Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องล่างรถยนต์

เครื่องล่างรถยนต์

Published by วีรพล คนบ้านพรต, 2022-04-06 08:06:29

Description: เครื่องล่างรถยนต์

Search

Read the Text Version

15 แผนการจัดการเรียนรู้ (ครศุ าสตรเ์ คร่ืองกล) ชือ่ วิชา ระบบเคร่ืองลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชอื่ หน่วย โครงสรา้ งและหลกั การทางานของระบบส่งกาลัง สปั ดาหท์ ่ี 1-2 หน่วยย่อยที่ 1.1 - 1.2 จานวน 6 ชว่ั โมง แนวคดิ สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารสอน หน่วยยอ่ ยที่ 1.1 ส่วนประกอบของรถยนต์ หน่วยยอ่ ยที่ 1.1 บอกส่วนประกอบของรถยนต์ได้ หนว่ ยยอ่ ยท่ี 1.2 ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบสง่ หนว่ ยย่อยท่ี 1.2.1 บอกส่วนประกอบของระบบสง่ กาลงั กาลังรถยนต์ได้ หนว่ ยย่อยที่ 1.2.2 บอกหน้าที่ของสว่ นประกอบใน ระบบส่งกาลังได้ กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมครู 1.ขนั้ นาเขา้ สูบ้ ทเรียน 1.ขน้ั นาเขา้ สู้บทเรยี น - ครถู ามคาถามใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เห็นถามข้อ - นกั เรียนตอบคาถามแสดงความคดิ เห็นถามข้อสงสัย สงสยั 2.ขน้ั การสอน 2.ขน้ั การสอน 1. นักเรยี นฟงั การปฐมนเิ ทศ และถามข้อสงสัย 1. ครูแจกแบบประเมนิ ก่อนเรียนให้นักเรยี นทาแบบ 2. นักเรยี นทาแบบประเมินผลกอ่ นเรยี น ประเมนิ 3. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอนหนว่ ยที่ 1 ระบบ 2. ครแู จกใบเน้ือหา อธิบายความหมายความสาคัญ เนื้อหาสาระ หลกั การทางานของระบบ สง่ กาลัง ส่งกาลงั รถยนต์ รถยนต์ในหวั ข้อต่าง ๆ ในเอกสารประกอบการสอน 4. ฟังการบรรยาย และบันทึกสรุปสาระสาคญั ของ 3. แจกแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 ให้กับนักเรียนทา แบบฝกึ หัด หัวข้อต่าง ๆ 4. แจกแบบประเมนิ ผลหลังเรียนใหก้ ับผเู้ รยี นทา 5. ซักถาม ข้อสงสยั ในเน้ือหาสาระต่าง ๆ แบบทดสอบ 6. ปฏบิ ัติงานตามใบงาน สรปุ รายงานผลการ 5. มอบหมายงานให้นักเรยี นปฏิบัตงิ านตามใบงาน และควบคุมดูแลการปฏบิ ัติงานของนักเรียน ปฏิบัติงาน และนาเสนอผลงานสง่ ครู 7. ทาแบบฝกึ หัด การวัดและการประเมินผล 8. ทาแบบประเมนิ ผลกอ่ นเรียนและหลังเรียน วธิ ีวดั ผล เคร่ืองมือวัดผล 1. ก่อนเรียน:วัดผลและประเมนิ ผลโดยทาแบบทดสอบ 1. จากแบบฝกึ หัด 2. ขณะเรียน วดั และประเมนิ ผลโดยการถามตอบ 2. แบบประเมนิ ผลก่อนเรยี นและหลังเรียน วัดคุณธรรมจริยธรรม 3. ประเมนิ ผลจากการปฏิบัติงานตามใบงาน 3. หลังเรยี น: วัดและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ

16 เกณฑ์การประเมินผล ผู้เรียนสามารถปฏบิ ตั งิ านที่ได้รบั มอบหมายไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง งานท่มี อบหมาย แบบฝกึ หดั สือ่ การเรยี นและการสอน และอปุ กรณ์ช่วยฝกึ 1. เอกสารประกอบการสอนหนว่ ยท่ี 1 ระบบส่งกาลังรถยนต์ 2. สอ่ื นาเสนอ (Presentation) 3. แบบฝกึ หัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ของจริง หนังสืออา้ งองิ ประสานพงษ์ หาเรอื นชพี . 2011. งานส่งกาลงั รถยนต.์ นครราชสมี า

17 ใบเนอื้ หา (ครศุ าสตรเ์ ครื่องกล) ช่ือวิชา ระบบเคร่ืองลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชื่อหน่วย โครงสรา้ งและหลักการทางานของระบบสง่ กาลัง สปั ดาหท์ ี่ 1-2 หนว่ ยย่อยท่ี 1.1 - 1.2 จานวน 6 ชว่ั โมง วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1.1 บอกส่วนประกอบของรถยนต์ได้ 1.2.1 บอกส่วนประกอบของระบบส่งกาลังรถยนต์ได้ 1.2.2 บอกหน้าท่ีของส่วนประกอบในระบบสง่ กาลังได้ แบบฝึกหัดและหลังก่อนการเรียน หน่วยที่ 1 ระบบสง่ กาลังรถยนต์ คาส่ัง : จงทาเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบทถี่ ูกท่ีสดุ เพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของระบบส่งกาลังรถยนต์ ก. เพลากลาง ข. เพลาท้าย ค. ข้อตอ่ เล่ือน ง. เพลาข้อเหว่ียง 2. ข้อใดหมายถึงระบบสง่ กาลังรถยนต์ ก. การถา่ ยทอดกาลังงานจากเคร่ืองยนต์ไปขบั ล้อรถยนต์ ข. รบั กาลังงานจากการจุดระเบิดภายในห้องเผาไหม้ ค. การเปลีย่ นแปลงอตั ราทดของเฟืองเกยี ร์ ง. การส่งกาลังงานจากกา้ นกระทุ้งไปยังกระเด่ืองกดลิน้ 3. ข้อใดคือสว่ นประกอบของระบบสง่ กาลงั ของรถยนต์ ก. เคร่ืองยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่อ เพลาขับล้อ เฟืองท้าย เพลากลาง ข. เครื่องยนต์ กระปุกเกียร์ ข้อต่ออ่อน ข้อต่อ คลัตช์ เฟอื งท้าย เพลาขับล้อ ค. เครื่องยนต์ คลตั ช์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่อ เพลากลาง เฟืองท้าย เพลาขับล้อ ง. เครื่องยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่อ เพลากลาง เฟืองท้าย เพลาขบั ล้อ 4. ข้อใดคือส่วนประกอบทท่ี าหน้าทป่ี รับเปลีย่ นกาลงั งานท่รี ับมาจากเครื่องยนต์ ก. คลัตช์ ข. กระปุกเกียร์ ค. เพลากลาง ง. เฟืองท้าย 5. การวางเครื่องยนต์และการขับเคล่ือนแบบใดกระจายนา้ หนกั ดที ่ีสุด ก. เคร่ืองยนต์อยหู่ ลังขับเคลือ่ นล้อหลัง ข. เครื่องยนต์อยู่กลางขับเคลื่อนล้อหลงั ค. เคร่ืองยนต์อยู่หน้าขับเคล่ือนลอ้ หลัง ง. เคร่ืองยนต์อยู่หนา้ ขับเคลื่อนล้อหน้า

18 เฉลยแบบฝึกหัดก่อนการเรียน หนว่ ยที่ 1 ระบบส่งกาลังรถยนต์ ง ข้อท่ี ก ข ค 1 2 3 4 5

19 หนว่ ยที่ 1 โครงสร้างและหลกั การทางานของระบบสง่ กาลัง ระบบส่งกาลังในรถยนต์ คือการส่งกาลงั ที่เกิดข้ึนจากเครื่องยนตไ์ ปขับเคลื่อนล้อรถยนตใ์ ห้ สามารถ เคล่ือนที่ไปได้ ในการสง่ ถา่ ยกาลงั นี้ จะประกอบด้วยเครอ่ื งยนต์ คลัตช์ เกยี ร์ เพลากลาง เฟอื งท้าย และเพลาขับล้อ ดงั นนั้ นกั เรียนจะต้องศึกษาให้เขา้ ใจถงึ หลักการในการส่งกาลังรถยนต์ เพ่ือจะได้นาความรู้ไปปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ หน่วยที่ 1.1 ส่วนประกอบของรถยนต์ ส่วนประกอบของรถยนต์สามารถแบ่งได้ 4 ส่วน คอื 1.1.1 เครอ่ื งยนต์ ทาหน้าที่ เป็นแหลง่ กาเนดิ พลงั งาน 1.1.2 ระบบสง่ กาลงั ทาหน้าท่ี ถ่ายทอดกาลงั จากเคร่ืองยนตไ์ ปยังล้อรถยนต์ 1.1.3 โครงรถ ทาหนา้ ที่ รองรบั เครอื่ งยนต์ ระบบบงั คับเลีย้ ว ระบบรองรบั นา้ หนัก ระบบพวงมาลยั และ ตัวถัง 1.1.4 ตัวถงั รถยนต์ ประกอบด้วยโครงสรา้ งภายใน รวมถึงท่ีนง่ั ระบบปรับอากาศ ระบบไฟแสงสว่าง ระบบความปลอดภัย และอื่น ๆ การออกแบบระบบส่งกาลังในรถยนต์มีจดุ ประสงค์พ้นื ฐานอยหู่ ลายประการดงั น้ี • การถ่ายทอดกาลงั จากเครือ่ งยนตไ์ ปยงั ล้อ • ตัดและต่อกาลังจากเครื่องยนต์ที่สง่ ไปยงั ล้อ • เปล่ยี นแปลงอตั ราความเรว็ ตามสภาพการใช้งาน • เปลย่ี นทศิ ทางการขับเคล่ือนใหเ้ คล่อื นที่ไปขา้ งหน้าและถอยหลงั หน่วยที่ 1.2 ระบบสง่ กาลัง ประกอบดว้ ย คลัตช์ กระปุกเกียร์ เพลากลาง เฟืองทา้ ย เพลา ทา้ ย

20 ภาพท่ี 1.1 แสดงส่วนประกอบของระบบส่งกาลังรถยนต์ ทมี่ า : http://www.headlightmag.com 1.2.1 คลัตช์ (Clutch) คลัตช์ ทาหน้าท่ตี ัดและตอ่ กาลงั ระหว่างเคร่ืองยนต์กับกระปุกเกยี ร์ โดยอาศยั ความ ฝดื ของแผน่ คลตั ช์ และล้อช่วยแรง ในการ ขับเคล่ือน รถยนต์ ภาพท่ี 1.2 แสดงลกั ษณะของชุดคลตั ช์ ท่ีมา : http://www.auto2drive.com 1.2.2 กระปกุ เกียร์ (Transmission) กระปุกเกียร์ ทาหน้าทีเ่ ปลยี่ นอตั ราทดเพอ่ื เพิม่ หรือลดแรงบิดให้เหมาะสมกบั ภาระงาน โดยรบั กาลัง จากเคร่ืองยนต์ผ่านแผ่นคลตั ชส์ ่งมายังชุดเฟอื งในกระปกุ เกียรแ์ ละสง่ ตอ่ ไปยงั ล้อ ภาพท่ี 1.3 แสดงลักษณะของกระปุกเกยี ร์ ท่ีมา : คูม่ อื การอบรมระบบส่งกาลัง บรษิ ทั โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย

21 1.2.3 เพลากลาง (Propeller Shaft) เพลากลาง ทาหนา้ ท่ีส่งกาลงั จากกระปุกเกยี ร์ไปยงั เฟอื งท้ายในระบบขับเคล่อื นล้อหลงั ประกอบด้วย ขอ้ ต่อเล่ือน (Slip joint) ข้อต่ออ่อน (Universal joint) เพลากลาง (Propeller Shaft) ภาพที่ 1.4 แสดงลกั ษณะของเพลากลาง ทม่ี า : คมู่ ือการอบรมระบบสง่ กาลัง บรษิ ทั โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย 1.2.4 เฟืองทา้ ย (Differential) เฟอื งท้าย ทาหนา้ ทร่ี ับกาลงั จากเพลากลางและส่งกาลังต่อไปยงั ล้อ ในขณะรถว่ิงทางตรงเฟืองทา้ ยจะ ทาใหล้ ้อทั้งสองขา้ งถูกขับให้หมนุ ด้วยความเรว็ เท่ากัน แต่เม่ือรถเล้ียวโค้ง เฟืองทา้ ย จะทาใหล้ อ้ ด้านนอกหมนุ เร็ว กวา่ ล้อดา้ นใน ทาให้ล้อด้านนอกหมุนเร็วกว่าลอ้ ด้านใน ภาพที่ 1.5 แสดงลักษณะของเฟืองท้าย ทม่ี า : คูม่ อื การอบรมระบบส่งกาลงั บรษิ ัทโตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย

22 1.2.5 เพลาทา้ ย (Rear Axles) เพลาท้าย ทาหน้าท่ี รับนา้ หนกั ในส่วนท้ายของรถยนต์ เพลาท้ายถูกออกแบบมาใชง้ านกับรถยนตช์ นดิ ตา่ ง ๆ ไม่เหมือนกนั ทใ่ี ชง้ านปจั จุบนั แบ่งออกได้ 3 ชนดิ คือ เพลาทา้ ยแบบลอย เพลาท้ายแบบก่ึงลอย เพลาท้ายแบบลอย ¾ 1.2.5.1 เพลาท้ายแบบลอย (Full-Floating Axel) เพลาทา้ ยแบบลอยมีลูกปืนตดิ ตง้ั อยูบ่ นเสื้อเพลาทา้ ย (Axel Housing) โดย เส้ือเพลาทา้ ยจะรบั น้าหนักทงั้ หมดของรถยนต์ เพลาท้ายแบบนนี้ ยิ มใชก้ บั รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ ภาพท่ี 1.7 แสดงลกั ษณะของเพลาทา้ ยแบบลอย ทมี่ า : http://enginemechanics.tpub.com

23 1.2.5.2 เพลาทา้ ยแบบก่ึงลอย (Sami-Floating Axel) เพลาทา้ ยแบบกึ่งลอยมีลกู ปืนตดิ ตั้งอย่ทู เ่ี สื้อเพลาทา้ ย เพลาทา้ ยแบบนมี้ ี เสอ้ื เพลาท้ายและเพลาขบั (Axel Shaft) จะเฉลย่ี กันรบั น้าหนกั ของรถยนต์ นิยมใชก้ บั รถเก๋งและรถบรรทุกขนาดเลก็ ภาพท่ี 1.8 แสดงลักษณะของเพลาทา้ ยแบบกง่ึ ลอย ที่มา : http://enginemechanics.tpub.com 1.2.5.3 เพลาท้ายแบบลอย ¾ (Three-Quarter Floating Axel) เพลาทา้ ยแบบน้จี ะใช้กบั รถกระบะและรถบรรทกุ ขนาดกลาง การรบั นา้ หนักเพลาขบั จะรบั น้าหนัก ¼ ส่วนเส้ือเพลาท้ายจะรับนา้ หนัก ¾ ภาพท่ี 1.9 แสดงลักษณะของเพลาทา้ ยแบบลอย ¾ ทีม่ า : http://enginemechanics.tpub.com

24 1.3 ชนดิ ของการส่งกาลัง การออกแบบการสง่ กาลังขึน้ อยูก่ ับสิ่งต่อไปน้ี 1.3.1 การวางตาแหน่งเครื่องยนต์ (Engine Position) การวางตาแหนง่ เครื่องยนต์ จะมวี ธิ ีการ วางได้ 2 แบบ คือ 1. การวางตาแหน่งเคร่ืองยนต์ในแนวตามยาว (Longitudinal Engine) ลกั ษณะ การวางจะวางขนานกบั โครงรถยนต์ 2. การวางตาแหนง่ เคร่ืองยนต์ในแนวขวาง (Transverse Engine) ลกั ษณะการ วางจะวางตงั้ ฉากกบั โครงรถยนต์ 1.3.2 การตดิ ตั้งเคร่ืองยนต์ (Engine Location) เคร่ืองยนต์ติดต้งั อยดู่ ้านหนา้ ดา้ นหลงั หรือตรงกลางของรถยนต์ มดี งั น้ี (ก) เครื่องยนต์อยู่ดา้ นหนา้ ขับเคลื่อนล้อหลงั (ข) เคร่ืองยนตอ์ ยดู่ ้านกลางขับเคล่อื นล้อหลงั (ค) เครื่องยนต์อยู่ดา้ นหน้าขับเคลอื่ นล้อหน้า (ง) เคร่ืองยนตอ์ ยู่ด้านหลังขับเคลือ่ นล้อหลงั หมายเหตุ : A : เครอ่ื งยนต์ B : เพลาส่งกาลงั C : เกยี ร์ D : เฟืองท้าย ภาพที่ 1.10 แสดงลกั ษณะของการตดิ ตง้ั เครอื่ งยนต์ ท่มี า : นายสรุ พงษ์ พงษ์ศรีและคณะ

25 1.4 ระบบการขับเคลอื่ น การสง่ กาลังจากเคร่ืองยนต์ไปยังลอ้ รถยนต์ แบ่งระบบขับเคลอ่ื นได้ 3 ชนดิ คือ 4.1 ระบบขบั เคล่อื นล้อหลัง (Rear Wheel Drive , RWD) ระบบขบั เคลื่อนล้อหลงั เคร่อื งยนต์จะสง่ กาลังผา่ นเกียรไ์ ปยังลอ้ ขบั เคลอ่ื น ระบบนี้ แบง่ ได้อกี 3 แบบ คอื 1) เครื่องยนต์ตดิ ตั้งด้านหน้าขบั เคลอ่ื นล้อหลัง (Front Wheel Drive) ดังรปู ท่ี 1.11 2) เครอื่ งยนตต์ ิดตัง้ ตรงกลางขับเคล่ือนล้อหลัง (Middel Engine Rear Wheel Drive) ดังรปู ท่ี 1.12 ภาพท่ี 1.11 แสดงลักษณะของเคร่อื งยนตต์ ิดต้งั ด้านหน้าขบั เคล่ือนลอ้ หลงั ภาพท่ี 1.12 แสดงลักษณะของเครอ่ื งยนต์ตดิ ตั้งตรงกลางขบั เคลื่อนล้อหลัง ท่ีมา : นายสรุ พงษ์ พงษ์ศรแี ละคณะ

26 3) เคร่ืองยนต์ตดิ ตง้ั ดา้ นหลงั ขับเคลื่อนล้อหลงั (Rear Engine Rear Wheel Drive) ดงั รปู ที่ 1.13 ภาพที่ 1.13 แสดงลกั ษณะของเครอื่ งยนต์ติดต้ังดา้ นหลงั ขับเคลื่อนล้อหลัง ท่มี า : นายสุรพงษ์ พงษ์ศรแี ละคณะ 4.2 ระบบขบั เคลื่อนล้อหน้า (Front Wheel Drive , FWD) ระบบสง่ กาลงั แบบขับเคลอื่ นล้อหน้า เคร่อื งยนต์จะตดิ ตงั้ อย่ดู ้านหน้าของรถยนต์ ระบบนีส้ ามารถแบง่ ออกได้ 2 แบบ คอื เคร่อื งยนต์วางขวางโครงรถ (Transverse) และเครื่องยนต์ วางตามยาวขนานกับโครงรถ (Longitudinal) ระบบสง่ กาลังแบบนจ้ี ะนิยมใชก้ ันมากในรถยนตข์ นาดเล็ก ขนาดกลาง

27 ภาพที่ 1.14 แสดงลกั ษณะของเครอ่ื งยนตว์ างขวางตามยาว โครงรถแบบขบั เคล่อื นลอ้ หน้า ทีม่ า : นายสุรพงษ์ พงษศ์ รีและคณะ ภาพท่ี 1.15 แสดงลักษณะของเคร่ืองยนตว์ าง ขนานกับโครงรถแบบขับเคลอื่ นล้อหนา้ ทม่ี า : นายสุรพงษ์ พงษ์ศรีและคณะ 4.3 ระบบขบั เคลอ่ื น 4 ลอ้ (Four Wheel Drive , 4 WD) ระบบการสง่ กาลังแบบขับเคล่ือน 4 ลอ้ จะมกี ารส่งกาลงั ท้งั ล้อหน้าและล้อหลงั ระบบ นี้สามารถแบง่ ออก

28 ได้ 2 แบบ คือ ระบบขับเคลื่อนแบบบางเวลา และระบบขบั เคลอ่ื นตลอดเวลา ระบบขบั เคลือ่ นแบบน้จี ะนยิ มใช้กบั รถยนต์ตรวจการณ์ และรถยนตท์ ี่ใช้ในพนื้ ที่ทรุ กันดาร ภาพที่ 1.16 ลกั ษณะการขบั เคลื่อน 4 ล้อบางเวลา ภาพที่ 1.17 ลกั ษณะการขับเคลอื่ น 4 ลอ้ ตลอดเวลา ท่มี า นายสรุ พงษ์ พงษ์ศรแี ละคณะ

