพุทธเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคทรงทำ�ธรรมีกถาในเพราะ เหตเุ ปน็ เคา้ มลู นน้ั ในเพราะเหตแุ รกเกดิ นน้ั แลว้ รบั สง่ั แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตโครส ๕ คือ นมสด นมส้ม เปรยี ง เนยขน้ เนยใส. ภิกษุทั้งหลาย ! หนทางกันดาร อัตคัดน้�ำ อัตคัด อาหาร ภิกษุไม่มีเสบียงจะเดินทางไปท�ำไม่ได้ง่าย เราจึง อนุญาตให้แสวงหาเสบียงได้ คือ ภิกษุต้องการข้าวสารพึง แสวงหาขา้ วสาร ตอ้ งการถวั่ เขยี วพงึ แสวงหาถว่ั เขยี ว ตอ้ งการ ถวั่ ราชมาสพงึ แสวงหาถว่ั ราชมาส ตอ้ งการเกลอื พงึ แสวงหา เกลือ ต้องการน้�ำอ้อยพึงแสวงหาน้�ำอ้อย ต้องการน�้ำมัน พงึ แสวงหานำ�้ มัน ต้องการเนยใสพึงแสวงหาเนยใส. ภิกษุท้ังหลาย ! ชาวบ้านท่ีมีศรัทธาเล่ือมใส เขา มอบเงินทองไว้ในมือกัปปิยการก สั่งว่า “สิ่งใดควรแก่ พระผเู้ ป็นเจา้ ขอท่านจงถวายสิ่งน้ันดว้ ยกัปปิยภณั ฑ์น้”ี . ภิกษุท้ังหลาย ! เราอนุญาตให้ยินดีของอันเป็น กัปปิยะจากกัปปิยภัณฑ์น้ันได้ แต่เรามิได้กล่าวว่า พึงยินดี พงึ แสวงหาทองและเงนิ โดยปรยิ ายไรๆ เลย. 198
เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ทาน (การให้) “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! เมอ่ื ราชบรษิ ทั นง่ั ประชมุ กนั ในพระราชวงั สงั สนทนากนั วา่ ทองและเงนิ ยอ่ มควรแกส่ มณศากยบตุ ร สมณศากยบตุ ร ยอ่ มยนิ ดที องและเงนิ เมอ่ื ราชบรษิ ทั กลา่ วอยา่ งน้ี ขา้ พระองคไ์ ดก้ ลา่ วกะ บริษทั นั้นวา่ ท่านผเู้ จรญิ อยา่ ไดก้ ลา่ วอยา่ งน้ี ทองและเงนิ ยอ่ มไม่ควรแก่ สมณศากยบตุ ร สมณศากยบตุ รยอ่ มไม่ยนิ ดีทองและเงิน ยอ่ มไมร่ บั ทอง และเงิน สมณศากยบุตรห้ามแก้วมณีและทอง ปราศจากทองและเงิน ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ขา้ พระองคไ์ มอ่ าจใหบ้ รษิ ทั นน้ั ยนิ ยอมได้ เมอื่ ขา้ พระองคพ์ ยากรณอ์ ยา่ งนี้ เปน็ อนั กลา่ วตามค�ำ ทพี่ ระผมู้ พี ระภาคตรสั แลว้ ไมก่ ลา่ วตพู่ ระผู้มีพระภาคดว้ ยค�ำ ไม่จรงิ เป็นการพยากรณธ์ รรมสมควร แก่ธรรม และสหธรรมิกบางคนท่ีกล่าวตาม ก็จะไม่พลอยกลายเป็นผู้ท่ี ถกู ต�ำ หนไิ ปด้วยหรอื พระเจา้ ขา้ .” ดลี ะ คามณ ิ ! เมอ่ื ท่านพยากรณ์อย่างน้ี เป็นอนั กล่าว ตามคำ�ที่เรากล่าวแล้ว ไม่กล่าวตู่เราด้วยคำ�ไม่จริง เป็นการ พยากรณธ์ รรมสมควรแกธ่ รรม และสหธรรมกิ บางคนทก่ี ลา่ วตาม กจ็ ะไมพ่ ลอยกลายเปน็ ผถู้ กู ตำ�หนไิ ปดว้ ย เพราะวา่ ทองและเงนิ ไม่ควรแก่สมณศากยบุตร สมณศากยบุตรย่อมไม่ยินดีทอง และเงนิ สมณศากยบตุ รหา้ มแกว้ มณแี ละทอง ปราศจากทอง และเงนิ คามณ ิ ! ทองและเงนิ ควรแกผ่ ใู้ ด เบญจกามคณุ กค็ วร แกผ่ นู้ นั้ เบญจกามคณุ ควรแกผ่ ใู้ ด ทองและเงนิ กค็ วรแกผ่ นู้ น้ั คามณิ ! ท่านพึงทรงความท่ีควรแก่เบญจกามคุณนั้นโดย ส่วนเดียวว่า ไม่ใช่ธรรมของสมณะ ไม่ใช่ธรรมของศากยบุตร อนง่ึ เรากลา่ วอยา่ งนว้ี า่ ผตู้ อ้ งการหญา้ พงึ แสวงหาหญา้ ผตู้ อ้ งการ ไมพ้ งึ แสวงหาไม้ ผตู้ อ้ งการเกวยี นพงึ แสวงหาเกวยี น ผตู้ อ้ งการ บรุ ษุ พงึ แสวงหาบรุ ษุ เรามไิ ดก้ ลา่ ววา่ สมณศากยบตุ รพงึ ยนิ ดี พงึ แสวงหาทองและเงนิ โดยปรยิ ายไรๆ เลย. 199
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ทาน (การให)้ ขอ้ ปฎิบัตใิ นการอนุโมทนาของภิกษุ 85 -บาลี จุลลฺ . วิ. ๗/๒๒๓/๔๒๐-๔๒๓. สมยั นนั้ ภกิ ษุท้งั หลายไมอ่ นโุ มทนาในทฉี่ ัน คนทง้ั หลายจงึ เพง่ โทษตเิ ตียน โพนทะนาวา่ ไฉนพระสมณะเชอื้ สายพระศากยบตุ รจึงได้ไม่ อนุโมทนาในที่ฉัน ภิกษุทั้งหลายได้ยินคนพวกน้ันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค ลำ�ดับนั้นพระผู้มี พระภาคทรงแสดงธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้นในเพราะเหตุ แรกเกิดนน้ั แล้วรบั สัง่ กับภิกษทุ ง้ั หลายว่า ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตให้อนุโมทนาในท่ีฉัน เราอนญุ าตให้ภิกษผุ เู้ ถระอนโุ มทนาในทฉี่ ัน ... เราอนุญาต ให้ภกิ ษุเถระ อนุเถระ ๔-๕ รูป รอ (เปน็ เพ่อื น) อย่ใู นท่ฉี ัน ... ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! เม่อื มกี ิจท่จี ะพึงทำ� เราอนุญาตใหบ้ อกลา ภิกษผุ ู้น่งั อยู่ในล�ำดบั (ใกลๆ้ ) แลว้ ไปได.้ 200
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : ทาน (การให)้ ข้อปฏบิ ัติในการขอส่งิ ของ 86 ตอ่ ผปู้ วารณาของภิกขุ -บาลี มหา. วิ. ๒/๓๗๑/๕๕๖. ภิกษมุ ใิ ชผ่ อู้ าพาธ พงึ ยินดีปวารณาดว้ ยปัจจยั เพยี ง ๔ เดือน เว้นไวแ้ ต่ปวารณาอีก เวน้ ไวแ้ ตป่ วารณาเปน็ นติ ย์ ถ้าเธอยนิ ดียิง่ กว่านนั้ เป็นปาจติ ตยี .์ 201
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : ทาน (การให)้ เหตใุ ห้คา้ ขายไดก้ �ำไร หรือ ขาดทุน 87 -บาลี จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๑๐๕/๗๙. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุปัจจัยเคร่ืองให้ บุคคลบางคนในโลกน้ี ทำ�การค้าขายขาดทุน อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัย เคร่ืองให้บุคคลบางคนในโลกน้ีทำ�การค้าขายไม่ได้กำ�ไรตามที่ประสงค์ อะไรเปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั เครอ่ื งใหบ้ คุ คลบางคนในโลกนี้ ท�ำ การคา้ ขายได้ กำ�ไรตามท่ีประสงค์ อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้บุคคลบางคนใน โลกน้ี ทำ�การคา้ ขายได้กำ�ไรย่ิงกว่าท่ีประสงค์. (1) สารีบุตร ! บุคคลบางคนในโลกนี้ เข้าไปหา สมณะหรือพราหมณ์แล้ว ยอ่ มปวารณาวา่ “ขอทา่ นจงบอก ปจั จยั ทีท่ า่ นประสงค์” เขากลับไมถ่ วายปจั จยั ทเ่ี ขาปวารณา ถา้ เขาเคลอื่ นจากอตั ภาพนนั้ มาสคู่ วามเปน็ อยา่ งนี้ เขาทำ�การ คา้ ขายอยา่ งใดๆ เขายอ่ มขาดทนุ . (2) สารีบุตร ! บุคคลบางคนในโลกน้ี เข้าไปหา สมณะหรอื พราหมณแ์ ลว้ ย่อมปวารณาว่า “ขอท่านจงบอก ปจั จยั ทที่ า่ นประสงค”์ แตเ่ ขาถวายปจั จยั ทปี่ วารณาไวไ้ มเ่ ปน็ ไปตามประสงค์ ถา้ เขาเคลอื่ นจากอตั ภาพนน้ั มาสู่ความเปน็ อยา่ งน้ี เขาทำ�การคา้ ขายอยา่ งใดๆ เขายอ่ มไม่ไดก้ ำ�ไรตาม ทปี่ ระสงค.์ 202
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ทาน (การให)้ (3) สารีบุตร ! บุคคลบางคนในโลกน้ี เข้าไปหา สมณะหรอื พราหมณแ์ ลว้ ยอ่ มปวารณาวา่ “ขอท่านจงบอก ปัจจัยท่ีต้องประสงค์” เขาถวายปัจจัยท่ีปวารณาไว้ตามที่ ประสงค์ ถา้ เขาเคลอ่ื นจากอตั ภาพนน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยน์ ้ี เขาทำ�การค้าขายอยา่ งใดๆ เขายอ่ มไดก้ ำ�ไรตามท่ีประสงค์. (4) สารีบุตร ! บุคคลบางคนในโลกน้ี เข้าไปหา สมณะหรอื พราหมณ์แลว้ ยอ่ มปวารณาวา่ “ขอทา่ นจงบอก ปัจจัยที่ต้องประสงค์” เขาถวายปัจจัยที่ปวารณาไว้ยิ่งกว่าท่ี ประสงค์ ถา้ เขาเคลอ่ื นจากอตั ภาพนน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยน์ ้ี เขาทำ�การคา้ ขายอยา่ งใดๆ เขายอ่ มไดก้ ำ�ไรยงิ่ กวา่ ทป่ี ระสงค.์ สารบี ตุ ร ! นแ้ี ล เปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั เครอื่ งใหบ้ คุ คล บางคนในโลกน้ีท�ำการค้าขายขาดทุน น้ีเป็นเหตุเป็นปัจจัย เครอ่ื งใหบ้ คุ คลบางคนในโลกนที้ ำ� การคา้ ขายไมไ่ ดก้ ำ� ไรตาม ท่ีประสงค์ น้ีเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้บุคคลบางคนใน โลกน้ีท�ำการค้าขายได้ก�ำไรตามที่ประสงค์ น้ีเป็นเหตุเป็น ปัจจัยเคร่ืองให้บุคคลบางคนในโลกนี้ท�ำการค้าขายได้ก�ำไร ยิ่งกวา่ ทีป่ ระสงค.์ 203
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ทาน (การให)้ เหตุแหง่ ความเจรญิ ขึ้น 88 และความถกู ทำ� ลายแห่งสกลุ -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๐๐/๖๒๒. คามณิ ! ตลอดเวลาล่วงมา ๙๑ กัปป์ นบั แตก่ ัปน้ี เราระลกึ ไมไ่ ดว้ า่ เราเคยเขา้ ไปทำ� ลายตระกลู ใดๆ เพราะการรบั เอาข้าวสุกมา โดยที่แท้น้ันตระกูลใดๆ ท่ีเป็นตระกูลม่ังค่ัง มที รพั ยม์ าก มโี ภคะมาก มีทองและเงินมาก สกลุ ทัง้ ปวงนน้ั เจรญิ ขน้ึ เพราะการใหท้ าน เพราะสจั จะและสญั ญมะ (การบบี บงั คบั ใจ). คามณิ ! เหตปุ จั จยั ๘ อยา่ งเพอื่ การทำ� ลายแหง่ สกลุ คือ (1) สกลุ ทงั้ หลายถงึ การถกู ทำ�ลาย เพราะพระราชา (2) สกุลทง้ั หลายถึงความถูกทำ�ลาย เพราะโจร (3) สกุลทั้งหลายถึงความถูกทำ�ลาย เพราะไฟ (4) สกุลทงั้ หลายถึงความถูกทำ�ลาย เพราะนำ้ � (5) สกุลท้ังหลายถึงความถูกทำ�ลาย เพราะทรัพย์ ทฝ่ี งั ไว้เคล่อื นจากท่ี (6) สกลุ ทง้ั หลายถงึ ความถกู ทำ�ลาย เพราะการงาน ทป่ี ระกอบไม่ดี 204
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ทาน (การให)้ (7) คนในสกุลใช้จ่ายโภคทรัพย์เหล่าน้ันฟุ่มเฟือย ให้พนิ าศสูญหายไป (8) ความไม่เท่ยี งเป็นที่ ๘ คามณิ ! เหลา่ นี้แลคอื เหตุปัจจยั ๘ อย่าง เพื่อการ ทำ� ลายแหง่ สกลุ ทง้ั หลาย เมอ่ื เหตปุ จั จยั ๘ อยา่ งเหลา่ นม้ี อี ยู่ ผู้ใดพึงกล่าวหาเราอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคปฏิบัติเพื่อ ให้สกลุ ขาดสูญ เพอ่ื ใหส้ กุลเสือ่ ม เพือ่ ให้สกลุ คบั แคน้ ดังน้ี ผนู้ นั้ ยงั ไมล่ ะวาจานนั้ ยงั ไมล่ ะความคดิ นนั้ ยงั ไมส่ ละทฏิ ฐนิ นั้ ต้องดง่ิ ลงในนรกแนแ่ ท้. 205
ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)
มูลนิธพิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนธิ ิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ ง่ึ ชดั เจน และม่นั คงในพทุ ธวจน เรมิ่ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนงึ่ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล ทเ่ี นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอ้ื ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทตี่ รงตาม พทุ ธบัญญัติตามท่ี ทรงรบั ส่ังแก่พระอรหนั ต์ ๖๐ รูปแรกทีป่ า อสิ ิปตนมฤคทายวนั ในการประกาศพระสทั ธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภ่ี กิ ษใุ นครงั้ พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชัดเจน ต่อความพรา่ เลอื นสบั สน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ท่มี อี ย่ใู นสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ทัง้ หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตุเดียวคือ การไมใ่ ชค้ �าของพระพุทธเจา้ เป็นตัวตัง้ ตน้ ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วนั่ ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพือ่ ความตง้ั มั่นแหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเปน็ หนึ่งเดียวของชาวพทุ ธ เมอ่ื กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเ่ี คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขนึ้ เรอ่ื ยๆ เกดิ เปน็ “กระแสพุทธวจน” ซึง่ เป็นพลงั เงยี บทีก่ า� ลงั จะกลายเป็น คลน่ื ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครงั้ พทุ ธกาล
ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้ เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้ ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้ น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน
ผูท้ ่สี นใจรับสือ่ ธรรมทเ่ี ปน็ พทุ ธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ ึกษาส่วนตวั หรอื นา� ไปแจกเปน็ ธรรมทาน แก่พ่อแมพ่ น่ี ้อง ญาติ หรอื เพอ่ื น สามารถมารับได้ฟรี ทีว่ ดั นาปาพง หรือตามทพี่ ระอาจารย์คกึ ฤทธ์ิได้รับนิมนต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่ ส�าหรบั รายละเอียดกจิ ธรรมตา่ งๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพทุ ธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา ขอ้ มลู ไดจ้ าก www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com หากมคี วามจา� นงทจี่ ะรับไปแจกเป็นธรรมทานในจา� นวนหลายสบิ ชุด ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงได้ที่ มูลนธิ ิพทุ ธโฆษณ์ ประสานงานและเผยแผ่ : เลขท่ี ๒๙/๓ หมู่ท่ี ๗ ถนนเลยี บคลอง ๑๐ ฝัง่ ตะวันออก ตา� บลบึงทองหลาง อ�าเภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๕-๖ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อีเมล์ : [email protected] สนับสนนุ การเผยแผ่พทุ ธวจนไดท้ ี่ ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี ประเภท บญั ชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ญั ชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐
ขอกราบขอบพระคณุ แด่ พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง ท่กี รณุ าใหค้ �าปรึกษาในการจดั ทา� หนังสือเล่มน้ี ตดิ ตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล ได้ที่ เวบ็ ไซต์ • http://www.watnapp.com : หนงั สือ และสอ่ื ธรรมะ บนอนิ เทอรเ์ น็ต • http://media.watnapahpong.org : ศนู ยบ์ รกิ ารมลั ติมเี ดยี วัดนาปาพง • http://www.buddha-net.com : เครอื ข่ายพุทธวจน • http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทียบเคยี งพทุ ธวจน • http://www.watnapahpong.com : เว็บไซต์วัดนาปาพง • http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์ • http://www.buddhawajanafund.org : มลู นิธิพทุ ธวจน • http://www.ratana5.com : พุทธวจนสมาคม • http://www.buddhawajana-training.com : ศูนยป์ ฏิบตั พิ ทุ ธวจน • http://www.buddhawaj.org : ฐานขอ้ มูลพระสูตรออนไลน,์ เสียงอา่ นพทุ ธวจน • http://www.buddhaoat.org : กลมุ่ ผู้สนับสนุนการเผยแผพ่ ุทธวจน ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka) ส�าหรับคอมพวิ เตอร์ • ระบบปฏิบัติการ Windows, Macintosh, Linux http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมไดท้ ่วี ดั นาปา พง ส�าหรบั โทรศัพท์เคล่อื นท่ีและแท็บเล็ต • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ดาวน์โหลดไดท้ ี่ Play Store โดยพมิ พ์ค�าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka • ระบบปฏบิ ตั กิ าร iOS (ส�าหรบั iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดได้ที่ App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka ดาวน์โหลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana) เฉพาะส�าหรับโทรศัพท์เคลือ่ นที่และแทบ็ เล็ต • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ดาวนโ์ หลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พทุ ธวจน หรือ buddhawajana • ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (สา� หรบั iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ App Store โดยพมิ พ์ค�าว่า พุทธวจน หรอื buddhawajana วทิ ยุ • คลืน่ ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวันพระ เวลา ๑๗.๔๐ น.
บรรณานุกรม พระไตรพปรฎิ ะกไฉตบรับปสิฎยกาฉมบรับัฐส(ยบาามลรีสัฐยามรัฐ) พระไตรพปริฎะกไภตารษปาิฎไกทภยาฉษบาับไทหยลฉวงบบั(ไหทลยวสงยามรัฐ) หนงั สือธรรมโฆษณ์ ชดุ จากพระโอษฐ์ (ผลงานแปลพุทธวจน โดยท่านพุทธทาสภิกขใุ นนามกองตา� ราคณะธรรมทาน) รว่ มสนับสนนุ การจดั ท�าโดย คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพทุ ธวจนหมวดธรรม), คณะศษิ ยว์ ดั นาปา พง, กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ, กลุ่มธรรมะสีขาว, กลุ่มพุทธบริษัทศากยบุตร, กลุ่มพุทธโอษฐ์, กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ, กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทย, กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช ส�านักงานการศึกษาต่อเน่ือง, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (องครักษ์) ชมรมวิศวกรความรู้เพื่อสังคม, ชมรมพุทธวจนอุดรธานี, ชมรมธรรมปรีดา, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรชั่น, บจก. ดาต้าโปรดักส์, บจก. 3M ประเทศไทย, บจก. บางไทรไฟเบอร์บอร์ด, บจก. เอ็นอีซี โทคิน อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย), บจก. สยามรักษ์, บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. เมคเทค, บจก. ไดเวอร์ส เคมีคอลส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ, บจก.สมสุข สหภัทรสตีลล์, บจก.ทองแป้น, บจก. สมาย คอนเทนเนอร์ อตุ สาหกรรม, บจก. อ.ี ซ.ี ท.ี ซสิ เตม็ , บจก. อ.ี ซ.ี ท.ี เอน็ จเิ นยี รงิ่ , บจก. อี.ซี.ที. ซัพพลาย, บจก. อี.ซี.ที อินเตอร์เนช่ันแนล, บจก. อี.ซี.ที. โปรเฟสช่ันแนล, บจก. คอร์โดมา อินเตอร์เนช่ันแนล, บมจ. ณุศาศิริ, หจก. อินเตอร์ คิด, บจก. ไฮแอทคอนสตรัคชั่น, บจก. คิด อ่าน ดี, สถานกายภาพบ�าบัด คิดดีคลินิค, ร้านต้นมะขามช่างทอง, ร้านเสบียงบุญ, บ้านเมตตาเรสซิเด้นท์, บ้านพุทธวัจน์
ลงสะพานคลอง ๑๐ ไปยูเทิร์นแรกมา แผนท่ีวัดนาป่าพง แล้วเล้ียวซ้ายก่อนข้ึนสะพาน แนวทิวสน วัดนาป่าพง โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑, ๐๘ ๔๐๙๖ ๘๔๓๐, ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๔, ๐๘ ๖๕๕๒ ๒๔๕๙ ลงสะพานคลอง ๑๐ เล้ียวซ้ายคอสะพาน
๑๐ พระสตู รของความสา� คญั ทชี่ าวพทุ ธตอ้ งศกึ ษา แตค่ า� สอนจากพระพทุ ธเจา้ เทา่ นน้ั ผา่ นมา ๒,๕๐๐ กวา่ ปี คา� สอนทางพระพทุ ธศาสนาเกดิ ความหลากหลายมากขน้ึ มสี า� นกั ตา่ งๆ มากมาย ซง่ึ แตล่ ะหมคู่ ณะกม็ คี วามเหน็ ของตน หามาตรฐานไมไ่ ด้ แมจ้ ะกลา่ วในเรอ่ื งเดยี วกนั ทง้ั นไ้ี มใ่ ชเ่ พราะคา� สอนของพระพทุ ธเจา้ ไมส่ มบรู ณ์ แลว้ เราควรเชอ่ื และปฏบิ ตั ติ ามใคร ? ลองพจิ ารณาหาคา� ตอบงา่ ยๆ ไดจ้ าก ๑๐ พระสตู ร ซง่ึ พระตถาคตทรงเตอื นเอาไว้ แลว้ ตรสั บอกวธิ ปี อ้ งกนั และแกไ้ ขเหตเุ สอ่ื มแหง่ ธรรมเหลา่ น.ี้ ขอเชญิ มาตอบตวั เองกนั เถอะวา่ ถงึ เวลาแลว้ หรอื ยงั ? ทพ่ี ทุ ธบรษิ ทั จะมมี าตรฐานเพยี งหนงึ่ เดยี ว คอื “พทุ ธวจน” ธรรมวนิ ยั จากองคพ์ ระสงั ฆบดิ าอนั วญิ ญชู นพงึ ปฏบิ ตั แิ ละรตู้ ามไดเ้ ฉพาะตน ดงั น.ี้ ๑. พระองคท์ รงสามารถกา� หนดสมาธ ิ เมอ่ื จะพดู ทกุ ถอ้ ยคา� จงึ ไมผ่ ดิ พลาด -บาลี มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐. อคั คเิ วสนะ ! เรานน้ั หรอื จา� เดมิ แตเ่ รมิ่ แสดง กระทง่ั คา� สดุ ทา้ ยแหง่ การกลา่ วเรอ่ื งนนั้ ๆ ยอ่ มตงั้ ไวซ้ งึ่ จติ ในสมาธนิ มิ ติ อนั เปน็ ภายในโดยแท ้ ใหจ้ ติ ดา� รงอย ู่ ใหจ้ ติ ตง้ั มน่ั อย ู่ กระทา� ใหม้ จี ติ เปน็ เอก ดงั เชน่ ทค่ี นทง้ั หลาย เคยไดย้ นิ วา่ เรากระทา� อยเู่ ปน็ ประจา� ดงั น.้ี
๒. แตล่ ะคา� พดู เปน็ อกาลโิ ก คอื ถกู ตอ้ งตรงจรงิ ไมจ่ า� กดั กาลเวลา -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑. ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอทงั้ หลายเปน็ ผทู้ เี่ รานา� ไปแลว้ ดว้ ยธรรมน้ี อนั เปน็ ธรรมทบ่ี คุ คลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก) เปน็ ธรรมให้ ผลไมจ่ า� กดั กาล (อกาลโิ ก) เปน็ ธรรมทคี่ วรเรยี กกนั มาด ู (เอหปิ สสฺ โิ ก) ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว (โอปนยิโก) อันวิญญูชนจะพึงรู้ได้เฉพาะตน (ปจจฺ ตตฺ � เวทติ พโฺ พ วญิ ญฺ หู )ิ . ๓. คา� พดู ทพ่ี ดู มาทง้ั หมดนบั แตว่ นั ตรสั รนู้ น้ั สอดรบั ไมข่ ดั แยง้ กนั -บาลี อิติว.ุ ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓. ภิกษุท้ังหลาย ! นับต้ังแต่ราตรี ที่ตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมา- สัมโพธิญาณ จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสส นิพพานธาตุ ตลอดเวลาระหว่างนั้น ตถาคตได้กล่าวสอน พร่�าสอน แสดงออก ซง่ึ ถอ้ ยคา� ใด ถอ้ ยคา� เหลา่ นนั้ ทงั้ หมด ยอ่ มเขา้ กนั ไดโ้ ดย ประการเดยี วทงั้ สนิ้ ไมแ่ ยง้ กนั เปน็ ประการอน่ื เลย. อ๔. ทรงบอกเหตแุ หง่ ความอนั ตรธานของคา� สอนเปรยี บดว้ ยกลองศกึ -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! เรอ่ื งนเี้ คยมมี าแลว้ กลองศกึ ของกษตั รยิ พ์ วกทสารหะ เรยี กวา่ อานกะ มอี ยู่ เมอื่ กลองอานกะน้ี มแี ผลแตกหรอื ลิ พวกกษตั รยิ ์ ทสารหะไดห้ าเนอื้ ไมอ้ น่ื ทา� เปน็ ลมิ่ เสรมิ ลงในรอยแตกของกลองนนั้ (ทกุ คราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เม่ือเชื่อมปะเข้าหลายคร้ังหลายคราวเช่นนั้น นานเขา้ กถ็ งึ สมยั หนง่ึ ซง่ึ เนอื้ ไมเ้ ดมิ ของตวั กลองหมดสนิ้ ไป เหลอื อยแู่ ต่ เนอื้ ไมท้ ที่ า� เสรมิ เขา้ ใหมเ่ ทา่ นน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ ในกาลยดื ยาวฝา่ ยอนาคต จกั มภี กิ ษุ ทงั้ หลาย สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซง้ึ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั
มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ด้วยดี จกั ไมเ่ งี่ยหฟู งั จกั ไมต่ ั้งจิตเพอ่ื จะรู้ท่ัวถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใดที่ นกั กวแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอ่ื มผี นู้ า� สุตตันตะท่ีนักกวีแต่งข้ึนใหม่เหล่านั้นมากล่าวอยู่ เธอจักฟังด้วยดี จัก เงย่ี หฟู งั จกั ตงั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั สา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทตี่ นควรศกึ ษา เลา่ เรยี นไป. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ความอนั ตรธานของสตุ ตนั ตะเหลา่ นนั้ ทเี่ ปน็ คา� ของ ตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชน้ั โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ย เรอื่ งสญุ ญตา จกั มไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งนี้ แล. ๕.ทรงกา� ชับให้ศกึ ษาปฏิบัติเฉพาะจากคา� ของพระองคเ์ ท่านน้ั อย่าฟังคนอื่น -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๙๑-๙๒/๒๙๒. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษบุ รษิ ทั ในกรณนี ้ี สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วี แตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มี พยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมต่ งั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี ยอ่ มเงยี่ หฟู งั ยอ่ มตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ ว่ั ถงึ และยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น จงึ พากนั เลา่ เรยี น ไตถ่ าม ทวนถามแกก่ นั และกนั อยวู่ า่ “ขอ้ นเี้ ปน็ อยา่ งไร มคี วามหมายกน่ี ยั ” ดงั น้ี ดว้ ยการทา� ดงั นี้ เธอยอ่ มเปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ ไวไ้ ด้ ธรรมทยี่ งั ไมป่ รากฏ เธอกท็ า� ใหป้ รากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการ ทนี่ า่ สงสยั เธอกบ็ รรเทาลงได.้
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! บรษิ ทั ชอ่ื อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ ง้ั หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ ทงั้ หลาย อนั เปน็ ตถาคตภาษติ (ตถาคตภาสติ า) อนั ลกึ ซง้ึ (คมภฺ รี า) มี อรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา) เป็นโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบด้วย เรอ่ื งสญุ ญตา (สญุ ญฺ ตปฏสิ ย� ตุ ตฺ า) อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควร ศกึ ษาเลา่ เรยี น. สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภท กาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นมี้ ากลา่ วอยู่ พวกเธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี เงย่ี หฟู งั ตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และสา� คญั ไป วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมอนั กวแี ตง่ ใหม่ นัน้ แล้ว ก็ไม่สอบถามซงึ่ กันและกัน ไมท่ า� ใหเ้ ปิดเผยแจม่ แจ้งออกมาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นน้ั เปดิ เผย สง่ิ ทย่ี งั ไมเ่ ปดิ เผยไมไ่ ด้ ไมห่ งายของทค่ี วา�่ อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ ไมบ่ รรเทา ความสงสยั ในธรรมทงั้ หลายอนั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า. ภกิ ษทุ งั้ หลาย! บรษิ ทั ชอื่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ งั้ หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ ทง้ั หลาย ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษร สละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอ่ื จะ รทู้ วั่ ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ น สตุ ตนั ตะ เหลา่ ใด อนั เปน็ ตถาคตภาษติ อนั ลกึ ซง้ึ มอี รรถอนั ลกึ ซง้ึ เปน็ โลกตุ ตระ ประกอบดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ น ี้ มากลา่ วอย ู่ พวก
เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยด ี ยอ่ มเงย่ี หฟู งั ยอ่ มเขา้ ไปตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และ ยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทคี่ วรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมทเ่ี ปน็ ตถาคตภาษติ นน้ั แลว้ กส็ อบถามซง่ึ กนั และกนั ทา� ใหเ้ ปดิ เผยแจม่ แจง้ ออก มาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถะเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นนั้ เปดิ เผยสง่ิ ทยี่ งั ไมเ่ ปดิ เผยได้ หงายของทคี่ วา่� อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ บรรเทา ความสงสยั ในธรรมทง้ั หลายอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เหลา่ นแี้ ลบรษิ ทั ๒ จา� พวกนน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บรษิ ทั ทเี่ ลศิ ในบรรดาบรษิ ทั ทง้ั สองพวกนนั้ คอื บรษิ ทั ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า (บรษิ ทั ทอ่ี าศยั การสอบสวนทบทวนกนั เอาเอง เปน็ เครอื่ งนา� ไป ไมอ่ าศยั ความเชอ่ื จากบคุ คลภายนอกเปน็ เครอ่ื งนา� ไป) แล. ๖. ทรงหา้ มบัญญัติเพ่ิมหรือตดั ทอนสงิ่ ท่บี ัญญัตไิ ว้ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๙๐/๗๐. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษทุ งั้ หลาย จกั ไมบ่ ญั ญตั สิ งิ่ ทไี่ มเ่ คยบญั ญตั ิ จกั ไมเ่ พกิ ถอนสงิ่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ จกั สมาทานศกึ ษาในสกิ ขาบททบี่ ญั ญตั ไิ ว้ แลว้ อยา่ งเครง่ ครดั อยเู่ พยี งใด ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนนั้ . ๗. ส�านึกเสมอว่าตนเองเปน็ เพียงผู้เดินตามพระองคเ์ ท่านนั้ ถงึ แม้จะเปน็ อรหันตผ์ ู้เลศิ ทางปัญญากต็ าม -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๒/๑๒๖. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ไดท้ า� มรรคทยี่ งั ไมเ่ กดิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ใี ครรใู้ หม้ คี นรู้ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ี ใครกลา่ วใหเ้ ปน็ มรรคทก่ี ลา่ วกนั แลว้ ตถาคตเปน็ ผรู้ มู้ รรค (มคคฺ ญญฺ )ู เปน็ ผรู้ แู้ จง้ มรรค (มคคฺ วทิ )ู เปน็ ผฉู้ ลาดในมรรค (มคคฺ โกวโิ ท). ภิกษุทั้งหลาย ! สว่ นสาวกทงั้ หลายในกาลน ้ี เปน็ ผเู้ ดนิ ตามมรรค (มคคฺ านคุ า) เปน็ ผตู้ ามมา ในภายหลงั .
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! นแ้ี ล เปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ งกนั เปน็ ความมงุ่ หมาย ทแ่ี ตกตา่ งกนั เปน็ เครอื่ งกระทา� ใหแ้ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตผอู้ รหนั ต- สัมมาสมั พุทธะ กบั ภิกษผุ ู้ปัญญาวิมตุ ต.ิ ๘. ตรัสไวว้ ่าใหท้ รงจ�าบทพยญั ชนะและคา� อธบิ ายอยา่ งถกู ต้อง พร้อมขยันถ่ายทอดบอกสอนกันต่อไป -บาลี จตกุ ฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น ้ี เลา่ เรยี นสตู รอนั ถอื กนั มาถกู ดว้ ยบทพยญั ชนะทใี่ ชก้ นั ถกู ความหมายแหง่ บทพยญั ชนะทใี่ ชก้ นั กถ็ กู ยอ่ มมนี ยั อนั ถกู ตอ้ งเชน่ นนั้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเ่ี ปน็ มลู กรณที ห่ี นง่ึ ซง่ึ ทา� ใหพ้ ระสทั ธรรมตง้ั อยไู่ ดไ้ มเ่ ลอะเลอื นจนเสอื่ มสญู ไป... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พวกภกิ ษเุ หลา่ ใด เปน็ พหสุ ตู คลอ่ งแคลว่ ในหลกั พระพทุ ธวจน ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า (แมบ่ ท) พวกภกิ ษเุ หลา่ นน้ั เอาใจใส ่ บอกสอน เนอ้ื ความแหง่ สตู รทงั้ หลายแกค่ นอนื่ ๆ เมอื่ ทา่ นเหลา่ นนั้ ลว่ งลบั ไป สตู รทงั้ หลาย กไ็ มข่ าดผเู้ ปน็ มลู ราก (อาจารย)์ มที อ่ี าศยั สบื กนั ไป. ภิกษุท้ังหลาย ! น่ีเป็น มูลกรณีที่สาม ซึ่งท�าให้พระสัทธรรมต้ังอยู่ได้ ไมเ่ ลอะเลอื นจนเสอื่ มสญู ไป... *** ในท่ีนี้ยกมา ๒ นัยยะ จาก ๔ นัยยะ ของมูลเหตุสี่ประการ ที่ท�าให้พระสัทธรรมต้ังอยู่ได้ ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป ๙. ทรงบอกวิธีแก้ไขความผิดเพ้ียนในค�าสอน -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖. ๑. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นกี้ ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ผมู้ อี ายุ ! ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั รบั มาเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผมู้ พี ระภาควา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... ๒. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอื่ โนน้ มี สงฆอ์ ยพู่ รอ้ มดว้ ยพระเถระ พรอ้ มดว้ ยปาโมกข์ ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะ หนา้ สงฆน์ น้ั วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเี้ ปน็ วนิ ยั นเ้ี ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...
๓. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นกี้ ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอื่ โนน้ มี ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยจู่ า� นวนมาก เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระเหลา่ นน้ั วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเี้ ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... ๔. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยรู่ ปู หนง่ึ เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระรปู นน้ั วา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเ้ี ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... เธอทง้ั หลายยงั ไมพ่ งึ ชนื่ ชม ยงั ไมพ่ งึ คดั คา้ นคา� กลา่ วของผนู้ น้ั พงึ เรยี น บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั ใหด้ ี แลว้ พงึ สอบสวนลงในพระสตู ร เทยี บเคยี ง ดใู นวนิ ยั ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ไม่ได้ เทียบเข้าใน วินัยก็ไม่ได้ พึงลงสันนิษฐานว่า “น้ีมิใช่พระด�ารัสของพระผู้มีพระภาค พระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ รี้ บั มาผดิ ” เธอทงั้ หลาย พงึ ทง้ิ คา� นนั้ เสยี ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นนั้ สอบลงในสตู รกไ็ ด ้ เทยี บเขา้ ในวนิ ยั กไ็ ด ้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่ “นเ้ี ปน็ พระดา� รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ นั้ รบั มาดว้ ยด”ี เธอทงั้ หลาย พงึ จา� มหาปเทส... นไี้ ว.้ ๑๐. ทรงตรสั แกพ่ ระอานนท ์ ให้ใชธ้ รรมวนิ ยั ท่ีตรสั ไวเ้ ป็นศาสดาแทนตอ่ ไป -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๘/๑๔๑. -บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๑๗/๗๔๐. อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างน้ีว่า ‘ธรรมวินัยของ พวกเรามีพระศาสดาล่วงลับไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท์ ! พวกเธออยา่ คิดอย่างนนั้ . อานนท์ ! ธรรมก็ดี วนิ ัยก็ดี ทเ่ี รา แสดงแล้ว บญั ญัติแลว้ แก่พวกเธอท้ังหลาย ธรรมวนิ ัยน้ัน จกั เป็น ศาสดาของพวกเธอทง้ั หลาย โดยกาลลว่ งไปแหง่ เรา.
อานนท์ ! ในกาลบดั นกี้ ด็ ี ในกาลลว่ งไปแหง่ เรากด็ ี ใครกต็ าม จกั ตอ้ งมตี นเปน็ ประทปี มตี นเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสงิ่ อน่ื เปน็ สรณะ มธี รรมเปน็ ประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไมเ่ อาส่งิ อืน่ เป็นสรณะ เปน็ อย.ู่ อานนท ์ ! ภิกษพุ วกใด เปน็ ผ้ใู ครใ่ นสกิ ขา ภิกษพุ วกน้ัน จกั เปน็ ผอู้ ยู่ในสถานะ อนั เลิศทส่ี ดุ แล. อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรน้ี มีในยุคแห่งบุรุษใด บุรุษน้ันชื่อว่า เป็นบรุ ุษคนสดุ ทา้ ยแห่งบรุ ษุ ท้ังหลาย... เราขอกลา่ วยา้� กะ เธอว่า... เธอท้งั หลายอยา่ เปน็ บรุ ุษคนสุดท้ายของเราเลย. เธอทั้งหลายอยา่ เปน็ บุรษุ คนสดุ ท้าย ของเราเลย -บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.
บคุ คลใหอ้ าหารช่อื วา่ ใหก้ ำ�ลัง ใหผ้ า้ ชอื่ วา่ ใหว้ รรณะ มโภือคน ออยภน่าิกงง่ึ ใใแชษเ หหรือ่มลุทา้้ปยวละั้รงา่ผาทรู้ไหในซะู้ทินลหรทพคี่ใา้ท้ หีปือายหกุหคท้โ !าคส วนี่พกถง่ิมาะสกัทม้าไชัตพวตุกฟอื่ว่ารอาชว์เสะหอยา่่ือหัตาลใ่าวนศวหง่า่า์่ีจทนยัค้ใะห้ันั้งวไห ้จามยมลกัพ่ ังาสษงึไยุขมคุ พ่ไรดึงอร้ใบหู้ผง้ทลา� าจแนิตหเข่งสอกียงากสร่อตัจน�วากแเ์ ห็จนละกไ่ามทน่พา้นั นึง สว่ นผทู้ ีพ่ รำ่� สอนธรรมชอื่ ว่าให้อมตะ. -บาลี สคาถ. สํ. ๑๕/๔๔/๑๓๘.
ช่างไมท้ ั้งหลาย ! อรยิ สาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ยอ่ ม เ ป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่�าเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ที่จะตรัสรู้ใน เบื้องหน้า ธรรม ๔ ประการเป็นอย่างไร คอื (1) ประกอบดว้ ยความเลอ่ื มใสอนั ไมห่ วน่ั ไหวในพระพทุ ธเจา้ (2) ประกอบด้วยความเล่อื มใสอันไม่หวน่ั ไหวในพระธรรม (3) ประกอบด้วยความเล่อื มใสอนั ไม่หว่ันไหวในพระสงฆ์ (๔) มีใจปราศจากมลทิน คือ ความตระหน่ี อยู่ครองเรือน มีการบริจาคอันปล่อยอยู่เป็นประจ�า มีฝ่ามืออันชุ่ม ยินดีในการสละ เปน็ ผู้ควรแก่การขอ ยินดีในการให้และการแบ่งปัน. ช่างไมท้ ้ังหลาย ! อรยิ สาวกผู้ประกอบด้วย ธรรม ๔ ประการเหล่าน้แี ล ยอ่ มเป็นโสดาบนั มีความไมต่ กต�า่ เป็นธรรมดา เปน็ ผเู้ ที่ยงแทท้ จี่ ะตรสั รูใ้ นเบ้อื งหน้า. -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๔๐/๑๔๕๑.
ภิกษุท้งั หลาย ! การอนุเคราะห ์ ๒ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คอื ๏ การอนุเคราะหด์ ว้ ยอามิส ๏ การอนเุ คราะห์ด้วยธรรม ภกิ ษุทัง้ หลาย ! บรรดาการอนเุ คราะห ์ ๒ อย่างเหลา่ น้ี การอนุเคราะห์ดว้ ยธรรม เปน็ เลิศ ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ทาน ๒ อยา่ งเหลา่ นม้ี อี ยู่ คือ ๏ อามิสทาน ๏ ธรรมทาน ภกิ ษุท้ังหลาย ! บรรดาทาน ๒ อย่างเหล่านี้ ธรรมทาน เป็นเลิศ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ธรรมทาน เลิศกวา่ ทานท้งั หลาย -บาลี นวก. อ.ํ ๒๓/๔๓๙/๒๐๙. -บาลี ข.ุ ข.ุ ๒๕/๓๐๕/๒๗๘. ขอ้ มลู ธรรมะน้ี จดั ท�ำ เพอ่ื ประโยชนท์ �งก�รศกึ ษ�สสู่ �ธ�รณชนเปน็ ธรรมท�น ลขิ สทิ ธใ์ิ นตน้ ฉบบั นไ้ี ดร้ บั ก�รสงวนไว้ ไมส่ งวนสทิ ธใ์ิ นก�รจดั ท�ำ จ�ก ตน้ ฉบบั เพอ่ื เผยแผใ่ นทกุ กรณี ในก�รจดั ท�ำ หรอื เผยแผ่โปรดใชค้ ว�มละเอยี ดรอบคอบเพอ่ื รกั ษ�คว�มถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ขอค�ำ ปรกึ ษ�ด�้ นขอ้ มลู ในการจัดทำาเพื่อความสะดวกและประหยัด ติดต่อได้ที่ มูลนิธิพุทธโฆษณ์ โทร.๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐ - ๙๔ คุณศรช� โทร.๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คุณอ�รีวรรณ โทร.๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ส�ำ หรบั ผตู้ อ้ งก�รปฏบิ ตั ธิ รรรม ตดิ ตอ่ ไดท้ ่ี ศนู ยป์ ฏบิ ตั พิ ทุ ธวจน (Buddhawajana Training Center) โทรศพั ท์ ๐๙ ๒๙๑๒ ๓๖๕๗, ๐๙ ๒๙๑๒ ๓๗๒๑, ๐๙ ๒๙๑๒ ๓๔๗๑ ตดิ ต�มก�รเผยแผพ่ ระธรรมค�ำ สอนต�มหลกั พทุ ธวจน โดยพระอ�จ�รยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ไดท้ ่ี www.watnapp.com | media.watnapahpong.org | www.buddhakos.org คล่ืน ส.ว.พ. FM 91.0 MHz ทุกวันพระ เวล� 17.40 น.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244