Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน (ทาน)

พุทธวจน (ทาน)

Published by Sarapee District Public Library, 2020-08-16 02:27:27

Description: พุทธวจน (ทาน)

Keywords: พุทธวจน,ทาน,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

พุทธวจน

ภิกษุทั้งหลาย !  ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจ�าแนกทาน  เ หมือนอย่างเรารู้ไซร้  หากสัตว์เหล่านั้น  ยังไม่ได้ให้ทานเสียก่อนก็จะไม่พึง บรโิ ภค  อน่งึ  มลทินคอื ความตระหน่ีจะไมพ่ ึงครอบง�าจิตของสัตวเ์ หลา่ น้ัน 

ช่างไม้ทงั้ หลาย !  อริยสาวกผู้ประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ  เ ป็นโสดาบัน  มีความไม่ตกต่�าเป็นธรรมดา  เป็นผู้เที่ยงแท้ที่จะตรัส มเบกถหจแีก้ือะ็จ้ามาางพปรกะ้คหบไสฏึง�ำนมรเตัขคิ้า((((ิหจบ่ว 1๔23า้าาลเ์รหวธค)))ห)ือโิคร  อ ก ภลรอมปปปอืันขมา่คยีรรรใกป อนะจะะคู่.๔้อลกกกงปน้ั ำ�น่อออพปอรสยยบบบขราวดุงั ะอศดดดา้กไกทย้ว้วจว้วเมายยูย่า้ขาเขรปไ่คคกคยเาอดป็ววนมวกยงาาแ้็นาปล็ตงัมมสมอบทรมาเเตัเยลละินง่ลมีอวา่จอื่อื่คอ่ื ง ย์เ�ามมคมไำ�ห ู่รใใขือใมลสส สค า้ีออฝา่อคอืวันันน่านั ควมไไ้ันไามมำ�ืมอมส่ห่หหอ่ ตดุววันวรน่่นัั ทน่ั ชะไไไุา้่หมหหหยววน วแใใย่ี ในนินนมอพพพดยน้ รรูี่รใคน้ัะะะนรสธพกอรงทุางรฆรธเม์ เป็นผูค้ วรแกก่ ารขอ ยนิ ดใี นการให้และการแบ่งปัน. คเหอื มคอื วนาอมยตภา่รกิงะเษหรทุานรง้ั่ี ู้จหฉชธยเึงละปยร่อนา่างัน็รยงนั้มคม ไ!สผรเ ตมัป อแู้เ๔วบทต้ท็น-เ์เง่ บหีย่พัง้โำ�าปลลงสจหรีา่รขาแิตดลนุ.ะะขขทาสน้ัา.ุกอ๒บตัจท้ยงา๕วงึสัน /จี่ร!๒ไท์ ตัม ๔เะ งั้วห๓ไ่อมหต/ด์เ๒หลรลคีใ้ร๐ิยหลา๔า่สัว.ยา่ท้สนราไนาามใู้ม้แี น้ันนรว่ ล.ไกผู้กเอ่มลบผนแต่ ื้อบ้ปูหกรงง่รโิตกหะภาา่� กคนรเจอปอ้าำ� นบ.น็แง่ึ นดธมก้วรลทยรทามนินดา -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๔๐/๑๔๕๑.



พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ ๑๓ฉบับ ทาน (การให้) พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ ำ� ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๑๓ ทาน (การให้) ข้อมูลธรรมะนี้ จัดท�ำเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลิขสิทธใ์ิ นตน้ ฉบับนี้ไดร้ ับการสงวนไว้ ไม่สงวนสิทธ์ใิ นการจดั ทำ� จากตน้ ฉบบั เพ่ือเผยแผ่ในทกุ กรณี ในการจดั ท�ำหรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพื่อรักษาความถกู ตอ้ งของข้อมลู ขอค�ำปรกึ ษาดา้ นขอ้ มูลในการจดั ท�ำเพ่อื ความสะดวกและประหยดั ตดิ ตอ่ ได้ท่ี มลู นิธพิ ุทธโฆษณ ์ โทรศพั ท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ พุทธวจนสมาคม โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๖๔๗ ๖๐๓๖ มูลนิธพิ ุทธวจน โทรศพั ท ์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คณุ ศรชา โทรศัพท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารวี รรณ โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปที พ่ี มิ พ์ ๒๕๕๗ ศลิ ปกรรม ณรงค์เดช เจริญปาละ, สันติ ทองสุข จดั ทำ� โดย มลู นิธพิ ุทธโฆษณ์ (เว็บไซต์ www.buddhakos.org) สำ� หรับผตู้ ้องการปฏิบัติธรรรม ตดิ ต่อได้ท่ี ศูนยป์ ฏบิ ัติพทุ ธวจน (Buddhawajana Training Center) ซอยคลองสต่ี ะวนั ออก ๗๓ หมู่ ๑๕ คลองส่ี อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี โทรศพั ท์ ๐๙ ๒๙๑๒ ๓๖๕๗, ๐๙ ๒๙๑๒ ๓๗๒๑, ๐๙ ๒๙๑๒ ๓๔๗๑

ค�ำอนโุ มทนา ขออนุโมทนากับคณะงานธัมมะ ผู้จัดทำ�หนังสือ พุทธวจน ฉบับ ทาน (การให)้ ท่มี ีความตงั้ ใจและมเี จตนา อนั เปน็ กศุ ลในการเผยแผค่ �ำ สอนของตถาคตอรหนั ตสมั มา- สัมพุทธะท่ีออกจากพระโอษฐ์ของพระองค์เอง ท่ีท่านตรัส ในแง่มุมของทาน เพื่อท่ีเราจะได้เข้าใจผลและอานิสงส์ของ ทานแบบต่างๆ เพราะโดยปกติทั่วไป คนส่วนใหญ่ก็นิยม การใหท้ านอยเู่ นอื งนติ ย์ ทานจงึ เปน็ เรอ่ื งทใ่ี กลต้ วั ของเรามาก แต่หลายคนก็ยังไม่ทราบว่า การให้ทานท่ีมีผลมากจะต้อง ประกอบด้วยเหตุอะไรบ้าง และเราก็ไม่เคยทราบมาก่อนว่า จะต้องวางจิตอย่างไรเวลาให้ทาน เพื่อจะได้อานิสงส์สูงสุด คือ ความไม่ตาย จากการให้ทานนนั้ ด้วยเหตุที่ได้กระทำ�มาแล้วน้ี  ขอจงเป็นเหตุปัจจัย ให้ผู้มีส่วนร่วมในการทำ�หนังสือ  และผู้ที่ได้อ่าน  ได้ศึกษา ไดน้ �ำ ไปปฏบิ ตั  ิ พงึ ส�ำ เรจ็ สมหวงั   พบความเจรญิ รงุ่ เรอื งของ ชีิวิตได้จริงในทางโลก  และได้ดวงตาเห็นธรรม  สำ�เร็จผล ยังนิพพาน  สมดังความปรารถนาท่ีได้สร้างมาอย่างดีแล้ว ด้วยเทอญ ขออนโุ มทนา ภกิ ขคุ ึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล

อักษรย่อ เพอื่ ความสะดวกแก่ผูท้ ยี่ ังไมเ่ ขา้ ใจเร่ืองอักษรย่อ ที่ใชห้ มายแทนชอ่ื คัมภีร์ ซึง่ มอี ย่โู ดยมาก มหาว.ิ วิ. มหาวภิ ังค์ วินัยปิฎก. ภิกขฺ ุน.ี วิ. ภกิ ขุนวี ิภังค์ วนิ ัยปิฎก. มหา. ว.ิ มหาวรรค วินัยปฎิ ก. จุลลฺ . ว.ิ จุลวรรค วนิ ัยปฎิ ก. ปริวาร. ว.ิ ปรวิ ารวรรค วนิ ัยปิฎก. ส.ี ที. สีลขนั ธวรรค ทฆี นิกาย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทีฆนกิ าย. ปา. ท.ี ปาฏิกวรรค ทฆี นกิ าย. ม.ู ม. มูลปณั ณาสก์ มชั ฌิมนกิ าย. ม. ม. มัชฌมิ ปณั ณาสก์ มัชฌมิ นกิ าย. อปุ ร.ิ ม. อปุ ริปณั ณาสก์ มัชฌิมนิกาย. สคาถ. สํ. สคาถวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. นิทาน. สํ. นทิ านวรรค สงั ยตุ ตนิกาย. ขนธฺ . ส.ํ ขันธวารวรรค สังยตุ ตนิกาย. สฬา. สํ. สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย. มหาวาร. ส.ํ มหาวารวรรค สังยตุ ตนิกาย. เอก. อ.ํ เอกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. ทุก. อํ. ทกุ นิบาต อังคุตตรนกิ าย. ตกิ . อ.ํ ตกิ นบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. จตุกฺก. อํ. จตุกกนบิ าต องั คุตตรนิกาย.

ปญจฺ ก. อํ. ปัญจกนบิ าต องั คุตตรนิกาย. ฉกกฺ . อ.ํ ฉกั กนบิ าต อังคตุ ตรนิกาย. สตตฺ ก. อํ. สตั ตกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย อฏฺ ก. อ.ํ อัฏฐกนบิ าต องั คุตตรนิกาย. นวก. อ.ํ นวกนิบาต องั คุตตรนกิ าย. ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต อังคุตตรนกิ าย. เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนิบาต อังคุตตรนิกาย. ข.ุ ขุ. ขทุ ทกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย. ธ. ขุ. ธรรมบท ขุททกนิกาย. อ.ุ ข.ุ อทุ าน ขุททกนิกาย. อิติว.ุ ข.ุ อิติวตุ ตกะ ขุททกนิกาย. สตุ ฺต. ข.ุ สตุ ตนบิ าต ขทุ ทกนิกาย. วมิ าน. ขุ. วมิ านวตั ถุ ขทุ ทกนกิ าย. เปต. ข.ุ เปตวัตถุ ขุททกนิกาย. เถร. ขุ. เถรคาถา ขุททกนกิ าย. เถรี. ขุ. เถรคี าถา ขทุ ทกนกิ าย. ชา. ขุ. ชาดก ขุททกนกิ าย. มหาน.ิ ข.ุ มหานิทเทส ขุททกนกิ าย. จฬู นิ. ข.ุ จูฬนทิ เทส ขทุ ทกนกิ าย. ปฏิสมฺ. ข.ุ ปฏิสมั ภิทามรรค ขทุ ทกนกิ าย. อปท. ข.ุ อปทาน ขุททกนกิ าย. พุทฺธว. ขุ. พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จรยิ า. ข.ุ จริยาปิฎก ขุททกนิกาย. ตวั อยา่ ง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ให้อ่านวา่ ไตรปิฎกฉบบั สยามรฐั เลม่ ๑๔ หนา้ ๑๗๑ ขอ้ ท่ี ๒๔๕

ค�ำน�ำ บคุ คลบางคนในโลกนี้ ใหท้ านโดยมคี วามหวงั ผล ให้ ทานโดยมีจิตผูกพันในผล ให้ทานโดยมุ่งการส่ังสม (บุญ) ให้ทานโดยคิดว่า “เราตายไปจักได้เสวยผลของทานน้ี” เขาให้ทานน้ันแล้ว เม่ือตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหาย แหง่ เทวดาเหลา่ จาตมุ หาราชกิ า เขาสน้ิ กรรม สนิ้ ฤทธิ์ สนิ้ ยศ หมดความเปน็ ใหญแ่ ลว้ ยงั เปน็ ผกู้ ลบั มา คอื มาสคู่ วามเปน็ อย่างน้ี... ปุถุชนผู้ได้สดับและได้ศึกษาในธรรมวินัยท่ีตถาคต ไดบ้ ญั ญตั ไิ ว้จงึ จะทราบวา่ การวางจติ เมอ่ื ใหท้ านดงั ทกี่ ลา่ วมา ขา้ งตน้ เป็นเหตุ เป็นปจั จยั ให้ทานเชน่ นน้ั ท่ีบคุ คลบางคน ในโลกน้ีให้แล้ว มผี ลมาก แต่ไม่มีอานิสงสม์ าก ปุถชุ นผู้ได้สดับ จงึ จะทราบว่า ศลี ห้าเป็นมหาทาน ปุถชุ นผไู้ ดส้ ดบั พงึ ใหท้ านในเขตที่ให้แลว้ มีผลมาก คือ ในพระอรยิ บุคคลท้ังหลายตามกาลอันควร อนั เป็นการ บ�ำรงุ ตถาคตหรอื สาวกของตถาคต (ปารจิ รยิ านตุ ตริยะ) พุทธวจน ฉบบั “ทาน (การให)้ ” ได้รวบรวมไวซ้ ง่ึ สงิ่ อนั ตถาคตไดภ้ าษติ ไว ้ ไดก้ ลา่ วไว ้ วา่ ตถาคตไดภ้ าษติ ไว้ ได้กล่าวไว้  และรวบรวมส่ิงอันตถาคตได้บัญญัติไว้  ว่า ตถาคตไดบ้ ญั ญตั ไิ ว้ อนั เนอื่ งดว้ ยเหตมุ ปี ระมาณตา่ งๆ แหง่

“ทาน (การให)้ ” อยา่ งละเอยี ดครบถ้วน เชน่ ความหมาย ของทาน องคป์ ระกอบของการใหท้ านแลว้ มผี ลมาก ผลและ อานสิ งสข์ องทานแบบต่างๆ เพ่ือประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้ท่ีได้เข้ามาศึกษา จะได้ ทราบถงึ สจั จะความจริงและประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม อนั จะเปน็ เหตุ เปน็ ปัจจัยให้ทานเช่นนนั้ มผี ลมาก มอี านสิ งสม์ าก เชน่ การใหท้ านเปน็ เครอ่ื งปรงุ แตง่ จติ คอื ตง้ั จติ ละความตระหน่ี อันเปน็ มลทิน จะไดเ้ ปน็ ผไู้ ม่ต้องกลบั มา คือ ไม่มาสคู่ วาม เปน็ อยา่ งน้ี สาวกของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผสู้ มบรู ณด์ ว้ ยทสั สนะ มปี ญั ญา เปน็ บณั ฑติ พงึ มสี ง่ิ ทป่ี ระเสรฐิ กวา่ ทาน เปน็ ประโยชน์ เปน็ อานสิ งสท์ ม่ี งุ่ หมาย ท่ีสุดของทาน  คือ  เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะ อันประเสริฐยิ่ง  คือ  ความสละคืนอุปธิทั้งปวง  เพ่ือถึง ความเป็นอีกไม่ได้  มีความไม่เกิดต่อไป  เป็นธรรมดา นั้นคอื   นพิ พาน. คณะงานธัมมะ วัดนาปา่ พง

สารบญั ความหมายของทาน 1 1. ทาน (การให)้ เปน็ อยา่ งไร2 2. จาคะ (การบรจิ าค) เปน็ อยา่ งไร3 ทำ� ไมจงึ ใหท้ าน5 3. ผลแหง่ ทานในปจั จบุ นั และสมั ปรายะ6 4. อานสิ งสแ์ หง่ การใหท้ าน7 5. ผใู้ หโ้ ภชนะ ชอื่ วา่ ใหอ้ ายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏภิ าน8 6. ผใู้ หข้ า้ วยาคู กช็ อื่ วา่ ใหอ้ ายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏภิ าน10 7. ผใู้ หข้ องทพี่ อใจยอ่ มไดข้ องทพ่ี อใจ11 8. การใหท้ านเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทรพั ย์ 12 9. ความตา่ งกนั ระหวา่ งผใู้ หแ้ ละผไู้ มใ่ ห้ 13 10. หากสตั วท์ งั้ หลาย รผู้ ลแหง่ การจำ� แนกทาน 16 11. สงั คหวตั ถุ (ธรรมเปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ การสงเคราะห)์ 18 12. ธรรมทบี่ ณั ฑติ บญั ญตั ไิ ว้ 20 13. ลกั ษณะผมู้ ศี รทั ธาเลอื่ มใส21 14. ปฏปิ ทาสมควรแกค่ ฤหสั ถ์ 22 15. การเกย่ี วขอ้ งกนั ของนกั บวชกบั คฤหสั ถ์ 23 16. หลกั ในการจดั สรรทรพั ย์ 24 17. การใชส้ อยโภคทรพั ยโ์ ดยไมส่ ญู เปลา่ 27 18. หลกั ดำ� รงชพี เพอื่ ประโยชนส์ ขุ ในสมั ปรายะ29 19. การสงเคราะหผ์ ลู้ ว่ งลบั 31 20. การสงเคราะหเ์ ทวดา37

21. ความตระหนี่ ขวางกน้ั การทำ� ใหแ้ จง้ ซง่ึ มรรคผล38 22. ความตระหนคี่ อื มลทนิ 39 23. เหตใุ หไ้ ปนรก-สวรรค์ 40 24. วบิ ากของคนตระหนแี่ ละไมต่ ระหน่ี 42 25. ทรพั ยใ์ นอรยิ วนิ ยั (นยั ที่ ๑)44 26. ทรพั ยใ์ นอรยิ วนิ ยั (นยั ท่ี ๒)47 27. ประโยชนข์ องการสรา้ งวหิ าร51 28. จาคานสุ สติ 52 เหตเุ กดิ ขน้ึ แหง่ ทาน55 29. เหตใุ นการใหท้ าน (นยั ที่ ๑)56 30. เหตใุ นการใหท้ าน (นยั ท่ี ๒)57 31. เหตใุ นการใหท้ าน (นยั ท่ี ๓)58 32. เหตใุ นการใหท้ าน (นยั ท่ี ๔)60 ผล/อานสิ งสข์ องทานแบบตา่ งๆ 65 33. ผลแหง่ ทาน66 34. มหาทาน 71 35. สดั สว่ นของทาน ศลี ภาวนา75 36. ความสงสยั ในทานของเทวดา79 37. ผปู้ ระสบบญุ เปน็ อนั มาก80 38. ผลของการตอ้ นรบั บรรพชติ ดว้ ยวธิ ที ตี่ า่ งกนั 82 39. ทานทใ่ี หแ้ ลว้ มผี ลนอ้ ย85

