1
2 คำนำ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยโรงเรียนยูงทองพิทยาคม ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง) โดยยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลัก อีกทั้ง คำนึงถึงวิสัยทัศน์การจัดการศึกษาของโรงเรียน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนความต้องการของผู้เรียนและ ชุมชนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ สรรค์สร้างผู้เรียนให้เป็นคนดีมคี วามรู้ ความสามารถ รักและภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย มคี ุณธรรม จริยธรรม สามารถดำรงชวี ติ อยู่ในสงั คมได้อย่าง มีความสุข การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสำเรจ็ ได้ดว้ ยความรว่ มมือร่วมใจและ คำแนะนำจากบคุ คลท่มี ีรายนาม ดงั นี้ 1. นายสมาน ประวันโต ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นยงู ทองพทิ ยาคม 2. นายบรรพต โสดากุล รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นยูงทองพิทยาคม 3. นายกอ้ งตะวนั โสภณิ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นยงู ทองพิทยาคม 4. นายพงษพ์ ันธ์ มาลาออ่ น หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ 5. นางชยานนั ท์ ภหู ้องเพชร หวั หน้างานหลักสูตรสถานศึกษา 6. นางสาวนารี ขุนพรม ครู 7. นางชลธิชา สร้อยธนู ครู 8. นายจิณภพ ศรชี ัย ครผู ู้ช่วย 9. นางสาวพชิ ญาพร ธาตุมี พนกั งานราชการ ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนยูงทองพทิ ยาคมทุกท่าน ทไี่ ดใ้ หค้ ำแนะนำในการจัดทำหลกั สูตร สถานศึกษาโรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคม พุทธศักราช 2560 ครั้งน้ี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
3 สารบัญ หนา้ คำนำ....................................................................................................................... ก สารบญั .................................................................................................................... ข วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์โรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคม.................................................... 1 วิสยั ทศั นห์ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ............................... 2 หลกั การ จุดมุ่งหมาย หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ........... 2 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น .................................................................................................. 3 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์………………………………………………………………………………………… 4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู.้ ..………………………………………………………………………………… 4 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนยงู ทองพิทยาคมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น .............. 6 โครงสรา้ งหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย.................................................................. 10 คณุ ภาพของผู้เรยี น ................................................................................................................ 11 ตวั ชวี้ ดั หลกั สตู รแกนกลาง ..................................................................................................... 13 คำอธบิ ายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ...................................................................... 30 ภาคผนวก ............................................................................................................................ 115
4 คำนำ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยโรงเรียนยูงทองพิทยาคม ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง) โดยยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลัก อีกท้ัง คำนึงถึงวิสัยทัศน์การจัดการศึกษาของโรงเรียน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนความต้องการของผู้เรียนและ ชุมชนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธิภาพ สรรค์สร้างผู้เรียนให้เป็นคนดีมีความรู้ ความสามารถ รักและภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทย มคี ุณธรรม จริยธรรม สามารถดำรงชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อยา่ ง มีความสุข การจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาของกล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยสำเรจ็ ได้ด้วยความรว่ มมือรว่ มใจและ คำแนะนำจากบคุ คลทมี่ รี ายนาม ดังน้ี 10. นายสมาน ประวนั โต ผ้อู ำนวยการโรงเรียนยงู ทองพทิ ยาคม 11. นายบรรพต โสดากุล รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนยงู ทองพทิ ยาคม 12. นายกอ้ งตะวนั โสภิณ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคม 13. นายพงษพ์ นั ธ์ มาลาอ่อน หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ 14. นางชยานันท์ ภหู อ้ งเพชร หวั หนา้ งานหลักสูตรสถานศึกษา 15. นางสาวนารี ขุนพรม ครู 16. นางชลธิชา สรอ้ ยธนู ครู 17. นายจิณภพ ศรีชยั ครผู ู้ช่วย 18. นางสาวพิชญาพร ธาตมุ ี พนักงานราชการ ขอขอบคุณคณะครโู รงเรียนยูงทองพิทยาคมทุกทา่ น ทไี่ ด้ใหค้ ำแนะนำในการจดั ทำหลกั สูตร สถานศึกษาโรงเรียนยงู ทองพิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2560 ครง้ั น้ี กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
5 สารบัญ หนา้ คำนำ....................................................................................................................... ก สารบญั .................................................................................................................... ข วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์โรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคม.................................................... 1 วิสยั ทศั นห์ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ............................... 2 หลกั การ จุดมุ่งหมาย หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ........... 2 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น .................................................................................................. 3 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์………………………………………………………………………………………… 4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู.้ ..………………………………………………………………………………… 4 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนยงู ทองพิทยาคมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น .............. 6 โครงสรา้ งหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย.................................................................. 10 คณุ ภาพของผู้เรยี น ................................................................................................................ 11 ตวั ชวี้ ดั หลกั สตู รแกนกลาง ..................................................................................................... 13 คำอธบิ ายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ...................................................................... 30 ภาคผนวก ............................................................................................................................ 115