29 แบบฝึกหัด (ครุศาสตรเ์ ครอื่ งกล) ชือ่ วิชา ระบบเครอ่ื งล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชือ่ หน่วย โครงสรา้ งและหลกั การทางานของระบบส่งกาลัง สปั ดาห์ท่ี 1-2 หนว่ ยย่อยท่ี 1.1 - 1.2 จานวน 6 ชั่วโมง คาสงั่ : จงทาเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดไม่ใช่สว่ นประกอบของระบบสง่ กาลังรถยนต์ ก. เพลากลาง ข. เพลาทา้ ย ค. ข้อต่อเลื่อน ง. เพลาข้อเหวี่ยง 2. ข้อใดหมายถึงระบบส่งกาลังรถยนต์ ก. การถ่ายทอดกาลงั งานจากเคร่ืองยนต์ไปขับล้อรถยนต์ ข. รับกาลังงานจากการจุดระเบิดภายในห้องเผาไหม้ ค. การเปลีย่ นแปลงอตั ราทดของเฟืองเกยี ร์ ง. การสง่ กาลังงานจากก้านกระทุ้งไปยังกระเด่ืองกดล้นิ 3. ข้อใดคือส่วนประกอบของระบบส่งกาลงั ของรถยนต์ ก. เคร่ืองยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่อ เพลาขับล้อ เฟืองท้าย เพลากลาง ข. เครื่องยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่ออ่อน ข้อต่อ คลัตช์ เฟืองท้าย เพลาขับล้อ ค. เคร่ืองยนต์ คลตั ช์ กระปุกเกียร์ ข้อต่อ เพลากลาง เฟืองท้าย เพลาขับล้อ ง. เครื่องยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อตอ่ เพลากลาง เฟืองท้าย เพลาขบั ล้อ 4. ข้อใดคือสว่ นประกอบทท่ี าหน้าที่ปรับเปลยี่ นกาลงั งานทรี่ ับมาจากเคร่ืองยนต์ ก. คลัตช์ ข. กระปุกเกยี ร์ ค. เพลากลาง ง. เฟืองท้าย 5. การวางเครื่องยนตแ์ ละการขบั เคล่ือนแบบใดกระจายน้าหนกั ดีทส่ี ุด ก. เครื่องยนต์อยหู่ ลังขับเคลื่อนล้อหลัง ข. เครื่องยนต์อยู่กลางขับเคล่ือนล้อหลัง ค. เคร่ืองยนต์อยู่หน้าขับเคล่ือนล้อหลัง ง. เคร่ืองยนต์อยู่หน้าขับเคลอ่ื นล้อหนา้

30 เฉลยแบบฝกึ หดั (ครุศาสตรเ์ ครอ่ื งกล) ชอื่ วิชา ระบบเครื่องลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชื่อหน่วย โครงสร้างและหลกั การทางานของระบบส่งกาลัง สปั ดาหท์ ่ี 1-2 หนว่ ยย่อยท่ี 1.1 - 1.2 จานวน 6 ช่วั โมง คาสั่ง : จงทาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดไม่ใชส่ ่วนประกอบของระบบส่งกาลังรถยนต์ ก. เพลากลาง ข. เพลาท้าย ค. ข้อตอ่ เล่ือน ง. เพลาข้อเหว่ียง 2. ข้อใดหมายถึงระบบส่งกาลังรถยนต์ ก. การถา่ ยทอดกาลงั งานจากเคร่ืองยนต์ไปขบั ล้อรถยนต์ ข. รับกาลงั งานจากการจดุ ระเบิดภายในห้องเผาไหม้ ค. การเปลีย่ นแปลงอตั ราทดของเฟืองเกียร์ ง. การส่งกาลังงานจากก้านกระทุ้งไปยังกระเดื่องกดลน้ิ 3. ข้อใดคือสว่ นประกอบของระบบสง่ กาลงั ของรถยนต์ ก. เครื่องยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่อ เพลาขับล้อ เฟืองทา้ ย เพลากลาง ข. เคร่ืองยนต์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่ออ่อน ข้อต่อ คลัตช์ เฟอื งท้าย เพลาขับล้อ ค. เคร่ืองยนต์ คลัตช์ กระปุกเกยี ร์ ข้อต่อ เพลากลาง เฟืองท้าย เพลาขับล้อ ง. เคร่ืองยนต์ กระปุกเกียร์ ข้อต่อ เพลากลาง เฟืองท้าย เพลาขบั ล้อ 4. ข้อใดคือส่วนประกอบทท่ี าหน้าทป่ี รับเปลี่ยนกาลงั งานทร่ี ับมาจากเคร่ืองยนต์ ก. คลัตช์ ข. กระปุกเกียร์ ค. เพลากลาง ง. เฟืองท้าย 5. การวางเครื่องยนต์และการขับเคลื่อนแบบใดกระจายน้าหนกั ดีที่สุด ก. เคร่ืองยนต์อยู่หลังขับเคล่ือนลอ้ หลัง ข. เครื่องยนต์อยู่กลางขับเคล่ือนล้อหลงั ค. เคร่ืองยนต์อยหู่ น้าขับเคลื่อนลอ้ หลัง ง. เครื่องยนต์อยู่หน้าขับเคล่ือนล้อหนา้ ข้อที่ ก ข ค ง 1 2 3 4 5

31 ใบมอบหมายงาน (ครศุ าสตร์เครือ่ งกล) ชือ่ วิชา ระบบเครื่องล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-120 ชือ่ หน่วย โครงสรา้ งและหลกั การทางานของระบบสง่ กาลงั สปั ดาห์ที่ 1-2 หนว่ ยยอ่ ยท่ี 1.1 - 1.2 จานวน 6 ช่วั โมง ใบงานท่ี 1 เร่ือง ระบบส่งกาลังรถยนต์ คาส่ัง : จงตอบคาถามดงั ตอ่ ไปนี้ จากรปู ใหน้ กั เรยี นเขียนช่อื สว่ นประกอบของระบบส่งกาลังแบบระบบ ขบั เคล่ือนล้อหลัง ตามหมายเลขท่กี าหนด ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 3 45 8 10 12 67 9 11 1........................................................... 7............................................................... 2........................................................... 8............................................................... 3........................................................... 9............................................................... 4........................................................... 10............................................................. 5........................................................... 11............................................................. 6...........................................................

32 2. จงบอกส่วนประกอบของระบบส่งกาลังรถยนต์ คาสงั่ : ใหน้ าตัวอักษรด้านขวามือมาเตมิ ใหส้ มั พันธ์กัน …………… 1. เครื่องยนต์ A) Slip joint …………… 2. คลัตช์ B) Rear axle …………… 3. กระปกุ เกยี ร์ C) Propeller shaft …………… 4. เพลากลาง D) Engine …………… 5. เพลาท้าย …………… 6. เฟอื งท้าย E) Clutch …………… 7. ลกู ปนื รองรับเพลากลาง F) Center support bearing …………… 8. เพลาขบั G) Transmission …………… 9. ขอ้ ตอ่ เลื่อน H) Drive shaft …………… 10. ข้อตอ่ อ่อนแบบกากบาท I) Differential J) Universal joint 3. จงบอกหนา้ ท่ีของสว่ นประกอบในระบบสง่ กาลงั 1. ระบบสง่ กาลัง ทาหน้าท.่ี ........................................................................................................... 2. คลัตช์ ทาหน้าท่.ี ..................................................................................................................... . 3. กระปกุ เกียร์ ทาหนา้ ที............................................................................................................... 4. เพลากลาง ทาหนา้ ที.่ ................................................................................................................ 5. เฟืองท้าย ทาหน้าที่.................................................................................................................... 6. เพลาท้ายทาหน้าที่.....................................................................................................................

33 ใบข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน (ครุศาสตร์เครื่องกล) ชื่อวิชา ระบบเครื่องล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-303 ช่ือหน่วย โครงสรา้ งและหลกั การทางานของระบบสง่ กาลงั สัปดาห์ที่ 1-2 หน่วยย่อยท่ี 1.1 - 1.2 จานวน 6 ช่ัวโมง ลาดับข้นั การปฏบิ ตั ิงาน ๑. ประกอบดุมเฟือง (hub) ๑.๑ ประกอบเฟอื งเกยี รถ์ อยหลัง ข้อควรระวงั ต้องแนใ่ จวา่ ดุมเฟืองและปลอกเลอ่ื นเข้าเกียร์ประกอบเข้าด้วยกนั ในทิศทางท่ีถูกต้อง ๑.๒ ประกอบล่ิมตัวหนอนสามตวั เขา้ รอ่ งของมนั ทด่ี ุมเฟือง ๑.๓ ประกอบสปรงิ ดนั ลิมตัวหนอนสองตวั เข้ากบั เฟืองดมุ ด้านในทงั้ สองปลาย (หน้าและหลงั ) ด้านละตัว รูปการประกอบดมุ เฟือง ประกอบสปริงดนั ลม่ิ ตวั หนอนโดยใหต้ าแหน่งการวางของปากสปรงิ หา่ งกนั เปน็ มุม ๑๒๐ องศา ท้ังนี้ เพ่อื ให้แรงดนั ของ สปริงทกี่ ระทาคือลมิ่ ตัวหนอนสม่าเสมอกัน

34 แผนการจัดการเรยี นรู้ (ครุศาสตรเ์ คร่อื งกล) ชือ่ วิชา ระบบเครอ่ื งล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย คลัตช์ สปั ดาหท์ ี่ 3-4 หน่วยย่อยท่ี 2.1 - 2.2 จานวน 6 ช่วั โมง แนวคิด สาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารสอน หน่วยย่อยท่ี 2.1 หน้าทคี่ ลัตช์รถยนต์ 2.1.1 บอกโครงสร้างและคุณลกั ษณะคลัตช์รถยนต์ได้ หน่วยย่อยที่ 2.2 สว่ นประกอบคลัตชร์ ถยนต์ ถกู ต้อง 2.2.1 ถอดและตรวจซ่อมชุดกดคลตั ชพ์ รอ้ มจายคลัตช์ กจิ กรรมการเรยี นการสอน ไดถ้ ูกต้อง กจิ กรรมครู 2.2.2 ประกอบจานคลัตชแ์ ละชุดกดคลัตช์ถูกต้อง กิจกรรมนักเรียน 1.ขั้นนาเขา้ สู้บทเรียน 1.ข้ันนาเขา้ สบู้ ทเรียน - ครถู ามคาถามใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเหน็ ถามข้อ - นักเรยี นตอบคาถามแสดงความคิดเห็นถามข้อสงสัย สงสยั 2.ขน้ั การสอน 2.ขัน้ การสอน 1. นักเรยี นฟงั การปฐมนเิ ทศ และถามข้อสงสยั 1. ครูแจกแบบประเมนิ กอ่ นเรียนให้นกั เรียนทาแบบ 2. นักเรียนทาแบบประเมินผลกอ่ นเรียน ประเมิน 3. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครแู จกใบเนื้อหา อธิบายความหมายความสาคัญ 4. ฟงั การบรรยาย และบันทกึ สรุปสาระสาคัญของ เนอ้ื หาสาระ ในหัวข้อต่าง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หวั ขอ้ ต่าง ๆ 3. แจกแบบฝกึ หดั ใหก้ บั นักเรียนทาแบบฝกึ หัด 5. ซกั ถาม ข้อสงสยั ในเน้ือหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมินผลหลังเรียนใหก้ บั ผ้เู รียนทา 6. ปฏิบัติงานตามใบงาน สรุปรายงานผลการ แบบทดสอบ 5. มอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบัตงิ านตามใบงาน ปฏบิ ัติงาน และนาเสนอผลงานสง่ ครู และควบคุมดแู ลการปฏบิ ัติงานของนักเรียน 7. ทาแบบฝกึ หัด 8. ทาแบบประเมนิ ผลกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น การวดั และการประเมินผล เครือ่ งมือวัดผล วธิ วี ดั ผล 1. จากแบบฝึกหัด 1. ก่อนเรียน:วัดผลและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ 2. แบบประเมนิ ผลก่อนเรียนและหลงั เรียน 2. ขณะเรยี น วดั และประเมินผลโดยการถามตอบ 3. ประเมินผลจากการปฏบิ ัติงานตามใบงาน วัดคณุ ธรรมจริยธรรม 3. หลังเรยี น: วัดและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ

35 เกณฑ์การประเมินผล ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายได้อย่างถกู ต้อง งานท่ีมอบหมาย แบบฝึกหัด ส่ือการเรียนและการสอน และอปุ กรณ์ช่วยฝึก 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สื่อจรงิ 3. แบบฝึกหัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เครือ่ งมือและอุปกรณ์ของจรงิ หนังสืออา้ งองิ ประสานพงษ์ หาเรือนชพี . 2011. งานสง่ กาลงั รถยนต์.นครราชสมี า

36 ใบเนื้อหา (ครุศาสตรเ์ ครื่องกล) ช่อื วิชา ระบบเคร่ืองล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชือ่ หน่วย คลตั ช์ สัปดาห์ท่ี 3-4 หนว่ ยย่อยที่ 2.1-2.2 จานวน 6 ชว่ั โมง วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม 2.1.1 บอกโครงสร้างและคุณลักษณะคลัตช์รถยนต์ได้ถูกต้อง 2.2.1 ถอดและตรวจซ่อมชุดกดคลตั ช์พร้อมจายตลัตช์ได้ถูกต้อง 2.2.2 ประกอบจานคลัตชแ์ ละชดุ กดคลตั ช์ถูกต้อง บทที่ 2 คลัตช์ 2.1 ขบวนการส่งกาลงั ของคลัตช์ 2.1.1 หน้าที่คลตั ชร์ ถยนต์ 2.1.1.1 ส่งกาลังจากเคร่ืองยนตไ์ ปยังกระปุกเกยี ร์ให้นมุ่ นวลและสม่าเสมอขณะรถออกตัว 2.1.1.2 ตัดต่อการส่งกาลงั จากเคร่ืองยนต์ไปยังกระปุกเกยี ร์ขณะทางานการเปล่ยี นเกยี ร์ขณะรถเคลื่อนท่ี และ เคร่ืองยนต์สามารถเดินเบาอยู่ได้ ขณะยังไม่ปลดเกียร์ว่าง รปู ที่ 2.1 กลไกการทางานคลตั ชร์ ถยนต์เพื่อเปลยี่ นเกยี ร์

37 2.1.2 หลักการทางานคลัตชร์ ถยนต์ การเชื่อมของคลตั ช์ ตามปกตเิ มื่อประกอบคลตั ชเ์ ข้ากบั ล้อช่วยแรงและขนั นอตให้ แนน่ แลว้ สปริงจะดนั แผน่ กดคลตั ชก์ ดจานคลัตช์ให้ตดิ สนิทกับล้อ ช่วยแรงอยู่ตลอดเวลา ดงั น้ันแผ่นคลัตช์จะหมนุ ไปพร้อมกับลอ้ ชว่ ยแรงและแผ่นกดคลตั ช์ เพลาคลัตชซ์ ง่ึ เป็นร่องสปาลย์ สวมอยู่ กับจานคลตั ช์จะหมุนไปดว้ ย ทาใหก้ าลงั จากเคร่ืองยนตผ์ า่ น คลัตช์ไปห้องเกียรไ์ ด้ ขณะน้เี รียกว่าคลตั ช์ ต่อการสง่ ถ่ายกาลัง จากเครื่องสเู่ กียร์ในขณะน้ีส่วนประกอบของคลัตชท์ ั้งหมดจะ หมุนไปพร้อมกัน คือเป็นชดุ เดียวกัน รปู ที่ 2.2 การเช่ือมต่อของคลัตช์ การตัดส่งกาลังของคลตั ช์ เม่ือเหยียบคลัตช์ปลายด้านหนึ่งของก้ามปูจะไปดนั ลูกปืนไปกด ปลายนวิ้ คลัตช์หรือฟนั หวี ทาให้ปลายด้านนอกของฟันหวดี ึงผ่ นกดคลัตช์ให้ถอยออกมาโดยชนะแรงดนั ของสปรงิ คลัตช์ เม่ือ แผ่นกดคลัตชถ์ อยออกมา จากคลตั ช์ก็จะลอยตัวเป็นอสิ ระคือ ไม่ถูกกดในตอนนีส้ ว่ นประกอบอ่นื ๆ ของคลัตชจ์ ะหมนุ ไป พร้อมกบั ล้อชว่ ยแรง ยกเว้นจานคลัตช์ เพลาคลตั ช์ก็ไม่หมุน ดว้ ย เกิดการตัดการส่งถ่ายกาลังของเครื่องยนต์ทันที รปู ท่ี 2.3 การตดั ส่งกาลงั ของคลตั ช์

รูปที่ 2.4 ล้อชว่ ยแรง 38 2.2 ส่วนประกอบคลัตช์รถยนต์ 2.2.1 ล้อช่วยแรง ล้อช่วยแรงของเครอ่ื งยนต์เป็นส่วนประกอบสว่ นหนึ่ง ของคลตั ช์ ผวิ ทางด้านนอกท่ตี ่อกับคลตั ชจ์ ะต้องเรยี นและสะอาด ชุดของคลัตชย์ ึดอยู่กับล้อชว่ ยแรง ผวิ ล้อช่วยแรงเป็นคล่นื ได้ไท่ เกิน 0.2 มม. 2.2.2 โครงจานคลตั ช์ โครงจานคลัตช์ หรือเรยี กว่าแผน่ คลตั ช์เป็นแผ่น เหลก็ กลา้ บาง ๆ แบบเรียบ หรือทาเป็นคลนื่ เพื่อยืดหยนุ่ ในการรบั แรง ในแนวฝาครอบคลตั ชก์ ดติดกับล้อชว่ ยแรง นอกจากสปริงแนวราบยัง ตอ้ งมสี ปริงขดลดแรงกระตุกเพื่อยดื หยุ่นแรงกระตุกและแรงส่นั อนั เกิด จากการถ่ายทอดกาลังของเครื่องยนต์การถ่ายทอด กาลังด้วยคลตั ช์จะ ไดน้ ุ่มนวล รูปที่ 2.5 โครงจานคลัตช์ 2.2.3 ผ้าคลัตช์ ผา้ คลตั ช์ทาจากสารประเภทแอสเบสทอสผสมใยโลหะ เพื่อให้ ทนต่อความร้อนจากการเสียดทานทนต่อการสึกหรอจากการหมนุ สมั ผัส กบั ล้อช่วยแรงและแผน่ กดจากฝาครอบคลัตช์ รูปท่ี 2.6 ผ้าคลตั ช์

39 2.2.4 ถ่านคลตั ช์และลกู ปนื คลตั ช์ ถ่านคลัตชแ์ ละลูกปืนคลัตช์มีหน้าท่ีกดนวิ้ คลัตช์นีใ้ ห้ เข้าไปในทิศทางสู่ล้อช่วยแรงเพื่อดงึ แผน่ คลตั ช์ออกมา ถา่ น คลัตช์หรือลูกปืนคลตั ชจ์ ะตดิ อยู่กับก้ามปู และอยู่น่ิง ส่วนตัว รองรบั เปน็ แผ่นวงแหวนหนาติดกบั นวิ้ คลัตช์ มีขนาดเท่ากับ ถ่านคลัตชห์ รือลูกปืนคลตั ช์และหมุนไปพร้อมกับน้วิ คลัตช์ -ถา่ นคลัตช์ทาดว้ ยส่วนผสมของคาร์บอนและแกร์ไฟต์ ไมต่ ้อ หลอ่ ล่ืน -ลกู ปนื คลัตชเ์ ป็นตลับลูกปืน ไม่ต้องการหลอ่ ลื่นเลย รปู ที่ 2.7 ฝาครอบคลัตช์ใชส้ ปรงิ ขดและลกู ปืนกดคลัตช์ 2.2.5 ฝาครอบคลตั ช์ สาหรบั ฝาครอบคลัตช์เท่าที่ใชอ้ ยู่ปจั จุบันนี้ มีอยู่ 2 ชนดิ คือ ชนิดใช้สปรงิ ขดและใชแ้ ผ่นสปริงไดอะแฟรม ฝาครอบคลัตช์ยึดติดแน่นอยู่บนล้อช่วยแรง โดยอาศัยแรง กดของสปรงิ ขดหรือสปริงไดอะแฟรม หนา้ สัมผสั ของแผน่ กดคลัตช์ ตอ้ งเรยี บเพ่ือจะได้กดจานคลตั ช์ใหส้ นทิ กับล้อชว่ ยแรง ลดการล่นื ไถลของจานคลตั ช์ และการสึกหรอเพียงด้านใดด้านหนึ่ง ซ่ึงขณะที่ คลตั ชท์ างานอยยู่ ่อมเกิดความรอ้ นและความสึกหรอมาก อนั เนอ่ื งมาจากแรงเสียดทาน รูปท่ี 2.8 ฝาครอบคลตั ช์ใชส้ ปริงไดอะแฟรม