ทานของอสปั บรุ ษุ และสปั บรุ ษุ  87 40. ทานของคนไมด่ ี หรอื ทานของคนดี 88 41. ทานของคนดี (นยั ท่ี ๑)89 42. ทานของคนดี (นยั ที่ ๒)90 43. ประโยชนเ์ กอื้ กลู ของสปั บรุ ษุ 92 44. กลนิ่ ทห่ี อมทวนลม94 ผลกระทบทง้ั ดแี ละไมด่ จี ากการใหท้ านมไี หม 97 45. สงั คมเลว เพราะคนดอี อ่ นแอ98 46. หลกั การกำ� จดั เสยี้ นหนาม (คนไมด่ )ี 100 47. กรณศี กึ ษา เรอื่ งภกิ ษชุ าวกรงุ โกสมั พแี ตกสามคั คกี นั 102 ควรใหท้ านทใ่ี ด 107 48. ควรใหท้ านในทใี่ ด (นยั ที่ ๑)108 49. ควรใหท้ านในทใ่ี ด (นยั ที่ ๒)112 50. ไมค่ วรหา้ มผอู้ น่ื ใหท้ าน114 51. นาดี หรอื นาเลว116 52. ผรู้ บั ทาน กบั ผลทไี่ ด้ (นยั ท่ี ๑)118 53. ผรู้ บั ทาน กบั ผลทไ่ี ด้ (นยั ท่ี ๒)119 องคป์ ระกอบของทานทใ่ี หแ้ ลว้ มผี ลมาก 123 54. องคป์ ระกอบของทานทใี่ หแ้ ลว้ มผี ลมาก (นยั ท่ี ๑)124 55. องคป์ ระกอบของทานทใ่ี หแ้ ลว้ มผี ลมาก (นยั ที่ ๒)127 56. การวางจติ เมอ่ื ใหท้ าน 129

57. ผลของทานกบั ผรู้ บั 133 58. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๑)138 59. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๒)141 60. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๓)142 61. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ที่ ๔)143 62. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ที่ ๕)144 63. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๖)145 64. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๗)146 65. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ที่ ๘)148 66. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๙)151 67. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๑๐)152 68. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ที่ ๑๑)153 69. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๑๒)155 70. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๑๓)157 71. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ท่ี ๑๔)159 72. ผคู้ วรรบั ทกั ษณิ า (นยั ที่ ๑๕)160 73. ลกั ษณะของภกิ ษผุ มู้ ศี ลี 166 การใหท้ านอนั เปน็ อรยิ ะ 173 74. ธรรมทานเลศิ กวา่ อามสิ ทาน174 75. ธรรมทานเลศิ กวา่ ทานทง้ั หลาย175 76. การใหท้ านอนั เปน็ อรยิ ะ (นยั ที่ ๑)180 77. การใหท้ านอนั เปน็ อรยิ ะ (นยั ท่ี ๒)181 78. การใหท้ านอนั เปน็ อรยิ ะ (นยั ท่ี ๓)183 79. สงิ่ ทป่ี ระเสรฐิ กวา่ ทาน186

ภาคผนวก 187 80. เจรญิ เมตตาจติ มผี ลมากกวา่ ใหท้ าน188 81. ผลของการเจรญิ เมตตา189 82. วธิ กี ารเจรญิ เมตตาและการเจรญิ พรหมวหิ าร 190 83. การรบั ทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม หรอื การรบั ทเี่ ปน็ ธรรม194 84. การเกย่ี วขอ้ งกบั เงนิ ทองของภกิ ษุ 196 85. ขอ้ ปฎบิ ตั ใิ นการอนโุ มทนาของภกิ ษุ 200 86. ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการขอสง่ิ ของ ตอ่ ผปู้ วารณาของภกิ ขุ 201 87. เหตใุ หค้ า้ ขายไดก้ ำ� ไร หรอื ขาดทนุ 202 88. เหตแุ หง่ ความเจรญิ ขน้ึ และความถกู ทำ� ลายแหง่ สกลุ 204

หมายเหตุผรู้ วบรวม เนอ้ื หาของหนงั สอื เลม่ น้ี บางสว่ นไดป้ รบั สำ� นวนตา่ ง จากฉบับหลวง โดยเทียบเคียงจากทุกส�ำนัก (ฉบับสยามรัฐ, ฉบบั หลวง, ฉบับมหามงกฏุ ฯ, ฉบับมหาจฬุ าฯ, ฉบบั เฉลมิ พระเกยี รต,ิ ฉบบั สมาคมบาลปี กรณแ์ หง่ ประเทศองั กฤษ) เพอื่ ใหส้ อดรบั กบั บาลี และความเช่อื มโยงของพทุ ธวจนให้มากที่สดุ



ความหมายของทาน

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ทาน (การให)้ ทาน (การให้) เป็นอยา่ งไร 01 -บาลี อปุ ริ. ม. ๑๔/๓๗๖/๕๗๙. มาณพ !   บุคคลบางคนในโลกนี้จะเป็นสตรีก็ตาม บุรุษกต็ าม ย่อมเปน็ ผู้ใหข้ า้ ว นำ�้ เครือ่ งน่งุ ห่ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครอื่ งลบู ไล้ ทนี่ อน ทอ่ี ยอู่ าศยั และประทปี โคมไฟแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาตายไป จะเข้าถึงสุคติ- โลกสวรรค์ เพราะกรรมนั้น อันเขาให้พรั่งพร้อมสมาทาน ไว้อย่างนี้ หากตายไป ไม่เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ถ้ามาเป็น มนษุ ยเ์ กดิ ณ ทใี่ ดๆ ในภายหลงั จะเปน็ คนมโี ภคทรพั ยม์ าก. 2

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ทาน (การให)้ จาคะ (การบริจาค) เปน็ อยา่ งไร 02 -บาลี จตกุ ฺก. อํ. ๒๑/๘๕/๖๑. คหบด ี !   กจ็ าคสมั ปทา (ความถงึ พรอ้ มดว้ ยการบรจิ าค) เป็นอยา่ งไร อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี มีใจปราศจากมลทินคือ ความตระหนี่ อย่คู รองเรือน มกี ารบรจิ าคอันปลอ่ ยอย่เู ปน็ ประจำ� มีฝ่ามืออนั ช่มุ ยนิ ดใี นการสละ เป็นผคู้ วรแก่การขอ ยินดีในการให้และการแบง่ ปัน นเ้ี รียกว่า จาคสัมปทา. 3



ทำ� ไมจึงใหท้ าน

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ทาน (การให้) ผลแหง่ ทานในปจั จบุ นั และสมั ปรายะ 03 -บาลี ปฺ จก. อ.ํ ๒๒/๔๑/๓๔. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   พระผมู้ พี ระภาคทรงสามารถบญั ญตั ิ ผลแห่งทานท่จี ะพงึ เหน็ ไดใ้ นปัจจบุ นั หรอื หนอ. สามารถ สีหะ !   สีหะ !   ทายกผเู้ ปน็ ทานบดี ย่อมเป็นท่รี กั ที่ชอบใจ ของชนเปน็ อนั มาก แมข้ อ้ นเี้ ปน็ ผลแหง่ ทานทจ่ี ะพงึ เหน็ เอง. อีกประการหนึ่ง สัปบุรุษผู้สงบย่อมคบหาทายก ผเู้ ปน็ ทานบดี แม้ข้อนก้ี เ็ ป็นผลแห่งทานทจ่ี ะพงึ เห็นเอง. อีกประการหนึ่ง กิตติศัพท์อันงามของทายกผู้เป็น ทานบดีย่อมขจร แม้ขอ้ น้ีก็เป็นผลแห่งทานทจี่ ะพงึ เหน็ เอง. อีกประการหนึ่ง ทายกผู้เป็นทานบดี จะเข้าไปสู่ที่ ประชมุ ใดๆ คอื ท่ปี ระชุมกษัตรยิ ์ พราหมณ์ คหบดี สมณะ ก็ย่อมเป็นผู้องอาจไม่เก้อเขินเข้าไป แม้ข้อนี้ก็เป็นผลแห่ง ทานท่จี ะพึงเห็นเอง. อีกประการหนึ่ง ทายกผู้เป็นทานบดี เม่ือตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ แม้ข้อน้ีก็เป็นผลแห่งทานท่ีจะ พึงได้ในสัมปรายะ. 6

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ทาน (การให)้ อานสิ งสแ์ หง่ การใหท้ าน 04 -บาลี ปฺ จก. อํ. ๒๒/๔๓/๓๕ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   อานสิ งสแ์ หง่ การใหท้ าน ๕ ประการ นี้มีอยู่  ๕ ประการเปน็ อยา่ งไร คือ (1) ผใู้ หท้ านยอ่ มเปน็ ทร่ี กั ทช่ี อบใจของชนเปน็ อนั มาก (2) สัปบุรษุ ผูส้ งบยอ่ มคบหาผู้ใหท้ าน (3) กติ ติศัพทอ์ ันงามของผู้ใหท้ านยอ่ มขจรทั่วไป (4) ผู้ใหท้ านย่อมไม่เหินหา่ งจากธรรมของคฤหัสถ์ (5) ผ้ใู หท้ านเมื่อตายไปยอ่ มเขา้ ถงึ สุคติโลกสวรรค์ ภิกษุทั้งหลาย !   นี้แล  อานิสงส์แห่งการให้ทาน ๕ ประการ. ผู้ให้ทานย่อมเป็นท่ีรักของชนเป็นอันมาก ชื่อว่า ดำ� เนนิ ตามธรรมของสปั บรุ ษุ สปั บรุ ษุ ผสู้ งบ ผสู้ ำ� รวมอนิ ทรยี ์ ประกอบพรหมจรรย์ ย่อมคบหาผู้ให้ทานทุกเมื่อ สัปบุรุษ เหล่าน้ันย่อมแสดงธรรมเป็นที่บรรเทาทุกข์ทั้งปวงแก่เขา เขาได้ทราบชัดแล้ว ย่อมเป็นผู้หาอาสวะมิได้ ปรินิพพาน ในโลกน.้ี 7