6 วสิ ัยทัศน์ “ภายในปี 2561 เป็นสถานศกึ ษาคุณภาพ บนวิถีความเปน็ ไทย กา้ วไกลสู่สากล” ภายใต้แนวคิดใน การพฒั นาในกรอบระยะเวลา 4 ปี ดังน้ี “เปน็ สถานศึกษาท่ีประสบผลสำเร็จอย่างต่อเนอ่ื ง มผี ลงานโดดเด่นเปน็ ทยี่ อมรบั มีความสามารถใน การสรา้ งมาตรฐานการทำงานท่เี ปน็ เลศิ บนพืน้ ฐานขององค์กรแห่งการเรยี นรู้พร้อมกา้ วสูป่ ระชาคมอาเซียน และประชาคมโลก บนพื้นฐานของความเป็นไทยท่งี ดงาม พนั ธกิจ 1. พฒั นารูปแบบการบรหิ ารด้วยระบบคณุ ภาพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 พฒั นาผ้เู รียนใหม้ รี ะเบยี บวินยั ใฝเ่ รียนรู้ เชดิ ชูคุณธรรม มีความเปน็ จิตอาสา 3. พฒั นาผเู้ รยี นเต็มศักยภาพตามมาตรฐานสากล ใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจิตสำนกึ 4. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพ 5. ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี 6. ส่งเสริมความเป็นไทย การอนุรักษท์ รพั ยากร สง่ิ แวดลอ้ มและสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 7. สง่ เสรมิ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข เป้าหมาย ผู้เรียนทุกคนไดร้ ับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพทั้งด้านคณุ ธรรม วิชาการตามมาตรฐานสากล มีความ เปน็ ไทย มีจิตสำนึกในการอนุรกั ษท์ รพั ยากร ส่ิงแวดลอ้ ม สามารถอยใู่ นสงั คมอย่างมคี วามสุขภายใตก้ าร ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ดังนี้
7 1. นักเรียนในเขตพนื้ ทีบ่ รกิ ารไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอย่างทัว่ ถงึ มีคณุ ภาพและเสมอภาค 2. นกั เรยี นได้รับการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาสูค่ วามเป็นเลิศ 3. นักเรยี นไดร้ บั การพฒั นาด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สตู รและมคี ่านิยม 12 ประการ 4. บคุ ลากรในสถานศกึ ษามีทักษะท่เี หมาะสม มีวฒั นธรรมการทำงานทม่ี ุง่ เนน้ ผลสมั ฤทธิ์ 5. สถานศกึ ษามีประสทิ ธิภาพเปน็ กลไกทีข่ ับเคล่ือนการศกึ ษาสสู่ ากล 6. สถานศกึ ษาบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ คุณภาพการศึกษา อัตลกั ษณ์ จรรยาดี วิถพี อเพียง เอกลกั ษณ์ บรรยากาศดี กีฬาเดน่ เน้นเทคโนโลยี มีคุณธรรม นำความรู้ วิสยั ทัศน์หลกั สูตรแกนกลาง 2551 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐานมงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นทกุ คนใหเ้ ป็นมนษุ ยท์ ีม่ คี วามสมดลุ ทง้ั ด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมขุ มคี วามร้แู ละทกั ษะพนื้ ฐาน รวมท้งั เจตคตทิ จ่ี ำเป็นตอ่ การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั บนพน้ื ฐานความเช่ือท่วี า่ ทุกคนสามารถ เรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
8 วสิ ัยทัศน์หลกั สูตรแกนกลาง 2551 - พฒั นาผเู้ รียน - สมดุลด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม - จติ สำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลเมืองโลก - ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มคี วามร+ู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน+ เจตคติ พรอ้ มสำหรับ การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี การศึกษาตลอดชวี ิต
9 หลักการ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มีหลกั การท่ีสำคัญ ดงั น้ี 1. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติมจี ุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ เปา้ หมายสำหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมพ้ืนฐานของความเป็นไทย ควบคกู่ บั ความเป็นสากล 2. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาเพือ่ ปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค และมี คุณภาพ 3. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมสี ว่ นร่วม ในการจัดการ ศกึ ษาให้ สอดคล้องกบั ความต้องการของท้องถิน่ 4. เป็นหลักสูตรที่มโี ครงสร้างยดื หยนุ่ ทัง้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจดั การเรียนรู้ 5. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั 6. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาสำหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ครอบคลุมทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มศี ักยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเปน็ จุดหมายเพือ่ ใหเ้ กิดกบั ผูเ้ รยี น เมอ่ื จบการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ดังนี้ 1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวนิ ัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ
10 3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกำลังกาย 4. มคี วามรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวติ และ การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ 5. มจี ติ สำนึกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ กั ษ์และพฒั นาสง่ิ แวดล้อม มีจิตสาธารณะ ที่มุ่งทำประโยชนแ์ ละสร้างสงิ่ ท่ดี ีงามในสังคม และอยูร่ ่วมกนั ในสงั คม และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม อย่างมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขันพ้นื ฐานม่งุ พฒั นาผู้เรียนให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซึ่งการ พฒั นาผู้เรยี นใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรยี นรทู้ ี่กำหนดนั้น จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเอง เพื่อแลก เปลีย่ นขอ้ มลู ข่าวสาร และประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจัดและลด ปญั หาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมลู ขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจน เลอื กใชว้ ธิ ีการสื่อสารท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคดิ อย่าง สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบเพ่ือนำไปสูก่ ารสร้างองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศ เพ่อื การตดั สินใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่างๆ ทีเ่ ผชิญได้ อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมนบพืน้ ฐานของหลักสตู รคุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการ เปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการปอ้ งกันและแก้ไข ปญั หา และมกี ารตัดสนิ ใจที่มปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงผลกระทบทเี่ กิดขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม
11 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการ ดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง การทำงานและการอยู่รว่ มกนั ในสังคม ดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจัดปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ นั กับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลีกเลยี่ งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผ้อู นื่ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรยี นรู้ การสือ่ สารการ ทำงาน การแก้ ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อื่นในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ 3. มวี นิ ยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย
12 8. มีจติ สาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการ ดำเนินชวี ิตและมีนิสยั รกั การอ่าน สาระที่ 2 การเขยี น
13 มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราว ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลข่าวสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ มปี ระสทิ ธิภาพ สารที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด ความร้สู กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ สารที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่าและนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ
14 โครงสร้างเวลาเรียนของหลกั สตู รโรงเรียนยูงทองพิทยาคม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น /กิจกรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม. 4 - 6 ม. 4 - 6 ม. 4 - 6 • กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทย์ - คณติ ศิลป-์ ภาษา การงานฯ ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) คณติ ศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) วทิ ยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.) 320 (8 นก.) 320 (8 นก.) - ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) - ศาสนาศลี ธรรมและจรยิ ธรรม - ภมู ิศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) - เศรษฐศาสตร์ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ศลิ ปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) 880 880 880 1,640 1,640 1,640 (22 นก.) (22นก.) (22นก.) (41นก.) (41นก.) (41นก.)
15 • รายวิชาเพ่มิ เติม 200 200 200 2,140 2,040 2,080 (5 นก.) (5 นก.) (5 นก.) (53.5นก.) (51นก.) (52นก.) • กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ชัว่ โมง ชว่ั โมง ชัว่ โมง ชวั่ โมง ช่ัวโมง ชวั่ โมง -กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 120 120 120 - กจิ กรรมนกั เรียน 40 40 40 - ลกู เสอื ยุวกาชาดฯ 20 20 20 120 120 120 - ชุมนมุ 20 20 20 80 80 80 - จิตสาธารณะ - กจิ กรรมเพื่อสังคมและ 40 40 40 สาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 120 120 120 360 360 360 รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 1,200 ชวั่ โมง 1,200ชวั่ โมง 1,240ชั่วโมง 4,380ช่วั โมง 4,040ชัว่ โมง 4,080 ชว่ั โมง หมายเหตุ กิจกรรมจิตสาธารณะ ช้นั ม.1-3 ใช้เวลาเรียนตามปกติที่โรงเรยี นกำหนด กจิ กรรมจติ สาธารณะ ช้นั ม.4-6 ใช้เวลาในวนั หยุดบรหิ ารจดั การ โดยให้ครทู ี่ปรึกษามีสว่ นร่วม แผนการเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
16 โรงเรยี นยงู ทองพิทยาคม อำเภอนายงู จงั หวัดอุดรธานี จำนวนช่ัวโมง / สัปดาห์ รายวิชา ชั้น ม.1 ชั้น ม.2 ชนั้ ม.3 สาระพ้ืนฐาน ภาคเรียน ภาคเรยี น ภาคเรียน ภาคเรียน ภาคเรยี น ภาคเรียน 1. ภาษาไทย ท่ี 1 ที่ 2 ท่ี 1 ที่ 2 ที่ 1 ที่ 2 2. คณติ ศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตร์ (440) (440) (440) (440) (440) (440) 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 5. ประวัติศาสตร์ 60 60 60 60 60 60 6. สุขศึกษา 7. พลศกึ ษา 60 60 60 60 60 60 8. ศลิ ปะ 9. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 60 60 60 60 60 60 10. ภาษาอังกฤษ 60 60 60 60 60 60 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 60 60 60 60 60 60 สาระเพ่ิมเตมิ (100) (100) (100) (100) (100) (100) เลอื กเสรกี ลุม่ 1 40 40 40 40 40 40
เลือกเสรกี ลุ่ม 2 60 60 60 60 17 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน (60) (60) (60) (60) 20 20 20 20 60 60 กจิ กรรมแนะแนว 10 10 10 10 (100) (60) กิจกรรมชมุ นุม 10 10 10 10 20 20 กจิ กรรมจิตสาธารณะ 20 20 20 20 10 10 กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด 10 10 ผบู้ ำเพ็ญฯ -- -- 20 20 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์(IS3) 600 600 600 600 40 - รวมเวลาเรยี น / ภาคเรยี น 1,200 1,200 600 600 รวมเวลาเรียนท้งั หมด / ปี 1,200 แผนการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนยูงทองพิทยาคม อำเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี แผนการเรยี นที่ 1 วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ รายวชิ า จำนวนชว่ั โมง / สปั ดาห์ ช้ัน ม.5 ชัน้ ม.4 ชั้น ม.6
18 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนท่ี2 ภาคเรยี นท่ี1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 สาระพื้นฐาน (400) (240) (240) (240) (220) (300) 1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 3. วิทยาศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 -ฟิสิกส์ -เคมี 160 - - - - - -ชีววิทยา -โลกและดาราศาสตร์ - - - - - 80 4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. ประวตั ศิ าสตร์ - 60 - - - - - 6.สขุ ศกึ ษา 7. ศิลปะ - 60 - - - - - 8. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 9. ภาษาองั กฤษ - 40 - - - - - สาระเพม่ิ เตมิ 40 40 40 40 40 40 1.ฟสิ ิกส์ 2.เคมี 20 20 20 20 - - 3.ชวี วทิ ยา 4.คณิตศาสตร์ 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 40 40 40 40 40 40 (240) (400) (420) (400) (380) (300) 80 80 80 80 80 - - 60 60 60 60 60 - 60 60 60 60 60 60 60 60 60 60 60
19 5.ภาษาอังกฤษ 40 40 40 40 40 40 6.อาเซยี นศึกษา - - 20 20 - - 8.พลศึกษา 20 20 20 20 20 20 9.คอมพวิ เตอร์ 40 40 40 40 40 40 10.หนา้ ท่ีพลเมือง - - 20 - 20 20 11.โครงงานวทิ ยาศาสตร์ - - - - - 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (60) (60) (60) (40) (60) (60) กจิ กรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20 กิจกรรมชมุ นมุ 20 20 20 20 20 20 กจิ กรรมจิตสาธารณะ 20 20 - - 20 20 กจิ กรรมสาธารณประโยชน์ - - 20 20 - - รวมเวลาเรยี น / ภาคเรยี น 700 700 700 700 660 660 รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด / ปี 1,400 1,400 1,320 หมายเหตุ กิจกรรมจิตสาธารณะ ช้นั ม.4-6 ใชเ้ วลาในวนั หยดุ บริหารจดั การ โดยใหค้ รูที่ปรึกษามีส่วนร่วม แผนการเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนยูงทองพทิ ยาคม อำเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี แผนการเรยี นที่ 2 ศิลป์-ภาษา จำนวนช่วั โมง / สปั ดาห์ รายวชิ า ช้นั ม.4 ชั้น ม.5 ช้ัน ม.6 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 สาระพ้ืนฐาน (280) (300) (320) (300) (220) (220)
20 1.ภาษาไทย 40 40 40 40 40 40 2.คณิตศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 3.วทิ ยาศาสตร์ 40 60 80 60 - - 4.สงั คมศึกษา ศาสนาและ 40 40 40 40 40 40 วัฒนธรรม 5.ประวัตศิ าสตร์ 20 20 20 20 - - 6.สขุ ศึกษา 20 20 20 20 20 20 7.ศิลปะ 20 20 20 20 20 20 7.การงานอาชพี และเทคโนโลยี 20 20 20 20 20 20 8.ภาษาองั กฤษ 40 40 40 40 40 40 สาระเพม่ิ เติม (340) (340) (340) (340) (360) (320) 1.IS 40 40 - - - - 2.ภาษาไทย 40 40 40 40 40 40 3.สังคมศึกษา 40 40 40 40 40 40 4.พลศกึ ษา 20 20 20 20 20 20 5.ศิลปะ 40 40 40 40 40 40 6.การงาน 40 - - 40 - 80 7.คอมพวิ เตอร์ - 40 40 - 40 - 8.ภาษาองั กฤษเพิม่ เติม 1 40 40 40 40 40 40 9.ภาษาอังกฤษเพ่มิ เติม 2 40 40 40 40 40 40
21 10.อาเซียนศกึ ษา - - 20 20 - - 11.ภาษาจีน 40 40 40 40 40 40 12.หน้าทพี่ ลเมอื ง - - 20 20 20 20 13.โครงงานวิทยาศาสตร์ - - - - 40 - กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (60) (60) (80) (40) (60) (60) กจิ กรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20 กิจกรรมชมุ นุม 20 20 20 20 20 20 กิจกรรมจติ สาธารณะ 20 20 - - 20 20 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ - - 40 - - - สาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น / ภาคเรียน 680 700 700 700 640 640 รวมเวลาเรียนทั้งหมด / ปี 1,380 1,400 1,280 หมายเหตุ กจิ กรรมจติ สาธารณะ ช้นั ม.4-6 ใช้เวลาในวันหยุดบริหารจดั การ โดยให้ครทู ีป่ รกึ ษามสี ว่ นรว่ ม โครงสร้างหลกั สูตร กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชัน้ รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า จำนวนช่ัวโมง จำนวนชว่ั โมง จำนวน ม. 1 ท21101 ต่อสปั ดาห์ ตอ่ ภาคเรยี น หน่วยกิต พืน้ ฐาน ภาษาไทย 3 60 1.5
ท21102 ภาษาไทย 3 22 3 60 1.5 ม. 2 ท22101 ภาษาไทย 3 60 1.5 3 60 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 60 1.5 60 1.5 ม. 3 ท23101 ภาษาไทย 1 1 20 0.5 ท23102 ภาษาไทย 20 0.5 2 เพ่มิ เตมิ 2 40 1 2 40 1 ม. 2 I 22201 การศึกษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้ 1 2 40 1 2 40 1 I 22202 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ 2 2 40 1 40 1 พื้นฐาน 2 2 40 1 ม. 4 ท31101 ภาษาไทย 40 1 ท31102 ภาษาไทย ม. 5 ท32101 ภาษาไทย ท32102 ภาษาไทย ม. 6 ท33101 ภาษาไทย ท33102 ภาษาไทย เพ่มิ เติม ม. 4-6 ท30201 วรรณกรรมทอ้ งถิ่น ท30202 วรรณกรรมปัจจบุ ัน
I 31201 การศกึ ษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ 2 23 2 40 1 I 31202 การสื่อสารและการนำเสนอ 2 40 1 2 40 1 ท30203 การเขยี น 1 2 40 1 2 40 1 ท30204 การเขียน 2 40 1 ท30205 ภาษาไทยเพื่อพฒั นาการคดิ ท30206 การพูด คุณภาพผ้เู รยี น จบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 • อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถกู ตอ้ ง เขา้ ใจความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั จบั ใจความสำคญั และรายละเอียดของสิง่ ท่ีอา่ น แสดงความคิดเหน็ และข้อโตแ้ ยง้ เก่ยี วกบั เร่ืองทีอ่ า่ น และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคดิ ย่อความ เขียนรายงานจาก สิ่งท่อี ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมเี หตุผล ลำดบั ความอย่างมขี ้นั ตอนและความเป็นไปได้ของเรื่องทีอ่ ่าน รวมทงั้ ประเมนิ ความถูกต้องของข้อมูลทใี่ ช้สนบั สนุนจากเร่อื งทอี่ ่าน • เขียนสื่อสารดว้ ยลายมือท่ีอา่ นงา่ ยชัดเจน ใชถ้ ้อยคำได้ถูกตอ้ งเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำ ขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาสตา่ งๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์ ตา่ งๆ เขยี นยอ่ ความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิด หรือโต้แย้งอย่างมเี หตผุ ล ตลอดจนเขียนรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าและเขียนโครงงาน • พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสง่ิ ท่ีไดจ้ ากการฟังและดู นำขอ้ คิดไปประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวนั พดู รายงานเร่อื งหรือประเด็นทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งเป็นระบบ มศี ิลปะในการพดู พูดใน
24 โอกาสต่างๆ ไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ และพดู โน้มนา้ วอยา่ งมีเหตุผลนา่ เชือ่ ถือ รวมทัง้ มมี ารยาทในการฟัง ดู และ พูด • เข้าใจและใช้คำราชาศัพท์ คำบาลสี นั สกฤต คำภาษาตา่ งประเทศอ่ืนๆ คำทบั ศัพท์ และศพั ท์ บัญญัตใิ นภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกตา่ งในภาษาพดู ภาษาเขยี น โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เปน็ ทางการ กงึ่ ทางการและไม่เป็นทางการ และแตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และ โคลงส่สี ุภาพ • สรุปเนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น วิเคราะหต์ วั ละครสำคญั วิถีชีวิตไทย และคุณค่าท่ไี ด้รบั จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอ้ มทัง้ สรุปความรู้ขอ้ คิดเพื่อนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง จบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 • อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกตอ้ งและเขา้ ใจ ตคี วาม แปล ความ และขยายความเรือ่ งทีอ่ า่ นได้ วเิ คราะหว์ ิจารณ์เร่ืองทอี่ ่าน แสดงความคดิ เหน็ โตแ้ ยง้ และเสนอ
25 ความคิดใหม่จากการอา่ นอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งทอ่ี ่าน เขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บันทึก ยอ่ ความ และเขียนรายงานจากสงิ่ ท่ีอ่าน สังเคราะห์ ประเมนิ ค่า และนำความรู้ความคิดจากการอ่าน มาพัฒนาตน พัฒนาการเรยี น และพฒั นาความรู้ทางอาชพี และ นำความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้แกป้ ญั หา ในการดำเนนิ ชวี ิต มีมารยาทและมนี สิ ยั รักการอ่าน • เขยี นสื่อสารในรปู แบบต่างๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากส่ือทม่ี ี รปู แบบและเนอ้ื หาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคดิ เชงิ สร้างสรรค์โดยใชโ้ วหารต่างๆ เขยี นบันทกึ รายงานการศกึ ษาค้นควา้ ตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการอา้ งอิง ผลติ ผลงานของ ตนเองในรปู แบบตา่ งๆ ทงั้ สารคดีและบนั เทิงคดี รวมทัง้ ประเมินงานเขยี นของผอู้ นื่ และนำมาพัฒนางาน เขียนของตนเอง • ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรื่องท่ฟี ังและดู มวี จิ ารณญาณในการเลอื กเร่ืองทฟ่ี ังและ ดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิด การใชภ้ าษา ความน่าเชอ่ื ถอื ของเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู ประเมนิ สง่ิ ทฟ่ี งั และดู แลว้ นำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินชีวติ มีทกั ษะการพดู ในโอกาสตา่ งๆ ท้งั ทเี่ ปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการโดย ใชภ้ าษาทถี่ ูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหมอ่ ย่างมีเหตุผล รวมทงั้ มี มารยาทในการฟงั ดู และพดู • เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษา อทิ ธิพลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใช้คำและกลมุ่ คำสรา้ ง ประโยคได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ แตง่ คำประพนั ธป์ ระเภท กาพย์ โคลง รา่ ยและฉนั ท์ ใชภ้ าษาได้เหมาะสม กบั กาลเทศะและใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพได้อยา่ งถูกตอ้ ง วเิ คราะห์หลกั การ สรา้ งคำในภาษาไทย อทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยและภาษาถิน่ วิเคราะหแ์ ละประเมินการใชภ้ าษาจากส่ือสง่ิ พิมพแ์ ละ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ • วเิ คราะห์วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์วรรณคดเี บื้องตน้ รู้และเข้าใจ ลักษณะเดน่ ของวรรณคดี ภูมิปญั ญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้นื บา้ น เชอ่ื มโยงกบั การเรยี นรทู้ าง ประวัตศิ าสตรแ์ ละวถิ ไี ทย ประเมินคณุ ค่าด้านวรรณศิลป์ และนำขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไป ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
26 ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพือ่ นำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการ ดำเนินชวี ติ และมีนิสัยรกั การอ่าน ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และ การอา่ นออกเสยี ง ประกอบด้วย บทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ต้องเหมาะสมกับเร่ืองที่ - บทร้อยแกว้ ที่เปน็ บทบรรยาย อ่าน - บทรอ้ ยกรอง เชน่ กลอนสุภาพ กลอน สกั วา กาพยย์ านี 11 กาพย์ฉบัง 16 กาพย์ สุรางคนางค์ 28 และโคลงสสี่ ภาพ 2. จบั ใจความสำคัญจากเร่อื งท่ีอา่ น การอ่านจับใจความสำคัญตา่ ง ๆ เชน่ 3. ระบุเหตผุ ล และข้อเทจ็ จริง - เรื่องเลา่ จากประสบการณ์ กบั ขอ้ คดิ เหน็ จากเรื่องทอ่ี ่าน - เรื่องสน้ั 4. ระบุและอธิบายคำเปรยี บเทียบ และคำ - บทสนทนา ทม่ี หี ลายความหมายในบริบทตา่ ง ๆ จาก - นิทานชาดก การอ่าน - วรรณคดีในบทเรยี น - งานเขยี นเชิงสร้างสรรค์ 5. ตีความคำยากในเอกสารวิชาการ
27 โดยพจิ ารณาจากบริบท - บทความ 6. ระบุข้อสงั เกตและความสมเหตุสมผล - สารคดี ของงานเขียนประเภทชกั จงู โน้มน้าวใจ - บันเทิงคดี - เอกสารทางวิชาการทมี่ คี ำ ประโยคและ ข้อความทตี่ ้องใชบ้ ริบทช่วยพิจารณา ความหมาย - งานเขยี นประเภทชกั จูงโน้มนา้ วใจ เชิงสรา้ งสรรค์ 7. ปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื แนะนำวธิ กี ารใช้งานของ การอ่านและปฏบิ ัตติ ามเอกสารคู่มือ เคร่อื งมอื หรือเครือ่ งใชใ้ นระดับ ทย่ี ากขน้ึ ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
28 8. วิเคราะห์คุณค่าทไ่ี ด้รับจากการอ่านงาน การอ่านหนงั สอื ตามความสนใจ เช่น เขียนอย่างหลากหลาย เพือ่ นำไปใช้ - หนงั สือทีน่ กั เรียนสนใจและเหมาะสม แกป้ ญั หาในชีวติ กบั วยั - หนงั สืออา่ นทค่ี รแู ละนักเรียนกำหนด ร่วมกนั 9. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น ม. 2 1.อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ย การอา่ นออกเสียง ประกอบดว้ ย กรองได้ถกู ต้อง - บทร้อยแก้วทีเ่ ป็นบทบรรยายและบท พรรณนา - บทรอ้ ยกรอง เชน่ กลอนบทละคร กลอน นิทาน กลอนเพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง 2. จับใจความสำคัญสรุปความและอธิบาย การอ่านจบั ใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น รายละเอียดจากเร่อื งทอ่ี ่าน - วรรณคดใี นบทเรียน - บทความ 3. เขยี นผังความคิด เพอ่ื แสดงความเข้าใจ - บันทึกเหตกุ ารณ์ ในบทเรียนต่าง ๆ ทอ่ี า่ น - บทสนทนา 4. อภปิ รายแสดงความคิดเห็นและขอ้ โตแ้ ยง้ เกย่ี วกับเรอ่ื งทอ่ี ่าน 5. วเิ คราะห์และจำแนกขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ มูล - บทโฆษณา สนับสนนุ และข้อคิดเห็นจากบทความท่ีอา่ น - งานเขียนประเภทโน้มนา้ วใจ 6. ระบุข้อสังเกต การชวนเช่ือ การโนม้ น้าว - งานเขียนหรือบทความแสดงขอ้ เท็จจรงิ หรือความสมเหตุสมผลของงานเขยี น
29 - เร่อื งราวจากบทเรียนในกลมุ่ สาระการ เรียนรู้ภาษาไทย และกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่นื 7. อ่านหนังสอื บทความหรอื คำประพันธ์ การอา่ นตามความสนใจ เช่น อย่างหลากหลาย และประเมินคุณค่าหรือ - หนงั สืออ่านนอกเวลา แนวคดิ ที่ได้จากการอา่ น เพ่ือนำไปใช้ - หนงั สือทน่ี กั เรียนสนใจและเหมาะสม แกป้ ญั หาในชีวติ กบั วยั - หนังสอื อ่านท่คี รแู ละนักเรยี นกำหนด รว่ มกัน 8. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 3 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ย การอ่านออกเสยี ง ประกอบด้วย กรองได้ถูกตอ้ งและเหมาระสมกับเร่อื งท่ี อ่าน - บทรอ้ ยแกว้ ทีเ่ ป็นบทความทั่วไปและ บทความปกิณกะ
30 - บทรอ้ ยกรอง เชน่ กลอนบทละคร กลอน สกั วา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบงั ๑๖ และ โคลงสสี่ ุภาพ 2. ระบคุ วามแตกต่างของคำมีม่ ีความหมาย การอา่ นจบั ใจความจากสือ่ ต่าง ๆ เช่น โดยตรง และความหมายโดยนยั - วรรณคดใี นบทเรยี น 3. ระบุใจความสำคัญและรายละเอยี ดของ - ขา่ วและเหตกุ ารณส์ ำคัญ ขอ้ มูลท่ีสนับสนุนจากเรอ่ื งที่อา่ น - บทความ - บนั เทงิ คดี 4. อ่านเร่ืองตา่ ง ๆ แล้วเขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บนั ทกึ ยอ่ ความและรายงาน 5. วิเคราะห์ วจิ ารณ์และประเมินเรอื่ งที่ - สารคดี อา่ นโดยใช้กลวิธีการเปรยี บเทียบเพื่อให้ - สารคดีเชิงประวัติ ผอู้ ่านเขา้ ใจไดด้ ีขน้ึ - ตำนาน - งานเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ 6. ประเมนิ ความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ท่ีใช้ - เร่ืองราวจากบทเรียนในกลมุ่ สาระ สนับสนุนในเรื่องที่อา่ น การเรียนรู้อ่นื 7. วิจารณค์ วามสมเหตุสมผล การลำดับ ความและความเปน็ ไปไดข้ องเร่ือง 8. วิเคราะหเ์ พอ่ื แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้ง เกย่ี วกับเรอ่ื งทีอ่ ่าน 9. ตีความและประเมนิ คุณค่าแนวคิดทไ่ี ด้ การอ่านตามความสนใจ เชน่ จากงานเขียน อยา่ งหลากหลายเพอื่ - หนงั สอื อ่านนอกเวลา นำไปใชแ้ ก้ปญั หาในชวี ิต
10. มีมารยาทในการอ่าน 31 - หนังสอื อา่ นตามความสนใจและตามวัยของ นกั เรียน - หนงั สืออ่านท่ีครแู ละนักเรยี นรว่ มกัน กำหนด มารยาทในการอา่ น ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.4-6 1. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ย การอา่ นออกเสยี ง ประกอบด้วย กรองไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ไพเราะและ - บทรอ้ ยแกว้ ประเภทต่าง ๆ เช่น บทความ เหมาะสมกบั เรื่องทอ่ี ่าน นวนยิ าย และความเรียง - บทรอ้ ยกรอง เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย และลลิ ิต 2. ตีความ แปลความ และขยายความ การอา่ นจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น เรือ่ งที่อา่ น
32 3. วเิ คราะห์และวจิ ารณ์เรือ่ งท่อี ่านในทุก - ขา่ วสารจากสื่อสง่ิ พิมพ์ สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๆ ด้านอย่างมีเหตผุ ล และแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ ในชมุ ชน 4. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่อื งทอ่ี ่านและ - บทความ ประเมนิ ค่าเพ่ือนำความร้คู วามคดิ ไปใช้ - นทิ าน ตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชวี ิต - เรอ่ื งสนั้ - นวนยิ าย 5. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคดิ เห็น - วรรณกรรมพ้ืนบ้าน โตแ้ ย้งเกย่ี วกบั เร่ืองทีอ่ ่าน และเสนอ - วรรณคดใี นบทเรยี น ความคิดใหมอ่ ย่างมีเหตุผล - บทโฆษณา - สารคดี 6. ตอบคำถามจากการอา่ นงานเขยี น - บันเทงิ คดี ประเภทตา่ ง ๆ ภายในเวลาท่กี ำหนด - ปาฐกถา - พระบรมราโชวาท 7. อา่ นเรือ่ งตา่ ง ๆ และเขียนกรอบแนวคิด - เทศนา ผงั ความคิด บนั ทกึ ย่อความ และรายงาน 8. สงั เคราะห์ความร้จู ากการอ่าน สือ่ สงิ่ พมิ พ์ สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ และแหล่ง เรียนรู้ต่าง ๆ มาพฒั นาตน พัฒนาการ เขียน และพฒั นาความรู้ ทางอาชพี - คำบรรยาย - คำสอน - บทรอ้ ยกรองร่วมสมยั - บทเพลง - บทอาเศยี รวาท
33 9. มมี ารยาทในการอ่าน - คำขวัญ มารยาทในการอ่าน สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นสอื่ สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวในรูปแบบ ต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม. 1 1. คัดบายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด การคดั ลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทัดตาม รปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย 2. เขียนส่อื สารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง การเขียนสอื่ สาร เชน่ ชัดเจนเหมาะสมและสละสลวย - การเขียนแนะนำตนเอง - การเขยี นแนะนำสถานทีส่ ำคญั ๆ - การเขยี นบนสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์
34 3. เขยี นบรรยาย ประสบการณโ์ ดยระบุ การบรรยายประสบการณ์ สาระสำคัญ และรายละเอียดสนบั สนนุ 4. เขียนเรยี งความ การเขียนเรยี งความเชงิ พรรณนา 5. เขียนยอ่ ความจากเรือ่ งท่ีอา่ น การเขยี นยอ่ ความจากสือ่ ต่าง ๆ เชน่ เร่อื งสน้ั คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทร พจน์ รายงาน ระเบยี บ คำส่งั บทสนทนา เรอื่ งเล่า ประสบการณ์ 6. เขยี นแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั สาระ การเขียนแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสาระ จากส่อื ทไี่ ดร้ บั จากส่ือต่าง ๆ เช่น - บทความ - หนังสอื อา่ นนอกเวลา - ขา่ วและเหตุการณป์ ระจำวัน - เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ 7. เขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมาย การเขียนจดหมายสว่ นตัว ธรุ กจิ - จดหมายขอความช่วยเหลอื - จดหมายแนะนำ การเขียนจดหมายกจิ ธุระ - จดหมายสอบถามข้อมลู
35 ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 8. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ การเขยี นรายงาน ได้แก่ และโครงงาน - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ 9. มีมารยาทในการเขียน - การเขียนรายงานโครงงาน ม. 2 1. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทัด มารยาทในการเขียน การคดั ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ตาม 2. เขยี นบรรยายและพรรณนา รปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย 3. เขียนเรยี งความ การเขียนบรรยายและพรรณนา 4. เขียนย่อความ การเขียนเรยี งความเกย่ี วกับประสบการณ์ การเขียนยอ่ ความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ นิทาน คำสอน บทความทางวชิ าการ บันทกึ เหตกุ ารณ์ เรื่องราวในบทเรียนในกลุ่มสาระการ เรียนร้อู ่นื นิทานชาดก
5. เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้า 36 6. เขียนจดหมายกิจธุระ การเขยี นรายงาน 7. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความรู้ ความคดิ เห็นหรอื โต้แย้ง - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ ในเรอ่ื งที่อา่ นอยา่ งมีเหตุผล - การเขียนรายงานโครงงาน การเขยี นจดหมายกิจธุระ 8. มมี ารยาทในการเขยี น - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนเุ คราะห์ การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดง ความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ จากสื่อต่าง ๆ เช่น - บทความ - บทเพลง - หนงั สอื อ่านนอกเวลา - สารคดี - บนั เทงิ คดี มารยาทในการเขยี น
37 ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม. 3 1. คดั ลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั การคดั ลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ บรรทัดตาม รปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย 2. เขยี นข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้อง การเขยี นขอ้ ความตามสถานการณ์และ ตามระดับภาษา โอกาสต่าง ๆ เชน่ - คำอวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ - คำขวญั - คำคม - โฆษณา - คตพิ จน์ - สุนทรพจน์ 3. เขยี นชีวประวตั ิหรอื อตั ชีวประวตั ิ โดย การเขยี นอตั ชวี ประวัตหิ รือชวี ประวัติ เลา่ เหตุการณ์ ข้อคิดเหน็ และทัศนคตใิ น เรื่องต่าง ๆ 4. เขยี นยอ่ ความ การเขียนยอ่ ความจากสื่อตา่ ง ๆ เชน่
38 นทิ าน ประวตั ิ ตำนาน สารคดีทางวชิ าการ พระราชดำรสั พระบรมราโชวาท จดหมาย ราชการ 5. เขยี นจดหมายกิจธุระ การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ - จดหมายเชิญวทิ ยากร -จดหมายของความอนเุ คราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคุณ 6. เขียนอธิบาย ช้แี จ้ง แสดงความคดิ เห็น การเขยี นอธิบาย ชี้แจ้ง แสดงความคดิ เหน็ และโตแ้ ย้ง อยา่ งมเี หตผุ ล และโตแ้ ย้งในเรือ่ งตา่ ง ๆ 7. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความรู้ ความคดิ เห็น หรอื โต้แย้งในเรอ่ื ง ความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโตแ้ ยง้ จากส่ือต่าง ตา่ ง ๆ เชน่ - บทโฆษณา - บทความทางวชิ าการ
39 ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม. 3 8. กรอกแบบสมคั รงานพร้องเขยี น การกรอกแบบสมัครงาน บรรยายเกีย่ วกับความรูแ้ ละทักษะของ ตนเองทีเ่ หมาะสมกบั งาน 9. เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ และ การเขยี นรายงาน ไดแ้ ก่ โครงงาน - การเขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ คว้า - การเขียนรายงานโครงงาน 10. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น ม. 4-6 1. เขียนสอ่ื สารในรูปแบบต่าง ๆ ไดต้ รง การเขยี นส่อื สารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรยี ง - อธบิ าย ถูกตอ้ งมขี อ้ มูลและสาระสำคัญชดั เจน - บรรยาย - พรรณนา - แสดงทรรศนะ - โต้แยง้ - โน้มน้าว - เชญิ ชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธรุ ะ - โครงการและรายงานการดำเนินโครงการ
40 2. เขยี นเรยี งความ - รายงานการประชุม - การกรอกแบบรายงานตา่ ง ๆ การเขยี นเรียงความ 3. เขียนย่อความจากส่ือท่ีมีรปู แบบและ การเขียนย่อความจากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ เนื้อหาหลากหลาย - กวนี ิพนธ์ และวรรณคดี - เรอื่ งสัน้ สารคดี นวนิยาย บทความทาง วิชาการ และวรรณกรรมพ้นื บา้ น 4. ผลติ งานเขียนของตนเองในรปู แบบ การเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ตา่ ง ๆ - สารคดี - บันเทงิ คดี ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม. 4-6 5. ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้วนำมา การประเมนิ คณุ ค่างานเขียนในดา้ นตา่ ง ๆ พฒั นางานเขยี นของตนเอง เชน่
41 - แนวคิดของผู้เขียน - การใช้ถ้อยคำ - การเรยี บเรียง - สำนวนโวหาร - กลวิธใี นการเขยี น 6. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าเรอ่ื งที่ การเขียนรายงานเชงิ วิชาการ สนใจตามหลักการเขียนเชิงวชิ าการ และ การเขยี นอ้างองิ ขอ้ มูลสารสนเทศ ใชข้ ้อมลู สารสนเทศอา้ งองิ ถกู ตอ้ ง 7. บันทึกการศึกษาคน้ คว้าเพื่อนำไป การเขยี นบนั ทกึ ความร้จู ากแหล่งเรียนรทู้ ่ี พัฒนาตนเองอยา่ งสม่ำเสมอ หลากหลาย 8. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน
42 สาระที่ 3 การฟัง การดู การพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ กึ ใน โอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
43 ม. 1 1. พดู สรปุ ใจความสำคัญของเรื่องทฟ่ี งั การพูดสรปุ ความ พดู แสดงความรู้ และดู ความคิดอยา่ งสร้างสรรค์จากเรอ่ื งที่ฟังและดู 2. เลา่ เร่ืองยอ่ จากเร่อื งที่ฟังและดู การพูดประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของสอื่ ทมี่ ี 3. พูดแสดงความคิดเหน็ อย่างสร้างสรรค์ เนอ้ื หาโน้มน้าว เก่ยี วกับเรื่องท่ฟี ังและดู 4. ประเมนิ ความน่าเช่อื ถอื ของสื่อ ทม่ี เี น้อื หาโน้มน้าวใจ 5. พูดรายงานเรื่องหรอื ประเด็นทศ่ี กึ ษา การพดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ จากแหลง่ คน้ คว้าจากการฟัง การดู เรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชนและทอ้ งถน่ิ ของตน และการสนทนา 6. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู มารยาทในการฟงั การดู และการพูด ม.2 1. พดู สรุปใจความสำคัญของเรือ่ งท่ฟี งั การพดู สรปุ ความจากเรอื่ งทฟี่ งั และดู และดู 2. วิเคราะหข์ ้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การพูดวเิ คราะหแ์ ละและวจิ ารณ์จากเรอื่ ง และความนา่ เช่ือถอื ของขา่ วสารจากสอ่ื ทฟ่ี งั และดู ตา่ ง ๆ 3. วิเคราะห์และวิจารณ์เรอื่ งท่ฟี งั และดู
44 อยา่ งมีเหตผุ ล เพ่ือนำขอ้ คดิ มาประยกุ ต์ ใชใ้ นการดำเนินชวี ติ 4. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตาม การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ วัตถปุ ระสงค์ - การพูดอวยพร - การพดู โนม้ นา้ ว - การพูดโฆษณา 5. พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศกึ ษา การพูดรายงานการศกึ ษาค้นควา้ จาก ค้นควา้ จากการฟงั การดแู ละการสนทนา แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 6. มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพดู มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.3 1. แสดงความคดิ เหน็ และประเมินเรือ่ ง การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมนิ จากการฟังและการดู เรือ่ งจากการฟังและการดู 2. วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เร่อื งท่ฟี ังและดู การพูดวเิ คราะห์ วจิ ารณ์จากเรือ่ ง เพ่อื นำขอ้ คดิ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการ ทฟ่ี งั และดู ดำเนินชีวิต 3. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทีศ่ กึ ษา การพูดรายงานการศึกษาคน้ คว้า คน้ คว้าจากการฟงั การดแู ละการสนทนา เกี่ยวกบั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน
45 4. พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ไดต้ รงตาม การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น วัตถปุ ระสงค์ - การพูดโต้วาที - การอภิปราย - การพดู ยอวาที 5. พดู โน้มน้าวโดยนำเสนอหลกั ฐาน การพดู โน้มนา้ ว ตามลำดบั เน้ือหาอยา่ งมีเหตุผลและ น่าเชอื่ ถอื 6. มีมารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟงั การดู และการพดู และการพดู ม. 4-6 1. สรปุ แนวคิดและแสดงความคดิ เห็น การพดู สรปุ แนวคิดและการแสดง จากเรอื่ งท่ีฟงั และดู ความคิดเห็นจากเรอ่ื งทีฟ่ ังและดู 2. วเิ คราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และ การวิเคราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และ ความน่าเชื่อถือจากเรอ่ื งที่ฟงั และดู ความน่าเชอ่ื ถือจากเร่ืองท่ฟี งั และดู อย่างมีเหตุผล การเลอื กเร่อื งที่ฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ 3. ประเมินเรอื่ งทฟี่ งั และดู แล้วกำหนด การประเมินเร่อื งท่ีฟังและดู แนวทางนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ เพอ่ื กำหนดแนวทางนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ดำเนินชวี ิต 4. มวี ิจารณญาณในการเลอื กเรอ่ื งที่ฟงั และดู
46 5. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ พูดแสดงทรรศนะ การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น โตแ้ ยง้ โน้มน้าวใจ และเสนอ - การพดู ตอ่ ทป่ี ระชุมชน - การพูดอภิปราย แนวคดิ ใหม่ดว้ ยภาษาถกู ตอ้ งเหมาะสม - การพูดแสดงทรรศนะ - การพดู โน้มนา้ วใจ ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 4-6 6. มมี ารยาทในการฟัง การดู มารยาทในการฟัง การดู และการพูด และการพูด
47 สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา
48 ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทย เสยี งในภาษาไทย 2. สร้างคำในภาษาไทย การการสร้างคำ เช่น - คำประสม คำซำ้ คำซ้อน - คำพ้อง 3. วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ท่ีของคำใน ชนิดและหนา้ ท่ีของคำ ประโยค 4. วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพดู ภาษาพดู และภาษาเขยี น ภาษาเขียน 5. แตง่ บทร้อยกรอง กาพยย์ านี ๑๑ 6. จำแนกและใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพย สำนวนทเ่ี ปน็ คำพงั เพยและสุภาษิต และสภุ าษติ ม.2 1. สร้างคำในภาษาไทย การสรา้ งคำสมาส 2. วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยครวม และประโยคซอ้ น - ประโยคสามัญ - ประโยครวม - ประโยคซ้อน
49 3. แต่งบทรอ้ ยกรอง กลอนสุภาพ 4. ใช้คำราชาศพั ท์ คำราชาศัพท์ 5. รวบรวมและอธบิ ายความหมายของ คำทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ม.3 1. จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศ คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ท่ใี ช้ในภาษาไทย 2. วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยคซบั ซ้อน ประโยคซบั ซ้อน 3. วิเคราะหร์ ะดบั ภาษา ระดับภาษา 4. ใช้คำทับศพั ทแ์ ละศพั ทบ์ ัญญตั ิ คำทับศัพท์ คำศัพท์บญั ญัติ ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 5. อธบิ ายความหมายคำศัพทท์ าง คำศัพทท์ างวชิ าการและวิชาชพี ม.3 วชิ าการและวชิ าชีพ โครงสี่สภุ าพ 6. แต่งบทรอ้ ยกรอง ม.4-6 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของ ธรรมชาติของภาษา ภาษา และลักษณะของภาษา พลงั ของภาษา ลกั ษณะของภาษา
50 - เสียงในภาษา - ส่วนประกอบของภาษา - องค์ประกอบของพยางค์และคำ 2. ใชค้ ำและกล่มุ คำสร้างประโยค การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ตรงตามวตั ถุประสงค์ - คำและสำนวน - การรอ้ ยเรียงประโยค - การเพ่ิมคำ - การใช้คำ - การเขียนสะกดคำ 3. ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาสกาลเทศะ ระดบั ของภาษา และบุคคล รวมทง้ั คำราชาศัพท์อยา่ ง คำราชาศพั ท์ เหมาะสม 4. แต่งบทรอ้ ยกรอง กาพย์ โคลง รา่ ย และฉนั ท์ 5. วิเคราะห์อิทธพิ ลของภาษา อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศ ตา่ งประเทศและภาษาถ่นิ และภาษาถนิ่ 6. อธิบายและวเิ คราะห์หลักการสรา้ งคำ หลกั การสรา้ งคำในภาษาไทย ในภาษาไทย 7. วิเคราะห์และประเมินการใชภ้ าษา การประเมนิ การใช้ภาษาจากส่ือส่งิ พมิ พ์ จากส่อื สง่ิ พิมพแ์ ละสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179