40 แบบทดสอบก่อนเรียน (ครุศาสตร์เครื่องกล) ชื่อวชิ า ระบบเครอ่ื งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย คลตั ช์ สัปดาห์ที่ 3-4 หน่วยย่อยท่ี 2.1-2.2 จานวน 6 ช่ัวโมง คาส่งั : จงทาเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบทถี่ ูกที่สุดเพียงข้อเดยี ว 1.คลัตชเ์ ป็นสว่ นประกอบของระบบสง่ กาลังท่ีอยู่ระหว่าง ข.กระปุกเกียร์กับเฟืองท้าย ก.เคร่ืองยนต์กับกระปุกเกยี ร์ ง.เฟืองท้ายกับเพลากลาง ค.เฟืองท้ายกับเคร่ืองยนต์ 2.จานคลัตชอ์ ยู่ระหวา่ ง ข.ลอ้ ช่วยแรงกับแผน่ กดคลัตช์ ก.ลอ้ ชว่ ยแรงกับกระปุกเกยี ร์ ง.แผ่นกดคลตั ช์กับหวีดคลตั ช์ ค.แผน่ กดคลัตชก์ ับกระปุกเกียร์ 3.ถา้ แผน่ คลัตชม์ ีความร้อนสูงจะทาให้ ข.คลัตช์มคี วามฝดื ลดลง ก.คลัตชม์ ีความฝืดเพ่ิมขนึ้ ง.ไม่มีข้อใดถูก ค.คุณสมบัติของความฝืดไม่เปล่ียนแปลง 4.แผน่ เหล็กสปริงของจานคลตั ชอ์ ยู่ระหว่าง ข.ลอ้ ชว่ ยแรงกับแผ่นกดคลัตช์ ก.ลอ้ ช่วยแรงกับแผ่นความฝืด ง.ผา้ คลัตช์กบั แผน่ กดคลตั ช์ ค.ผา้ คลตั ชท์ ั้งสองด้าน 5.โครงคลตั ช์ หมายถึง ข.แผน่ เหล็กสปริง ดุมคลัตช์ ก.แผน่ เหล็กสปริงและผ้าคลัตช์ ง.ด้านสว่ นที่เช่ือมกบั ดมุ คลัตช์ ค.ดมุ คลัตช์และผ้าคลตั ช์

แบบทดสอบหลงั เรียน 41 ชื่อวชิ า ระบบเครอ่ื งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ (ครุศาสตร์เครื่องกล) ช่ือหน่วย คลตั ช์ รหสั วชิ า 3-122-120 หน่วยย่อยท่ี 2.1-2.2 สัปดาห์ที่ 3-4 คาส่งั : จงทาเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบที่ถูกที่สดุ เพียงขอ้ เดยี ว จานวน 6 ช่ัวโมง 1.คลัตชเ์ ป็นสว่ นประกอบของระบบสง่ กาลังที่อยู่ระหว่าง ข.กระปุกเกียร์กับเฟืองท้าย ก.เคร่ืองยนต์กับกระปุกเกยี ร์ ง.เฟืองท้ายกับเพลากลาง ค.เฟืองท้ายกับเคร่ืองยนต์ 2.จานคลัตชอ์ ยู่ระหวา่ ง ข.ลอ้ ช่วยแรงกับแผน่ กดคลัตช์ ก.ลอ้ ชว่ ยแรงกับกระปุกเกยี ร์ ง.แผ่นกดคลตั ช์กับหวีดคลัตช์ ค.แผน่ กดคลัตชก์ ับกระปุกเกยี ร์ 3.ถา้ แผน่ คลัตชม์ ีความร้อนสูงจะทาให้ ข.คลัตชม์ คี วามฝดื ลดลง ก.คลัตชม์ ีความฝืดเพ่ิมขนึ้ ง.ไม่มีข้อใดถูก ค.คุณสมบัติของความฝืดไม่เปลย่ี นแปลง 4.แผน่ เหล็กสปริงของจานคลตั ชอ์ ยู่ระหวา่ ง ข.ลอ้ ชว่ ยแรงกับแผ่นกดคลัตช์ ก.ลอ้ ช่วยแรงกับแผ่นความฝืด ง.ผา้ คลัตชก์ บั แผน่ กดคลตั ช์ ค.ผา้ คลตั ชท์ ั้งสองด้าน 5.โครงคลตั ช์ หมายถึง ข.แผน่ เหล็กสปริง ดุมคลัตช์ ก.แผน่ เหล็กสปริงและผ้าคลัตช์ ง.ด้านสว่ นที่เช่ือมกบั ดมุ คลัตช์ ค.ดมุ คลัตช์และผ้าคลตั ช์

42 ใบมอบหมายงาน (ครศุ าสตร์เครื่องกล) ช่ือวิชา ระบบเคร่ืองล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชอื่ หน่วย คลัตช์ สัปดาหท์ ่ี 3-4 หน่วยยอ่ ยท่ี 2.1-2.2 จานวน 6 ชัว่ โมง ใหน้ ักเรียนตอบคาตอบงลงบนช่องวา่ งใหค้ รบและถูกต้อง ขอ้ ท่ี 1. ปัจจบุ นั ชุดกดคลัตชร์ ถยนต์นง่ั และรถบรรทุกเลก็ ใช้ชุดกดคลตั ชแ์ บบสปรงิ ไดอะฟรมเพราะมีข้อดี คือ -............................................................................................................................. ............................................ -......................................................................................................................................................................... ขอ้ ที่ 2. จงบอกลาดบั เบอรถ์ อดช้นิ สว่ นจากภาพข้างบนว่าช้ินสว่ นนั้นคืออะไร 1. 4. 2. 5. 3. 6.

43 ใบข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ าน (ครศุ าสตร์เครื่องกล) ชื่อวิชา ระบบเครอื่ งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-303 ช่อื หน่วย คลตั ช์ สปั ดาหท์ ี่ 3-4 หน่วยย่อยที่ 2.1-2.2 จานวน 6 ชวั่ โมง งานถอดและตรวจซอ่ มชดุ คลัตชพ์ รอ้ มจานคลัตช์ งานถอดชดุ คลัตช์ -ติดเหลก็ ล็อกเฟืองล้อช่วยแรง -ใช้ประแจคลายสกรยู ดึ ชดุ กดคลตั ช์ออกตวั ละน้อย ๆ เป็นรอบ ๆ จนหลดุ -นาชดุ กดคลตั ช์และจานคลัตช์และจานคลตั ช์ออกจากล้อช่วยแรง งานตรวจขัดหน้าแผ่นกดคลัตช์ -ตรวจสภาพหนา้ แผน่ กดคลัตช์ ถา้ เป็นแผลเลก็ นอ้ ยหรอื ไหม้ ขดั ดว้ ยกระ ทรายหากมีแผลลกึ ให้กลึงปาดหนา้ ออกเล็กน้อยท่ีสดุ หรือเปลย่ี นใหม่ -ตรวจสภาพท่ัวไปของนวิ้ สปริงไดอะแฟรมและสว่ นอืน่ ๆ งานตรวจสภาพจานคลตั ช์ -รอยไหม้เพราะร้อนจัดจากการใชง้ าน -รอยแตกรา้ วและรอยสึกหรอ -ความแหง้ ที่ไม่เปื่อยน้ามัน -ความเรียบรอ้ ยท่วั โปร งานตรวจความหนาผา้ คลตั ช์ -ปกติไม่ไดก้ าหนดอายุการใช้งานผา้ คลตั ช์ผา้ คลตั ช์คุณภาพดีใช้งาน ถูกต้อง จะมีอายุใชง้ านนาน -ตรวจวดั ความหนาผ้าคลตั ช์เหนอื หัวหมุดต้องเหลือไมน่ อ้ ยกวา่ 0.3 มม.

44 งานตรวจจานคลตั ช์ -สปรงิ ในจานคลัตช์อดั ตวั แนน่ ไมล่ า้ หลวมในรอ่ งจานคลัตช์ -การบดิ โกง่ ท่ีปลายจานคลัตช์ยอมให้มีได้ไม่เกนิ 0.7 มม. งานตรวจดมุ จานคลตั ช์ -รดู ุมคลตั ช์เปน็ สนมิ เลก็ น้อย ขัดออกด้วยกระดาษทราย -ตรวจการสกึ หรอฟนั สปาลน์ กับฟันเพลาคลตั ช์ ท่ขี อบนอกจานคลัตช์ ต้องไมเ่ กนิ 2.5 มม. งานตรวจซอ่ มลอ้ ช่วยแรงและลกู ปนื หวั เพลาคลตั ช์ งานประกอบล้อช่วยแรง -ทาความสะอาดหน้าสัมผัสแล้วประกอบเขา้ ที่ -ทาเกลยี วสกรูด้วยซีลแลน้ ท์เพอ่ื ป้องกนั น้ามนั เครือ่ งรว่ั ซมึ -ขันแน่นสดุ ท้ายดว้ ยประแจทอรค์ งานตรวจศนู ยล์ ้อช่วยแรง -ใชช้ ดุ นาฬกิ าวดั ผวิ หน้าสมั ผสั ล้อช่วยแรง -ยอมให้บดิ เบย้ี วไดไ้ มเ่ กนิ 0.2 มม.

45 งานปรบั แตง่ ผิวสมั ผสั ลอ้ ช่วยแรง -ผิวสัมผสั เปน็ แผลหรือสกปรก ขัดใหส้ ะอาด ดว้ ยกระดาษทราย -ผวิ สมั ผัสเป็นแผลสึกหรอมาก เจยี ระไนออกได้ไม่เกิน 0.5 มม. งานถอดลกู ปืนหวั เพลาคลัตช์ -เลอื กเหลก็ ดดู ใหม้ ขี นาดปากพอดีกบั รูลูกปืน -ดูดลูกปนื ออก ขอ้ ควรจา ระวงั เหลก็ ดูดตกพ้นื งานตรวจลกู ปืนหัวเพลาคลัตช์ -หมุนฟงั เสยี งและความคลอ่ งตัวการหมนุ -โยกเปลอื กลกู ปืนตรวจการหลวมตัวของเม็ดลูกปนื ขอ้ ควรจา อย่าลา้ งลูกปืนหวั เพลาคลตั ช์ เพราะหล่อลนื่ สาเร็จรปู แล้ว งานประกอบลูกปนื หวั เพลาคลตั ช์ -ใส่ลกู ปืนเขา้ ทีด่ ้วยมือเปล่า -ตอกลกุ ปืนเขา้ ด้วยเหลก็ ตอกปลอกนอกลูกปืน -ตอกลกู ปนื ให้เข้าเทา่ ระยะ “A” คือประมาณ 4 มม.

46 งานประกอบจานคลตั ชแ์ ละชุดกดคลัตช์ งานปรับแตง่ จานคลตั ช์ -ทาความสะอาดผา้ คลตั ชด์ ้วยกระดาษทราย -ทาความสะอาดฟันดุมด้มจานคลัตช์ดว้ ยแปรงลวด งานประกอบจานคลตั ช์ -เลือกเพลานาศนู ยจ์ านคลัตช์ดว้ ยขนาดทีต่ รงกบั รุ่นเคร่ืองยนต์ -ใส่จานคลัตชแ์ ลว้ ใสเ่ พลานาศูนยจ์ านคลตั ช์ งานเตรยี มประกอบจานคลตั ช์ -เลอื กหนา้ จานคลัตชใ์ ห้ถูกด้านเครอ่ื งยนตห์ รือดา้ นกระปุกเกียร์ ปกตใิ หด้ ุ้มด้านยาวอยู่ดา้ นกระปุกเกยี ร์ -ชโลมฟนั ดมุ จานคลัตชด์ ้วยจาระบกี ่อนปรกอบเข้าท่ี งานประกอบชดุ กดคลัตช์ -ประกอบชดุ คลตั ช์ ให้รูนาศนู ยท์ ข่ี อบฝาครอบชดุ กดคลัตช์ตรง กับเดอื ยนาศูนยท์ ี่ล้อชว่ ยแรง -ใส่กรูยึดให้ครบทุกตัว -ขนั แนน่ ทล่ี ะน้อยตามลาดับหมายเลขท่ีกาหนดให้

47 งานหลอ่ ล่นื กลไกลูกปืนคลัตช์ -ลกู ปนื คลัตช์เปน็ แบบซลี หลอ่ ล่นื สาเรจ็ รปู ไมต่ อ้ งการบารุงรักษาใด ๆ แตค่ วรเปลีย่ นทุกคร้ังที่ซ่อมคลตั ช์ -จดุ หมุนและปลอกลูกปนื คลัตช์ ใหห้ ลอ่ ล่นื ด้วยจารบีอเนกประสงค์ กอ่ นตดิ ตั้งกระปกุ เกียรเ์ ข้าทเี่ ดิม งานตรวจลูกปืนคลัตช์ -ตรวจผดิ ปกตดิ ้วยการหมุน -ตรวจการคลอนตัวของตลบั ลูกปืน ข้อควรจา อยา่ ลา้ งลกู ปืนกดคลตั ช์ เพราะเปน็ ลูกปนื หลอ่ ลนื่ สาเร็จรูป งานตรวจลกู ปืนคลตั ช์ท่ีกระปกุ เกยี ร์ -ปลอกลูกปืนคลัตช์เล่ือนเขา้ ออกคล่องตวั -ลูกปนื ประกอบถูกทิศทางท่กี ดนิ้วคลัตช์ -ลกู ปืนหมุนหคลอ่ งตัว งานตรวจแตง่ กา้ มปูลูกปนื คลตั ช์ -ตรวจการแตกร้าวและโก่งงอทผี่ ดิ ไปจากรูปทรงเดิม -กอ่ นประกอบ ทาจาระบีแนวสมั ผัสทเี่ ป็นลายเส้น

48 งานเปล่ียนผา้ คลัตช์ -เจาะหมุดยา้ เกา่ ด้วยสว่าน -เลอื กผา้ คลตั ชส์ าเร็จรูปตามขนาดเดิม -เลอื กหมดุ ย้ากลวงขนาดพอเหมาะ งานอัดหวั หมดุ ยา้ ผ้าคลตั ช์ด้วยมอื -งานอดั หวั หมุดยา้ ผ้าคลัตชด์ ว้ ยมอื ต้องช่วยกัน 2 คน คือคน หนง่ึ จบั จานคลตั ช์ อกี คนย้าหัวหมุด -ย้าหวั หมุดตัวแรกพอไมห่ ลดุ แลว้ ใส่หมุดตัวอ่ืน ตรวจใหต้ รง จึง ย้าแนน่ ตอ่ ไป แท่นอดั และเหลก็ อัดหัวหมดุ ยา้ ผา้ คลัตช์ -แทน่ อัดหวั หมุดย้าโดยท่วั ไปเป็นเฟืองบรรทดั มดี ้าม โยกอดั หวั หมดุ ยา้ โดยตรง -เหลก็ อดั หัวหมุดต่อกบั แกนเฟอื งบรรทดั เคล่ือนท่ีอดั หัวหมุดยา้ ตามรงดา้ มดยก -เหลก็ รองหัวหมดุ เป็นตวั รองรบั ดา้ นล่างตัวหมดุ ยา้

49 แผนการจัดการเรยี นรู้ (ครศุ าสตรเ์ คร่อื งกล) ชอื่ วิชา ระบบเครือ่ งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-120 ชอื่ หน่วย เกียร์ สปั ดาห์ที่ 5-6 หนว่ ยยอ่ ย 3.1-3.2 จานวน 6 ช่วั โมง แนวคดิ สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารสอน หน่วยยอ่ ย 3.1 หนา้ ที่กระปุกเกียรร์ ถยนต์ 3.1.1 ตรวจและสามารถเติมน้ามนั เกยี ร์ไดถ้ ูกต้อง หนว่ ยยอ่ ย 3.2 ส่วนประกอบและประเภทของกระปุก 3.2.1 ถอดกระปกุ เกยี รไ์ ด้ถกู ตอ้ งตามลาขั้นตอนได้ เกียร์รถยนต์ 3.2.2 ตดิ ต้ังกระปุกเกียร์ทรี่ ถไดถ้ ูกตอ้ งตามลาดับ ข้นั ตอน กิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรยี น 1.ข้ันนาเขา้ สู้บทเรียน 1.ขนั้ นาเขา้ ส้บู ทเรยี น - ครถู ามคาถามใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ถามข้อ - นักเรียนตอบคาถามแสดงความคิดเหน็ ถามข้อสงสยั สงสัย 2.ขน้ั การสอน 2.ขัน้ การสอน 1. นักเรยี นฟังการปฐมนเิ ทศ และถามข้อสงสยั 1. ครูแจกแบบประเมนิ กอ่ นเรียนให้นักเรยี นทาแบบ 2. นักเรยี นทาแบบประเมินผลก่อนเรียน ประเมิน 3. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครแู จกใบเนื้อหา อธบิ ายความหมายความสาคัญ 4. ฟงั การบรรยาย และบนั ทกึ สรุปสาระสาคญั ของ เนื้อหาสาระ ในหัวข้อต่าง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หวั ขอ้ ต่าง ๆ 3. แจกแบบฝึกหดั ใหก้ บั นักเรยี นทาแบบฝึกหัด 5. ซักถาม ข้อสงสยั ในเน้ือหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมนิ ผลหลังเรยี นให้กับผูเ้ รียนทา 6. ปฏบิ ัติงานตามใบงาน สรุปรายงานผลการ แบบทดสอบ 5. มอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบัตงิ านตามใบงาน ปฏบิ ัติงาน และนาเสนอผลงานส่งครู และควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักเรียน 7. ทาแบบฝึกหัด 8. ทาแบบประเมนิ ผลก่อนเรียนและหลงั เรยี น การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือวัดผล วธิ ีวัดผล 1. จากแบบฝึกหัด 1. ก่อนเรียน:วัดผลและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ 2. แบบประเมินผลก่อนเรยี นและหลังเรียน 2. ขณะเรียน วดั และประเมนิ ผลโดยการถามตอบ 3. ประเมินผลจากการปฏิบัติงานตามใบงาน วัดคุณธรรมจริยธรรม 3. หลังเรียน: วัดและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ

50 เกณฑ์การประเมินผล ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายได้อย่างถกู ต้อง งานท่ีมอบหมาย แบบฝึกหัด ส่ือการเรียนและการสอน และอปุ กรณ์ช่วยฝึก 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สื่อจรงิ 3. แบบฝึกหัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เครือ่ งมือและอุปกรณ์ของจรงิ หนังสืออา้ งองิ ประสานพงษ์ หาเรือนชพี . 2011. งานสง่ กาลงั รถยนต์.นครราชสมี า

51 ใบเน้อื หา (ครศุ าสตร์เครือ่ งกล) ชือ่ วิชา ระบบเครอื่ งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชื่อหน่วย เกียร์ สปั ดาหท์ ่ี 5-6 หน่วยย่อยที่ 3.1-3.2 จานวน 6 ช่ัวโมง วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 3.1.1 ตรวจและสามารถเติมน้ามันเกยี ร์ได้ถูกต้อง 3.2.1 ถอดกระปุกเกยี ร์ได้ถูกตอ้ งตามลาขั้นตอนได้ 3.2.2 ติดตง้ั กระปุกเกยี ร์ที่รถไดถ้ กู ต้องตามลาดับข้ันตอน บทที่ 3 เกียร์ 3.1หน้าทก่ี ระปุกเกียรร์ ถยนต์ 3.1.1 ให้รถยนตส์ ามารถสง่ กาลงั ขับเคล่ือนไดส้ ูง สาหรับการเริ่มเคล่ือนท่ีการเรง่ และการข้ึนเนิน โดยการ เปลยี่ นเกียร์ทาใหแ้ รงบิดท่ีไปยังเพลากลางทวขี ึ้น 3.1.2 เม่ือไม่ต้องการใช้กาลงั ขับเคลอ่ื นสงู เช่นน เม่ือขับขบ่ี นถนนราบ สามารถลดความเร็วรอบเครื่องยนตล์ ง โดยการเปลี่ยนเกียร์ เพ่ือลดการส้นิ เปลืองเชอ้ื เพลงิ และเสียงดัง 3.1.3 เน่ืองจากเคร่ืองยนต์ไม่สามารถหมุนกลับทางได้ กส็ ามารถที่เคลื่อนที่ถอยหลังไดโ้ ดยเปลี่ยนเกียร์ 3.1.4 ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาได้ด้วยการปลดเกยี รว์ ่าง รปู ที่ 3.1 กระปุกเกยี ร์แบบเฟืองเลื่อน

52 3.2 ส่วนประกอบและประเภทกระปุกเกียร์รถยนต์ 3.2.1 ส่วนประกอบกระปกุ เกียรแ์ บบเฟืองเลื่อน รปู ท่ี 3.2 ภาพเหมือนและภาพตดั ช้ินส่วนกระปุกเกียร์แบบเฟืองเล่ือนเกียร์ 4 เปน็ ขับตรง (Z = จานานฟนั เฟือง) 3.2.1.1 เพลาคลัตช์หรือเพลารับกาลัง (Input shaft) จากรูปท่ี 3.2 เป็นเพลาส่งถ่ายกาลงั จากเคร่ืองยนตผ์ า่ น จานคลัตช์ ไปยังเฟืองหัวเพลารอง ซึงมีขนาดโตกวา่ เฟืองเพลาคลตั ช์เป็นการทดถาวร ไม่มีการเปลี่ยนเกยี ร์ 3.2.1.2 เพลาเมนหรือเพลาสง่ กาลัง (Main shaft) อยรู่ ะนาบเดยี วกับเพลาคลัตช์ตวั เพลาเป็นเพลาสปาลน์ ตลอด สาหรบั ใหเ้ ฟืองเกียรต์ ่าง ๆ เลือ่ นไปขบกบั เฟืองเพลารอง 3.2.1.3 เพลารอง เพลาน้ีปกติอยู่ใต้เพลาเมน มีเฟือง 4 หรือ 5 ตวั ซ่ึงเป็นเฟอื งเกยี ร์ 1 ถึง เกียร์ 3 หรือเกยี ร์ 4 เพลาและเฟืองเป็นชนิ้ เดียวกนั จงึ มีช่ือเรียกอีกอย่างว่า เพลาเฟือง 4 ชัน้ หรือ 5 ชน้ั ตัวเพลามีลูกปนื รองรบั แข็งแรง 3.2.1.4 เฟืองเกยี รห์ รือเฟืองเพลาเมน เปน็ เฟืองฟนั ตรง รูเฟืองเป็นรูสปาล์นสวมกับสปาลน์ เพลาเมนพอดี เคลื่อนที่ไปมาไดส้ ะดวก เพ่ือเลือ่ นส่งกาลังจากเฟืองเพลารองท่ีเกียร์ใดเกียรห์ น่ึง (เขา้ พร้อมกันมากกว่า 1 เกยี ร์ไม่ได้) 3.2.1.5 เฟืองเพลารอง มหี ลายขนาดลดหลนั่ กัน เฟืองตวั ใหญ่ท่สี ุดอยูห่ วั เพลารองขบกบั เฟืองเพลาคลัตช์ เฟืองตัวเล็กทส่ี ดุ เปน็ เฟืองเกียร์ 1 (ขวาสดุ ) 3.2.2 ประเภทกระปุกเกียร์รถยนต์ -กระปุกเกียร์แบบเฟืองเล่ือน -กระปุกเกียร์แบบเฟืองไม่เลือ่ น -กระปุกเกยี ร์แบบชงิ โครเมช -กระปุกเกียร์แบบอัตโนมัติ

53 3.2.3 กระปกุ เกียร์อตั โนมตั ิ คณุ ลักษณะและประโยชน์ของเกียร์อตั โนมตั ิ เกยี ร์อตั โนมตั ิออกแบบเพื่ออานวยความสะดวกสบาย กะทัดรัด ให้ท้ังคนพิการแขนขาและคนไม่พิการอะไรเลย การขับ ขีร่ ถเกียร์อัตโนมัติมีสว่ นชว่ ยลดความเครียดได้มาก โดยเฉพาะในเมืองท่ีมจี ราจรหนาแน่น รถติดจะต้องเหยยี บคลัตช์ เปลี่ยนเกยี รช์ ว่ั โมงละกี่ครัง้ ถ้าใชเ้ กียรธ์ รรมดา หากเปน็ เกียร์อัตโนมัตอ โยกคนั เกียร์ไปตาแหน่งเดินหน้าหรือถอยหลงั คร้งั เดียวจะไปไดถ้ ึงเป้าหมายเลย ความคงทนทานมกี ารใชแ้ ละบารุงรักษาให้ถูกวธิ ี อายกุ ารใช้งานก็เท่าอายุรถ ดังนนั้ การซื้อรถใหม่เพ่ิมเงิน 4-5 หมื่นบาท เพ่ือใชเ้ กียร์อัตโนมัติ จึงเหมาะสมทีส่ ดุ เปน็ การซ้ือความสะดวกสบาย แต่ได้ ประโยชน์ ส่วนประกอบหลกั ของกระปุกเกยี รอ์ ัตโนมัติ 1. ทอร์กคอนเวอร์เนอร์ เป็นคลัตช์ไฮดรอลิคสาหรับกระปุกเกียรอ์ ัตโนมัติ 2. ชดุ เฟืองเพลนเนทตารี มโี ครงสร้างเหมือนกับชดุ เฟืองโอเวอร์ไดรฟ 3. วงจรไฮดรอลิค สาหรับควบคุมการเปล่ียนเกียร์อตั โนมตั ิ รปู ที่ 3. องค์ประกอบหลกั กระปุกเกียร์อตั โนมัติ

54 รปู ท่ี 3. ส่วนประกอบและหลักการทางานในกระปกุ เกียร์อัตโนมัติอยา่ งงา่ ยตาแหน่งเดินหนา้ D หนา้ ท่สี ่วนประกอบหลักของกระปกุ เกียร์อตั โนมัติ 1. ชุดคลัตช์ขับเดนิ หน้า ทาหน้าที่ตัด – ต่อกาลังจากทอรก์ คอนเวอรเ์ ตอร์ให้สง่ กาลังขับไปยงั เฟืองกลางเดนิ หนา้ (ตัว เลก็ ) สาหรับเกยี ร์เดินหน้า 2. ชุดคลตั ช์ขบั ถอยหลงั ทาหนา้ ที่ตัด – ต่อกาลงั จากทอรก์ คอนเวอร์เตอร์ให้ส่งกาลังขบั ไปยงั เฟืองกลางถอยหลงั (ตวั ใหญ่) สาหลับเกียร์ถอยหลัง 3. เบรกตวั หน้า ทาหนา้ ที่ยึดใหเ้ ฟืองกลางถอยหลังหยุดหมุนเพ่ือต้องการจะให้สง่ กาลงั ในตาแหน่งเกียร์ 2 4. คลัตช์ทางเดยี วเป็นคลัตช์ลูกปืน รองรับและกาหนดใหโ้ ครงเฟืองเพลนเนทหมนุ ได้ทางเดียว เปน็ การบังคบั ให้เกิด การส่งกาลงั ผ่านชดุ เฟืองเพลนเนทตารี่ได้ในเกียร์ของตาแหน่ง D 5. เบรกตวั หลัง ทาหนา้ ทย่ี ึดให้โครงเฟืองเพลนหยดุ หมนุ เม่ือต้องการจะใหก้ าลังในตาแหน่งเกยี ร์ถอย ในชดุ คลตั ชแ์ ต่ละชดุ จะประกอบดว้ ยผ้าคลตั ช์ วางสลับอยู่กบั แผน่ เหล็ก และมลี ูกสูบกับสปริงเปน็ ตัวบงั คับการทางาน ปกติคลตั ชจ์ ะแยกจากกันไมม่ ีการสง่ กาลังน้ามนั จากชิฟทว์ าล์วของระบบไฮดรอลคิ ควบคมุ ส่วนการทางานของผ้าเบรกจะมกี ระบอกไฮดรอลิคเรยี กว่า เซอร์โว เป็นอุปกรณ์บังคับใหผ้ า้ เบรกรัดทางาน โดยอาศยั ความดันน้ามันจากระบบไฮดรอลคิ ควบคุมเช่นเดียวกันกับการทางานของคลัตช์

55 แบบฝึกหัด (ครศุ าสตรเ์ ครือ่ งกล) ชือ่ วิชา ระบบเคร่อื งล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชื่อหน่วย เกียร์ สปั ดาหท์ ่ี 5-6 หนว่ ยย่อยท่ี 3.1-3.2 จานวน 6 ชวั่ โมง 1. จงบอกหน้าท่กี ระปุกเกียร์ 3 ขอ้ 1.1.......................................................................................................................... ..................................... 1.2.......................................................................................... ..................................................................... 1.3.......................................................................................................................... .................................... 2. จงบอกข้อเสยี ของกระปกุ เกียร์แบบเฟืองเล่อื นมา 2 ขอ้ 2.1.......................................................................................................................... ................................... 2.2............................................................................................................................................................. 3. จงบอกหนา้ ทีช่ ุดคลตั ช์ขับเดินหนา้ มาพอสงั เขป ............................................................................................................................. .......................................... ...................................................................................................................................................................... 4. จงบอกส่วนประกอบหลักขอกระปกุ เกียร์อตั โนมัติ 4.1.......................................................................................................................... ................................. 4.2.......................................................................................................................... ................................ 4.3.......................................................................................................................................................... 5. จงบอกคุณลักษณะและประโยชน์ของเกียร์อตั โนมตั ิมาพอสงั เขป ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................ ............................................................................................................................. .................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ ................................... ............................................................................................................................. ................................. ...............................................................................................................................................................

ใบมอบหมายงาน 56 ชอ่ื วิชา ระบบเครือ่ งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ ชอ่ื หน่วย เกียร์ (ครุศาสตรเ์ คร่อื งกล) หนว่ ยยอ่ ยท่ี 3.1-3.2 รหสั วชิ า 3-122-120 สัปดาห์ท่ี 5-6 ใบงานท่ี 3.1 จานวน 6 ช่ัวโมง เรอ่ื ง งานตรวจเตมิ น้ามันเกียร์ จุดประสงค์ทวั่ ไป เพอ่ื ให้นักเรยี นมีทกั ษะในการตรวจสอบระดบั น้ามนั เกยี ร์ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.ตรวจสอบระดับน้ามันเกียร์ได้ 2.ใชเ้ คร่อื งมือท่วั ไปได้ เครอื่ งและอุกรณ์ 1.รถยนต์ 2.น้ามันเกยี ร์ 3.เครอื่ งมือช่างยนต์ทัว่ ไป ใบงานท่ี 3.2 เร่ือง งานถอดกระปุกเกียรท์ ร่ี ถ จดุ ประสงค์ทวั่ ไป เพื่อใหน้ กั เรยี นมีทกั ษะในการถอดกระปุกเกียร์ทรี่ ถได้ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1.ถอดและประกอบกระปกุ เกียร์ทีร่ ถได้ 2.ใช้เคร่ืองมือทั่วไปและเคร่ืองมอื พเิ ศษได้ เคร่อื งและอุกรณ์ 1.รถยนต์ 2.เคร่อื งมือพิเศษ 3.เครือ่ งมือชา่ งยนต์ทัว่ ไป

57 ใบขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน (ครศุ าสตร์เครอื่ งกล) ชื่อวิชา ระบบเคร่ืองล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชอ่ื หน่วย เกียร์ สัปดาหท์ ี่ 5-6 หน่วยย่อยที่ 3.1-3.2 จานวน 6 ชวั่ โมง 3.1 งานตรวจเติมน้ามนั เกยี ร์ งานตรวจระดับน้ามันเกยี ร์ -เปดิ ปลั๊กอดุ รูเติมน้ามนั เกียร์ออก -สอดน้ิวชีเ้ ข้าสัมผัสน้ามนั เกยี ร์ในกระปุกเกยี ร์ -ระดับปกติอยู่ใต้ของรเู ล็กน้อยทน่ี ิ้วมือสมั ผัสได้ งานเติมน้ามันเกยี ร์ -เตมิ น้ามนั เกียร์ตามคณุ ภาพเดิมท่ีใชอ้ ยู่ใหถ้ ึงขอบ รปู ลัก๊ อุด -ขนั ปลั๊กแน่น

58 3.2 งานถอดและติดตั้งกระปุกเกียร์ท่ีรถ ลาดบั เบอรถ์ อดกระปกุ เกียร์จากรถยนต์ (Mazda pick-up) 1 คอนโซล 8 กระบอกคลัตช์ 2 คนั เกียร์ 9-10 เหลก็ ยึดเกียรแ์ ละท่อไอเสีย 3 เพลากลาง 11 เหลก็ รองกระปุกเกยี ร์ 4-5 สายไมลแ์ ละสายไฟเกียร์ถอยหลัง 12 มอเตอร์สตาร์ต 6-7 สปริงและกลไกเบรกมือ 13 หวั หมูคลตั ช์

59 งานเตรียมถอดกระปุกเกียร์ -ถอดสายไฟขว้ั ลบแบตเตอรี่ออก -ยกรถใหส้ ูงแล้วรองรบั ด้วยขาต้ัง -ถา่ ยน้ามันเกียร์ออก -ถอดแต่ล่ะส่วนตามลาดับเบอร์ดังกลา่ วแล้ว งานถอดหนา้ แปลนเพลากลาง -ทาเคร่ืองหมายการประกอบทีห่ นา้ แปลนเพลากลาง -ถอดนอตยึด ยึดเพลากลาง -ถอดเพลากลางออกจากรถ งานถอดกระปุกเกียรจ์ ากรถ -ถอดข้ัวลบแบตเตอรี่ -ถอดสายไมลแ์ ละสายไฟถอยหลัง -ถอดหนา้ แปลนเพลากลาง -ถอดสกรูหัวหมคู ลัตชอ์ อกทุกตวั งานนากระปุกเกียร์ออกจากรถ -รองรับกระปุกเกียรด์ ้วยแม่แรงยกกระปกุ เกยี ร์ -ถอดเหล็กรองรับกระปุกเกียร์ -ดึงกระปุกเกียร์ออกจากเคร่ืองยนต์ -ลดแมแ่ รงยกกระปุกเกียร์ลง

60 แผนการจัดการเรียนรู้ (ครุศาสตรเ์ ครอื่ งกล) ชื่อวิชา ระบบเคร่ืองลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชอื่ หน่วย ขบวนการสง่ กาลังเฟอื งท้าย สปั ดาหท์ ี่ 8 หน่วยยอ่ ย 4.1-4.2 จานวน 6 ช่ัวโมง แนวคดิ สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารสอน หนว่ ยย่อยที่ 4.1 หนา้ ที่ของเฟืองท้ายรถยนต์ 4.1.1 ถอดเพลากลางออกจากรถได้ หน่วยย่อยท่ี 4.2 ประเภทเส้ือเพลาทา้ ยรถยนต์ 4.2.1 ถอดหน้าแปลนเฟอื งเดือยหมไู ด้ กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมนักเรยี น กจิ กรรมครู 1.ข้ันนาเขา้ สบู้ ทเรยี น 1.ขัน้ นาเขา้ สูบ้ ทเรยี น - ครูถามคาถามให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ ถามขอ้ - นักเรยี นตอบคาถามแสดงความคดิ เหน็ ถามข้อสงสัย สงสัย 2.ขั้นการสอน 2.ขั้นการสอน 1. นักเรยี นฟังการบรรยาย และถามข้อสงสยั 1. ครูบรรยายเน้อื หาเริม่ ต้น 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครแู จกใบเนื้อหา อธบิ ายความหมายความสาคัญ 3. ฟังการบรรยาย และบนั ทึกสรปุ สาระสาคญั ของ เนอื้ หาสาระ ในหวั ข้อต่าง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หวั ข้อต่าง ๆ 3. แจกแบบฝึกหดั ให้กบั นักเรียนทาแบบฝกึ หัด 4. ซักถาม ข้อสงสัยในเนื้อหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมนิ ผลหลังเรยี นใหก้ ับผู้เรียนทา 5. ปฏบิ ัติงาน และนาเสนอผลงานสง่ ครู แบบทดสอบ 6. สรปุ รายงานผลการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 5. มอบหมายงานให้นักเรยี นปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 7. ทาแบบฝึกหัด และควบคุมดแู ลการปฏบิ ัติงานของนักเรียน เครื่องมอื วัดผล การวดั และการประเมินผล 1. จากแบบฝึกหัด 2. แบบประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรยี น วธิ วี ัดผล 3. ประเมินผลจากการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 1. ก่อนเรียน:วัดผลและประเมนิ ผลโดยทาแบบทดสอบ 2. ขณะเรียน วดั และประเมนิ ผลโดยการถามตอบ วดั คุณธรรมจริยธรรม 3. หลังเรยี น: วดั และประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ

61 เกณฑ์การประเมินผล ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายได้อย่างถกู ต้อง งานท่ีมอบหมาย แบบฝึกหัด ส่ือการเรียนและการสอน และอปุ กรณ์ช่วยฝึก 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สื่อจรงิ 3. แบบฝึกหัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เครือ่ งมือและอุปกรณ์ของจรงิ หนังสืออา้ งองิ ประสานพงษ์ หาเรือนชพี . 2011. งานสง่ กาลงั รถยนต์.นครราชสมี า

62 ใบเนือ้ หา (ครุศาสตร์เครอื่ งกล) ช่อื วิชา ระบบเครือ่ งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย ขบวนการสง่ กาลงั เฟืองทา้ ย สปั ดาหท์ ี่ 8 หนว่ ยย่อย 4.1-4.2 จานวน 6 ชัว่ โมง วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4.1.1 ถอดเพลากลางออกจากรถได้ 4.2.1 ถอดหน้าแปลนเฟืองเดือยหมูได้ บทท่ี 4 ขบวนการส่งกาลังเฟอื งทา้ ยและงานการแกไ้ ขขอ้ ขัดข้อง 4.1 หนา้ ท่ีของเฟืองทา้ ยรถยนตข์ บั ล้อหลัง 4.1.1 ชุดเฟืองทา้ ยทาหนา้ ท่ีเปลี่ยนเสน้ ทางหมุนของเพลากลางใหเ้ ปน็ แนวตั้งฉากกับเพลากลางคอื ส่งถ่าย กาลงั จากเพลากลางไปยังเพลาขับล้อดว้ ยความเร็วรอบลดลง แต่ส่งกาลังขับได้สูงขน้ึ 4.1.2 ชุดเฟืองทา้ ยสมดลุ ความเรว็ ล้อรถใหห้ มุนสัมพันธ์กนั ขณะเลย้ี ว คือลอ้ รถดา้ นในจะหมุนช้ากวา่ ลอ้ ด้าน นอก ซึ่งพอสรุปได้ดังน้ี 4.1.2.1 ลดอตั ราทดเฟือง ลดอัตราทดเฟอื ง ทาใหล้ ดความเรว็ รอบของเพลากลางลงให้ เหมาพสมกบั ขนาดของลอ้ รถยนต์ รูปที่ 4.1 ลดอัตราทดเฟือง 4.1.2.2 ส่งกาลังต้ังฉากกับเพลากลาง เปลีย่ นทศิ ทางการสง่ กาลงั งานโดยเฟืองเดือยหมแู ละเฟืองวงแหวน จากเพลากลางไปเป็นมุม 90 องศา และส่งกาลงั ไปเพลาขบั ล้อ รปู ที่ 4.2 สง่ กาลังตั้งฉากกับเพลากลาง

63 4.1.2.3 สมดลุ ระยะทางเล้ียวโคง้ การสมดุลระยะทางการเลย้ี วโค้ง คือทาให้รถเล้ยี วเข้าโค้งได้ดี โดย ไม่มกี ารปัดเน่ืองจากการทางานของเพลากลางขณะเล้ียวนั้น ลอ้ ทง้ั สองมีความเร็วรอบไม่เท่ากัน คือล้อดา้ นนอกจะหมุนเร็วกว่าล้อ ด้านใน อกี ประการหนง่ึ ยังทาหน้าท่ีให้ลอ้ ขับททั้งสองหมุนอิสระ ต่อกันไดโ้ ดยไมล่ ืน่ ไถล รปู ท่ี 4.3 ล้อสมดุลระยะทางเลี้ยวโค้ง 4.2 ประเภทเส้ือเพลาท้ายรถยนต์ เสอื้ เพลาท้ายเป็นส่วนประกอบท่ีอยู่ภายนอกมักจะทาด้วยเหล็กกลา้ อัดขึ้นรปู เป็นส่วน ๆ แลว้ นามาเชื่อมเข้า ดว้ ยกันหรอื ตรงสว่ นกลางทาด้วยเหล็กหล่อแลว้ นาส่วนอ่ืนท่ีเปน็ เหล็กกล้าอัดข้ึนรปู มาเช่ือมตอ่ กนั แตก่ ็มบี า้ ง เหมือนกนั ท่ีทาดว้ ยเหล็ก รปู ที่ 4.4 เสื้อเพลาท้ายแบบแบนโจ 4.2.1 เส้ือเพลาท้ายแบบแบนโจ เสื้อเพลาท้ายแบบแบนโจ เปน็ แบบทนี่ ยิ มใช้กนั มากท่ีสดุ แขนบงั คับ ทาหน้าทร่ี ักษาตาแหน่งเสื้อเพลากับล้อ รับแรงโมเม้นท์การออกรถ และการเบรกรถ โดยมีเหล็กยึดแนวขวางเพ่ือให้ตัวรถไมโ่ ยน แตเ่ ป็น ตัวทาใหต้ วั รถมนั่ คง เกาะถนนดี 4.2.2 เส้ือเพลาท้ายแบบแยกชิ้น เสือ้ เพลาท้ายแบบแยกชนิ้ เปน็ แบบแยกออกจากกันได้ เพราะยึด ตดิ กันไวด้ ว้ ยสกรูต้นทนุ การผลิตต่า และนา้ หนกั น้อย ใช้กับแหนบล้อ หลัง ไม่ต้องใช้ส่วนประกอบมาก ข้อเสยี อยูท่ ี่ต้องซ่อมบารุง รปู ท่ี 4.5 เสื้อเพลาทา้ ยแบบแยกชิ้น

64 4.2.3 เส้ือเพลาท้ายแบบข้ออ่อน เสอื้ เพลาท้ายแบบข้ออ่อนหรือแบบอสิ ระ การรองรับประเภทคาน อิสระหรือเรียกวา่ ประเภทอิสระ ล้อแต่ละขา้ งเต้นได้อสิ ระ ข้อดคี ือไม่ ต้องส่งผลไปยังล้ออ่ืน น้าหนักใต้สปริงของระบบรองรบั น้อยล้อจงึ เกาะถนนได้ดี ใชช้ ว่ งสปริงยาวได้ กินเน้ือทนี่ ้อย รถแลน่ ไดน้ ม่ิ นวล ขอ้ เสยี คือไม่แข็งแรงทา่ คานแข็ง และต้นทนุ การผลติ สูงกว่า รปู ท่ี 4.6 เส้ือเพลาทา้ ยแบบข้ออ่อน