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : ทาน (การให้) ผใู้ ห้โภชนะ ชือ่ วา่ 05ใหอ้ ายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏภิ าน -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๘๔/๕๙. -บาลี ปฺ จก. อํ. ๒๒/๔๔/๓๗. ภิกษุท้ังหลาย !   ผู้ให้โภชนะ  ช่ือว่าย่อมให้ฐานะ ๔ อยา่ งแก่ปฏคิ าหก  ๔ อย่างเป็นอย่างไร คอื ให้อายุ ให้ วรรณะ ใหส้ ุขะ ใหพ้ ละ ครน้ั ใหอ้ ายุแลว้ ย่อมเป็นผูม้ สี ว่ น แห่งอายุอันเป็นทิพย์หรือเป็นของมนุษย์ ครั้นให้วรรณะ แลว้ ยอ่ มเป็นผูม้ สี ่วนแหง่ วรรณะอันเป็นทิพยห์ รอื เปน็ ของ มนษุ ย์ ครนั้ ใหส้ ุขแล้ว ย่อมเปน็ ผู้มีส่วนแห่งสขุ อนั เป็นทิพย์ หรือเป็นของมนุษย์ ครนั้ ให้พละแลว้ ยอ่ มเปน็ ผมู้ ีสว่ นแหง่ พละอนั เปน็ ทิพย์หรอื เป็นของมนษุ ย์. ภิกษุทั้งหลาย !   ผู้ให้โภชนะ  ช่ือว่าย่อมให้ฐานะ ๔ อย่างนแ้ี ลแกป่ ฏคิ าหก. (คาถาผนวกท้ายพระสตู ร) ผ้ใู ดย่อมให้โภชนะโดยเคารพ ตามกาลอนั ควร แก่ ทา่ นผูส้ �ำรวม บริโภคโภชนะทผี่ ้อู นื่ ให้เปน็ อยู่ ผนู้ ้นั ชือ่ ว่าให้ ฐานะทัง้ ๔ อยา่ ง คือ อายุ วรรณะ สขุ ะ และพละ ผู้มปี กติใหอ้ ายุ วรรณะ สุขะ พละ จะเกิดในท่ใี ดๆ ย่อมเปน็ ผมู้ อี ายุยนื มียศในทน่ี ้ันๆ. 8

เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : ทาน (การให)้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ผใู้ หโ้ ภชนะ ชอ่ื วา่ ใหฐ้ านะ ๕ อยา่ ง แกป่ ฏคิ าหก  ๕ อยา่ งเปน็ อยา่ งไร คอื ใหอ้ ายุ ใหว้ รรณะ ให้ สุข ใหก้ ำ� ลงั ให้ปฏิภาณ ครน้ั ให้อายุแล้ว ย่อมเป็นผู้มีสว่ น แหง่ อายอุ นั เปน็ ทพิ ยห์ รอื เปน็ ของมนษุ ย์ ครน้ั ใหว้ รรณะแลว้ ยอ่ มเปน็ ผมู้ สี ว่ นแหง่ วรรณะอนั เปน็ ทพิ ยห์ รอื เปน็ ของมนษุ ย์ ครนั้ ใหส้ ขุ แลว้ ยอ่ มเปน็ ผมู้ สี ว่ นแหง่ สขุ อนั เปน็ ทพิ ยห์ รอื เปน็ ของมนษุ ย์ ครน้ั ใหก้ �ำลังแล้ว ยอ่ มเปน็ ผมู้ สี ว่ นแห่งกำ� ลงั อนั เปน็ ทิพย์หรือเปน็ ของมนษุ ย์ คร้นั ใหป้ ฏภิ าณแล้ว ย่อมเป็น ผมู้ สี ่วนแห่งปฏิภาณอนั เป็นเปน็ ทพิ ยห์ รอื เปน็ ของมนุษย์. ภิกษุทั้งหลาย !   ผู้ให้โภชนะ  ชื่อว่าย่อมให้ฐานะ ๕ อยา่ งน้ีแลแกป่ ฏคิ าหก. (คาถาผนวกทา้ ยพระสตู ร) ผู้มปี ัญญา ให้อายยุ ่อมได้อายุ ให้ก�ำลังยอ่ มได้กำ� ลงั ใหว้ รรณะยอ่ มไดว้ รรณะ ใหป้ ฏภิ าณย่อมไดป้ ฏิภาณ ใหส้ ขุ ยอ่ มไดส้ ขุ ครน้ั ใหอ้ ายุ กำ� ลงั วรรณะ สขุ และปฏภิ าณแลว้ จะเกิดในทใี่ ดๆ ย่อมเปน็ ผมู้ อี ายยุ นื มยี ศในท่นี ัน้ ๆ . 9

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : ทาน (การให)้ ผใู้ หข้ ้าวยาคู กช็ อ่ื วา่ 06ใหอ้ ายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏภิ าน -บาลี มหา. ว.ิ ๕/๗๖/๖๑. พราหมณ์ !   ขา้ วยาคูมคี ณุ ๑๐ อยา่ ง  ๑๐ อย่าง เปน็ อยา่ งไร คือ ผใู้ หข้ า้ วยาคู ชือ่ วา่ ใหอ้ ายุ ใหว้ รรณะ ให้ สุข ให้ก�ำลัง ให้ปฏิภาณ ข้าวยาคูที่ด่ืมแล้วก�ำจัดความหิว บรรเทาความระหาย ท�ำลมให้เดินคล่อง ล้างล�ำไส้ ย่อย อาหารทเ่ี หลอื อย.ู่ พราหมณ ์!  เหลา่ นแ้ี ล คอื คณุ ของขา้ วยาคู ๑๐ อยา่ ง. จากน้ันพระผ้มู ีพระภาคได้ตรัสคำ�อนุโมทนา ดงั นี้ ทายกใดถวายขา้ วยาคโู ดยเคารพตามกาลแกป่ ฏคิ าหก ผสู้ ำ� รวมแล้ว ผู้บรโิ ภคโภชนะอนั ผูอ้ น่ื ถวาย ทายกน้นั ช่อื วา่ ตามเพ่ิมให้ซง่ึ สถานะ ๑๐ อย่างแก่ปฏคิ าหกนน้ั คอื อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏภิ าณ ยอ่ มเกดิ แก่ ปฏคิ าหกนนั้ แตน่ นั้ ขา้ วยาคยู อ่ มกำ� จดั ความหวิ ความระหาย ท�ำลมให้เดินคล่อง ล้างล�ำไส้ และย่อยอาหาร ข้าวยาคูนั้น พระสุคตตรสั สรรเสริญว่าเป็นเภสัช เพราะเหตุน้ันแล  มนุษย์ชนท่ีต้องการสุขเป็นนิจ ปรารถนาสุขที่เลิศ หรืออยากได้ความงามอันเพริศพร้ิงใน มนุษย์ จงึ ควรแทเ้ พ่ือถวายขา้ วยาคู. 10

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ทาน (การให้) ผใู้ หข้ องทพี่ อใจยอ่ มไดข้ องทพ่ี อใจ 07 -บาลี ปฺ จก. อ.ํ ๒๒/๕๓/๔๔. ... ผู้ให้ของท่ีพอใจ ย่อมได้ของที่พอใจ ผู้ใดย่อม ให้เครอ่ื งน่งุ ห่ม ที่นอน ขา้ ว น�ำ้ และปัจจัยมปี ระการต่างๆ ดว้ ยความพอใจ ในท่านผปู้ ระพฤตติ รง ส่งิ ของที่ให้ไปแล้ว น้ันย่อมเป็นของที่บริจาคแล้ว สละแล้วไม่คิดเอาคืน ผู้น้ัน เป็นสัปบุรุษ ทราบชัดว่าพระอรหันต์เปรียบด้วยนาบุญ บริจาคสง่ิ ท่บี รจิ าคได้ยากแล้ว ชอ่ื วา่ ให้ของทีพ่ อใจ ย่อมได้ ของทีพ่ อใจ ดังน.้ี ... ผใู้ หข้ องทพ่ี อใจ ยอ่ มไดข้ องทพี่ อใจ ผใู้ หข้ องทเี่ ลศิ ยอ่ มได้ของท่ีเลิศ ผใู้ หข้ องทดี่ ยี อ่ มได้ของท่ดี ี และผู้ให้ของ ทปี่ ระเสรฐิ ยอ่ มเขา้ ถงึ สถานทป่ี ระเสรฐิ นรชนใดใหข้ องทเี่ ลศิ ให้ของท่ีดี  และให้ของที่ประเสริฐ  นรชนนั้นจะบังเกิด ณ ที่ใดๆ ย่อมมีอายยุ ืน มยี ศ ดงั น้ี. 11

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ทาน (การให)้ การใหท้ านเปน็ เหตใุ ห้เกดิ ทรัพย์ 08 -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๓๗๖/๕๗๙. -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๒๗๘/๑๙๗. มลั ลกิ า !   มาตคุ ามบางคนในโลกน้ี ไมเ่ ปน็ ผมู้ กั โกรธ ไม่มากไปด้วยความคับแค้นใจ  ถูกว่าแม้มากก็ไม่ขัดเคือง ไม่ฉุนเฉียว ไม่กระฟัดกระเฟียด ไม่กระด้างกระเด่ือง ไม่ แสดงความโกรธ ความขดั เคอื งและความไมพ่ อใจใหป้ รากฏ และเป็นผู้ให้ทาน คือ ข้าว น้ำ� เครื่องนุ่งห่ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครอ่ื งลบู ไล้ ทน่ี อน ทอ่ี ยอู่ าศยั และประทปี โคมไฟ แก่สมณะหรือพราหมณ์ ถ้ามาตุคามน้ันจุติจาก อตั ภาพนนั้ แล้ว มาสู่ความเป็นอย่างนี้ กลับมาเกดิ ในทใี่ ดๆ ยอ่ มเป็นผมู้ รี ูปงาม นา่ ดู น่าชม ประกอบด้วยความเป็นผมู้ ี ผวิ พรรณงามยง่ิ นกั ทง้ั เปน็ ผมู้ ง่ั คงั่ มที รพั ยม์ าก มโี ภคสมบตั ิ มากและสงู ศักด์.ิ มาณพ !   ปฏิปทาทเ่ี ปน็ ไปเพอื่ ความมโี ภคทรพั ย์ มากนี้ คอื การใหข้ า้ ว นำ้� เครอ่ื งนงุ่ หม่ ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครอ่ื งลบู ไล้ ทน่ี อน ทอี่ ยอู่ าศยั และประทปี โคมไฟ แก่สมณะหรือพราหมณ์. 12

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ทาน (การให้) ความตา่ งกนั ระหวา่ งผใู้ หแ้ ละผไู้ มใ่ ห้ 09 -บาลี ปฺ จก. อ.ํ ๒๒/๓๔/๓๑. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ขอประทานพระวโรกาส สาวกของ พระผมู้ พี ระภาค ๒ คน มศี รทั ธา มศี ลี มปี ญั ญาเทา่ ๆ กนั คนหนง่ึ เปน็ ผใู้ ห้ คนหนึ่งเป็นผู้ไม่ให้ คนทั้งสองน้ัน เม่ือตายไป พงึ เขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ แตค่ นทง้ั สองนน้ั ทง้ั ทเ่ี ปน็ เทวดาเหมอื นกนั จกั มคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกนั หรอื . สมุ นา !  คนทง้ั สองนน้ั จกั มคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกนั คอื ผใู้ หท้ เ่ี ปน็ เทวดา ยอ่ มขม่ เทวดาผไู้ มใ่ หด้ ว้ ยเหตุ ๕ ประการ คอื อายุ วรรณะ สขุ ยศ และอธปิ ไตยที่เปน็ ทิพย์. สมุ นา !  ผใู้ หท้ เี่ ปน็ เทวดา  ยอ่ มขม่ เทวดาผไู้ มใ่ ห้ ดว้ ยเหตุ ๕ ประการนี้. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ก็ถ้าเทวดาทั้งสองนั้นจุติจากเทวโลก นน้ั แลว้ มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ แตค่ นทง้ั สองนน้ั ทง้ั ทเ่ี ปน็ มนษุ ยเ์ หมอื นกนั พึงมคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกันหรอื . สมุ นา !  คนทง้ั สองนน้ั พงึ มคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกนั คอื ผใู้ หท้ เี่ ปน็ มนษุ ย์ ยอ่ มขม่ มนษุ ยผ์ ไู้ มใ่ หด้ ว้ ยเหตุ ๕ ประการ คอื อายุ วรรณะ สขุ ยศ และอธิปไตยทีเ่ ปน็ ของมนษุ ย์. สมุ นา !  ผใู้ หท้ เ่ี ปน็ มนษุ ย ์ ยอ่ มขม่ มนษุ ยผ์ ไู้ มใ่ ห้ ดว้ ยเหตุ ๕ ประการน้.ี 13

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ก็ถ้าคนทั้งสองนั้นออกบวช แต่คน ทง้ั สองนน้ั ทง้ั ทเ่ี ปน็ บรรพชติ เหมอื นกนั พงึ มคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกนั หรอื . สมุ นา !   คนทงั้ สองนน้ั พงึ มคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกนั คือ ผู้ให้ท่ีเป็นบรรพชิต ย่อมข่มบรรพชิตผู้ไม่ให้ด้วยเหตุ ๕ ประการ คือ (1) เธอใชส้ อยจวี ร สว่ นมากเพราะถกู เขาออ้ นวอน ที่ไมถ่ ูกใครออ้ นวอนใหใ้ ช้สอยนน้ั เปน็ สว่ นนอ้ ย (2) เธอฉนั บณิ ฑบาต สว่ นมากเพราะถกู เขาออ้ นวอน ทีไ่ ม่ถกู ใครออ้ นวอนให้ฉนั นั้นเปน็ ส่วนน้อย (3) เธอใช้สอยเสนาสนะ ส่วนมากเพราะถูกเขา อ้อนวอน ทไ่ี มถ่ กู ใครออ้ นวอนใหใ้ ชส้ อยนน้ั เป็นสว่ นนอ้ ย (4) เธอบรโิ ภคยากบั เครอ่ื งใชใ้ นการรกั ษาโรค สว่ น มากเพราะถกู เขาออ้ นวอน ทไ่ี มถ่ กู ใครออ้ นวอนใหบ้ รโิ ภคนน้ั เปน็ สว่ นนอ้ ย (5) เมื่ออยู่ร่วมกับเพ่ือนพรหมจรรย์เหล่าใด เพ่ือนพรหมจรรย์เหล่านั้นก็ประพฤติต่อเธอด้วยกายกรรม วจกี รรม มโนกรรม เปน็ ทพ่ี อใจเปน็ สว่ นมาก ไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจ เปน็ สว่ นนอ้ ย ยอ่ มนำ�สงิ่ เปน็ ทพ่ี อใจมาเปน็ สว่ นมาก ยอ่ มนำ� สงิ่ ไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจมาเปน็ สว่ นน้อย สุมนา !   ผู้ให้ที่เป็นบรรพชิต  ย่อมข่มบรรพชิต ผู้ไม่ใหด้ ว้ ยเหตุ ๕ ประการน้ี. 14

เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ทาน (การให)้ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !  กถ็ า้ คนทง้ั สองนน้ั บรรลเุ ปน็ พระอรหนั ต์ แตค่ นทง้ั สองนน้ั ทง้ั ทไ่ี ดบ้ รรลเุ ปน็ พระอรหนั ตเ์ หมอื นกนั พงึ มคี วามพเิ ศษ แตกตา่ งกนั หรอื . สุมนา !   ข้อน้ี  เราไม่กล่าวว่า  มีความพิเศษ แตกตา่ งกันใดๆ ในวิมุตติกับวิมตุ ติ. ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ !   น่าอัศจรรย์  ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ !   ไมเ่ คยม ี ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   ขอ้ นก้ี �ำ หนดไดว้ า่ บคุ คลควรใหท้ าน ควรท�ำ บญุ เพราะบญุ เปน็ อปุ การะแมแ้ กเ่ ทวดาแมแ้ กม่ นษุ ย์แมแ้ กบ่ รรพชติ . อยา่ งน้ัน สุมนา !   อย่างน้ัน สุมนา ! บุคคลควรให้ทาน ควรท�ำบุญ เพราะบุญเป็น อุปการะแม้แก่เทวดา แมแ้ ก่มนษุ ย์ แมแ้ กบ่ รรพชิต. (คาถาผนวกทา้ ยพระสูตร) ดวงจนั ทรป์ ราศจากมลทนิ เดนิ ไปในอากาศยอ่ มสวา่ ง กวา่ หมดู่ าวทงั้ ปวงในโลกดว้ ยรศั มี ฉนั ใด บคุ คลผสู้ มบรู ณ์ ดว้ ยศลี มศี รทั ธา กฉ็ นั นนั้ ยอ่ มไพโรจนก์ วา่ ผตู้ ระหนท่ี ง้ั ปวง ในโลกดว้ ยจาคะ (การบริจาค) เมฆที่ลอยไปตาม อากาศ มีสายฟ้าปลาบแปลบ มี ชอ่ ต้งั รอ้ ย ตกรดแผน่ ดินเตม็ ทด่ี อนและที่ลมุ่ ฉนั ใด สาวก ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผสู้ มบรู ณด์ ว้ ยทสั สนะ เปน็ บณั ฑติ ก็ฉนั น้ัน ยอ่ มขม่ ผตู้ ระหนไี่ ดด้ ้วยฐานะ ๕ ประการ คอื อายุ วรรณะ สุข ยศ และเปย่ี มด้วยโภคะ ละโลกนไ้ี ปแล้ว ยอ่ ม บันเทิงใจในสวรรค์ ดังนี.้ 15

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ทาน (การให้) หากสตั วท์ ้ังหลาย 10 รู้ผลแหง่ การจ�ำแนกทาน -บาลี ขุ. ข.ุ ๒๕/๒๔๓/๒๐๔. ภิกษุท้ังหลาย !   ถ้าว่าสัตว์ท้ังหลายพึงรู้ผลแห่ง การจ�ำแนกทานเหมือนอย่างเรารู้ไซร้ หากสัตว์เหล่านั้นยัง ไม่ได้ให้ทานเสียก่อน ก็จะไม่พึงบริโภค อนึ่ง มลทินคือ ความตระหนจี่ ะไมพ่ งึ ครอบงำ� จติ ของสตั วเ์ หลา่ นน้ั แมค้ ำ� ขา้ ว คอื กอ้ นขา้ วของสตั วเ์ หลา่ นนั้ จะพงึ เหลอื อยคู่ ำ� สดุ ทา้ ยกต็ าม ถ้าปฏิคาหกของพวกเขายังมีอยู่ หากสัตว์เหล่านั้นยังไม่ได้ แบง่ คำ� ขา้ วค�ำสดุ ทา้ ยแมน้ นั้ (ให้แก่ปฏิคาหก) ก็จะไม่บริโภค. ภิกษุทั้งหลาย !   แต่เพราะสัตว์ท้ังหลายไม่รู้ผล แหง่ การจำ� แนกทานเหมอื นอยา่ งเรารู้ ฉะนน้ั สตั วเ์ หลา่ นนั้ จงึ ไม่ได้ให้ทานกอ่ นบริโภค อนงึ่ มลทนิ คอื ความตระหน่ี จงึ ยังครอบง�ำจิตของสัตวเ์ หลา่ น้ัน. 16

เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ทาน (การให้) (คาถาผนวกท้ายพระสตู ร) ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจ�ำแนกทาน เหมอื นอยา่ งทเี่ รากลา่ วไวแ้ ลว้ โดยวธิ ที ผ่ี ลนน้ั เปน็ ผลใหญไ่ ซร้ สัตวท์ ง้ั หลายพึงกำ� จัดความตระหนี่ อันเป็นมลทินเสยี แลว้ มใี จผ่องใส พึงให้ทานในเขตท่ีใหแ้ ลว้ มีผลมาก คอื ในพระอริยบุคคลทง้ั หลายตามกาลอันควร อน่ึงทายกเป็นอนั มาก ครั้นให้ขา้ วเป็นทักขิณา ในทักขิเณยยบุคคลทงั้ หลายแลว้ เม่อื จตุ ิจากความเปน็ มนษุ ย์น้แี ลว้ ยอ่ มไปสู่สวรรค์ ทายกเหล่านน้ั ผ้ใู คร่กาม ไม่มีความตระหน่ี ไปสสู่ วรรคแ์ ล้ว บนั เทิงอยใู่ นสวรรค์น้นั เสวยอยู่ซงึ่ ผลแห่ง การจ�ำแนกทาน. 17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ทาน (การให้) 11สงั คหวตั ถุ (ธรรมเป็นทตี่ ง้ั แห่งการสงเคราะห)์ -บาลี จตกุ ฺก. อํ. ๒๑/๔๒/๓๒. ภกิ ษุท้ังหลาย !   สังคหวตั ถุ ๔ ประการนมี้ ีอยู่ ๔ ประการเป็นอยา่ งไร คอื (1) ทาน (การให้) (2) เปยยวัชชะ (การพดู ถ้อยค�ำอนั เปน็ ท่รี กั ) (3) อัตถจริยา (การประพฤตปิ ระโยชน)์ (4) สมานตั ตา (ความมตี นเสมอกนั ) ภกิ ษุท้ังหลาย !   เหลา่ น้แี ล สงั คหวัตถุ ๔ ประการ. 18

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ทาน (การให)้ (คาถาผนวกทา้ ยพระสตู ร) การให้ ความเป็นผูม้ ีวาจาน่ารกั ความประพฤตปิ ระโยชน์ในโลกนี้ ความเปน็ ผมู้ ตี นสมำ�่ เสมอในธรรมนน้ั ๆ ตามสมควร ธรรมเหลา่ น้นั แล เป็นเคร่ืองสงเคราะห์โลก ประดจุ สลกั เพลาควบคมุ รถทแี่ ลน่ ไปอยไู่ วไ้ ด้ ฉะนนั้ ถ้าธรรมเครอ่ื งสงเคราะห์เหล่านี้ ไมพ่ ึงมีไซร้ มารดาหรือบิดาไม่พงึ ไดค้ วามนับถือหรอื บชู า เพราะเหตุแหง่ บตุ ร ก็เพราะเหตทุ ี่บัณฑติ พิจารณาเหน็ ธรรม เครอ่ื งสงเคราะหเ์ หลา่ นี้ ฉะนั้นพวกเขาจงึ ถึงความเป็นใหญ่ และเป็นทีน่ า่ สรรเสรญิ . 19

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : ทาน (การให้) ธรรมท่บี ัณฑิตบญั ญตั ิไว้ 12 -บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๑๙๑/๔๘๔. ภิกษุทั้งหลาย !   ธรรม ๓ ประการนี้  บัณฑิตได้ บญั ญตั ไิ ว้ สปั บรุ ษุ ไดบ้ ัญญตั ไิ ว ้ ๓ ประการเปน็ อยา่ งไร คอื (๑) ทาน (๒) บรรพชา (๓) มาตาปติ อุ ปุ ัฏฐาน (การบำ� รุงมารดาบิดา) ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๓ ประการน้ีแล  บัณฑิต บญั ญัติไว้ สัปบุรุษบญั ญตั ิไว้. (คาถาผนวกทา้ ยพระสูตร) ทาน การไมเ่ บียดเบยี น ความส�ำรวม การฝกึ ตน การบ�ำรงุ มารดาและบิดา สัปบรุ ษุ บัญญัตไิ ว้ เหตุทบ่ี ัณฑติ เสพ เป็นเหตขุ องสปั บรุ ุษ ผเู้ ป็นคนดี เปน็ พรหมจารีบคุ คล ผทู้ เ่ี ปน็ อรยิ ะ สมบรู ณด์ ว้ ยทสั สนะ (การเหน็ ดว้ ยปญั ญา) ยอ่ มถึงโลกอันเกษม. 20

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ทาน (การให)้ ลกั ษณะผ้มู ีศรัทธาเลอื่ มใส 13 -บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๑๙๐/๔๘๑. ภิกษุทั้งหลาย !   พึงทราบบุคคลมีศรัทธาเล่ือมใส โดยฐานะ ๓ ประการ  ๓ ประการเป็นอย่างไร คอื (1) เปน็ ผ้ใู คร่ทจ่ี ะเห็นท่านผู้มศี ีล (2) เป็นผู้ใครท่ ี่จะฟังธรรม (3) มีใจปราศจากมลทินคือความตระหน่ี  อยู่ ครองเรือน มีการบริจาคอันปล่อยอยู่เป็นประจำ� มีฝ่ามือ อันชุม่ ยินดีในการสละ เปน็ ผู้ควรแกก่ ารขอ ยินดีในการให้ และการแบ่งปนั ภิกษุทั้งหลาย !   พึงทราบว่า คนมีศรัทธาเล่ือมใส โดยฐานะ ๓ ประการอยา่ งนีแ้ ล. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) บคุ คลผู้ใคร่จะเห็นท่านผมู้ ีศลี ปรารถนาจะฟงั พระสัทธรรม ก�ำจัดความตระหน่ีอันเป็นมลทนิ นนั้ แล เรยี กว่าผมู้ ศี รทั ธา. 21

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ทาน (การให้) ปฏิปทาสมควรแก่คฤหัสถ์ 14 -บาลี จตุกกฺ . อํ. ๒๑/๘๔/๖๐. คหบด ี !   อรยิ สาวกผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติปฏิปทาสมควรแก่คฤหัสถ์ อันเป็นเหตุ ให้ได้ยศและเป็นไปเพื่อเกิดในสวรรค์ ๔ ประการเป็น อย่างไร คอื (1) เปน็ ผู้บำ�รงุ ภกิ ษสุ งฆ์ด้วยจีวร (2) เป็นผบู้ ำ�รงุ ภิกษสุ งฆ์ดว้ ยบณิ ฑบาต (3) เป็นผู้บำ�รุงภิกษุสงฆด์ ้วยเสนาสนะ (4) เป็นผู้บำ�รุงภิกษุสงฆ์ด้วยคิลานปัจจัยเภสัช- บริขาร (ยากบั เคร่อื งใช้ในการรกั ษาโรค)  คหบด ี !   อรยิ สาวกผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ เหล่านี้แล ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติปฏิปทาอันสมควรแก่คฤหัสถ์ อันเปน็ เหตใุ หไ้ ดย้ ศ และเป็นไปเพือ่ สวรรค.์ บณั ฑติ ทงั้ หลายบำ� รงุ ทา่ นผมู้ ศี ลี ผดู้ ำ� เนนิ ไปโดยชอบ ด้วย จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะและคลิ านปจั จัยเภสชั บรขิ าร ชื่อว่าย่อมปฏิบัติปฏิปทาสมควรแก่คฤหัสถ์ บุญย่อมเจริญ แกเ่ ขาทกุ เมอ่ื ทง้ั กลางวนั และกลางคนื เขาทำ� กรรมอนั เจรญิ แล้ว ยอ่ มเขา้ ถึงฐานะคือสวรรค.์ 22

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : ทาน (การให้) การเกย่ี วขอ้ งกนั ของนกั บวชกบั คฤหสั ถ์ 15 -บาลี อิติว.ุ ข.ุ ๒๕/๓๑๔/๒๘๗. ภิกษุทั้งหลาย !   พราหมณ์และคหบดีทั้งหลาย ผู้บ�ำรุงเธอทั้งหลายด้วยจีวร  บิณฑบาต  เสนาสนะและ คลิ านปัจจัยเภสัชบริขาร (ยากับเคร่อื งใชใ้ นการรักษาโรค) ชอื่ ว่า เป็นผ้มู อี ปุ การะมากแกเ่ ธอทั้งหลาย. ภิกษุท้ังหลาย !   การที่เธอท้ังหลายแสดงธรรมอัน งามในเบอ้ื งตน้ งามในทา่ มกลาง งามในทสี่ ดุ พรอ้ มทง้ั อรรถะ พร้อมทง้ั พยญั ชนะ ประกาศพรหมจรรยอ์ นั บริสทุ ธิบ์ รบิ รู ณ์ สน้ิ เชงิ แกพ่ ราหมณแ์ ละคหบดีเหล่าน้นั ชอ่ื วา่ เธอท้ังหลาย กเ็ ป็นผู้มีอปุ การะมากแกช่ นเหล่านน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   คฤหสั ถแ์ ละบรรพชติ ทงั้ หลายตา่ ง อาศยั ซึ่งกนั และกันอยู่ ประพฤติพรหมจรรย์ เพ่ือถอนกเิ ลส อนั เปรยี บเหมอื นหว้ งนำ้� เพอื่ จะทำ� ซงึ่ ทสี่ ดุ แหง่ ทกุ ขโ์ ดยชอบ ดว้ ยประการอย่างน้ี. 23

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : ทาน (การให)้ หลกั ในการจดั สรรทรพั ย์ 16 -บาลี จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๘๘-๘๙/๖๑. คหบด ี !   อรยิ สาวกนนั้ ใชโ้ ภคทรพั ย์ ทต่ี นหาไดม้ า ด้วยความเพยี รเปน็ เครอื่ งลกุ ข้นึ รวบรวมมาด้วยกำ� ลงั แขน มีตัวชมุ่ ดว้ ยเหงื่อ เปน็ โภคทรพั ย์ประกอบด้วยธรรม ไดม้ า โดยธรรม เพอ่ื กระทำ� กรรมในหนา้ ที่ ๔ ประการ  ๔ ประการ เป็นอยา่ งไร คือ (1) อรยิ สาวกนน้ั ใชโ้ ภคทรพั ยอ์ นั ตนหาไดม้ าโดย ชอบธรรม ในการเลี้ยงตนให้เป็นสุข อ่ิมหนำ� บริหารตน ให้อยู่เป็นสุขโดยถูกต้อง  ในการเลี้ยงมารดาและบิดา ให้เป็นสุข อิ่มหนำ� บริหารท่านทั้งสองให้อยู่เป็นสุขโดย ถูกตอ้ ง ในการเล้ยี งบุตร ภรรยา ทาสและกรรมกรชายหญงิ ให้เป็นสุข อม่ิ หนำ� บรหิ ารให้อยกู่ ันอยา่ งเปน็ สขุ โดยถูกตอ้ ง ในการเลี้ยงมิตรอำ�มาตย์ให้เป็นสุข อ่ิมหนำ� บริหารให้อยู่ เป็นสุขโดยถูกต้อง  นี้เป็นการบริโภคทรัพย์ฐานที่ ๑ อนั อรยิ สาวกนน้ั ถงึ แลว้ บรรลแุ ลว้ บรโิ ภคแลว้ โดยชอบดว้ ย เหตผุ ล. 24

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : ทาน (การให)้ (2) คหบดี !   ข้ออ่ืนยังมีอีก  อริยสาวกนั้น  ใช้ โภคทรัพย์อันตนหาได้มาโดยชอบธรรม  ในการปิดก้ัน อันตรายท้ังหลาย ทำ�ตนให้ปลอดภัยจากอันตรายทั้งหลาย ทีเ่ กิดจากไฟ จากน้ำ� จากพระราชา จากโจร หรอื จากทายาท ที่ไม่เป็นที่รักน้ันๆ น้ีเป็นการบริโภคทรัพย์ฐานท่ี ๒ อัน อริยสาวกนั้นถึงแล้ว บรรลุแล้ว บริโภคแล้วโดยชอบด้วย เหตผุ ล. (3) คหบดี !   ข้ออ่ืนยังมีอีก  อริยสาวกนั้น  ใช้ โภคทรพั ยอ์ นั ตนหาไดม้ าโดยชอบธรรม ในการกระทำ�พลกี รรม ๕ ประการ คอื ญาตพิ ลี (สงเคราะห์ญาติ) อตถิ พิ ลี (สงเคราะห์ แขก) ปพุ พเปตพลี (สงเคราะหผ์ ลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ ) ราชพลี (ชว่ ยชาต)ิ เทวตาพลี (สงเคราะหเ์ ทวดา) นเ้ี ปน็ การบรโิ ภคทรพั ยฐ์ านท่ี ๓ อนั อรยิ สาวกนน้ั ถงึ แลว้ บรรลแุ ลว้ บรโิ ภคแลว้ โดยชอบดว้ ย เหตุผล. คหบดี !   ข้ออื่นยังมีอีก  อริยสาวกนั้น  ใช้ โภคทรัพย์อันตนหามาได้โดยชอบธรรม ในการตั้งไว้ซึ่ง ทักษิณา อุทิศแก่สมณพราหมณ์ท้ังหลายผู้งดเว้นแล้วจาก ความประมาทมวั เมา ผตู้ ง้ั มน่ั อยใู่ นขนั ตแิ ละโสรจั จะ ผฝู้ กึ ฝน 25

พุทธวจน - หมวดธรรม ทำ�ความสงบ  ทำ�ความดับเย็นแก่ตนเอง  อันเป็นทักษิณา ท่ีมีผลเลิศในเบ้ืองบน  เป็นฝ่ายดี  มีสุขเป็นผลตอบแทน เปน็ ไปพรอ้ มเพอ่ื สวรรค ์ นเ้ี ปน็ การบรโิ ภคทรพั ยฐ์ านท่ี ๔ อันอริยสาวกน้ันถึงแล้ว  บรรลุแล้ว  บริโภคแล้วโดยชอบ ด้วยเหตผุ ล. คหบดี !   อริยสาวกน้ัน ย่อมใช้โภคทรัพย์ที่ตนหา ไดม้ าดว้ ยความเพยี รเปน็ เครอื่ งลกุ ขนึ้ รวบรวมมาดว้ ยกำ� ลงั แขน มีตัวชุ่มด้วยเหง่ือ เป็นโภคทรัพย์ประกอบด้วยธรรม ไดม้ าโดยธรรม เพอ่ื กระทำ� กรรมในหนา้ ท่ี ๔ ประการเหลา่ น.้ี คหบดี !   โภคทรัพย์ทั้งหลายของบุคคลใด ถึง ความหมดสน้ิ ไป โดยเวน้ จากกรรมในหนา้ ที่ ๔ ประการ ดังกล่าวแล้วน้ี โภคทรัพย์เหล่านั้น เรากล่าวว่าเป็น โภคทรพั ยอ์ นั บคุ คลนน้ั ไมถ่ งึ แลว้ โดยฐานะ ไมบ่ รรลแุ ลว้ ไม่บริโภคแล้วโดยชอบด้วยเหตผุ ล. คหบดี !   โภคทรัพย์ท้ังหลายของบุคคลใด ถึง ความหมดส้ินไป โดยกรรมในหน้าท่ี ๔ ประการ ดังกล่าว แลว้ น้ี โภคทรัพย์เหล่าน้นั เรากลา่ ววา่ เป็นโภคทรัพยอ์ นั บคุ คลนนั้ ถงึ แลว้ โดยฐานะ บรรลแุ ลว้ บรโิ ภคแลว้ โดยชอบ ด้วยเหตุผล. 26

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ทาน (การให้) การใชส้ อยโภคทรพั ยโ์ ดยไมส่ ญู เปลา่ 17 -บาลี สคา. สํ. ๑๕/๑๓๑/๓๘๘. มหาราช !   สัปบุรุษได้โภคทรัพย์อันโอฬารแล้ว ยอ่ มทำ� ตนใหเ้ ปน็ สขุ อม่ิ หนำ�   ทำ� มารดาบดิ าใหเ้ ปน็ สขุ อมิ่ หนำ� ทำ� บตุ รภรรยาใหเ้ ปน็ สขุ อมิ่ หนำ�   ทำ� ทาสกรรมกรใหเ้ ปน็ สขุ อมิ่ หนำ�   ท�ำมติ รอำ� มาตยใ์ หเ้ ปน็ สุข อิ่มหน�ำ  ยอ่ มตัง้ ไว้ซ่ึง ทักษิณาอันอุทิศแก่สมณพราหมณ์ท้ังหลาย  เป็นทักษิณา มีผลเลิศในเบื้องบน  เป็นฝ่ายดี  มีสุขเป็นผลตอบแทน เป็นไปพรอ้ มเพอื่ สวรรค.์ เมอ่ื เขาบรโิ ภคโภคทรพั ยเ์ หลา่ นนั้ โดยชอบอยอู่ ยา่ งน้ี พระราชากไ็ มร่ บิ โภคทรพั ยเ์ หลา่ นนั้ ไปได ้ โจรกไ็ มน่ ำ� ไปได้ ไฟก็ไม่ไหม้ได้  น�้ำก็ไม่พัดไปได้  ทายาทอันไม่เป็นท่ีรัก ก็ไม่ย้ือแย่งไปได้. มหาราช !   โภคทรัพย์เหล่านั้น อันเขาบริโภคอยู่ โดยชอบอย่างนี้  ย่อมถึงซ่ึงการได้บริโภคใช้สอยโดย ไม่สูญเปลา่ . มหาราช !   เปรยี บเหมอื นในทไี่ มไ่ กลจากบา้ นหรอื นคิ ม มีสระโบกขรณมี นี ำ้� ใส เย็น น่าด่ืม สะอาด มีทา่ ขน้ึ ลงดี นา่ รื่นรมย์ คนเขาขนน้�ำนน้ั ไปบา้ ง ดื่มบา้ ง อาบบ้าง ทำ� ตาม ต้องการบา้ ง. 27

พทุ ธวจน - หมวดธรรม มหาราช !   น้�ำน้ันอันเขาบริโภคใช้สอยอยู่โดย ชอบอย่างนี้ ยอ่ มถงึ ซึ่งการไดบ้ ริโภคใช้สอยโดยไมส่ ูญเปล่า น้ฉี ันใด. มหาราช !   สัปบุรุษได้โภคทรัพย์อันโอฬารแล้ว ยอ่ มทำ� ตนใหเ้ ปน็ สขุ อม่ิ หนำ�   ทำ� มารดาบดิ าใหเ้ ปน็ สขุ อมิ่ หนำ� ทำ� บตุ รภรรยาใหเ้ ปน็ สขุ อมิ่ หนำ�   ทำ� ทาสกรรมกรใหเ้ ปน็ สขุ อิ่มหน�ำ  ท�ำมิตรอ�ำมาตย์ให้เป็นสุข อ่ิมหน�ำ  ย่อมต้ังไว้ซ่ึง ทักษิณาอันอุทิศแก่สมณพราหมณ์ท้ังหลาย  เป็นทักษิณา มีผลเลิศในเบื้องบน เป็นฝักฝ่ายดี มีสุขเป็นผลตอบแทน เป็นไปพร้อมเพอื่ สวรรค.์ เมอื่ เขาบรโิ ภคโภคทรพั ยเ์ หลา่ นนั้ โดยชอบอยอู่ ยา่ งนี้ พระราชาก็ไม่ริบโภคทรัพย์เหล่าน้ันไปได้ โจรก็ไม่น�ำไปได้ ไฟก็ไม่ไหม้ได้  น้�ำก็ไม่พัดไปได้  ทายาทอันไม่เป็นท่ีรัก กไ็ ม่ยอ้ื แย่งไปได้. มหาราช !   โภคทรัพย์เหล่าน้ัน  อันเขาบริโภค อยู่โดยชอบอย่างน้ี  ย่อมถึงซ่ึงการได้บริโภคใช้สอยโดย ไมส่ ญู เปลา่ ฉันนนั้ เหมอื นกัน. 28

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : ทาน (การให้) 18หลกั ดำ� รงชพี เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ในสมั ปรายะ -บาลี อฏก. อํ. ๒๓/๒๘๙-๒๙๓/๑๔๔. พ๎ยัคฆปัชชะ !   ธรรม ๔ ประการเหล่านี้ เป็นไป เพอ่ื ประโยชนเ์ กื้อกลู เพือ่ ความสุขของกุลบตุ รในสัมปรายะ (ในกาลเบอ้ื งหน้า) ๔ ประการเป็นอยา่ งไร คอื (1) สัทธาสมั ปทา (ความถงึ พร้อมด้วยศรทั ธา) (2) สลี สมั ปทา (ความถงึ พรอ้ มด้วยศลี ) (3) จาคสัมปทา (ความถึงพรอ้ มด้วยการบรจิ าค) (4) ปญั ญาสมั ปทา (ความถงึ พรอ้ มด้วยปญั ญา) พย๎ ัคฆปัชชะ !   สทั ธาสัมปทา เป็นอย่างไร. พ๎ยัคฆปัชชะ !   กุลบุตรในกรณีน้ี  เป็นผู้มีศรัทธา เชอ่ื ในการตรสั รขู้ องตถาคตวา่ “เพราะเหตอุ ยา่ งนๆ้ี พระผมู้ ี พระภาคเจา้ นน้ั เปน็ ผไู้ กลจากกเิ ลส เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบไดโ้ ดย พระองคเ์ อง เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและจรณะ เปน็ ผไู้ ปแลว้ ด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่ สมควรฝกึ ไดอ้ ยา่ งไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่   เปน็ ครผู สู้ อนของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย  เป็นผู้รู้  ผู้ตื่น  ผู้เบิกบานด้วยธรรม เปน็ ผมู้ คี วามจำ� เรญิ   จำ� แนกธรรมสง่ั สอนสตั ว”์   นเ้ี รยี กวา่ สัทธาสัมปทา. 29

พทุ ธวจน - หมวดธรรม พย๎ ัคฆปชั ชะ !   สลี สมั ปทา เป็นอยา่ งไร. พย๎ คั ฆปชั ชะ !   กลุ บตุ รในกรณนี ี้ เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจาก ปาณาตบิ าต เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากอทนิ นาทาน เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจาก กาเมสมุ จิ ฉาจาร เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากมสุ าวาท เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจาก สรุ าเมรยมชั ชปมาทฏั ฐาน นเี้ รยี กวา่ สลี สมั ปทา. พ๎ยัคฆปัชชะ !   จาคสัมปทา เป็นอย่างไร. พ๎ยัคฆปัชชะ !   กุลบุตรในกรณีน้ี  มีใจปราศจาก มลทินคือความตระหน่ี อยู่ครองเรือน มีการบริจาคอัน ปล่อยอยู่เป็นประจ�ำ มีฝ่ามืออันชุ่ม ยินดีในการสละ เป็น ผู้ควรแก่การขอ ยินดีในการให้และการแบ่งปัน  น้ีเรียกว่า จาคสัมปทา. พ๎ยัคฆปัชชะ !   ปัญญาสัมปทา เป็นอย่างไร. พ๎ยัคฆปัชชะ !   กุลบุตรในกรณีน้ี  เป็นผู้มีปัญญา ประกอบดว้ ยปญั ญาเครื่องให้ถึงสัจจะแหง่ การเกดิ ดับ เป็น เครอื่ งไปจากขา้ ศกึ เปน็ เครอ่ื งเจาะแทงกเิ ลส เปน็ เครอ่ื งถงึ ซึง่ ความสิ้นไปแหง่ ทุกขโ์ ดยชอบ นี้เรียกวา่ ปัญญาสัมปทา. พ๎ยัคฆปัชชะ !   ธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล  เป็น ธรรมเปน็ ไปเพอื่ ประโยชนเ์ กอื้ กลู เพอื่ ความสขุ ของกลุ บตุ ร ในสมั ปรายะ. 30

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ทาน (การให้) การสงเคราะห์ผลู้ ว่ งลบั 19 -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๒๙๐/๑๖๖. พระโคดมผเู้ จรญิ  !   พวกขา้ พเจา้ ไดน้ ามวา่ เปน็ พราหมณ์ ย่อม ให้ทาน ย่อมทำ�ความเชื่อว่า ทานนี้ต้องสำ�เร็จแก่ญาติสาโลหิตผู้ล่วงลับ ไปแลว้ ขอญาตสิ าโลหติ ผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ จงบรโิ ภคทานนี้ (อทิ  ทาน เปตา าติสาโลหิตา ปรภิ ุ ฺชนตฺ )ิ . พระโคดมผเู้ จรญิ  !  ทานนน้ั ยอ่ มส�ำ เรจ็ แกญ่ าตสิ าโลหติ ผลู้ ว่ งลบั ไปแล้วหรือ ญาติสาโลหิตผู้ล่วงลับไปแล้วเหล่าน้ัน ย่อมได้บริโภคทาน นั้นหรอื . พราหมณ์ !   ทานน้ัน ย่อมส�ำเร็จในฐานะ1และ ยอ่ มไมส่ ำ� เรจ็ ในอฐานะ.2 พระโคดมผู้เจรญิ  !   ฐานะ เปน็ อย่างไร  อฐานะเป็นอยา่ งไร. พราหมณ์ !   บคุ คลบางคนในโลกนี้ เปน็ ผฆู้ า่ สตั ว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูด คำ� หยาบ พดู เพอ้ เจอ้ มคี วามอยากไดข้ องผอู้ น่ื มจี ติ ปองรา้ ย มีความเห็นผิด  บุคคลน้ันเม่ือตายไป  ย่อมเข้าถึงนรก เขายอ่ มเลย้ี งอตั ภาพอยู่ในนรกนนั้ ย่อมต้ังอยู่ในนรกน้ัน ดว้ ยอาหารของสัตวน์ รก. 1. โอกาสทเี่ ปน็ ได้ (สถานภาพในภพนน้ั ทยี่ งั ความส�ำเรจ็ ประโยชนใ์ หเ้ กดิ ขนึ้ ได)้ 2. โอกาสทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้ (สถานภาพในภพนน้ั ทยี่ งั ความส�ำเรจ็ ประโยชนใ์ หเ้ กดิ ขน้ึ ไมไ่ ด)้ 31

พุทธวจน - หมวดธรรม พราหมณ ์ !   ฐานะอนั เปน็ ทไ่ี มเ่ ขา้ ไปสำ� เรจ็ แหง่ ทาน แกส่ ัตวผ์ ้ตู ั้งอยู่นีแ้ ล เป็นอฐานะ. พราหมณ์ !   บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผูฆ้ ่าสัตว์ ... มีความเหน็ ผิด บคุ คลน้นั เม่ือตายไป ยอ่ มเข้าถึงก�ำเนิด เดรจั ฉาน เขายอ่ มเลยี้ งอตั ภาพอยใู่ นกำ� เนดิ เดรจั ฉานนนั้ ย่อมต้ังอยู่ในก�ำเนิดเดรัจฉานนั้น  ด้วยอาหารของ สัตว์เดรจั ฉาน. พราหมณ์ !   แม้ฐานะอันเป็นที่ไม่เข้าไปส�ำเร็จแหง่ ทานแกส่ ตั วผ์ ู้ตงั้ อย่นู ้แี ล ก็เปน็ อฐานะ. พราหมณ ์ !   บคุ คลบางคนในโลกนี้ เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากการฆา่ สตั ว์ ... มีความเห็นชอบ บคุ คลนนั้ เมื่อตายไป ยอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ สหายของมนษุ ย์ เขายอ่ มเลยี้ งอตั ภาพ อยู่ในมนุษยโลกนั้น  ย่อมต้ังอยู่ในมนุษยโลกน้ัน  ด้วย อาหารของมนษุ ย.์ พราหมณ ์ !   แม้ฐานะอนั เป็นทีไ่ มเ่ ขา้ ไปสำ� เรจ็ แหง่ ทานแก่สตั วผ์ ตู้ ัง้ อย่นู แี้ ล ก็เป็นอฐานะ. พราหมณ ์ !   บคุ คลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากการฆา่ สตั ว์ ... มคี วามเหน็ ชอบ บคุ คลนนั้ เมอื่ ตายไป 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook