Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้น ม.1-3

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้น ม.1-3

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้น ม.1-3
โดย คุณครูกัญญาณี แสนตรี

Search

Read the Text Version

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชีแ้ จง: ให้ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนือ้ หา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ ............/................./................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรุง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็  2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ น่ื   3 การทำงานตามหนา้ ท่ีที่ได้รบั มอบหมาย  4 ความมนี ้ำใจ   5 การตรงต่อเวลา     รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ............/.................../................ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน การมี ลำดบั ที่ ช่ือ–สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี ส่วนร่วมใน ของนกั เรียน ความ ฟังคนอ่นื ตามทีไ่ ดร้ ับ นำ้ ใจ การ รวม คิดเห็น มอบหมาย ปรบั ปรุง 15 ผลงานกลุ่ม คะแนน 321321321321321 ลงชือ่ ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............./.................../............... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงค์ดา้ น รายการประเมิน 32 1 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมที่สรา้ งความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี กีย่ วกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามที่โรงเรียนจัดขึ้น 2. ซื่อสัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมลู ทถี่ ูกตอ้ งและเป็นจรงิ 2.2 ปฏบิ ัติในส่งิ ทถ่ี ูกตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับของครอบครัว มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆ ในชวี ิตประจำวนั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัตไิ ด้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เช่อื ฟงั คำส่งั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้ 4.4 ตง้ั ใจเรยี น 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และร้คู ุณค่า 5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยัดและมกี ารเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 6.1 มีความตงั้ ใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพือ่ ให้งานสำเร็จ 7. รักความเปน็ ไทย 7.1 มจี ติ สำนกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน 8.2 ร้จู กั การดูแลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนและ โรงเรียน เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ..................................................ผูป้ ระเมนิ พฤติกรรมท่ีปฏิบัติชดั เจนและสม่ำเสมอ ............/.................../................ พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ัดเจนและบ่อยครงั้ พฤติกรรมที่ปฏิบตั บิ างครัง้ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดมี าก ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ ต่ำกวา่ 30 ปรบั ปรุง

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ว 4.2 ม.2/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการ เผยแพรผ่ ลงาน รายการ ดมี าก (4) เกณฑ์การประเมิน (ระดบั คุณภาพ) ปรับปรงุ (1) ระดับ ประเมนิ คณุ ภาพ บอกประเภทของ ดี (3) พอใช้ (2) ไม่สามารถบอกประเภท 1. ประเภทของลิขสทิ ธิ์ ลิขสทิ ธไ์ิ ด้ถกู ตอ้ งดมี าก ของลิขสทิ ธไิ์ ด้ถูกต้อง ดีมาก บอกประเภทของ บอกประเภทของ ลขิ สิทธไ์ิ ดถ้ ูกตอ้ งดี ลิขสิทธ์ิได้ถกู ต้องพอใช้ 2. การใชส้ ารสนเทศทผี่ ิด บอกวธิ กี ารใช้ บอกวิธกี ารใช้ บอกวิธีการใช้ ไม่สามารถบอก ดี จริยธรรม สารสนเทศท่ผี ดิ สารสนเทศทผี่ ดิ สารสนเทศท่ีผดิ วธิ กี ารใช้สารสนเทศที่ พอใช้ จริยธรรมได้ถกู ต้องดี จริยธรรมได้ถกู ต้องดี จรยิ ธรรมไดถ้ ูกต้อง ผิดจริยธรรมไดถ้ ูกต้อง ปรับปรงุ 3. ความสมบูรณข์ องผลงาน มาก พอใช้ ผลงานมีความครบถ้วน ผลงานมคี วามครบถว้ น ผลงานมคี วามครบถว้ น สมบรู ณ์คอ่ นข้างดี ผลงานมคี วามครบถ้วน สมบูรณ์นอ้ ย สมบรู ณ์ดมี าก สมบรู ณด์ เี ป็นบางสว่ น 4. สง่ งานตรงเวลา สง่ ภาระงานภายในเวลา ส่งภาระงานช้ากว่า ส่งภาระงานชา้ กวา่ สง่ ภาระงานช้ากวา่ กำหนด 2 วนั กำหนดเกิน 3 วันขน้ึ ไป ท่ีกำหนด กำหนด 1 วัน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 16 ดีมาก 10 - 13 ดี 7 - 9 พอใช้ 1 - 6 ปรบั ปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

สารบญั หนา้ เนื้อหา คำนำ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 การรวบรวมขอ้ มลู แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การประมวลผลข้อมลู แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การใชซ้ อฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 การสบื ค้นเพือ่ หาแหลง่ ข้อมลู แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 การประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูล แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 การรเู้ ท่าทนั สอื่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 กฎหมายคอมพวิ เตอร์และลิขสิทธิ์ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 แนวคดิ และองคป์ ระกอบของ IoT แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๐ ซอฟตแ์ วร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชนั แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ ซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน (๒) บันทึกหลังหลงั การจดั การเรียนรู้

สรุปหลกั สูตร วิทยาศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กำหนดสาระการเรียนรู้ ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มสี าระเพิม่ เตมิ 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววทิ ยา สาระ เคมี สาระฟิสกิ ส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ องค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ ละระดับชัน้ ให้มคี วามตอ่ เนื่องเช่ือมโยงกันตัง้ แต่ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 จนถึงชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 สำหรับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียน เป็นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชวี ิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ ได้ โดยจัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ เรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหา อยา่ งเป็นระบบ สามารถตัดสนิ ใจโดยใช้ข้อมลู หลากหลายและประจกั ษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความ สอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการ เรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตลอดจนการเช่อื มโยงเนอ้ื หาความรู้ทางวทิ ยาศาสตรก์ ับคณติ ศาสตรด์ ว้ ย นอกจากนี้ ยัง ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และ ทัดเทยี มกบั นานาชาติ ซ่งึ สรปุ ได้ดงั แผนภาพ





ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางวิทยาศาสตร์ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชวี ติ จริงอย่างเปน็ ขนั้ ตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม ช้นั ตัวชีว้ ัด ม.๓ ว 4.2 ม.๓/1 พฒั นาแอพลิเคชนั่ ท่มี ีการบรู ณาการกับรายวชิ าอืน่ ว ๔.๒ ม.๓/๒ รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม วัตถุประสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือบริการบนอินเทอรเ์ นต็ ทห่ี ลากหลาย ว ๔.๒ ม.๓/๓ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ ขา่ วสารทผ่ี ิด เพือ่ การใชง้ านอยา่ งร้เู ทา่ ทนั ว ๔.๒ ม.๓/๔ ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั และมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติ ตามกฎหมายเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ ใชล้ ิขสทิ ธิ์ของผอู้ น่ื โดยชอบธรรม

คำอธิบายรายวิชา รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลา 40 ช่ัวโมง/ปี ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและ สารสนเทศ ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อ ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาเก่ยี วกบั แอพลเิ คชน่ั เทคโนโลยี loT และการ พฒั นาแอพลิเคชัน่ โดยอาศยั กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นให้ผู้เรยี นได้ลงมือปฏิบตั ิ ฝึกทกั ษะการคดิ เผชญิ สถานการณ์ การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเองผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบมีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่ออสาร เบื้องต้นในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชา วิทยาศาสตร์และนำเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดข้ึนไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ่อสงั คมและการดำรงชวี ติ จนสามารถ พัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการ สื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมใน การใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ ตัวชว้ี ดั ว 4.2 ม.๓/1 พัฒนาแอพลเิ คชั่นทีม่ ีการบูรณาการกบั รายวิชาอน่ื ว ๔.๒ ม.๓/๒ รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม วัตถปุ ระสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวร์หรอื บริการบนอนิ เทอร์เนต็ ที่หลากหลาย ว ๔.๒ ม.๓/๓ ประเมนิ ความน่าเช่ือถือของขอ้ มูล วิเคราะห์สอ่ื และผลกระทบจากการใหข้ า่ วสาร ที่ผดิ เพื่อการใช้งานอยา่ งรเู้ ท่าทัน ว ๔.๒ ม.๓/๔ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติ ตามกฎหมายเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ ใชล้ ขิ สิทธ์ขิ องผูอ้ นื่ โดยชอบธรรม รวม ๔ ตวั ชว้ี ดั

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ จำนวน ๙ ชัว่ โมง เร่ือง การรวบรวมข้อมูล คาบท่ี ๑-๒ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ตัวชีว้ ดั ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศตาม วัตถปุ ระสงค์ โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอรเ์ นต็ ที่หลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกลักษณะและประเภทของขอ้ มลู ได้ (K) 2. เลอื กวิธีการรวบรวมขอ้ มูลได้เหมาะสมกบั ประเภทขอ้ มูลได้ (K,P) 3. ตระหนักถงึ ความสำคัญของวธิ ีการรวบรวมข้อมลู (A) 3. สาระสำคญั การรวบรวมขอ้ มลู เปน็ ข้นั ตอนทส่ี ำคญั ที่สดุ ของการจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ ดังนน้ั ควรมี ความเข้าใจเกยี่ วกบั ลกั ษณะและประเภทของข้อมูล ตลอดจนวิธีการรวบรวมข้อมูล เพ่ือจะไดน้ ำไป ประยกุ ตใ์ ช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกบั งานของตน หากพจิ ารณาถึงประเภทของข้อมลู สามารถแบง่ ได้ เป็น 2 กลุ่ม ตามแหลง่ ท่ีมาของข้อมลู ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมลู ทุติยภมู ิ 4. สาระการเรียนรู้ 1. การรวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ 2. การรวบรวมขอ้ มูลทตุ ิยภูมิ 5. รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน 1. รปู แบบการสอนแบบการอภิปราย 2. วิธกี ารสอนโดยเน้นกระบวนการกลุม่ (Group Process–Based Instruction) 6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสือ่ สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 7. ทกั ษะ 4 Cs

 ทกั ษะการคดิ วจิ ารณญาณ (Critical Thinking)  ซ่ือสัตย์ สจุ ริต  ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)  ใฝเ่ รียนรู้  ทักษะการส่ือสาร (Communication Skill)  มุง่ มั่นในการทำงาน  ทกั ษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)  มีจติ สาธารณะ 8. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์  มีวินัย  อยอู่ ย่างพอเพยี ง  รกั ความเป็นไทย 9. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่วั โมงที่ ๑ 1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การจัดการข้อมูลและ สารสนเทศ เพอ่ื วดั ความร้เู ดิมของนักเรยี นก่อนเข้าส่กู จิ กรรม ข้ันนำ (10 นาท)ี 1. ครูสอบถามนักเรยี นว่า “ในภาคเรยี นที่ผา่ นมา นกั เรยี นชอบวิชาไหนมากที่สดุ เพราะอะไร” (ครูสุ่มถามนักเรียน 4 – 5 คน) 2. จากนน้ั ครถู ามต่อวา่ “คำถามทค่ี รถู ามขา้ งต้นเปน็ ลักษณะของข้อมลู ประเภทไหน” (แนวคำตอบ ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ) ข้ันสอน (30 นาท)ี 1. ครูทบทวนความรู้นักเรียน โดยการถามคำถาม ถ้าเราพิจารณาข้อมูลตามแหล่งที่มาของข้อมูล สามารถแบ่งข้อมูลได้กี่ประเภท อะไรบ้าง (นักเรียนได้เรียนเรื่อง การจัดการข้อมูลและสารสนเทศใน ระดับช้นั ม.1) (แนวคำตอบ 2 ประเภท คอื ขอ้ มูลปฐมภมู แิ ละขอ้ มูลทุติยภูม)ิ 2. ครูอธบิ ายกับนักเรียนว่าขอ้ มูลแต่ละประเภทมีลกั ษณะต่างกัน การรวบรวมขอ้ มลู จงึ ตา่ งกัน 3. ครูใหน้ ักเรยี นเปดิ ในหนงั สือเรียนวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 3 – 5 และอธิบายการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ สามารถทำได้ดังนี้ การ สัมภาษณ์ส่วนบุคคล การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การใช้แบบสอบถาม และการสังเกต (ให้นักเรียนศึกษา วิธีการรวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิเพม่ิ เติมในหนังสอื เรยี น อจท. หนา้ 3 – 5) 4. ครูถามนักเรียนว่า ในตอนต้นชั่วโมงครูถามเรื่องวิชาที่นักเรียนชอบมากที่สุด เพราะอะไร เป็น การเกบ็ รวบรวมข้อมลู แบบใด (แนวคำตอบ การสมั ภาษณส์ ่วนบุคคล) 5. ครูอธบิ ายการรวบรวมขอ้ มลู ทตุ ิยภมู ิ ในหนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 6 ในการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ สามารถแบ่งออกได้ 2 รูปแบบ ได้แก่ ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมลู ภายในและข้อมูลจากแหล่งข้อมลู ภายนอก (ให้ นกั เรยี นศึกษาวธิ กี ารรวบรวมขอ้ มลู ทตุ ิยภมู เิ พมิ่ เติมในหนงั สอื เรยี น อจท. หนา้ 6)

6. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึก Exercise ในหนงั สือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) หน้า 3 – 6 เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจ ชัว่ โมงที่ ๒ ขั้นสอน (40 นาท)ี 7. ครสู นทนากับนกั เรยี นวา่ “ในคาบท่ีแลว้ นักเรียนรวู้ า่ ตัวเองชอบวชิ าอะไร คาบนเ้ี รามาจะมาดูว่า สาขาที่นักเรียนอยากเรยี นต่อและอาชพี ท่ีอยากทำอนาคต จะสัมพันธ์กันหรอื ไม่” 8. ครสู นทนากบั นกั เรยี นในการจัดการข้อมูลอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เราต้องเลือกวธิ ใี หเ้ หมาะสมกับ วัตถุประสงค์ที่เราจะใช้งาน ตั้งแต่เลือกวิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีการประมวลผล และการนำเสนอข้อมูล จากน้ันครใู ห้นักเรียนแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน 9. ครูแจกใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง อาชพี ในอนาคต ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรวบรวมขอ้ มูลของนกั เรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 20 คน ขึ้นไป ตามหัวข้อที่กำหนดให้ (กลุ่มประชากรที่แต่ละกลุ่มรวบรวม ขอ้ มลู ไม่ควรซ้ำกนั ) 10. จากน้นั ครใู หน้ กั เรียนวางแผนวิธกี ารรวบรวมขอ้ มูลท่ีเหมาะสม โดยนกั เรียนสามารถเลอื ก เพือ่ นตา่ งห้องได้ ใช้คาบพกั เที่ยงในการรวบรวมข้อมลู กลุ่มเป้าหมายทน่ี ักเรียนต้องการได้ เช่น นักเรียนต่าง ห้อง เพอ่ื ไมใ่ หก้ ระทบการเรียนของนกั เรยี นห้องอ่นื ขั้นสรปุ (10 นาที) 1. ครใู ห้นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายถึงความสำคญั ของวิธกี ารรวบรวมข้อมลู 2. ครูสนทนากบั นกั เรยี นว่า ถา้ นกั เรียนรวบรวมขอ้ มลู เสรจ็ แล้ว ขั้นตอนตอ่ ไปจะตอ้ งนำข้อมูลที่ รวบรวมไดไ้ ปประมวลผล ซึ่งในคาบถดั ไป เราจะมาเรยี นร้เู รื่อง การประมวลผลข้อมลู เพอ่ื ใหข้ ้อมูลนน้ั อยู่ใน รปู แบบทม่ี ีประโยชนแ์ ละตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน 10. ส่อื แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนรู้ ที่ 1 เร่อื ง การจัดการข้อมลู และสารสนเทศ 2. หนงั สอื แบบฝกึ หัดรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรื่อง การจัดการข้อมลู และสารสนเทศ 3. ใบงานที่ 1.1.1 เรอ่ื ง อาชพี ในอนาคต 11. การวดั และการประเมินผล 11.1 การประเมินระหว่างการจดั กจิ กรรม จุดประสงค์ วิธกี ารประเมนิ เคร่ืองมอื การประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. บอกลกั ษณะและ ตรวจแบบฝึกหดั แบบฝกึ หัดรายวิชา บอกลกั ษณะและ พ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทของข้อมลู ได้ ประเภทของข้อมลู ได้ (K) Exercise หนา้ 3–6 เทคโนโลยี (วทิ ยาการ ถกู ต้อง 60% ข้นึ ไป คำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1

จดุ ประสงค์ วิธีการประเมนิ เคร่ืองมือการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน เรอ่ื ง การจัดการข้อมลู 2. เลอื กวธิ กี ารรวบรวม ตรวจใบงานที่ 1.1.1 และสารสนเทศ เลือกวธิ กี ารรวบรวม ข้อมูลได้เหมาะสมกับ เรือ่ ง อาชีพในอนาคต หน้า 3–6 ขอ้ มูลได้เหมาะสมกับ ประเภทข้อมลู ได้ (K, P) (ขอ้ 1) แบบประเมินใบงานท่ี ประเภทข้อมลู ได้ในระดับ 1.1.1 เร่อื ง อาชีพใน คณุ ภาพพอใชข้ ้นึ ไปถอื วา่ 3. ตระหนกั ถงึ ตรวจใบงานท่ี 1.1.1 อนาคต ผา่ น ความสำคัญของวิธีการ เร่อื ง อาชีพในอนาคต อธบิ ายวิธกี ารรวบรวม รวบรวมขอ้ มลู (A) (ขอ้ 3) แบบประเมนิ ใบงานท่ี ขอ้ มูลวา่ มีประโยชน์กบั 1.1.1 เรอ่ื ง อาชพี ใน การรวบรวมข้อมลู ท่ี อนาคต ต้องการไดช้ ดั เจน ใน ระดับคุณภาพพอใช้ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่าน 11.2 การประเมนิ ใบงานท่ี 1.1.1 เรื่อง อาชีพในอนาคต ประเด็นในการประเมิน 3 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 2 สามารถเลอื กวิธีการ 1. การเลือกวิธกี าร สามารถเลอื กวธิ ีการ สามารถเลือกวิธีการ รวบรวมข้อมูลให้ เหมาะสมกบั รวบรวมข้อมลู รวบรวมข้อมูลให้ รวบรวมขอ้ มลู ให้ วตั ถปุ ระสงค์การใชง้ าน และเหมาะกบั กลุ่ม เหมาะสมกับ เหมาะสมกบั ตัวอย่างเพียงบางสว่ น วัตถปุ ระสงค์การใช้งาน วัตถุประสงค์การใช้งาน และเหมาะกบั กล่มุ และเหมาะกบั กลมุ่ เปน็ ตัวอยา่ ง ส่วนใหญ่ 2. เหตุผลการเลือกวธิ ี สามารถบอกเหตขุ อง สามารถบอกเหตขุ อง สามารถบอกเหตขุ อง รวบรวมขอ้ มลู การเลอื กวธิ ีรวบรวม การเลอื กวธิ ีรวบรวม การเลือกวธิ ีรวบรวม ขอ้ มูลไดส้ มเหตสุ มผล ข้อมลู ได้สมเหตุสมผล ขอ้ มูลไดส้ มเหตสุ มผล เป็นสว่ นใหญ่ เพียงบางส่วน 3. ความสำคญั ของ อธิบายวิธีการรวบรวม อธบิ ายวธิ กี ารรวบรวม อธบิ ายวธิ ีการรวบรวม วิธีการรวบรวมข้อมลู ขอ้ มูลว่ามีประโยชน์กบั ข้อมลู ว่ามปี ระโยชน์กับ ขอ้ มลู วา่ มปี ระโยชน์กับ การรวบรวมข้อมูลท่ี การรวบรวมข้อมูลท่ี การรวบรวมขอ้ มลู ที่ ต้องการได้ชดั เจน ต้องการไดช้ ัดเจนเป็น ตอ้ งการได้เพียง ส่วนใหญ่ บางส่วน

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 8–9 ดี 5–7 พอใช้ น้อยกว่า 5 ปรับปรุง

ใบงานท่ี 1.1.1 เรือ่ ง อาชีพในอนาคต คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ รวบรวมข้อมูลทเี่ กยี่ วข้องกับการเรยี นและอาชีพทอี่ ยากทำในอนาคต อย่างน้อย 20 คน 1. วธิ กี ารรวมข้อมูล (อาจมากกว่า 1 วธิ )ี พร้อมเหตผุ ล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 2. ข้อมลู ทเี่ กย่ี วข้อง สาขาท่ีอยากเรียน คณะท่อี ยากเรียน อาชพี ท่ีอยากทำใน ช่ือ – สกลุ ห้อง ต่อในระดบั มัธยม ตอ่ ในระดับ อนาคต ตอนปลาย ปริญญาตรี 3. วธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูลช่วยให้นกั เรียนเขา้ ใจส่ิงท่คี น้ หาอย่างไร ............................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................................................ ................. .................................................................................................................. ....................................................... 4. ภาคผนวก (ถ้าม)ี ............................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ จำนวน ๙ ช่ัวโมง เรื่อง การประมวลผลข้อมลู คาบท่ี ๓-๖ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชวี ิตจริงอย่างเป็น ขัน้ ตอนและเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมีจริยธรรม ตวั ชว้ี ดั ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศตาม วัตถุประสงค์ โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื บรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประเภทของการประมวลผลข้อมลู ได้ (K) 2. เลือกวธิ ีการประมวลข้อมูลท่ีเหมาะสมกับประเภทของข้อมลู ได้ (K,P) 3. ยกตัวอยา่ งประโยชน์ของการประมวลผลขอ้ มลู ทเี่ หมาะสมกับประเภทของข้อมูล (A) 3. สาระสำคญั เพือ่ ใหข้ อ้ มูลอยู่ในรปู แบบท่เี ป็นประโยชน์ตรงตามความต้องการ โดยการประมวลผลข้อมลู สามารถแบ่งตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยมอื การประมวลผลขอ้ มลู ด้วย เคร่อื งจักรกล และการประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพวิ เตอร์ 4. สาระการเรยี นรู้ 1. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ 2. การประมวลผลข้อมูลดว้ ยเคร่ืองจักร 3.การประมวลผลข้อมูลดว้ ยคอมพิวเตอร์ 5. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน 1. รปู แบบการสอนแบบการอภิปราย 2. วธิ กี ารสอนโดยเนน้ กระบวนการกลมุ่ (Group Process–Based Instruction) 3. วิธีการสอนโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ (Computational Thinking) 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทกั ษะ 4Cs ซือ่ สัตย์ สุจรติ ทกั ษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking) ใฝเ่ รียนรู้ ทกั ษะการทำงานร่วมกนั (Collaboration Skill) มุง่ มัน่ ในการทำงาน ทักษะการส่ือสาร (Communication Skill) มีจิตสาธารณะ ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) 8. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มวี นิ ัย อย่อู ย่างพอเพียง รกั ความเปน็ ไทย 9. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขน้ั นำ (10 นาที) 1. ครูสอบถามว่าจากการสำรวจข้อมูลของกลุม่ ตัวอยา่ งในคาบที่แล้ว แต่ละกลุ่มใช้วิธกี ารรวบรวม ข้อมูลแบบใดบ้าง (แนวคำตอบ การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การใช้ แบบสอบถาม) 2. ครูสนทนากับนักเรียนว่า เราสามารถนำข้อมูลนั้นมาใช้เลยได้หรือไม่ (แนวคำตอบ ได้แต่ไม่ สะดวกต่อการใช้งาน เพราะฉะนน้ั เราจะตอ้ งนำขอ้ มูลมาประมวลผลก่อน) ขั้นสอน (40นาที) 1. ครูอธบิ ายการประมวลผลข้อมูลในหนังสือเรยี นวชิ า เทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 7 การประมวลผลข้อมูลเป็นวิธีการจัดการกับ ข้อมูล อาจเป็นการคำนวณหรือการเปรียบลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปแบบที่มีประโยชน์ตรง กับจุดประสงค์ของผู้ใช้งาน ซึ่งการประมวลผลข้อมูลแบ่งออกตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การ ประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล และการประมวลผลข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์ 2. จากน้ันครูอธิบาย “การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ” ในหนงั สอื เรยี นวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 บรษิ ัท อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. หน้า 7 3. ครูสนทนาวา่ จากขอ้ มลู ทใี่ หไ้ ปรวบรวมข้อมลู ในกจิ กรรมอาชพี ในฝัน ใหน้ ักเรยี นนำขอ้ มูล อาชีพที่อยากทำในอนาคตมาจัดอันดับ โดยการนำข้อมูลของกลุ่มตนเองมาจัดอันดับอาชีพที่มีคนอยากทำ มากท่ีสดุ 5 อันดบั 4. ครูใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมานำเสนออาชีพ 5 อนั ดับแรกจากการรวบรวมขอ้ มลู ของกลุม่ ตนเอง (ระหวา่ งทน่ี ักเรยี นนำเสนอ ครูจดขอ้ มลู ของแต่ละกลุ่มบนกระดาน หรอื พมิ พ์ลงบน Excel) 5. ครถู ามนกั เรียนวา่ วธิ ีการจดั การกับขอ้ มูลท่รี วบรวมไดจ้ ากเพื่อน 20 คนในคาบที่แล้วเปน็ การ

ประมวลผลประเภทใด เพราะอะไร (แนวคำตอบ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ เพราะข้อมูลน้อยคำนวณ ด้วยตนเองได้) ชว่ั โมงที่ ๒ ขั้นสอน (50 นาที) 6. ครูสนทนากับนักเรยี นวา่ คาบทผ่ี ่านมานกั เรยี นได้ประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยมือ เราทราบอย่แู ล้ว วา่ การประมวลผลข้อมลู สามารถทำได้หลายวธิ ี จากนั้นครูอธิบาย “การประมวลผลขอ้ มูลด้วย เครือ่ งจักรกล” ในหนงั สือเรยี นวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 บรษิ ทั อักษร เจรญิ ทัศน์ อจท. หนา้ 7 7. ครยู กตวั อย่างการประมวลผลข้อมูลดว้ ยเครื่องจกั รกล เช่น เครือ่ งคดิ เลขในมนิ มิ าร์ททเ่ี ปน็ เครอ่ื งทำบญั ชี อาชีพนักบัญชีที่ต้องมีการคำนวณเก่ียวกับเงินซึ่งต้องการความแม่นยำสูงจะมีเคร่ืองทำบัญชี เข้ามาช่วยทำให้การคำนวณแม่นยำมากขึ้น โดยการทำงานของเครื่องก็จะมีฟังก์ช่ันต่าง ๆ ที่สะดวกต่อการ คำนวณตวั เลข 8. ครูตง้ั คำถามวา่ หากข้อมลู ทเี่ ราตอ้ งการประมวลผลมจี ำนวนท่มี ากขึน้ จนไม่สามารถประมวล ได้เอง เราจะมวี ธิ ีการแกป้ ญั หาอยา่ งไร (แนวคำตอบ ใชค้ อมพวิ เตอร์มาช่วยในการประมวลผลขอ้ มลู ทำใหไ้ ด้ขอ้ มลู ทร่ี วดเร็ว) 9. ครูยกตวั อย่างว่าในแตล่ ะเทอมเราจะตอ้ งตัดเกรด และในขนั้ ตอนการตัดเกรดมีคะแนนทตี่ ้อง คำนวณหลายอยา่ ง ซึ่งครูส่วนใหญจ่ ึงจำเปน็ ต้องใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยในการประมวลผลข้อมูล จะแม่นยำกว่า และประมวลผลเรว็ กว่า 10.ครูสอบถามวา่ นกั เรียนทราบหรอื ไม่การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์มลี ำดบั ข้นั ตอน อย่างไร (แนวคำตอบ ข้นั ตอนท่ี 1 การนำเขา้ ข้อมลู ขน้ั ตอนที่ 2 การประมวลผลข้อมูล ข้นั ตอนที่ 3 การ แสดงผล) 11.จากนั้นครูอธบิ ายลำดบั การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยคอมพิวเตอร์ ในหนังสอื เรียนวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 8 12.ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หัด exersice ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) หนา้ 7–10 เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ ชว่ั โมงที่ ๓ ขนั้ สอน (50 นาท)ี (ตอ่ ) 13.ครูอธบิ ายวธิ กี ารประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ในหนงั สือเรียนวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 9 – 10 ซึ่งวิธีการประมวลผลด้วย คอมพวิ เตอร์ แบง่ เป็น 2 วิธี ดงั นี้ การประมวลผลแบบแบตช์ และการประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทิฟ (ครู ยกตวั อยา่ งในหนังสือเรยี น แลว้ ให้นักเรยี นศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากหนังสือเรียน) 14.จากนน้ั ครูอธิบายเน้อื หาในหนังสอื เรยี นวิชา เทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี

3 บรษิ ัท อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. หน้า 11 – 13 กรรมวธิ ีในการประมวลผลข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์ มีวิธีใน การประมวลผลหลายวิธี ได้แก่ 1) การคำนวณ 2) การจัดเรียงข้อมูล 3) การจัดกลุ่มข้อมูล 4) การสืบค้น ข้อมูล 5) การรวบรวมขอ้ มูล 6) การสรุปผล 7) การทำรายงาน 8) การบันทึก 9) การปรับปรงุ ข้อมลู 10) การสำเนาขอ้ มลู 11) การสำรองข้อมูล 12) การกขู้ อ้ มลู 13) การส่อื สารข้อมลู 14) การบบี อัดข้อมลู 15. ครูยกตัวอย่างกรรมวธิ ีในการประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยคอมพวิ เตอร์บางข้อใหน้ ักเรียนฟัง 1) การคำนวณขอ้ มลู เชน่ การนำระดบั เกรดของแตล่ ะวิชามาคำนวณเพ่อื หาเกรดเฉล่ีย 2) การจัดเรียงข้อมูล เช่น การเรียงลำดับจากน้อยไปมาก การเรยี งตวั อกั ษร 3) การจดั กลุ่มข้อมลู เช่น สรุปข้อมูลผลการเรียนนกั เรยี นตามชั้นของนักเรียน เช่น เกรดเฉลยี่ นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 4) การสืบคน้ ข้อมลู เช่น ครูคน้ หาขอ้ มูลผลการเรียนนักเรยี นจากช่ือ คน้ หาขอ้ มลู นกั เรียจาก รหัสนักเรียน 5) การรวมขอ้ มูล เช่น การนำประวตั ิการเขา้ แถวมารวมกับประวตั ผิ ลการเรยี น 16. ครูสนทนากับนกั เรียนวา่ จากคาบเรยี นทีแ่ ลว้ เราพูดถงึ ขัน้ ตอนการประมวลผลขอ้ มลู มี 3 ขั้นตอน จากนั้นให้นักเรียนศึกษารายละเอียดในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 บริษทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 14 – 17 17. ครตู ง้ั คำถามวา่ จากตัวอยา่ งในหนังสือเรียน อจท. หน้า 15 – 17 ให้นักเรยี นยกตวั อยา่ ง ประโยชนข์ องการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพวิ เตอร์ ถ้าสมมตเิ ราต้องการเก็บข้อมลู เพื่อทำโปรโมชันลูกค้า ร้านสะดวกซื้อ เราควรรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง ควรจัดกลุ่มข้อมูลแบบไหน ประมูลผลข้อมูลออกมาใน รปู แบบใด เพอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการเรียกใช้งาน ให้นกั เรยี นตอบคำถามลงสมุด (แนวคำตอบ สร้างแบบสอบถามเพ่ือใหล้ ูกค้ากรอกข้อมูลท่ีจำเป็นต้องใช้ เชน่ ชอื่ – นามสกุล อายุ ที่อยู่ปัจจุบัน เบอร์โทรศัพท์ e-mail ความสนใจต่าง ๆ เช่น สนใจผลิตภัณฑ์ความสวยความงาม สนใจ ผลิตภัณฑ์สุภาพ เป็นต้น จากนนั้ เรานำมาสร้างรหัสเพื่อง่ายต่อการค้นหา เชน่ ลูกค้าทสี่ มัครคนแรกของร้าน S ตั้งรหัสเป็น S620001 หมายถึงสมัครปี62คนที่0001 เป็นต้น แล้วนำมากลุ่มข้อมูล เช่น เขตพื้นที่ เดียวกัน กลุ่มช่วงอายุ กลุ่มความสนใจ เป็นต้น เวลาเรียกใช้งานสามารถพิมพ์ค้นหาตามคีย์เวิร์ด เช่น ตอ้ งการส่งe-mail จดั โปรโมชนั ความสวยความงามใหก้ บั ลูกค้าทส่ี นใจผลิตภณั ฑ์ด้านน้ี เราสามารถสบื ค้นได้ จากทเ่ี ราจดั กลุ่มลกู คา้ ไว้ ) 18. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หัด Activity ในหนังสอื แบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) หนา้ 13 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ขน้ั สอน (40 นาที) ช่ัวโมงท่ี ๔ 18. ครูสุ่มนักเรียนเพื่อยกตัวอย่าง กรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ใน แต่ละวิธี เพ่อื เปน็ การทบทวนความรคู้ าบที่ผ่านมา 19. ครถู ามคำถามนักเรยี นวา่ ในการเลือกศึกษาตอ่ ในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย และ

ระดับอุดมศึกษาเราควรต้องคำนึงข้อมูลด้านใดบ้าง (แนวคำตอบ วิชาที่เราถนัด คณะที่เราสนใจให้ สอดคล้องกบั อาชพี ท่ีเราอยากทำ) 20. ครสู นทนากบั นักเรียนว่า จากข้อมูลทีน่ กั เรียนจัดอนั ดบั อาชพี ทีม่ ีคนอยากทำมากท่สี ุด 5 อันดับ (กิจกรรมในช่ัวโมงที่ 1) ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลว่าถา้ ทำงาน 5 อาชีพนี้นักเรียนควรเรียนคณะอะไร ค่าเทอมเท่าไร รวบรวมข้อมูลอย่างน้อย 6 มหาวิทยาลัยขึ้นไป จากนั้นหาค่าเฉลี่ยค่าเทอมว่าถ้าอยากทำ อาชพี น้ี จะต้องเรียนคณะไหนและมีคา่ ใช้จ่ายเฉล่ยี เทา่ ไรต่อเทอม (เพอื่ ให้ใหน้ กั เรยี นไดเ้ ห็นความสำคัญการ วางแผนค่าใช้จ่ายท่จี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคตในการเรยี นคณะนนั้ ๆ) 21. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั วางแผน รวบรวมข้อมลู ประมวลผลขอ้ มูลดว้ ย คอมพิวเตอร์ (นักเรียนสามารถเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมกับข้อมูลและความถนัดได้ เป็นความรู้ใน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1) ขนั้ สรปุ (10 นาท)ี 1. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปรายการประมวลผลขอ้ มลู แต่ละประเภท และวธิ กี ารเลือก เคร่อื งมือในการประมวลผลให้เหมาะสมกับข้อมลู 10. สื่อแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนรู้ ท่ี 1 เร่อื ง การจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ 2. หนงั สือแบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 3. คอมพวิ เตอร์ 11. การวดั และการประเมินผล 11.1 การประเมนิ ระหวา่ งการจัดกจิ กรรม จดุ ประสงค์ วิธีการประเมิน เคร่ืองมือการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน บอกลกั ษณะและ 1. บอกประเภทของ ตรวจแบบฝกึ หดั แบบฝึกหดั รายวิชา ประเภทของข้อมูลได้ การประมวลผลข้อมูล Exercise หนา้ 7–10 พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง 60% ข้ึนไป ได้ (K) เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) ม.3 เลือกวธิ กี ารรวบรวม 2. เลือกวธิ กี ารประมวล ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ขอ้ มูลไดเ้ หมาะสมกับ ข้อมูลท่ีเหมาะสมกับ Activity หน้า 13 เรื่อง การจดั การข้อมลู ประเภทข้อมลู ได้ใน ประเภทของข้อมูลได้ และสารสนเทศ ระดับคุณภาพพอใช้ข้นึ (K,P) หน้า 7–10 ไปถือว่าผา่ น แบบฝกึ หดั รายวชิ า พน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

จดุ ประสงค์ วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมอื การประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ เร่อื ง การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ หนา้ 13 2. แบบประเมิน 3. ยกตวั อย่าง การตอบคำถาม (ใน 1. แบบประเมนิ เห็นความสำคัญของ ประโยชนข์ องการ แผนการสอน ชั่วโมงท่ี วธิ กี ารรวบรวมข้อมลู ประมวลผลขอ้ มลู ท่ี 3 ขอ้ 17) ในระดับคุณภาพพอใช้ เหมาะสมกบั ประเภท ข้นึ ไปถือวา่ ผา่ น ของขอ้ มลู (A) 11.2 การประเมนิ การทำแบบฝกึ หดั ประเด็นในการประเมิน 3 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 1. การเลือกวิธีการ สามารถเลือกอุปกรณ์ สามารถเลือกอุปกรณ์ สามารถเลือกอปุ กรณ์ ประมวลผลขอ้ มลู และวธิ ีการประมวลผล และวิธกี ารประมวลผล เหมาะสมกบั ข้อมลู ได้ ข้อมูลที่เหมาะสมกับ ขอ้ มลู ท่ีเหมาะสมกบั แตว่ ธิ ีการประมวลผล ข้อมูล วัตถุประสงค์การ ขอ้ มลู วัตถุประสงค์การ ข้อมลู อาจไมต่ รงตาม ใชง้ านได้ ใชง้ านได้สว่ นใหญ่ วัตถปุ ระสงค์การใช้งาน เพียงบางสว่ น 2. ยกตวั อยา่ ง สามารถยกตัวอย่าง สามารถยกตัวอยา่ ง สามารถยกตัวอยา่ ง ประโยชน์ของการ ประโยชนข์ องการ ประโยชน์ของการ ประโยชน์ของการ ประมวลผลข้อมูลที่ ประมวลผลข้อมูลท่ี ประมวลผลข้อมูลท่ี ประมวลผลข้อมูลที่ เหมาะสมกบั ประเภท เหมาะสมกบั ประเภท เหมาะสมกับประเภท เหมาะสมกับประเภท ของขอ้ มลู ของข้อมูลได้ เขยี น ของขอ้ มลู ได้ เป็นส่วน ของข้อมูลไดเ้ พียง อธบิ ายชดั เจน ใหญ่ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 5–6 ดี 3–4 พอใช้ นอ้ ยกว่า 3 ปรับปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ จำนวน ๙ ชว่ั โมง เร่อื ง การใช้ซอฟต์แวร์ในการจดั การข้อมูลและสารสนเทศ คาบท่ี ๗-๙ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทันและมจี ริยธรรม ตัวชว้ี ัด ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นำเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศตาม วตั ถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือบรกิ ารบนอนิ เทอร์เนต็ ท่ีหลากหลาย 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ใชซ้ อฟตแ์ วร์ทเี่ หมาะสมในการจดั การข้อมลู และสารสนเทศและตรงกบั วตั ถุประสงค์การใช้ งานได้ (K, P) 2. ตระหนกั ถึงข้อมูลท่นี ำเสนอว่าจะไมส่ ่งผลกระทบต่อผอู้ ่ืน (A) 3. สาระสำคญั เพื่อให้ข้อมูลอย่ใู นรูปแบบทีเ่ ป็นประโยชนต์ รงตามความต้องการ โดยการประมวลผลข้อมูล สามารถแบ่งตามอุปกรณ์ท่ใี ช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยมือ การประมวลผลข้อมลู ด้วย เคร่ืองจักรกล และการประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอร์ 4. สาระการเรยี นรู้ 1. การประมวลผลข้อมูลดว้ ยมือ 2. การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยเคร่ืองจักร 3.การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์ 5. รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน 1. รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย 2. วิธีการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group Process–Based Instruction) 3. วธิ ีการสอนโดยใช้แนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซื่อสตั ย์ สุจริต 7. ทักษะ 4Cs ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน ทักษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking) มจี ิตสาธารณะ ทักษะการทำงานรว่ มกัน (Collaboration Skill) ทกั ษะการสือ่ สาร (Communication Skill) ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์ (Creative Thinking) 8. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ มวี นิ ยั อย่อู ยา่ งพอเพยี ง รักความเป็นไทย 9. การจดั กระบวนการเรียนรู้ แบบอภิปรายและแบบกระบวนการกล่มุ 10. สื่อแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ ท่ี 1 เร่อื ง การจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ 2. หนงั สือแบบฝกึ หัดรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ 3. คอมพวิ เตอร์ 11. การวดั และการประเมินผล 11.1 การประเมินระหว่างการจดั กจิ กรรม จดุ ประสงค์ วิธกี ารประเมนิ เคร่อื งมือการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน บอกลักษณะและ 1. บอกประเภทของ ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝึกหดั รายวิชา ประเภทของข้อมูลได้ การประมวลผลข้อมูล Exercise หนา้ 7–10 พื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ถกู ต้อง 60% ข้ึนไป ได้ (K) เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ม.3 เลอื กวธิ กี ารรวบรวม 2. เลือกวิธีการประมวล ตรวจแบบฝึกหดั หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ข้อมูลไดเ้ หมาะสมกับ ข้อมลู ท่ีเหมาะสมกับ Activity หน้า 13 เร่ือง การจดั การข้อมูล ประเภทข้อมูลได้ใน ประเภทของข้อมูลได้ และสารสนเทศ ระดบั คุณภาพพอใช้ขน้ึ (K,P) หนา้ 7–10 ไปถือว่าผ่าน แบบฝกึ หดั รายวิชา พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

จดุ ประสงค์ วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมอื การประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ เร่อื ง การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ หนา้ 13 2. แบบประเมิน 3. ยกตวั อย่าง การตอบคำถาม (ใน 1. แบบประเมนิ เห็นความสำคัญของ ประโยชนข์ องการ แผนการสอน ชั่วโมงท่ี วธิ กี ารรวบรวมข้อมลู ประมวลผลขอ้ มลู ท่ี 3 ขอ้ 17) ในระดับคุณภาพพอใช้ เหมาะสมกบั ประเภท ข้นึ ไปถือวา่ ผา่ น ของขอ้ มลู (A) 11.2 การประเมนิ การทำแบบฝกึ หดั ประเด็นในการประเมิน 3 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 1. การเลือกวิธีการ สามารถเลือกอุปกรณ์ สามารถเลือกอุปกรณ์ สามารถเลือกอปุ กรณ์ ประมวลผลขอ้ มลู และวธิ ีการประมวลผล และวิธกี ารประมวลผล เหมาะสมกบั ข้อมลู ได้ ข้อมูลที่เหมาะสมกับ ขอ้ มลู ท่ีเหมาะสมกบั แตว่ ธิ กี ารประมวลผล ข้อมูล วัตถุประสงค์การ ขอ้ มลู วัตถุประสงค์การ ข้อมลู อาจไมต่ รงตาม ใชง้ านได้ ใชง้ านได้สว่ นใหญ่ วัตถปุ ระสงค์การใช้งาน เพียงบางสว่ น 2. ยกตวั อยา่ ง สามารถยกตัวอย่าง สามารถยกตัวอยา่ ง สามารถยกตัวอย่าง ประโยชน์ของการ ประโยชนข์ องการ ประโยชน์ของการ ประโยชน์ของการ ประมวลผลข้อมูลที่ ประมวลผลข้อมูลท่ี ประมวลผลข้อมูลท่ี ประมวลผลข้อมลู ที่ เหมาะสมกบั ประเภท เหมาะสมกบั ประเภท เหมาะสมกับประเภท เหมาะสมกับประเภท ของขอ้ มลู ของข้อมูลได้ เขยี น ของขอ้ มลู ได้ เป็นส่วน ของข้อมูลไดเ้ พียง อธบิ ายชดั เจน ใหญ่ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 5–6 ดี 3–4 พอใช้ นอ้ ยกว่า 3 ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ จำนวน ๙ ชั่วโมง เรอ่ื ง การสบื ค้นเพอ่ื หาแหลง่ ขอ้ มูล คาบที่ ๑๐-๑๑ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ ความนา่ เชือ่ ถอื ของข้อมลู กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รูเ้ ท่าทันและมจี รยิ ธรรม ตัวช้ีวัด ม.3/3 ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู วเิ คราะหส์ ่ือและผลกระทบจากการใหข้ า่ วสารที่ ผดิ เพอ่ื การใชง้ านอยา่ งรเู้ ทา่ ทนั 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกขัน้ ตอนการสืบคน้ เพื่อหาแหลง่ ข้อมลู ด้วยอินเทอรเ์ นต็ ได้ (K) 2. คน้ หาข้อมูลได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ (P) 3. ค้นหาขอ้ มูลทีม่ ีความน่าเชอื่ ถือและมคี ณุ ค่าสำหรบั การนำไปใช้ประโยชน์ได้ (P,A) 3. สาระสำคญั การสืบคน้ แหลง่ ข้อมูลเป็นกระบวนการค้นหาข้อมูลทตี่ ้องการ โดยใช้เคร่อื งมือต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1. การสบื ค้นข้อมูลด้วยมอื คือ การสืบค้นขอ้ มูลดว้ ยเอกสาร หนงั สือ ตำรา เป็นตน้ 2. การสบื ค้นขอ้ มลู ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ คือ การสบื ค้นข้อมูลผา่ นเทคโนโลยหี รืออปุ กรณ์ คอมพวิ เตอร์ เชน่ การสืบค้นขอ้ มลู จากระบบฐานขอ้ มลู ข้อมลู ออนไลน์ เปน็ ตน้ 4. สาระการเรียนรู้ 1. การสบื ค้นข้อมูลด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ 2. ขั้นตอนการสบื ค้นเพื่อหาแหล่งขอ้ มูลดว้ ยอนิ เทอร์เน็ต 5. รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน 1. รปู แบบการสอนแบบการอภปิ ราย 2. วิธกี ารสอนโดยเน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning) - เทคนิคค่คู ดิ (Think Pair Share) 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการสือ่ สาร  ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแกป้ ญั หา  ซือ่ สตั ย์ สุจรติ  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ  ใฝ่เรยี นรู้  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี  มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. ทกั ษะ 4 Cs  มจี ติ สาธารณะ  ทักษะการคดิ วจิ ารณญาณ (Critical Thinking)  ทกั ษะการทำงานร่วมกนั (Collaboration Skill)  ทกั ษะการส่ือสาร (Communication Skill)  ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์ (Creative Thinking) 8. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์  มีวนิ ยั  อยอู่ ยา่ งพอเพียง  รกั ความเปน็ ไทย 9. การจดั กระบวนการเรียนรู้ ชัว่ โมงที่ ๑ 1. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง ความน่าเชอ่ื ถอื ของข้อมลู เพอื่ วดั ความรูเ้ ดมิ ของนกั เรยี นก่อนเข้าสู่กิจกรรม ขัน้ นำ (10 นาท)ี 1. ครูสอบถามนกั เรยี นวา่ หากต้องการทราบขอ้ มูลเรอื่ งที่สนใจ นกั เรียนมวี ธิ กี ารคน้ หาขอ้ มลู ได้ อย่างไร และใช้เครื่องมือใด (แนวคำตอบ คน้ หาจากอินเทอรเ์ นต็ โดยใช้ google ค้นด้วยตำราหรือหนงั สอื ) ข้นั สอน (30 นาท)ี 1. ครอู ธิบายเนือ้ หาในหนังสอื เรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) อจท. หน้า 25 ในอดีต การค้นหาข้อมูลส่วนใหญ่จะใช้วิธีการสืบค้นข้อมูลด้วยมือ เนื่องจากข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในหนังสือ เอกสาร ตำรา แต่ในยุคปัจจบุ ันคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เน็ตถกู ใช้งานอย่างแพร่หลาย ดงั น้ันวธิ ีการสบื ค้นข้อมูลด้วย ระบบคอมพวิ เตอร์จงึ เปน็ ทน่ี ยิ ม 2. ครูอธบิ ายเนอื้ หาในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ) อจท. หน้า26 ข้อมลู ท่ีมี อยู่ในอินเทอร์เน็ตนั้นมีขนาดใหญ่ การสืบค้นจึงควรมีวิธีการหรือเครื่องมือเข้ามาช่วย เช่น กำหนด วัตถุประสงค์ของการสืบค้น ประเภทของข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้ อุปกรณ์และความรู้ที่ใช้ในการสืบค้น บรกิ ารอนิ เทอร์เน็ต เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสำหรับสืบค้น 3. ครสู นทนากบั นักเรยี นวา่ อินเทอร์เนต็ ที่มีทงั้ ประโยชนแ์ ละโทษ ครถู ามคำถามว่า “นักเรยี นคดิ วา่ อนิ เทอร์เนต็ ใหป้ ระโยชนอ์ ย่างไรกับตวั นกั เรียนบ้าง” (แนวคำตอบ ใชใ้ นการสืบคน้ ข้อมลู ไดร้ วดเรว็ ประหยดั เวลา ใชต้ ิดต่อสารสารกับคนอน่ื ) 4. จากนัน้ ครูถามคำถามนกั เรยี นวา่ “แลว้ คดิ ว่าอนิ เทอร์เนต็ มีโทษกบั ตัวนักเรยี นหรอื ไม่ อยา่ งไร”

(แนวคำตอบ เล่นมากไปเสียการเรยี น) 4. ครอู ธิบายเพิม่ เตมิ ในเน้อื หาประโยชนแ์ ละโทษของอนิ เทอรเ์ นต็ จากหนังสอื เรยี นวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) อจท. หน้า 27 – 28 5. ครูใหน้ กั เรียนดูแนวทางการใช้อินเทอรเ์ นต็ อยา่ งมีคุณธรรมและจรยิ ธรรมในหนังสอื หน้า 29 และสรปุ แนวคดิ เรื่องคุณธรรมและจริยธรรมในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ รว่ มกนั 6. ครยู กตวั อย่างภาพเกย่ี วกับการโพสในโซเชยี ลเกีย่ วกบั คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ อินเทอร์เน็ตให้นักเรียนดู และให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าข้อความที่โพสเหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร ตัวอยา่ งข้อความท่โี พสลงโซเชยี ล 7. ครูให้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั exersice ในหนังสือแบบฝกึ หัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) หนา้ 19 – 21 ขอ้ 1 – 4 เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ ช่ัวโมงท่ี ๒ ขน้ั สอน (40 นาที) 9. ครสู อบถามนกั เรียนว่าหากต้องการสบื คน้ ข้อมลู ผา่ นอินเทอรเ์ น็ตสามารถใช้เคร่ืองมือใดได้บ้าง (แนวคำตอบ Google, bing, yahoo) 10. ครอู ธบิ ายเคร่ืองมือสำหรับสบื คน้ ข้อมลู ผ่านอินเทอรเ์ น็ตจากหนังสอื เรียนวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) อจท. หน้า 30 – 32 11. ครใู ห้นักเรยี นจบั คเู่ พอื่ ทำกิจกรรม “คำไหนเรว็ กว่ากนั ” กิจกรรมนี้ต้องการให้นกั เรยี นกำหนด คำสำคญั ของการสบื คน้ ขอ้ และสามารถประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือข้องแหล่งข้อมูลได้ 12. ครกู ำหนดใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคู่คน้ หาคำตอบจากอนิ เทอรเ์ น็ตโดยมือถือ แท็บเล็ต หรอื แลป็ ทอ็ ป 13. ครถู ามนกั เรียนวา่ จากการทำกิจกรรมเพอื่ ค้นหาข้อมูลให้ไดเ้ รว็ ท่สี ดุ ไดแ้ นวคิดอยา่ งไรบ้าง 14. ครูถามนักเรียนตอ่ วา่ หากต้องการคน้ หาข้อมูลท่สี นใจ นักเรยี นมีการวางแผน ข้ันตอน หรอื เทคนคิ อยา่ งไรบา้ ง 15. ครูอธิบายความสำคัญ ข้ันตอนการสบื ค้นขอ้ มูลเพบนอนิ เทอรเ์ น็ต และเทคนคิ การสืบค้นดว้ ย

Google.com จากหนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) อจท. หนา้ 33 – 36 16. จากน้ันครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝึกหดั exersice ในหนังสือแบบฝกึ หดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) หน้า 21 – 23 ขอ้ 5 – 8 เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ ข้ันสรปุ (10 นาท)ี 1. ครูสอบถามนกั เรยี นว่าจากนไ้ี ปหากต้องการสบื ค้นข้อมูลผา่ นอินเทอรเ์ น็ตต้องมีขั้นตอนอยา่ งไร 2. ครูให้นกั เรยี นสรปุ เทคนคิ การค้นหาขอ้ มูลท่ีนักเรียนไดเ้ รียนรู้รว่ มกนั 10. สอ่ื แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ ท่ี 2 เร่ือง ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มูล 2. หนงั สอื แบบฝึกหดั รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการ เรยี นรูท้ ่ี 2 เรื่อง ความน่าเช่อื ถือของข้อมูล 3. ใบงานท่ี 2.1.1 เร่อื ง คำไหนเร็วกว่ากนั 11. การวัดและการประเมินผล 11.1 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรม จดุ ประสงค์ วิธีการประเมนิ เครือ่ งมือการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ 1. บอกขั้นตอนการ ตรวจแบบฝกึ หดั ตอบคำถามแบบฝึกหดั สืบคน้ เพื่อหา Exersice หน้า 19 - แบบฝึกหัดรายวชิ า ได้ถูกต้อง 60% ขึ้นไป แหล่งข้อมลู ดว้ ย 21 พน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ อนิ เทอรเ์ น็ตได้ (K) เทคโนโลยี (วทิ ยาการ 1. ค้นหาขอ้ มลู ได้ตรง 1. ตรวจใบงานท่ี คำนวณ) ม.3 ตามวัตถปุ ระสงค์ 2. คน้ หาข้อมูลได้ตรง 2.1.1 เรอ่ื ง คำไหนเร็ว หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คุณภาพระดับพอใช้ขน้ึ ตามวัตถปุ ระสงค์ (P) กวา่ กนั เรอ่ื ง ความนา่ เชื่อถือ ไป 2. ตรวจแบบฝึกหดั ของข้อมูล 2. ตอบคำถาม Exersice หนา้ 21 - แบบฝึกหดั ได้ถูกต้อง 23 1. ใบงานที่ 2.1.1 60% ข้นึ ไป เรื่อง คำไหนเรว็ กว่ากนั 2. แบบฝึกหดั รายวชิ า พื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง ความนา่ เชื่อถือ 3. คน้ หาข้อมลู ท่ีมี ตรวจใบงานท่ี 2.1.1 ใบงานที่ 2.1.1 คน้ หาขอ้ มูลทม่ี ีความ ความน่าเชอ่ื ถือ และมี เร่ือง คำไหนเรว็ กว่ากนั เรอ่ื ง คำไหนเร็วกวา่ กัน น่าเช่อื ถือ และมีคุณค่า คุณคา่ สำหรับการ สำหรบั การนำไปใช้ นำไปใชป้ ระโยชน์ได้ ประโยชนไ์ ด้ คณุ ภาพ (P,A) ระดบั พอใช้ขึ้นไป

11.2 การประเมินแบบฝึกหัด ประเดน็ ในการประเมิน 3 เกณฑ์การให้คะแนน 1 1. ค้นหาข้อมูล สามารถกำหนดคำ 2 สามารถกำหนดคำ สำคญั ในการคน้ หา สำคญั ในการคน้ หา สามารถกำหนดคำ ข้อมลู ได้เพยี งบางส่วน สำคัญในการค้นหา และข้อมลู ท่ีได้ ขอ้ มลู ได้ตรงประเดน็ ข้อมลู ไดต้ รงประเด็น ครอบคลุมเพยี ง เปน็ ส่วนใหญ่ และ บางส่วนเชน่ กัน และข้อมูลท่ีได้ ขอ้ มลู ที่ได้ครอบคลมุ ตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ ครอบคลุมตาม ตอ้ งการ วัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ 2. แหล่งท่ีมาของข้อมูล แหลง่ ท่มี าของข้อมลู มา แหล่งท่ีมาของข้อมลู มา แหลง่ ทม่ี าของข้อมูลมา จากหลายแหลง่ และมี จากหลายแหลง่ และมี จากหลายแหล่ง และมี ความนา่ เชื่อถือ ถูกต้อง ความนา่ เชอื่ ถือ ถูกตอ้ ง ความน่าเช่อื ถือ ถูกตอ้ ง มีคณุ ค่าสำหรับการ มคี ณุ คา่ สำหรับการ แตข่ อ้ มูลอาจจะไม่ นำไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ นำไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ สามารถนำไปใช้ เป็นสว่ นใหญ่ ประโยชนไ์ ด้จริง เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 5–6 ดี 3–4 พอใช้ นอ้ ยกว่า 3 ปรบั ปรงุ

ใบงานท่ี 2.1.1 เร่ือง คำไหนเร็วกว่ากนั จดุ ประสงค์ 1. กำหนดคำสำคญั สำหรบั การสบื คน้ ขอ้ มลู ได้ 2. ประเมนิ ความน่าเช่ือถอื ของขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสบื คน้ ได้ ชอ่ื สมาชิก 1………………………………………………………………………………………………… 2………………………………………………………………………………………………… คำช้แี จง ครใู หน้ กั เรยี นจับคู่สืบคน้ หาขอ้ มูลที่กำหนดใหต้ ่อไปน้ี โดยใชอ้ ินเทอร์เนต็ 1. การป้องกนั ตวั เมอ่ื ไปเทีย่ วทะเลแลว้ พลาดว่ายนำ้ ไปโดนแมงกะพรนุ จะแก้ปญั หาอย่างไร คำสำคัญในการค้นหาขอ้ มลู ................................................................................................... ..................... ข้อมลู ที่ค้นหา............................................................................................................... ............................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหลง่ ทีม่ าของขอ้ มลู …………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. เม่ือเป็นตะคริวขณะวา่ ยนำ้ จะเอาตัวรอดอยา่ งไร คำสำคัญในการคน้ หาขอ้ มูล...................................................................................................... .................. ข้อมูลท่ีค้นหา..................................................................................... ......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู …………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. เม่อื ผหู้ ญงิ โดนคกุ คามจากชายฉกรรจ์ ควรมีวิธปี ้องกันตัวอย่างไร คำสำคัญในการค้นหาข้อมลู ...................................................................................................... .................. ข้อมูลทค่ี ้นหา.................................................................................................. ............................................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหลง่ ที่มาของข้อมูล…………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ถ้าเจอเหตกุ ารณท์ ม่ี ีคนเปน็ ลมชัก จะต้องทำอยา่ งไรเปน็ อันดบั แรก คำสำคญั ในการค้นหาขอ้ มูล........................................................................................................................ ข้อมูลท่ีคน้ หา............................................................................................................... ............................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหล่งทีม่ าของข้อมลู …………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. เม่ือเป็นตะครวิ ขณะวา่ ยนำ้ จะเอาตวั รอดอยา่ งไร คำสำคัญในการค้นหาขอ้ มลู ...................................................................................... .................................. ข้อมูลที่ค้นหา............................................................................................................... ............................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหล่งที่มาของข้อมูล…………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชอื่ ...................................................................................................เลขท่.ี ............... ..........ชน้ั ..........................

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๕ จำนวน ๙ ช่ัวโมง เรอื่ ง การประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมูล คาบที่ ๑๒-๑๕ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ ความนา่ เช่ือถอื ของข้อมลู กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี้ ดั สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้นั ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทันและมีจรยิ ธรรม ตัวชว้ี ดั ม.3/3 ประเมินความน่าเช่อื ถอื ของข้อมลู วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ขา่ วสารที่ ผดิ เพอื่ การใชง้ านอยา่ งรู้เท่าทนั 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหลกั การการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของขอ้ มลู ได้ (K) 2. ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถอื ของข้อมูลได้ (P) 3. คำนงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึนจากการใช้เหตผุ ลวิบัตไิ ด้ (A) 3. สาระสำคญั การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกข้อมูลที่ได้จากการ สืบค้นข้อมูลที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ เป็นการพิจารณาเพื่อคัดเลือกจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจากการ ประเมินความน่าเชื่อถอื จะทำใหเ้ ราไดข้ ้อมูลท่ีมคี ุณคา่ และนำขอ้ มลู ไปประยุกต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ 1. หลักการประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มูล 2. การตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือของขอ้ มลู 3. การประเมนิ ความน่าเช่อื ถอื ของข้อมลู โดยใช้PROMPT 4. เหตุผลวบิ ตั ิ 5. รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน 1. รูปแบบการสอนแบบการอภปิ ราย 2. วธิ ีการสอนโดยเน้นกระบวนการกลมุ่ (Group Process–Based Instruction) 6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการส่อื สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ  ซอ่ื สัตย์ สุจริต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี  ใฝ่เรียนรู้  ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 7. ทกั ษะ 4 Cs  มีจติ สาธารณะ  ทกั ษะการคดิ วจิ ารณญาณ (Critical Thinking)  ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)  ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill)  ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) 8. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์  รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์  มวี นิ ยั  อยอู่ ยา่ งพอเพียง  รกั ความเป็นไทย 9. การจดั กระบวนการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี ๑ ขนั้ นำ (10 นาที) 1. ครูถามนักเรียนวา่ ขอ้ มูล ข่าวสารในอินเทอรเ์ น็ตมอี ย่มู ากมายหากเราตอ้ งการนำเอาข้อมูลไป ใช้ประโยชน์นกั เรียนมวี ิธกี ารในการคดั เลือกข้อมูลทีน่ ่าเชือ่ ถืออยา่ งไร (แนวคำตอบ ขอ้ มลู ตรงกบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้งาน แหลง่ ขอ้ มูลมคี วามน่าเชอ่ื ถอื ) ขนั้ สอน (40 นาที) 1. ครูเปิดตัวอย่างข่าวใหน้ ักเรยี นดูจากน้นั ให้นักเรียนร่วมกันวเิ คราะหว์ า่ เปน็ ข้อมลู จริงหรอื ไม่ (มี ตวั อยา่ งข่าวอยู่ทา้ ยแผนการสอนชัว่ โมงที่ 1) 2. ครถู ามนักเรียนวา่ นักเรียนใชเ้ กณฑใ์ ดในการประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมลู บา้ ง (แนวคำตอบ แหล่งท่มี าของขา่ วมีความน่าเชอ่ื ถือ มกี ารระบุวันท่ใี นการเผยแพร่ อา้ งอิง แหลง่ ท่มี าของข้อมูล) ๓. ครูอธิบายเน้อื หาในหนงั สอื เรียนวิชา เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคาํ นวณ) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัทอักษร เจริญทัศน์ อจท. หน้า 37 – 40 เรื่อง หลักการประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของข้อมลู จากนั้นครู อธบิ ายการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหลง่ ข้อมูล หน้า 41 – 42 4. ครนู ำตวั อยา่ งชุดขอ้ มูลหรอื ข่าวใหน้ กั เรยี นดูเพิม่ เติม จากนน้ั ให้ทกุ คนชว่ ยกนั ประเมินความ น่าเช่ือถือ (ครูสามารถหาข่าวทส่ี นใจใหเ้ หมาะสมกับวยั ของนักเรียนได้ทางอินเทอร์เน็ต หรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ได้) 5. จากน้นั ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหดั exersice ในหนังสอื แบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) หนา้ 24-26 ข้อ1 – 4 เพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจ

(ตัวอยา่ งข่าวในขัน้ สอนขอ้ 1) แหลง่ ที่มา ไทยรฐั ออนไลน์ (https://www.thairath.co.th/news/foreign/1712348)

ชวั่ โมงท่ี ๒ ข้ันสอน (50 นาท)ี 6. ครสู นทนากับนักเรียนว่า คาบทีแ่ ลว้ เราประเมนิ ความน่าเช่ือถือของข้อมลู ดว้ ยหลกั การการ ประเมินความน่าเชื่อถือ และการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล นอกจาก 2 วิธีนี้แล้ว ยังสามารถประเมิน ความนา่ เชื่อถอื ของขอ้ มูลโดยใช้ PROMPT 7. ครอู ธิบายวธิ กี ารประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ PROMPT ในหนังสือเรยี นวชิ า เทคโนโลย(ี วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 บริษัท อกั ษร เจรญิ ทัศน์ อจท. หน้า 43 8. จากน้นั ครูให้นกั เรียนทำแบบฝึกหดั exersice ในหนงั สือแบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) หน้า 26 – 27 ข้อ 5 – 6 โดยใช้ PROMPT ในการวิเคราะห์และประเมินความน่าเชื่อถือของ ข้อมลู ชั่วโมงท่ี ๓ ข้นั สอน (50 นาท)ี 9. ครูถามคำถามทบทวนนักเรยี นว่าจากคาบทแี่ ลว้ นกั เรยี นได้วธิ กี ารประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของ ข้อมลู อยา่ งไรบา้ ง 10. ครูนำภาพตวั อยา่ งการโพสข้อความบนเฟซบ๊กุ ใหน้ กั เรยี นดู และร่วมกนั วเิ คราะหข์ อ้ มูลวา่ จาก ตัวอย่างดงั กลา่ วนักเรียนมีความคดิ เห็นอยา่ งไร (เป็นขา่ วท่ีมีการใช้เหตุผลวบิ ัติ) (ตวั อย่างข่าวเหตผุ ลวิบัต)ิ แหล่งท่ีมา เพจขา่ ว หมายเหตุ ชอื่ บคุ คลเป็นนามสมมติ

11. ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ วา่ การสรูปเหมารวม เปน็ ตรรกะวบิ ัติที่เรยี กว่า Appeal to Ignirance การ แสดงความคิดเหน็ ต่างๆ บางเรอ่ื งไม่มีใครทราบข้อมลู นนั้ จนทำให้อ้างความไมร่ ู้เพ่อื หาขอ้ เท็จจรงิ นน้ั 12. จากน้นั ครอู ธบิ ายเนื้อหาเร่อื งการใช้เหตุผลวบิ ตั ิ และยกตัวอยา่ งการใช้เหตผุ ลวบิ ตั ิ พร้อม ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากตัวอย่างในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บรษิ ทั อกั ษร เจริญทัศน์ อจท. หนา้ 46-47 13. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม 4-5 คน และให้แต่ละกลมุ่ หาตวั อยา่ งการใชเ้ หตผุ ลวิบตั ิบน อินเทอร์เน็ต เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบ หรือปัญหาที่อาจเกิดตามมาจากนั้นให้แต่ละกลุ่มเตรียมนำข้อมูลมา แบ่งปนั หน้าชนั้ เรียน (อาจเอกสารหรือPowerPoint มาประกอบ ) ในหัวขอ้ “เหตุผลวบิ ัติ และผลกระทบที่ เกิดขึ้น” พร้อมบันทึกลงในแบบฝึกหัดแบบฝึกหัด exersice ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) หนา้ 28 ขอ้ 7-8 ชวั่ โมงที่ ๔ ขน้ั สอน (40 นาท)ี 14. ครสู อบถามนักเรียนว่าจากกจิ กรรมท่ีให้ไปเตรยี มในการแบ่งปนั ข้อมลู จากคาบท่ีแลว้ นักเรียน เลือกยกตัวอย่างเหตุผลวิบัตปิ ระเภทไหนบา้ ง (แนวคำตอบ การละทิ้งขอ้ ยกเว้น การสรุปเหมารวม การอ้าง ความไม่รู้ ) 15. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมาแบง่ ปันข้อมูลหนา้ ช้นั ตามหัวข้อทีไ่ ด้รับมอบหมาย จากน้นั ให้ นักเรียนกลุ่มอื่น ๆ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ของกลุ่มที่นำเสนอผลกระทบที่เกิดข้ึน จากการใช้เหตุผลวบิ ตั ิ ขน้ั สรปุ (10 นาที) ๑. ครูสอบถามนักเรียนวา่ จากคาบทผ่ี า่ นมานักเรียนไดม้ ุมมองในการใช้อินเทอรเ์ น็ตอยา่ งไรบา้ ง (แนวคำตอบ ขอ้ มลู ท่เี ราอ่านอาจไม่ใช้ข้อมูลจริงทง้ั หมดควรประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื ของ ข้อมูลกอ่ นตดั สินใจเชื่อ ข่าวบางสำนักมีการเขยี นข่าวโดยใช้เหตุผลวบิ ัติเราควรอา่ นข่าวอย่างมีวิจารณญาณ หรือคดิ ไตต่ รองตามเนอื้ หาท่ขี ่าวเขยี นไปดว้ ย) 10. สอื่ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วย การเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง ความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู 2. หนงั สือแบบฝกึ หัดรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการ เรียนรทู้ ี่ 2 เร่อื ง ความน่าเชอื่ ถือของข้อมลู

11. การวัดและการประเมินผล 11.1 การประเมินระหว่างการจดั กิจกรรม จุดประสงค์ วิธีการประเมนิ เคร่ืองมือการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ บอกหลักการการ 1. บอกหลักการการ ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดรายวชิ า ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือ พน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ของข้อมูลไดถ้ ูกต้อง ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือ Exercise หน้า 24 – เทคโนโลยี (วทิ ยาการ 60% ขึ้นไป 26 คำนวณ) ม.3 ของขอ้ มูลได้ (K) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สามารถประเมินความ เรอ่ื ง ความนา่ เช่ือถือ น่าเชอื่ ถือของข้อมลู ได้ 2. ประเมนิ ความ ตรวจแบบฝึกหดั ของขอ้ มูล หนา้ 24– ถกู ต้อง 60% ขนึ้ ไป 26 น่าเชอื่ ถอื ของข้อมูลได้ Exercise หน้า 26 – คำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ี (P) 27 แบบฝกึ หัดรายวิชา เกดิ ขึน้ จากการใช้ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ เหตผุ ลวิบัตไิ ด้ 3. คำนึงถึงผลกระทบท่ี ตรวจแบบฝกึ หัด เทคโนโลยี (วิทยาการ เกิดขนึ้ จากการใช้ Exercise หน้า 28 คำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เหตผุ ลวิบัติได้ (A) เรอ่ื ง ความน่าเชื่อถือ ของข้อมลู หนา้ 26– 27 แบบฝึกหัดรายวชิ า พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ความนา่ เชื่อถือ ของขอ้ มลู หนา้ 28

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๖ จำนวน ๙ ชัว่ โมง เรือ่ ง การรู้เทา่ ทนั ส่ือ คาบท่ี ๑๖-๑๗ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ ความนา่ เช่อื ถอื ของข้อมลู กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวช้วี ัด ม.3/3 ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู วเิ คราะห์สื่อและผลกระทบจากการใหข้ ่าวสารท่ี ผิด เพือ่ การใชง้ านอยา่ งรู้เทา่ ทนั 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายการรเู้ ทา่ ทันสือ่ ดิจิทลั และการรู้เทา่ ทันสือ่ ได้ (K) 2. วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือ และประเมินผลกระทบของข้อมลู จากขา่ วสารท่ผี ิด เพอ่ื การใชง้ านอยา่ งรู้เทา่ ทันได้ (P, A) 3. สาระสำคัญ การรู้เท่าทันสื่อเป็นลักษณะสมรรถนะท่ีครอบคลุมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในส่วนที่เก่ียวข้องกับ ความสามารถในการเขา้ ถงึ สารสนเทศผ่านส่ือ และเทคโนโลยดี จิ ิทลั การเลือก รับ วเิ คราะห์ ประเมนิ และนำ ข้อมูลท่ไี ดร้ บั ไปใช้ในทางสร้างสรรค์ โดยองคป์ ระกอบการรูเ้ ท่าทนั สื่อ มีดังนี้ 1) ความสามารถในการเขา้ ถงึ สื่อ 2) ความเขา้ ใจการประเมินคา่ สาระสนเทศเนือ้ หาในสื่อ 3) การสร้าง การใชป้ ระโยชน์ และการเฝ้าระวงั สาระสนเทศและเนอ้ื หาในส่ือ 4) การสะท้อนคิด 4. สาระการเรียนรู้ 1. องค์ประกอบการร้เู ท่าทันสือ่ 2. การรู้เทา่ ทันสือ่ ดจิ ิทัลและการรเู้ ทา่ ทันสือ่ 3. การใชส้ ่ือและปัญหาท่พี บในสื่อปจั จบุ นั 4. ผลกระทบของขอ้ มลู ท่ีผิดพลาด 5. รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน 1. รปู แบบการสอนแบบการอภิปราย 6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

 ความสามารถในการสอ่ื สาร  ซ่อื สตั ย์ สุจริต  ความสามารถในการคดิ  ใฝ่เรยี นรู้  ความสามารถในการแกป้ ัญหา  มงุ่ ม่นั ในการทำงาน  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  มีจิตสาธารณะ 7. ทักษะ 4 Cs  ทกั ษะการคิดวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)  ทักษะการทำงานรว่ มกัน (Collaboration Skill)  ทักษะการส่อื สาร (Communication Skill)  ทกั ษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) 8. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์  มวี นิ ัย  อยอู่ ย่างพอเพยี ง  รักความเปน็ ไทย 9. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขน้ั นำ (10 นาที) 1=@@ 1. ครูสอบถามนกั เรยี นวา่ จากคาบท่ีแล้ว ขอ้ มูลทีเ่ ราพบในอินเทอรเ์ นต็ นอกจากการประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มูลก่อนนำไปใช้งานแลว้ เรายังตอ้ งคำนงึ ถึงด้านใดอีกบ้าง (แนวคำตอบ การกลั่นแกล้งคนอนื่ ดว้ ยส่อื ออนไลน์ ลิขสทิ ธขิ์ องข้อมลู ) ข้ันสอน (40 นาท)ี 1. ครูถามนักเรียนวา่ กอ่ นท่ีจะสามารถวเิ คราะห์ และรูเ้ ทา่ ทนั สื่อได้ ควรมพี น้ื ฐานความรู้ ความสามารถด้านใดบา้ ง (แนวคำตอบ การใชค้ อมพวิ เตอร์ ความสามารถในการค้นหาขอ้ มูลขา่ วสาร) 2. ครอู ธบิ ายองค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อจากหนงั สือเรยี นวิชา เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคาํ นวณ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 บรษิ ัท อกั ษร เจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 50-51 3. ครูอธบิ ายทม่ี าของความสามารถในการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ดิจทิ ัล และการรูเ้ ท่าทนั ส่อื ดจิ ิทลั 8 ดา้ น ในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษร เจริญ ทัศน์ อจท. หนา้ 52 4. ครสู ุ่มนักเรยี นยกตวั อยา่ งการรูเ้ ท่าทนั สอ่ื คนละด้าน พรอ้ มยกตัวอยา่ ง (แนวคำตอบ ด้านการปกป้องความเป็นส่วนตวั และข้อมูล ยกตวั อยา่ ง ไม่เปดิ เผยข้อมลู ท่ีอยู่

ให้กับบุคคลที่ไม่รู้จัก ไม่โพสต์ข้อมูลบัตรประจำตัวประชาชนลง Facebook โดยเฉพาะที่อยู่และเลข ประจำตวั ประชาชน เป็นต้น) 4. ครอู ธิบายหัวขอ้ “การรูเ้ ทา่ ทันส่ือ” ในหนงั สอื เรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคาํ นวณ) ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 บรษิ ทั อักษร เจริญ ทัศน์ อจท. หน้า 53 5. จากน้นั ครูให้นกั เรียนทำแบบฝกึ หดั exersice ในหนงั สือแบบฝกึ หดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) หนา้ 29 – 31 ขอ้ 1 – 4 ขนั้ สอน (40 นาที) ช่ัวโมงที่ ๒ 7. ครูถามทบทวนนักเรียนโดยการถามคำถามว่า ความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลมีกี่ด้าน อะไรบ้าง (แนวคำตอบ การใชอ้ ย่างปลอดภัย การปอ้ งกนั ความเป็นสว่ นตัว) 8. ครถู ามนกั เรยี นวา่ หากมกี ารใช้อินเทอร์เน็ตอย่างไม่รเู้ ท่าทัน จะส่งผลกระทบอะไรกบั ผู้อืน่ บา้ ง (แนวคำตอบ ข้อมลู ทีเ่ ปน็ เทจ็ เกดิ ความไมป่ ลอดภัยตอ่ ข้อมลู ส่วนบุคคล มีการละเมดิ ลขิ สิทธ์)ิ 9. ครอู ธิบายความสำคัญของการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างรู้เท่าทนั และผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขึน้ จาก หนังสือหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษร เจริญ ทัศน์ อจท. หน้า 55-57 เร่ืองการใช้สื่อและปัญหาทพ่ี บในสอ่ื ปัจจุบัน และเรื่องผลกระทบของขอ้ มูลทผ่ี ดิ พลาด 10. จากน้นั ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัด Activity ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) หน้า 32-33 วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล และประเมินผลผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหาก ข้อมลู ผดิ พลาด ขน้ั สรปุ (10 นาท)ี 1. ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั สรปุ ผลกระทบที่อาจเกดิ ข้ึนจากการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ อย่างไมร่ ู้เทา่ ทนั ส่ือ 10. สอื่ แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ ที่ 2 เร่ือง ความน่าเชอื่ ถือของข้อมลู 2. หนงั สอื แบบฝกึ หดั รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หน่วย การเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง ความน่าเช่อื ถือของข้อมูล

11. การวัดและการประเมินผล 11.1 การประเมินระหวา่ งการจัดกิจกรรม จุดประสงค์ วธิ กี ารประเมิน เครื่องมือการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ บอกความหมายการ 1. บอกความหมายการ ตรวจแบบฝกึ หดั แบบฝึกหัดรายวิชา รเู้ ท่าทนั สอ่ื ดิจิทลั และ พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ การรเู้ ทา่ ทนั ส่ือได้ รู้เทา่ ทนั ส่อื ดจิ ิทลั และ Exercise หน้า 29 – เทคโนโลยี (วิทยาการ ถกู ต้อง 60% ขึ้นไป คำนวณ) ม.3 การรู้เทา่ ทันส่ือได้ (K) 31 ข้อ 1 – 4 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 วิเคราะห์ความ เรอื่ ง ความนา่ เช่ือถือ น่าเชอื่ ถือ และ 2. วิเคราะห์ความ ตรวจแบบฝึกหัด ของข้อมูลหน้า 29 – ประเมินผลกระทบของ นา่ เชื่อถือ และ Activity หน้า 32 31 ข้อ 1 – 4 ขอ้ มลู จากขา่ วสารท่ีผดิ ประเมินผลกระทบของ เพ่ือการใช้งานอย่าง ข้อมูลจากขา่ วสารท่ผี ดิ แบบฝึกหดั รายวิชา รเู้ ทา่ ทันได้ถกู ต้อง เพ่อื การใช้งานอย่าง พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 60% ขนึ้ ไป ร้เู ทา่ ทนั ได้ (P,A) เทคโนโลยี (วทิ ยาการ คำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง ความน่าเช่ือถือ ของขอ้ มูล หนา้ 32

11.2 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชีแ้ จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ด้าน รายการประเมนิ 32 1 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติและรอ้ งเพลงชาติได้ กษตั ริย์ 1.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามัคคีปรองดองและเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ีเกีย่ วกับสถาบันพระมหากษตั รยิ ต์ ามท่โี รงเรียนจดั ข้นึ 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้องและเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ท่ีถูกตอ้ ง 3. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ ักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์และนำไปปฏิบัติได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟงั คำสัง่ สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ตั้งใจเรยี น 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรยี นอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรยี นอยา่ งประหยัดและรคู้ ุณคา่ 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงิน 6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออุปสรรคเพ่อื ใหง้ านสำเรจ็ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน 8.2 รจู้ กั การดูแลรกั ษาทรพั ยส์ มบตั แิ ละสิ่งแวดล้อมของหอ้ งเรียน และโรงเรียน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ..................................................ผปู้ ระเมนิ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ............/.................../................ พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ิชดั เจนและบอ่ ยครั้ง พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ต่ำกว่า 30 ปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๗ จำนวน ๗ ช่วั โมง เรื่อง การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ คาบท่ี ๑๘-๒๐ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวช้ีวัด ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสงั คม ปฏิบตั ติ าม กฎหมายเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ ใชล้ ขิ สทิ ธขิ์ องผอู้ นื่ โดยชอบธรรม 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกลักษณะการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ได้ (K) 2. สามารถใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ งปลอดภัย และมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม (P, A) 3. สาระสำคัญ การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยคำนงึ ถึงความปลอดภัยในการใช้งาน เชน่ การทำธรุ กรรม ออนไลน์ การซ้ือสินคา้ ออนไลน์ และการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมจี ิตสำนึก และจรยิ ธรรมทด่ี ี คำนงึ ผลกระทบท่ีอาจสง่ ผลต่อผ้อู ่นื 4. สาระการเรยี นรู้ 1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างปลอดภัย 2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อยา่ งมีความรบั ผิดชอบ 5. รูปแบบกรสอน/วิธกี ารสอน 1. รปู แบบการสอนแบบการอภปิ ราย 2. วธิ ีการสอนแบบการใช้คำถาม (Questioning Method) 6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแกป้ ัญหา  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทกั ษะ 4 Cs  ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต  ใฝ่เรยี นรู้ ทักษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking)  มงุ่ มนั่ ในการทำงาน  ทักษะการทำงานรว่ มกนั (Collaboration Skill)  ทักษะการสือ่ สาร (Communication Skill)  มีจติ สาธารณะ  ทักษะความคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) 8. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์  รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์  มวี ินัย  อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง  รกั ความเปน็ ไทย 9.การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ ๑ 1. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ วัดความรู้เดมิ ของนักเรยี นก่อนเขา้ สกู่ จิ กรรม ข้ันนำ (10 นาที) 1. ครถู ามนักเรียนคิดว่าเทคโนโลยีมบี ทบาทสำคัญต่อชีวิตนักเรยี นหรอื ไม่ อยา่ งไรบา้ ง (แนวคำตอบ มี เพราะทำใหช้ วี ิตสะดวกสบาย) ๒. ครถู ามนักเรียนตอ่ วา่ นอกจากเทคโนโลยีมบี ทบาทสำคัญต่อชีวติ นกั เรียนแล้ว นักเรยี นคิดวา่ เทคโนโลยมี บี ทบาทสำคัญตอ่ ระดบั องคก์ ร หรือระดบั ประเทศหรือไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ มี เน่ืองจากทำให้มรี ะบบออนไลนใ์ ชง้ าน มีใบขบั ข่อี ิเล็กทรอนกิ ส)์ ขน้ั สอน (30 นาท)ี 1. ครอู ธบิ ายเน้อื หาเร่อื งการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในหนงั สอื เรียนวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 บรษิ ัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. หน้า 59-60 2. ครสู นทนาและถามนักเรียนว่า ปจั จบุ ันเทคโนโลยีเข้ามีบาทในทุกด้านยกตวั อยา่ ง เช่น ร้านคา้ ต้องมีการปรบั ตัวการใหบ้ ริการแบบออนไลน์ ในฐานะลูกค้าหากต้องการซ้ือสินคา้ ออนไลน์ นกั เรยี นจะ ประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือของร้านคา้ อยา่ งไร (แนวคำตอบ ร้านที่มีรีวิวเยอะ ร้านค้าที่มชี ่อื เสียง) 3. ครูถามตอ่ ว่าในการซ้ือสนิ ค้าออนไลน์ในข้นั ตอนการชำระเงินค่าสินค้า นอกจากต้องประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือของร้านคา้ นักเรียนจะมีวธิ ีการทำธุรกรรมออนไลนห์ รือโอนเงินค่าสินค้าอย่างไรให้ ปลอดภัย (แนวคำตอบ โอนเงินผา่ นอุปกรณต์ นเองเท่านั้น ไมใ่ ช้ Wi-Fi สาธารณะ ใช้บริการรา้ นคา้ ที่ นา่ เช่อื ถือ) 3. ครูอธบิ ายเนื้อหาเร่อื งการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัยในหนงั สอื เรยี นวชิ า

4. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เรือ่ ง การซอื้ สินคา้ ออนไลน์ 5. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝึก Exercise ในหนังสอื แบบฝกึ หัด เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) หนา้ 39 ขอ้ 1 – 3 เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจ เร่ือง การทำธรุ กรรมออนไลนอ์ ย่างปลอดภยั ขน้ั สอน (50 นาที) ชวั่ โมงท่ี ๒ 6. ครูทบทวนเนื้อหาจากชัว่ โมงที่แล้ว นกั เรียนไดเ้ รียนรูก้ ารทำธุรกรรมออนไลนอ์ ย่างปลอดภัย ในชวั่ โมงนีค้ รใู ห้นักเรียนจบั คู่กัน จากน้นั ให้นกั เรียนแต่ละคนเขยี นช่ือสินคา้ ทน่ี ักเรยี นสนใจ 1 อยา่ ง และนำ หัวขอ้ น้ันแลกกนั กับคขู่ องตนเอง 7. ครูให้แตล่ ะคนค้นหาร้านคา้ ออนไลน์ที่ขายสินค้าตามหวั ข้อทไ่ี ดร้ บั จากค่ขู องตนเอง และเลือก หาร้านค้าทนี่ า่ เชื่อถือมากที่สุด จำนวน 3 รา้ นคา้ 8. ครใู หน้ กั เรียนบนั ทึกผลการทำกจิ กรรมลงในใบงานที่ 3.1.1 เร่อื ง การซ้ือสินคา้ ออนไลน์อยา่ ง ปลอดภยั 9. ครสู ่มุ นกั เรียน 5 – 6 คน นำเสนอใบงานที่ 3.1.1 เรอ่ื ง การซือ้ สนิ ค้าออนไลน์อย่างปลอดภัย เพอ่ื แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ร่วมกนั 10.ครูถามนักเรียนวา่ จากการค้นหารา้ นค้านักเรยี นมีวิธีการประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือรา้ นค้า อย่างไร (แนวคำตอบ เลอื กซอื้ เวบ็ ไซต์ที่ขนึ้ ตน้ ดว้ ย https//: เทา่ นนั้ อ่านรวี ิวกอ่ นสงั่ ซื้อ สำรวจ ราคาตลาดก่อนส่ังซ้ือ) ขน้ั สอน (40 นาท)ี ช่วั โมงท่ี ๓ 11.ครสู อบถามนักเรียนว่าจากคาบทีแ่ ลว้ ในการประเมินความน่าเช่อื ถือของร้านค้า นักเรยี น พบว่ารา้ นคา้ ที่ดี น่าเชื่อถือควรมีลักษณะอยา่ งไรบ้าง (แนวคำตอบ คำอธิบายสินคา้ ถกู ต้องไม่เกินจรงิ ไม่เปดิ เผยขอ้ มลู ส่วนตวั ลกู คา้ ในการรวี วิ สินคา้ ไมน่ ำข้อมลู ส่วนตวั ลูกค้าไปเผยแพร่) 12. ครูอธิบายว่าในปจั จบุ ันการซือ้ ของออนไลน์ตามเว็บไซต์ต้องมบี ัญชีผใู้ ช้ก่อนจึงจะสามารถทำ การสัง่ ซอ้ื สนิ ค้าได้ 13. ครูถามนกั เรียนว่าโดยปกติเวลาใชง้ านเว็บไซตเ์ หล่านี้สามารถสมคั รบัญชผี ้ใู ชไ้ ดอ้ ย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ ลงชือ่ เขา้ ใช้ด้วย Facebook ลงช่อื เข้าใชด้ ว้ ย Google สมคั รบญั ชีผู้ใช้ดว้ ยอีเมล) 14. ครูอธิบายว่าในข้นั ตอนการลงชอ่ื เขา้ ใช้งานเวบ็ ไซต์ด้วยบญั ชี Facebook หรือ บัญชี Google เว็บไซต์จะเรียกขอสทิ ธิ์ในการเขา้ ถึงขอ้ มูลส่วนตัวบัญชี Facebook หรอื Google ของเราซึ่งอาจสง่ ผลต่อ การนำข้อมลู ไปใชแ้ ละสง่ ผลเสียได้ ดังนน้ั นอกจากการประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของร้านค้าออนไลน์แลว้ ยัง มีส่วนอ่นื ท่ตี ้องใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งระมัดระวงั 15. ครอู ธิบายเน้อื หาเรื่องการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบในหนังสือเรียน

วิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 66-67 16. ครูใหน้ ักเรียนถามคำถามนกั เรยี นโดยให้มสี ถานการณ์ “หากนักเรียนเปน็ เจา้ ของร้านค้ารับ สกรนี ลายเสือ้ และมลี ูกค้าติดต่อมาให้ผลติ เส้ือรูปการต์ ูนท่ีตนเองไม่ไดเ้ ปน็ เจา้ ของลิขสทิ ธิ์ผลงาน นกั เรียน จะมวี ิธกี ารรับมือกับลูกคา้ อย่างไร เช่น ข้อมูลที่เปน็ สว่ นตวั ของลกู ค้า ความถกู ต้องของข้อมลู สินค้า กรรมสทิ ธิ์ และด้านอ่นื พร้อมบอกเหตุผล” จากนั้นครูสมุ่ นักเรียน 4 – 5 คน ตอบคำถาม 17. ครถู ามนักเรียนวา่ จากสถานการณ์ข้างต้น ในมุมมองนักเรยี นผู้บริโภคและผขู้ าย ควรมีความ รับผิดชอบตอ่ กันอย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ ผบู้ รโิ ภคไมจ่ องสินคา้ แล้วไมซ่ ื้อ ไม่ควรส่ังสนิ ค้าทีท่ รัพยส์ นิ ทางปัญญา ผูข้ าย จะตอ้ งคำนึงถึงเรอ่ื งลิขสทิ ธิ์ควรศกึ ษากฎหมายเก่ยี วกับลิขสิทธิ์ใหด้ ี ความถูกต้องของข้อมลู สนิ ค้า) 18. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึก Exercise ในหนังสือแบบฝกึ หัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) หนา้ 40 – 41 ขอ้ 4 – 5 เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ ข้นั สรปุ (10 นาท)ี 1. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ นอกจากเราจะต้องระวังการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศให้ ปลอดภัยกับตัวเราแลว้ ยังต้องมคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ ด้วย โดยเคารพความเปน็ ส่วนตัว คำนงึ ถึงความถูกต้องแม่นยำของข้อมูล การเป็นเจ้าของ และการเข้าถึงข้อมลู ทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนญุ าต 10. ส่ือแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วทิ ยาการ)คำนวณ ม.3 (หนว่ ยการเรียนรู้ ท่ี 3 เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. หนังสือแบบฝกึ หัดรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่ือง เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. ใบงานท่ี 3.1.1 เรื่อง การซ้อื สนิ คา้ ออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั 11. การวดั และการประเมินผล 11.1 การประเมนิ ระหว่างการจดั กจิ กรรม จดุ ประสงค์ วิธกี ารประเมิน เครือ่ งมือการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. บอกลกั ษณะ ตรวจแบบฝึกหดั แบบฝึกหดั รายวิชา บอกลกั ษณะการใชง้ าน การใช้งานเทคโนโลยี Exercise หนา้ 39 พื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศอย่าง เทคโนโลยี (วทิ ยาการ อยา่ งปลอดภยั ได้ถูกต้อง ปลอดภยั ได้ (K) คำนวณ) ม.3 60% ขนึ้ ไป หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 เรอ่ื ง เทคโนโลยี สารสนเทศ หน้า 39

2. สามารถใชง้ าน - ตรวจใบงานที่ 3.1.1 - แบบประเมนิ - ประเมนิ ใบงานที่ 3.1.1 ใบงานท่ี 3.1.1 เรือ่ ง การซื้อสินคา้ เทคโนโลยีสารสนเทศได้ เรอื่ ง การซื้อสนิ คา้ เรื่อง การซื้อสนิ ค้า ออนไลนอ์ ย่างปลอดภยั ออนไลน์อยา่ งปลอดภัย ระดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป อย่างปลอดภัย และมี ออนไลน์อย่าง - แบบฝึกหัดราย ถอื ว่าผ่าน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 - ประเมนิ การใช้งาน ความ รับผิดชอบต่อ ปลอดภัย เรื่อง เทคโนโลยี เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ หน้า 40– อย่างมีความรบั ผิดชอบได้ สงั คม (P, A) - ตรวจแบบฝึกหัด 41 ไดถ้ ูกต้อง 60% ขึ้นไป Exercise หนา้ 40– 41 11.2 การประเมนิ ใบงานที่ 3.1.1 เร่ือง การซ้อื สนิ ค้าออนไลน์อย่างปลอดภัย ประเด็นในการ เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเมิน 3 21 1. การประเมินความ สามารถประเมินความนา่ เชอื่ ถือ สามารถประเมนิ ความ สามารถประเมินความ นา่ เช่ือถอื ของร้านคา้ เหตุผลมคี วามสมเหตุสมผล เชน่ น่าเชอ่ื ถือ เหตผุ ลมีความ น่าเชอ่ื ถอื เหตุผลมี ออนไลน์ เลอื กเวบ็ ไซตท์ ่ขี น้ึ ต้นดว้ ย สมเหตุสมผลเป็นสว่ น ความสมเหตสุ มผล https//: อ่านรวี ิวกอ่ นสั่งซอ้ื ใหญ่ เพียงบางสว่ น สำรวจราคาตลาดกอ่ นสั่งซ้ือ ตรวจสอบคณุ สมบัติของสินค้าท่ี แจง้ ไวเ้ กนิ จริงหรือไม่ ตรวจสอบ การจดทะเบียนร้านค้า ตรวจสอบ ประวัตกิ ารฉ้อโกง 2. การทำธรุ กรรม สามารถเลอื กวธิ ีการทำธุรกรรม สามารถเลอื กวิธีการทำ สามารถเลอื กวธิ ีการทำ อยา่ งปลอดภยั อยา่ งปลอดภัยตามหลกั การได้ ธรุ กรรมอย่างปลอดภัย ธรุ กรรมอย่างปลอดภยั และศึกษาตวั เลือกการชำระเงิน ตามหลกั การได้เป็นสว่ น ตามหลักการไดเ้ พยี ง ทางร้านค้าออนไลนอ์ ย่างถ่ีถ้วน ใหญ่ บางส่วนเทา่ นัน้ เช่น มีบริการเรียกเก็บเงิน ปลายทาง 3. การนำเสนอ ใช้ภาษาในการนำเสนอชัดเจน ใช้ภาษาในการนำเสนอ ใชภ้ าษาในการนำเสนอ เหมาะสมและเข้าใจงา่ ย สามารถ ชัดเจน เหมาะสมและ เข้าใจง่าย สามารถตอบ ตอบคำถามไดท้ ุกข้อ เข้าใจงา่ ย สามารถตอบ คำถามได้เพยี งบางสว่ น คำถามได้เป็นสว่ นใหญ่