89 ผลการดำเนินงานทเ่ี กิดขน้ึ ผลการประเมนิ คณุ ภาพ คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คณุ ภาพ และร่องรอย หลักฐานที่เกิดขน้ึ 5 ยอดเยี่ยม จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง 6. แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 7. รายงานสรปุ ผลการ ดำเนนิ งานการศึกษาตามอัธยาศยั 8. ภาพถ่าย การศึกษา ขอ้ มูล ร่องรอย และหลกั ฐาน รมท่กี ำหนด 1. ใบประกาศ เกยี รตบิ ตั รท่ไี ด้ นรู้การศกึ ษา จาการพฒั นาตนเอง ารบรู ณาการ 2. บนั ทึกรายงานผลการพฒั นา จดั ตนเอง 3. บันทึก รายงานผลการจดั ผู้จดั กจิ กรรม ฒนาตนเอง 4. สรุปผลการดำเนนิ การจดั นังสือ สอื่ กจิ กรรม ล่ยี นเรยี นรู้ รฐั และ ยทไ่ี ด้รบั การ ารจัด ไดร้ ับมาจัด ป้าหมายใน
มาตรฐานการศกึ ษา/ ค่านำ้ หนัก กระบวนการ/วิธดี ำเนินงาน ประเด็นการพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา 2.3 สอ่ื หรอื นวัตกรรม และ ชุมชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยนำประสบ สภาพแวดลอ้ มท่เี ออื้ ตอ่ การจดั ปฏิบัติงานมาแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ ห้กับผู้จัดกิจ การศึกษาตามอธั ยาศัย การศึกษาตามอัธยาศัย ในการประชุมประจำ สถานศึกษา เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั กิจ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยของผ้จู ดั กจิ กรรมคนอ ทำให้การจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั เ วตั ถุประสงคข์ องการจัดกิจกรรม และมกี ารอ กจิ กรรมทส่ี อดคลอ้ งกบั โครงการ กจิ กรรมนน้ั 5 สถานศึกษามกี ารพัฒนา หรอื จดั นวัตกรรม และ/หรอื จัดสภาพแวดลอ้ มทเี่ อือ้ เรียนรู้ท่ีมีความสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ขอ โครงการ กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โด บรรณารักษ์ และครู กศน.ตำบล ดำเนนิ การส ขอ้ มูลรายการส่ือการเรยี นรู้ในพื้นที่ เพอื่ ทรา ตอ้ งการและจำนวนขอ้ มลู ของสื่อแตล่ ะประเภ เพอ่ื นำมาวางแผนการจดั หาสื่อตามความต้อง ของกลุ่มเปา้ หมายและการจดั โครงการกิจกร การศกึ ษาตามอธั ยาศัย นอกจากน้ี ห้องสมุดป อำเภอนครชยั ศรยี ังมกี ารปรบั ปรุงหอ้ งสมุดแ การให้บริการในดา้ นต่าง ๆ เช่น จดั มมุ ดจิ ิทลั ความสะดวกใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายท่ีต้องการใช
90 ผลการดำเนนิ งานทเ่ี กิดขึน้ ผลการประเมินคุณภาพ คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คณุ ภาพ และร่องรอย หลกั ฐานทเี่ กดิ ขนึ้ 3 ปานกลาง จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ บการณก์ าร จกรรม ำเดือนของ จกรรม อ่นื ๆ ซึ่งจะ เปน็ ไปตาม ออกแบบ นๆ ดหาส่อื หรอื ข้อมลู ร่องรอย และหลกั ฐาน อต่อการ 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ องการจดั 2. แบบสำรวจความตอ้ งการ ดย 3. เพจหอ้ งสมดุ ประชาชน สำรวจ อำเภอนครชัยศรี และเพจ กศน.ตำบล าบความ 4. ทำเนียบสอื่ แหลง่ เรียนรู้ ภท และภมู ปิ ญั ญา งการ 5. แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ของ รรม กศน.อำเภอและ ของ กศน.ตำบล ประชาชน และ ลเพ่ืออำนวย ช้บรกิ าร
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีดำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา ด้านดิจิทลั จัดมมุ ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมกับกิจก กลมุ่ เป้าหมาย จดั ทำส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-bo ในวนั สำคัญต่าง ๆ เพ่อื เป็นอกี ช่องทางหน่งึ ใน การศกึ ษาคน้ ควา้ หาขอ้ มลู สถานศึกษามีการจัดทำข้อมูลทำ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิน่ สำหรบั ให มาใชค้ ้นคว้าหาข้อมลู ในหอ้ งสมดุ ประชาชนอ นครชัยศรี และ กศน.ตำบลทงั้ 24 แหง่ ซ่ึงจะ ในแผนปฏิบตั ิการประจำปี ของ กศน.อำเภอ ตำบล สถานศกึ ษามกี ารจัดมมุ ใหค้ ำแนะ ใหก้ ับผูร้ บั บรกิ าร โดยดำเนินการจัดในหอ้ งส ประชาชน กศน.อำเภอ และกศน.ตำบล เพ่อื คำแนะนำ นอกจากนใี้ นการจัดการปฐมนเิ ทศ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยบรรณารกั ษ์มีการ ข้อมูลเก่ยี วกับการใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเท เรียนรู้ และภมู ิปัญญาท้องถ่ินแกก่ ลมุ่ เปา้ หมา ประจำทกุ ภาคเรียน และ ครู กศน.ตำบลทด่ี ำ กิจกรรมการเรียนการสอนมกี ารสอดแทรกกา ใหข้ ้อมูลเก่ยี วกับการใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสน เรียนรู้ และภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ในการจดั การเร
91 ผลการดำเนนิ งานท่ีเกิดขน้ึ ผลการประเมินคณุ ภาพ และร่องรอย หลกั ฐานทเี่ กิดขน้ึ คะแนนท่ไี ด้ ระดับคณุ ภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง กรรมและ ook) น ำเนียบส่อื ห้ผรู้ ับบรกิ าร อำเภอ ะปรากฏอยู่ อ และกศน. ะนำปรึกษา สมุด อให้ ศผเู้ รียนงาน รแนะนำ ให้ ทศ แหลง่ ายเป็น ำเนนิ การจัด ารแนะนำ นเทศ แหลง่ รียน
มาตรฐานการศึกษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ดี ำเนินงาน ประเด็นการพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา 2.4 ผรู้ บั บรกิ ารมีความพึงพอใจ การสอนข้นั พืน้ ฐานเพ่อื ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายได้ใช ต่อการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย จากการแนะนำในการเรยี นการสอน สถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ความพ ผ้รู ับบรกิ ารทม่ี ตี อ่ การใช้ส่อื การเรียนรู้ เทคโน สารสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ และภมู ปิ ัญญาท้องถ โดยบรรณารกั ษ์ และครู กศน.ตำบล โดยใชแ้ ที่หลากหลาย อาทิ แบบประเมินความพงึ พอ แบบสงั เกต แบบสอบถาม และนำผลการวเิ ค ที่ได้ มาสรปุ รายงานเกณฑ์การประเมนิ ผล สถานศึกษามกี ารนำผลการประเม ปรับปรุงส่ือ แหล่งเรยี นรภู้ มู ิปัญญาท้องถนิ่ ให เหมาะสม ตรงตามความต้องการ และมคี ุณภ จดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 5 สถานศกึ ษาได้ดำเนนิ การจดั กจิ กรร การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทีห่ ลากหลาย สอดค วตั ถปุ ระสงค์ และกลุ่มเปา้ หมายของโครงการ สถานศึกษาดำเนินการจดั โครงการส่งเสรมิ กา ตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นของห ประชาชน และกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นของ ตำบล) ในการจดั โครงการ กิจกรรม ทกุ ครั้ง และครู กศน.ตำบล จะดำเนินการประเมนิ ผล
92 ผลการดำเนินงานทีเ่ กิดขึน้ ผลการประเมนิ คุณภาพ และร่องรอย หลักฐานท่ีเกิดขน้ึ คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คุณภาพ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ชข้ ้อมูล พึงพอใจของ นโลยี ถน่ิ แบบประเมิน อใจ คราะห์ข้อมูล มินมาพฒั นา หม้ คี วาม ภาพในการ รม ข้อมลู ร่องรอย และหลักฐาน 4.40 ยอดเยย่ี ม คลอ้ งกบั 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ ร โดย 2. แบบรายงานสรปุ ผล ารศึกษา การดำเนนิ งาน ห้องสมุด ง กศน. บรรณารกั ษ์ ล
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ น้ำหนัก กระบวนการ/วธิ ีดำเนินงาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา รวมคะแนน ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมแต่ละครง้ั พ ดำเนนิ การรวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูลและรายง เสนอผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา โดยจะนำข้อมูลท ในการปรบั ปรุงการจัดกจิ กรรม/โครงการ คร 70
93 ผลการดำเนินงานท่ีเกิดขน้ึ ผลการประเมนิ คุณภาพ และรอ่ งรอย หลักฐานท่ีเกดิ ขนึ้ คะแนนที่ได้ ระดบั คณุ ภาพ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ 67.40 พร้อมท้งั งานสรปุ ผล ทีไ่ ดม้ าใช้ ร้งั ต่อไป
94 สรุปผลการประเมินคณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย น้ำหนัก ผลการประมนิ คณุ ภาพ (คะแนน) คะแนนทไ่ี ด้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา/ประเด็นการพจิ ารณา 50 50 ยอดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูร้ ับบริการการศึกษาตามอธั ยาศัย 1.1 ผ้รู บั บริการมคี วามรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคลอ้ ง 50 50 ยอดเย่ยี ม กบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 20 17.40 ดีเลิศ 2.1 การกำหนดโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 5 5 ยอดเย่ียม 2.2 ผู้จัดกจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย 5 5 ยอดเยย่ี ม 2.3 ส่ือ หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ต่อการจัด การศึกษาตามอธั ยาศยั 5 3 ปานกลาง 2.4 ผ้รู ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย 5 4.40 ยอดเย่ยี ม จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย มีคะแนนรวมเท่ากับ 50 คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม และในมาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มีคะแนนรวมเทา่ กบั 17.40 คะแนน อยใู่ นระดับ ดีเลศิ ซ่ึงจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดท่ี ควรพัฒนา ดังนี้ จุดเดน่ 1. ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid – 19) สถานศึกษามี การนำนวัตกรรมรูปแบบใหม่ สื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เช่น E-book AR สื่อออนไลน์ กิจกรรมเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ เป็นต้น ทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ซ่ึงเป็นการเพ่ิมโอกาสทางการ เรยี นรู้ของประชาชน 2. สถานศึกษามีการรวบรวม จัดหา และจัดทำส่ือท่ีหลากหลาย เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ผา่ นการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ส่ือแหล่งเรียนรู้และภมู ิปญั ญา เพ่อื สง่ เสรมิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ 3. สถานศึกษามกี ารกำหนดโครงการทต่ี อบสนองต่อความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 4. สถานศึกษามีผจู้ ัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัยทไ่ี ด้รบั การพฒั นาศกั ยภาพอย่างต่อเนอ่ื ง และหลากหลาย สามารถนำความรู้ทีไ่ ดร้ ับมาประยุกต์ใช้ในการจดั กจิ กรรม
95 จดุ ทคี่ วรพัฒนา 1. สถานศกึ ษาควรจดั ให้มีการประเมินความพึงพอใจอย่างต่อเน่ือง 2. สถานศึกษาควรนำผลการประเมนิ มาใช้ในการพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การศกึ ษา ตามอัธยาศยั 3. สถานศึกษามีงบประมาณไมเ่ พียงพอในการจดั หาสื่อเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั
ผลการประเมินคณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา (มาตรฐานที่ 3 ซึง่ เปน็ มา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนอื่ ง และการศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วิธดี ำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการ 30 บริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบรหิ ารจดั การของ 3 สถานศกึ ษามีการบริหารและกา สถานศกึ ษาที่เน้นการมสี ่วนร่วม สถานศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบ โดยผู้บรหิ ารสถา น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แ ธรรมาภบิ าล มาใช้ในการดำเนินงานของสถา โดยสำนักงาน กศน.จังหวดั นครปฐม เปน็ ผกู้ ส่งเสรมิ สนบั สนุนและประสานงานเชิงนโยบ ตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาต บริหารงานท่วั ไปของผบู้ ริหารสถานศกึ ษานัน้ หลักการบรหิ ารงานแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงา เนน้ ความโปรง่ ใส ความรับผดิ ชอบ ตรวจสอบ ตลอดจนการมีส่วนรว่ มของบุคลากรในสถาน ชมุ ชนองคก์ รที่เก่ียวขอ้ ง มุ่งพัฒนาใหเ้ ป็นองค ทันสมยั ในการนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการบรหิ ดำเนนิ งาน การบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา สา ดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษ
96 าตรฐานการศกึ ษา ท่ีสามารถใชผ้ ลการประเมนิ คณุ ภาพรว่ มกนั ได้ ทั้งการจัด มอัธยาศยั ) ผลการดำเนนิ งานท่ีเกดิ ข้นึ ผลการประเมินคณุ ภาพ และร่องรอย หลักฐานทีเ่ กดิ ขน้ึ คะแนนทไ่ี ด้ ระดับคณุ ภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง 26.20 ดเี ลศิ ารจัดการ ในการจัดทำแผนปฏิบัติการ 3 ยอดเยี่ยม านศึกษาได้ ประจำปี 2564 สถานศึกษาได้ดำเนินการ และหลัก ประชุมปรกึ ษาหารือร่วมกนั วางแผน านศกึ ษา ในการดำเนินการจัดทำ โดยนำข้อมลู กำกับดูแล ตา่ ง ๆ มาวิเคราะห์ ไมว่ า่ จะเปน็ นโยบาย บายให้เป็นไป และจุดเน้นการดำเนนิ งานของ สำนักงาน ติ ในการ กศน. และนโยบายของจังหวดั มีการ น ยดึ วเิ คราะหส์ ภาพปัญหาเพอ่ื นำมากำหนด านเปน็ หลกั เปา้ หมายการจัดกจิ กรรมการศกึ ษา บได้ นอกระบบรว่ มกนั และมกี ารแบง่ งาน นศกึ ษา กนั ทำเพ่ือใหไ้ ดแ้ ผนปฏบิ ัติการประจำปี ค์กรท่ี พรอ้ มท้งั นำเสนอตอ่ คณะกรรมการ หารงานและ สถานศึกษาใหค้ วามเห็นชอบ ามารถ ษา
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนกั กระบวนการ/วธิ ดี ำเนนิ งาน ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา ตามอัธยาศัยได้บรรลุเป้าหมาย มาตรฐาน และเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ โดยสถานศึกษาเน ส่วนร่วมจากบคุ ลากรของสถานศึกษา และภ อาทิ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ท รว่ มมอื จากบคุ ลากร และภาคเี ครือข่าย ที่ให ร่วมมือในการจัดทำและดำเนนิ การตามแผนใ ทุกกิจกรรม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพ 4 สถานศกึ ษามีการจัดระบบการประ การศึกษาของสถานศกึ ษา ภายในทีส่ ง่ ผลต่อคณุ ภาพผเู้ รียนและผู้รับบร ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศกึ 2561 แหง่ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาต 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และกฎก ศึกษาธิการ กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ประกนั คุณภาพภายใน สำหรับสถานศกึ ษาท การศกึ ษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ทอ่ี าศยั อำน ความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการศกึ ษานอกระ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดยสถาน
97 ผลการดำเนนิ งานทีเ่ กดิ ข้นึ ผลการประเมินคณุ ภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคณุ ภาพ และรอ่ งรอย หลกั ฐานทเ่ี กดิ ขน้ึ 4 ยอดเย่ียม จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ นการศึกษา ขอ้ มูล รอ่ งรอย และหลกั ฐาน น้นการมี 1. ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ความตอ้ งการ ภาคีเครือขา่ ย ของชมุ ชน ท่ีได้รับความ 2. แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี หค้ วาม ของ กศน.อำเภอ ใน 3. แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ของ กศน.ตำบล 4. ใบประกาศ เกียรติบัตร 5. ภาพถ่าย ะกนั คณุ ภาพ สถานศกึ ษาดำเนนิ การจัดใหม้ ี รกิ าร เปน็ ไป ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน กษา พ.ศ. สถานศึกษาเป็นประจำทุกปี ซง่ึ ในการ ติ พ.ศ. ดำเนนิ การประกันคณุ ภาพภายใน 5 ตาม สถานศกึ ษา จะใช้หลักการวงจรเดมมง่ิ กระทรวง คือ กระบวนการ P D C A ในการประกัน ธกี าร คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ทีจ่ ัด นาจตาม 5 วรรคหนึง่ ะบบและ นศกึ ษา
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ดี ำเนนิ งาน ประเด็นการพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา ดำเนนิ การ ดังน้ี 1. การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษา สถานศึกษา สถานศกึ ษาไดแ้ ต่งตัง้ คณะกรรม ดำเนินการประกนั คุณภาพการศึกษา ซ่ึงประ ผู้บริหารสถานศกึ ษา และบุคลากรภายในสถ ทกุ คน คณะกรรมการการศกึ ษา รายละเอยี ด เกณฑก์ ารพิจารณา และระดับคุณภาพของม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยา ประเภทของมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบแ การศกึ ษาตามอัธยาศัยท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ า กำหนด และประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาข สถานศกึ ษาเพ่ือการประกนั คุณภาพภายในส และกำหนดค่าเปา้ หมายของสถานศึกษาเพอ่ื ประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบและกา ตามอธั ยาศยั ของสถานศกึ ษา ประจำปงี บปร 2564 โดยนำผลการประเมินตนเอง ปีงบประ ของสถานศกึ ษา และข้อมลู ผลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2563 เป็นขอ้ มูลในการกำหนด เป้าหมาย และเสนอขอความเห็นชอบจากสำ กศน.จงั หวดั นครปฐม 2. ปรับปรุงแผนพฒั นาคุณภาพการ
98 ผลการดำเนินงานทเ่ี กิดข้ึน ผลการประเมนิ คุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ และร่องรอย หลกั ฐานท่เี กิดขนึ้ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง ข้อมูล รอ่ งรอย และหลกั ฐาน าของ 1. รายงานการประชมุ มการ ประจำเดือนของสถานศึกษา ะกอบด้วย 2. รายงานการประชมุ ถานศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา ด คำอธบิ าย 3. แผนพัฒนาคณุ ภาพ มาตรฐาน การศึกษา าศัย แตล่ ะ 4. แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี และ 5. ประกาศใชม้ าตรฐาน ารประกาศ การศึกษาของสถานศกึ ษา ของ 6. คา่ เป้าหมายของสถานศึกษา สถานศึกษา ปี 2564 อใช้ในการ 7. คำสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการ ารศึกษา ดำเนินงานประกนั คุณภาพ ระมาณ พ.ศ. 8. สรปุ ผลการดำเนินงาน ะมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 น 9. รายงานการประเมนิ ตนเอง ดค่า ของสถานศกึ ษา ำนกั งาน 10. ระบบขอ้ มลู สารสนเทศของ สถานศึกษา รศึกษา
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วิธีดำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา พ.ศ. 2562 – 2565 และจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิกา งบประมาณ พ.ศ. 2564 3. ดำเนนิ การตามแผนพฒั นาคุณภ การศึกษา และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 4. จดั ให้มกี ารนิเทศ ติดตาม ตรวจ คณุ ภาพการศกึ ษา 5. จัดใหม้ กี ารประกันคณุ ภาพภาย สถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษานอกระ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 6. จดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอ งบประมาณ 2564 ตามมาตรฐานการศึกษาน และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 7. เสนอรายงานการประเมินคณุ ภา ตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา หน่วยงานต้นส เครอื ข่าย และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน 8. นำผลการประเมนิ คุณภาพภายใ มาเป็นขอ้ มลู ในการวางแผน 9. จัดระบบบรหิ าร และสารสนเทศ สถานศึกษา ใหม้ ีความถกู ต้อง เปน็ ปัจจบุ นั แ ตรวจสอบได้
99 ผลการดำเนินงานท่ีเกิดขึ้น ผลการประเมินคุณภาพ และรอ่ งรอย หลักฐานทเ่ี กดิ ขน้ึ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ ารประจำปี ภาพ จสอบ ยใน ะบบและ อง ประจำปี นอกระบบ าพภายใน สงั กัด ภาคี ในส่วนหน่งึ ศของ และสามารถ
มาตรฐานการศึกษา/ ค่าน้ำหนัก กระบวนการ/วิธีดำเนนิ งาน ประเด็นการพิจารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา 10. ยึดหลักการมสี ่วนรว่ มของคณะ สถานศกึ ษา บุคลากรภายในสถานศึกษา ภาค และผูร้ บั บริการ ในการดำเนนิ งานการพัฒนา การศึกษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากร 3 สถานศึกษาส่งเสรมิ สนบั สนุนบคุ ลา ของสถานศกึ ษา สถานศึกษาให้ได้รบั การพัฒนา เพ่ิมพูนความ ความสามารถ สมรรถนะ ทักษะ ศักยภาพใน ปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ท่ี ตามสายงาน พ ฝึกอบรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ระเบยี บ ว กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง สอดคลอ้ งกบั ภารกิจท่ีร โดยสถานศึกษาไดส้ ง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้บคุ ลา พฒั นาจากหนว่ ยงานต้นสังกัด และจากหนว่ ย ตามที่มกี ารฝึกอบรมอยา่ งสมำ่ เสมอ เพื่อให้บ ได้รับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ ทักษ ปฏบิ ัตงิ านเพิม่ มากข้นึ
100 ผลการดำเนนิ งานท่ีเกิดขน้ึ ผลการประเมินคณุ ภาพ และร่องรอย หลักฐานทีเ่ กดิ ขนึ้ คะแนนทไ่ี ด้ ระดับคุณภาพ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ะกรรมการ คีเครอื ข่าย าคณุ ภาพ ากรของ สถานศึกษามแี ผนพฒั นาครแู ละ 3 ยอดเยย่ี ม มรู้ บคุ ลากรของ สถานศกึ ษา ทปี่ ระกอบด้วย นการ ขอ้ มูล การพัฒนาครูและบคุ ลากรของ พร้อมท้ังการ สถานศึกษาแต่ละ ตำแหนง่ ใชเ้ ป็นข้อมูล วินัย ในการพฒั นา ทำใหค้ รแู ละ บุคลากรของ รบั ผิดชอบ สถานศึกษา รอ้ ยละ 100 ไดร้ ับการพัฒนา ากรได้รบั การ สามารถนําความร้นู ั้นมาใชใ้ นการพฒั นา ยงานอน่ื ๆ งาน อยา่ งมีประสิทธภิ าพ บุคลากรที่ ษะในการ หลักฐาน ร่องรอย และหลักฐาน 1. บนั ทกึ ขอ้ ความ คำส่งั บันทกึ รายงานการประชุม 2. โครงสร้างการบริหารงาน 3. หลักฐานการเข้าร่วม การพฒั นา
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ น้ำหนกั กระบวนการ/วิธดี ำเนนิ งาน ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล 3 สถานศึกษาเป็นหนว่ ยงานทางการ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ ความสำคญั ของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการ จดั การสถานศึกษาในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้ การบร ด้านวชิ าการ การบริหารด้านงบประมาณ กา บริหารงานด้านบุคลากร การบรหิ ารงานทัว่ ไ การบรหิ ารงานของสถานศึกษา มคี วามสะดว และมคี ณุ ภาพ เช่น การบริหารงานดา้ นการเ โปรแกรม E-budget ในการตดั งบประมาณ ขอ้ มลู ขา่ วสารใช้โปแกรม E-office เพือ่ ส่งขอ้ และเปน็ การลดการใช้กระดาษ เป็นตน้ และน ยังมโี ปแกรมอ่นื ๆ ท่ีมาช่วยสนบั สนนุ ในการบ จัดการในทุก ๆ กิจกรรม
101 รศึกษาได้ให้ ผลการดำเนนิ งานท่เี กิดข้นึ ผลการประเมนิ คณุ ภาพ รบริหาร และรอ่ งรอย หลกั ฐานท่ีเกิดขน้ึ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ รหิ ารงาน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง าร 3 ยอดเยยี่ ม ไป เพื่อให้ สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยี วกรวดเร็ว ดิจิทัลมาใช้ในการบรหิ ารงานดา้ นวชิ าการ เงนิ จะใช้ ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft การส่อื สาร word Microsoft excel Microsoft อมลู ข่าวสาร power point website ระบบ E-office นอกจากน้ี เปน็ ตน้ การบริหารงบประมาณ ใช้ บรหิ าร โปแกรม บริหารจัดการฐานข้อมูล (DMIS) E-budget การบริหารงานทั่วไป การบริหารงานบคุ คล Microsoft word Microsoft excel Microsoft power point website ระบบ E-office โปรแกรมบริหารจัดการ ฐานข้อมลู (DMIS) ระบบ E-budget และ โปรแกรมอื่น ๆ ในการบริหารงาน หลกั ฐาน รอ่ งรอย และหลกั ฐาน 1. โปรแกรมต่าง ๆ ท่ี สถานศึกษาใช้ในการดำเนินงาน 2. ขอ้ มลู สารสนเทศด้านการ บรหิ ารงานวชิ าการ การบรหิ าร
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีดำเนินงาน ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา 3.5 การกำกบั นิเทศ ติดตาม 3 สถานศึกษามกี ารกำกับ นิเทศ ติดต ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา โด ของสถานศึกษา ดำเนนิ การ ดังนี้ 1. ในทุกปีงบประมาณ สถานศึกษา ดำเนนิ การจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ทกุ ปงี บประมาณมีการประชมุ วางแผนในการ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีเพอ่ื เป็นแนวทางใน การดำเนนิ งานของสถานศึกษาในทกุ กิจกรรม สถานศกึ ษาจำเปน็ ตอ้ งมีการกำกับ นิเทศ ตดิ ประเมินผลการดำเนนิ กจิ กรรมทกุ กิจกรรมขอ สถานศกึ ษาศกึ ษา เพ่อื บรรจุไวใ้ นแผนปฏิบตั ประจำปี 2. ดำเนินการแต่งต้งั คณะกรรมการ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล 3. ดำเนินการกำกับ นเิ ทศ ติดตาม
102 ตาม ผลการดำเนนิ งานทีเ่ กิดขน้ึ ผลการประเมินคณุ ภาพ ดยมีวธิ กี าร และรอ่ งรอย หลักฐานท่เี กดิ ขนึ้ คะแนนที่ได้ ระดบั คุณภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง าต้อง งบประมาณ การบรหิ ารบุคคล 1.80 ปานกลาง รจัดทำ 3. เอกสารจดั สรรงบประมาณ 4. แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ม 5. รายงานสรุปผลการ ดตาม ดำเนนิ งานประจำปี อง 6. โปรแกรมสำเรจ็ รปู ติการ สถานศกึ ษาดำเนินการกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการ ดำเนนิ งานการจดั การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศกึ ษา ดงั น้ี ดำเนินการนเิ ทศการจดั การศึกษา นอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน นเิ ทศการจัดการศึกษาต่อเนื่อง โดย คณะกรรมการนิเทศ และรายงานผล การนิเทศ การดำเนนิ งานเสนอตอ่ ผู้บรหิ าร รบั ทราบ รการกำกบั มประเมนิ ผล
มาตรฐานการศึกษา/ คา่ น้ำหนกั กระบวนการ/วิธีดำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา ในการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ตามคำสัง่ ทไ่ี ด้รับมอ เพ่อื นำผลรายงานต่อผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ัติหนา้ ท่ขี อง 3 สถานศึกษา ดำเนินการสรรหาคณ คณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษาตามประกาศสำนักงานสงเสริมกา ท่ีเปน็ ไปตามบทบาททกี่ ำหนด นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เร่ือง หลกั เกณฑ และวิธีการได้มาของประธานกรร กรรมการสถานศึกษา วาระการดำรงตาํ แหน พน้ จากตาํ แหนง ของสถานศกึ ษาในกำกบั สำ สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาต โดยการประกาศการสรรหาและการคัดเลอื ก สถานศึกษาซึ่งเปน็ ผ้ทู รงคณุ วุฒดิ า้ นตา่ ง ๆ แ ประกาศประชาสมั พนั ธ์โดยเปิดเผย แตง่ ตง้ั เจ รับสมัครและตรวจสอบคณุ สมบตั ิ ประกาศร ผูม้ ีสทิ ธิเขา้ รบั การคัดเลอื กเปน็ กรรมการสถา จัดการประชมุ เพ่ือชแ้ี จงสร้างความรู้ ความเข เก่ียวกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ โดยจดั ทำเป็นเอกสารมอบให้คณะกรรมการ
103 อบหมาย ผลการดำเนินงานท่เี กิดขนึ้ ผลการประเมินคุณภาพ และรอ่ งรอย หลกั ฐานท่ีเกิดขน้ึ คะแนนทไี่ ด้ ระดับคุณภาพ ณะกรรมการ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ารศกึ ษา หลกั ฐาน ร่องรอย และหลกั ฐาน 2.40 ดเี ลศิ คณุ สมบัติ รมการและ 1. แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี นง และการ 2. คำส่งั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ ำนักงาน นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ตามอัธยาศัย 3. แผนการนิเทศ กกรรมการ 4. รายงานการนเิ ทศ และปดิ สถานศกึ ษาดำเนนิ การจดั การศกึ ษา จ้าหนา้ ท่ี นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดย รายชอ่ื ให้คณะกรรมการสถานศึกษาดำเนินการ านศกึ ษา ดังน้ี ขา้ ใจ 1. ให้คำปรกึ ษาและพจิ ารณาให้ ขอ้ เสนอแนะแผนพฒั นา แผนปฏบิ ตั กิ าร และ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัยและให้ความเห็นชอบ หลกั สตู รของสถานศึกษา 2. ส่งเสริมใหม้ ีการระดมทนุ ทาง สังคมและทรัพยากรจากชมุ ชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่นิ องค์กรอนื่ ท้ังภาครฐั และเอกชน ให้มสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัย
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วิธีดำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา คัดเลอื กประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา แจง้ สำนกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐมดำเนนิ ก จดั ใหม้ ีการประชุมคณะกรรมการ ปลี ะ 2 ค สถานศึกษาดำเนินการจัดประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาในปงี บประมาณ 2 จำนวน 2 ครง้ั โดยการประชุมคณะกรรมการ สถานศกึ ษาแตล่ ะครัง้ ไดบ้ รรจอุ ำนาจหน้าที่ข คณะกรรมการสถานศกึ ษา เพ่อื ใหค้ ณะกรรม สถานศกึ ษาไดร้ บั ทราบถงึ อำนาจหน้าที่ของต ในการประชุมเลขานกุ ารเป็นผู้นำเสนอข้อมลู กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาต ของ สถานศึกษา ในปีงบประมาณ 2564 ท่ีได ผา่ นมา และแจกเอกสารสรุปผลการจดั กิจกร คณะกรรมการสถานศึกษาไดร้ บั ทราบ และให ข้อเสนอแนะ คำแนะนำในการดำเนินกจิ กรร อำเภอนครชัยศรี พรอ้ มท้งั ขอความเห็นชอบใ ดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการ ตามอัธยาศยั ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏิบตั งิ านปร นอกจากน้ีคณะกรรมการสถานศกึ ษายงั เป็นผ หลักสตู รการศึกษาต่อเนอ่ื ง เพือ่ นำไปใชใ้ นกา กจิ กรรมในตำบล
104 ผลการดำเนินงานที่เกดิ ขน้ึ ผลการประเมินคุณภาพ และรอ่ งรอย หลกั ฐานทีเ่ กิดขน้ึ คะแนนทีไ่ ด้ ระดบั คุณภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ การแต่งต้ัง ครั้ง 3. ตดิ ตามและเสนอแนะผลการ ม ดำเนินงานการจดั การศึกษานอกระบบ 2564 และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ ร สถานศึกษา ของ มการ 4. ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ตามท่ี ตนเอง คณะกรรมการสง่ เสริม สนับสนนุ และ ลการจัด ประสานความรว่ มมือการศึกษานอกระบบ ตามอธั ยาศยั และการศึกษาตามอัธยาศยั กำหนดซ่งึ ใน ด้ดำเนนิ การ การประชมุ แต่ละครัง้ คณะกรรมการไดใ้ ห้ รรมให้ ข้อเสนอแนะเพื่อพฒั นาปรบั ปรุงการ ห้ ดำเนนิ งาน เหน็ ชอบแผนปฏบิ ัติการ รมของ กศน. ประจำปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพ ในการ ผเู้ รยี น เห็นชอบหลกั สูตรการศกึ ษา รศกึ ษา ตอ่ เนือ่ ง เหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ระจำปดี ว้ ย ตนเองของสถานศกึ ษา เห็นชอบสรุปผล ผเู้ หน็ ชอบ การดำเนินงานประจำปีงบประมาณ ให้ ารจัด ข้อเสนอแนะในการจดั ซ้ือสอื่ หนงั สอื เรียน ขอ้ เสนอแนะเพอื่ พฒั นาปรบั ปรุงการ ดำเนินงาน และชแ้ี นะชอ่ งทางในการ ระดมทนุ ทางสังคมและทรพั ยากรจาก ชมุ ชน
มาตรฐานการศึกษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วิธีดำเนินงาน ประเด็นการพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา สำนักงาน กศน.จงั หวัดนครปฐม ได แต่งตัง้ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ของสถานศ คณะกรรมการมบี ทบาทหน้าที่ ดังนี้ 1. ใหค้ ำปรกึ ษาและพิจารณา ข้อเสนอแนะแผนพัฒนา แผนปฏบิ ตั กิ ารการ นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และให เหน็ ชอบหลกั สตู รของสถานศึกษา 2. ส่งเสรมิ ใหม้ ีการระดมทนุ ท และทรพั ยากรจากชุมชน องคก์ รปกครองส่ว องคก์ รอืน่ ท้ังภาครฐั และเอกชน ใหม้ สี ว่ นร่ว การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยา 3. ติดตามและเสนอแนะผลก ดำเนินงานการจดั การศึกษานอกระบบและก ตามอธั ยาศัยของสถานศกึ ษา 4. ปฏิบัติงานอื่นตามท่ีคณ ส่งเสริม สนับสนุนและประสานความร่วมม นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกำหน ประชุมแต่ละคร้ัง คณะกรรมการได้ให้ข้อเส พัฒนาปรับปรุงการดำเนินงาน เห็นชอบแผน ประจำปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณ ภ เห็นชอบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง เห็นช
105 ผลการดำเนินงานท่ีเกิดข้ึน ผลการประเมนิ คณุ ภาพ และรอ่ งรอย หลกั ฐานท่เี กดิ ขน้ึ คะแนนทไ่ี ด้ ระดับคณุ ภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ ดด้ ำเนนิ การ หลกั ฐาน ร่องรอย และหลกั ฐาน ศึกษา โดย 1. แผนปฏิบัติการประจำปี าให้ 2. คำสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการ รศึกษา สถานศึกษา หค้ วาม 3. แผนพฒั นาคุณภาพ การศึกษา ทางสงั คม 4. หลกั สูตรสถานศึกษา วนท้องถิน่ 5. หลักสตู รการศึกษาต่อเน่อื ง วมในการจัด 6. รายงานการประชุม าศยั คณะกรรมการสถานศึกษา การ การศกึ ษา ณะกรรมการ มือการศึกษา นดซึ่งในการ สนอแนะเพ่ือ นปฏิบัติการ ภ า พ ผู้ เ รี ย น ชอบรายงาน
มาตรฐานการศึกษา/ คา่ น้ำหนัก กระบวนการ/วธิ ีดำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา 3.7 การส่งเสรมิ สนบั สนนุ ภาคี การประเมินตนเองของสถานศึกษา เห็นชอบ เครือขา่ ยใหม้ สี ว่ นรว่ มในการ ดำเนินงานประจำปีงบประมาณ ให้ข้อเสนอ จัดการศกึ ษา จัดซื้อส่ือหนังสือเรียน ข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒ การดำเนินงาน และชี้แนะช่องทางในการระ สงั คมและทรัพยากรจากชมุ ชน 3 สถานศึกษามีกระบวนการในการส สนบั สนนุ การจัด หรอื รว่ มจดั การศึกษาของภ เครือขา่ ย โดยการประสานงานกับภาคเี ครือข บทบาทและมส่วนรว่ มในการบริหารจดั การแ พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศ ตามอธั ยาศัย เพอ่ื จัดการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกบั ความต้องการของประชาชน ชุม เครอื ข่ายของสถานศึกษาเป็นเครอื ขา่ ยทางส เกิดข้นึ จากความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล องค์ก โรงเรียน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท องคก์ รเอกชน สถาบันศาสนา หนว่ ยงานราช เกีย่ วข้องในทกุ ระดับ มเี ป้าหมายในการทำงา คอื การสง่ เสริมการเรียนรกู้ ารศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐา การศึกษาต่อเนื่อง ในการจดั การศกึ ษานอกร การศึกษาตามอธั ยาศัยให้กับประชาชนต้องอ รว่ มมอื จากภาคเี ครือข่ายในการทำงาน สถาน
106 ผลการดำเนินงานทเ่ี กิดข้นึ ผลการประเมินคณุ ภาพ และร่องรอย หลกั ฐานท่ีเกิดขนึ้ คะแนนทีไ่ ด้ ระดับคณุ ภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง บสรปุ ผลการ อแนะในการ ฒนาปรับปรุง ะดมทุนทาง สง่ เสริม สถานศึกษามีกระบวนการ 3 ยอดเย่ยี ม ภาคี ในการส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่าย ขา่ ยเข้ามามี จดั หรือร่วมจดั การศึกษา เปน็ ต้นแบบ และ โดยการร่วมคดิ รว่ มวางแผน ร่วมปฏิบัติ ศกึ ษา ร่วมประเมินผลกับภาคีเครือข่าย เพื่อจัด ยและ กิจกรรมการศึกษาให้กับชุมชน โดย มชน ภาคี การศึ ก ษ าข้อมู ล พ้ื นฐาน ของชุ ม ชน สงั คมที่ จดั ลำดบั ความสำคัญของปัญหาและความ กร วดั ต้องการของชุมชน โดยการประชุมร่วมกับ ท้องถิ่น ชุมชนเพ่ือกำหนดกรอบการดำเนินงาน ชการท่ี และวางแผนการดำเนินงาน จัดกิจกรรม านร่วมกนั ตามแผนและติดตามผลการดำเนินงาน าน โดยมีภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมสนับสนุน ระบบและ ส่ือ อุปกรณ์ สร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้จัด อาศยั ความ และสนับสนุนพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ให้กับ นศกึ ษาต้อง ส ถ า น ศึ ก ษ า เพื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น
มาตรฐานการศกึ ษา/ ค่าน้ำหนัก กระบวนการ/วิธดี ำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนุน ประสานความรว่ มมือกบั ภาคีเครือขา่ ยในการ การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตา อยา่ งตอ่ เนื่องในทุกระดับของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษามกี ระบวนการในการ สนับสนนุ ใหภ้ าคเี ครือขา่ ยจัดหรอื รว่ มจดั การ ที่เป็นต้นแบบ โดยการร่วมคดิ ร่วมวางแผน รว่ มปฏิบัติ ร่วมประเมินผลกบั ภาคีเครอื ข่าย กจิ กรรมการศึกษาใหก้ บั ชมุ ชน โดยการศกึ ษา พ้ืนฐานของชุมชน จัดลำดับความสำคญั ของ ความต้องการของชุมชน โดยการประชุมร่วม เพ่ือกำหนดกรอบการดำเนินงาน และวางแผ ดำเนนิ งาน จัดกจิ กรรมตามแผนและตดิ ตามผ ดำเนนิ งาน 5 สถานศกึ ษาไดม้ ีการประชมุ วางแผน การปฏบิ ตั งิ านตามแนวทางการขับเคลือ่ นกา สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 2564 กศน. WOW ในการประชุมรับนโยบายจากส กศน. และต้นสงั กัด คอื สำนกั งาน กศน.จงั ห และได้นำนโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ โดยไดม้ กี ารป บุคลากร ประจำเดอื นของสถานศกึ ษา ซงึ่ ได้พ เห็นว่าสงั คมไทยในอนาคตจะเปน็ สงั คมฐานค
107 ผลการดำเนนิ งานทีเ่ กดิ ขน้ึ ผลการประเมินคุณภาพ และรอ่ งรอย หลักฐานที่เกดิ ขนึ้ คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คุณภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ รจดั หรอื การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม ามอัธยาศัย อัธยาศัย จากภาคีเครือข่าย หน่วยงาน ภาครฐั และเอกชน และองคก์ รทางศาสนา รสง่ เสรมิ หลักฐาน ร่องรอย และหลักฐาน รศึกษา 1. แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี เพือ่ จดั 2. บนั ทึกความร่วมมอื (MOU) าข้อมลู 3. รายงานสรปุ ผล งปัญหาและ การดำเนนิ งาน มกับชุมชน 4. ภาพถ่าย ผนการ ผลการ น หลักฐาน รอ่ งรอย และหลักฐาน 5 ยอดเย่ยี ม ารดำเนินงาน 1. แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี สกู่ ารเปน็ 2. รายงานการประชมุ สำนกั งาน ประจำเดอื นของสถานศกึ ษา หวดั นครปฐม 3. รายงานสรปุ ผล ประชมุ การดำเนินงาน พจิ ารณา 4. ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ ความรู้ โดย 5. สมดุ เยย่ี มแหลง่ เรียนรู้
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีดำเนินงาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา มกี ารจดั การความร้แู ละนวัตกรรมเป็นปัจจัย การพฒั นา จึงเห็นความจำเป็นอย่างยิ่งทจี่ ะต และสนับสนุนการดำเนินงาน เพอ่ื ใหป้ ระชาช พืน้ ท่ี และประชาชนท่ัวไปทุกคนมสี ทิ ธิและค ภาคในการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต โด เปา้ หมายให้ทกุ คนเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ต ไดม้ ีการวางแผนการพัฒนาขับเคลื่อนสู่ กศน โดยกำหนดการพัฒนา กศน.ตำบล ท้งั 24 แห กศน.ตำบล 5 ดี พรเี ม่ียม สถานศกึ ษาได้มีการแตง่ ตงั้ คณะกร พจิ ารณา กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ยี ม การสนับสนนุ การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ พิจารณาจากองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทง้ั 5 ด้าน (Good Teacher) สภาพแวดลอ้ มดี (Good Check in) กิจกรรมการเรยี นรู้ดี (Good Act ภาคีเครอื ขา่ ยดี (Good Partnership) และม (Good Innovation) นอกจากน้ี ได้ พิจารณ องค์ประกอบอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ มีแหล่งเรยี นรู้อย่าง หลากหลาย ทว่ั ถึง มรี ะบบข้อมูล สารสนเทศ เรียนรทู้ กุ ประเภท มีการจดั ระบบเครือขา่ ยเช แหลง่ การเรียนรู้ มีการพฒั นา ทรัพยากรการ
108 ผลการดำเนินงานทเ่ี กดิ ข้ึน ผลการประเมนิ คุณภาพ และร่องรอย หลักฐานท่ีเกิดขนึ้ คะแนนทีไ่ ด้ ระดบั คณุ ภาพ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ยสำคญั ใน ตอ้ งส่งเสริม 6. เกียรตบิ ัตร รางวลั ชนในเขต 7. ภาพถ่าย ความเสมอ ดยมี ตลอดชีวิต น. WOW หง่ ใหเ้ ปน็ รรมการ เพอื่ เป็น โดย คอื ครดู ี Place Best tivities) มีนวัตกรรมดี ณา งเพยี งพอ ศ แหลง่ การ ชอื่ มโยง รเรียนรู้ทม่ี ี
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ดี ำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา อยใู่ นชมุ ชนใหเ้ ป็นแหลง่ การเรยี นรู้ มีระบบก และรวบรวมความรู้ มกี ารพัฒนาระบบสารส การจดั เก็บและค้นควา้ องค์ความรู้ได้อย่างรว สรา้ งสรรค์องค์ ความรูใ้ หม่ ๆ ที่สอดคลอ้ งกับ เปลยี่ นแปลงของสังคมโลกและบรบิ ทของสงั การสรา้ ง องคค์ วามรู้หรือเน้ือหาการเรียนร้ทู เหมาะสมกับศกั ยภาพและความต้องการการ บคุ คลกล่มุ หรือชมุ ชน พฒั นารูปแบบการเรีย หลากหลาย พฒั นาบคุ คล องคก์ รมกี ารบูรณา ความรู้เป็นฐานในการแกป้ ัญหาและการพฒั น เหมาะสมกบั สภาพของชุมชน สถานศกึ ษา ไดม้ ีการถ่ายทอดองค หรือนำองค์ความรู้ท่ีมีอย่แู ลว้ ในพ้ืนที่ไปใชใ้ น ถา่ ยทอดความรู้และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้แก่กล โดยผา่ นการจดั กจิ กรรมกระบวนการเรยี นรู้ ใ ตา่ ง ๆ ณ กศน.ตำบลแตล่ ะแหง่ ในพน้ื ท่ี ทัง้ ทั้งด้านกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น การศกึ นอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน การศกึ หลกั สตู รตา่ ง ๆ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ภูมปิ ัญญาในแตล่ ะพื้นท่มี าเป็นผ้รู ่วมถา่ ยทอด ในรูปแบบวิทยากรใหค้ วามรูใ้ น หลกั สูตรต่าง
109 ผลการดำเนินงานทีเ่ กิดขึ้น ผลการประเมินคุณภาพ และรอ่ งรอย หลักฐานทีเ่ กดิ ขน้ึ คะแนนทไ่ี ด้ ระดับคณุ ภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง การจัดหา สนเทศเพื่อ วดเร็ว มีการ บกระแสการ งคมไทย มี ทส่ี อดคลอ้ ง รเรียนรู้ของ ยนรู้ที่ าการใช้ นาที่ ค์ความรู้ น การ ลุ่มเป้าหมาย ในรูปแบบ ง 24 แห่ง กษา กษาตอ่ เนือ่ ง มกี ารนำ ดความรู้ ง ๆ เชน่
มาตรฐานการศกึ ษา/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วิธดี ำเนินงาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา พระภิกษุ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้รู้ในแขนงต เครือข่ายร่วมจัดการศกึ ษา ทง้ั ดา้ นสาธารณส การปกครอง ส่งิ แวดล้อม เป็นตน้ ทำให้เกดิ ก องคค์ วามรูใ้ นพืน้ ท่ีแต่ละแหง่ แต่ละตำบล เป ประสิทธภิ าพ ผเู้ รียน หรือผ้รู บั บริการได้รับค ตลอดจนแลกเปลย่ี นเรียนรู้ อย่างกวา้ งขวางแ สถานศกึ ษาไดม้ อบหมายให้ ครู กศ ทกุ ตำบลดำเนินการสำรวจแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทง้ั ท่เี ปน็ แหลง่ เรยี นรู้ท่ีเป็นศาสนสถาน หรือแ ทีอ่ ยใู่ นหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจน แหลง่ เรีย ความดแู ลรับผิดชอบของสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ แ ทอ่ี ยใู่ นสถานท่ตี ั้งสถานศึกษา ประกอบดว้ ยห ประชาชนอำเภอนครชยั ศรี นอกจากนีย้ งั มีแห ในความดแู ลของ สถานศกึ ษาท่ีต้งั อยู่ใน กศน ต่าง ๆ คอื ศนู ยเ์ รยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลท ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาประชาธปิ ไตยประจำ ทุกตำบล ศนู ยด์ จิ ิทลั ชุมชนทกุ ตำบล เป็นต้น เรียนรูท้ กุ แห่งประชาชน ผู้รบั บรกิ ารสามารถ งา่ ย สามารถใช้ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรูไ้ ด้เป
110 ผลการดำเนินงานทเี่ กดิ ขึน้ ผลการประเมินคุณภาพ และร่องรอย หลกั ฐานที่เกดิ ขนึ้ คะแนนท่ีได้ ระดบั คุณภาพ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง ต่าง ๆ ที่เป็น สขุ การถ่ายทอด ปน็ ไปอย่างมี ความรู้ และทวั่ ถงึ ศน.ตำบล ๆ ใน พน้ื ท่ี แหลง่ เรยี นรู้ ยนรทู้ อ่ี ยูใ่ น แหลง่ เรียนรู้ หอ้ งสมุด หล่งเรียนรู้ น.ตำบล ษฐกจิ ทกุ ตำบล ำตำบล น ซ่ึงแหลง่ ถเข้าถงึ ได้ ป็นอย่างดี
มาตรฐานการศกึ ษา/ ค่านำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีดำเนนิ งาน ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหาร จัดการสถานศึกษา 3 สถานศึกษามกี ารกำหนดประเด็นกา สอดคล้องกบั สถานการณ์ ปัญหา หรอื ความต รวมคะแนน ของสถานศึกษา มกี ารนําปัญหา หรอื ความต สถานศกึ ษา โดยผู้บริหารมกี ารประชมุ บุคลา บคุ ลากรนาํ เสนอปัญหาในการดําเนินงานหรือ ตอ้ งการของสถานศึกษาน้ัน ๆ เพือ่ เปน็ การ ก หรือแนวทางการดำเนินงานวจิ ัยของ สถานศ สถานศึกษามกี ารกำหนดแผนการ ดําเนินงาน ทำงานวจิ ยั 30
111 ารวิจัยท่ี ผลการดำเนินงานทีเ่ กดิ ขึน้ ผลการประเมินคุณภาพ ตอ้ งการ และร่องรอย หลกั ฐานทีเ่ กิดขนึ้ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ ตอ้ งการ ของ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ากร เพอื่ ให้ 1 กำลงั พฒั นา อ ความ สถานศกึ ษาอยใู่ นระหว่างการจดั กำหนดแผน ทำแผนการดำเนนิ การวิจัยเพอื่ การบรหิ าร ศึกษา โดย จดั การสถานศกึ ษา นในการ 26.20 ดีเลิศ
112 สรุปผลการประเมินคณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา มาตรฐานการศกึ ษา/ประเดน็ การพจิ ารณา นำ้ หนัง ผลการประเมินคณุ ภาพ (คะแนน) คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คุณภาพ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 30 26.20 ดีเลศิ 3 ยอดเยย่ี ม 3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาท่เี นน้ การมสี ว่ นรว่ ม 3 4 ยอดเยยี่ ม 3 ยอดเยย่ี ม 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 4 3 ยอดเยย่ี ม 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3 1.80 ปานกลาง 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื สนบั สนุนการบริหารจดั การ 3 2.40 ดเี ลิศ 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน 3 3 ยอดเยย่ี ม ของสถานศกึ ษา 5 ยอดเยีย่ ม 3.6 การปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษา 3 1 กำลังพัฒนา ท่ีเปน็ ไปตามบทบาททก่ี ำหนด 3.7 การสง่ เสริมสนบั สนุนภาคเี ครือขา่ ยให้มีส่วนรว่ ม 3 ในการจดั การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสริม สนบั สนุนการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 5 3.9 การวจิ ัยเพอ่ื การบรหิ ารจัดการศกึ ษาสถานศึกษา 3 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในมาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การ ของสถานศึกษา มคี ะแนน เท่ากบั 26.20 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ ซึง่ จากผลการประเมินคณุ ภาพในมาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา พบวา่ สถานศกึ ษามีจุดเดน่ และจดุ ทค่ี วรพัฒนา ดงั นี้ จุดเดน่ สถานศึกษาดำเนินการบริหารงานท่ีเน้นการมีส่วนร่วม โดยมีการประชุม วางแผนร่วมกับ บุคลากร ในการ กำหนดแนวทางการดําเนินงาน และมีการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถในการจัด กิจกรรม มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการศึกษา มีการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของ สถานศึกษา ส่งเสริมให้คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทหน้าท่ี ตามท่ีกำหนดและสนับสนุน ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วน ร่วมในการดำเนินการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานของการ ประกันคุณภาพการศึกษาและสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวติ
113 จุดท่ีควรพฒั นา 1. สถานศึกษาควรมีการติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และนำผลการประเมิน การนิเทศ มาพัฒนากระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 2. สถานศกึ ษาควรมีการส่งเสริมให้บคุ ลากรทำการวิจยั อย่างน้อย 1 เร่ือง
114 บทท่ี 3 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง และแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของ สถานศึกษาตามาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังน้ี คะแนนจากผลการประเมินคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา ด้านท่ี 1 ดา้ นที่ 2 ด้านที่ 3 รวมคะแนน ระดับ แต่ละประเภท คุณภาพของ คุณภาพการจดั การบริหารการจดั การ ทไ่ี ด้ คุณภาพ ผเู้ รียน การศึกษา ของสถานศึกษา คะแนนเต็ม 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน 100 คะแนน มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 44 17 26.20 87.20 ดีเลิศ ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนื่อง 46 16 26.20 88.20 ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศึกษา 50 17.40 26.20 93.60 ยอดเยี่ยม ตามอธั ยาศัย คะแนนเฉลี่ย จากผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 89.67 ยอดเยีย่ ม หมายเหตุ สำหรับคะแนนทีจ่ ะกรอกในช่อง “คะแนนผลการประเมินคณุ ภาพ ดา้ นท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา” ให้นำคะแนนจากผลการประเมนิ คุณภาพด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา ทีป่ ระเมินไวใ้ นบทที่ 2 ไปใส่ในชอ่ ง “คะแนนผลการประเมินคณุ ภาพ ด้านที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา” ในมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะ ประเภท (ใช้คะแนนเดียวกัน) เน่ืองจากเป็นมาตรฐานทีใ่ ช้ประเด็นการพิจารณาร่วมกันในทุกประเภทการศึกษา ทั้งนี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยจากทุกมาตรฐานที่ได้ในภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑค์ ุณภาพ พบวา่ สถานศกึ ษามีผลการ ประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม มีคะแนนรวมเท่ากับ 89.67 คะแนน และเมื่อพิจารณาผล การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะประเภท สามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ไดด้ ังนี้
115 สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมนิ คุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน อยใู่ นระดบั ดเี ลศิ ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลักฐานที่สนับสนุนผลการประเมินคณุ ภาพ ด้านคุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จากผลการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL การ เรียนรู้แบบโครงงาน และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีหลากหลาย พบว่า ผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีความรู้ ความสามารถ ทักษะตามจุดมุ่งหมายการจัดการเรียนรู้ของหลักสูตร สามารถผ่านกระบวนการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เรียนมีคุณธรรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะท่ีดีตามที่สถานศึกษากำหนด ผเู้ รยี น มีการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืน ผู้เรียนมีความสามารถใน การสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนได้ ผู้เรียนมีสุขภาวะทาง กาย และสุนทรยี ภาพ ผู้เรียนสามารถอ่าน เขียน ได้ตามที่สถานศึกษากำหนด และจากการตดิ ตามผู้เรยี นที่จบ การศึกษาตามหลักสูตร ในแต่ละระดับการศึกษา พบว่า ผู้เรียนที่จบหลักสูตรทุกคนสามารถนำความรู้ไปใช้ หรอื ประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ิต การประกอบอาชพี หรือเพ่ือการศึกษาตอ่ ในระดับท่ีสงู ข้ึน ด้านคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษามีการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา โดยเฉพาะหลักสูตรท้องถ่ิน รายวิชา แหล่งเรียนรู้คู่นครชยั ศรี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 3 หน่วยกิต ข้ึนอย่างเป็นระบบ มีความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ชุมชน ท้องถ่ิน สถานศึกษาดำเนินการพัฒนา จัดหาส่ือการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรและ วธิ ีการเรียนรู้ เช่น หนังสือเรียน ส่ือเสริมความรู้ คู่มือนักศึกษา แนวการสอบ N-NET แนวการสอบในรายวิชา หลัก สื่อเสริมเร่ืองพระมหากษัตริย์ไทย เป็นต้น ซึ่งสอดคลัองกับเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในรายวิชาท่ี ลงทะเบียนในแต่ละภาคเรียน มีการส่งเสริมและพัฒนาครูการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างต่อเน่ืองทำให้ครูมีความรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คล มีการใช้สื่อ และจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ รวมถึงให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน อย่างท่ัวถึง และมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อย่างเปน็ ระบบ
116 ด้านคุณภาพการบริหารจัดการเรียนของสถานศึกษา สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ อัตลกั ษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562 – 2565 และแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี พ.ศ. 2564 ท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการ พนักงานราชการ และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงได้มีการ เสนอ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562 – 2565 และแผนปฏิบัติงานประจำปี พ.ศ. 2564 แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา เพอ่ื พิจารณาและให้ขอ้ เสนอแนะก่อนที่จะนำไปใช้ สถานศกึ ษาสง่ เสริมสนับสนุนให้ บคุ ลากรของสถานศึกษาให้ไดร้ ับการพฒั นาจนมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ แก่กลุ่มเป้าหมาย หรือการปฏิบัติงาน สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ สถานศึกษาทุกกิจกรรมทุกงาน ทำให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ทั้งน้ีในการดำเนินงานต่าง ๆ สถานศึกษาได้ดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ซึ่งในการดำเนินงานเปน็ ไปตามแผนที่กำหนด โดยการมี ส่วนร่วมของภาคี เครือข่าย และจัดให้มีการกำกับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายใน สถานศึกษาอย่างต่อเน่อื งในทุก ๆ งาน และทุกกิจกรรมทสี่ ถานศึกษาได้ดำเนินการ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ประเดน็ ทคี่ วรพฒั นา 1. ส่งเสริม สนับสนนุ ใหค้ รูได้รบั การพฒั นา ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจดั กระบวนการ 1. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผ้เู รยี นการศึกษา เรยี นร้ทู เี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั เพื่อให้สามารถจัด นอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน การเรียนการสอนในรายวชิ าหลกั ได้ 2. ควรจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนด้าน 2. การประเมนิ ผลหลักสูตร วิชาการทีห่ ลากหลาย เพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นใหส้ ูงขนึ้ 3. การพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ นวตั กรรม 1. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหลักสูตรสถาน ศึกษา และรปู แบบการประเมินผลหลกั สูตร อยา่ งต่อเน่อื ง 2. สถานศึกษาควรนำผลการประเมนิ หลกั สูตร มาพัฒนาหลกั สตู รอย่างตอ่ เนือ่ ง มคี ุณภาพ มากยิง่ ขึน้ 1. สถานศึกษาควรมีการพฒั นาสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม และรูปแบบการประเมินผล
117 ประเดน็ ท่คี วรพฒั นา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. การทำวิจัยในช้ันเรยี น อย่างต่อเนอื่ ง 2. สถานศึกษาควรนำผลการประเมินส่ือการเรียนรู้ นวตั กรรม มาพฒั นาสื่อการเรยี บนรู้ นวตั กรรม ทม่ี คี ณุ ภาพ และตรวตอ่ การใชง้ าน 1. ควรสง่ เสริม สนบั สนุนใหค้ รูทกุ คน มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการทำวจิ ัยในชั้นเรียน ความต้องการส่งเสรมิ สนบั สนุนจากหนว่ ยงานต้นสังกดั 1. ควรสง่ เสริมสนบั สนนุ สอ่ื การเรียนรู้ เชน่ สือ่ สำเร็จรูป ส่ือดิจทิ ัล เพื่อให้ครู กศน.นำไปใช้ ในการจดั การเรยี นรใู้ หผ้ ูเ้ รยี นตรงตามรายวิชาแตล่ ะภาคเรียน 2. ควรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ วสั ดุ อุปกรณ์ ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ เพอื่ ให้ครู กศน.มีวัสดุ อปุ กรณ์ ในการทดลองไปใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียน 3. ควรสง่ เสริมสนบั สนุนพัฒนาครู เร่ืองการประเมนิ หลกั สตู ร การพัฒนา ส่ือการเรียนรู้ และ การวจิ ัยในชัน้ เรยี น
118 สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตอ่ เนื่อง ระดบั คณุ ภาพจากผลการประเมินคุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาต่อเน่อื ง อยู่ในระดับ ยอดเย่ยี ม ผลการดำเนนิ งาน รอ่ งรอย และหลักฐานทสี่ นับสนนุ ผลการประเมินคณุ ภาพ ด้านคุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง จากผลการดำเนินการจัดการศึกษาตามหลักสูตร การศึกษาต่อเน่ืองของสถานศึกษา พบว่า ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคุณธรรมเป็นไปตามการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งตามหลักสูตรรายวิชา โดยผ้เู รียนการศึกษาต่อเนื่องที่จบ หลักสูตรนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชีวิต บนพ้ืนฐานค่านิยมร่วมของสังคน และมีผูเ้ รียนท่ีจบ หลกั สูตรสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพฒั นาตนเอง ประกอบอาชีพ หรอื หารายได้เสริมหลงั จากท่ีเรยี นจบ หลกั สูตรไปแลว้ ทำให้ผ้เู รียนมีคุณภาพชีวิตท่ีดขี ึ้น ด้านคุณภาพการจัดการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษามีการจัดหา และพัฒนาหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่องท่ีม่ีความหลากหลาย เป็นไปตามบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และสภาพปัญหา ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งสถานศึกษามีหลักสูตรในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-19) อาทิ หลักสูตรการปลูกพืชสมุนไพรสู้ภัย โควิด การทำหน้ากากอนามัยแบบผ้า การทำเจลล้างมือแอลกอฮอล์ การทำน้ำสมุนไพรต้านโควดิ เป็นต้น และ หลักสูตรการพัฒนาอาชีพ (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ช่ัวโมง) วิชาการสานเส้นพลาสติก การทำพวงมาลัยจาก กระดาษทิชชู่ การทำพรมเช็ดเท้า การทำพวงมะกรูดใบเตย กิจกรรมช้ันเรียนวิชาชีพ (31 ช่ัวโมงข้ึนไป) วิชาการประดิษฐ์กล้วยไม้แคทรียาจากดินไทย การสานเส้นพลาสติก การทำกระเป๋าผ้าด้นมือแบบด้นลาย การทำกระเป๋าผ้าด้นมือสะพานเฉียง ศิลปะการตกแต่งผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมไทย(โอ่งทิชชู่) เป็นต้น ซึ่ง สถานศึกษาสามารถนำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องแตล่ ะหลักสูตรไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยใช้วิทยากรหรือผู้จัดการเรียนรู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถตรงตามหลักสูตร และสามารถจัดการเรียนรู้ให้ เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยึดหลักความ สอดคล้องกับศักยภาพ และความพร้อมของผู้เรียน ความหลากหลายตามความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังบูรณาการหลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจัดให้มีการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องจบ การศกึ ษาตามหลกั สูตรในแตล่ ะหลกั สูตร ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 85 ของจำนวนผเู้ รียน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225