Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Insect Pathology

Insect Pathology

Published by Sineenuch K. Sanserm, 2021-02-22 13:25:55

Description: Insect Pathology

Search

Read the Text Version

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเช้อื ไวรสั 136 7.6 กำรใชเ้ ชอ้ื ไวรสั ในกำรควบคมุ แมลง บทบำทของไวรัสที่ทำให้เกิดโรคในแมลงในกำรป้องกันพืชท่ัวโลก เติบโตข้ึนในช่วงทศวรรษท่ี ผ่ำนมำแม้ว่ำจะมีควำมก้ำวหน้ำขึ้นเรื่อย ๆ ก็ตำม ผลิตภัณฑ์ไวรัสส่วนใหญ่ จะขึ้นอยู่กับชนิดท่ีได้ทรำบ และไดร้ ับกำรศึกษำมำอยำ่ งน้อยสองทศวรรษ และไดผ้ ลิตเปน็ กำรค้ำตำมควำมรทู้ ย่ี ังหลงเหลอื อยู่มำกกว่ำ ควำมพยำยำมในกำรวิจัยใหม่ ไวรัสในแมลงดูเหมือนจะเป็นผลิตภัณฑ์กำรควบคุมทำงชีวภำพที่คงตัว ใน หลักของกำรทำในเชิงพำณิชย์สะท้อนให้เห็นถึงควำมพร้อมในกำรใช้สำรกำจัดศัตรูพืชในเชิงพำณิชย์ ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่ำนมำ ไวรัสท่ีก่อโรคในแมลงมีหลำยกลุ่ม กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์และกำรวิจัยส่วนใหญ่ ยังคงมุ่งเน้นไปที่ Baculoviridae (BV) (Miller, 1997; Moscardi et al., 2011) และพวกไวรัสกลุ่ม แอลฟ่ำ บีตำ แกมมำ และเดลทำโคเบโลไวรัสเท่ำนั้น เฉพำะ nucleophyhedroviruses (NPV, Alphabaculovirus spp.) และ granuloviruses (GV, Betabaculovirus spp.) ได้รับกำรพัฒนำทำง กำรคำ้ ในระดบั สำคัญ ๆ (ตำรำงท่ี 7-2) ตำรำงที่ 7-2 เชอ้ื ไวรสั สำเหตุโรคแมลง ที่นำมำใชใ้ นกำรควบคุมแมลงศตั รูโดยชีววิธี Common and species Targeted insects Producer Selected references Certis (USA) names Miller (1997), Moscardi (1999, 2007), Theilmann Baculovirus Principally et al. (2005), Szewcyk et al. (2006), Harrison Lepidoptera, and Hoover (2012) Ignoffo (1999), Rowley some et al. (2011) Hymenoptera and Diptera Corn earworm NPV Helicoverpa zea (HezeSNPV) : corn earworm, tomato fruitworm, tobacco budworm. Heliothis virescens Cotton bollworm NPV Helicoverpa Andermatt, Hauxwell et al. (2010), (HearNPV) armigera, (Switzerland), Rabindra and Grzywacz cotton AgBioTech (Australia) (2010), Rowley et al.

โรคแมลงทเี่ กิดจำกเชอื้ ไวรสั 137 ตำรำงที่ 7-2 เชอ้ื ไวรสั สำเหตโุ รคแมลง ทน่ี ำมำใชใ้ นกำรควบคุมแมลงศัตรโู ดยชวี วธิ ี (ตอ่ ) Common and species Targeted insects Producer Selected references names Cotton bollworm NPV Helicoverpa Andermatt, Hauxwell et al. (2010), (HearNPV) armigera, (Switzerland), Rabindra and Grzywacz cotton AgBioTech (Australia) (2010), Rowley et al. bollworm, Jiyuan Baiyun Industry (2011), Yang et al. (2012), podborer Company Ltd. (China), Gywnn (2014) BioControl Research Labs (India), Kenya Biologics (Kenya), plus other producers in India, China Diamond back moth Plutella xylostella Jiyuan Baiyun Industry Grzywacz et al. (2004), GV (PlxyGV) Company Ltd. (China) Farrar et al. (2007), Yang et al. (2012) Unbarred Spodoptera Spodoptera albula Agricola el Sol Moscardi (1999) moth (army worm NPV (sunia) (Guatamala) (SdalNPV) Beet armyworm NPV Spodoptera exigua Andermatt, Kolodny-Hirsch et al. (SpexMNPV) (Switzerland), Certis (1997), Lasa et al. (2007), (USA), Jiyuan Baiyun Sun and Peng (2007), Industry Company Gywnn (2014) Ltd.,(China) BioTech (Thailand) Egyptian cotton Spodoptera Andermatt Jones et al. (1994) leafworm NPV littoralis (Switzerland) (SpliNPV) Tobacco armyworm Spodoptera litura Biocontrol Research Nakai and Cuc (2005), NPV (SpltNPV) Lab, Ajay Biotech, Department of Bassarass Biocontrol, Biotechnology India

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเช้อื ไวรสั 138 ตำรำงท่ี 7-2 เชอื้ ไวรสั สำเหตโุ รคแมลง ทนี่ ำมำใช้ในกำรควบคุมแมลงศตั รูโดยชวี วธิ ี (ต่อ) Common and species Targeted insects Producer Selected references names Biotech International, (2007), Kunimi Biotech International, (2007), Kunimi (2007), BioControl Research (2007), Yang et al. BioControl Research Yang et al. (2012) Labs (India) Jiyuan (2012) Labs (India) Jiyuan Baiyun Industry Baiyun Industry Company Ltd. (China) Company Ltd. (China) Gypsy moth, NPV Lymantria dispar USDA (USA), Sylvar Podgewaite (1999) (LydiMNPV) Technology (Canada), Andermatt (Switzerland) Velvetbean caterpillar, Anticarsia Coodetec. CNP So, Moscardi (2007), Sosa- NPV (AngeMNPV) gemmatalis Nova Era Gómez et al. (2008), Biotechnologica Moscardi et al. (2011), Agricola, Nitral Urbana Panazzi (2013) Laboratorios, Coop Central Milenio Agro Ciencias (Brazil) Red headed pine Neodiprion Sylvar Technology Cunningham (1995) sawfly NPV (NeleNPV) lecontei (Canada) Douglas fir tussock Orygia Canadian Forest Martignoni (1999) moth NPV (OrpsNPV) pseudotsugata Service Codling moth GV Cydia pomonella Certis (USA), BioTepp Tanada (1964), Cross et al. (CpGV) (Canada), Arysta (1999), Arthurs et al. Lifescience (France), (2005), Eberle and Jehle Andermatt (2006), Lacey et al. (2008) (Switzerland), Hoerst (2008b) (Belgium), Arysta Life Science (France), Agro Roca (Argentine)

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเช้อื ไวรสั 139 ตำรำงท่ี 7-2 เชือ้ ไวรัสสำเหตุโรคแมลง ที่นำมำใช้ในกำรควบคุมแมลงศตั รูโดยชวี วิธี (ต่อ) Common and species Targeted insects Producer Selected references names False codling moth Cryptophlebia Andermatt Singh et al. (2003), Moore GV (CrleGV) leucotreta (Switzerland), River et al. (2004b) Bioscience (South Potato tubermoth GV Phthorimaea Africa) Sporleder (2003), Arthurs (PhopGV) operculella Centro Internacional et al. (2008b), Kroschel de la Papa (Peru), and Lacey (2008), Lacey Summer fruit totrix Adoxophyes Proinpa (Bolivia) and Kroschel (2009) GV (AdorGV) orana Blommers (1994), Cross Tea tortrix (HomaGV) Homona Andermatt et al. (2005), Nakai (2009) magnanima (Switzerland) Kunimi (2007), Nakai Smaller tea tortrix GV Adoxophyes Arysta life science (2009) (AdhoGV) honmai (Japan) Nakai et al. (2002), Nakai Alfalfa looper NPV Noctuidae Arysta life science (2009) (AucaMNPV) (Japan) Vail et al. (1999), Yang Cabbage looper Trichoplusia ni Agricola el Sol et al. (2012) (TrniSNPV) (Guatamala) Vail et al. (1999) Tea geomotrid Extropic obliqua Andermatt EcobNPV (Switzerland) Sun and Peng (2007), Euproctis Small scale Yang et al. (2012) Tea tussock moth pseudoconspersa commercial (Eups NPV) production China Sun and Peng (2007), Buzura Small scale Yang et al. (2012) Tea moth (BuzuNPV) suppressaria commercial production China Sun and Peng (2007), Teak defoliator Hyblea peura Small scale Yang et al. (2012) (HypeNPV) commercial production China Nair et al. (1996) Kerala Forest Research Institute (India)

โรคแมลงทเ่ี กิดจำกเช้ือไวรสั 140 ตำรำงท่ี 7-2 เชื้อไวรัสสำเหตุโรคแมลง ทีน่ ำมำใช้ในกำรควบคมุ แมลงศัตรโู ดยชวี วิธี (ต่อ) Common and species Targeted insects Producer Selected references Yang et al. (2012) names Yang et al. (2012) Imported Artogeia (Pieris) Registered in China Peng et al. (2000), Yang cabbageworm (PiraGV) rapae Small scale (2007), Yang et al. (2012) commercial Sun and Peng (2007), Yang et al. (2012) production China Sun and Peng (2007), Yang et al. (2012) Oriental armyworm, Leucania Registered in China Nair et al. (1996) (LeseNPV) (Mythimna) Small scale Yang et al. (2012) separata commercial Yang et al. (2012) production China Reoviridae Dendrolimus Registered in China Masson pine moth punctatus Small scale cypovirus (CPV) commercial production China Tea tussock moth Euproctis Small scale (Eups NPV) pseudoconspersa commercial production China Tea moth (BuzuNPV) Buzura Small scale suppressaria commercial production China Teak defoliator Hyblea peura Kerala Forest (HypeNPV) Research Institute (India) Imported Artogeia (Pieris) Registered in China cabbageworm (PiraGV) rapae Small scale commercial production China Oriental armyworm, Leucania Registered in China (LeseNPV) (Mythimna) Small scale separata commercial production China

โรคแมลงที่เกิดจำกเช้ือไวรัส 141 ตำรำงท่ี 7-2 เชื้อไวรสั สำเหตโุ รคแมลง ที่นำมำใชใ้ นกำรควบคมุ แมลงศัตรโู ดยชวี วธิ ี (ตอ่ ) Common and species Targeted insects Producer Selected references names Parvoviridae Periplaneta Registered in China Bergoin and Tijssen Small scale (1998), Yang et al. (2012) Cockroach fuliginosa commercial production China Jackson et al. (2005), densonucleosis virus Not commercially Huger (2005), Ramle produced but et al. (2005), Jackson (DNV) locally produced for (2009) autodissemination Nudiviruses Oryctes Oryctes virus rhinoceros กำรวิจัยเกี่ยวกับกำรพัฒนำไวรัสท่ีไม่ใช่ไวรัส BV เพื่อกำรป้องกันพืชมีผลต่อขอบเขตท่ีจำกัด รวมถึงกำรศึกษำภำยในแปลงเกี่ยวกับกำรใช้ tetraviruses เพ่ือควบคุม heliothines ในประเทศ ออสเตรเลีย (Christian et al., 2005) และ Cypovirus spp. (Reoviridae) (Belloncik and Mori, 1998) กำรใช้ไวรสั Oryctes (Nudiviridae) ในกำรควบคมุ ด้วงแรดในปำล์มนำ้ มนั ในเอเชียเป็นโครงกำรที่ ดำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง ซ่ึงรวมถึงกำรใช้ฟีโรโมนเพ่ือรวบรวมตัวเต็มวัยที่ติดเช้ือและนำมำใช้ในกำรแพร่ ระบำดของเชื้อไวรัส (Jackson et al., 2005) น่ีเป็นคำแนะนำที่น่ำสนใจสำหรับแนวทำง ''lure and infect'' แม้ว่ำจะยังไมม่ ขี ้อมูลตีพมิ พ์ทีช่ ัดเจนเก่ยี วกับควำมสำเร็จของงำนวจิ ยั นแี้ ละประสทิ ธิภำพในด้ำนนี้ กำรมุ่งเน้นไปศึกษำวิจัยไวรัสกลุ่ม BV เพื่อนำมำพัฒนำผลิตเป็นสำรชีวภัณฑ์กำรค้ำสำมำรถ กำหนดปัจจยั ท่ีดีหลำยอย่ำง เช่น กำรศกึ ษำควำมรู้พ้นื ฐำนเกี่ยวกบั BV ไว้เป็นจำนวนมำก รวมถึงกำรวิจัย ทำง ชวี วิทยำ พยำธิวทิ ยำ และนิเวศวทิ ยำกว่ำกลุ่มอ่ืน ๆ ของไวรัส ในแมลงไมม่ กี ระดูกสันหลัง และควำม สมบูรณ์ของข้อมูลที่ช่วยส่งเสริมในกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์และกำรจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ นอกจำกน้ียังมี นักวิจัยหลำยคนท่ีมีควำมรู้ที่มีส่วนช่วยสนับสนุนควำมคิดริเริ่มในเชิงพำณิชย์ และกำรจัดตั้งศูนย์กำรวิจัย เก่ียวกับ BV มำกข้ึนอย่ำงกว้ำงขวำง ทั่วโลก มีควำมช่วยเหลือในกำรให้ควำมร่วมมือระหว่ำงนักวิชำกำร และบริษัทผลิตชีวินทรีย์ ซึ่งรวมถึงประเทศไทย นำโดยสำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ชำติ (สวทช.) ไดส้ ร้ำงโรงงำนต้นแบบผลติ ไวรสั NPV เพื่อควบคุมแมลงศัตรพู ืช ปัจจุบันมีกำรนำไวรัสเอ็นพีวีมำใช้ประโยชน์ด้ำนกำรเกษตรกันแพร่หลำยท่ัวโลก เนื่องจำกเป็น เชอ้ื ท่ีทำลำยเฉพำะแมลงเป้ำหมำย มีควำมปลอดภัยตอ่ คน สตั ว์ และสิ่งแวดล้อม และไม่ท้ิงสำรพษิ ตกคำ้ ง บนผลผลิต ประเทศไทยก็มีกำรใช้ไวรัสเอ็นพีวีกำจัดแมลงศัตรูพืชด้วยเช่นกัน ตอนนี้นักวิจัยไทยยังผลิต เช้ือเอ็น พี วที ม่ี ีประสิทธิภำพดี กำจดั ศัตรพู ืชได้หลำกหลำย ในรำคำท่ีต่ำลงด้วย โรงงำนตน้ แบบผลิตไวรัส

โรคแมลงทเี่ กิดจำกเชอื้ ไวรสั 142 เอ็น พี วี เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช โดย ไบโอเทค / สวทช. ได้พัฒนำกำรผลิตเชื้อไวรัส เอ็น พี วี ของ แมลงศัตรูพืชท้ัง 3 ชนิด มำต้ังแต่ปี 2550 โดยเริ่มจำกหนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก ตำมลำดับ ทำให้มีเช้ือไวรัส เอ็น พี วี ของหนอนท้ัง 2 ชนิด เพียงพอสำหรับใช้ในพืชท่ีพบปัญหำกำรระบำด เช่น หอมแดง หอมหัวใหญ่ หน่อไม้ฝร่ัง แตงโม พืชตระกูลกะหล่ำ พริก มะเขือเทศ ดำวเรือง เบญจมำศ กุหลำบ กล้วยไม้ ปัจจุบัน โรงงำนต้นแบบฯ กำลังวิจัยและพัฒนำกำรผลิตเช้ือไวรัส เอ็น พี วี ของหนอน เจำะสมอฝ้ำย โดยวิจัยในรูปแบบกำรผลิตอื่นเพื่อให้ได้ต้นทุนท่ีต่ำลง และพัฒนำประสิทธิภำพผลิตภัณฑ์ ให้ดยี ิ่งขนึ้ รวมถึงเชอ้ื ไวรสั อนื่ ๆ ท่ีมศี กั ยภำพให้นำมำใช้ประโยชน์ได้ กำรศึกษำระดับสูงของกำรจำลองแบบในลำตัวแมลง BV ส่วนใหญ่ที่เป็นสนใจในเชิงพำณิชย์ ยัง เป็นปจั จัยสำคญั ในกำรทำให้กำรผลติ ไปได้ในทำงเศรษฐกจิ ขั้นตอนกำรติดเช้ือของ BV เป็นลักษณะของดีเอ็นเอที่มีเกลียวแบบวงกลมเส้นคู่ ภำยในแกน นิวเคลียสรูปแท่งท่ีห่อหุ้มไว้ภำยใน occlusion bodies (OB) ซ่ึงรวมตัวเกิดเป็นโปรตีนธรรมชำติที่ แขง็ แกร่งของ OB เปน็ ปัจจัยอำนวยควำมสะดวกในกำรพัฒนำผลิตภณั ฑ์เชงิ พำณิชย์ กำรประยุกต์ใช้ และ กำรเก็บรักษำในระยะยำวของไวรัสท่ี OBs สำมำรถมองเห็นโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ช่วยอำนวยควำม สะดวกในกำรหำปริมำณของ BV โดยไม่ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนซ่ึงต้องใช้อุปกรณ์ท่ีมรี ำคำแพง ซึ่งมักไม่พร้อมสำหรับบริษัทสำรฆ่ำแมลงด้วยจุลินทรยี ์ ในช่วงทศวรรษที่ผำ่ นมำ มีกำรขยำยตัวผลิตภัณฑ์ BV (Kabaluk et al., 2010; Gywnn, 2014), ในเชิงพำณิชย์อย่ำงมำกโดยเฉพำะในช่วงของกำรใช้สำร ฆ่ำแมลงในยุโรป อเมริกำเหนือ และในที่อื่นๆ มีกำรขยำยตัวในกำรผลิต และกำรใช้จุลินทรีย์กำจัดแมลง ศตั รูพืช ในเอเซีย ออสเตรเลยี และอเมริกำใต้ แต่กำรขยำยตัวยงั อยใู่ นวงแคบในกำรใช้ในประเทศในแถบ แอฟริกำ (Cherry and Gwynn, 2007; Kabaluk et al., 2010; Moscardi et al., 2011) กำรให้ควำมสนใจกับ BV น้ันส่วนใหญ่ เกิดจำกควำมสำคัญของไวรัสน้ีในกำรควบคุมแมลงใน กลุ่ม lepidopteran ท่ีมีควำมสำคัญระดับสำกล เช่น Helicoverpa spp. (Rowley et al., 2011) และ Spodoptera spp. (ตำรำงท่ี 7-2). แมลงศตั รูพืชเหล่ำนม้ี ีแนวโน้มในกำรพัฒนำควำมต้ำนทำนต่อสำรเคมี กำจัดแมลง และมีพืชอำหำรท่ีหลำกหลำย ทำให้กำรควบคุมแมลงเหล่ำน้ีมีควำมสำคัญและท้ำทำย ในประเทศจีนเป็นตลำดใหญ่ ที่มีควำมต้องกำร NPV ขยำยตัวเพ่ิมมำกข้ึน มีผลิตภัณฑ์ BV ทั้งหมด 9 ชนิด ท่ีผลิตเป็นกำรค้ำ มีผู้ประกอบกำรอย่ำงน้อย 12 รำยท่ีสร้ำงโรงงำนผลิตเชื้อ Helicoverpa armigera NPV (HearNPV), Spodoptera litura NPV (SpltNPV), Autographa californica NPV (AucaMNPV), Plutella xylostella GV (PlxyGV) และ Spodoptera exigua NPV (SeMNPV) รวมท้ัง ผลิตภัณฑ์ BV อ่ืน ๆ (Sun and Peng, 2007 Yang; et al., 2012) อย่ำงไรก็ตำมกำรคำนวณค่ำใช้จ่ำย ทงั้ หมดของ BV เปน็ เรอ่ื งยำก ในทวีปอเมริกำใต้ประเทศบรำซิล เป็นผู้นำในกำรพัฒนำ BV และใช้ Anticarsia gemmatalis NPV (AngeMNPV) เพื่อควบคุมหนอน velvet bean caterpillar ในถั่วเหลือง (Moscardi, 1999, 2007; Sosa-Gomez et al., 2008) และเริ่มกำรผลิตและกำรใช้ AngeMNPV ข้ึนในประเทศเม็กซิโก (Williams et al., 2013a) ทั้งนี้กำรผลิต AngeMNPV ได้ริเริ่มข้ึนในประเทศบรำซิลโดยกำรสนับสนุน

โรคแมลงท่เี กิดจำกเชื้อไวรัส 143 โครงกำรจำกภำครัฐ แต่ผู้ผลิตเชิงพำณิชย์ก็ได้เข้ำมำช่วยเพ่ือขยำยฐำนกำรผลิต และเพ่ือเสริมระบบกำร ผลิตแบบเดิม ทำให้เกิดกำรใช้ผลิตภัณฑ์เพิ่มข้ึนเป็น 2 ล้ำนเฮกเตอร์ในปี 2004 (Moscardi, 2007) อยำ่ งไรก็ตำมเน่ืองจำกกำรใช้งำน BV (Franzmann et al., 2008) เป็นกำรใช้ที่เกิดขึ้นในระบบท่ไี มม่ ีกำร ใช้สำรฆำ่ แมลงในวงกว้ำง ทำให้ได้รับกำรยอมรบั อย่ำงกว้ำงขวำง ถึงแม้ว่ำกำรใช้ AngeMNPV ในพนื้ ที่ใน วงจำกัดก็ตำม (Moscardi et al., 2011; Panazzi, 2013) กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วต่อกำรใช้สำร กำจัดศัตรูพืชชีวภำพนี้ ทำให้เกิดผลสำเร็จอย่ำงมำกต่อภำพรวมของกำรทำกำรเกษตรยุคใหม่ และทำให้ เกิดกำรยอมรบั อย่ำงตอ่ เนอื่ ง หนึ่งในไวรัสท่ีมีกำรพัฒนำข้ึนอย่ำงกว้ำงขวำงและใช้ในเชิงพำณิชย์คือ ไวรัสในแมลง codling moth Cydia pomonella granulovirus (CpGV) ถึงแม้ว่ำ CpGV จะได้รับกำรพัฒนำและจำหน่ำยเพ่ือ ใช้ในยุโรปในปี 1987 (Cross et al., 1999; Vincent et al., 2007) ต่อมำข้ึนทะเบียนเป็นสำรชีวภัณฑ์ ในทวีปอเมริกำเหนือ (Vincent et al., 2007; Lacey et al., 2008b) และปัจจุบันมีกำรใช้ CpGV ท่ัว โลก (Lacey et al., 2008b; Sosa-Gomez et al., 2008) นอกจำกน้ีได้มีกำรทดลองใช้ CpGV ในกำร ควบคุม codling moth โดย Lacey et al. (2008b) จำกกำรทดลองได้ข้อสรุปว่ำ CpGV มีกำรควบคุม ประชำกรแมลงน้ีได้ดี เหตุผล สำหรับกำรนำไปใช้อย่ำงแพร่หลำยคือช่วงเวลำกำรฉีดพ่นไม่จำเป็นต้องใช้ บ่อย และสำมำรถใช้ก่อนกำรเก็บเก่ียวได้ มีควำมปลอดภัยต่อห่วงโซ่อำหำรและสิ่งมีชีวิตนอกเป้ำหมำย แมว้ ำ่ จะมีกำรใช้ CpGV กันอย่ำงแพรห่ ลำยในยุโรปและในทวปี อเมริกำเหนือ แต่กำรยอมรับโดยเกษตรกร ผู้ปลูกทั่วไปก็ยังคงมีน้อย เมื่อเทียบกับผู้ปลูกพืชอินทรีย์ ข้อแม้หลักสำหรับกำรใช้งำนของมันคือควำมคง อยู่ของไวรัสทีค่ ่อนข้ำงต่ำ เน่ืองจำกแสง UV จำกดวงอำทิตย์ทำให้ไวรัสเสือ่ มคณุ ภำพ และสลำยตัวไป ทำ ให้จำเป็นต้องฉีดพ่นเชื้อมำกข้ึน ปัจจัยอีกประกำรหนึ่งท่ีทำให้ CpGV มีประสิทธภิ ำพคือควำมรุนแรงของ ตัวเช้ือเอง กำรทำให้แมลงอำศัยเกิดโรคอย่ำงรวดเร็วและง่ำยต่อกำรติดเช้ือ เกษตรกรสำมำรถกำหนด เป้ำหมำยในกำรฉีดพ่นในช่วงที่แมลงศัตรูยังเป็นระยะตัวอ่อน เพรำะระยะน้ีเป็นระยะที่แมลงอ่อนแอต่อ กำรเข้ำทำลำยของเช้ือ แม้ว่ำไวรัสจะมีอำยุส้ันแต่ยังสำมำรถควบคุมแมลงได้ นอกจำกนี้ CpGV ยังเป็น ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมำตรฐำนที่ใช้ในกำรผลิตแอปเปิลแบบอินทรีย์ ที่มีคุณภำพเป็นท่ีต้องกำรของตลำด และ CpGV ยงั เป็นองค์ประกอบสำคัญในระบบ IPM (Lacey et al., 2008b) สำหรับปัญหำของกำรใช้ BV พบว่ำแมลงมีควำมต้ำนทำน BV ในระดับสูงมำกในบำงพื้นท่ี ท่ีใช้เชื้อติดต่อมำนำนเป็นเวลำ 20 ปีข้ึนไป (Fritsch et al., 2005; Eberle and Jehle, 2006; Sauphanor et al., 2006; Zichov et al., 2013) กำรศึกษำในห้องปฏิบัติกำร พบว่ำกำรพัฒนำควำม ต้ำนทำนของแมลงเกิดขึ้นอย่ำงรวดเร็วมีอัตรำท่ีสูงมำก เนื่องจำกกำรถ่ำยทอดทำงพันธุกรรมของยีน ตำ้ นทำน และเกย่ี วขอ้ งกบั กำรกลำยพันธุ์ แต่ปัญหำน้ีสำมำรถคล่ีคลำยได้ โดยกำรใช้ CpGV สำยพนั ธใุ์ หม่ ๆ แทนสำยพันธ์ุดั้งเดิม ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ ท่ีผสมผสำน CpGV สำยพันธ์ุใหม่ ๆ กับสำยพันธ์ุเดิมเข้ำ ด้วยกัน และออกวำงจำหน่ำยในตลำดแล้ว ดังน้ันภำคกำรผลิตท่ีผลิต BV ควรวำงแผนท่ีจะรวมส่วนผสม ของสำยพันธ์ุต่ำง ๆ ในผลิตภัณฑ์ หรือมีสำยพันธ์ุอ่ืนที่พัฒนำข้ึนมำและเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์กำร จัดกำรกับควำมตำ้ นทำนตอ่ ผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดขึน้ ในแมลง

โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเช้อื ไวรัส 144 เช้ือไวรัส GV ที่วำงขำยในเชิงกำรค้ำ สำหรับใช้ในกำรป้องกันกำจัด false codling moth, Cryptophlebia leucotreta ในแอฟริกำใต้เป็นผลิตภัณฑ์ตัวแรกของไวรัสในกลุ่ม BV ที่มีจำหน่ำยใน ท้องตลำดในประเทศแถบ Sub-Saharan Africa (Singh et al., 2003; Moore et al., 2004) และมี ผลิตภัณฑ์ตัวอื่น ๆ ของ BV ท่ีได้รับกำรพัฒนำอย่ำงมำกในแอฟริกำคือ NPV ของ Spodoptera exempta NPV (SpexNPV) เพ่ือใช้ในกำรควบคุม African armyworm ซ่ึงเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญใน แอฟริกำ (Grzywacz et al., 2008) โรงงำนผลิตนำร่องได้จัดตั้งข้ึนในประเทศเคนย่ำ โดยผู้ผลิตเชิง พำณิชย์ในภำคเอกชน (Van Beek, 2007) และผลิตภัณฑ์ HearNPV จำกผู้ผลิตนี้ ได้จดทะเบียนใน ประเทศเคนย่ำ และกำนำ ในปี 2555 อย่ำงไรก็ตำมขนำดและขอบเขตของกำรใช้งำนยังไม่ชดั เจน หนอน ใยผัก (Plutella xylostella) เป็นแมลงอีกชนิดหนึ่งท่ีเป็นเป้ำหมำยสำคัญในกำรวิจัยท้ัง P. xylostella GV (PlxyGV) และ P. xylostella NPV (PlxyMNPV) (Kariuki and McIntosh, 1999; Grzywacz et al., 2004) สำหรับกำรควบคุมแมลงศัตรูในสนำมหญ้ำ แมลงศัตรูท่ีมุ่งเน้นได้แก่ Agrotis ipsilon โดยใช้ ไวรัส NPV (AgipMNPV, Prater et al., 2006) ส่วนใหญ่เก่ียวข้องกับกำรใช้ในสนำมกอล์ฟ แต่ในขณะที่ AgipMNPV สำมำรถควบคมุ แมลงระยะตวั หนอน (instars) ได้ดี แต่กำรตัดหญำ้ บอ่ ย ทำใหไ้ วรัสสัมผัสกับ รังสีอัลตรำไวโอเลตได้ง่ำยข้ึน เป็นผลให้ประสิทธิภำพของไวรัสลดลง (Bixby-Brosi and Potter, 2010) อยำ่ งไรก็ตำมเช้ือไวรัส BV ทแ่ี ยกได้ ภำยใตก้ ำรพฒั นำโดยภำครฐั ยังไม่ได้รับกำรจดทะเบยี นผลติ ภัณฑ์ กำรวจิ ยั เก่ียวกับกำรขยำยกำรใชผ้ ลิตภณั ฑ์ BV อืน่ ๆ ยังคงดำเนินกำรอยำ่ งต่อเน่ีอง รวมถึงกำรใช้ Spodoptera exigua NPV (SeMNPV) ในเรือนกระจกในเขตภำคใต้ของยุโรป (Lasa et al., 2007) กำร พัฒนำท่ีน่ำสนใจคือกำรนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพำณิชย์ของญี่ปุ่นในกำรใช้ร่วมกันของ Adoxophyes orana GV และ Homona magnanima GV เพ่ือควบคุมแมลงศัตรูในไรช่ ำเขยี ว (Kunimi, 2007) กำรใช้ BV ในกำรควบคุมแมลงในป่ำไม้ในทวีปอเมริกำเหนือและยุโรป (Cunningham, 1995; Martignoni, 1999; Podgewaite, 1999) กำรวิจัย BV นั้นยังคงอยู่ในวงจำกัด กำรพัฒนำเชื้อไวรัส BV บำงสำยพันธ์ุในกำรควบคุมแมลงศัตรูพืชเช่น gypsy moth NPV ยังคงดำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง (Cadogan et al., 2004; Moreau and Lucarotti, 2007) กำรใช้ BV ในเป็นผลิตภัณฑ์กำจัดแมลง ยัง เป็นจุดเน้นของกำรวิจัยโดยเฉพำะอย่ำงย่ิงในเร่ือง Plodia interunctella GV (PlinGV) (Vail et al., 1991, 1993) กำรใช้ PlinGV ได้แสดงให้เห็นถึงกำรควบคุมโดยตรงและกำรเป็นพำหะ แต่ยังไม่ได้รับกำร พัฒนำในเชิงพำณิชย์ ข้อจำกดั กำรวจิ ยั เกย่ี วกบั กำรขยำยปริมำณของกำรใชไ้ วรสั กำจดั แมลง กำรเพ่ิมปริมำณกำรผลิตของ BV มีค่ำใช้จ่ำยท่ีสูงทำให้เป็นปัญหำที่สำคัญ เน่ืองจำกกำรผลิตใน เชิงพำณิชย์ของ BV ยังคงเพำะเลี้ยงและเพิ่มจำนวนอนุภำคของไวรัสในแมลงอำศัย (Reid et al., 2014; Grzywacz et al., 2014b) ต้องทำกำรเล้ียงแมลงเป็นจำนวนมำก หรืออำจไปเก็บตัวอย่ำงแมลงที่ติดเชื้อ ไวรัสในธรรมชำติในแปลงเพำะปลูกจำกภำยนอกเพ่ือมำเพิ่มจำนวนไวรัส (Moscardi, 1999; Van Beek and Davies, 2009; Grzywacz et al., 2014a) เนื่องจำกเช้ือไวรัสจำเป็นต้องเพ่ิมจำนวนในส่ิงมีชีวิต

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเชือ้ ไวรสั 145 เท่ำนนั้ ไมส่ ำมำรถหรือเพิ่มจำนวนในอำหำรเล้ียงเช้ือต่ำง ๆ ซง่ึ ไม่สำมำรถเล้ียงเช้อื เพื่อเพม่ิ ปริมำณโดยวิธี พิเศษ ทำให้เกิดค่ำใช้จ่ำยที่ค่อนข้ำงสูงในกำรผลิต BV ในแมลงที่มีชีวิต เทียบกับสำรเคมีที่ใช้ในกำรฆ่ำ แมลง เหตุผลดังกล่ำวทำให้แนวทำงในกำรผลิตนี้ยังคงไม่เป็นท่ีน่ำสนใจต่อหลำยบริษัทท่ีจะลงทุน ทั้งใน อเมริกำเหนือและยุโรป ปัจจุบันควำมสำมำรถในกำรผลิต BV ท่ีเพียงพอสำหรับกำรเพำะปลูกพืชไร่ใน พื้นที่ขนำดใหญ่ยังคงห่ำงไกลควำมเป็นจริงมำก เห็นได้จำกกำรลดลงของกำรใช้ AgMNPV ในบรำซิล หลังจำกกำรลงทุนคร้ังใหญ่ในโรงงำนผลิต AgMNPV ซ่งึ มีผลกระทบอย่ำงมำกต่อกำรระดมทุน นอกจำกน้ี คุณภำพกำรผลิตของ BV ยังเป็นปัญหำ (Moscardi et al., 2011; Panazzi, 2013) โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง กำรผลิตเซลล์ไวรัสได้ในปริมำณที่ตำ่ และกำรรกั ษำคณุ ภำพ BV ให้คงทนยังมีข้อจำกดั อยู่ ศักยภำพในกำรฆ่ำแมลงของเช้ือ BV ต้องใช้เวลำนำนเม่ือเทียบกับสำรฆ่ำแมลง ทำให้เป็น อุปสรรคสำคัญ เนื่องจำกประสิทธิภำพของเช้ือไวรัสท่ีสำมำรถทำให้แมลงตำยได้อย่ำงรวดเร็ว ยังคงเป็น ปัจจัยสำคัญในกำรเลือกสำยพันธ์ุเนื่องจำกสำยพันธ์ุท่ีเข้ำทำลำยแมลงได้เร็วจะช่วยลดควำมเสียหำยของ พืชและจะน่ำสนใจยิ่งข้ึนสำหรับผู้ใช้ที่คุ้นเคยกับกำรใช้สำรฆ่ำแมลงท่ีทำให้แมลงตำยอย่ำงรวดเร็ว ทำให้ เกิดแนวคิดในกำรดัดแปลงทำงพันธุกรรม (GM) ของ BV เพ่ือแทรกหรือลบยีน เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพของ BV ให้มีสมบัติทำให้แมลงศัตรูตำยได้เร็วขึ้น ยีนที่ใช้ดัดแปลง ได้แก่ กำรแทรกยีนที่ผลิตสำรพิษจำกแมลง ป่อง Androctonus australis และ Leiurus quinquestriatus และยีนที่สร้ำงสำรพิษจำกแมงมุม Tengeneria agrestis และ ไร itch mite, Pyemotes tritici นอกจำกน้ีมีกำรใช้เอนไซม์ต่ำง ๆ เช่น esterases (Burdan et al., 2000; Bonning et al., 2002; Szewcyk et al., 2006) แม้ว่ำผลกำร ทดลองในภำคสนำมจะเป็นที่น่ำพอใจ แต่กำรพัฒนำเชิงพำณิชย์ของผลิตภัณฑ์ BV ที่ผ่ำนกำรตัดแต่ง พนั ธุกรรม นี้ดูเหมือนจะไม่ก้ำวหน้ำเท่ำท่ีควร อำจเป็นเพรำะอปุ สรรคดำ้ นกฎระเบียบสำหรบั ผลติ ภัณฑ์ท่ี ดัดแปลงทำงพนั ธุกรรมในตลำดเปำ้ หมำยที่สำคัญ เช่น สหภำพยุโรป (Black et al., 1997; Glare et al., 2012) แต่อย่ำงไรก็ตำม พบว่ำสำยพันธุ์ที่ผ่ำนกำรดัดแปลง เช่น S. frugiperda NPV (SpfrMNPV) (Valicente et al., 2008) มีกำรฆ่ำเช้ือได้เร็วข้ึน แต่พบว่ำมีกำรผลิต OB น้อยลง ดังนั้นแม้จะมีงำนวิจัย เก่ียวกับกำรดัดแปลงทำงพันธุกรรมที่จะเอำชนะข้อจำกัด (Behle and Popham, 2012) ของ BV ทำงด้ำนแมลงอำศัยทจี่ ำกดั กำรทำงำนที่ช้ำลงและควำมไวต่อรงั สยี ูวี แต่ยังไม่มีกำรทำกำรผลิตผลิตภัณฑ์ BV ท่ีมีประสิทธิภำพดีขึ้น (Jehle et al., 2006; Eberle et al., 2009; Herniou et al., 2012) และไม่ น่ำจะเป็นไปไดใ้ นอนำคตอันใกล้นี้ นอกจำกกำรเพิ่มควำมเร็วในกำรฆ่ำแมลง ประสทิ ธิภำพกำรเพิ่มจำนวนในแมลง และควำมคงอยู่ ในสภำพแวดล้อมแล้ว กำรวิจัยรูปแบบของไวรัส (formulation) ในกำรกำหนดสูตรของ BV ยังคงเป็น ตัวกำหนดหนึ่งท่ีสำคัญท่ีสุดในกำรปรับปรุงผลิตภัณฑ์ของ BV (Cory and Hoover, 2006; Cory and Evans, 2007 : Behle and Birthisel, 2014, Hoover et al., 1998, 2000) อย่ำงไรก็ตำมงำนวิจัยท่ี ตีพิมพ์ในวำรสำรต่ำง ๆ ยังมีข้อจำกัด ค่อนข้ำงมำก อำจเป็นเพรำะปัญหำที่เป็นกรรมสิทธิ์ ดังน้ันจึงไม่ ชัดเจนว่ำสิ่งตีพิมพ์ที่จำกัด มีกำรสะท้อนถึงควำมคืบหน้ำท่ีสำคัญหรือไม่ BV มีกำรปรับปรุงจำนวนมำก แต่ ยั งไม่ชั ด เจ น ว่ำคว ำม ก้ ำวห น้ ำจ ะมี แน วโน้ ม ท่ี จะป รำกฏ ใน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น อน ำค ต อัน ใก ล้ นี้ ห รือไม่

โรคแมลงที่เกดิ จำกเชอ้ื ไวรัส 146 ผลิตภัณฑ์ไวรัสส่วนใหญ่มีกำรผลิตและขำยเป็นรปู แบบต่ำง ๆ (Burges and Jones, 1998), ผงและ สำร แขวนลอย และสำมำรถเก็บได้นำนถึง 18 เดือน และ ปัจจัยที่มีผลต่ออำยุกำรเก็บรักษำของไวรัสคือ อุณหภูมิ และรูปแบบของ formulation ของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภำพท่ีสำคัญสำหรบั เชื้อจุลินทรียก์ ำจัดแมลงคือ ควำมคงทนต่อแสง UV ในธรรมชำติซึ่ง เป็นปัจจัยสำคัญมีกำรวิจัยและพัฒนำสูตรผสมของเชื้อจุลินทรีย์เหล่ำนี้ โดยเฉพำะเชื้อไวรัส มีกำรใส่สำร ตำ่ ง ๆ ลงในผลิตภัณฑ์ เพ่ือเพิ่มควำมรนุ แรงและปกปอ้ งประสิทธิภำพของเชื้อไวรัสดังกลำ่ ว มีกำรเตมิ สำร เพ่ือช่วยดูดกลืนคลื่นแสงของ UV เช่น ใส่สำรผสมสี สำรเคมีหรือวัสดุจำกธรรมชำติเช่น lignin sulfate, polystyrene latex, congo red, green tea, antioxidants, iron oxide (Burges and Jones, 1998; Charmillot et al., 1998; Ballard et al.,2000b; de Morães Lessa and Medugno, 2001; McGuire et al., 2001; Sporleder, 2003; Asano, 2005; Arthurs et al., 2006; Shapiro et al., 2008) นอกจำกน้ียังใช้ Molasses, sucrose และนมผง skimmed milk powder เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ ำพ ของ CpGV (Charmillot et al., 1998; Ballard et al., 2000b) กำรผสมสำรเพ่ือลดแรงตึงผิวของพืช ขณะฉีดพ่น ก็มีส่วนสำคัญในกำรทำให้เชื้อไวรัสติดกับใบพืชได้ดีขึน หรือกำรใส่สำร additives อ่ืน ๆ ที่ ช่วยเสริมฤทธ์ิให้เช้ือมีประสิทธิภำพที่ดีข้ึน เช่น enhancins ซึ่งเป็นกลุ่มของโปรตีนท่ีเพิ่มศักยภำพให้แก่ ไวรัสทั้ง NPV และ GV (Slavicek, 2012) ปจั จยั ทำงสงั คมและบทบำทในกำรกำหนดกำรใชเ้ ชอ้ื ไวรสั ในแมลง ควำมกดดันดำ้ นส่ิงแวดล้อมและควำมกังวลด้ำนสขุ ภำพของผู้บริโภค ไดร้ ับควำมสนใจมำกขึ้นทำ ให้ผลกระทบต่อสขุ ภำพและสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์อำรักขำพืชและควำมปลอดภัยของ BV (O.E.C.D., 2002; Leuschner et al., 2010; Mudgal et al., 2013) ได้ถูกนำมำพิจำรณำ แม้ว่ำกำรสำรวจของ ภำครัฐไม่ได้แสดงให้เห็นว่ำมีควำมเสี่ยงในด้ำนควำมปลอดภัยของอำหำร แต่ก็เป็นปัญหำสำคัญสำหรับ ผู้บริโภคถึง 25% (Food Standards Agency, 2013) มีกำรอภิปรำยเก่ียวกับสำรเคมีในกลุ่ม neonicotinoids ในสหภำพยุโรปแสดงให้เห็นว่ำควำมกังวลของสำธำรณชนสำมำรถขับเคลื่อนเป็น แรงผลักดันทำให้เกิดกำรเปล่ียนแปลงท่ีสำคัญในนโยบำยกำรป้องกันพืช (Gross, 2013) ควำมกังวล เหล่ำน้ีในสหภำพยุโรปได้นำไปสู่แนวทำงกำรใช้ประโยชนอ์ ย่ำงย่ังยืน (SUD) นโยบำยในกำรลดกำรพ่ึงพำ สำรเคมี และกำรบังคับใช้กำรจัดกำรศัตรูพืชแบบผสมผสำน (IPM) สำหรับพืชทุกชนิด (Hillocks, 2012) นอกจำกน้ีสำรเคมีกำจัดศัตรูพืชต้องถูกลงทะเบียนใหม่ซึ่งทำให้จำนวนผลิตภัณฑ์ป้องกันและกำจัดแมลง ลดลงจำกประมำณ 1000 ชนิด ในปี 1993 ลดลงเป็น 330 ชนิด (European Commission, 2009) มำตรกำรเหล่ำน้ีจะชว่ ยเพ่ิมศักยภำพในกำรใช้งำนของ BV อย่ำงไรก็ตำมควำมตอ้ งกำรท่ีเพิ่มข้ึนกอ่ ใหเ้ กิด ควำมกังวลอย่ำงมำกเกี่ยวกับกำรจัดหำผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ มำทดแทนสำรเคมีที่ถูกถอนออกไป (Hillocks, 2012; Lacey et al., 2015) หน่ึงอุปสรรคในกำรเพ่ิมควำมต้องกำรของผลิตภัณฑ์ BV ในเชิงพำณิชย์ (Bailey et al., 2010; Ehlers, 2011; Lapointe et al., 2012) คือหน่วยงำนกำกับดูแลในหลำยประเทศไม่สำมำรถลงทะเบียน ผลิตภัณฑ์ BV ได้อย่ำงสมบูรณ์ (Kabaluk et al., 2010; Gywnn, 2014) อำจเป็นเพรำะควำมล่ำช้ำของ

โรคแมลงที่เกดิ จำกเชือ้ ไวรัส 147 ระบบรำชกำรในบำงกรณี แต่บ่อยครั้งกำรขำดควำมเช่ียวชำญทำงด้ำนชีววิทยำ ของหน่วยงำนที่กำกับ ดแู ล จึงเกิดเป็นขอ้ จำกดั ที่สำคัญ (Bailey et al., 2010) บำงหน่วยงำนมีกฎระเบียบเช่น US EPA ดูเหมือนจะเป็นเชิงรุกในกำรพัฒนำควำมชำนำญท่ี เหมำะสมและมีแนวคิดในเชิงบวกเพื่ออำนวยควำมสะดวกในกำรลงทะเบียนผลิตภัณฑ์ BV มีระบบ ชอ่ งทำงพิเศษเพื่อติดตำมอย่ำงมีประสิทธิภำพ (Bailey et al., 2010) แต่สหภำพยุโรปแม้ว่ำจะสนับสนุน ในกำรใช้งำน (Ehlers, 2011) ยังมีควำมคิดเห็นของกำรขึ้นทะเบียนสำรฆ่ำแมลง ซึ่งระบบของสหภำพ ยุโรปใช้ระยะเวลำนำนและมีค่ำใช้จ่ำยทีส่ งู ข้ึน ทำใหก้ ำรขึ้นทะเบียนลดลงอย่ำงเห็นได้ชัด โดยเฉพำะอยำ่ ง ย่ิงจำกวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม ซ่ึงมักเป็นผู้นำทำงด้ำนนวัตกรรมสำรกำจัดศัตรูพืชและพัฒนำ ผลิตภัณฑ์สำรกำจดั ศตั รูพืชจลุ ชีพถงึ 80 % ของกลุม่ สำรชีวภณั ฑ์ทั้งหมด (Ravensberg, 2011) ไวรสั กำจดั แมลงในทศวรรษหนำ้ มีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งที่จำเป็นสำหรับผลิตภัณฑ์ BV ใหม่ท่ีใช้งำนได้กับศัตรูพืช ท่ีอำจเพิ่ม ผลกระทบเน่ืองจำกสำรเคมีถูกถอนออกไป ผลิตภัณฑ์ BV ในเชิงพำณิชย์หรือนำเข้ำสู่ตลำด จะข้ึนอยู่กับ ชนิดที่เป็นที่รู้จักกันดีและได้รับกำรศึกษำอย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 30 ปี มีควำมกังวลอย่ำงมำกเก่ียวกับควำม ขำดแคลนสำยพันธ์ุ BV ใหม่ ๆ เนื่องจำกควำมคืบหน้ำในกำรระบุ BV ใหม่ มีขอ้ จำกัดหลำยอย่ำง ต้ังแต่ปี 2010 มีควำมไม่ชัดเจนว่ำผลิตภัณฑ์อำรักขำพืชชนิดใหม่จะเกิดขึ้นในอนำคต นอกจำกน้ียังมีควำมจำเป็น ท่ีจะตอ้ งใช้เทคโนโลยีใหม่ในกำรผลิต BV ให้ได้ปริมำณมำก โดยมตี ้นทุนท่ีเหมำะสมสำหรบั กำรใช้ BV ใน ระดับแปลงใหญ่หรือในสภำพไร่ ถึงแม้ว่ำกำรผลิตไวรัสท่ีต้องเพำะเล้ียงในตัวแมลง จะเป็นเทคโนโลยีที่ ไดร้ บั กำรยอมรับ แต่กย็ งั ไม่สำมำรถขยำยเพ่ือตอบสนองควำมตอ้ งกำรในภำคกำรผลติ ได้ ซ่ึงจะนำไปสู่กำร ลดหรือกำรแทนท่ีสำรเคมีกำจัดศัตรูพืชสำหรับพืชไร่ในแปลงใหญ่ ประเด็นที่สำคัญท่ีต้องคำนึงถึงอ่ืน ๆ คอื กำรพัฒนำควำมเข้ำใจที่ดีข้ึนเกี่ยวกับวิธีกำรท่ี BV จะใช้ร่วมกับสำรชีวภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ รวมถึงกำรรวม กำรจดั กำรศัตรพู ชื แบบ IPM จะทำใหเ้ พม่ิ ประสิทธภิ ำพโดยรวมด้ำนอน่ื ๆ ได้ กำรใชเ้ ชอ้ื ไวรสั ปอ้ งกนั กำจดั แมลงในประเทศไทย กำรใช้เช้ือไวรัสป้องกันกำจัดแมลงในประเทศไทย เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 2506 โดยนักวิชำกำรกรม วิชำกำรเกษตร ได้สำรวจและศึกษำเช้ือไวรัส NPV ของหนอนกระทู้หอม (ปรีชำ และคณะ, 2523) หลังจำกน้ันเชื้อไวรัส NPV ได้รับควำมสนใจเป็นอย่ำงมำกในวงวิชำกำรมีกำรศึกษำ และวิจัยกัน อย่ำงแพร่หลำยโดยมีกำรศึกษำลักษณะโครงสร้ำงและองค์ประกอบของไวรัส NPV ในแมลงศัตรูพืช หลำยชนิด เช่น หนอนเจำะสมอฝ้ำย (สุดำวรรณ และคณะ, 2545) หนอนกระทู้หอม (ทิพย์วดี และ ศิรินันท์, 2530) หนอนคืบกะหล่ำปลี (ทิพย์วดี และพิสสวรรณ, 2527) รวมถึงหนอนไหม (Attathom and Sinchaisri, 1987) กำรทดสอบประสทิ ธภิ ำพของเชอื้ ไวรสั NPV ในกำรควบคมุ และเขำ้ ทำลำยหนอน กระทู้ผกั (สมชัย และคณะ, 2553; สมศกั ด์ิ, 2553) หนอนกระทู้หอม (อุรำพร และคณะ, 2553; สชุ ลวัจน์ และคณะ, 2553) หนอนเจำะสมอฝ้ำย (อิศเรส และคณะ, 2553ข; Mahattana-art et al., 1993) นอกจำกนี้ยังมีกำรศึกษำวิธีกำรเพำะขยำยพันธุ์เชื้อไวรัส NPV (อุทัย, 2534, 2544) และปัจจัยท่ีมีผลต่อ

โรคแมลงที่เกดิ จำกเช้ือไวรัส 148 กำรผลิตเชื้อไวรัส NPV (วันชัย, 2534; ทิพย์วดี, 2549) รวมถึงกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ของเชื้อไวรัส NPV (อัจฉรำ และคณะ, 2552ก) และกำรก่อตั้งโรงงำนต้นแบบเพ่ือผลิตเชื้อไวรัส NPV ในระดับอุตสำหกรรม (อทุ ยั และคณะ, 2540; อัจฉรำ และคณะ, 2552ข) จำกข้อมูลทำงวิชำกำรของกำรศึกษำลักษณะโครงสร้ำงของไวรัส NPV ในหนอนเจำะสมอฝ้ำย หนอนกระทู้หอม หนอนคืบกะหล่ำปลี และหนอนไหม ที่พบในประเทศไทยนั้น โครงสร้ำงของเชื้อไวรัส NPV ที่พบในหนอนแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่ำงกัน กล่ำวคือ ไวรัส NPV ท่ีพบในหนอนเจำะสมอฝ้ำย หนอนคืบกะหล่ำปลี และหนอนไหม เป็นชนิด single-embedded type แต่มีรูปร่ำง และขนำดผลึก โปรตีนท่ีแตกต่ำงกัน ในขณะท่ีเชื้อไวรัส NPV ที่พบในหนอนกระทู้หอมเป็นชนิด multiple-embedded type และมีโครงสร้ำงผลึกโปรตีนมีหลำยรูปแบบ (ทิพย์วดี, 2549) สำหรับประสิทธิภำพของเชื้อไวรัส NPV ในกำรเขำ้ ทำลำยแมลงศัตรูพชื ในประเทศไทย แสดงดังตำรำงที่ 7-3 จะเห็นไดว้ ่ำควำมสำมำรถของ เช้ือไวรัส NPV ในกำรควบคุมแมลงศัตรูพืช มีควำมแตกต่ำงกัน ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับชนิดและปริมำณของเช้ือ ท่ีใชใ้ นแต่ละกำรศึกษำไม่เท่ำกัน สภำพกำรทดลองมีท้งั ในห้องปฏิบัติกำรและในภำคสนำม รวมถึงจำนวน ครั้งที่มีกำรฉีดพ่น ชนิดและวัยของหนอนที่ศึกษำมีควำมแตกต่ำงกัน นอกจำกนี้รูปแบบวิธีกำรเตรียม และอำยุกำรเก็บรักษำเชื้อไวรัส NPV ยังมีผลโดยตรงต่อประสิทธิภำพกำรเข้ำทำลำยแมลงศัตรูพืช เช้ือไวรัส NPV เป็นจุลินทรีย์ที่พบได้ในธรรมชำติ สำมำรถนำมำใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืช โดยไม่มีสำรพิษ ตกค้ำงในส่ิงแวดล้อม มีควำมปลอดภัยต่อมนุษย์ สัตว์และพืช เช้ือไวรัส NPV มีควำมสำมำรถทำลำยแมลง ศัตรูพืชเป้ำหมำยได้อย่ำงจำเพำะเจำะจง อย่ำงไรก็ตำมกำรใช้เชื้อไวรัส NPV ในกำรป้องกันกำจัดแมลง ศัตรูพืช ยังมีข้อจำกัดบำงประกำร กล่ำวคือ เชื้อไวรัส NPV ไม่สำมำรถใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ทั่วไป ใช้ระยะเวลำในกำรก่อโรคกับแมลงนำน (ประมำณ 3-7 วนั ) กว่ำกำรใช้สำรเคมกี ำจัดแมลง นอกจำกน้ีเชื้อไวรัส NPV มคี วำมออ่ นแอตอ่ รังสอี ัลตรำไวโอเลตจำกแสงแดด (อุทยั , 2544) ปัจจุบันสำนักวิจัยพัฒนำกำรอำรักขำพืช กรมวิชำกำรเกษตร ได้พัฒนำผลิตภัณฑ์เช้ือไวรัส NPV ในเชิงกำรค้ำ เช่น DOA Bio-V1, DOA Bio-V2 และDOA Bio-V3 เพ่ือใช้ควบคุมหนอนกระทู้หอม หนอน เจำะสมอฝ้ำย และหนอนกระทู้ผัก ตำมลำดับ เช่นเดียวกันกับศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภำพ แห่งชำติ (ไบโอเทค) สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) ได้พัฒนำโรงงำน ตน้ แบบเชิงพำณิชยส์ ำหรับผลิตเชื้อไวรสั NPV เพื่อใช้ป้องกันกำจดั หนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก สำหรบั ตัวอย่ำงผลติ ภัณฑเ์ ชื้อไวรัส NPV ทม่ี ีจำหน่ำยในท้องตลำดของประเทศไทย แสดงดงั ตำรำงท่ี 7-4

โรคแมลงท่ีเกิดจำกเช้อื ไวรัส 149 ตำรำงท่ี 7-3 ประสิทธภิ ำพกำรเขำ้ ทำลำยแมลงศัตรูพืชของไวรสั Nucleopolyhedrovirus (NPV) ที่ เปน็ สำเหตขุ องโรคแมลงในประเทศไทย ไวรสั แมลงศตั รูพชื เปอรเ์ ซน็ ตก์ ำรตำย คณะผวู้ จิ ยั (จำนวนวนั )* หนอนกระทผู้ ัก 82 (ไม่ระบุ) สมชยั และคณะ (2553) NPV หนอนกระท้ผู ักในพรกิ 60 (5-7วนั ) สมศักดิ์ (2553) NPV (DOA Bio-V1) หนอนกระทหู้ อม 50-70 (7 วัน) อุรำพร และคณะ (2553) SeMNPV1 หนอนกระท้หู อม 93 (7 วัน) สุชลวัจน์ และคณะ (2553) HaNPV2 หนอนเจำะสมอฝ้ำยใน 65 (7 วัน) อศิ เรส และคณะ (2553ข) ทำนตะวัน HaNPV หนอนเจำะสมอฝำ้ ย 70-93 (ไมร่ ะบุ) Mahattana-art et al. (1993) 1Spodoptera exigua Multiple-nucleocapsid Nucleopolyhedrovirus, 2 Helicoverpa armigera Nucleopolyhedrovirus, *จำนวนวนั ทแ่ี สดงผลกำรตำยของแมลง ตำรำงท่ี 7-4 ตัวอยำ่ งผลิตภณั ฑไ์ วรัส Nucleopolyhedrovirus (NPV) ใชก้ ำจัดแมลงศัตรูพืช ที่มีกำร จำหนำ่ ยในประเทศไทย* ชื่อผลติ ภณั ฑ์ บริษทั /หนว่ ยงำน ไวรสั แมลงศตั รพู ชื เนส-เอ แอพพลำยเค็ม NPV หนอนเจำะสมอฝำ้ ย เจมสตำร์ โปรเจค็ ฟลิ ด์ NPV เพื่อป้องกนั กำจัดแมลงศตั รูพืช นำโน่-เอก็ ซ์ โปรเจค็ ฟลิ ด์ NPV หนอนกระทหู้ อม DOA Bio-V1 กรมวชิ ำกำรเกษตร NPV หนอนกระทู้หอม DOA Bio-V2 กรมวิชำกำรเกษตร NPV หนอนเจำะสมอฝำ้ ย DOA Bio-V3 กรมวิชำกำรเกษตร NPV หนอนกระทู้ผัก ลิทูรำ่ ศนู ยบ์ ริหำรศัตรูพืช NPV หนอนกระทู้ผกั จงั หวัดชัยนำท ไบออส-อี ศูนยบ์ ริหำรศัตรูพืช NPV หนอนกระทู้หอม จังหวดั ชัยนำท คอนโทรล-อำร์ ศนู ยบ์ รหิ ำรศตั รูพืช NPV หนอนเจำะสมอฝำ้ ย จงั หวัดชัยนำท *เรียบเรียงจำกผลติ ภัณฑ์ที่มีจำหน่ำยในท้องตลำด

โรคแมลงท่เี กิดจำกเชอื้ ไวรัส 150 7.7 สรปุ เชื้อไวรัสท่ีเป็นสำเหตุของโรคในแมลง สำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ (1) ดีเอ็นเอไวรัส ได้แก่ Baculoviridae, Polydnaviridae, Poxviridae, Ascoviridae, Iridoviridae และ Parvoviridae และ (2) อ ำร์ เอ็ น เอ ไว รั ส ได้ แ ก่ Birnaviridae, Metaviridae, Nodaviridae, Picornaviridae, Reoviridae, Rhabdoviridae และ Tetraviridae กลไกกำรเข้ำทำลำยแมลงของเช้ือไวรัส เร่ิมจำกอนุภำคไวรัสเข้ำสู่ ทำงเดินอำหำรของแมลง และในสภำพทำงเดินอำหำรท่ีเป็นด่ำง สำมำรถย่อยอนุภำคไวรัสและปล่อย สำรพันธุกรรมเข้ำไปในนิวเคลียสของเซลล์แมลง ไวรัสมีกำรจำลองตัวเองเพิ่มข้ึน หลังจำกนั้นไวรัส แพร่กระจำย เข้ำทำลำยเซลล์และเนื้อเย่ือของแมลง จนกระท่ังทำให้แมลงตำย ลักษณะอำกำรจำเพำะท่ี เกิดจำกเช้ือไวรัส คือ หนอนของแมลงจะตำยในลักษณะท่ีใช้ขำเทียมเกำะอยู่บนกิ่งไม้ และห้อยหัวลง เช้ือไวรัสที่เป็นสำเหตุของโรคในแมลงที่สำคัญ ได้แก่ Nucleopolyhedrovirus (NPV) 7.8 เอกสำรอำ้ งองิ ทพิ ย์วดี อรรถธรรม และพิสสวรรณ พูลผล. 2527. นิวเคลียร์โพลิฮีโดรซสี ไวรสั ของหนอนคืบกะหลำ่ ปลีใน ประเทศไทย. ว. เกษตรศำสตร์ (วทิ ย.). 18, 136-143. ทิพย์วดี อรรถธรรม และศิรินันท์ เอี่ยมประภำ. 2530. สัณฐำนวทิ ยำ โครงสร้ำงจุลภำคและโรควิทยำของ นวิ เคลียร์โพลิฮีโดรซสี ไวรัสของหนอนกระทู้หอม, Spodoptera exigua. ว. เกษตรศำสตร์ (วิทย.). 21, 157-170. ทิพย์วดี อรรถธรรม. 2549. ไวรัสของแมลง : นิวคลีโอโพลิฮีโดรไวรัส. สำนักพิมพ์มหำวิทยำลัย เกษตรศำสตร์, กรงุ เทพฯ. ปรีชำ อำรีกุล ชัย เชษฐสมบัติ อุทัย เกตุนุติ และทนงจิตร วงษ์ศิริ. 2523. ผลสำเร็จของกำรใช้เช้ือไวรัส กำจัดหนอนกระทู้หอม. หน้ำ 61-62. ใน : กำรประชุมทำงวิชำกำรของมหำวิทยำลัย เกษตรศำสตร์ ครั้งท่ี 18. 28-30 มกรำคม 2523. มหำวทิ ยำเกษตรศำสตร์, กรุงเทพฯ. วันชัย ศิริวัฒนำกุล และทิพย์วดี อรรถธรรม. 2534. ปัจจัยบำงประกำรท่ีมีผลต่อกำรผลิตเชื้อนิวเคลียร์ โพล่ีฮีโดรซีสไวรัสของหนอนเจำะสมอฝ้ำยอเมริกัน. หน้ำ 343-353. ใน : กำรประชุมทำงวิชำกำรของ มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ คร้ังท่ี 29. 4-7 กุมภำพันธุ์ 2534. มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์, กรงุ เทพฯ. สมชัย สุวงศ์ศักด์ิศรี อิศเรส เทียนทัด ภัทรพร สรรพนุเครำะห์ และรัตนำ นชะพงษ์. 2553. กำรศึกษำ ประสิทธิภำพและกรรมวิธีกำรอบแห้งไวรัสเอ็นพีวี กำจัดหนอนกระทู้ผัก. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://it.doa.go.th/refs/files/1626_2553.pdf (19 กนั ยำยน 2553). สมศักด์ิ ศิริผลต้ังมั่น. 2553. ประสิทธิภำพแบคทีเรีย ไวรัส และสำรฆ่ำแมลงในกำรป้องกันกำจัดหนอน กระทู้ผักและผลกระทบต่อแมลงศัตรูธรรมชำติในพริก. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://it.doa.go.th/refs/files/1560_2553.pdf (19 กนั ยำยน 2553). สุชลวัจน์ ว่องไวลิขิต สำทิพย์ มำลี และเสำวนิตย์ โพธ์ิพูนศักด์ิ. 2553. กำรทดสอบประสิทธิภำพ ผลิตภัณฑ์ไวรัส NPV ของหนอนกระทู้หอมจำกเซลล์เพำะเลี้ยง. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://it.doa.go.th/refs/files/1625_2553.pdf (19 กันยำยน 2553).

โรคแมลงท่ีเกดิ จำกเชื้อไวรสั 151 สุดำวรรณ เชยชมศรี มณี ตันติรุ่งกิจ วิน เชยชมศรี และทิพย์วดี อรรถธรรม. 2545. กำรเพิ่มปริมำณของ MP แ ล ะ FP variants ข อ ง Helicoverpa armigera nucleopolyhedrovirus ใ น เซ ล ล์ เพำะเลี้ยงของ Heliothis zea. หน้ำ 74-81. ใน : กำรประชุมทำงวิชำกำรของมหำวิทยำลัย เกษตรศำสตร์ ครัง้ ที่ 40. 4-7 กุมภำพันธุ์ 2545. มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์, กรุงเทพฯ. อัจฉรำ ตันติโชดก อิศเรส เทียนทัด และสมชัย สุวงศ์ศักดิ์ศรี. 2552ก. กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ไวรัส NPV เพื่อควบคุมหนอนกระทู้ผัก. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล : http://it.doa.go.th/refs/files/ 1179_2552.pdf (19 กันยำยน 2553). อัจฉรำ ตันติโชดก อิศเรส เทียนทัด และสมชัย สุวงศ์ศักดิ์ศรี. 2552ข. รูปแบบกำรผลิตขยำยไวรัส NPV หนอนกระทู้ผักในระดับอุตสำหกรรม. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล : http://it.doa.go.th/ refs/files/1180_2552.pdf (19 กันยำยน 2553). อิศเรส เทียนทัด อัจฉรำ ตันติโชดก ภัทรพร สรรพนุเครำะห์ และสมชัย สุวงศ์ศักดิ์ศรี. 2553ข. กำร ทดสอบประสิทธิภำพของแบคทีเรีย BT และ ไวรัส NPV เพ่ือควบคุมหนอนเจำะสมอฝ้ำยใน ทำนตะวัน. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล : http://it.doa.go.th/refs/files/1622_2553.pdf (19 กนั ยำยน 2553). อุทัย เกตุนุติ สุชลวัจน์ ว่องไวลิขิต และพิมลพร นันทะ. 2540. โรงงำนต้นแบบกำรผลิตเชื้อไวรัส NPV. หน้ำ 326-330. ใน : เอกสำรวชิ ำกำรป้องกันกำจัดศัตรูพชื โดยวิธผี สมผสำน. กองกีฏและสัตววิทยำ กรมวชิ ำเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั , กรุงเทพฯ. อุทัย เกตุนุติ. 2534. กำรควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยไวรัส. หน้ำ 118-147. ใน : เอกสำรวิชำกำรกำรควบคุม แมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. กลุ่มงำนวิจัยกำรปรำบศัตรูพืชทำงชีวภำพ กองกีฏและสัตววิทยำ กรมวิชำกำรเกษตร. อุทัย เกตุนุติ. 2544. กำรควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยไวรัส NPV. หน้ำ 141-182. ใน : เอกสำรวิชำกำรกำร ควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีเพื่อกำรเกษตรยั่งยืน. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. อุรำพร หนูนำรถ สมรวย รวมชัยอภิกุล และทวีศักด์ิ ชโยภำส. 2553. ทดสอบประสิทธิภำพแบคทีเรีย ไวรัส และสำรฆ่ำแมลงในกำรป้องกันกำจัดหนอนกระทู้หอม. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล : http://it.doa.go.th/refs/files/1109_2552.pdf (19 กนั ยำยน 2553). Arthurs, S.P., L.A. Lacey and F. de la Rosa. 2008b. Evaluation of a granulovirus (PoGV) and Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki for control of the potato tuberworm in stored tubers. J. Econ. Entomol. 101, 1540–1546. Arthurs, S., L.A. Lacey and R. Fritts Jr. 2005. Optimizing the use of the codling moth granulovirus: effects of application rate and spraying frequency on control of codling moth larvae in Pacific Northwest apple orchards. J. Econ. Entomol. 98, 1459–1468.

โรคแมลงทีเ่ กิดจำกเชื้อไวรสั 152 Arthurs, S.P., L.A. Lacey and R.W. Behle. 2006. Evaluation of spray-dried lignin-based formulations and adjuvants as ultraviolet light protectants for the granulovirus of the codling moth, Cydia pomonella (L). J. Invertebr. Pathol. 93, 88–95. Asano, S. 2005. Ultraviolet protection of a granulovirus product using iron oxide. Appl. Entomol. Zool. 40, 359–364. Attathom, T. and N. Sinchaisri. 1987. Nuclear polyhedrosis virus isolated from Bombyx mori in Thailand. Sericologia. 27, 287-295. Bailey, A., D. Chandler, W.P. Grant, J. Greaves, G. Prince and M. Tatchell, 2010. Biopesticides: Pest Management and Regulation. CABI International, Wallingford, 232 pp. Ballard, J., D.J. Ellis and C.C. Payne, 2000b. The role of formulation additives in increasing the potency of Cydia pomonella granulovirus for codling moth larvae, in laboratory and field experiments. Biocontrol Sci. Technol. 10, 627–640. Behle, R. and T. Birthisel. 2014. Formulation of entomopathogens as bioinsecticides. In : Morales-Ramos,J.A., Guadalupe Rojas, M., Shapro-Ilan, D.L. (Eds.), Mass Production of Beneficial organisms. Elsevier, Amsterdam, pp. 483–517. Behle, R.W. and H.J.R. Popham. 2012. Laboratory and field evaluations of efficacy of a fast killing baculovirus isolate from Spodoptera frugiperda. J. Invertebr. Pathol. 109, 194–200. Belloncik, S. and H. Mori. 1998. Cypoviruses. In : Miller, L.K., Ball, A.L. (Eds.), The Insect Viruses. Plenum Press, New York, pp. 337–364. Bergoin, M. and P. Tijssen. 1998. Biological and molecular properties of densoviruses and their use in protein expression and biological control. In : Miller, L.K., Ball, L.A. (Eds.), The Insect Viruses. Plenum, New York, pp. 141–169. Bixby-Brosi, A.J. and D.A. Potter. 2010. Evaluating a naturally occurring baculovirus for extended biological control of the black cutworm (Lepidoptera : Noctuidae) in golf course habitats. J. Econ. Entomol. 103, 1555–1563. Black, B.C., L.A. Brennan, P.M. Dierks and I.E. Gard. 1997. Commercialisation of baculovirus insecticides. In : Miller, L.K. (Ed.), The Baculoviruses. Plenum Press, New York, pp. 341–387. Blommers, L.H.M. 1994. Integrated pest management in European apple orchards. Annu. Rev. Entomol. 39, 213–241.

โรคแมลงท่เี กิดจำกเชอ้ื ไวรสั 153 Bonning, B.C., J.A. Boughton, H. Jin and R.L. Harrison. 2002. Genetic enhancement of baculovirus insecticides. In: Upadhyay, K. (Ed.), Advances in Microbial Control of Insect Pests. Kluwer Academic, Plenum, New York, pp. 109–126. Burdan, J.P., R.S. Hails, J.D. Windass, M.M. Suner and J.S. Cory. 2000. Infectivity, speed of kill and productivity of a baculovirus expressing the itch mite toxin txp-1 in a second and forth instar of Trichoplusia ni. J. Invertebr. Pathol. 75, 226–236. Burges, H.D. and K.A. Jones. 1998. Formulation of bacteria, viruses and protozoa to control insects. In: Burges, H.D. (Ed.), Formulation of Microbial Biopesticides. Kluwer Academic Publishers, Dordrecht, pp. 33–127. Cadogan, B.L., R.D. Scharbach, K.W. Brown, P.M. Ebling, N.J. Payne and R.E. Krause. 2004. Experimental aerial application of a new isolate of nucleopolyhedrovirus, CfMNPV against Choristoneura fumiferana (Lepidoptera : Tortricidae). Crop Protect. 23, 1–9. Charmillot, P.J., D. Pasquier and A. Scalo. 1998. Le virus de la granulose du carpocapse Cydia pomonella: 2. Efficacité en microparcelles, rémanence et rôle des adjuvants. Rev. Suisse Viticult. Arboricult. Horticult. 30, 61–64. Cherry, A.J. and R.L. Gwynn. 2007. Perspective on the development of biocontrol in Africa. Biocontrol Sci. Technol. 17, 665–676. Christian, P.D., D. Murray, R. Powell, J. Hopkinson, N.N. Gibb and T.N. Hanzlik. 2005. Effective control of a field population of Helicoverpa armigera by using the small RNA virus Helicoverpa armigera stunt virus (Tetraviridae : Omegatetravirus). J. Econ. Entomol. 98, 1839–1847. Cory, J.S. and H. Evans. 2007. Viruses. In : Lacey, L.A., Kaya, H.K. (Eds.), Field Manual of Techniques in Invertebrate Pathology : Application and Evaluation of Pathogens for Control of Insects and Other Invertebrate Pests, second ed. Springer, Dordrecht, The Netherlands, pp. 149–174. Cory, J.S. and K. Hoover. 2006. Plant mediated effects in insect-pathogen interactions. Trends Ecol. Evol. 21, 278–286. Cross, J.V., D. Winstanley, N. Naish, S. Helton, G. Keane, R. van Wezel and D. Gakek. 2005. Semiochemical driven auto-dissemination of Cydia pomonella and Adoxophyes orana baculoviruses. IOBC Bull. 28, 319–324. Cross, J.V., M.G. Solomon, D. Chandler, P. Jarrett, P.N. Richardson, D. Winstanley, H. Bathon, J. Huber, B. Keller, G.A. Langenbruch and G. Zimmermann. 1999. Biocontrol of pests of apples and pears in Northern and Central Europe: 1. Microbial agents and nematodes. Biocontrol Sci. Technol. 9, 125–149.

โรคแมลงทีเ่ กดิ จำกเชือ้ ไวรัส 154 Cunningham, J.C. 1995. Baculoviruses as microbial pesticides. In : Reuveni, R. (Ed.), Novel Approaches to Integrated Pest Management. Lewis, Boca Raton, Florida, pp. 261–292. Davidson, E.W. 2012. History of insect pathology. pp. 13-28. In : F.E. Vega and H.K. Kaya (eds.). Insect Pathology. Elsevier, New York, USA. De Morães Lessa, M. and C.C. Medugno. 2001. Heteroflocculation of sulfatepolystyrene latex and Anticarsia gemmatalis nucleopolyhedrovirus as a model system for studying sunlight protection. J. Colloid Interface Sci. 239, 328–333. Department of Biotechnology India. 2007. List of Biopesticides and Their Producers. <http://www.dbtbiopesticides.nic.in/upfiles/st_doc/Listofbiopesticidesandcommerc ial producers.pdf> (accessed 20.01.14). Eberle, K.E. and J.A. Jehle, 2006. Field resistance of codling moth against Cydia pomonella granulovirus (CpGV) is autosomal and incompletely dominant inherited. J. Invertebr. Pathol. 93, 201–206. Eberle, K.E., S. Sayed, M. Rezapanah, S. Shojai-Estabragh and J.A. Jehle, 2009. Diversity and evolution of the Cydia pomonella granulovirus. J. Gen. Virol. 90, 662–671. Ehlers, R. (Ed.). 2011. Regulation of Biological Control Agents. Springer, Dordrecht. 416 pp. European Commission, 2009. EU Action on Pesticides Factsheet. Directorate - General for Health and Consumers, European Commission, ISBN 978-92-79-11599-8. <http <http://ec.europa.eu/food/plant/plant_protection_products/eu_policy/docs/factsh eet_pesticides_en.pdf> (accessed 12.07.14). Farrar, R.R., M. Shapiro and M. Shepard, 2007. Relative activity of baculoviruses of the diamondback moth Plutella xylostella (L) (Lepidoptera : Plutellidae). Biocontrol 52, 657–667. Food Standards Agency. 2013. Biannual Public Attitudes Tracker November 2013. Social Science Research Unit, Food Standards Agency, London, pp. 62. http://food.gov. uk/science/research/ssres/publictrackingsurvey/ (accessed 12.07.14). Franzmann, B.A., A.T. Hardy, D.A.H. Murray, R.G. Henzell. 2008. Host plant resistance and biopesticides: ingredients for successful integrated pest management (IPM) in Australian Sorghum production. Aust. J. Exp. Agric. 48, 1594–1600. Fritsch, E.K., J. Undorf-Spahn, C.P. Kienzle, W. Zebitz and J. Huber. 2005. Apfelwickler granulovirus : erste hinweise auf unterschiede in der empfindlichkeit lokaler apfelwickler populationen. Nachrichtenbl. Dtsch. Pflanzenschutzd 57, 29–34.

โรคแมลงทีเ่ กดิ จำกเช้อื ไวรสั 155 Glare, T.R., J. Caradus, W. Gelernter, T. Jackson, N. Keyhani, J. Kohl, P. Marrone, L. Morin and A. Stewart. 2012. Have biopesticides come of age? Trends Biotechnol. 30, 250–258. Gross, M. 2013. EU ban puts spotlight on complex effects of neonicotinoids. Curr. Biol. 23, R462–R464. Grzywacz, D., D. Moore and R.J. Rabindra. 2014a. Mass production of entomopathogens in less industrialized countries. In : Morales-Ramos, Juan A., Guadalupe Rojas, M., Shapiro-Ilan, David I. (Eds.), Mass Production of Beneficial Organisms. Elsevier, Amsterdam, pp. 519–553. Grzywacz, D., D. Parnell, G. Kibata, G. Odour, O.O. Ogutu, D. Miano and D. Winstanley. 2004. The development of endemic baculoviruses of Plutella xylostella (Diamondback moth, DBM) for control of DBM in East Africa. In : Endersby, N., Ridland, P.M. (Eds.), The Management of Diamondback Moth and Other Crucifer Pests. Proceedings of the 4th International Workshop, 26–29 November 2001, Melbourne, Victoria, Australia, pp. 197–206. Grzywacz, D., P.C. Stevenson, W.M. Mushobozi, S. Belmain and K. Wilson. 2014b. The use of indigenous ecological resources for pest control in Africa. Food Secur. in press. http://dx.doi.org/10.1007/s12571-013-0313-5. Grzywacz, D., W.L. Mushobozi, M. Parnell, F. Jolliffe and K. Wilson. 2008. The evaluation of Spodoptera exempta nucleopolyhedrovirus (SpexNPV) for the field control of African armyworm (Spodoptera exempta) in Tanzania. Crop Protect. 27, 17–24. Gywnn, R. (Ed.). 2014. The Manual of Biocontrol Agents, British Crop Protection Council. Alton, Hampshire, UK, p. 278. Harrison, R. and K. Hoover. 2012. Baculoviruses and other occluded insect viruses. In : Vega, F., Kaya, H. (Eds.), Insect Pathology. Elsevier, Amsterdam, pp. 73–131. Hauxwell, C., M. Tichon, P. Buerger and S. Anderson. 2010. Australia. In : Kabaluk, J.T., Svircev, A.M., Goettel, M.S., Woo, S.G. (Eds.), The Use and Regulation of Microbial Pesticides in Representative Jurisdictions Worldwide. IOBC Global, pp. 80–88. Herniou, E.A., B.M. Arif, J.J. Becnel, G.W. Blissard, B. Bonning, R. Harrison, J.A. Jehle, D.A. Theilmann and J.M. Vlak. 2012. Family Baculoviridae. In : King, A.M.Q., Adams, M.J., Carstens, E.B., Lefkowitz, E.J. (Eds.), Virus Taxonomy, Classification and Nomenclature of Viruses, Ninth Report of the International Committee on Taxonomy of Viruses. Elsevier Academic Press, Amsterdam, pp. 163–173.

โรคแมลงทเ่ี กดิ จำกเชื้อไวรัส 156 Hillocks, R. 2012. Farming with fewer pesticides; EU Pesticides review and resulting challenges for UK Agriculture. Crop Protect. 31, 85–93. Hoover, K., J.O. Washburn, and L.E. Volkman. 2000. Midgut-based resistance of Heliothis virescens to baculovirus infection mediated by phytochemicals in cotton. J. Insect Physiol. 6, 999–1007. Hoover, K., M.J. Stout, S.A. Alaniz, B.D. Hammock and S.S. Duffey. 1998. Influence of induced plant defences in cotton and tomato on the efficacy of baculoviruses on noctuid larvae. J. Chem. Ecol. 24, 253–271. Huger, A.M. 2005. The Oryctes virus : its detection, identification, and implementation in biological control of the coconut palm rhinoceros beetle, Oryctes rhinoceros (Coleoptera : Scarabaeidae). J. Invertebr. Pathol. 89, 78–84. Hunter-Fujita, F.R., P.F. Entwistle, H.F. Evans and N.E. Crook. 1998. Insect Viruses and Pest Management. Wiley, New York, USA. Ignoffo, C.M. 1999. The first viral pesticide: past present and future. J. Ind. Microbiol. Biotechnol. 22, 407–417. Jackson, T.A., A.M. Crawford and T.R. Glare. 2005. Oryctes virus-time for a new look at a useful biocontrol agent. J. Invertebr. Pathol. 89, 91–94. Jackson, T.A. 2009. The Use of Oryctes Virus for Control of Rhinoceros Beetle in the Pacific Islands. Use of Microbes for Control and Eradication of Invasive Arthropods Progress in Biological Control, vol. 6. Springer, New York, pp. 133–140. Jehle, J.A., G.W. Blissard, B.C. Bonning, J.S. Cory, E.A. Herniou, G.R. Rohrmann, D.A. Theilmann, S.M. Theim and J.M. Vlak. 2006. On the classification and nomenclature of baculoviruses : a proposal for revision. Arch. Virol. 151, 1257– 1266. Jones, K.A., N.S. Irving, G. Moawad, D. Grzywacz, A. Hamid and A. Farghaly. 1994. Field trials with NPV to control Spodoptera littoralis on cotton in Egypt. Crop Protect. 13, 337– 340. Kabaluk, T., A. Svircev, M. Goettel, S.G. (Eds.). Woo. 2010. Use and Regulation of Microbial Pesticides in Representative Jurisdictions Worldwide. IOBC Global, 108 pp. Kariuki, C.W. and A.H. McIntosh. 1999. Infectivity studies of a new baculovirus isolate for control of diamondback moth (Plutellidae : Lepidoptera). J. Econ. Entomol. 92, 1093–1098.

โรคแมลงท่ีเกิดจำกเชอ้ื ไวรัส 157 Kolodny-Hirsch, D.M., T. Sitchawat, T. Jansiri, A. Chenrchaivachirakul and U. Ketunuti. 1997. Field evaluation of a commercial formulation of the Spodoptera exigua (Lepidoptera : Noctuidae) nuclear polyhedrosis virus for control of Beet Armyworm on vegetable crops in Thailand. Biocontrol Sci. Technol. 7, 475–488. Kroschel, J. and L.A. (Eds.). Lacey. 2008. Integrated Pest Management for the Potato Tuber Moth, Phthorimaea operculella (Zeller) – A Potato Pest of Global Importance. Tropical Agriculture 20, Advances in Crop Research 10. Margraf Publishers, Weikersheim, Germany, 147 pp. Kunimi, Y. 2007. Current status and prospects on microbial control in Japan. J. Invertebr. Pathol. 95, 181–186. Lacey, L.A., D. Grzywacz, D.I. Shapiro-Ilan, R. Frutos, M. Brownbridge, and M.S. Goettel. 2015. Insect pathogens as biological control agents : Back to the future. J. Invertebr. Pathol. 132, 1-41. Lacey, L.A., D. Thomson, C. Vincent and S.P. Arthurs. 2008b. Codling moth granulovirus: a comprehensive review. Biocontrol Sci. Technol. 18, 639–663. Lacey, L.A. and J. Kroschel. 2009. Microbial control of the potato tuber moth (Lepidoptera: Gelechiidae). Fruit Veget. Cereal Sci. Biotechnol. 3, 46–54. Lapointe, R., D.K. Thumbi and C.J. Lucarotti. 2012. Recent advances in our knowledge of baculovirus molecular biology and its relevance for the registration of baculovirus- based products for insect pest population control. In : Soloneski, S., Larramendy, M.L. (Eds.), Integrated Pest Management and Pest Control. InTech Open Access Publisher, Rijeka, Croatia, pp.481–522, ISBN 978-953-307-926-4 (Chapter 21). Lasa, R.C., I. Pagola, J.E. Ibanez, J.E. Belda, P. Caballero and T. Williams. 2007. Efficacy of Spodoptera exigua multiple nucleopolyhedrovirus (SeMNPV) as a biological insecticide for beet armyworm in greenhouses in Southern Spain. Biocontrol Sci. Technol. 17, 221–232. Leuschner, R.G.K., T.P. Robinson, M. Hugas, P. Sandro Cocconcelli, F. Richard-Forget, G. Klein, T.R. Licht, C. Nguyen-The, A. Querol, M. Richardson, J.E. Suarez, U. Thrane, J.M. Vlak and A. von Wright. 2010. Qualified presumption of safety (QPS) : a generic risk assessment approach for biological agents notified to the European Food Safety Authority (EFSA). Trends Food Sci. Technol. 21, 425–435. Lucarotti, C.J., G. Moreau and E.G. Kettela. 2007. Abietiv™, a viral biopesticide for control of the balsam fir sawfly. In : Vincent, C., Goettel, M.S., Lazarovits, G. (Eds.),

โรคแมลงทเ่ี กดิ จำกเชือ้ ไวรัส 158 Biological Control : A Global Perspective. CAB International, Wallingford, UK, pp. 353–361. Mahattana-art, C., T. Attathom and J. Chanpaisang. 1993. Bioinsecticide formulation of nuclear polyhedrosis virus of the American bollworm, Helicoverpa armigera. pp. 110-119. In: Proceeding of the 31st Kasetsart University Annual Conference. February 3-6, 1993. Kasetsart University, Bangkok. Martignoni, M.E. 1999. History of TM biocontrol : the first registered virus based product for insect control of a forest insect. Am. Entomol. 45, 30–37. McGuire, M.R., P. Tamez-Guerra, R.W. Behle and D.A. Streett. 2001. Comparative field stability of selected entomopathogenic virus formulations. J. Econ. Entomol. 94, 1037–1044. Miller, L.K. (Ed.), 1997. The Baculoviruses. Plenum Press, New York, 477 pp. Moore, S.D., T. Pittaway, G. Bouwer and J.G. Fourie. 2004b. Evaluation of Helicoverpa armigera Nucleopolyhedrovirus (HearNPV) for control of Helicoverpa armigera (Lepidoptera : Noctuidae) on citrus in South Africa. Biocontrol Sci. Technol. 14, 239–250. Moore, S.D., W. Kirkman and P. Stephen. 2004a. Crytogran : a virus for biological control of false codling moth. S. Afr. Fruit J. 7, 56–60. Moreau, G. and C.J. Lucarotti. 2007. A brief review of the past use of baculoviruses for the management of eruptive forest defoliators and recent developments on a sawfly virus in Canada. For. Chronicle. 83, 105–112. Moscardi, F., M.L. de Souza, M.E.B. de Castro, M.L. Moscardi and B. Szewczyk. 2011. Baculovirus pesticides : present state and future perspectives. In : Ahmad, I.,Ahmad, F., Pichtel, J. (Eds.), Microbes and Microbial Technology. Springer, Dordrecht, pp. 415–445. Moscardi, F., M.L. de Souza, M.E.B. de Castro, M.L. Moscardi and B. Szewczyk. 2011. Baculovirus pesticides : present state and future perspectives. In : Ahmad, I., Ahmad, F., Pichtel, J. (Eds.), Microbes and Microbial Technology. Springer, Dordrecht, pp. 415–445. Moscardi, F. 1999. Assessment of the application of baculoviruses for the control of Lepidoptera. Annu. Rev. Entomol. 44, 257–289. Moscardi, F. 2007. Development and use of the nucleopolyhedrovirus of the velvetbean caterpillar in soybeans. In : Vincent, C., Goettel, M.S., Lazarovits, G. (Eds.), Biological Control: A Global Perspective. CAB International, Wallingford, UK, pp. 344–353.

โรคแมลงที่เกดิ จำกเชือ้ ไวรัส 159 Mudgal, S., A. De Toni, C. Tostivint, H. Hokkanen and D. Chandler. 2013. Scientific Support, Literature Review and Data Collection and Analysis for Risk Assessment on Microbial Organisms Used as Active Substance in Plant Protection Products – Lot 1 Environmental Risk Characterization. EFSA Supporting Publications, EN-518. 149 pp. <www.efsa.europa.eu/publications>. Nair, K.S.S., B. Babjan, T.V. Sajeev, V.V. Sudheendrakumar, M.I. Mohamed-Ali, R.V. Varma and K. Mohandas. 1996. Field efficacy of nuclear polyhedrosis virus for protection of teak against the defoliator Hyblea puera Cramer (Lepidorptera : Hyblaeidae). J. Biol. Control 10, 79–85. Nakai, M., C. Goto, T. Shiotsuki and Y. Kunimi. 2002. Granulovirus prevents pupation and retards development of Adoxophyes honmai larvae. Physiol. Entomol. 27, 157– 164. Nakai, M., N.T.T. Cuc. 2005. Field application of an insect virus in the Mekong Delta: Effects of a Vietnamese nucleopolyhedrovirus on Spodoptera litura (Lepidoptera: Noctuidae) and its parasitic natural enemies. Biocontrol Sci. Technol. 15, 443–453. Nakai, M. 2009. Biological control of Tortricidae in tea fields in Japan using insect viruses and parasitoids. Virol. Sinica 24, 323–332. O.E.C.D. 2002. Consensus Document on Information Used in Assessment of Environmental Applications Involving Baculoviruses. Series on Harmonisation of Regulatory Oversight in Biotechnology No. 20. ENV/JM/ MONO (2002) 1 OECD. Panazzi, A.R. 2013. History and contemporary perspectives of the integrated pest management of soybean in Brazil. Neotrop. Entomol. 42, 119–127. Peng, H., X.M. Zhou and R.J. Sheng. 2000. Development of Dendrolimus punctatus wenshanensis cytoplasm polyhedrosis virus (Dpw CPV) insecticide. Virol. Sinica 15, 155–161. Podgewaite, J.D. 1999. Gypchek a biological insecticide for gypsy moth. J. For. 97, 16–19. Prater, C.A., C.T. Redmond, W. Barney, B.C. Bonning and D.A. Potter. 2006. Microbial control of black cutworm (Lepidoptera: Noctuidae) in turfgrass using Agrotis ipsilon multiple nucleopolyhedrovirus. J. Econ. Entomol. 99, 1129–1137. Rabindra, R.J., and D. Grzywacz. 2010. India. In: Kabuluk, T., Svircev, A., Goettel, M., Woo, S.G. (Eds.), Use and Regulation of Microbial Pesticides in Representative Jurisdictions Worldwide. IOBC Global, pp. 12–17.

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเชื้อไวรสั 160 Ramle, M., M.B. Wahid, K. Norman, T.R. Glare and T.A. Jackson. 2005. The incidence and use of Oryctes virus for control of rhinoceros beetle in oil palm plantations in Malaysia. J. Invertebr. Pathol. 89, 89–95. Ravensberg, W.J. 2011. A Roadmap to the Successful Development and Commercialization of Microbial Pest Control Products for Control of Arthropods. Springer, Dordrecht, The Netherlands, 383 pp. Reid, S., L. Chan and M. Van Oers. 2014. Production of entomopathogenic viruses. In: Morales-Ramos, Juan A., Guadalupe Rojas, M., Shapiro-Ilan, David I. (Eds.), Mass Production of Beneficial Organisms. Elsevier, Amsterdam, pp. 437–482. Rowley, D.L., H.J.R. Popham and R.L. Harrison. 2011. Genetic variation and virulence of nucleopolyhedroviruses isolated worldwide from the heliothine pests Helicoverpa armigera, Helicoverpa zea, and Heliothis virescens. J. Invertebr. Pathol. 107, 112–126. Sauphanor, B., M. Berling, J.F. Toubon, M. Reyes and J. Delnatte. 2006. Carpocapse des pommes: cas de résistance aux virus de la granulose dans le Sud-Est. Phytoma 590, 24–27. Shapiro-Ilan, D.I., D.J. Bruck and L.A. Lacey. 2012. Priciples of epizootiology and microbial control. pp.29-72. In: F.E. Vega and H.K. Kaya (eds.). Insect Pathology. Elsevier, New York, USA. Shapiro, M., S. El-Salamouny and B.M. Shepard. 2008. Green tea extracts as ultraviolet protectants for the beet armyworm, Spodoptera exigua, nucleopolyhedrovirus. Biocontrol Sci. Technol. 18, 591–603. Singh, S., S. Moore, S. Spillings and D. Hendry. 2003. South African isolate of Cryptophlebia leucotreta granulovirus. J. Invertebr. Pathol. 83, 249–252. Slavicek, J.M. 2012. Baculovirus enhancins and their role in viral pathogenicity. In : Adoga, M.P. (Ed.), Molecular Virology. Intech, Rijecka, pp. 147–155. Sosa-Gómez, D.R., F. Moscardi, B. Santos, L.F.A. Alves and S.B. Alves. 2008. Produção e uso de virus para o controle de pragas na América Latina. In: Alves, S.B., Lopes, R.B. (Eds.), Controle Micobiano de Pragas na América Latina: avanços e desafios. Fundação de Estudos Agrários Luiz de Queiroz, Piracicaba, Brasil, pp. 49–68. Sporleder, M. 2003. The granulovirus of the potato tuber moth Phthorimaea operculella (Zeller): characterization and prospects for effective mass production and pest control. In: Kroschel, J. (Ed.), Advances in Crop Research, vol. 3. Margraf Verlag, Weikersheim, Germany, p. 196.

โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเชื้อไวรสั 161 Sun, X., Peng, H., 2007. Recent advances in control of insect pests by using viruses in China. Virol. Sinica 22, 158–162. Szewcyk, B., L. Hoyos-Carvajal, M. Paluszek, I. Skrzecz and M. Lobo de Souza. 2006. Baculoviruses re-emerging biopesticides. Biotechnol. Adv. 24, 143–160. Tanada, Y. and H.K. Kaya. 1993. Insect Pathology. Academic Press, New York, USA. Tanada, Y. 1964. A granulosis virus of the codling moth, Carpocapsae pomonella (Linnaeus) (Olethreutidae, Lepidoptera). J. Insect Pathol. 6, 378–380. Theilmann, D.A., G.W. Blissard, B. Bonning, J. Jehle, D.R. O’Reilly, G.F. Rohrmann, S. Theim and J. Vlak. 2005. Family baculoviridae. In: Fauquet, C.M., Mayo, M.A., Maniloff, M., Desselberger, U., Ball, L.A. (Eds.), Virus Taxonomy, Eighth Report of the International Committee on Virus Taxonomy. Elsevier Press, San Diego, pp. 177– 185. Vail, P.V., D.F. Hoffmann and J.S. Tebbets. 1993. Autodissemination of Plodia interpunctella (Hüber) (Lepidoptera : Pyralidae) granulosis virus by healthy adults. J. Stored Prod. Res. 29, 71–74. Vail, P.V., D.L. Hostetter and F. Hoffmann. 1999. Development of multi-nucleocapsid polyhedroviruses (MNPVs) infectious to loopers as microbial control agents. Integr. Pest Manage. Rev. 4, 231–257. Vail, P.V., J.S. Tebbets, D.C. Cowan and K.E. Jenner. 1991. Efficacy and persistence of a granulosis virus against infestations of Plodia interpunctella (Hüber) (Lepidoptera: Pyralidae) on raisins. J. Stored Prod. Res. 27, 103–107. Valicente, F., C. Macedo and J. Wolff. 2008. A new baculovirus isolate that doesn’t cause liquefaction of the integument in Spodoptera frugiperda dead larvae. In: Proceedings XXIII International Congress of Entomology, 6–12 July, 2008, Durban, South Africa, pp. 1232. Van Beek, N. and D.C. Davies. 2009. Baculovirus production in insect larvae. In: Murhammer, D.W. (Ed.), Methods in Molecular Biology 338, Baculovirus and Insect Cell Expression Protocols. Humana Press, Towata, USA, pp. 367–378. Van Beek, N. 2007. Can Africa learn from China? Fruit Veget. Technol. 7, 32–33. Vincent, C., M. Andermatt and J. Valero. 2007. Madex and VirosoftCP4, viral pesticides for codling moth control. In : Vincet, C., Goettel, M.S., Lazarovits, G. (Eds.), Biological Control: A Global Perspective. CAB International, Wallingford, pp. 336–343. Williams, T., H.C. Aredondo-Bernal and L.A. Roderigez-del-Bosque. 2013a. Biological pest control in Mexico. Annu. Rev. Entomol. 58, 119–140.

โรคแมลงที่เกิดจำกเชือ้ ไวรัส 162 Yang, M.M., L.L. Meng, Y.A. Zang, Y.Z. Wang, L.J. Qu, Q.H. Wang and J.Y. Ding. 2012. Baculoviruses and insect pest Control in China. Afr. J. Microbiol. Res. 6, 214–218. Yang, Z. 2007. Recent advances in the biological control of invasive forest pests in China. In: International Workshop on Biological Control of Invasive Species of Forests Beijing, P.R. China, September 20–25, 2007. pp. 9–20. <http://www.fs.fed.us/fores thealth /technology /pdfs/IWBCISF_proceedings.pdf> (accessed 03.02.14). Zichová, T., J. Stará, J.K. Kundu, K.E. Eberle and J.E. Jehle. 2013. Resistance to Cydia pomonella granulovirus follows a geographically widely distributed inheritance type within Europe. Biocontrol 58, 525–534.

บทที่ 8 โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเชอื้ โพรโทซวั และไมโครสปอรเิ ดยี (Insect Disease Caused by Protozoa and Microsporidia) เช้ือโพรโทซัวเป็นเชื้อสำเหตุหน่ึงของโรคท่ีเกิดในแมลง มีกำรศึกษำกันมำเป็นระยะเวลำนำน และด้วยวิทยำกำรทำงวิทยำศำสตร์ที่กำ้ วหน้ำไปอย่ำงรวดเรว็ ทำใหข้ ้อมูลของเชื้อโพรโทซัวที่เป็นสำเหตุของ โรคแมลง มีกำรปรับเปล่ียนไปจำกเดิมเป็นอย่ำงมำก ในปัจจุบันมีกำรแยกเช้ือไมโครสปอริเดียออกจำก เชื้อโพรโทซัว เนื่องจำกมคี วำมแตกต่ำงกันทำงวิวัฒนำกำร สำหรับในบทนี้จะกล่ำวถึงควำมสำคญั ของเชื้อ โพรโทซัว และไมโครสปอรเิ ดีย ทเ่ี ป็นสำเหตุของโรคในแมลง โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเชอื้ โพรโทซวั เชื้อโพรโทซัวก่อให้เกิดโรคในแมลงได้ แต่ไม่สำมำรถสร้ำงควำมรุนแรงได้เท่ำกับเชื้อสำเหตุ โรคแมลงชนิดอ่ืน ๆ เชื้อโพรโทซัวทำให้แมลงอ่อนแอ ผิดปกติ และเป็นช่องทำงให้เชื้อชนิดอื่นเข้ำทำลำย ซ้ำเติม เชื้อโพรโทซัวเป็นเช้ือสำเหตุท่ีทำให้เกิดโรคในตั๊กแตนที่เป็นศัตรูพืช และแมลงพำหะ เช่น ยุง หมัด อย่ำงไรก็ตำมกำรศึกษำเชื้อโพรโทซัวในแมลงยังมีข้อมูลค่อนข้ำงจำกัด ดังน้ันกำรวิจัย เกี่ยวกบั เชือ้ โพรโทซวั ทเี่ ปน็ สำเหตขุ องโรคในแมลงจึงเปน็ ส่ิงทจี่ ำเปน็ ตอ้ งศกึ ษำเพ่ิมเติม 8.1 ลกั ษณะโครงสรำ้ งของเชอ้ื โพรโทซวั โพรโทซัวเป็นสัตว์เซลล์เดียว มีขนำดต้ังแต่ 1-150 ไมโครเมตร โดยเซลล์ของโพรโทซัว มีออร์แกเน ลล์อยู่ใน ไซโตพ ลำสซึม คล้ำยสัตว์ชั้น สูง (เช่น mitochondria, golgi body และ endoplasmic reticulum) มีผนังเยื่อหุ้มนิวเคลียสชัดเจน โครงสร้ำงของโพรโทซัว มี 2 รูปแบบ คือ รูปร่ำงสมมำตร (symmetry) และรูปร่ำงแบบไม่สมมำตร (asymmetry) โพรโทซัวมีโครงสร้ำงของ ซีเลีย (cilia) หรือแฟลกเจลลัม (flagellum) เพื่อใช้ในกำรเคลื่อนท่ี โพรโทซัวไม่มีระบบทำงเดินอำหำร อย่ำงชัดเจน กำรกินอำหำรจะใช้วิธีโอบล้อมอำหำรเข้ำสู่ไซโตพลำสซึมของเซลล์ ซ่ึงเรียกว่ำ phagocytosis หรือใช้วิธีเว้ำเซลล์เข้ำไปในไซโตพลำสซึมเกิดเป็นถุง (vesicle) เพื่อนำอำหำรเข้ำสู่เซลล์ ซ่ึง เรียกว่ำ pinocytosis ภำพที่ 8-1 แสดงโครงสร้ำงเซลล์โพรโทซัว Ciliate ที่เป็นสำเหตุของโรค ในแมลง (Boucias and Pendland, 1998)

โรคแมลงทีเ่ กดิ จำกเชื้อโพรโทซวั และไมโครสปอรเิ ดยี 164 ภำพท่ี 8-1: เซลล์โพรโทซัว Ciliate ทเี่ ปน็ สำเหตขุ องโรคในแมลง (Boucias and Pendland, 1998) 8.2 กำรจำแนกชนดิ ของโพรโทซวั เชื้อโพรโทซัวจัดเป็นสิ่งมีชีวิตขนำดเล็กที่อยู่ในอำณำจักร (Kingdom) Protista โดยเชื้อโพรโทซัวมี กำรจัดจำแนกออกเป็น 7 ไฟลัม (Phylum) ส่วนใหญ่พบว่ำเป็นเช้ือท่ีทำให้เกิดโรคในสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลัง และสั ตว์ ไม่ มี กระดู กสั น ห ลั ง ส ำห รั บ เชื้ อโพ รโท ซั วท่ี พ บ ใน แมลง แบ่ งออกเป็ น 5 ไฟ ลั ม คื อ Zoomastigina, Rhizopoda, Apicomplexa, Haplosporidia และ Ciliophora โดยตั วอย่ ำงของ เช้อื โพรโทซวั ในแต่ละไฟลมั แสดงดงั ตำรำงท่ี 8-1 ตำรำงท่ี 8-1 กำรจำแนกเชอ้ื โพรโทซวั ทีพ่ บในแมลง (ดดั แปลงจำก Tanada and Kaya, 1993) Taxa Representative genera Phylum Zoomastigina Class Kinetoplastida Herpetomonas, Crithidia, Leptomonas Class Retortamonadida Retortamonas, Chilomastix Class Diplomonadida Octomitus Class Pyrsonymphida Oxymonas, Pyrsonympha Class Parabasalia Trichomonas, Devoscovinia, Trichonympha Phylum Rhizopoda Order Eugregarinida Gregarina, Ascogregarina Order Neogregarinida Mattesia, Farinocystis, Ophryocystis

โรคแมลงท่ีเกดิ จำกเชือ้ โพรโทซวั และไมโครสปอริเดีย 165 ตำรำงที่ 8-1 กำรจำแนกเชอื้ โพรโทซัวท่พี บในแมลง (ดดั แปลงจำก Tanada and Kaya, 1993) (ต่อ) Taxa Representative genera Class Coccidia Order Adeleida Adelina, Legerella, Barrouxia Phylum Haplosporidia Class Haplosporea Order Haplosporida Haplosporidium Phylum Ciliophora Subphylum Postciliodesmatophora Class Spirotrichea Order Heterotrichida Nyctotherus Subphylum Rhabdophora Class Litostomatea Balantidium Subphylum Cyrtophora Class Phyllopharyngea Subclass Suctoria Order Evaginogenida Discophrya, Rhynchophrya Class Oligohymenophorea Subclass Hymenostomia Order Hymenostomatida Tetrahymena, Lambornella Subclass Peritrichia Order Mobilida Epistylis, Opercularia 8.3 กำรสบื พนั ธขุ์ องโพรโทซัว กำรสืบพันธขุ์ องโพรโทซัว แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ (1) กำรสบื พันธุ์แบบไม่อำศัยเพศ (asexual) โดยอำศัยกำรแบ่งตัวแบบ binary fission, merogony และ budding กำรแบ่งตัวแบบ binary fission เป็นกำรแบ่งตัวแบบทวีคูณ เร่ิมจำกหน่ึงเซลล์แบ่งตัวแล้วได้เซลล์ใหม่จำนวนสองเซลล์ ในขณะท่ีกำร แบ่งตัวแบบ merogony เป็นกำรแบง่ ตัวโดยเรมิ่ ต้นจำกนวิ เคลยี สของเซลลเ์ รม่ิ ต้น มีกำรแบ่งตัวหลำยครั้ง หลังจำกน้ันจงึ สร้ำงผนงั เซลล์ขึ้นมำแยกแต่ละนิวเคลียสและไซโตพลำสซึมให้เป็นอสิ ระจำกกัน เรียกเซลล์ ใหม่ทีเ่ กิดขนึ้ วำ่ merozoite ส่วนกำรแบง่ ตัวแบบ budding คือกำรแตกหน่อ (2) กำรสืบพนั ธ์ุแบบอำศัย เพศ (sexual) โดยใช้เซลล์เพศ ได้แก่ conjugation และ syngamy สำหรับ syngamy เป็นกำรรวมตัว

โรคแมลงที่เกิดจำกเชื้อโพรโทซวั และไมโครสปอรเิ ดีย 166 กันของเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้และเพศเมียเป็นไซโกต แล้วเกิดกำรแบ่งตัวได้เซลล์ใหม่เรียกว่ำ sporozoite (Lange and Lord, 2012) วงจรชวี ติ ของโพรโทซวั วงจรชีวิตของโพรโทซัว เร่ิมจำกแมลงกินสปอร์ของโพรโทซัวเข้ำไปผ่ำนกำรปนเปื้อนไป กับอำหำร เมื่อสปอร์ดังกล่ำวเข้ำสู่ทำงเดินอำหำรจะปล่อย sporozoite ออกมำ โดย sporozoite สำมำรถเจำะผนังลำไส้ของแมลงเพ่ือเข้ำสู่ช่องว่ำงภำยในลำตัวแมลง และมีกำรแบ่งเซลล์ได้ merozoite เป็นจำนวนมำก สปอร์ merozoite จะแพร่กระจำยไปยังอวัยวะต่ำง ๆ เมื่อสปอร์มีกำรเจริญเต็มท่ีแล้ว จะมีกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ เพ่ือสร้ำงสปอร์แบบ sporozoite และถูกขับออกมำกับมูลของแมลง (Boucias and Pendland, 1998) วงจรชีวิตของโพรโทซัวบำงชนิด อำจใช้เวลำนำนประมำณ 6-18 วัน นอกจำกน้ียังสำมำรถพบโพรโทซัวบำงชนิดท่ีมีวงจรชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ โทรโฟซอยต์ (trophozoite) และซีสต์ (cyst) ในขณะท่ีอยู่ในแมลงอำศัย โดยระยะโทรโฟซอยต์ เป็นระยะที่โพรโทซัว มีกำรกินอำหำร เจริญ และสำมำรถแบ่งเซลล์ได้ สำหรับในระยะซีสต์น้ัน เป็นกำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงมำ จำกโทรโฟซอยต์ก่อนออกมำจำกแมลงอำศัย โดยในระยะนี้โพรโทซัวจะไม่กินอำหำร และมีกำรสร้ำง ผนังหนำขึ้นมำห่อหุ้ม เพื่อให้ทนทำนต่อสภำพแวดล้อมภำยนอกก่อนจะแพร่กระจำยสู่ส่ิงแวดล้อม (Lange and Lord, 2012) กำรแพร่กระจำยของเชอ้ื โพรโทซวั กำรแพร่กระจำยของเช้อื โพรโทซัวในแมลง แบ่งออกเป็น 3 ทำง (ทพิ ยว์ ดี, 2535) คือ (1) แมลงที่เป็นโรคปล่อยสปอร์ของเชื้อโพรโทซัวออกมำกับมูล และแพร่กระจำยสู่ สิ่งแวดล้อม (2) สปอร์ของเชื้อโพรโทซัวแพร่กระจำยสู่รังไข่ของแมลงตัวเต็มวัยเพศเมีย ทำให้ไข่ หรือตัว อ่อนของแมลงติดเช้ือตำมไปด้วยซ่ึงเป็นกำรถ่ำยทอดเชื้อจำกแม่ไปสู่ลูก (vertical transmission) (3) แมลงตัวเบียนเป็นพำหนะนำสปอร์ของเช้ือโพรโทซัวไปแพร่ระบำดยังแมลงตัวอื่นผ่ำนทำง ทอ่ วำงไข่ (ovipositor) ลักษณะอำกำรของโรคทเ่ี กดิ จำกเชอ้ื โพรโทซวั โดยท่ัวไปแมลงท่ีติดเช้ือโพรโทซัว มักไม่ตำยในทันที และไม่มีอำกำรท่ีแน่ชัด เชื้อโพรโทซัว ทำให้ แมลงเจริญเติบโตผิดปกติ เข้ำสู่ระยะตัวเต็มวัยช้ำ ควำมสมบูรณ์พันธุ์ต่ำ และทำให้แมลงมีสีของลำตัวซีด กว่ำแมลงปกติ โดยปกติสปอร์ของเชื้อโพรโทซัวเข้ำไปเจริญ และเพิ่มจำนวนภำยในลำตัวของแมลง สำมำรถทำลำยอวัยวะบำงอย่ำงของแมลงได้ เช่น ระบบเลือด ระบบทำงเดินอำหำร รังไข่ และท่อขับถ่ำย หำกเช้ือโพรโทซัวเข้ำไปอยู่ในระบบเลือด จะทำให้แมลงเกิดอำกำรลำตัวเป็นสีขำวขุ่นคล้ำยกับน้ำนม (Tanada and Kaya, 1993) หำกเชื้อโพรโทซัวแพร่กระจำยไปยังระบบท่อขับถ่ำย ทำให้ท่อขับถ่ำยเกิด

โรคแมลงที่เกิดจำกเชอ้ื โพรโทซวั และไมโครสปอรเิ ดยี 167 กำรอักเสบบวมและขยำยใหญ่ขึ้นประมำณ 10 เท่ำจำกขนำดปกติ และ ทำให้ท่อขับถ่ำยแตกในท่ีสุด (ทพิ ยว์ ด,ี 2535) 8.4 เชอื้ โพรโทซวั ที่เปน็ สำเหตขุ องโรคแมลง เชื้อโพรโทซัวท่ีเป็นสำเหตุของโรคแมลง มีจำนวนมำกมำยหลำยชนิด ในที่นี้จะกล่ำว ถึ งเชื้ อ โพ รโท ซั วที่ ส ำคั ญ ได้ แก่ เชื้ อ Herpetomonas muscarum, Malpighamoeba locustae, Malpighamoeba mellificae, Tetrahymena pyriformis และ Adelina cryptocercid โดยมีรำยละ เอยี ดดงั นี้ (Tanada and Kaya, 1993)  Herpetomonas muscarum เป็นเชื้อโพรโทซัวท่ีจัดอยู่ในไฟลัม Zoomastigina หรือ Flagellate สำมำรถเข้ำทำลำยแมลงในอันดับ Diptera โดยเฉพำะริ้นตำ eye gnat (Hippelates pusio) เม่ือสปอร์ของเช้ือ H. Muscarum เข้ำสู่ทำงเดินอำหำรของร้ินตำ จะเข้ำทำลำยเซลล์ของทำงเดินอำหำร หลังจำกนั้นมีกำรสร้ำงสปอร์เพิ่มขึ้น ก่อนแพร่กระจำย ไปยังอวัยวะต่ำง ๆ เชื้อโพรโทซัวชนิดน้ี ทำให้ตัวหนอนและดักแด้ของรนิ้ ตำตำย ประมำณ 48 และ 6% ตำมลำดบั  Malpighamoeba mellificae เดิมช่ือ Vahlkampfia mellificae เป็นโพรโทซัวในไฟลัม Rhizopoda หรือ Amoebae ซ่ึงสำมำรถเข้ำทำลำยผึ้งพันธุ์ Apis mellifera โดยวงจรชีวิต ของ Malpighamoeba mellificae ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ 1) โทรโฟซอยต์ และ 2) ซีสต์ โทรโฟซอยต์ มีรูปร่ำงยำวและเรียวเล็ก มีเส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 3.5 ไมโครเมตร ผิวมี ลักษณะเป็นคลื่น ในขณะที่ซีสต์มีขนำดเล็ก รูปร่ำงคล้ำยไข่ ผิวเรียบ เชื้อ M. mellificae มัก เข้ำทำลำยผึ้งทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย โดยเช้ือจะเข้ำอำศัยอยู่ในบรเิ วณท่อขบั ถ่ำย ทำให้ ทอ่ ขับถ่ำยแตก และปลดปล่อยซสี ต์ให้แพร่กระจำยไปยังผ้ึงตวั อนื่ ๆ หลังจำกนั้นผงึ้ อำจถูกเช้ือ ไวรัส แบคทีเรยี เข้ำทำลำยซ้ำเตมิ ไดอ้ ีก ซึง่ เป็นสำเหตกุ ำรตำยของผง้ึ  Malpighamoeba locustae เป็นเชื้อโพรโทซัวในไฟลัม Rhizopoda (Amoebae) เช่นเดียว กันกับ M. mellificae ซึ่งสำมำรถเข้ำทำลำยต๊ักแตนในสกุล Melanoplus ได้ โดยสปอร์เม่ือ เข้ำสู่ทำงเดินอำหำรของต๊ักแตน จะเพิ่มโทรโฟซอยต์ให้มีจำนวนมำกขึ้น และแพร่กระจำยไป ตำมเนื้อเย่ือต่ำง ๆ รวมถึงระบบสืบพันธ์ุ และระบบท่อขับถ่ำย เมื่อต๊ักแตนติดเชื้อดังกล่ำว จะทำใหค้ วำมสมบูรณ์พันธตุ์ ำ่ ระบบขับถ่ำยลม้ เหลว และทำให้ต๊ักแตนตำยไปในที่สุด  Tetrahymena pyriformis เป็นโพรโทซัวในไฟลัม Ciliophara ที่มีขนำดเล็กประมำณ 30x50 ไมโครเมตร ส่วนใหญ่พบในเลือดของยุง และสำมำรถทำให้ยุง Culex tarsalis ที่ติดเช้ือ

โรคแมลงท่ีเกิดจำกเช้อื โพรโทซัวและไมโครสปอริเดีย 168 มีอัตรำกำรตำยสูงประมำณ 70% นอกจำกน้ีเช้ือดังกล่ำวยังสำมำรถเข้ำทำลำยหนอนกิน รังผ้ึง (wax moth, Galleria mellonella) ได้เช่นกัน โดยพบทำให้หนอนกินรังผ้ึงมีอัตรำกำร ตำยสูงถึง 75 และ 100% ภำยในระยะเวลำ 5 และ 12 วนั ตำมลำดับ แตห่ ำกเชื้อมีปริมำณสูง มำก สำมำรถทำให้หนอนกินรงั ผ้งึ ตำยทัง้ หมด ภำยในระยะเวลำเพยี ง 2 วันเท่ำน้ัน  Adelina cryptocerci เป็นโพรโทซัวในไฟลัม Apicomplexa (Coccidia) ท่ีสำมำรถเข้ำ ทำลำยแมลงสำบกินไม้ (wood cockroach, Cryptocercus punctulatus) ได้ โดยสปอร์ ของเช้ือโพรโทซัว A. cryptocerci เข้ำทำลำยเซลล์ในระบบทำงเดินอำหำรของแมลงสำบ หลังจำกนั้นจะมีกำรเพิ่มสปอร์ให้มีจำนวนมำกขึ้น และแพร่กระจำยเข้ำทำลำยอวัยวะต่ำง ๆ ของ แมลงสำบ นอกจำกน้ียังสำมำรถพบเช้ือ Adelina spp. เข้ำทำลำยแมลงชนิดอ่ืนได้ เช่น เชื้ อ Adelina melolonthae เข้ ำ ท ำ ล ำ ย ด้ ว ง European cockchafer (Melolontha melolontha) เชื้อ Adelina mesnili เข้ำทำลำยมอดแป้ง Tribolium ferrugineum และ เชอื้ Adelina sericesthis ทำใหเ้ กิดโรคกับดว้ ง Sericesthis pruinosa เป็นต้น 8.5 โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเชอ้ื ไมโครสปอรเิ ดยี เชื้อไมโครสปอริเดีย ได้รับควำมสนใจและศึกษำอย่ำงแพร่หลำย เพรำะเป็นเช้ือสำเหตุของโรคใน แมลงที่มีควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจ เช่น ผึ้ง และไหม โดยเช้ือดังกล่ำวทำให้เกิดโรคระบำดอย่ำงรุนแรง และสร้ำงควำมเสียหำยให้กับอุตสำหกรรมกำรเล้ียงผ้ึงและไหมอย่ำงมหำศำล เช้ือไมโครสปอริเดียเดิมถูก จัดอยู่กลุ่มของโพรโทซัว จำกข้อมูลกำรศึกษำทำงด้ำนพันธุกรรมในระดับโมเลกุลดีเอ็นเอ พบว่ำ เช้ือไมโครสปอริเดียมีควำมสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเช้ือรำมำกกว่ำเชื้อโพรโทซัว จึงทำให้นักวิทยำศำสตร์ แยกกลุ่ม เชื้อไมโครสปอริเดียออกจำกเชื้อโพรโทซัว และมีกำรศึกษำค้นพบเชื้อไมโครสปอริเดียจำนวนมำก ท่เี ปน็ สำเหตุของโรคแมลง 8.6 ลกั ษณะและโครงสร้ำงของเช้ือไมโครสปอรเิ ดยี เช้อื ไมโครสปอรเิ ดีย เป็นสิ่งมีชวี ิตเซลล์เดียว ภำยในประกอบดว้ ย นิวเคลียส ไซโตพลำสซมึ และมี ออร์แกเนลล์คล้ำยคลึงกับส่ิงมีชีวิตช้ันสงู ซ่ึงถูกห่อหุ้มด้วยผนังเซลล์ (ภำพท่ี 8-2) แต่ไม่มี peroxisomes, vesicular golgi membranes และ mitochondia ทำให้เช้ือไมโครสปอริเดียต้องได้รับสำรอำหำรจำก แมลงอำศัย เพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงำนสำหรับกำรเจริญเติบโต ไมโครสปอริเดียจึงจัดเป็นเชื้อจำพวก obligate intracellular pathogens ซึ่งไม่สำมำรถเจริญอยู่ภำยนอกร่ำงกำยของแมลงอำศัยได้ เช้ือ ไมโครสปอริเดีย มีรูปร่ำงกลมรหี รอื ยำวรี คลำ้ ยรปู ไข่ ขนำด 1-10 ไมโครเมตร และมีโครงสร้ำงของ polar filament หรือ polar tube เพื่อใช้สำหรับเจำะและส่งถ่ำย sporoplasm เข้ำสู่เซลล์แมลง (Tanada and Kaya, 1993; Boucias and Pendland, 1998)

โรคแมลงทีเ่ กิดจำกเช้ือโพรโทซัวและไมโครสปอรเิ ดีย 169 ภำพที่ 8-2 โครงสรำ้ งภำยในของเชื้อไมโครสปอริเดีย (Boucias and Pendland, 1998) ปัจจุบันมีกำรค้นพบเชื้อไมโครสปอริเดียในแมลงเป็นจำนวนมำก เช่น พบในแมลงอันดับ Collembola, Diptera, Coleoptera, Ephemeroptera, Hemiptera, Hymenoptera, Isoptera, Lepidoptera, Odonata, Orthoptera, Siphonaptera, Thysanura แ ล ะ Trichoptera (Solter et al., 2012) สำหรบั ตวั อย่ำงเช้ือไมโครสปอรเิ ดียท่ีคน้ พบในแมลงชนดิ ตำ่ ง ๆ แสดงดงั ตำรำงที่ 8-2 ตำรำงที่ 8-2 ตวั อยำ่ งเช้ือไมโครสปอริเดียที่พบในแมลงชนิดต่ำง ๆ (ดดั แปลงจำก Solter et al., 2012) อันดบั ของแมลง สกลุ ของไมโครสปอรเิ ดยี Collembola Auraspora Diptera Aedispora Napamichum Semenovaia Senoma Tricornia Weiseria Anncaliia Coleoptera Chytridiopsis Endoreticulatus Mitoplistophora Ephemeroptera Stempellia Trichoduboscqia Becnelia Hemiptera Hymenoptera Antonospora Burenella

โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเชื้อโพรโทซัวและไมโครสปอรเิ ดยี 170 ตำรำงที่ 8-2 ตวั อย่ำงเช้ือไมโครสปอริเดียที่พบในแมลงชนิดต่ำง ๆ (ดัดแปลงจำก Solter et al., 2012) (ตอ่ ) อนั ดบั ของแมลง สกลุ ของไมโครสปอริเดยี Hymenoptera Isoptera Kneallhazia Lepidoptera Duboscqia Cystosporogenes Odonata Larssoniella Nosema Orthoptera Nudispora Siphonaptera Resiomeria Thysanura Paranosema Trichoptera Nolleria Buxtehudea Episeptum Tardivesicular 8.7 วงจรชีวติ ของเชอ้ื ไมโครสปอรเิ ดีย วงจรชีวิตของเชื้อไมโครสปอริเดีย สำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ (1) merogony หมำยถึง ระยะท่ีมีกำรเพิ่มจำนวน และ (2) sporogony หมำยถึง ระยะท่ีมีกำรสร้ำงของสปอร์ (Tanada and Kaya, 1993) โดยระยะ merogony เร่ิมต้นจำกสปอร์ของเช้ือไมโครสปอริเดียเข้ำสู่ทำงเดินอำหำรของแมลง ภำยใต้สภำวะทำงเดินอำหำรของแมลง ท่ีมีควำมเหมำะสมกับกำรเจริญของเช้ือไมโครสปอริเดีย ทำให้สปอร์งอกส่วนของ polar tube เพื่อเจำะผนังเซลล์ลำไส้ และพร้อมกับส่ง sporoplasm เข้ำสู่ไซโทพลำซมึ ของเซลลแ์ มลง และมีกำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงเป็น meront หลงั จำกนั้นสปอร์จะมีกำรแบ่ง เซลล์แบบ binary fission (mitotic merogony) ทำให้มีจำนวนเพิ่มข้ึนเป็นอย่ำงมำก เรียกสปอร์เหล่ำน้ีว่ำ meront หลังจำกนั้นเข้ำสู่ระยะ sporogony สปอร์ข้ำงต้นจะมีกำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำง (spore morphogenesis) เรียกว่ำ sporont และมีกำรแบ่งเซลล์และพัฒนำรูปร่ำงจนกระทั่งได้สปอร์ในข้ันสุดท้ำย คอื sporoblast เป็นระยะท่ีมีควำมสำมำรถในกำรเขำ้ ทำลำยในแมลง และสำมำรถแพร่กระจำยไปยังเซลล์อื่น ๆ หลังจำกนั้น sporoblast จะมีกำรปรับเปล่ียนสภำพให้ผนังเซลล์มีควำมหนำมำกขึ้น เรียกว่ำ mature spore (environmental spore) ดังภำพที่ 8-3 ก่อนถูกขับออกมำทำงมูลกลับเข้ำสู่ส่ิงแวดล้อม (Solter et al., 2012) นอกจำกน้ีเชื้อไมโครสปอริเดียสำมำรถแพร่กระจำยเข้ำไปยังรังไข่ของแมลง และทำให้ไข่หรอื ตัว ออ่ นของแมลงตดิ เช้ือ (transovarially transmitted) ได้เชน่ กนั ปกตวิ งจรชวี ติ ของไมโครสปอรเิ ดียใช้ระยะเวลำ ประมำณ 18-48 ช่วั โมง

โรคแมลงที่เกดิ จำกเช้ือโพรโทซวั และไมโครสปอรเิ ดยี 171 Tetranucleate sporont Sporoblasts undergoing division Tetranucleate Sporogony sporont Mature spore Sporont (environmental spore) Merogony Meront Meronts Tetranucleate meront Tetranucleate meront undergoing division ภำพที่ 8-3 วงจรชวี ิตของเชื้อไมโครสปอริเดยี Nosema spp. (ดัดแปลงจำก Boucias and Pendland, 1998) กลไกกำรเขำ้ ทำลำยแมลง หลังจำกเช้ือไมโครสปอริเดีย เข้ำสู่ทำงเดินอำหำรของแมลง สปอร์จะใช้ส่วนของ polar tube เจำะผนังเซลล์ของแมลง เพื่อสง่ sporoplasm เข้ำสู่ไซโทพลำซึมของเซลลแ์ มลง หลังจำกนนั้ จะมกี ำรแบ่ง เซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนสปอร์ และแพร่กระจำยสปอร์ไปยังเซลล์อ่ืน ๆ ดังท่ีกล่ำวมำแล้วข้ำงต้น เช้ือ ไมโครสปอริเดีย ยังทำให้เซลล์ที่ติดเชื้อ มีกำรเพิ่มจำนวนนิวเคลียสมำกขึ้น และไซโทพลำซึมมีขนำด ขยำยเพ่ิมขึ้น เม่ือเช้ือไมโครสปอริเดียมีกำรสร้ำงสปอร์เป็นจำนวนมำก จะไปรบกวนกำรทำงำนของเซลล์ ทำให้เซลล์มีกำรทำงำนผิดปกติ และส่งผลทำให้แมลงตำยในที่สุด (Solter et al., 2012) นอกจำกน้ี เชื้อไมโครสปอริเดีย ยังมีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงของเม็ดสีบนผนังลำตัวของแมลงอีกด้วย เชือ้ ไมโครสปอริเดีย ทำใหแ้ มลงเกิดอำกำรเป็นโรคอย่ำงเรื้อรงั อยำ่ งไรก็ตำมเชือ้ ไมโครสปอริเดียสำมำรถทำให้ แมลงตำยอย่ำงเฉียบพลันได้ โดยควำมรุนแรงขึ้นอยู่กับชนิดและปริมำณของเชื้อ รวมถึงชนิดของแมลงอำศัย ลักษณะอำกำรที่พบในแมลง ทำให้ตัวอ่อนของแมลงมีพัฒนำกำรล่ำช้ำ ดักแด้มีขนำดเล็ก และแมลงตัวเต็ม วยั มีควำมสมบูรณต์ ่ำ 8.8 เชอ้ื ไมโครสปอรเิ ดยี ทเี่ ปน็ สำเหตขุ องโรคในแมลง เชื้อไมโครสปอริเดียที่เป็นสำเหตุของโรคในแมลงมีหลำยชนิดดังท่ีกล่ำวมำแล้วข้ำงต้ น โดยเช้ือไมโครสปอริเดยี ท่ีเป็นเชอ้ื สำเหตขุ องโรคในแมลงที่มคี วำมสำคญั ทำงเศรษฐกิจ คอื Nosema spp. โดยเฉพำะผ้ึง และไหม อย่ำงไรก็ตำมเชื้อ Nosema spp. ยังสำมำรถพบในแมลงชนิดอ่ืน ๆ (ตำรำงท่ี 8-3)

โรคแมลงทเ่ี กดิ จำกเช้ือโพรโทซัวและไมโครสปอรเิ ดยี 172 ในท่ีน้ีจะกล่ำวถึงเชื้อ Nosema spp. บำงชนิดท่ีเป็นเชื้อสำเหตุของโรคแมลง ได้แก่ N. bombycis, N. apis, N. pyrausta และ N. locustae ซ่งึ มีรำยละเอยี ดดังน้ี ตำรำงที่ 8-3 ตัวอย่ำงเช้ือ Nosema spp. ท่ีพบในแมลงชนิดตำ่ ง ๆ (ดดั แปลงจำก Tanada and Kaya, 1993) Nosema spp. Host Nosema bombyci Bombyx mori (silkworm) Nosema locustae Various grasshoppers Nosema pyrausta Ostrinia nubilalis Nosema apis Apis mellifera (bee) Nosema algerae Mosquitoes Nosema fumiferanae Choristoneura fumiferana Nosema kingi Drosophila spp. Nosema epilachnae Epilachna varivestis (pest beetle) Nosema bombi Nosema disstriae Bumble bees (beneficials) Malacosoma disstria (pest of deciduous trees) Nosema costelytrae Costelytra zealandica (pest scarab) Nosema whitei Tribolium spp. Nosema slovaca Ixodes ricinus (tick) Nosema parkeri Ornithodoros parkeri (argasid tick)  เช้ือ Nosema bombycis เป็นสำเหตุที่ทำให้เกิดโรค pébrine ในหนอนไหม ซ่ึงสร้ำงควำม เสียหำยเป็นอย่ำงมำกต่ออุตสำหกรรมกำรเลี้ยงไหมไปทั่วโลก โดยเฉพำะในประเทศแถบ เอเซีย และยุโรป เชื้อ N. bombycis ทำให้เกิดลักษณะท่ีสังเกตเห็นอย่ำงชัดเจน คือ ผนังลำตัว ของหนอนไหมจะมีจุดสีน้ำตำล หำกหนอนได้รับเชื้อในช่วงวัย 1 หรือวัย 2 จะทำให้เกิดโรคได้ อย่ำงรุนแรง และมีอัตรำกำรตำยสูง ซึ่งควำมรนุ แรงของโรคน้ัน จะข้ึนอยู่กับปริมำณเชื้อที่หนอน ไดร้ ับ หำกหนอนได้รบั เชอ้ื ในชว่ งวัยท่ีสูงขน้ึ ทำให้หนอนมกี ำรเจรญิ เติบโตช้ำกว่ำปกติ ดักแด้เกิด ควำมผิดปกติ มีขนำดเล็กลง ผิวด้ำนไม่มันวำว เมื่อดักแด้ออกมำเป็น ตัวเต็มวัย จะทำให้ผีเส้ือ พิกำร รูปทรงของปีกไม่สมบูรณ์ เม่ือตัวเต็มวัยวำงไข่ ทำให้เปอร์เซ็นต์กำรฟักออกเป็นตัวหนอน ต่ำ หนอนอ่อนแอ (Tanada and Kaya, 1993; James and Li, 2012) เชื้อไมโครสปอริเดียนี้ สำมำรถแพร่เข้ำสู่รังไข่ได้ และทำให้ไข่ท่ีฟักออกมำทุกฟองติดเช้ือ (transovarial transmission) อย่ำงไรก็ตำมเช้ือไมโครสปอริเดียน้ี ไม่สำมำรถถ่ำยทอดผ่ำนทำงน้ำเชื้อของเพศผู้ได้ ในปัจจุบันมี

โรคแมลงท่เี กิดจำกเชอื้ โพรโทซวั และไมโครสปอริเดยี 173 ควำมพยำยำมศึกษำและวิจัยทำงอณูพันธุศำสตร์ เพื่อค้นหำวิธีกำรตรวจสอบโรค pébrine ให้ทรำบ ผลได้อย่ำงรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นแนวทำงในกำรป้องกันกำจัดโรคได้อย่ำงทันท่วงที (Boucias and Pendland, 1998)  เช้ือ Nosema apis เป็นสำเหตุของโรค nosema ในผ้ึงพันธ์ุ Apis mellifera ซ่ึงสร้ำงควำม เสียหำยให้กับอุตสำหกรรมกำรเลี้ยงผึ้งอย่ำงมำก โรคนี้เกิดจำกผึ้งได้รับสปอร์ของเชื้อ Nosema apis ท่ีปนเปื้อนมำกับอำหำร ทำให้สปอรเ์ จำะผนังทำงเดนิ อำหำรและเข้ำเซลล์ของผ้ึง หลังจำกน้ันมกี ำรแบ่งเซลลเ์ พิ่มข้นึ ทำใหเ้ กดิ กำรอักเสบขึ้นที่บรเิ วณผนังลำไส้ ผึง้ ที่เปน็ โรคนอี้ ำจ มีอำกำรคล้ำยเป็นอัมพำต ปล้องท้องยืดยำวและบวมผิดปกติ ทำงเดินอำหำรบวมโตมีสีขุ่น หำก นำงพญำผึ้งติดเชื้อ N. apis จะทำให้มีวงจรชีวิตสั้นลง และมีผลต่อควำมสมบูรณ์พันธุ์ ทำให้ผ้ึง วำงไข่ลดลง อัตรำกำรฟักออกเป็นตัวต่ำ นอกจำกนี้ยังทำให้คุณภำพและผลผลิตจำกผ้ึงลดลง อย่ำงมำก (Boucias and Pendland, 1998)  เช้ือ Nosema pyrausta เป็นสำเหตุที่ทำให้เกิดโรคในหนอนเจำะลำต้นข้ำวโพด European corn borer (Ostrinia nubilalis) เช้ือ N. pyrausta สำมำรถระบำดได้ดีเมื่อประชำกรของหนอนเจำะลำ ต้นข้ำวโพดมีควำมหนำแน่นสูง อย่ำงไรก็ตำมเช้ือ N. pyrausta ไม่สร้ำงควำมรุนแรงกับหนอนเจำะ ต้นข้ำวโพดมำกนัก แต่จะทำให้เกิดอำกำรอักเสบกับระบบทำงเดินอำหำรอย่ำงเร้ือรัง เช้ือ N. pyrausta สำมำรถแพร่เข้ำสู่รังไข่ของผีเส้ือหนอนเจำะลำต้นข้ำวโพด ทำให้ควำมสมบูรณ์พันธุ์ ลดลง นอกจำกน้ีเช้ือดังกล่ำวยังสำมำรถถ่ำยทอดจำกแม่ไปสู่ลูก มีผลทำให้ระยะตัวหนอน และ ระยะดักแด้มกี ำรพัฒนำผดิ ปกติ (Boucias and Pendland, 1998)  เชื้อ Nosema locustae เป็นเชื้อสำเหตุของโรค nosema ในต๊ักแตน โดยเช้ือดังกล่ำวเข้ำสู่ ระบบทำงเดินอำหำร และเข้ำไปเพิ่มจำนวนในเซลล์ของแมลง ก่อนแพร่เข้ำไปทำลำย อวัยวะสืบพันธ์ุ และระบบประสำท ทำให้ต๊ักแตนตำยในท่ีสุด เช้ือ N. locustae สำมำรถแพร่ กระจำยผ่ำนทำงมูลของแมลงท่ีเป็นโรค และสำมำรถถ่ำยทอดจำกแม่สู่ลูกได้ (Boucias and Pendland, 1998) เชื้อ N. locustae ถูกผลิตออกมำในเชิงพำณิชย์ เพื่อใช้ในกำรควบคุมต๊ักแตน ศัตรูพืช ซึ่งถือว่ำเป็นผลิตภัณฑ์ทำง microbial biopesticide จำกเชื้อไมโครสปอริเดียชนิดแรก ซึ่งมีประสิทธิภำพในกำรควบคุมต๊ักแตนสูง (Solter et al., 2012) 8.9 กำรศกึ ษำเชอ้ื โพรโทซวั และไมโครสปอริเดียทเี่ ปน็ สำเหตุของโรคแมลงในประเทศไทย กำรใช้เช้ือโพรโทซัวในกำรป้องกันกำจัดแมลงในประเทศไทย มีข้อมูลค่อนข้ำงจำกัด สำหรับ กำรศึกษำและวิจัยเช้ือไมโครสปอริเดียทเี่ ป็นสำเหตุของโรคแมลงในประเทศไทย ส่วนมำกศึกษำในแมลงที่ มีควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจ (ผ้ึง และไหม) เช่น กำรศึกษำกำรแพร่ระบำดของโรค nosema ในผ้ึง

โรคแมลงที่เกิดจำกเชื้อโพรโทซัวและไมโครสปอริเดีย 174 (Apis mellifera L.) จำกแหล่งเล้ียงผ้ึงในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และลำปำง (อัญชลี, 2549) กำรสำรวจ โรค pébrine ในหนอนไหมจำกแหล่งเลี้ยงในเขตภำคตะวันออกเฉยี งเหนือ (อัญชลี, 2549) กำรศึกษำกำร แพร่ระบำดของเชื้อ N. bombycis ในหนอนไหม และกำรทดสอบเพำะเช้ือดังกล่ำวในหนอนกระทู้หอม (ทัศนีย์, 2553) รวมถึงกำรพัฒนำวิธีกำรตรวจสอบเช้ือ N. bombycis ด้วยเทคนิค ELISA (เดือนเพ็ญ และคณะ, 2553) และเทคนิค PCR (มยุรี, 2549) ซึ่งเทคนิคทั้งสองมีประสิทธิภำพและแม่นยำในกำร ตรวจสอบเชื้อ N. bombycis สูง มีกำรตรวจสอบควำมชุกของโรคโนซีมำในผ้ึงพันธ์ุ (A. mellifera L.) และกำรแพร่กระจำยของ โรค ท่ีเกี่ยวข้องกับสภำพภูมิอำกำศ ในเขตพื้นที่ภำคเหนือของประเทศไทย โดยสุ่มเก็บตัวอย่ำงผ้ึงงำน จำนวน 10 ลำนเลย้ี งผ้ึง ตง้ั แตเ่ ดือนกรกฎำคม ถึงเดอื นพฤศจิกำยน พ.ศ. 2556 ของพื้นทจ่ี งั หวัดเชียงใหม่ ลำพูน และแพร่ ในสภำพภำคสนำม และห้องปฏิบัติกำร (กฤติมำและพัชรินทร์, 2558) ทำกำรเก็บ ตัวอย่ำงผึ้งพันธ์ุใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และแพร่ โดยสุ่มเลือกพื้นท่ีตั้งรังผึ้งในแต่ละ จังหวัด จังหวัดละ 10 ลำนเลี้ยงผ้ึง ทำกำรสุ่มเก็บตัวอย่ำงผึ้งจำกรังผ้ึงจำนวน 3 รังในแต่ละลำนเลี้ยงผึ้ง ต้ังแต่เดือนกรกฎำคม ถึงเดือนพฤศจิกำยน พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลำ 5 เดือน เพื่อใช้ในกำรตรวจสอบ สุ่มตัวอย่ำงผึ้งจำนวน 5 ตัวต่อรัง นำมำผ่ำตัดส่วนท้องเพ่ือนำเน้ือเยื่อลำไส้ส่วนกลำง และหลังออกมำ จำกนั้นบดให้ละเอียดโดยผสมกับน้ำกล่ัน 5 มิลลิลิตร หยดตัวอย่ำงจำนวน 10 ไมโครลิตร ลงบนแผ่น สไลด์ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ และตรวจหำสปอร์ภำยใต้กล้องจุลทรรศน์ท่ีกำลังขยำย 400 เท่ำเพ่ือดู ลกั ษณะของสปอร์ (ภำพท่ี 8-4 ) ภำพที่ 8-4 วิธีตรวจสอบสปอร์โนซีมำ ภำยใต้กล้องจุลทรรศน์ (ก) แสดงกำรแยกส่วนท้องออกเพ่ือนำเอำ เฉพำะลำไส้มำบด (ข) ลำไส้ของผงึ้ (กฤตมิ ำและพชั รินทร์, 2558)

โรคแมลงทเี่ กดิ จำกเช้อื โพรโทซัวและไมโครสปอริเดยี 175 กำรตรวจสอบตัวอย่ำงในห้องปฏิบัติกำร ลักษณะสปอร์ของโนซีมำมีรูปร่ำงคล้ำยเมล็ดข้ำวสำร มีควำมกว้ำงเฉล่ีย 2 ไมโครเมตร ควำมยำวเฉล่ีย 4 ไมโครเมตรแต่ละสปอร์เป็นอิสระต่อกันโดยเคลื่อนท่ี ไปตำมสำรละลำยของเหลวแบบไม่มีทิศทำง (ภำพที่ 8-5) จำกกำรวัดขนำดของสปอร์ พบว่ำมีขนำด ใกล้เคียงกับเช้ือโนซีมำชนิด N. ceranae ซ่ึงมีควำมกว้ำงเฉลี่ยเท่ำกับ 2.0-2.5 ไมโครเมตร และมีควำม ยำวเฉล่ีย 3.9-5.3 ไมโครเมตร (Chen et al., 2009) จำกกำรสันนิษฐำนข้ันตน้ จึงจำแนกได้ว่ำตัวอย่ำงท่ี ตรวจสอบนน้ั เป็น N. ceranae สว่ นสปอร์ของชนิด N. apis มีควำมยำวประมำณ 5-7 ไมโครเมตร และมี ควำมกว้ำงประมำณ 3-4 ไมโครเมตร โดยมีขนำดใหญ่กว่ำเช้ือโนซีมำชนิด N. ceranae เพียงเล็กน้อย (OIE, 2008) อย่ำงไรก็ตำมเพ่ือควำมแม่นยำ และควำมน่ำเช่ือถือ จึงต้องนำไปตรวจสอบชนิดของโนซีมำ ดว้ ยเทคนคิ PCR ตอ่ ไป (Bougeois et al., 2010) ภำพที่ 8-5 ลักษณะสปอร์ของเช้ือโนซีมำได้จำกกำรบดตัวอย่ำงลำไส้ของผ้ึงพันธุ์ที่ถูกเช้ือโนซีมำเข้ำ ทำลำย (กฤตมิ ำและพชั รนิ ทร์, 2558) จำกกำรเก็บตัวอย่ำงผ้ึงพันธ์ุในภำคสนำมเพ่ือตรวจสอบกำรแพรร่ ะบำดของโรคโนซีมำในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และแพร่ จังหวัดละ 10 ลำนเลี้ยงผ้ึง โดยสังเกตจำกกำรตำยเป็นจำนวนมำกที่ไม่ทรำบสำเหตุ บริเวณหน้ำรงั ผ้งึ ขณะสำรวจพบว่ำในพ้ืนท่ีจงั หวดั เชียงใหม่ ช่วงเดือนกรกฎำคมไม่พบผึ้งตำยบริเวณหน้ำ รัง ในเดือนสิงหำคมสำรวจจำกจำนวน 10 ลำนเล้ียงผึ้ง พบกำรตำยบริเวณหน้ำรังคิดเป็นร้อยละ 20 ต่อมำเดือนกันยำยน ตุลำคม และพฤศจิกำยน พบผ้ึงตำยบริเวณหน้ำรัง คิดเป็นร้อยละ 30, 40 และ 50 ตำมลำดับ ขณะเดียวกันจังหวัดลำพูนในเดอื นกรกฎำคม และเดือนสิงหำคม ไม่พบกำรตำยของผึ้งบริเวณ หน้ำรัง ต่อมำเดือนกันยำยน และตลุ ำคม พบผ้งึ ตำยบรเิ วณหน้ำรัง คิดเป็นร้อยละ 20 และ 30 ส่วนเดือน พฤศจิกำยน พบผ้ึงตำยมำกถึงร้อยละ 50 สำหรับจังหวัดแพร่ ช่วงเดือนกรกฎำคม และเดือนสิงหำคมไม่ พบกำรตำยของผ้ึงหน้ำรัง ต่อมำเดือนกันยำยน พบผึ้งตำยหน้ำรังโดยคิดเป็นร้อยละ 10 ของลำนเลี้ยงผึ้ง

โรคแมลงทีเ่ กิดจำกเช้ือโพรโทซัวและไมโครสปอริเดีย 176 ตัวอย่ำงส่วนเดือนตุลำคม และเดือนพฤศจิกำยนพบอัตรำกำรตำยมำกถึงร้อยละ 50 และ 70 ตำมลำดับ (ภำพที่ 8-6) เมื่อพบอัตรำกำรตำยมำกถงึ ร้อยละ 50 ขึ้นไป แสดงถึงกำรติดเชอื้ และเกิดกำรแพรก่ ระจำย ของโรคอย่ำงรุนแรง แสดงว่ำจังหวัดแพร่ในช่วงเดือนตุลำคม และพฤศจิกำยน เกิดกำรระบำดของโรค อย่ำงรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 50 และ 70 จำกพื้นท่ี 10 ลำนเล้ียงผึ้ง ส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัด ลำพูนเกดิ กำรระบำดของโรคในเดอื นพฤศจิกำยน พบอัตรำกำรตำยคิดเป็นร้อยละ 50 กำรเก็บตัวอยำ่ งผ้ึง ทีต่ ำยหนำ้ รังในแต่ละพื้นท่ีนั้นไม่พบมูลเปรอะเปื้อนบริเวณใน และนอกรัง จึงสันนิษฐำนได้ว่ำผึ้งที่ตำยน้ัน อำจมีสำเหตุมำจำกเชื้อ N. ceranae เพรำะโดยทั่วไป หำกตำยด้วยเช้ือ N. apis จะพบมูลเปรอะเป้ือน เปน็ จดุ สีนำ้ ตำลภำยในรัง และนอกรงั ผ้ึง จะไม่พบอำกำรดังกลำ่ วในเช้อื ทเี่ กดิ จำก N. ceranae (Mussen, 2011) ภำพท่ี 8-6 เปอร์เซน็ ตก์ ำรตำยของผง้ึ พันธบุ์ รเิ วณหน้ำรังในพ้นื ท่เี ก็บตวั อย่ำงผง้ึ ของ 3 จังหวดั ภำคเหนือ ตอนบน (เชียงใหม่ ลำพนู และ แพร่) ตง้ั แตเ่ ดือนกรกฎำคม ถึงเดอื นพฤศจิกำยน พ.ศ. 2556 (กฤติมำและพัชรินทร์, 2558) กำรกระจำยตัวของเช้ือโนซีมำแต่ละสถำนที่ และแต่ละเดือนมีควำมแตกต่ำงกัน ซ่ึงแต่ละจังหวัด พบลำนเลี้ยงผ้ึง ท่ีพบสปอร์โนซีมำเพ่ิมข้ึน โดยจังหวัดแพร่ พบปริมำณสปอร์มำกท่ีสุดซึ่งต่ำงกับจังหวัด เชียงใหม่ และลำพูน (P value = 0.047) โดยพบปริมำณสปอร์มำกกว่ำ 1 ล้ำนสปอร์ต่อมิลลิลิตร ต้ังแต่ เดือนกันยำยน จนถึงเดือนพฤศจิกำยน คิดเป็นปริมำณสปอร์เฉลี่ยเท่ำกับ 5.06±0.31, 3.82±0.23 และ 8.92±0.29 ลำ้ นสปอรต์ อ่ มลิ ลลิ ิตร ตำมลำดับ รองลงมำคอื จงั หวัดเชยี งใหม่ พบปรมิ ำณสปอรเ์ ฉลีย่ เทำ่ กับ 1.10±0.09, 1.72±0.10 และ 1.98±0.09 ล้ำนสปอร์ต่อมิลลิลิตร ตำมลำดับ ถัดมำจังหวัดลำพูน พบ ปริมำณสปอร์เฉลี่ยเท่ำกับ 0.08±0.01, 1.37±0.08 และ 1.48±0.07 ล้ำนสปอร์ต่อมิลลิลิตร ตำมลำดับ (ตำรำงที่ 8-4)

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเช้อื โพรโทซวั และไมโครสปอรเิ ดีย 177 ตำรำงท่ี 8-4 ปริมำณสปอร์เฉล่ียของโนซีมำ (ล้ำนสปอร์ต่อมิลลิลิตร ± SE) ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และแพร่ ระหวำ่ งเดอื นกรกฎำคม ถึงเดอื นพฤศจกิ ำยน พ.ศ. 2556 พ้นื ท่ีเกบ็ ปริมำณสปอรเ์ ฉลย่ี ของเชือ้ โนซมี ำ (ล้ำนสปอรต์ อ่ มิลลิลิตร ±SE) ตวั อยำ่ ง กรกฎำคม สงิ หำคม กันยำยน ตลุ ำคม พฤศจิกำยน เชยี งใหม่ 0.42 b ± 0.04 0.84 ab ± 0.09 1.10ab ± 0.09 1.72ab ± 0.10 1.98 a± 0.09 ลำพนู 0 b 0 ab 0.08 ab ± 0.01 1.37 ab ± 0.08 1.48a ± 0.07 แพร่ 0 b 0.36 ab ± 0.04 5.06ab ± 0.31 3.82 ab ± 0.23 8.92a ± 0.29 a-b ค่ำเฉลี่ยตำมแนวนอนอักษรต่ำงกัน หมำยถึงมีควำมแตกตำ่ งกันอย่ำงมีนัยสำคัญในทำงสถิติ (P<0.05) โดยใช้วิธวี เิ ครำะห์แบบ LSD ซง่ึ สอดคล้องกับงำนวิจัยของ Bourgeois et al. (2010) ซ่ึงได้ทำกำรศึกษำอุบัติกำรณ์ของโรคโน ซีมำในประเทศสหรัฐอเมริกำ และพบว่ำในช่วงเดือนพฤศจิกำยน ปี ค.ศ. 2008 ถึงเดือนมีนำคม ปี ค.ศ. 2009 ผลกำรตรวจสอบพบกำรเปล่ียนแปลงในกลุ่มประชำกรผึ้งอันเนื่องมำจำกกำรก่อโรคโนซีมำอย่ำง อย่ำง มีนัยสำคัญ โดยพบว่ำในเดือนพฤศจิกำยน พบปริมำณสปอร์ของ N. apis เท่ำกับ 1,212± 148 สปอร์ต่อตัว ขณะท่ีเชื้อชนิด N. ceranae พบปริมำณเท่ำกับ 51,073 ±31,155 สปอร์ต่อตัว ต่อมำใน เดือนเมษำยนไม่พบสปอร์ของเชื้อโนซีมำชนิด N. apis แต่พบสปอร์ของ N. ceranae ในปริมำณเทำ่ กับ 11,824± 6,304 สปอร์ต่อตัว เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในระดับกำรติดเช้ือชนิด N. ceranae ในผึ้ง ซ่ึงบำง เดือนพบปริมำณสปอร์เพิ่มข้ึน แต่บำงเดือนพบปริมำณน้อยลง ลักษณะกำรเพ่ิมลดปริมำณสปอร์เชื้อ โน ซีมำแสดงถึงควำมจำเป็นท่ีต้องมีกำรตรวจสอบอย่ำงรวดเร็ว ซึ่ง Mussen (2011) ได้อธิบำยว่ำ ถ้ำพบ ปริมำณสปอรเ์ ฉลีย่ มำกกว่ำ 1 ล้ำนสปอร์ต่อมิลลิลิตร แสดงวำ่ เกิดกำรระบำดอย่ำงหนักของเชื้อสำเหตุใน ประชำกรผึ้ง และมีแนวโน้มที่จะกระจำยตัวเพิ่มขึ้น ถ้ำผู้เล้ียงผ้ึงไม่หำวิธีป้องกันกำจัด อย่ำงไรก็ตำม ปริมำณสปอร์ที่พบน้ันขึ้นอยู่กับช่วงเวลำในกำรก่อโรค และกำรขนถ่ำยเช้ือเมื่อเช้ือสำมำรถแพร่กระจำย เข้ำสผู่ ้งึ ทำให้กำรผลติ สปอรจ์ ะดำเนนิ ไปอย่ำงรวดเรว็ (Forsgen and Fries, 2010) ทำงผู้วิจัยได้แนะนำวิธีกำรป้องกันโดยให้ผู้เล้ียงผึ้งดูแลประชำกรผ้ึงให้แข็งแรง และจัดกำรรังผ้ึง ให้มีควำมสะอำด ขณะท่ีพบกำรระบำดของโรคโนซีมำ จะมีคำแนะนำให้ผู้เล้ียงผ้ึงนำไปปฏิบัติอยู่ 3 ข้ันตอนดังนี้ เม่ือพบลักษณะดังท่ีได้กล่ำวมำขั้นตอนแรกให้ทำกำรแยกและเคล่ือนย้ำยรังที่เกิดโรค ออก จำกรังปกติ เพื่อป้องกันกำรติดเชื้อไปยังรังอื่น ๆ ในต่ำงประเทศโรค โนซีมำรักษำด้วยสำรฟูมำจิลิน ซ่ึงเป็นยำปฏิชีวนะที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน สำหรับประเทศไทยยังไม่มีหลักฐำนกำรใช้สำรเคมีรักษำโรค โนซีมำ เนื่องจำกประเทศไทยยังไม่มีกำรนำเข้ำสำรฟูมำจิลิน อย่ำงไรก็ตำมมีรำยงำนพบสำรฟูมำจิลิน ตกค้ำงในน้ำผ้ึง และผลิตภัณฑ์ผึ้งในประเทศสหรัฐอเมริกำ (Lopez et al., 2008) และสำรนี้สกัดมำจำก เช้ือรำ ชนิด Aspergilus fumigates ซ่ึงเป็นพิษต่อมนุษย์ และสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Lowther and Matthews, 2000) นอกจำกนี้มีรำยงำนว่ำ N. ceranae ยังมีควำมต้ำนทำนต่อสำรฟูมำจิลิน (Huang et al., 2013) ทำงคณะผู้วิจัยจึงไม่แนะนำให้ใช้สำรดังกล่ำว ดังน้ันวิธีกำรป้องกันท่ีดีท่ีสุดต้องทำกำรรักษำ ควำมสะอำดรัง รวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกำรเล้ียงผ้ึงทั้งหมด โดยกำรรมด้วยสำรที่มีส่วนผสมของ

โรคแมลงท่เี กดิ จำกเช้ือโพรโทซัวและไมโครสปอรเิ ดยี 178 กรดอะซีติก (Acetic acid) 80% ส่วนอำหำรในรังผ้ึงท่ีมีกำรปนเปื้อนเชอ้ื ไม่ควรนำมำให้ผึ้งกิน เพรำะทำ ให้เกิดโรคได้อีก อย่ำงไรก็เมื่อพบกำรเกิดโรค ผู้เลี้ยงผึ้งต้องแจ้งกรมปศุสัตว์ หรือหน่วยงำนเจ้ำหน้ำที่ เกย่ี วขอ้ งทรำบ เพื่อทำตำมคำแนะนำของเจำ้ หน้ำที่อยำ่ งเคร่งครัด (กฤตมิ ำและพชั รนิ ทร์, 2558) กำรเล้ียงผ้ึงนับว่ำเป็นอุตสำหกรรมที่มีควำมสำคัญมำกข้ึนเรื่อย ๆ โดยดจู ำกข้อมูลกำรเล้ียงผงึ้ ใน ประเทศไทย โดยเฉพำะในเขตภำคเหนือตอนบน และยังมีกำรส่งออกผลผลิตน้ำผึ้งไปยังประเทศต่ำง ๆ อีกด้วย อย่ำงไรก็ตำมกำรเลี้ยงผ้ึงก็ยังพบปัญหำและอุปสรรคต่ำง ๆ มำกมำย เช่น ปัญหำทำงด้ำน สภำพแวดล้อม กำรจัดกำร ปัญหำคุณภำพน้ำผึ้ง รวมทั้งปัญหำโรคระบำดต่ำง ๆ ในฟำร์ม กำรแก้ไข ปัญหำเหล่ำนี้เกษตรกรผู้เล้ียงผึ้งควรจะได้รับควำมร่วมมือจำกนักวิชำกำรหลำย ๆ ด้ำน ท้ังนักวิชำกำร ทำงด้ำนกำรเกษตร และทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ เช้ือจุลินทรีย์ท่ีก่อโรคในผึ้งนั้นมีหลำยชนิดท้ังเชื้อแบคทีเรีย เช้ือรำ เชื้อไวรัส และจุลินทรีย์ชนิด อ่ืน ๆ กำรติดเช้ือจำกเชื้อแบคทีเรียและเช้ือรำน้ัน ผู้เล้ียงผึ้งสำมำรถสังเกตเห็นอำกำรของผึ้งได้อย่ำง ชัดเจน แตกต่ำงจำกเชื้อไวรัสท่ีมักไม่แสดงอำกำรให้เห็นมำกนัก แต่จะพบในรูปแบบของกำรลดลง ของ จำนวนประชำกำรของผ้งึ โดยไม่ทรำบสำเหตุส่งผลใหผ้ ลผลติ ลดลงและก่อควำมเสยี หำยใหแ้ ก่เกษตรกรได้ ไมโครสปอรำ (microspora) เป็นสิ่งมีชีวิตที่สรำ้ งสปอร์และมักก่อให้เกิดโรคในแมลง โนซีมำ ซ่ึง อำจเป็น (Nosema apis) หรือ โนซีมำ (N. ceranae) ก่อโรคในผึ้งที่เรียกว่ำโรคโนซีมำ (Nosema disease) ซึ่งพบในทวีปอเมรกิ ำรเหนือ ยุโรป ออสเตรเลีย และทวปี เอเชีย โรคน้ีเป็นโรคท่ีก่อให้เกิดอัตรำ กำรเกิดโรคและตำยในผ้ึง ผึ้งจะติดเช้ือนี้ได้โดยกำรกินสปอร์ของเชื้อท่ีติดมำกับอำหำรและน้ำเข้ำไป สิ่งแวดล้อมในทำงเดินอำหำรของผ้ึงจะทำให้สปอร์ของเช้ืองอก และจะมีกำรแบ่งตัวภำยในของเชื้อใน ช่องทำงเดินอำหำรส่วนกลำงของผ้ึง ซ่ึงอำจพบสปอร์ของเช้ือน้ีในช่องท้องของผ้ึงได้ถึง 30-50 ล้ำนตัว (Bailey and Ball, 1991) สปอร์ของเชื้อจะปนเปื้อนออกมำกับของเสียที่ผ้ึงขับถ่ำยออกมำ และเม่ือผึ้ง งำนมำทำควำมสะอำดก็จะเป็นพำหะและทำให้เกิดกำรติดเช้ือในผ้ึงตัวอ่ืน ๆ ต่อไป โนซีมำในผึ้งพันธุ์เกิด จำกเช้ือสองชนิดคือ N. apis และ N. ceranae เดิมพบเชื้อ N. apis เพียงชนิดเดียวในผ้ึงพันธ์ุ ส่วน N. ceranae จะพบในผึ้งโพรงเท่ำนั้น (Fries et al., 1996) ต่อมำได้พบว่ำผ้ึงพันธ์ุส่วนใหญ่ติดเชื้อ N. ceranae มำกกว่ำ N. apis และอำกำรของโรคในผ้ึงพันธ์ุจะรุนแรงกว่ำผ้ึงโพรง (Cox-Foster et al., 2007; Fries et al., 2006; Higes et al., 2006; Huang et al., 2007; Klee et al., 2007) รูป ร่ำง ลักษณะของเช้ือ N. apis จะมีลักษณะคล้ำยคลึงกับ N. ceranae แต่สปอร์ของเช้ือ N. ceranae จะสั้น กว่ำ ส่วนในทำงด้ำนพันธุกรรมพบว่ำเช้ือทั้งสองชนิดน้ีมีควำมแตกต่ำงกันในโครงสร้ำงของชุดยีนส์ที่สร้ำง ไรโบโซม (ribosomal DNA หรือ rDNA) เชื้อจะเจริญในเซลล์เย่ือบุของทำงเดินอำหำรส่วนกลำงของผ้ึง และผ้ึงจะแสดงอำกำรคล้ำยกับเป็นอัมพำต ทำงเดินอำหำรบวมโต สีขำวขุ่น ปล้องท้องยืดและบวม ผิดปกติ โดยอำกำรดังกล่ำวจะเป็นกำรดำเนินของโรคในระยะท่ีรุนแรงแล้ว ซ่ึงเม่ือเกษตรกรพบก็มักจะ สำยเกินไปที่จะทำกำรรักษำ กำรลดปัญหำกำรเกิดโรคโนซีมำที่ดี คือกำรตรวจวินิจฉัยท่ีมีควำมแม่นยำ โดยต้องสำมำรถบ่งบอกกำรติดเช้ือได้ก่อนกำรแสดงอำกำรทำงคลินิก เทคนิคทำงอณูชีววิทยำจัดเป็น เทคนิคท่มี ีควำมไวสงู และนยิ มในกำรตรวจวนิ จิ ฉัยโรคท้งั ในคนและสตั ว์

โรคแมลงทเ่ี กดิ จำกเชือ้ โพรโทซวั และไมโครสปอริเดยี 179 ดังน้ันคณะผู้วิจัยจึงเห็นควำมสำคัญในกำรพัฒนำเทคนิคในกำรตรวจหำเชื้อ N. ceranae ในผ้ึง โดยใช้เทคนิคกำรวินิจฉัยขั้นสูงในกำรตรวจวินิจฉัยโรค น่ันคือ Loop-mediated isothermal amplification (LAMP) ซึ่งเป็นเทคนิคที่มีควำมไวสูง และใช้เวลำในกำรตรวจวินิจฉัยท่ีรวดเร็ว ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่มีรำคำแพง ซึ่งเหมำะสมอย่ำงย่ิงต่อกำรตรวจวินิจฉัยโรคในผ้ึงในพ้ืนท่ี ท้ังน้ีเพ่ือ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในกำรป้องกันกำรระบำดของโรคโนซีมำ (Nosemiosis) ในผ้ึงต่อเกษตรกรผู้ เล้ียงผ้ึง LAMP เป็นเทคนิคที่มีควำมจำเพำะสูงเน่ืองจำก ในกระบวนกำรสังเครำะห์สำยดีเอ็นจะใช้ ไพรเมอร์ 4 ตัวซ่ึงมีควำมจำเพำะต่อ 6 ตำแหน่งของดเี อน็ เอเปำ้ หมำย (Gill and Ghaemi, 2008) ภำยใต้ เง่ือนไขของกำรใช้อุณหภูมิคงท่ีตลอดระยะเวลำในกำรเพิ่มจ้ำนวนของสำรพันธุกรรม (โดยทั่วไปคือ 65 °C) โดยอำศัย DNA polymerase (เชน่ Bst DNA polymerase) ซ่งึ มีคุณสมบัตพิ ิเศษคือเป็น strand displacement activity ซึ่งทำให้เกิดกำรแทนที่และปล่อยสำย single stranded DNA ใหม่ออกมำ ซ่ึงขั้นตอนดังกล่ำวเพียงพอต่อกำรเพิ่มจำนวน DNA มำกถึง 109-1010 เท่ำด้วยเวลำเพียง 15-60 นำที (Notomi et al., 2000) ซึ่งแตกต่ำงจำกปฏิกิริยำ PCR ทั่วไปท่ีไม่ต้องอำศัยขั้นตอนกำร denature สำย double stranded DNA เพื่อให้กลำยเป็น single strand นอกจำกน้ีเทคนิค LAMP สำมำรถ สังเครำะห์ได้ทั้ง DNA และ RNA ของยีนเป้ำหมำย โดยในส่วน RNA สำมำรถเพ่ิมเพียงขั้นตอน reverse transcriptase วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำเทคนิค Loop-mediated Isothermal amplification ในกำร ตรวจหำเช้อื N. ceranae ท่ีกอ่ โรคในผ้ึง โดยเปรียบเทยี กับวิธีปฏกิ ิรยิ ำลูกโซ่โพลิเมอเรส (Chupia et al., 2015) 8.10 สรุป เชื้อโพรโทซัวท่ีเป็นสำเหตุของโรคในแมลง แบ่งออกเป็น 5 ไฟลัม คือ Zoomastigona, Rhizopoda, Apicomplexa, Haplosporidia และ Ciliophora กลไกกำรเข้ำทำลำยแมลงของเช้ือโพรโทซัว เริ่มจำกแมลง กินสปอร์ของโพรโทซัวเข้ำไปผ่ำนกำรปนเป้ือนไปกับอำหำร เม่ือสปอร์ดังกล่ำวเข้ำสู่ทำงเดินอำหำรจะ ปล่อย sporozoite ออกมำ เจำะผนงั ลำไส้ของแมลงเพ่ือเข้ำสู่ระบบช่องว่ำงภำยในลำตัวแมลง มีกำรแบ่ง เซลล์ และแพร่กระจำยไปยังอวัยวะต่ำง ๆ ทำลำยระบบเลือด ระบบทำงเดินอำหำร รังไข่ และ ท่อขับถ่ำย แมลงท่ีติดเชอ้ื โพรโทซัว มกั ไม่ตำยในทันที เชื้อโพรโทซวั ทำใหแ้ มลงเจริญเติบโตผิดปกติ เข้ำสู่ระยะตัวเต็มวัย ช้ำ ควำมสมบูรณ์พันธุ์ต่ำ และทำให้แมลงมีสีของลำตัวซีดกว่ำแมลงปกติ (Tanada and Kaya, 1993) ตัวอย่ำงเชื้อโพรโทซัวที่สำคัญ ได้แก่ เชื้อ Herpetomonas muscarum เข้ำทำลำยริ้นตำ (Hippelates pusio) เชื้อ Malpighamoeba mellificae สำมำรถเข้ำทำลำยผ้ึงพันธ์ุ Apis mellifera ส่วนเชื้อ Malpighamoeba locustae เข้ำทำลำยตั๊กแตน ในขณะที่เชื้อ Tetrahymena pyriformis เข้ำ ทำลำยหนอนกินรังผึ้ง และยุง Culex tarsalis สำหรับเชื้อ Adelina cryptocerci สำมำรถทำลำยแมลงสำบ กินไม้ (Tanada and Kaya, 1993) ได้ เช้ือไมโครสปอริเดียเดิมถูกจัดกลุ่มอยู่กับเชื้อโพรโทซัว แต่ด้วยควำมรู้ทำงด้ำนชีวโมเลกุลทำให้เชื้อ ไมโครสปอริเดียถูกแยกออกจำกเช้ือโพรโทซัว ในปัจจุบันมีกำรค้นพบเช้ือไมโครสปอริเดียท่ีเป็นสำเหตุของ โรคแมลงเป็นจำนวนมำก สำหรับกลไกกำรเข้ำทำลำยแมลงของเช้ือไมโครสปอริเดีย เร่ิมต้นจำกสปอร์ของ

โรคแมลงทเ่ี กดิ จำกเชอื้ โพรโทซัวและไมโครสปอรเิ ดีย 180 เช้ือไมโครสปอริเดียเข้ำสู่ทำงเดินอำหำร สปอร์จะเจำะผนังเซลล์ของแมลง เพ่ือส่ง sporoplasm เข้ำสไู่ ซโตพลำสซึมของเซลล์ และมกี ำรแบ่งเซลล์เพ่ือเพิ่มจำนวนสปอร์ ก่อนแพร่กระจำยสปอร์ไปยังเซลล์ อืน่ ๆ เชื้อไมโครสปอรเิ ดียทำให้เซลล์ที่ติดเชื้อ มีกำรเพิ่มจำนวนนิวเคลียสมำกข้ึน และ ไซโทพลำซึม มีขนำด ขยำยเพ่ิมข้ึน เชื้อไมโครสปอริเดียที่มีกำรสร้ำงสปอร์เป็นจำนวนมำก สำมำรถทำให้เซลล์ของแมลงมีกำร ทำงำนผิดปกติ และตำยในท่ีสุด (Solter et al., 2012) ตัวอย่ำงเช้ือไมโครสปอริเดียที่สำคัญ ได้แก่ เชื้อ Nosema bombycis ซ่ึงเป็นสำเหตุของโรค pébrine ในหนอนไหม (Tanada and Kaya, 1993; Boucias and Pendland, 1998; James and Li, 2012) แ ล ะ เชื้ อ Nosema apis ท ำให้ เกิ ด โรค nosema ในผ้ึง (Boucias and Pendland, 1998) ในขณะท่ีเช้ือ Nosema pyrausta และ Nosema locustae สำมำรถเข้ำทำลำยหนอนเจำะลำต้นข้ำวโพด และต๊ักแตนได้ ตำมลำดับ (Boucias and Pendland, 1998; Solter et al., 2012) 8.11 เอกสำรอำ้ งองิ กฤติมำ ป้อต๊ะมำ และ พัชรินทร์ ครุฑเมือง. 2558. ตรวจสอบกำรแพร่กระจำยของโรคโนซีมำในผ้ึงพันธ์ุ ณ ลำนเล้ียงผ้ึงพันธ์ุจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูนและแพร่. วำรสำรวิทยำศำสตร์เกษตร. 46(2), 127-137. เดือนเพ็ญ วงค์สอน ศวิ ิลยั สิริมังครำรัตน์ และรชั นี ฮงประยรู . 2553. ประสิทธภิ ำพของเทคนคิ ELISA ใน กำรตรวจเชื้อ Nosema bombycis N. ของไหมหม่อน (Bombyx mori L.). ว. วิจยั มข. 15, 622-635. ทศั นีย์ นพรตั น์. 2553. กำรศกึ ษำแหลง่ แพร่ระบำดของเชื้อ Nosema bombycis N. สำเหตุโรคเพบรนิ จำกบรเิ วณเพำะเลยี้ งไหม. วทิ ยำนิพนธว์ ิทยำศำสตรมหำบัณฑติ . มหำวทิ ยำลยั ขอนแกน่ , ขอนแกน่ . 114 หน้ำ. ทพิ ยว์ ดี อรรถธรรม. 2535. โรควทิ ยำของแมลง. สำนักพมิ พ์มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร,์ กรงุ เทพฯ. มยรุ ี ลำวัลย.์ 2549. กำรพัฒนำวิธกี ำรตรวจสอบเชอ้ื Nosema bombycis N. สำเหตโุ รคเพบรินของไหม (Bombyx mori L.) โดยใชเ้ ทคนิคพีซีอำร์. วทิ ยำนิพนธว์ ทิ ยำศำสตรมหำบัณฑิต. มหำวิทยำลัย ขอนแก่น, ขอนแกน่ . 99 หนำ้ . อญั ชลี วงศ์แสน. 2549. กำรแพรร่ ะบำดของโรคโนซมี ำของผ้งึ (Apis mellifera L.) และโรคเพบรนิ ของ ไหม (Bombyx mori L.) ในแหล่งเพำะเลยี้ งท่ีสำคัญของประเทศไทย. วิทยำนิพนธ์วิทยำศำสตร มหำบณั ฑติ . มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น, ขอนแกน่ . 104 หนำ้ . Bailey, L and B.V. Ball. 1991. Honey Bee Pathology. second ed. Academic Press, London. Boucias, D.G. and J.C. Pendland. 1998. Principles of Insect Pathology. Kluwer Academic Publishers, Boston, USA.

โรคแมลงที่เกดิ จำกเช้อื โพรโทซวั และไมโครสปอริเดยี 181 Bourgeois, A.L., T.E. Rinderer, L.D. Beaman and R.G. Danka. 2010. Genetic detection and quantification of Nosema apis and Nosema ceranae in the honey bee. Invertebr. Pathol. J. 103, 53–58. Chen, Y.P., J.D. Evans, C. Murphy, R. Gutell, M. Zuker, R.D. Gundensen and J.S. Pettis. 2009. Morphological molecular and phylogenetic characterization of Nosema ceranae a microsporidian parasite isolated from the European honey bee, Apis mellifera. Euk. Microbiol. J. 56, 142–147. Chupia, V.P. Patchanee, P. Krutmeang and S. Pikulkeaw. 2015. Comparison of multiplex Polymerase Chain Reaction (PCR) and Loopmediated Isothermal Amplification (LAMP) for the detection of Nosema ceranae in honeybee colonies from Chiang Mai, Thailand. pp. 30-39. In: International conference on Interdisciplinary Research and Development (ICIRD), Maejo Univesity, ChiangMai, Thailand. Cox-Foster, D.L., S. Conlan, E. Holmes, G. Palacios, J. D. Evans, N.A. Moran, P.L. Quan, T. Briese, M. Hornig, D.M. Geiser, V. Martinson, D. vanEngelsdorp, A. L. Kalkstein, A. Drysdale, J. Hui, J. Zhai, L. Cui, S.K. Hutchison, J. F. Simons, M. Egholm, J.S. Pettis and W.I. Lipkin. 2007. A metagenomic survey of microbes in honey bee colony collapse disorder. Science. 318(5848), 283-287. Fries, I., Martin, R., Garcia-Palencia, P. and M. Higes. 2006. Natural infections of Nosema ceranae in European honey bees. Journal of Agricultural Research. 45(3), 230-233. Forsgren, E. and I. Fries. 2010. Comparative virulence of Nosema ceranae and Nosema apis in individual European honey bees. Vet. Parasitol. 170, 212-217. Gill, P. and A. Ghaemi. 2008. Nucleic acid isothermal amplification technologies - A review. Nucleosides Nucleotides & Nucleic Acids. 27(3), 224-243. Higes, M., Martin-Hernandez R., and A. Meana. 2006. Nosema ceranae, a new microsporidian parasite in honeybees in Europe. J. Invert. Pathol., 92, 81–83. Huang, W.F., Jiang, J.H., Chen, Y.W., and C.H. Wang. 2007. A Nosema ceranae isolate from the honey bee Apis mellifera. Apidologie 38, 30-37. Huang, W.F., L.F. Solte, P.M. Yau, and B.S. Imai. 2013. Nosema ceranae escapes fumagillin control in honey bees. PLOS Pathogens. 9 pp. James, R.R. and Z. Li. 2012. From silkworms to bees : diseases of beneficial insects. pp. 425-459. In : F.E. Vega and H.K. Kaya (eds.). Insect Pathology. Elsevier, New York, USA.

โรคแมลงที่เกดิ จำกเชือ้ โพรโทซัวและไมโครสปอริเดยี 182 Klee, L., A.M. Besana, E. Genersch, S. Gisder, A. Nanetti, D.Q. Tam, T.X. Chinh, F. Puerta, J.M. Ruz, P. Kryger, D. Message, F. Hatjina, S. Korpela, I. and R.J. Fries. 2007. Paxton Widespread dispersal of the microsporidian Nosema ceranae, an emergent pathogen of the western honey bee, Apis mellifera. J. Invert. Pathol., 96, pp. 1-10. Lange, C.E. and J.C. Lord. 2012. Protistan entomopathogens. pp. 367-394. In : F.E. Vega and H.K. Kaya (eds.). Insect Pathology. Elsevier, New York, USA. Lopez, M.I., J.S. Pettis, I.B. Smith and P.S. Chu. 2008. Multiclass determination and confirmation of antibiotic residues in honey using LC-MS/MS. Agric. Food Chem. J. 56, 1553-1559. Lowther, W.T. and B.W. Matthews. 2000. Structure and functions of the methionine aminopeptidases. Biochim. Biophys. Acta. J. 1477, 157-167. Mussen, E.C. 2011. Diagnosing and treating nosema disease. The University of California, Davis. 4 pp Notomi, T., Okayama, H., Masubuchi, H., Yonekawa, T., Watanabe, K., Amino, N. and T. Hase. 2000. Loop-mediated isothermal amplification of DNA. Nucleic Acids Res. 28, e63. OIE, Manual of Diagnostic Tests and Vaccines for Terrestrial Animals, Chapter 2.2.4. 2008. Nosemosis of honey bees. OIE, Paris, France. 4 pp. Solter, L.F., J.J. Becnel and D.H. Oi. 2012. Microsporidian entomopathogens. pp. 221-263. In : F.E. Vega and H.K. Kaya (eds.). Insect Pathology. Elsevier, New York, USA. Tanada, Y. and H.K. Kaya. 1993. Insect Pathology. Academic Press, New York, USA.

บทท่ี 9 โรคแมลงทเ่ี กดิ จำกไสเ้ ดอื นฝอย (Insect Disease Caused by Nematode) ไส้เดือนฝอย เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีไม่มีกระดูกสันหลัง ขนำดเล็ก มองเห็นด้วยตำเปล่ำค่อนข้ำงยำก ไส้เดือนฝอยที่เป็นสำเหตุของโรคในแมลง สำมำรถพบได้ในแมลงหลำยชนิด ไส้เดือนฝอยถูกนำมำใช้ ประโยชน์ในกำรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชที่มีควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจ ในบทน้ีจะกล่ำวถึง ลักษณะโครงสร้ำงของไส้เดือนฝอย กำรจำแนกไส้เดือนฝอย วงจรชีวิต กลไกกำรเข้ำทำลำยแมลง ควำมเฉพำะเจำะจงกับแมลงอำศัย ควำมผิดปกติของแมลงท่ีเกิดจำกไส้เดือนฝอย ควำมต้ำนทำนของ แมลงต่อไส้เดือนฝอย และกำรใช้ไส้เดือนฝอยในกำรกำจัดแมลง รวมถึงตัวอย่ำงกำรใช้ไส้เดือนฝอยเพื่อ กำจัดแมลงศตั รพู ืชทสี่ ำคญั ในประเทศไทย 9.1 ลกั ษณะโครงสรำ้ งของไสเ้ ดอื นฝอย ไส้เดือนฝอยเป็นส่ิงมีชีวิตขนำดเล็ก ลำตัวห่อหุ้มด้วยเย่ือบุที่มีควำมยืดหยุ่นบำงใส ไม่มีสี (noncellular elastic cuticle) ลำตัวไม่มีข้อ ปล้อง ไม่มีรยำงค์ท่ีใช้ในกำรเคลื่อนที่ ลักษณะหัวท้ำยเรียว เหมือนเส้นด้ำย (ภำพท่ี 9-1) ปลำยด้ำนหัวมีช่องเปิดของปำก อวัยวะภำยในประกอบด้วย ส่วนของคอ หอย (esophagus) ต่อกับทำงเดินอำหำรที่ มี ลั กษณ ะเป็ นท่ อโป่ งออกคล้ ำยกระเปำะ (vesicle) ซึ่งใช้สำหรับเก็บอำหำร ถัดไปเป็นส่วนของลำไส้ (intestine) ท่ีบริเวณส่วนกลำงของลำตัวมีช่องเปิด สำหรับใช้วำงไข่ เรียกว่ำ vulva และมีช่องเปิดท่ีอยู่เหนือส่วนของปลำยหำงขึ้นมำเล็กน้อย เป็น ช่องทวำรหนัก (anus) ดังภำพที่ 9-2 (Herbert and Blair, 2007) ไส้เดือนฝอยมีระบบขับถ่ำย ระบบประสำท ระบบย่อยอำหำร ระบบสืบพันธุ์ และระบบกล้ำมเนื้ออย่ำงสมบูรณ์ แต่ไม่มีระบบ หมุนเวียนโลหิตและระบบหำยใจท่ีแท้จรงิ กำรรับก๊ำซออกซิเจนของไสเ้ ดือนฝอยจะอำศัยกำรดูดซึมผ่ำน ทำงเยอ่ื หุ้มผนังลำตัว ภำพที่ 9-1 ไส้เดือนฝอย (Steinernema carpocapsae) (Herbert and Blair, 2007)

โรคแมลงท่เี กิดจำกไส้เดอื นฝอย 184 Oesophagus Anus Vesicle Inner (a) (b) cuticle Intestine Anus Outer (c) cuticle (d) ภำพที่ 9-2 โครงสรำ้ งอวัยวะภำยในของไส้เดอื นฝอย โดยท่ี (a) แสดงทำงเดินอำหำรส่วนตน้ (b) แสดง ทำงด้ำนอำหำรสว่ นกลำง (c) แสดงทำงเดนิ อำหำรสว่ นปลำย และ (d) แสดงผนงั ลำตัวส่วน นอกและสว่ นใน (Herbert and Blair, 2007) 9.2 กำรจำแนกไสเ้ ดอื นฝอย ไส้เดือน ฝอยท่ี เป็ น สำเห ตุของโรคแมลงจัดอยู่ใน ไฟ ลัม Nemata (syn. Nematoda) แบง่ ออกเปน็ 2 ชนั้ (class) คือ Adenophorea และ Secernentea แยกย่อยเปน็ อันดบั (order) ได้ดังน้ี Stichosomida, Rhabditida, Diplogasterida, Tylenchida แ ล ะ Aphelenchida (Tanada and Kaya, 1993) ท้ังนไ้ี สเ้ ดือนฝอยทม่ี คี วำมสำคัญและเป็นสำเหตขุ องโรคแมลง ดังแสดงในตำรำงท่ี 9-1 ตำรำงที่ 9-1 กำรจำแนกไส้เดือนฝอยทีเ่ ป็นสำเหตขุ องโรคในแมลง (Tanada and Kaya, 1993) Classification of insect-parasitic namatodes Phylum : Nemata (syn. Nematoda) Class : Adenophorea (syn. Aphasmida) Order : Stichosomida Family : Tetradonematidae Family : Mermithidae Class : Secernentea (syn. Phasmidia) Order : Rhabditida Family : Rhabditidae Family : Steinernematidae Order : Rhabditida Family : Heterorhabditidae Family : Oxyuridae

โรคแมลงทีเ่ กดิ จำกไสเ้ ดอื นฝอย 185 ตำรำงที่ 9-1 กำรจำแนกไส้เดือนฝอยท่ีเปน็ สำเหตุของโรคในแมลง (Tanada and Kaya, 1993) (ตอ่ ) Classification of insect-parasitic namatodes Order : Diplogasterida Family : Diplogasteridae Order : Tylenchida Family : Allantonematidae Family : Sphaerulariidae Order : Aphelenchida Family : Aphelenchoididae Family : Entaphelenchidae Order : Rhabditida Family : Heterorhabditidae Family : Oxyuridae Order : Diplogasterida Family : Diplogasteridae Order : Tylenchida Family : Allantonematidae Family : Sphaerulariidae Order : Aphelenchida Family : Aphelenchoididae Family : Entaphelenchidae 9.3 วงจรชีวติ ของไส้เดอื นฝอย วงจรชีวิตของไส้เดือนฝอยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ (1) ไข่ (egg) (2) ตัวอ่อน (juvenile หรือ immature stages) และ (3) ตัวเต็มวัย (adult) ไส้เดือนฝอยเพศเมียจะวำงไข่ในสภำพธรรมชำติ หลังจำกนั้น ไขจ่ ะฟักออกมำเป็นตัวอ่อน และตวั ออ่ นดงั กล่ำวมีกำรลอกครำบ 4 คร้ัง กำรลอกครำบแต่ละคร้งั จะเรียก ตัวอ่อนระยะที่ 1-4 ตำมลำดับ หลังจำกนั้นตัวอ่อนจะเข้ำสู่ระยะตัวเต็มวัย ในวงจรชีวิตดังกล่ำวใช้ ระยะเวลำประมำณ 1-2 สัปดำห์ สำหรับตัวอ่อนระยะที่ 3 เรียกว่ำ “dauer juvenile” หรือ “dauer” บำงตำรำเรียกว่ำ infective juvenile (Lewis and Clarke, 2012) เป็นช่วงท่ีตัวอ่อนมีควำมแข็งแรง วอ่ งไว และมีควำมทนทำนต่อสภำพแวดล้อมสูง จึงทำให้ตัวอ่อนของไส้เดือนฝอยในระยะนี้สำมำรถเข้ำ ทำลำยแมลงได้ดีท่ีสุด หลังจำกแมลงอำศัยตำย ไส้เดือนฝอยจะออกจำกซำกของแมลง เข้ำไปอำศัยอยู่ในดิน เพื่อผสมพันธุ์และวำงไข่อีกครั้งหนึ่ง ลักษณะกำรสืบพันธ์ุของไส้เดือนฝอยมีทั้งแบบท่ีอำศัยเพศ และไม่ อำศัยเพศ อย่ำงไรก็ตำมวงจรชีวิตของไส้เดือนฝอยมีทั้งสว่ นท่ีอำศัยอยู่ในดินหรอื ดำรงชีวิตอย่ำงอิสระ (free- living) และส่วนที่อำศัยอยู่ในลำตัวแมลง (Kaya and Gaugler, 1993; Gaugler, 2002; Grewal et al., 2005a, 2005b) (ภำพท่ี 9-3)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook