Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบพัสดุ

ระเบียบพัสดุ

Published by boynfe2522, 2020-05-07 00:35:52

Description: ระเบียบพัสดุ

Search

Read the Text Version

ค่มู ือปฏบิ ัตงิ านพสั ดุ

สารบัญ หนา้ บทท่ี 1 บทสรุปสาระสาคัญ 1 บทที่ 2 ความทั่วไป 4 บทที่ 3 วธิ ีการพัสดุ 20 บทที่ 4 ข้นั ตอนการจัดหา 30 แผนภาพวงเงนิ การจดั ซ้ือจดั จา้ ง บทที่ 5 แผนภาพกระบวนการจดั ซื้อจัดจ้าง 47 การซื้อการจ้างโดยวธิ ตี กลงราคา บทที่ 6 การซ้ือโดยวธิ ี e - shopping 54 แผนภาพกระบวนการจดั ซอ้ื จัดจา้ งโดยวธิ ีตกลงราคา บทที่ 7 การซอ้ื การจ้างโดยวธิ ีการสอบราคา 62 แผนภาพกระบวนการจัดซือ้ จัดจา้ งโดยวธิ สี อบราคา บทที่ 8 การซื้อการจ้างโดยวธิ ปี ระกวดราคา 68 แผนภาพกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จา้ งโดยวิธีประกวดราคา บทที่ 9 การซื้อการจ้างโดยวิธีพิเศษ 75 แผนภาพกระบวนการจดั ซื้อจัดจ้างโดยวธิ ีพเิ ศษ บทท่ี 10 การซื้อการจ้างโดยวิธกี รณพี ิเศษ 78 แผนภาพกระบวนการจดั ซอื้ จัดจ้างโดยวธิ ีกรณีพิเศษ บทที่ 11 การซื้อการจ้างโดยวิธีประมลู ดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ 91 บทที่ 12 แผนภาพกระบวนการจดั ซอ้ื จัดจา้ งโดยวธิ ีประมลู ดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ 99 บทท่ี 13 การจ้างที่ปรึกษา 107 บทท่ี 14 การจา้ งและออกแบบควบคมุ งาน 111 บทที่ 15 การแลกเปลย่ี น 120 การเชา่ การควบคุมและการจาหนา่ ย

บทท่ี 1 บทสรุปสาระสาคัญ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ.2545 เป็นระเบียบท่ีวางหลักเกณฑ์การควบคุมข้ันตอนกระบวนการจัดหาพัสดุและบริการต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการให้ได้มาซ่ึงพัสดุสาหรับใช้งานได้อย่างเพียงพอ คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตาม ความต้องการของส่วนราชการ ตั้งแต่การสารวจความต้องการใช้พัสดุ การรายงานขอเสนอซื้อจ้าง การ อนุมัติให้จัดซ้ือจัดจ้าง การทาสัญญา การตรวจรับพัสดุ ไปจนถึงขั้นตอนเพ่ือเตรียม การเบิกจ่ายเงินให้แก่ ผู้ขาย ผู้รับจ้าง ท่ีเป็นเจ้าหน้ีของส่วนราชการท่ีได้ก่อหนี้ผูกพันตามสัญญาซื้อ สัญญาจ้างทาของ การลงทะเบยี นควบคมุ และการจาหน่ายพสั ดุ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 6 พ.ศ.2545 มสี าระสาคัญ จาแนกเปน็ หมวดตา่ งๆ ดงั น้ี  หมวด 1 ข้อความทั่วไป กาหนดคานิยาม การใช้บังคับ การมอบอานาจ บทกาหนด โทษ และคณะกรรมการวา่ ดว้ ยการพัสดุ  หมวด 2 การจดั หา กาหนดวิธกี ารและขัน้ ตอนปฏิบัติในการจดั หา ดงั นี้ o การจัดหาพัสดุให้ดาเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มี การแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ ธรรม o การจัดทาเอง ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งผู้ควบคุมรับผิดชอบในการ จัดทาเอง และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการปฏิบัติงาน โดยมีคุณสมบัติและหน้าท่ีเช่นเดียวกับ คณะกรรมการตรวจการจา้ ง o การซ้ือการจ้างให้ใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย ซ่ึ ง กาหนดวิธีซ้ือและ วิธีจ้างให้กระทาได้ 6 วิธี ได้แก่ วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธี พิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งการซื้อหรือการจ้าง จะกระทาตามวิธีใด พจิ ารณาจากวงเงินที่จะซอื้ หรอื จา้ งในแตล่ ะครั้ง และหา้ มแบง่ ซือ้ แบ่งจา้ ง o การจ้างที่ปรึกษา เป็นการจ้างบริการจากที่ปรึกษา แต่ไม่รวมถึงการ จ้างออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างอาคารด้วยเงินงบประมาณ โดยกาหนดหลักเกณฑ์การจ้างที่ ปรึกษา ให้ส่วนราชการท่ีใช้เงินงบประมาณ จ้างท่ีปรึกษาไทยที่จดทะเบียนไว้กับศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กระทรวงการคลังเป็นหลัก เว้นแต่ได้รับการยืนยันจากศูนย์ข้อมูลท่ีปรึกษากระ ทรวงการคลังว่าไม่มีที่ ปรึกษาไทย หรือมีท่ีปรึกษาไทยแต่มีความจาเป็นที่จะไม่จ้าง ส่วนราชการจะต้องขออนุญาตต่อ คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ซึ่งการจ้างที่ปรึกษา กระทา ได้ 2 วิธี ได้แก่ วิธีตกลงราคา และวิธี คัดเลือก

o ก า ร จ้ า ง อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ค ว บ คุ ม ง า น เ ป็ น ก า ร จ้ า ง บ ริ ก า ร จ า ก บุ ค ค ล ธรรมดาหรือนิติบุคคลท่ีประกอบธุรกิจบริการด้านงานออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างอาคาร ด้วยเงิน งบประมาณ กาหนดวิธีการให้กระทาได้ 4 วิธี ได้แก่ วิธีตกลงราคา วิธีคัดเลือก วิธีคัดเลือกแบบ จากดั ข้อกาหนด วิธีพเิ ศษ ซ่งึ การจา้ ง จะกระทาตามวธิ ใี ดให้พิจารณาจากวงเงนิ ที่จะจา้ งในแต่ละครง้ั o กา ร แ ล กเ ป ล่ี ย น ก า ห นด ให้ กร ะ ทา ไ ด้ เ ฉ พา ะ กา ร แ ล กเ ป ลี่ ย น ค รุ ภั ณ ฑ์ หรือวัสดุ ป ระเ ภทชนิด เดี ยวกันที่ไ ม่ต้ องจ่ าย เงินเพ่ิม กรณี จะแ ลกเ ปลี่ ยนกับเ อกชนให้แต่ งตั้ ง คณะกรรมการพิจารณาตามความเหมาะสมและไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์ สาหรับวิธีการ แลกเปล่ียนให้ใช้วิธีการซื้อมาใช้โดยอนุโลม เว้นแต่การแลกเปล่ียนพัสดุที่จะนาไปแลกคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคา ซือ้ หรือได้มารวมกันไมเ่ กิน 100,000 บาท จะใชว้ ธิ ีตกลงราคาก็ได้ o ก า ร เ ช่ า ก า ห น ด ใ ห้ ก ร ะ ท า ไ ด้ ท้ั ง ก า ร เ ช่ า สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ แ ล ะ อสังหาริมทรัพย์ กรณีที่เช่าสังหาริมทรัพย์ ให้ใช้วิธีซื้อมาใช้โดยอนุโลม กรณีเช่าอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงเป็น การเช่าท่ีดินเพ่ือใช้ประโยชน์ในราชการ การเช่าสถานที่เพื่อใช้เป็นท่ีทาการ การเช่าสถานท่ีเพ่ือใช้เป็นท่ี พักสาหรับผู้มีสิทธิเบิกค่าเช่าท่ีพัก และการเช่าสถานที่เพ่ือใช้เป็นท่ีเก็บพัสดุของทางราชการ ให้กระทา โดยวิธีตกลงราคา o สญั ญาและหลกั ประกัน  กา ห น ด ใ ห้ ก า ร จั ด ห า พั ส ดุ จ ะ ต้ อ งมี กา ร ท า ข้อ ต ก ล ง เ ป็ นห นัง สื อ ไว้ต่อกัน หรือทาเป็นสัญญา เม่ือได้มีการลงนามแล้วจะแก้ไขเปล่ียนแปลงไม่ได้ เว้นแต่มีความจาเป็นท่ี ไม่ทาให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์ หรอื เพือ่ ประโยชนแ์ กท่ างราชการ  ก า ห น ด ใ ห้ มี ห ลั ก ป ร ะ กั น โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ท รั พ ย์ ท่ี เ ป็ น เ งิ น ส ด เ ช็ ค ที่ ธนาคารเซ็นสั่งจ่ายท่ีเป็นเช็คลงวันที่ท่ีใช้เช็คนั้นชาระต่อเจ้าหน้าท่ีหรือก่อ นวันนั้นไม่เกินสามวันทาการ หนังสือคา้ ประกันของธนาคาร พันธบัตรรัฐบาลไทย เพ่ือใชเ้ ปน็ หลกั ประกนั ซองหรอื ประกันสัญญา o ก า ร ล ง โ ท ษ ผู้ ท้ิ ง ง า น ก า ห น ด ใ ห้ ผู้ ที่ ไ ม่ ย อ ม ไ ป ท า สั ญ ญ า ห รื อ ข้ อ ต ก ล ง ภายในเวลาท่ีกาหนด หรือผู้ท่ีไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือไม่ได้มีการแก้ไขข้อบกพร่องตามสัญญากับทาง ราชการอาจไดร้ บั พจิ ารณาใหเ้ ปน็ ผทู้ ง้ิ งาน  หมวด 3 การควบคุมและการจาหนา่ ยพสั ดุ o การ ยืม กาห นด ให้ ต้องทา เป็ นห นังสือแล ะส่ งคืนตา มกาห นด เวลา โด ย ตอ้ งได้รบั อนมุ ัติจากหวั หนา้ สว่ นราชการผใู้ หย้ ืมพัสดุ o การควบคุม กาหนดให้มีการควบคุมพัสดุเมื่อได้รับมอบให้ลงบัญชีหรือ ทะเบยี นเพ่ือควบคมุ การเบิกจ่ายพัสดตุ อ้ งมหี ลักฐานการขอเบกิ และมีการตรวจสอบพัสดเุ ป็นประจาปี o การจาหน่าย กาหนดวิธีการจาหน่ายพัสดุได้เม่ือหมดความจาเป็นหรือ หากใช้ราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก โดยให้ดาเนินการโดยวิธีการขาย การแลกเปลี่ยน

การโอน การแปรสภาพหรือทาลาย และกรณีท่ีพัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รับผิดหรือมีตัวผู้รับผิด แต่ไม่สามารถชดใช้ได้ หรือมีตัวพัสดุแต่ไม่สมควรจาหน่าย ให้จาหน่ายเป็นสูญได้โดยได้รับอนุมัติจาก ผู้มอี านาจ และให้ลงจา่ ยออกจากบญั ชหี รือทะเบียน  หมวด 4 บทเฉพาะกาล กาหนดเป็นข้อยกเว้นวิธีปฏิบัติในส่วนที่ยังดาเนินการ ไม่แล้วเสร็จตามระเบียบใหม่ ให้ถือปฏิบัตติ ามเดมิ จนกว่าจะแล้วเสร็จ

บทที่ 2 ความทัว่ ไป ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 แก้ไขเพ่ิมเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ.2545 เป็นระเบียบที่ใช้บังคับแก่ส่วนราชการที่ใช้เงินงบประมาณ ซ่ึงระเบียบดังกล่าวได้วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ วิธีการพัสดุ ที่กาหนดข้ันตอนวิธีการจัดหาพัสดุ และการจัดการพัสดุท่ีใช้ในส่วนราชการ เพื่อความคุ้มค่า ในการใช้จ่ายเงิน (Value for Money) ความโปร่งใส (Transparency) ความมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) และความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จของงาน (Accountability) นอกจากน้ียังจะต้องมีการเปิดเผยข้อมูลกระบวนการจัดหาพัสดุแต่ละครั้งท่ีได้ ดาเนินการ เร่ิมต้นต้ังแต่กระบวนการจัดหาพัสดุจนได้พัสดุนั้นมา ใช้งานได้อย่างเพียงพอ คุ้มค่าและมี ประสิทธิภาพตามความต้องการของส่วนราชการ โดยการดาเนินการแต่ละข้ันตอน ผู้มีหน้าที่รับผิดชอ บ ต้องมีการบันทึกหลักฐานในการดาเนินการพร้อมท้ังระบุเหตุผลในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนท่ีสาคัญ ไว้เพ่ือประกอบการพิจารณาด้วย ในบทเกีย่ วกบั ความทวั่ ไป แบง่ ออกเป็น 5 ส่วน ไดแ้ ก่ 1. คานยิ าม 2. การใช้บงั คบั 3. การมอบอานาจ 4. บทกาหนดโทษ 5. คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการพัสดุ 1. คานยิ าม 1.1 นิยามศัพท์ทวั่ ไป “การพัสดุ” หมายความว่า การจัดทาเอง การซ้ือ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การแลกเปล่ียน การเชา่ การควบคมุ การจาหนา่ ย และการดาเนนิ การอน่ื ๆ ทกี่ าหนดไวใ้ นระเบยี บน้ี “พัสด”ุ หมายความว่า วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและส่ิงก่อสร้าง ตามการจาแนกประเภท รายจา่ ยตามงบประมาณของสานักงบประมาณ หรือการจาแนกประเภทรายจ่ายตามเงนิ กู้ ในการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ สานักงบประมาณกาหนดคานิยามคาว่า “วสั ดุ” “ครภุ ัณฑ์” “ที่ดินและสง่ิ กอ่ สร้าง” ดังน้ี คา่ วัสดุ หมายถงึ รายจา่ ยดังตอ่ ไปนี้ (1) ร า ย จ่ า ย เ พ่ื อ จั ด ห า ส่ิ ง ข อ ง ซึ่ ง โ ด ย ส ภ า พ เ มื่ อ ใ ช้ แ ล้ ว ย่ อ ม ส้ิ น เ ป ลื อ ง ห ม ด ไ ป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของท่ีมีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่

เกิน 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายท่ีต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดต้ัง เป็นต้น (2) รายจ่ายเพ่ือจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท (3) รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปล ต่อเติม หรือปรับปรุง ครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ท่ดี นิ และหรอื สิง่ กอ่ สรา้ ง ที่มวี งเงินไม่เกิน 50,000 บาท (4) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุง ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ท่ีมี วงเงนิ ไมเ่ กิน 5,000 บาท (5) รายจ่ายเพ่ือซอ่ มแซมบารุงรักษาทรพั ยส์ นิ เพอ่ื ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ค่าครุภัณฑ์ หมายถงึ รายจ่ายดงั ตอ่ ไปนี้ (1) รายจ่ายเพ่ือจัดหาสิ่งของท่ีมีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุด เกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายท่ีต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่า ตดิ ตงั้ เปน็ ตน้ (2) รายจ่ายเพ่ือจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีราคาต่ อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท (3) รายจ่ายเพ่ือประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ รวมท้ังครุภัณฑ์ คอมพวิ เตอร์ที่มีวงเงนิ เกินกว่า 5,000 บาท (4) รายจ่ายเพ่ือซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครือ่ งจักรกลยานพาหนะ เปน็ ต้น ซึง่ ไมร่ วมถงึ คา่ ซ่อมบารงุ ปกตหิ รือค่าซอ่ มกลาง (5) รายจา่ ยเพื่อจา้ งท่ีปรกึ ษาเพื่อการจัดหาหรอื ปรบั ปรงุ ครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพ่ือให้ได้มาซ่ึงที่ดินและหรือส่ิงก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆ ซ่ึงติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบนิ สระว่ายน้า สะพาน ถนน รวั้ บอ่ น้า อ่างเก็บนา้ เข่อื น เปน็ ตน้ รวมถงึ รายจ่ายดงั ต่อไปนี้ (1) ค่าติดต้ังระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซ่ึงเป็นการติดตั้งครั้ง แรกในอาคารหรือสถานท่ีราชการ ท้ังที่เป็นการดาเนินการพร้อมการก่อสร้าง อาคารหรือภายห ลังการ ก่อสร้างอาคาร (2) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือส่ิงก่อสร้าง ที่มี วงเงินเกนิ กว่า 50,000 บาท เชน่ ค่าจดั สวน คา่ ถมดิน เปน็ ตน้ (3) รายจ่ายเพอื่ จ้างออกแบบ จา้ งควบคมุ งานท่จี ่ายใหแ้ กเ่ อกชน หรอื นติ ิบุคคล

(4) รายจา่ ยเพือ่ จา้ งที่ปรึกษาเพอ่ื การจัดหา หรือปรบั ปรงุ ทด่ี นิ และหรือสง่ิ กอ่ สรา้ ง (5) รายจ่ายที่เก่ียวเนื่องกับท่ีดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชย กรรมสิทธ์ท่ดี ิน คา่ ชดเชยผลอาสนิ เป็นตน้ “อาคาร” หมายความว่า ส่ิงปลูกสร้างถาวรที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือใช้สอยได้ เช่น อาคาร ท่ีทาการ โรงพยาบาล โรงเรียน สนามกีฬา สถานีนาร่อง หรือส่ิงปลูกสร้างอย่างอื่นที่มีลักษณะทานอง เดียวกัน และรวมตลอดถึงส่ิงก่อสร้างอ่ืนๆ ซึ่งสร้างขึ้นเพ่ือประโยชน์ใช้สอยสาหรับอาคารนั้นๆ เช่น เสา ธง รัว้ ท่อระบายน้า หอถังน้า ถนน ประปาและส่ิงอื่นๆ ซ่ึงเป็นส่วนประกอบของตัวอาคาร เช่น เคร่ืองปรับอากาศ ลิฟต์ เฟอรน์ เิ จอร์ ฯลฯ “งานก่อสร้างสาธารณูปโภค” หมายความว่า งานก่อสร้าง ซ่อมแซม และบารุงรักษา งานอันเก่ียวกับการประปา การไฟฟ้า การส่ือสาร การโทรคมนาคม การระบายน้า ระบบการขนส่ง ปิโตรเลียมโดยทางท่อ ทางหลวง ทางรถไฟ และการอื่นที่เก่ียวข้องซ่ึงดาเนินการในระดับพ้ืนดิน ใต้ พน้ื ดนิ หรอื เหนือพน้ื ดิน “ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน” หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่เข้า เสนอราคาขายในการซ้ือพัสดุของทางราชการ หรือเข้าเสนอราคาเพื่อรับจ้างทาพัสดุ หรือเข้าเสนองาน เพ่ือรับจ้างเป็นที่ปรึกษา หรือรับจ้างออกแบบและควบคุมงาน ให้แก่ส่วนราชการใด เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลอื่นท่ีเข้าเสนอราคาหรือเข้า เสนองานให้แกส่ ว่ นราชการนน้ั ในคราวเดยี วกัน ก า ร มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ไ ม่ ว่ า โ ด ย ท า ง ต ร ง ห รื อ ท า ง อ้ อ ม ข อ ง บุ ค ค ล ธ ร ร ม ด า ห รื อ นิ ติ บุ ค ค ล ดั ง ก ล่ า ว ข้างต้น ไดแ้ ก่ การท่บี คุ คลธรรมดาหรอื นติ บิ ุคคลดงั กล่าวมีความสัมพนั ธก์ ันในลักษณะดังตอ่ ไปนี้ (1) มีความสัมพันธ์กันในเชิงบริหาร โดยผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอานาจในการดาเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลรายหนึ่งมี อานาจหรือสามารถใช้อานาจในการบริหารจัดการกิจการของบุคคลธรรมดา หรือของนิติบุคคลอีกราย หนงึ่ หรอื หลายราย ทเ่ี สนอราคาหรือเสนองานใหแ้ กส่ ว่ นราชการนั้นในคราวเดยี วกนั (2) มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์กั น เ ชิ ง ทุ น โ ด ย ผู้ เ ป็ น หุ้ นส่ ว นใ น ห้ า งหุ้ น ส่ วน ส า มั ญ ห รื อผู้ เ ป็ น หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจากัด หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชน จากัด เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจากัด หรือเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในบริษัทจากัด หรือบริษัทมหาชนจากัด อีกรายหน่ึงหรือหลายรายท่ีเสนอราคาหรือเสนองานให้แก่ส่วนราชการนั้นใน คราวเดียวกนั คาว่า “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” ให้หมายความว่า ผู้ถือหุ้น ซ่ึงถือหุ้นเกินกว่าร้อยละยี่สิ บห้าใน กจิ การนัน้ หรือในอตั ราอื่น ตามที่ กวพ. เปน็ สมควรประกาศกาหนดสาหรบั กิจการบางประเภทหรือบางขนาด

(3) มีความสัมพันธ์กันในลักษณะไขว้กันระหว่าง (1) และ (2) โดยผู้จัดการ หุ้นส่วน ผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอานาจในการดาเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลรายหน่ึง เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจากัด หรือเป็นผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ในบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชนจากัด อีกรายหน่ึงหรือหลายรายที่เข้าเสนอราคาหรือเสนองาน ให้แกส่ ว่ นราชการนนั้ ในคราวเดยี วกันหรอื ในนัยกลบั กัน การดารงตาแหน่ง การเป็นหุ้นส่วน หรือการเข้าถือหุ้น ดังกล่าวข้างต้นของคู่สมรสหรือบุตร ท่ียังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลใน (1) (2) หรือ (3) ให้ถือว่าเป็นการดารงตาแหน่ง การเป็นหุ้นส่วน หรอื การถอื หนุ้ ของบุคคลดังกลา่ ว ในกร ณี บุ ค ค ล ใด ใ ช้ ชื่ อ บุ ค ค ล อื่นเ ป็ นผู้ จั ด กา ร หุ้ นส่ วน ผู้ จั ด กา ร ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด กา ร ผู้บริหาร ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นโดยท่ี ตนเองเป็นผู้ใช้อานาจในการบริหารท่ีแท้จริง หรือเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นท่ีแท้จริงของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัใทจากัด หรือบริษัทมหาชนจากัด แล้วแต่กรณี และห้าง หุ้นส่วน หรือบริษัทจากัด หรือบริษัทมหาชนจากัดที่เก่ียวข้องได้เข้าเสนอราคาหรือเสนองานให้แก่ส่วน ราชการน้ันในคราวเดียวกัน ให้ถือว่าผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองานน้ันมีความสัมพันธ์กันตาม (1) (2) หรอื (3) แลว้ แตก่ รณี “การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม” หมายความว่า การท่ีผู้เสนอราคาหรือผู้ เสนองานรายหน่ึงหรือหลายราย กระทาการอย่างใดๆ อันเป็นการขัดขวาง หรือเป็นอุปสรรค หรือไม่ เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรมในการเสนอราคา หรือเสนองานต่อส่วนราชการ ไม่ว่าจะ กระทาโดยการสมยอมกัน หรือโดยการให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ เรียก รับ หรือยอมจะรับเงิน หรือ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใด หรือใช้กาลังประทุษร้าย หรือข่มขู่ว่าจะใช้กาลังประทุษร้าย หรือแสดง เอกสารอันเป็นเท็จ หรือกระทาการใดโดยทุจริต ทั้งน้ี โดยวัตถุประสงค์ท่ีจะแสวงหาประโยชน์ใน ระหว่างผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองานด้วยกันหรือเพ่ือให้ประโยชน์แก่ผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองานรายหนึ่ง รายใดเป็นผู้มีสิทธิทาสัญญากับส่วนราชการน้ัน หรือเพ่ือหลีกเล่ียงการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม หรือ เพอ่ื ให้เกิดความได้เปรยี บส่วนราชการโดยมใิ ช่เปน็ ไปในทางการประกอบธุรกิจปกติ 1.2 บุคคลท่มี หี น้าท่ีเกี่ยวกับการพัสดุ ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ได้นิยามศัพท์บุคคลที่มีหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการจัดหาและ การจัดการพสั ดุ ดงั นี้ “เจ้าหน้าที่พัสดุ” หมายความว่า เจ้าหน้าท่ีซึ่งดารงตาแหน่งที่มีหน้าที่เก่ียวกับการพัสดุ หรอื ผู้ไดร้ ับแต่งต้ังจากหัวหน้าส่วนราชการให้มหี น้าทีห่ รอื ปฏบิ ัตงิ านเกย่ี วกับการพัสดตุ ามระเบียบน้ี “เจ้าหน้าที่ท่ีมีหน้าท่ีตรวจสอบคุณสมบัติ” หมายความว่า คณะกรรมการเปิดซองสอบ ราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการดาเนินการจ้างที่ปรึกษาด้านท่ัวไป

โดยวิธคี ดั เลอื ก คณะกรรมการดาเนินการจา้ งทป่ี รกึ ษาดา้ นออกแบบและควบคุมงานโดยวิธคี ดั เลอื ก คณะกรรมการ ด า เ นิ น ก า ร จ้ า ง ที่ ป รึ ก ษ า ด้ า น อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ค ว บ คุ ม ง า น โ ด ย วิ ธี คั ด เ ลื อ ก แ บ บ จ า กั ด ข้อกาหนด หรือผู้ว่าจ้างในกรณีการจ้างท่ีปรึกษาด้านออกแบบและควบคุมงานโดยวิธีพิเศษที่เป็นการ ว่าจ้างโดยการประกวดแบบตามขอ้ 48(2) “หวั หนา้ หนว่ ยพสั ดุ” - หัวหน้าหน่วยพัสดุโดยตาแหน่ง คือ ผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับแผนกหรือ ต่ากวา่ แผนกท่ีมีหนา้ ทเ่ี กีย่ วกบั การควบคุมพสั ดุ - หัวหน้าหน่วยพัสดุโดยการแต่งต้ัง คือ ข้าราชการอื่นซ่ึงได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วน ราชการใหเ้ ปน็ หัวหนา้ หนว่ ยพสั ดุ “หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ” หมายความว่า หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือที่มีฐานะ เทียบเท่ากอง ซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามที่องค์กรกลางบริหารงานบุคคลกาหนด หรอื ข้าราชการอื่นซ่ึงได้รับแตง่ ตั้งจากหวั หน้าส่วนราชการใหเ้ ป็นหวั หนา้ เจา้ หน้าท่พี สั ดุ แลว้ แต่กรณี ผ้มู อี านาจอนุมัตกิ ารสง่ั ซ้ือสั่งจ้าง 1. “หวั หนา้ สว่ นราชการ” - สาหรับราชการบริหารส่วนกลาง หมายความว่า อธิบดี หรือหัวหน้าส่วน ราชการท่เี รยี กช่ืออยา่ งอืน่ และมฐี านะเป็นนติ บิ ุคคล - สาหรับราชการบรหิ ารสว่ นภูมภิ าค หมายความวา่ ผู้วา่ ราชการจงั หวดั 2. “ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถึงปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี ปลัดทบวง และผู้ดารงตาแหน่งท่ี เรียกช่ืออยา่ งอื่นซ่ึงมกี ฎหมายกาหนดให้มฐี านะเทยี บเทา่ ปลัดกระทรวงด้วย 3. “รัฐมนตรีว่าการกระทรวง” หมายความว่า รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงเจ้าสังกัด 4. ผู้ ที่ได้ รับม อบอ านาจจากผู้ที่มีอานาจในการดาเนิน การจัดหาพัส ดุแล ะผู้ท่ีมี อานาจในการสั่งซอ้ื หรือสง่ั จา้ ง 1.3 สว่ นราชการที่เก่ียวขอ้ ง ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ได้นิยามศัพท์ส่วนราชการมีหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับกระบวนการจัดหา พัสดตุ ามระเบียบว่าดว้ ยการพัสดุ ดงั น้ี (1.3.1) ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ มีหน้าที่ในการบริหารจัดการพัสดุ ให้เป็นไป ตา ม แ ผนกา รจั ด ซ้ื อจั ด จ้ าง แ ละ กร ะบ วนกา ร จั ด หา ต า มห ลั กเกณ ฑ์ ที่กา ห นด ในระ เ บี ยบ ส า นัก นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และ ที่แก้ไขเพ่มิ เตมิ (1.3.2) สานักงบประมาณ มีหน้าที่พิจารณาการทาความตกลง ในการแลกเปลี่ยน ครุภณั ฑ์ สาหรบั กรณีดงั ตอ่ ไปน้ี

(ก) เปน็ ครภุ ณั ฑต์ า่ งประเภทหรอื ต่างชนดิ กัน (ข) เปน็ ครภุ ณั ฑ์ทส่ี านักงบประมาณกาหนด (ค) การแลกเปลย่ี นครุภณั ฑ์ทีต่ อ้ งจา่ ยเงนิ เพิม่ (1.3.3) กระทรวงอตุ สาหกรรม มีหน้าที่ (1) พิจารณาคาขอรับใบอนุญาตแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน คาขอรับใบอนุญาตทา ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทมี่ พี ระราชกฤษฎกี ากาหนดใหต้ อ้ งเปน็ ไปตามมาตรฐาน และคาขอจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ให้ แลว้ เสร็จโดยเร็ว ในร ะห ว่างที่ยังพิจา ร ณ าค า ขอต าม วรร ค ห นึ่งไ ม่แ ล้ วเ ส ร็จ ให้ สา นักงา นม า ตร ฐา น ผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรมออกใบรับใหแ้ กผ่ ยู้ ่นื คาขอ เพอื่ ใช้เป็นหลกั ฐานกับสว่ นราชการผูด้ าเนินการซือ้ หรอื จา้ ง (2) จัดทาบัญชีคู่มือผู้ซ้ือปีละหน่ึงคร้ัง และใบแทรกคู่มือผู้ซ้ือระบุรายช่ือมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมท่ีประกาศกาหนดใหม่ และบัญชีรายช่ือผลิตภัณฑ์รายใหม่ท่ีได้ผ่านการพิจารณา ตาม (3.1) เดือนละหน่ึงคร้ัง เผยแพร่แก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐท่ีเรียกช่ืออย่างอื่น เปน็ ประจา (3) ตรวจสอบความจา เป็นพิเศษของส่วนราชการ เก่ียวกับการที่จะต้องกาหนด รายละเอียด หรือคุณลักษณะเฉพาะ หรือรายการในการก่อสร้าง แตกต่างไปจากท่ีกาหนดไว้ใน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือตามท่ีได้มีผู้ได้รับการจดทะเบียนไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ หากเป็นกรณีที่ไม่สมควร ให้ทักท้วง มิฉะนั้นให้ตอบรับทราบ ท้ังน้ี ภายใน 10 วันทาการ นบั แต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจง้ (1.3.4) กระทรวงสาธารณสุข มีหน้าที่แจ้งเวียนบัญชียาหลักแห่งชาติ ตามที่คณะกรรมการแห่งชาติ ด้านยากาหนด พร้อมท้ังราคากลางของยาดังกล่าว และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ให้ ส่วนราชการต่างๆ ทราบ กบั ให้องค์การเภสชั กรรมแจง้ รายการยาตามบญั ชียาหลักแหง่ ชาติ และเวชภณั ฑท์ ่มี ใิ ชย่ าทอี่ งคก์ ารเภสชั กรรม ผลิตได้ หรอื มจี าหนา่ ยใหส้ ่วนราชการต่างๆ ทราบ (1.3.5) สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน มีหน้าท่ีสอดส่องมิให้มีการหลีกเล่ียงการปฏิบัติท่ี ส่วนราชการไม่ใช้พัสดุท่ีผลิตในประเทศ และกิจการของคนไทย ตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ หากพบ การหลีกเลี่ยง ให้รายงานผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป เพ่ือดาเนินการทางวินัยแก่ผู้หลีกเล่ียง และแจ้ง ใหผ้ ูร้ กั ษาการตามระเบียบทราบ (1.3.6) กรมประชาสัมพนั ธ์ มีหนา้ ทีเ่ ผยแพร่เอกสารการประกวดราคา (1.3.7) องค์การส่ือสารมวลชนแหง่ ประเทศไทย มีหนา้ ทเี่ ผยแพรเ่ อกสารประกวดราคา

(1.3.8) กรมบัญชกี ลาง มหี น้าที่ ดงั น้ี 1. ตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการพสั ดโุ ดยเป็นเลขานุการคณะกรรมการวา่ ด้วยการพัสดุ 2. ตามกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการกรมบัญชีกลากระทรวงการคลัง พ.ศ.2545 มอี านาจหน้าที่ (ก) กาหนดนโยบายการบรหิ ารการพัสดุภาครฐั (ข) กาหนดมาตรฐานและราคากลางพสั ดุภาครฐั (ค) กาหนดนโยบายและพัฒนาแนวทางการจดั ซอื้ จดั จา้ ง (ง) กาหนดมาตรการป้องกันการสมยอมการเสนอราคาและการผูกขาดทางการค้าในการ จัดซื้อจดั จา้ งภาครัฐ (จ) พัฒนากฎหมายและระเบียบว่าด้วยการพัสดุให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล หรือสภาพการณ์ของประเทศ (ฉ) ดาเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาการขอทาความตกลงในการบริหารงานพัสดุ ของส่วนราชการต่างๆ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ัง มติคณะรัฐมนตรี หรือตามที่ได้รับอนุมัติจาก กระทรวง (ช) บริหารและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารให้สอดคล้องกับ ระบบการบริหารงานพสั ดุภาครัฐ 2. การใช้บังคับ ปัจจุบนั ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดุ ใช้บังคับดังนี้ 1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพสั ดุ พ.ศ.2535 2. ระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2538 3. ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2539 4. ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2541 5. ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 6. ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการพัสดุ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุใช้บังคับแก่ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณ แต่ไม่รวมถึงรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน หรือ หนว่ ยงานอ่นื ซึ่งมีกฎหมายบญั ญัติให้มฐี านะเปน็ ราชการบรหิ ารสว่ นทอ้ งถ่นิ การ ดาเ นินการ เก่ีย วกับกา รพัส ดุต ามร ะเ บียบ นี้ใช้ บังคับเ ฉพา ะส่ วนร าชการ ท่ีใช้ เงิ น งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม เงินซ่ึงส่วนราชการได้รับไว้โดยได้รับอนุญาต

จากรฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังให้ไม่ต้องส่งคลงั ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ เงินกู้ตามกฎหมายว่า ด้ ว ย ก า ร ใ ห้ อ า น า จ ก ร ะ ท ร ว งก า ร ค ลั ง กู้ เ งิ นจ า กต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ งิ น ท่ีไ ด้ รั บ ค ว า ม ช่ วย เ ห ลื อจ า ก รัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ สถาบันการเงินระหว่างประเทศ องค์การต่างประเทศทั้งใน ระดับรฐั บาล และท่มี ิใช่ระดบั รัฐบาล มลู นธิ หิ รอื เอกชนตา่ งประเทศ ระเบยี บวา่ ด้วยการพสั ดุ กาหนดคานิยามคาวา่ “เงินงบประมาณ” “เงนิ กู้” “เงินช่วยเหลือ” ดงั นี้ “เงินงบประมาณ” หมายความว่า งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติม และเงินซึ่งส่วนราชการได้รับไว้โดยได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังให้ไม่ต้อง สง่ คลังตามกฎหมายวา่ ด้วยวิธีการงบประมาณ แตไ่ ม่รวมถงึ เงนิ กู้ และเงินช่วยเหลอื ตามระเบยี บนี้ “เงินกู้” หมายความวา่ เงนิ กูต้ ามกฎหมายว่าด้วยการใหอ้ านาจกระทรวงการคลังก้เู งินจากตา่ งประเทศ “เงินช่วยเหลือ” หมายความว่า เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่าง ปร ะเ ทศ ส ถา บันกา รเ งินระ หว่างปร ะเ ทศ องค์ กา รต่ างปร ะเ ทศ ทั้งในระ ดับ รัฐบา ลแ ละ ท่ีมิ ใช่ ระดบั รัฐบาล มลู นธิ หิ รือเอกชนต่างประเทศ 3. การมอบอานาจ โดยหลักการทั่วไป อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการ ดาเนินการอ่ืน ที่ผู้ดารงตาแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดาเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ังอื่นใด หรือมตขิ องคณะรัฐมนตรีในเร่ืองใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ังน้ัน หรือมติของคณะรัฐมนตรีใน เรื่องน้ันมิได้กาหนดเรื่องการมอบอานาจไว้เป็นอย่างอ่ืน หรือมิได้ห้ามเร่ืองการมอบอานาจไว้ ผู้ดารงตาแหน่งนั้น อาจมอบอานาจให้ผดู้ ารงตาแหนง่ อนื่ ปฏิบัติราชการแทนไดต้ ามกฎหมายว่าดว้ ยระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ กาหนดเร่ืองการมอบอานาจไว้เป็น การเฉพาะ โดยให้ผู้มีอานาจดาเนินการตามระเบียบจะมอบอานาจเป็นหนังสือให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งใดก็ได้โดยให้ คานงึ ถงึ ระดบั ตาแหนง่ หน้าที่ และความรบั ผิดชอบของผูท้ ่ีจะไดร้ ับมอบอานาจเปน็ สาคญั และเพอ่ื ความคลอ่ งตัวใน ก า ร จั ด ห า ใ ห้ หั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ช ก า ร ม อ บ อ า น า จ ใ น ก า ร สั่ ง ก า ร แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร จั ด ห า ใ ห้ แ ก่ ผู้ ดารงตาแหน่งรองลงไปเป็นลาดบั สาหรับโครงการเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ ผู้มีอานาจดาเนินการจะแต่งต้ังข้าราชการคนหนึ่งทา หน้าที่ผู้อานวยการโครงการ และมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบในการดาเนินการตามระเบียบนี้ให้ เปน็ การเฉพาะกไ็ ด้

การมอบอานาจตามระเบียบให้ผู้มอบส่งสาเนาหลักฐานการมอบอานาจให้กรมบัญชีกลาง หรือสานักงานคลังจังหวัด สานักงานคลังจังหวัด ณ อาเภอ และสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือ สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดินภมู ภิ าค แล้วแตก่ รณี ทราบทกุ ครง้ั ข้อสังเกต เม่ือผู้มีอานาจตามกฎหมายได้มอบอานาจในเร่ืองหนึ่งเร่ืองใดให้แก่ผู้ดารง ตาแหน่งใดแล้ว ผู้รับมอบอานาจย่อมมีอานาจเช่นเดียวกับผู้ท่ีมีอานาจ และจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ได้รับมอบอานาจ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงในหลักการ เม่ือผู้ได้รับมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการใน เรื่องหน่ึงเร่ืองใดแทนผู้มีอานาจแล้ว ผู้ที่ได้รับมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนในเร่ืองน้ันจะมอบอานาจ ใหผ้ ู้ดารงตาแหน่งอ่ืนตอ่ ไปอีกไมไ่ ด้ เวน้ แต่จะมีกฎหมายหรือระเบยี บกาหนดไว้เป็นอยา่ งอนื่ 4. บทกาหนดโทษ 4.1 บทลงโทษผู้กระทาการฝา่ ระเบยี บ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ กาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ที่กระทาการฝ่าฝืน ระเบยี บของทางราชการไว้ โดยแยกองค์ประกอบ ดงั น้ี 1. ผู้มีอานาจหรือหน้าท่ดี าเนนิ การตามระเบียบ หรอื ผ้หู น่งึ ผใู้ ด 2. กระทาการโดย 2.1 จงใจหรือประมาทเลนิ เลอ่ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนี้ 2.2 มเี จตนาทจุ รติ 2.3 ปราศจากอานาจหรอื นอกเหนอื อานาจหนา้ ที่ 2.4 มพี ฤติกรรมทีส่ อ่ ใหม้ กี ารสมยอมกันในการเสนอราคา 3. ถือว่าผู้น้ันกระทาผิดวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการหรือตามกฎหมาย เฉพาะของส่วนราชการนั้น ภายในหลกั เกณฑ์ ดังนี้ 3.1 ถ้าการกระทามีเจตนาทุจริตหรือเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายอย่างร้ายแรง ให้ดาเนินการ ลงโทษอย่างต่า ให้ออกจากราชการ 3.2 ถ้าการกระทาเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายแต่ไม่ร้ายแรง ให้ลงโทษอย่างต่าตัด เงินเดือน 3.3 ถ้าการกระทาไม่เป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย ให้ลงโทษภาคทัณฑ์หรือว่า กล่าวตักเตอื น โดยทาคาสง่ั เป็นลายลักษณ์อกั ษร 4. การลงโทษทางวินัย ตามข้อ 3.1 ข้อ 3.2 ไม่เป็นเหตุให้ผู้กระทาหลุดพ้นจาก ความ รบั ผิดในทางแพง่ ตามระเบยี บความรบั ผิดชอบของข้าราชการในทางแพง่ หรือความรับผดิ ทางอาญา (ถา้ ม)ี

4.2 บทลงโทษผทู้ ้ิงงาน ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ กาหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการลงโทษ ผู้ทง้ิ งาน ไว้ดงั นี้ (1) หลกั เกณฑผ์ ูท้ ง้ิ งาน 1. ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกแล้ว ไม่ยอมไปทาสัญญาหรือข้อตกลงภายในเวลาท่ีทาง ราชการกาหนด 2. คู่สัญญาของทางราชการหรือผู้รับจ้างช่วงที่ทางราชการอนุญาตให้รับช่วงงานได้ ไม่ ปฏบิ ัติตามสญั ญาหรือขอ้ ตกลง โดยไม่มีเหตผุ ลอนั ควร 3. พัสดุที่ซ้ือห รือจ้า งทา เกิด ข้อบ กพร่อง ขึ้นภายร ะยะ เวลา ท่ีกา หนดไ ว้ในสัญญ า หรือข้อตกลง และไม่ได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องจากผู้จาหน่าย ผู้ รับจ้าง หรือคู่สัญญา หรือพัสดุที่ซ้ือหรือ จ้างไม่ได้มาตรฐานหรือวัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน หรือไม่ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง ทาใหง้ านบกพรอ่ งเสยี หายอยา่ งร้ายแรง หรอื 4. งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หากปรากฏว่าพัสดุหรือวัสดุท่ีซ้ือหรือจ้างหรือใช้โดย ผู้ รับ จา้ งช่วงทที่ างราชการอนญุ าตใหร้ ับชว่ งงานได้ มีข้อบกพรอ่ ง หรอื ไม่ได้มาตรฐานหรือไมค่ รบถ้วนตาม (3) 5. การจ้างที่ปรึกษาหรือการจ้างออกแบบและควบคุมงาน หากตรวจสอบแล้ว ปรากฏ ว่าผลจากการปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวมีข้อบกพร่อง ผิดพลาด หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทาง ราชการอย่างร้ายแรง 6. ผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน กระทาการอันเป็นการขัด ขวางการแข่งขันราคาอย่าง เป็นธรรมหรือกระทาการโดยไม่สุจริต เช่น การเสนอเอกสารอันเป็นเท็จ หรือใช้ชื่อบุคคลธรรมดาหรือนิติ บคุ คลอื่นมาเสนอราคาแทน 7. กรณีมีเหตุอันควรเช่ือว่ามีการกระทาโดยไม่สุจริต หรือมีการสมยอมกันในการเข้า เสนอราคากบั ทางราชการ ใหพ้ ิจารณาลงโทษผู้เสนอราคาเสมอื นเปน็ ผทู้ งิ้ งาน (2) การพจิ ารณาลงโทษผ้ทู ิง้ งาน 1. หัวหน้าส่วนราชการทารายงานไปยังปลัดกระทรวงเพื่อพิจารณาให้ผู้ไม่ปฏิบัติตามข้อ ผูกพนั ของทางราชการเปน็ ผ้ทู ิง้ งาน พร้อมทัง้ เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา 2. เมื่อปลดั กระทรวงพจิ ารณาแล้วเหน็ ว่า การกระทาดังต่อไปนี้ 2.1 ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกแล้ว ไม่ยอมไปทาสัญญาหรือข้อตกลงภายในเวลาท่ี ทางราชการกาหนด 2.2 คู่สัญญาของทางราชการหรือผู้รับจ้างช่วงที่ทางราชการอนุญาตให้รับช่ว ง งานได้ ไม่ปฏบิ ัตติ ามสัญญาหรอื ข้อตกลง โดยไม่มีเหตุผลอันควร

2.3 พัสดุที่ซื้อหรือจ้างทาเกิดข้อบกพร่องขึ้นภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ใน สัญญาหรือข้อตกลง และไม่ได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องจากผู้จาหน่าย ผู้รับจ้าง หรือคู่สัญญา หรือพัสดุ ที่ซ้ือหรือจ้างไม่ได้มาตรฐานหรือวัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน หรือไม่ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือ ข้อตกลง ทาใหง้ านบกพร่องเสยี หายอย่างร้ายแรง หรอื 2.4 งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หากปรากฏว่าพัสดุหรือวัสดุท่ีซ้ือหรือจ้างหรือ ใช้โดยผู้รับจ้างช่วงที่ทางราชการอนุญาตให้รับช่วงงานได้ มีข้อบกพร่อง หรือไม่ได้มาตรฐานหรือไม่ ครบถ้วนตาม 2.3 เป็นการกระทาโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร และบุคคลดังกล่าวสมควรเป็นผู้ท้ิงงาน ใหป้ ลัดกระทรวงส่งชื่อบุคคลดงั กลา่ วไปยังผรู้ ักษาการตามระเบยี บเพอื่ พิจารณาส่งั ให้เป็นผู้ทง้ิ งานโดยเร็ว 3. กวพ.พิจารณาเสนอความเห็นต่อปลดั กระทรวงการคลัง วา่ สมควรเปน็ ผทู้ ิ้งงาน 4. ปลดั กระทรวงการคลังพิจารณาสง่ั ให้เป็นผทู้ ้งิ งาน 5. ปลัดกระทรวงการคลังระบุช่ือผู้ทิ้งงานในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน และแจ้งเวียนให้ส่วน ราชการทราบ 6. กร ณี ป ลั ด กร ะ ทร ว งกา ร ค ลั งพิ จ า ร ณ า ว่า ยั งไ ม่ ส ม ค วร เ ป็ นผู้ ท้ิงงา น แ จ้ งผ ล ใ ห้ ปลดั กระทรวงทราบ 7. กรณีท่ีเป็นโครงการขนาดใหญ่ตามหลักเกณฑ์และวงเงินที่ กวพ. กาหนด หากปลัดกระทรวง พิ จ า ร ณ า แ ล้ ว เ ห็ น ว่ า บุ ค ค ล ดั ง ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น ยั ง ไ ม่ ส ม ค ว ร เ ป็ น ผู้ ทิ้ ง ง า น ใ ห้ ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง รายงานไปยัง กวพ. เพอ่ื ทราบดว้ ย (3) การลงโทษผู้ท้ิงงาน ระเบียบว่าด้วยการพัสดุกาหนด ห้ามส่วนราชการก่อนิติสัมพันธ์ กบั ผทู้ ้ิงงาน จนกวา่ จะมีคาสงั่ เพิกถอน 4.3 บทกาหนดโทษตามกฎหมายอ่ืน (1) พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กฎหมาย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณได้มีบทกาหนดโทษที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ ตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพ่ือเป็นการลงโทษผู้ท่ีไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย วิธกี ารงบประมาณ ตามมาตรา 26 ดงั นี้ มาตรา 26 “ข้าราชารหรือลูกจ้างผู้ใดของส่วนราชการกระทาการก่อหน้ีผูกพันหรือจ่ายเงิน หรือโดยรู้อยแู่ ลว้ ยนิ ยอมอนุญาตใหก้ ระทาการดังกล่าวนั้นโดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติน้ีหรือระเบียบ หรือข้อบังคับที่ ไ ด้ อ อ ก ต า ม ค ว า ม ใ น พ ร ะ บั ญ ญั ติ น อ ก จ า ก ค ว า ม รั บ ผิ ด ท า ง อ า ญ า ซ่ึ ง อ า จ ไ ด้ รั บ ต า ม ก ฎ ห ม า ย

อ่ืนแล้ว ผู้กระทาหรือยินยอมอนุญาตให้กระทาดังกล่าว จะต้องรับผิดชดใช้จานวนเงินท่ีส่วนราชการได้ จ่ายไป หรอื ต้องผูกพนั จะต้องจ่ายตลอดจนคา่ สินไหมทดแทนใดๆ ให้แกส่ ว่ นราชการน้ัน บุ ค ค ล ภ า ย น อ ก ผู้ ไ ด้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ก า ร ก ร ะ ท า ที่ เ ป็ น ก า ร ฝ่ า ฝื น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ นี้ ห รื อ ระเบียบหรือข้อบังคับที่ได้ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ีดังกล่าวในวรรคก่อน จะต้องร่วมรับผิดกับ ผู้ ก ร ะ ท า ก า ร ฝ่ า ฝื น ต า ม ค ว า ม ใ น ว ร ร ค ก่ อ น เ ช่ น กั น เ ว้ น แ ต่ จ ะ แ ส ด ง ไ ด้ ว่ า ต น ไ ด้ ก ร ะ ท า ไ ป โดยสจุ รติ ไม่รเู้ ทา่ ถึงการฝ่าฝืนพระราชบัญญตั หิ รอื ระเบียบ หรอื ขอ้ บังคบั ดงั กลา่ ว ความในวรรคแรกไม่ใช้บังคับแกข้าราชการหรือลูกจ้างซ่ึงได้ทักท้วงคาสั่งของผู้บังคับบัญชา เป็นหนงั สอื แลว้ ว่า การทีจ่ ะปฏิบตั ิตามคาส่ังอาจไม่ชอบดว้ ยกฎหมายหรือระเบยี บหรือข้อบงั คับ” ( 2 ) ร ะ เ บี ย บ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ว่ า ด้ ว ย วิ นั ย ท า ง ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ การคลัง พ.ศ.2544 ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 เป็นระเบียบท่ีกาหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรการในการควบคุมเงินของรัฐ เพ่ือให้ระบบการควบคุม การตรวจสอบการเงินแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีวินัย หากเจ้าหน้าท่ีผู้ใดจงใจฝ่าฝืน มาตรการเก่ียวกบั การควบคุมการเงินของรัฐตามท่ีกาหนดไว้ในระเบียบ ถือว่ากระทาความผิดวินัยทางงบประมาณ แล ะ กา รค ลั ง ต้ องรั บ โ ทษป รั บ ทางกา ร ป กค ร องต าม ร ะ เ บี ยบ ค ณ ะ กร ร ม กา รต ร วจ เ งินแ ผ่ นดิ น ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง ซ่ึงในส่วนที่เกี่ยวกับการดาเนินการด้านพัสดุ กาหนดไว้ใน หมวด 1 โทษปรบั ทางการปกครอง ขอ้ 9 และหมวด 2 ส่วนท่ี 6 ตงั้ แตข่ ้อ 37 ถึงข้อ 49 ดงั น้ี 1. เจ้าหน้าที่ผู้ใดมีหน้าที่ดาเนินการจัดซ้ือหรือจัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ี ตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับโดยมิชอบ แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อหรือจัดจ้างเพ่ือให้อานาจสั่งซ้ือสั่ง จ้างหรือวิธีการส่ังซื้อสั่งจ้างเปลี่ยนแปลงไปจากท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายหรือระเบียบดังกล่าว เป็นเหตุให้ เกิดความเสียหายแก่รฐั ตอ้ งรับโทษปรบั ทางปกครอง ช้นั ท่ี 4 2. เจ้าหน้าที่ผู้ใดมีหน้าท่ีดาเนินการจัดซ้ือที่ดิน และหรือสิ่งก่อสร้าง ปฏิบัติหรือละเว้นการ ปฏิบัติหน้าท่ีตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับโดยมิชอบเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐต้องรับ โทษปรับทางปกครอง ชั้นท่ี 4 3. เจ้าหน้าท่ีผู้ใดมีหน้าท่ีกาหนดราคากลาง กาหนดคุณสมบัติผู้เข้าเสนอราคา จัดทา รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ในการประกวดราคาหรือสอบราคาจัดซ้ือหรือจัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับโดยมิชอบ ซ่ึงมีผลเป็นการกีดกันหรือ เอ้ือประโยชน์

แก่ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างรายใดรายหน่ึง เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐต้องรับโทษปรับทาง ปกครอง ช้ันท่ี 4 4. เจา้ หนา้ ท่ผี ้ใู ดมีหน้าทีป่ ิดประกาศหรือจัดส่งเอกสารสอบราคาหรือประกวดราคาจัดซ้ือหรือจัดจ้าง ละเลยไม่ปิดประกาศหรือจัดส่งเอกสารดังกล่าวให้แก่บุคคลหรือหน่วยงานอ่ืนเพื่อทราบหรือเผยแพร่ข่าว การจัดซื้อหรือจัดจ้างตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ต้องรับโทษปรับทาง ปกครอง ชั้นท่ี 1 ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีตาม กฎหมายหรือระเบียบที่ใช้บังคับโดยมิชอบ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รั ฐเจ้าหน้าท่ีผู้กระทาต้องรับ โทษปรบั ทางปกครอง ชน้ั ท่ี 4 5. เจ้าหน้าที่ผู้ใดมีหน้าที่พิจารณาผลการประกวดราคา หรือเปิดซองสอบราคา รับพิจารณา ผู้เสนอราคาท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข โดยรู้หรือควรจะรู้ข้อเท็จจริงดังกล่าว เป็นเหตุให้เกิดความ เสียหายแกร่ ฐั ต้องรับโทษปรับทางปกครอง ชั้นท่ี 3 6. เจ้าหน้าท่ีผู้ใดมีหน้าที่พิจารณาเสนอความเห็นให้ซ้ือหรือจ้าง ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าท่ี ไม่ถูกต้องตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับ หรือไม่พิจารณาเสนอให้ซ้ือหรือจ้างผู้เสนอราคาต่าสุด โดยไมม่ เี หตผุ ลอันสมควร เป็นเหตใุ หเ้ กิดความเสยี หายแกร่ ฐั ต้องรบั โทษปรับทางปกครอง ชั้นท่ี 3 7. เจ้าหน้าท่ีผู้ใดมีหน้าที่เก่ียวกับการทาสัญญาซ้ือขายหรือจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้น การ ปฏิบัติหน้าท่ีตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับโดยมิชอบ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐต้องรับ โทษปรบั ทางปกครอง ชัน้ ที่ 4 8. เจ้าหน้าที่ผู้ใดมีหน้าที่ควบคุมงานหรือตรวจการจ้าง ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าท่ีไม่ถูกต้อง ตามกฎหมายหรอื ระเบยี บทีใ่ ชบ้ งั คับเป็นเหตใุ ห้เกดิ ความเสยี หายแก่รฐั ตอ้ งรบั โทษปรบั ทางปกครอง ชั้นท่ี 3 ถ้ า ก ร ณี เ จ้ า ห น้ า ที่ ซ่ึ ง มี ห น้ า ที่ ค ว บ คุ ม ง า น ห รื อ ต ร ว จ ก า ร จ้ า ง ป ฏิ บั ติ ห รื อ ล ะ เ ว้ น ก า ร ป ฏิ บั ติ หน้าท่ีตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับโดยมิชอบ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐต้องรับโทษปรับ ทางปกครอง ชัน้ ที่ 4 9. เจา้ หน้าที่ผู้ใดมีหนา้ ท่ีตรวจรบั พัสดปุ ฏบิ ตั หิ รือละเวน้ การปฏิบัตหิ นา้ ทต่ี ามกฎหมายหรือระเบียบ ทใ่ี ชบ้ งั คบั โดยมิชอบ เป็นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายแกร่ ัฐ ต้องรับโทษปรับทางปกครอง ชั้นท่ี 4

10. เจา้ หนา้ ที่ผ้ใู ดมีหน้าทใี่ นการเบกิ จา่ ยพัสดุหรอื จัดทาบัญชีหรอื ทะเบียนพัสดุ ไมป่ ฏบิ ตั ิหรือปฏิบัติ หน้าที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายหรือระเบียบที่ใช้บังคับ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ ต้องรับโทษ ปรับทางปกครอง ชน้ั ท่ี 2 11. เจ้าหน้าที่ผู้ใดมีหน้าที่ในการตรวจสอบพัสดุประจาปี ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าท่ีไม่ถูกต้องตาม กฎหมายหรอื ระเบยี บที่ใช้บงั คบั เป็นเหตุให้เกดิ ความเสียหายแกร่ ฐั ต้องรับโทษปรบั ทางปกครอง ช้นั ท่ี 2 ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ผู้ ใ ด มี ห น้ า ที่ แ ต่ ง ต้ั ง เ จ้ า ห น้ า ท่ี ต ร ว จ ส อ บ พั ส ดุ ป ร ะ จ า ปี ต า ม ก ฎ ห ม า ย ห รื อ ระเบียบท่ีใช้บังคับ ไม่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบพัสดุประจาปี เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ ต้อง รับโทษปรับทางปกครอง ชั้นท่ี 3 12. เจ้าหน้าที่ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยยานพาหนะ ปฏิบัติหรือ ละเว้นการ ปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ ามกฎหมายหรือระเบียบดังกล่าวโดยมิชอบ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ ต้องรับโทษปรับทาง ปกครอง ชนั้ ที่ 2 13. เจา้ หน้าที่ผู้กระทาความผิดหรือมีส่วนร่วมในการกระทาความผิดเป็นผู้บังคับบัญชาต้องรับโทษ ปรับทางปกครองในช้ันที่สูงกว่าอัตราโทษปรับทางปกครองตามที่กาหนดไว้สาหรับความผิดน้ันหน่ึงช้ัน เว้นแต่ ความผิดนัน้ กาหนดอัตราโทษปรับทางปกครองไว้ในชนั้ ที่ 4 แลว้ ความผิดวนิ ัยทางงบประมาณและการคลัง มีอัตราโทษปรับทางปกครอง 4 ชั้น ดงั ต่อไปนี้ (1) โทษชนั้ ท่ี 1 โทษปรับไม่เกินเงินเดอื น 1 เดอื น (2) โทษชั้นที่ 2 โทษปรบั เทา่ กับเงนิ เดือนต้ังแต่ 2 เดือน ถึง 4 เดอื น (3) โทษช้ันที่ 3 โทษปรบั เท่ากับเงนิ เดอื นตั้งแต่ 5 เดือน ถงึ 8 เดือน (4) โทษช้ันท่ี 4 โทษปรับเทา่ กับเงนิ เดอื นตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 12 เดอื น 5. คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการพสั ดุ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพัสดุ กาหนดให้มีคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ เพ่ือปฏิบตั ิหน้าที่ตามท่ีระเบียบกาหนด ดงั น้ี 1. องคป์ ระกอบคณะกรรมการ “คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการพัสดุ” เรยี กโดยย่อว่า กวพ. ประกอบดว้ ย

1. ปลดั กระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ 2. อธิบดกี รมบัญชกี ลาง กรรมการ 3. ผแู้ ทนกระทรวงกลาโหม กรรมการ 4. ผแู้ ทนสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรรมการ 5. ผู้แทนสานกั งานอยั การสูงสุด กรรมการ 6. ผู้แทนสานกั งบประมาณ กรรมการ 7. ผแู้ ทนสานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า กรรมการ 8. ผู้แทนสานักงาน ป.ป.ช. กรรมการ 9. ผู้แทนสานักนายกรฐั มนตรี กรรมการ 10. ผู้แทนสานักงานเศรษฐกจิ การคลัง กรรมการ 11. ผู้แทนสานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม กรรมการ 12. ผ้ทู รงคุณวุฒซิ ่งึ นายกรฐั มนตรีแตง่ ตงั้ ไม่เกนิ หา้ คน กรรมการ 13. เจา้ หน้าทีก่ รมบัญชกี ลาง กรรมการและเลขานุการ 14. กวพ. แต่งต้ัง ผู้ช่วยเลขานุการไมเ่ กนิ สองคน 2. หนา้ ที่ กวพ. กวพ. มอี านาจหน้าท่ดี งั น้ี (1) ตีความและวินจิ ฉัยปญั หาเก่ียวกบั การปฏิบตั ติ ามระเบยี บ (2) พจิ ารณาการอนมุ ตั ิยกเว้น หรอื ผ่อนผนั การไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบ (3) พิจารณาคารอ้ งเรียนเกยี่ วกับการทส่ี ่วนราชการไม่ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ (4) เสนอแนะการแก้ไขปรบั ปรงุ ระเบียบตอ่ คณะรฐั มนตรี (5) กาหนดแบบหรือตัวอย่าง รวมท้ังการแก้ไขเพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง และกาหนด แนวทางปฏิบัติ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บนี้ (6) เสนอความเห็นต่อผู้รักษาการตามระเบียบ ในการพิจารณาและแจ้งเวียนชื่อผู้ท้ิง งาน และการส่ังเปลี่ยนแปลงเพิกถอนผู้ท้ิงงานของส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานอื่นซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะ เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกจิ (7) กาหนดอตั ราร้อยละของราคา ตามขอ้ 16 (6)(7)(8) และ (11) (8) กาหนดประเภทหรอื ชนิดของพสั ดุทีจ่ าเปน็ ตอ้ งซ้อื จากตา่ งประเทศ ตามข้อ 68 (9) เชิญข้าราชการและลูกจ้างของส่วนราชการ หรือ พนักงานและลูกจ้างของ รัฐวสิ าหกิจ หรอื บุคคลทเ่ี กีย่ วขอ้ งมาสอบถามหรอื ใหข้ ้อเทจ็ จริงรวมทั้งเรียกเอกสารจากส่วนราชการ

หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติ ให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนทอ้ งถ่ิน หรอื รฐั วสิ าหกจิ ในสว่ นที่เกย่ี วขอ้ ง (10) แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการเพอื่ ทาหน้าท่ีตามที่ คณะกรรมการมอบหมาย (11) พิจารณาดาเนินการ ตามทค่ี ณะรฐั มนตรมี อบหมาย (12) พจิ ารณารายงานการจ้างตามขอ้ 83 วรรคสอง (13) กาหนดอตั ราคา่ จ้างทีป่ รึกษาตามขอ้ 92 (14) กาหนดหลกั เกณฑ์การกาหนดค่าปรับ ตามขอ้ 134 (15) กาหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีปฏิบัติเพ่ือให้มีการปฏิบัติตามระเบียบว่า ด้วยการพสั ดุ

บทท่ี 3 วิธกี ารพสั ดุ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 แก้ไขเพ่ิมเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ.2545 วางวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นส่วนทเี่ กี่ยวกบั การจาแนกประเภทวิธกี ารจดั หาพัสดุ ออกเปน็ 7 ประเภท ได้แก่ 1. การจดั ทาเอง 2. การซ้อื 3. การจา้ ง 4. การจ้างทปี่ รกึ ษา 5. การจ้างออกแบบและควบคุมงาน 6. การแลกเปลีย่ น 7. การเชา่ (1) การจัดทาเอง หมายความว่า การที่ส่วนราชการจัดหาวัสดุอุปกรณ์มาดาเนินการจัดทา พัสดุเองตามอานาจหน้าที่ของส่วนราชการน้ัน รวมถึงการมอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีของส่วนราชการจัดทา พสั ดุเอง (2) การซ้ือ หมายความว่า การซื้อพัสดุทุกชนิดท้ังที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการท่ี เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ แต่ไมร่ วมถึงการจดั หาพสั ดใุ นลักษณะการจา้ ง วิธซี ้อื แบง่ ออกเป็น 6 วธิ ี ไดแ้ ก่ 1. วิธตี กลงราคา ได้แก่ การซ้ือครงั้ หน่งึ ซ่ึงมีราคาไม่เกนิ 100,000 บาท 2. วิธีสอ บราคา ไ ด้แก่ การซ้ื อครั้ งหนึ่งซ่ึงมีร าคา เกิน 100, 000 บาท แต่ไ ม่เกิน 2,000,000 บาท 3. วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซ้ือครัง้ หนึง่ ซ่งึ มรี าคาเกิน 2,000,000 บาท 4. วิธีพิเศษ ได้แก่ การซื้อคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคาเกิน 100,000 บาท ให้กระทาได้เฉพาะกรณี หนึ่งกรณใี ด ดังต่อไปน้ี (1) เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาด โดยส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่า ด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอ่ืนซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหาร ส่วนทอ้ งถนิ่ รัฐวสิ าหกจิ องคก์ ารระหว่างประเทศ หรอื หนว่ ยงานของตา่ งประเทศ (2) เป็นพสั ดุทีต่ อ้ งซือ้ เร่งด่วน หากลา่ ช้าอาจจะเสียหายแกร่ าชการ (3) เปน็ พสั ดเุ พื่อใชใ้ นราชการลบั

(4) เป็นพัสดุที่มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นในสถานการณ์ ท่ีจาเป็น หรือเร่งด่วน หรือเพ่อื ประโยชนข์ องสว่ นราชการ และจาเป็นต้องซอ้ื เพมิ่ (Repeat Order) (5) เป็นพัสดุท่ีจาเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศหรือดาเนินการโดยผ่าน องค์การระหวา่ งประเทศ (6) เ ป็ น พั ส ดุ ท่ี โ ด ย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร ใ ช้ ง า น ห รื อ มี ข้ อ จ า กั ด ท า ง เ ท ค นิ ค ท่ี จาเป็นต้องระบุย่ีห้อเป็นการเฉพาะ ซึ่งหมายความรวมถึง อะไหล่ รถประจาตาแหน่ง หรือยารักษาโรคท่ีไม่ ตอ้ งจดั ซอื้ ตามชอ่ื สามญั ในบัญชียาหลกั แหง่ ชาติ ตามขอ้ 60 (7) เป็นพัสดทุ เี่ ป็นท่ดี นิ และหรอื สง่ิ ก่อสร้างซึ่งจาเปน็ ต้องซอ้ื เฉพาะแห่ง (8) เปน็ พสั ดทุ ไี่ ด้ดาเนินการซอื้ โดยวธิ ีอนื่ แลว้ ไมไ่ ดผ้ ลดี 5. วิธีกรณีพิเศษ ได้แก่ การซื้อจากส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการท้องถิ่น หน่วยงานอนื่ ซงึ่ มีกฎหมายบัญญัติใหม้ ีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ ในกรณี ดงั ต่อไปน้ี (1) เป็นผู้ผลิตพสั ดนุ ้นั เอง และนายกรัฐมนตรอี นมุ ตั ใิ ห้ซอ้ื (2) มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกาหนดให้ซื้อ และกรณีน้ีให้รวมถึงหน่วยงาน อืน่ ทม่ี ีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกาหนดด้วย ข้อสังเกต (1) กา ร ซ้ื อค ร้ังห นึ่ง ห มา ย ถึง การ ซื้ อท่ีมี ลักษณ ะ พัส ดุป ร ะ เ ภ ทเดี ย วกัน มี ความตอ้ งการในการใชร้ ะยะเดยี วกนั และควรดาเนินการจัดหาในคราวเดยี วกัน (2) การแบ่งซอื้ เพ่อื ให้วงเงนิ ต่ากวา่ ทก่ี าหนดในวิธีหนึ่งวิธีใด จะกระทาไม่ได้ (3) ในการสอบราคา หรือประกวดราคาคร้ังหนึ่ง มีหลายรายการ การเลือก ซื้อแต่ละรายการตามเง่ือนไขในประกาศ โดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาอย่างเหมาะสม ได้แก่ ผู้เสนอ ราคาถกู ต้องตรงตามรายการละเอยี ด และ เงอื่ นไขทก่ี าหนดไว้ในประกาศ และราคาต่าสุด เป็นต้น กรณีดังกล่าวไม่ ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงอานาจของผู้มีอานาจส่ั งซื้อ เนื่องจากวงเงินในการส่ังซื้ อลดลง จึงไ ม่ ถอื เปน็ การแบ่งซือ้ 6. วิธีการประมูลด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e – auction) วิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e – auction) หมายความว่า การแข่งขันเสนอ ราคาด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

การประมลู ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดาเนินการได้ 2 วธิ ี ดงั ต่อไปน้ี (1) ประมูลแบบเปิดราคา (Reverse Auction) เป็นการประมูลแข่งขันเสนอราคา ตา่ สุด โดยแสดงตัวเลขทมี่ กี ารเสนอราคาแต่ไม่แสดงวา่ ผใู้ ดเป็นผ้เู สนอราคา (2) ประมูลแบบปิดราคา (Sealed Bid Auction) เป็นการประมูลแข่งขันเสนอราคา ต่าสุด โดยแสดงชอ่ื ผเู้ สนอราคาตา่ สดุ แตไ่ ม่แสดงตัวเลขทม่ี กี ารเสนอราคา กา รซื้ อแต่ ละ ค รั้งท่ีมีวงเ งิ นร วมเ กินส องล้ านบา ท ให้ ใช้ กา ร ปร ะ มูล ด้วย ระ บ บ อิเล็กทรอนิกส์ แต่ส่วนราชการใดเห็นสมควรจะใช้การประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สาหรับการซ้ือ ท่มี ีวงเงินรวมไม่เกนิ สองล้านบาทกไ็ ด้ (3) การจ้าง ให้หมายความรวมถึง การจ้างทาของและ การรับขนตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ และการจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการตามระเบียบ ของกระทรวงการคลัง การรับขนในการเดินทางไปราชการตามกฎหมายว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้างแรงงานตามประมวล กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ วิธีจ้างแบ่งออกเปน็ 6 วธิ ี ไดแ้ ก่ (1) วิธตี กลงราคา ไดแ้ ก่ การจ้างครั้งหนง่ึ ซึ่งมรี าคาไมเ่ กิน 100,000 บาท (2) วิธีสอบราคา ได้แก่ การจ้างครั้งหนึ่งซ่ึงมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท (3) วิธีประกวดราคา ไดแ้ ก่ การจ้างคร้ังหน่ึงซึง่ มีราคาเกิน 2,000,000 บาท (4) โดยวิธีพิเศษ ได้แก่ การจ้างคร้ังหนึ่งซ่ึงมีราคาเกิน 100,000 บาท ให้กระทาได้ เฉพาะกรณีหนง่ึ กรณใี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) เปน็ งานที่ตอ้ งจ้างช่างผมู้ ฝี ีมือโดยเฉพาะหรือผูม้ ีความชานาญเป็นพเิ ศษ (2) เป็นงานจ้างซ่อมพัสดุที่จาเป็นต้องถอดตรวจ ให้ทราบความชารุดเสียหาย เสียก่อนจึงจะประมาณค่าซ่อมได้ เช่น งานจ้างซ่อมเคร่ืองจักร เคร่ืองมือกล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้า หรอื เคร่ืองอิเล็กทรอนกิ ส์ เปน็ ต้น (3) เปน็ งานทีต่ อ้ งกระทาโดยเร่งดว่ น หากล่าชา้ อาจจะเสียหายแกร่ าชการ (4) เป็นงานที่ตอ้ งปกปิดเป็นความลับของทางราชการ (5) เป็นงานท่ีจาเป็นต้องการจ้างเพิ่ม ในสถานการณ์ที่จาเป็น หรือเร่งด่วน หรือ เพอ่ื ประโยชนข์ องส่วนราชการ และจาเป็นตอ้ งจ้างเพิ่ม (Repeat Order) (6) เป็นงานท่ไี ด้ดาเนนิ การจา้ งโดยวิธีอน่ื แล้วไม่ได้ผลดี

(5) วิธีกรณีพิเศษ ได้แก่ การจ้างจากส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วน ทอ้ งถน่ิ หรอื รฐั วสิ าหกิจ ในกรณีดังตอ่ ไปน้ี (1) เป็นผู้ทางานจ้างน้นั เอง และนายกรัฐทมนตรีอนุมัตใิ ห้ซอื้ หรือจา้ ง (2) มี ก ฎ ห ม า ย ห รื อ ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ก า ห น ด ใ ห้ จ้ า ง แ ล ะ ก ร ณี นี้ ใ ห้ ร ว ม ถึ ง หนว่ ยงานอ่ืนทม่ี กี ฎหมายหรือมติคณะรฐั มนตรกี าหนดดว้ ย ขอ้ สงั เกต (1) การจ้างครั้งหนึ่ง หมายถึง การจ้างที่มีลักษณ ะพัสดุประเภทเดียวกัน มี ความต้องการในการใชร้ ะยะเดียวกัน และควรดาเนนิ การจดั หาในคราวเดียวกนั (2) การแบ่งจ้าง เพอ่ื ใหว้ งเงนิ ต่ากว่าท่ีกาหนดในวธิ ีหนึ่งวธิ ีใด จะกระทาไมไ่ ด้ (6) วธิ กี ารประมูลด้วยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e – auction) วิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e – auction) หมายความว่า การแข่งขัน เสนอราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การประมลู ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ดาเนนิ การได้ 2 วธิ ี ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ประมูลแบบเปิดราคา (Reverse Auction) เป็นการประมูลแข่งขันเสนอราคา ต่าสดุ โดยแสดงตวั เลขทมี่ กี ารเสนอราคาแต่ไมแ่ สดงวา่ ผู้ใดเปน็ ผเู้ สนอราคา (2) ประมูลแบบปิดราคา (Sealed Bid Auction) เป็นการประมูลแข่งขันเสนอราคา ตา่ สดุ โดยแสดงชอ่ื ผู้เสนอราคาตา่ สดุ แต่ไม่แสดงตวั เลขทม่ี ีการเสนอราคา การจ้างแต่ละครั้งที่มีวงเงินรวมเกินสองล้านบาท ให้ใช้การประมูลด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ แต่ส่วนราชการใดเห็นสมควรจะใช้การประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สาหรับการซื้อหรือ การจ้างทีม่ ีวงเงนิ รวมไมเ่ กินสองล้านบาทก็ได้ (4) การจ้างที่ปรึกษา หมายความว่า การจ้างบริการจาก ท่ีปรึกษา แต่ไม่รวมถึงการจ้าง ออกแบบและควบคุมงานกอ่ สร้างอาคารด้วยเงนิ งบประมาณ การจา้ งท่ีปรกึ ษา กระทาได้ 2 วิธี ไดแ้ ก่ 1. วิธีตกลง 2. วิธคี ัดเลอื ก (5) การจ้างออกแบบและควบคุมงาน หมายความว่า การจ้างบริการจากนิติบุคคลหรือ บุคคลธรรมดา ท่ีประกอบธุรกิจบริการ ด้านงานออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง อาคารด้วยเงิน งบประมาณ

การจา้ งออกแบบและควบคมุ งาน กระทาได้ 4 วิธี ได้แก่ 1. วิธีตกลง 2. วิธคี ดั เลือก 3. วธิ ีคดั เลอื กแบบจากดั ข้อกาหนด 4. วิธพี ิเศษ (6) การแลกเปลี่ยน หมายความวา่ การโอนพัสดทุ ุกชนิดของสว่ นราชการกับส่วนราชการหน่วยงานตาม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น ห น่ ว ย ง า น อื่ น ซ่ึ ง มี ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ใ ห้ มีฐานะเปน็ ราชการบริหารสว่ นทอ้ งถ่ิน รัฐวิสาหกจิ หรอื เอกชน การแลกเปลย่ี น แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. การแลกเปลีย่ นวสั ดุกับวัสดุ 2. การแลกเปล่ยี นครุภณั ฑก์ บั ครภุ ัณฑ์ (7) การเช่า หมายความว่า การท่ีส่วนราชการได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินของ บคุ คลอื่นเปน็ การช่ัวคราวโดยชาระคา่ เช่าเพื่อการนั้น การเชา่ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. การเช่าสงั หารมิ ทรัพย์ ใชว้ ธิ ซี ื้อโดยอนุโลม 2. การเช่าสงั หาริมทรัพย์ ใชว้ ิธตี กลงราคา การจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารจัดซอ้ื จดั จ้าง ใ น ก า ร จั ด ห า พั ส ดุ ส่ ว น ร า ช ก า ร จ ะ ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร จั ด ห า ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม แ ผ น แ ล ะ ข้ั น ต อ น ที่ กาหนดไวใ้ นระเบียบวา่ ดว้ ยการพัสดุ ซึ่งในการจัดหาพัสดุโดยวิธีสอบราคา และวิธีประกวดราคาจะต้องดาเนินการ เปน็ ไปตามแผนในการจัดหาของแต่ละปดี ้วย กา ร จั ด ห า พัส ดุ ส่ วน ร า ชก า ร จ ะ ต้ องจั ด ทา แ ผ นป ฏิ บั ติ กา ร จั ด ซื้ อจั ด จ้ า ง ต า ม ป ร ะ กา ศ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง การจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ.2546 ท่ีกาหนดข้ึน เพ่ือให้ส่วนราชการถือปฏิบัติ ซ่ึงเป็นข้อกาหนดเกี่ยวกับการบริการการเงินและการคลัง ตามมาตรการ เก่ยี วกบั การควบคุมการเงินของรัฐ ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ เร่ือง การจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซ้ือจัดจ้าง 2546 กาหนดให้ การดาเนินการจัดหาพัสดุท่ีเป็นครุภัณฑ์ท่ีมีราคาเกิน 100,000 บาท และท่ีดิน สิ่งก่อสร้างท่ีมี ราคา 2,000,000 บาท จะต้องมีการจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซ้ือจัดจ้างให้แล้ วเสร็จภายในวันที่ 15 ของ เดือนตุลาคมของทุกปี และส่งสาเนาให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภายในวันที่ 31 ตุลาคมของทุกปี และหากแผนปฏิบตั ิการจดั ซื้อจัดจา้ งได้มกี ารแก้ไข เปลย่ี นแปลง เพม่ิ เติมหรอื ตัดทอนรายละเอียดในแผนปฏิบัติการ

จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง ใ ห้ ส่ ง ส า เ น า ใ ห้ ส า นั ก ง า น ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ภ า ย ใ น 1 5 วั น นั บ แ ต่ วั น ที่ ได้รบั อนมุ ัตใิ ห้แก้ไข เปลีย่ นแปลง เพิม่ เตมิ หรือตดั ทอนรายละเอยี ด ส่ ว น ร า ช ก า ร จ ะ ต้ อ ง จั ด ใ ห้ มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร จัดซอ้ื จดั จา้ ง และใหร้ ายงานสานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดินภายใน 30 วันทาการสดุ ท้ายของไตรมาส การจัดหาพสั ดจุ ะตอ้ งใชพ้ สั ดทุ ผี่ ลติ ในประเทศและกจิ การของคนไทย การจัดหาพสั ดสุ ่วนราชการจะตอ้ งใช้พสั ดทุ ผ่ี ลติ ในประเทศและกิจการของคนไทยดงั น้ี 1. พสั ดุซงึ่ แสดงเครอื่ งหมายมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม 2. พัสดุซึ่งแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตส าหกรรมและผลิตจากโรงงานที่ได้รับ การรบั รองระบบคุณภาพ 3. พัสดุท่ีมผี ู้ได้รบั ใบอนญุ าตแสดงเครอ่ื งหมายมาตรฐาน ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ กาหนดหลักเกณฑ์ในการจัดหาพัสดุต้องสนับสนุนสินค้าที่ผลิตใน ประเทศและเป็นกิจการของคนไทย คือ ใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตสาเร็จรูปแล้วโดยสถานท่ีผลิตพัสดุนั้นต้ังอยู่ ในประเทศไทยซึ่งเปน็ กจิ การของบุคคลธรรมดาหรือนติ บิ ุคคลท่ีมีสญั ชาติไทย ตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี (1) ห้ามกาหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ซึ่งอาจมีผลกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตหรือ ผขู้ ายพสั ดทุ ี่ผลติ ในประเทศหรอื เปน็ กิจการของคนไทยสามารถเข้าแข่งขันกนั ในการเสนอราคากับทางราชการ (2) ใ น ก ร ณี พั ส ดุ ท่ี ต้ อ ง ก า ร ซื้ อ ห รื อ จ้ า ง ท า มี ป ร ะ ก า ศ ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้ว ให้กาหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการก่อสร้าง ตามมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม หรือเพื่อความสะดวกจะระบเุ ฉพาะหมายเลขมาตรฐานก็ได้ (3) ในกรณีพัสดุทีต่ ้องการซือ้ หรือจ้างทา ยงั ไมม่ ีประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แ ต่ มี ผู้ ไ ด้ รั บ ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ว้ กั บ ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล้ ว ใ ห้ กาหนดรายละเอียดหรือ คุณลักษณะเฉพาะหรือราย การในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับรายละเอียด หรือคุณลักษณะเฉพาะตามทรี่ ะบุไวใ้ นค่มู อื ผู้ซือ้ หรือใบแทรกค่มู ือผซู้ อื้ ท่กี ระทรวงอตุ สาหกรรมจดั ทาข้นึ (4) ในกรณีที่มีความจาเป็นจะต้องกาหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะหรือ รายการในการกอ่ สร้าง แตกต่างจากที่กาหนดไว้ใน (2) หรือ (3) ให้แจ้งสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และเมื่อได้รับหนังสือกระทรวงอุตสาหกรรมตอบรับทราบหรือไม่ทักท้วงแล้ว ให้ดาเนินการซื้อหรือจ้างต่อไปได้ หรือไมร่ ับพิจารณารายน้ัน แล้วแต่กรณี (5) ใน ก ร ณี พั ส ดุ ที่ ต้ อ ง ก า ร ซื้ อ ห รื อจ้ า ง ท า เ ป็ น พัส ดุ ท่ี มี ผู้ ไ ด้ รั บ ใบ อ นุ ญ า ต แ ส ด ง เครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกัน และในขณะเดียวกันเป็นพัสดุท่ีมีผู้ผลิตจาก โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโดยมีผู้ผลิตต้ังแต่สามรายขึ้นไป ให้ระบุความต้องการเฉพาะ

พัสดุซ่ึงแสดงเครื่องหมายมาตรฐานและผลิตจ ากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบ คุณภาพท่ีทาใน ประเทศไทยเทา่ นน้ั ในกรณีพัสดุท่ตี อ้ งการซือ้ หรอื จ้างทาตามวรรคหนึ่งเป็นพัสดุที่มีผู้ได้รับใบอนุญาตแสดงเคร่ืองหมาย ม า ต ร ฐ า น ป ร ะ เ ภ ท ช นิ ด ห รื อ ข น า ด เ ดี ย ว กั น แ ล ะ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น เ ป็ น พั ส ดุ ที่ มี ผู้ ผ ลิ ต จ า ก โรงงานท่ีได้รับการรับรองระบบคุณภาพโดยมีผู้ผลิตน้อยกว่าสามราย แต่เป็นพัสดุที่มีผู้ได้รับใบอนุญาต แสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกันโดยมีผู้ได้รับใบอนุญาตตั้งแต่สามรายข้ึน ไป หรือเป็นพัสดุท่ีมีผู้ผลิตจากโรงงาน ท่ีได้รับการับรองระบบคุณภาพโดยมีผู้ผลิตตั้งแต่สามรายข้ึ นไป ให้ส่วนราชการระบุความต้องการเฉพาะพัสดุซึ่งแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานหรือพัสดุท่ีผลิตจากโรงงานที่ ไดร้ ับการรับรองระบบคุณภาพที่ทาในประเทศไทยและให้ดาเนินการตาม (6) (6) ใน ก ร ณี พั ส ดุ ที่ ต้ อ ง ก า ร ซ้ื อ ห รื อจ้ า ง ท า เ ป็ น พัส ดุ ท่ี มี ผู้ ไ ด้ รั บ ใบ อ นุ ญ า ต แ ส ด ง เครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกันต้ังแต่สามรายข้ึนไป ให้ระบุความต้องการ เฉพาะพัสดซุ ่ึงแสดงเครอ่ื งหมายมาตรฐานท่ีทาในประเทศไทยเทา่ น้นั ในกรณีพัสดุท่ีต้องการซ้ือหรือจ้างทา เป็นพัสดุท่ีมีผู้ผลิตจากโรงงานท่ีได้รับการรับรอง ระบบคุณภาพตั้งแต่สามรายข้ึนไป ให้ระบุความ ต้องการเฉพาะพัสดุซ่ึงผลิตจากโรงงานที่ได้รับการ รับรองระบบคณุ ภาพท่ที าในประเทศไทยเท่านัน้ การซ้ือหรือการจ้างในกรณีนี้นอกจากการจ้างก่อสร้าง หากมีผู้เสนอราคาพัสดุท่ีแสดงเคร่ืองหมาย ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น เ ป็ น พั ส ดุ ที่ มี ผู้ ผ ลิ ต จ า ก โ ร ง ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ ง ร ะ บ บ คุณภาพเสนอราคาสูงกว่าราคาต่าสุดของผู้เสนอราคารายอื่นไม่เกินร้อยละห้า ให้ต่อรองราคา ผู้เสนอ ราคาพัสดุท่ีแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานและผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพรายท่ีเสนอ ราคาต่าสุด หากต่อรองราคาแล้ว ราคาท่ีลดลงสูงกว่าราคาต่าสุดไม่เกินร้อยละสาม หรืออั ตราที่ กวพ. กาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 12(7) ให้ซ้ือหรือจ้างจากผู้ เสนอราคารายนั้น (7) ในกรณี พัส ดุท่ีต้องกา รซ้ื อห รือจ้างทา ตา ม (5) ห รือ (6) เ ป็นพัสดุ ท่ีมี ผู้ไ ด้รั บ ใบอนุญาตแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกัน และในขณะเดียวกันเป็นพัสดุ ท่ีผลิตจากโรงงานท่ีได้รับการรับรองระบบคุณภาพน้อยกว่าสามราย หรือเป็นพัสดุท่ีมีผู้ได้รับใบอนุญาต แสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกัน โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาตน้อยกว่าสาม ราย หรือเป็นพัสดุที่มีผู้ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ โดยมีผู้ผลิตน้อยกว่าสามราย ให้ระบคุ วามต้องการเฉพาะพสั ดุทที่ าในประเทศไทย การซื้อหรือการจ้างในกรณีน้ีนอกจากการจ้างก่อสร้าง หากมีผู้เสนอราคาพัสดุที่แสดงเครื่องหมาย ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น เ ป็ น พั ส ดุ ท่ี ผ ลิ ต จ า ก โ ร ง ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ งร ะ บ บ คุ ณ ภ า พ

หรือมีผู้เสนอราคาพัสดุที่แสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน หรือมีผู้เสนอราคาพัสดุท่ีผลิตจากโรงงานที่ได้รับ การรบั รองระบบคุณภาพ ใหด้ าเนินการต่อรองราคาดังนี้ (ก) ใ ห้ เ รี ย ก ผู้ เ ส น อ ร า ค า พั ส ดุ ท่ี แ ส ด ง เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ใ น ขณะเดียวกันเป็นพัสดุท่ีผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพรายท่ีเสนอราคาสูงกว่าราคา ต่าสุดของผู้เสนอราคารายอื่นไม่เกินร้อยละสิบมาต่อรองราคา ทั้งนี้ ให้เรียกผู้เสนอราคารายท่ีเสนอ รา ค า ต่ า สุ ด ม า ต่ อร องร าค า ก่อน ห า กต่ อร องร าค า ที่ล ด ล งสู งกว่า ร า ค าต่ า สุ ด ของผู้ เ ส นอร า ค า รายอื่นไม่เกินร้อยละเจ็ด หรืออัตราท่ี กวพ. กาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 12(7) ให้ซื้อหรือจ้างจากผู้เสนอราคารายน้ัน หากต่อรองราคาแล้วไม่ได้ผล ให้เรียกผู้ เสนอราคาพัสดุที่แสดงเครื่องหมายมาตรฐานและผลิตจากโรงงานท่ีได้รับการรับรอ งระบบคุณภาพรายท่ี เสนอราคาต่าสุดลาดับถัดไปมาต่อรองราคา หากต่อรองราคาแล้ว ราคาที่ลดลงสูงกว่าราคาต่าสุดของผู้ เสนอราคารายอื่นไม่เกินร้อยละเจ็ด หรืออัตราที่ กวพ. กาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 12(7) ให้ซื้อหรือจ้างจากผเู้ สนอราคารายน้นั (ข) หากดาเนินการตาม (ก) แล้วไม่ได้ผล ให้ เรียกผู้เสนอราคาพัสดุที่แสดง เคร่ืองหมายมาตรฐาน หรือผู้เสนอราคาพัสดุ ท่ีผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพรายท่ี เสนอราคาสูงกว่าราคาต่าสุดของผู้เสนอราคารายอ่ืนไม่เกินร้อยละเจ็ดมาต่อรองราคา หากต่อรองรา คา แล้ว ราคาที่ลดลงสูงกว่าราคาต่าสุดของผู้เสนอราคารายอื่นไม่เกินร้อยละห้า หรืออัตราท่ี กวพ. กาหนด ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 12(7) ให้ซ้ือหรือจ้างจากผู้เสนอ ราคารายนน้ั (8) ในกรณีพัสดุท่ีต้องการซ้ือหรือจ้างทามีผู้ได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับ กระทรวงอตุ สาหกรรมแล้ว ใหร้ ะบุความตอ้ งการเฉพาะพสั ดุท่ที าในประเทศไทย การซ้ือหรือการจ้างในกรณีนี้นอกจากการจ้างก่อสร้าง หากมีผู้เสนอราคาพัสดุที่ได้รับ ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ว้ กั บ ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ส น อ ร า ค า สู ง ก ว่ า ร า ค า ต่ า สุ ด ข อ ง ผู้ เ ข้ า แ ข่ ง ขั น ร า ย อนื่ ไม่เกนิ รอ้ ยละเจ็ด ให้ตอ่ รองราคาผู้เสนอราคาพัสดุท่ไี ดร้ บั การจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรม ร า ย ที่ เ ส น อ ร า ค า ต่ า สุ ด ห า ก ต่ อ ร า ค า แ ล้ ว ร า ค า ท่ี ล ด ล ง สู ง ก ว่ า ร า ค า ต่ า สุ ด ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ย ล ะ ห้า หรืออัตราที่ กวพ. กาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 12(7) ใหซ้ ื้อหรอื จา้ งจากผเู้ สนอราคารายน้นั (9) การดาเนินการตาม (5) (6) (7) หรือ (8) ให้ถือตามท่ีปรากฏในบัญชีคู่มือผู้ซ้ือหรือ ใบแทรกคู่มอื ผซู้ อ้ื ที่กระทรวงอุตสาหกรรมจดั ทาขึ้นถึงเดอื นก่อนหน้าที่จะประกาศซ้อื หรือจา้ ง ถ้า มี ผู้ เ ส นอ ร า ค า พัส ดุ ท่ี อยู่ ร ะ ห ว่ า ง ขอ กา ร รั บ ร อง ร ะ บ บ คุ ณ ภ า พ ห รื อก า ร ขอ รั บ ใบอนุญาตแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน หรือการขอจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรม โดยแนบใบรับมาพร้อมกับใบเสนอราคา หากพัสดุนั้นได้รับการรับรองระบบคุณภาพ หรือใบอนุญา ต

แสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน หรือได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรมภายใน 10 วันทากา ร นับ จา กวันถัด จา กวันเ ส นอร า คา แต่ ทั้งนี้จ ะ ต้องก่อนการ พิจ าร ณ าตั ด สิ นร า คา ของ คณะกรรมการ ให้ถือเสมือนเป็นผู้เสนอราคาพัสดุที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ หรือได้รับใบอนุญาต แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน หรือได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรม แล้วแต่ กรณี (10) ในกรณีท่ีได้ดาเนินการตาม (2) (3) (5) (6) (7) หรือ (8) แล้วแต่ไม่สามารถซ้ือหรือ จ้างได้ ให้ดาเนนิ การซื้อหรือจ้างต่อไปได้ หรอื ไมร่ ับพิจารณารายนั้น แลว้ แตก่ รณี (11) การซื้อและการจ้างนอกจากท่ีกล่าวใน (2) (3) (5) (6) (7) หรือ (8) แต่ไม่รวมถึง การจ้างก่อสร้าง ให้กาหนดเงื่อนไขให้ผู้เสนอราคาระบุแหล่งกาเนิดหรือประเทศที่ผลิตด้วย ในกรณีที่ผู้ เสนอราคาผลิตภัณฑ์ที่มีแหล่งกาเนิดหรือผลิตในประเทศไทย หรือเป็นกิจกรรมของคนไทย เสนอราคาสูง กว่าพัสดุท่ีมิได้มีแหล่งกาเนิดหรือผลิตในประเทศไทยหรือมิได้เป็นกิจการของคนไทยไม่เกินร้อยละห้า ของผู้เสนอราคารายต่าสุดให้ต่อรองราคาของผู้เสนอราคาพัสดุท่ีมีแหล่งกาเนิดหรือผลิตในประเทศไทย หรื อ เ ป็ น กิ จ กา ร ข อ ง ค น ไ ทย ร า ย ที่ เ ส น อถู ก ต้ อ ง ต า ม เ ง่ื อ น ไ ข ท่ี ก าห น ด ซึ่ ง มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ท า ง ราชการ และเสนอราคาต่าสุด หากต่อรองราคาแล้ว ราคาที่ลดลงสูงกว่าราคาต่าสุดไม่เกินร้อยละสาม หรืออัตราท่ี กวพ. กาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมาตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 12(7) ให้ซื้อ หรอื จา้ งจากผ้เู สนอราคารายนน้ั (12) การเปรียบเทียบราคา ให้พิจารณาราคาที่อยู่ในฐานเดียวกัน โดยให้พิจารณา ราคารวมภาษี ราคาแยกภาษี หรือราคายกเว้นภาษีตามหลักเกณฑ์ ท่ีได้ประกาศให้ผู้เสนอราคาทราบ แลว้ แต่กรณี (13) ราคาที่ซ้ือหรือจ้าง ให้พิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดสาหรับวิธีซ้ือหรือ วิธีจ้าง แตล่ ะวธิ ี เว้นแต่จะเขา้ หลักเกณฑ์ตาม (6) (7) (8) หรอื (11) การซื้อหรือการจ้าง ท่ีดาเนินการด้วยเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือซึ่งไม่สามารถเจรจากับ แหล่งเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือเพื่อกาหนดเง่ือนไขตามวรรคหนึ่งได้ให้ส่วนราชการส่งเสริมพัสดุท่ีผลิตใน ประเทศไทย หรอื เป็นกิจการของคนไทย ให้มากที่สดุ เทา่ ทีจ่ ะทาได้ ในกรณีที่พัสดุใดผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศให้ กวพ. มีอานาจ ยกเว้นการส่งเสริมพสั ดุประเภท หรือชนดิ ดงั กลา่ วได้ตามความเหมาะสมและจาเป็น ผู้ได้รับใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกัน หรือผู้ผลิตจากโรงงานท่ีได้รับการรับรองระบบ คุณภาพตาม (5) (6) หรือ (7) แต่ละราย ถ้ามีลักษณะที่ เป็นการมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมตามนัยของบทนิยาม “ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ ร่วมกัน” ให้นบั ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตแสดงเครอื่ งหมายมาตรฐานหรือผู้ผลติ ดังกลา่ วเป็นหนึ่งรายเท่านั้น

แผนภาพ วงเงินการจัดซ้อื จัดจ้าง วิธตี กลงราคา ไมเ่ กิน 100,000 บาท วิธสี อบราคา เกิน 100,000 บาท แตไ่ ม่เกิน 2,000,000 บาท วธิ ปี ระกวดราคา เกนิ 2,000,000 บาท วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท มเี งอื่ นไขกาหนดเฉพาะ วธิ ีกรณพี ิเศษ ไม่จากัดวงเงนิ มเี งอ่ื นไขกาหนดเฉพาะ วิธี e - auction เกิน 200,000 บาท ยกเว้น งานจา้ งท่ปี รึกษา งานจา้ งออกแบบและคุมงาน และการซื้อการจา้ ง วิธีพเิ ศษ หรือการซ้อื การจ้างกรณพี เิ ศษ

บทท่ี 4 หลกั การจัดหาพัสดแุ ละขน้ั ตอนการจดั หา ส่วนราชการจะต้องดาเนินการจัดหาพัสดุให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารบริหารกิจการบ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ.2546 มาตรา 23 ดังนี้ มาตรา 23 กาหนดว่า “ในการจัดซ้ือจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดาเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม โดย พิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพวัตถุประสงค์ที่จะใช้ ราคา และประโยชน์ ระยะยาวของสว่ นราชการทจี่ ะไดร้ บั ประกอบกนั ใ น ก ร ณี ท่ี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ใ ช้ เ ป็ น เ ห ตุ ใ ห้ ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า เ ป็ น สาคัญ ให้สามารถกระทาไดโ้ ดยไมต่ ้องถอื ราคาต่าสุดในการเสนอซ้อื หรือจา้ งเสมอไป ให้ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดูแลระ เบียบเกี่ย วกับการพัสดุปรับปรุ งระเบียบ ที่เก่ียวข้อง เพื่อให้สว่ นราชการดาเนนิ การตามวรรคหนึ่งและวรรคสองไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ การจัดหาพัสดุ เพ่ือเกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน (Value for Money) ความโปร่งใส (Transparency) ความมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) และความรับผิดชอบต่อ ผล สา เร็ จของงา น (Accountability) ผู้ มีห น้า ที่รั บผิ ดชอบ ในแ ต่ล ะขั้นต อนของการ จัด ห า ต้องดาเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดนคานึงถึง คุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน เว้นแต่กรณีท่ีมีลักษณะเป็นการเฉพาะอัน เปน็ การยกเวน้ ทกี่ าหนดไว้ในระเบียบ การดาเนินการแต่ละขั้นตอน ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบต้องมีการบันทึกหลักฐานในการดาเนินการ พรอ้ มทง้ั ระบเุ หตผุ ลในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนท่สี าคญั ไว้เพื่อประกอบการพจิ ารณาด้วย นอ ก จ า ก นี้ ยั ง จ ะ ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ใน ก า ร จั ด หา พั ส ดุ แ ต่ ล ะ ค ร้ั ง ที่ ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร ต้ังแต่เริ่มต้นกระบวนการจนได้พัสดุนั้นมา เพื่อใช้ประโยชน์ในราชการ และรวมถึงการตรวจสอบ การ ตดิ ตามประเมินผล การดาเนินการจัดหาพัสดุเมื่อส่วนราชการได้รับทราบวงเงินท่ีจะต้องดาเนินการจัดหาพัสดุ ส่วนราชการจะต้องดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและข้ันตอนตามระเบียบท่ีกาหนด พร้อมท่ีจะทาสัญญาไดท้ นั ทเี มือ่ ไดร้ ับอนมุ ตั ิทางการเงิน การดาเนินการจัดหาพัสดุท่ีเป็นครุภัณฑ์ที่มีราคาเกิน 100,000 บาท และท่ีดิน สิ่งก่อสร้างที่มี ราคา 2,000,000 บาท ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เร่ือง การจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซ้ือจัด จ้าง พ.ศ.2546 กาหนดให้ต้องมีการจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ของ เดือนตุลาคมของทุกปี และส่งสาเนาให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภายในวันที่ 31 ตุลาคมของทุกปี และหากแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างได้มีการแก้ไช เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมหรือตัดทอนรายละเอียดใน

แผนปฏิบัติการจัดซ้ือจัดจ้าง ให้ส่งสาเนาให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ภายใน 15 วันนับแต่วันท่ี ได้รับอนุมัติให้แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพ่ิมเติมหรือตัดทอนรายละเอียด นอกจากนั้นส่วนราชการยังจะต้อง จัดให้มีการตรวจสอบติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง และให้รายงานสานักงาน การตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ภายใน 30 วันทาการสุดทา้ ยของไตรมาส การดาเนนิ การจัดหาพสั ดุมขี ้นั ตอนกระบวนการจดั หาพัสดุ ดงั นี้ 1. การเตรยี มการจัดหาพัสดุ 2. การขอรับความเห็นชอบในการจัดหาพสั ดุ 3. การใหค้ วามเหน็ ชอบในการจดั หาพสั ดุและแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ 4. การดาเนินการจัดหาพสั ดุ 5. การขออนุมัติการสงั่ ซื้อ สง่ั จ้าง 6. การอนุมตั สิ ัง่ ซอื้ สัง่ จา้ ง 7. การจัดทาสัญญา 8. การดาเนนิ การตามสญั ญา 9. การตรวจรับพัสดุ 10. การดาเนินการเบกิ จ่ายเงนิ 1. การเตรียมการจดั หาพสั ดุ การเตรียมการจัดหาพัสดุเป็นขั้นตอนแรกของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซึ่งมีขั้นตอน และวธิ กี ารดาเนินการ ดงั น้ี 1. ศึกษากฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คับเกยี่ วกับการเงิน 2. ตร วจ ส อบ ร า ย กา ร ร า ย จ่ า ย ต า ม ร า ย กา ร ท่ีมี กฎ ห ม า ย ร ะ เ บี ย บ ข้อบั งคั บ ม ติ คณ ะ รัฐม นตรี ห รื อกระ ทร วง กา รค ลั งอนุญ าต ให้ จ่า ย ไ ด้ ห รือเ ป็ นร า ย กา ร ท่ีไ ด้ รั บอนุญ าต จ า ก กระทรวงการคลังอนญุ าตให้จ่ายได้ และผู้มีอานาจไดอ้ นมุ ัติใหเ้ บิกจา่ ยในรายการนนั้ ๆ แล้ว ก ร ณี ท่ี จ ะ ต้ อ ง ก่ อ ห นี้ ผู ก พั น ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ข้ า ม ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ จ ะ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ จากคณะรัฐมนตรีเสียก่อนตามนัยมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และ ท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ 3. ป ร ะ ส า นงา นแ ล ะ ต ร วจ ส อบ วงเ งิ นงบ ป ร ะ ม า ณ ท่ีไ ด้ รั บ อนุมั ติ กา ร จั ด ส ร ร ต า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด ป ร ะ ก อ บ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ป ร ะ จ า ปี ห รื อ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ รายจา่ ยประจาปเี พม่ิ เตมิ

4. ตรวจสอบวงเงินเพื่อท่ีจะดาเนินการกาหนดวีธีการจัดหาพัสดุซ่ึงได้รวมภาษีไว้ ทุกประเภทแลว้ 5. ศกึ ษาราคากลาง ราคามาตรฐานของพสั ดุ (ถา้ ม)ี 6. ศกึ ษากฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั เกย่ี วกับการพัสดุ 7. การจัดหาพัสดุ แยกประเภทในการจดั หา ดงั น้ี (1) กา ร จั ด ห า พัส ดุ ให ม่ เ ป็ นก า ร จั ด ห า พัส ดุ ที่จ า เ ป็ นต้ อ งจั ด ห า ใ ห้ ส า ห รั บ หนว่ ยงานท่ีจัดต้งั ใหม่ หรือหน่วยงานทีย่ งั ไมเ่ คยไดร้ บั หรอื มีพัสดดุ งั กล่าวไว้ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน (2) การจัดหาพัสดุทดแทน เป็นการจั ดหาพัสดุเพ่ือการทดแทนพัสดุเดิม ท่ี ส้ินเปลืองหมดไป ชารดุ หรือเสอื่ มสภาพจากการใช้งานตามปกติ พสั ดุเดิมสญู หาย ถกู ทาลาย (3) การจัดหาพัสดุสารอง เป็นการจัดหาพัสดุเพ่ือสารองไว้เพื่อการทดแทน พัสดทุ ใ่ี ช้อยู่ปจั จุบันไมใ่ หข้ าดความตอ่ เน่อื งของการใช้งาน 8. ศึ กษา แ ล ะ ต ร วจ ส อบ ร า ย ชื่ อผู้ ทิ้งงา นจ า กบั ญ ชี ร า ย ชื่ อผู้ ทิ้งงา นท่ีไ ด้ มี กา ร แ จ้ ง เวยี นใหส้ ่วนราชการทราบ 9. ศกึ ษา ตรวจสอบ วางแผนการจัดหาและแผนปฏิบตั ิการจัดซอ้ื จดั จา้ ง 10. ดา เ นินกา ร จัด ห า พัส ดุ ให้ เป็ นไ ปต า ม แผ นการ จั ด ห า แ ผ นป ฏิ บั ติกา ร จัด ซื้ อจั ด จ้าง โดยให้มีผลผูกพันกับส่วนราชการเมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณจากสานักงบประมาณ เว้นแต่ การจดั ซอื้ จดั จ้างจากเงินทดรองราชการ 11. ส า ร วจ ค วา ม ต้ อ งกา ร ใ ช้ พัส ดุ ต ล อด จ นร า ย ล ะ เ อีย ด คุ ณ ลั กษ ณ ะ ข อง พัส ดุ ขอ ง หน่วยงานท่ีต้องการใช้พัสดุนั้นจากการจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ท่ีกาหนดตามแผนงาน งาน โครงการ ของหน่วยงานในช่วงระยะเวลาหนึ่งปีงบประมาณ คือต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคมของปีหน่ึงถึงวันท่ี 30 กนั ยายนปถี ัดไป 12. แ จ้ ง ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น ผู้ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ พั ส ดุ เ พ่ื อ ก า ห น ด ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง รู ป แ บ บ รายการ รายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุที่ต้องการจัดหา หรือ การจัดทาขอบเขตรายละเอียดการ ดาเนนิ การของโครงการตา่ งๆ (TOR) 13. เ ม่ื อ ไ ด้ รั บ แ จ้ ง จ า ก ห น่ ว ย ง า น ผู้ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ พั ส ดุ ด า เ นิ น ก า ร จั ด ท า เ อ ก ส า ร เกย่ี วกับรปู แบบรายการ รายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุที่ต้องการจัดหา หรือ การจัดทาขอบเขตการดาเนินงาน ของโครงการตา่ งๆ (TOR) หรือเอกสารอ่ืนๆ ทเ่ี กีย่ วกับการดาเนินงาน 14. จัดทาร่างคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการที่เก่ียวข้องกับการดาเนินการจัดหาพัสดุ ในแตล่ ะวิธี 15. จัดทารา่ งรายงานขอรับความเหน็ ชอบในการดาเนนิ การจดั หาพสั ดุ

2. การขอรบั ความเห็นชอบในการจดั หาพสั ดุ ก า ร ข อ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ ใ น ก า ร จั ด ห า พั ส ดุ เ ป็ น ข้ั น ต อ น ที่ ส อ ง ข อ ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ห า พสั ดุ ซงึ่ เป็นขน้ั ตอนก่อนการดาเนนิ การจัดซอื้ จัดจา้ ง มีขั้นตอนและวิธีการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. การจดั ทารายงานเพื่อขอความเหน็ ชอบ 1.1 กรณีจัดซื้อจัดจ้างโดยท่ัวไป ก่อนดาเนินการซื้อหรือจ้างทุกวิธี นอกจากการซ้ือท่ีดิน และหรือสิ่งก่อสร้าง เจ้าหน้าท่ีพัสดุจัดทารายงานเพื่อขอความเห็นชอบ เสนอรายงานต่อหัวหน้าส่วน ราชการ โดยผ่านหวั หน้าเจา้ หนา้ ที่พัสดุ ตามรายการ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) เหตุผลและความจาเปน็ ทซี่ อ้ื หรือจา้ ง - เหตุผล ให้ระบุสาเหตุที่จะจัดซื้อหรือจัดจ้าง เช่น พัสดุไม่มีใช้ หรือไม่พอใช้ หรือ ตอ้ งบารุงรักษา - ความจาเปน็ ให้ระบุถงึ ความจาเป็นทีจ่ ะจดั ซ้ือหรอื จดั จ้าง เช่น (1) เพือ่ ใหห้ น่วยงานมีพสั ดสุ าหรบั ไว้ใชใ้ นราชการ (2) เพ่ือการทดแทนพัสดุเดิมท่ีสิ้นเปลืองหมดไป ชารุด หรือเส่ือมสภาพจากการใช้งาน ตามปกติ พัสดุเดสิ ญู หาย ถกู ทาลาย (3) เพื่อสารองไว้เพื่อการทดแทนพัสดุที่ใช้อยู่ปัจจุบันไม่ให้ขาดความต่อเน่ือง จากการใช้งาน (2) รายละเอียดของพสั ดุที่จะซอื้ หรอื งานท่จี ะจ้าง (2.1) ก า ร จั ด ซ้ื อ ใ ห้ ร ะ บุ ร า ย ก า ร ห รื อ จ า น ว น วั ส ดุ ค รุ ภั ณ ฑ์ แ ล ะ คณุ ลกั ษณะของวัสดุ ครุภัณฑท์ ่ีต้องการจะซ้ือ (2.2) การจัดจ้าง ให้ระบรุ ายการและจานวนทตี่ ้องการจะจัดจ้าง หรือรายการที่ ตอ้ งการจา้ งเหมา เช่น ซอ่ มครุภัณฑท์ ่ตี อ้ งการจะซอื้ (3) ราคามาตรฐาน หรือราคากลางของทางราชการหรือราคาที่เคยซื้อ หรือจา้ งคร้ังหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปงี บประมาณ (3.1) การจัดซ้ือวัสดุ ให้ระบุ ราคากลางของทางราชการ หรือราคาท่ีเคย ซอื้ วสั ดคุ รงั้ หลังสุด ภายในระยะเวลา 2 ปี (3.2) การจัดซ้ือครุภัณฑ์ ให้ระบุ ราคามาตรฐานของทางราชการ หรือ ราคาท่ีเคยซ้ือครุภัณฑ์ครั้งหลงั สุด ภายในระยะเวลา 2 ปี (3.3) การจ้างก่อสร้างอาคาร ให้ระบุราคากลางท่ีคณะกรรมการราคา กลางได้คิดคานวณไว้

(4) วงเงิน ที่จ ะ ซ้ื อ หรื อ จ้ า งโดยให้ระ บุ วงเงิน ง บ ป ระ ม าณ วงเงิน ตา ม โครงการเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือท่ีจะซ้ือหรือจ้างในครั้งน้ันทั้งหมด ถ้าไม่มีวงเงินดังกล่าวให้ระบุ วงเงนิ ทปี่ ระมาณวา่ จะซ้อื หรอื จา้ งในคร้งั น้ัน (5) กาหนดเวลาท่ีตอ้ งการใช้พัสดุน้ัน หรือใหง้ านนั้นแลว้ เสรจ็ (5.1) การจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ ให้กาหนดวันส่งมอบวัสดุ ภายใน...วัน เช่น ภายใน 7 วนั ทาการนบั แตว่ นั ถัดจากวันลงนามในสญั ญา เปน็ ตน้ (5.2) การจัดจ้าง ให้กาหนดวันส่งมอบงาน ภายใน...วัน เช่น ภายใน 7 วันทาการนับแตว่ นั ถัดจากวนั ลงนามในสัญญา เป็นตน้ (6) วิธที ่จี ะซอื้ หรอื จา้ ง และเหตผุ ลท่ีต้องซือ้ หรอื จ้างโดยวิธนี ัน้ (6.1) วิธที จ่ี ะซอื้ หรือวธิ จี า้ ง ใหร้ ะบุวธิ ซี ื้อ หรอื วธิ ีจา้ งโดยพิจารณาจากวงเงิน (6.2) เหตุผลที่ต้องซ้ือหรือจ้าง ให้ระบุเหตุผลในการซื้อหรือการจ้างตามวงเงิน ในแตล่ ะวธิ ี เช่น - วธิ ีตกลงราคา เปน็ การซ้อื หรือจา้ งคร้งั หน่งึ ซึง่ มีราคาไมเ่ กนิ 100,000 บาท - วิธีสอบราคา เป็นการซื้อหรือจ้างคร้ังหนึ่งซ่ึงมีราคาเกิน 100,000 บาทแต่ไม่ เกิน 2,000,000 บาท - วิ ธี ป ร ะ ก ว ด ร า ค า เ ป็ น ก า ร ซ้ื อ ห รื อ จ้ า ง ค รั้ ง ห นึ่ ง ซึ่ ง มี ร า ค า เ กิ น 2,000,000 บาท - วิธีพิเศษ เป็นการซ้ือหรือจ้างครั้งหน่ึงซ่ึงมีราคาเกิน 100,000 บาท โดยมีความจาเป็นที่มีเงอ่ื นไขกาหนด - วิธีกรณีพิเศษ เป็นการซื้อหรือจ้างคร้ังหน่ึงซ่ึงไม่ได้กาหนดวงเงินใน การจัดซ้ือหรือจดั จ้าง แต่มีเงอ่ื นไขกาหนด - วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการซื้อหรือจ้างครั้งหน่ึงซึ่ง มีราคาเกิน 2,000,000 บาท (7) ข้อเสนออื่นๆ เช่น - การขออนมุ ัตแิ ตง่ ต้งั คณะกรรมการต่างๆ ที่จาเปน็ ในการซ้อื หรือจา้ ง - การออกประกาศสอบราคาหรอื ประกาศประกวดราคา 1.2 กรณีจัดซ้ือท่ีดินและหรือส่ิงก่อสร้าง ก่อนดาเนินการซ้ือที่ดินและหรือว่ิงก่อสร้าง ให้ เจ้าหน้าทีพ่ ัสดุทารายงานเสนอตอ่ หัวหนา้ สว่ นราชการตามรายการดังตอ่ ไปน้ี (1) เหตุผลและความจาเปน็ ท่ีตอ้ งซือ้

(2) รายละเอียดของที่ดิน และหรือส่ิงก่อสร้างที่ต้องการซื้อรวมท้ังเน้ือท่ีและ ทอ้ งทีท่ ่ีต้องการ (3) ราคาประเมินของทางราชการในทอ้ งที่นน้ั (4) ราคาซื้อขายของท่ีดิน และหรือส่ิงก่อสร้างใกล้เคียงบริเวณท่ีจะซื้อครั้ง หลังสุดประมาณ 3 ราย (5) วงเงินท่ีจะซ้ือ โดยให้ระบุวงเงินงบประมาณ วงเงินตามโครงการเงินกู้ หรือ เงินชว่ ยเหลอื ที่จะซ้อื ในครง้ั นนั้ ทง้ั หมด ถ้าไม่มวี งเงนิ ดังกล่าว ให้ระบวุ งเงินที่ประมาณว่าจะซื้อในครั้งนน้ั (6) วิธที ่ีจะซอื้ และเหตุผลท่ีตอ้ งซ้อื โดยวธิ นี นั้ (7) ขอ้ เสนออ่ืนๆ เช่น - การขออนุมัติแตง่ ตั้งคณะกรรมการต่างๆ ทจี่ าเป็นในการซ้ือ - การออกประกาศศสอบราคาหรอื ประกาศ ประกวดราคา การซ้ือท่ีดินและหรือส่ิงก่อสร้างให้ติดต่อกับเจ้าของโดยตรง เว้นแต่การซ้ือท่ีดินและหรือ สิ่งก่ อส ร้า งใน ต่า งป ระ เทศ ที่จ าเ ป็นต้ องติด ต่อ ผ่าน นา ยห น้ าห รือ ดา เนิ นกา รใ นท านอ งเ ดีย วกั นตา มก ฎห มา ย หรือประเพณนี ิยมของท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าทพี่ สั ดุเสนอรายงานต่อหวั หนา้ ส่วนราชการ โดยผา่ นหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุ 3. หัวหน้าเจา้ หน้าที่พัสดุพิจารณาเสนอความเห็น 3. การใหค้ วามเหน็ ชอบในการจดั หาพัสดแุ ละแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ การให้ความเห็นชอบในการจัดหาพัสดุเป็นข้ันตอนท่ีสามของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซ่ึงเปน็ หน้าที่ของหวั หน้าส่วนของราชการหรือผไู้ ดร้ ับมอบอานาจ มขี ้ันตอนและวิธกี ารดาเนนิ การ ดังนี้ 1. พจิ ารณารายงานทีห่ ัวหน้าเจา้ หนา้ ที่พัสดุนาเสนอ 2. หากไม่เห็นชอบตามรายงาน แจ้งหัวหน้ าเจ้าหน้าท่ีพัสดุให้ดาเนินการมาใหม่และ สง่ เรอ่ื งคืน 3. หากเหน็ ชอบตามรายงาน 3.1 ลงนามใหค้ วามเห็นชอบในการดาเนินงานตอ่ ไปได้ 3.2 ลงนามแตง่ ตั้งคณะกรรมการท่เี กย่ี วข้อง ร ะ เ บี ย บ ส า นัก น า ย กรั ฐม นต รี ว่ า ด้ ว ย ก า ร พัส ดุ พ . ศ . 25 35 แ ล ะ ที่ แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม กาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งคณะกรรมการ ในการดาเนินการซ้ือหรือจ้างแตะละครั้งพร้อมกับ กาหนดระยะเวลาสาหรบั การพิจารณาของคณะกรรมการด้วย โดยแยกเปน็ ดังน้ี

(1) คณะกรรมการเปดิ ซองสอบราคา (2) คณะกรรมการรับและเปดิ ซองประกวดราคา (3) คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (4) คณะกรรมการจดั ซื้อโดยวิธกี ารพิเศษ (5) คณะกรรมการจดั จา้ งโดยวิธีการพิเศษ (6) คณะกรรมการดาเนินการประมลู ด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ( e – auction ) (7) คณะกรรมการตรวจรับวสั ดุ (8) คณะกรรมการตรวจการจา้ ง การแตง่ ต้งั คณะกรรมการตา่ งๆ จาแนกตามวธิ ีการจดั ซอ้ื หรอื จัดจา้ ง ดังนี้ 1. วิธีตกลงราคา แต่งต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจการ จ้าง แล้วแต่กรณี แต่ถ้าการซ้ือหรือการจ้างคร้ังหนึ่งมีวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท จะแต่งต้ังผู้ตรวจรับ แทนก็ได้ 2. วิธีสอบราคา แต่งต้ังคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาและกรรมการตวรจรับพัสดุหรือ คณะกรรมการตรวจการจา้ ง แล้วแต่กรณี 3. วิธีประกวดราคาแต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคาและคณะกรรมการตรวจ รับพัสดหุ รือคณะกรรมการตรวจการจ้าง แล้วแตก่ รณี 4. วิธีพิเศษแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซ้ือโดยวิธีพิเศษหรือคณะกรรมการจัดจ้างโดย วิธีพิเศษและคณะกรรมการตรวจรับพสั ดหุ รอื คณะกรรมการตรวจการจา้ ง แลว้ แตก่ รณี 5. วิธีกรณีพิเศษ แต่งต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจการ จ้าง แลว้ แตก่ รณี 6. วิธี e – auction แต่งตั้งคณะกรรมการการดาเนินการโดยวิธีการประมูลด้วยระบบ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม กาหนดให้องค์คณะ ประกอบดว้ ย ประธาน 1 คน กรรมการ อย่างน้อย 2 คน โดยปกติต้องเป็นข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าข้ึนไป กรณจี าเปน็ จะแต่งต้ังบุคคลทีม่ ใิ ช่ขา้ ราชการร่วมเปน็ กรรมการร่วมด้วยก็ได้ เว้นแต่คณะกรรมการดาเนินการโดยวิธี ป ร ะ มู ล ด้ ว ย ร ะ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ อ ง ค์ ค ณ ะ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ป ร ะ ธ า น 1 ค น

ต้องเป็นข้าราชการระดับ 6 ข้ึนไป กรรมการอ่ืน อย่างน้อย 2 คน โดยปกติต้องเป็นข้าราชการระดับ 3 หรือ เทยี บเท่าขึ้นไป การซื้อหรือการจ้างในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท จะแต่งตั้งข้าราชการซ่ึงไม่จาเป็นต้อง เป็นข้าราชการระดับ 3 ขึ้นไป หรือลูกจ้างประจาเพียงคนเดียว แต่จะต้องมิใช่ผู้จัดซ้ือหรือจัดจ้าง ทา หนา้ ที่ตรวจรับพัสดุหรืองานจา้ งนน้ั ไดโ้ ดยไม่ต้องแต่งตง้ั คณะกรรมการ ข้อควรพิจารณา การแต่งต้ังเป็นอานาจของหัวหน้าส่วนราชการ และแต่งตั้งเป็น ครั้งๆ และไม่มรี ูปแบบ ขอ้ หา้ ม 1. หา้ มแต่งต้งั กรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา เปน็ กรรมการพิจารณา ผลการประกวดราคา 2. ห้ามแต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคา หรือกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา เป็น กรรมการตรวจรบั พัสดุ เจ้าหน้าท่ีพัสดุท่ีได้รับการแต่งต้ังให้เป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการเก่ียวกับการพัสดุ จึง ดาเนนิ การตามวธิ กี ารซอ้ื หรอื การจา้ งนั้นต่อไปได้ 4. การดาเนินการจัดหาพสั ดุ การดาเนินการจัดหาพัสดุ เป็นข้ันตอนท่ีส่ีของการดาเนิการจัดหาพัสดุ ซ่ึงมีข้ันตอนและ วธิ ีการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายลงนามในหนังสือถึงผู้ขายหรือรับจ้าง ( ถ้ามี ) แล้วแต่ กรณี 2. ผู้ขายหรอื ผรู้ ับจา้ ง เสนอราคาพร้อมทง้ั เอกสารที่เกยี่ วข้อง ( ถ้ามี ) 3. เจ้าหน้าพัสดุที่ได้รับมอบหมาย พิจารณาดาเนินงานตามหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายตาม ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ และทาการคัดเลือกผู้ท่ีมีคุณสมบัติถูกต้องตรงตามเงื่อนไข ประกาศของส่วน ราชการ ซ่ึงเสนอราคาที่เหมาะสมยอมรับได้ ให้จัดทารายงานเสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการโดย ผ่านหวั หน้าเจา้ หนา้ ท่ีพสั ดุ 5. การขออนมุ ตั ิการสง่ั ซ้อื ส่งั จา้ ง การขออนุมัตกิ ารสง่ั ซื้อสั่งจ้าง เปน็ ขนั้ ตอนที่ห้าของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซึ่งเปน็ ข้นั ตอนที่เจ้าหน้าท่ี พัสดุได้ดาเนินการตามกระบวนการจัดหาพัสดุตามวิธีการที่หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายอานาจให้ ความเห็บชอบเสร็จเรียบร้อยแลว้ มขี ัน้ ตอนและวิธกี ารดาเนินการดังน้ี

1. เจ้าหน้าที่พัสดุท่ีได้รับมอบหมายตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ จัดทารายการเสนอ ความเห็นต่อหวั หนา้ ส่วนราชการโดยผ่านหัวหน้าเจ้าหนา้ ท่ีพสั ดุ 2. หวั หนา้ เจ้าที่พัสดพุ จิ ารณาเสนอความเห็น 3. นารายงานผลการดาเนินการจัดหาพัสดเุ สนอต่อผู้ท่ีมีอานาจอนุมตั ิสง่ั ซือ้ ส่งั จา้ ง 6. การอนมุ ัตสิ ั่งซ้ือส่งั จ้าง การอนุมัติส่ังซื้อส่ังจ้าง เป็นนข้ันตอนที่หกของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซึ่งเป็นขั้นตอนท่ี เจ้ า ห น้ า ท่ีพัส ดุ ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ห าพัส ดุ ต า ม วิ ธี ก า ร ท่ีหั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ชก า ร ห รื อผู้ ที่ไ ด้ รั บ มอบอานาจให้ความเห็นชอบ และได้ผลการดาเนินการจัดหาพัสดุจนเป็นที่ยอมรับราคาท่ีเหมาะสม เสร็จเรียบร้อย แลว้ มขี ้ันตอนและวธิ กี ารดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. ผู้มีอานาจพิจารณารายงานผลการดาเนินการจัดหาพัสดุ ที่หัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุให้ ความเห็นตามกระบวนการจดั หา หากเหน็ ชอบตามรายงาน 1.1 วงเงินอยู่ในอานาจหัวหน้าส่วนราชการ เป็นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมายพิจารณาอนมุ ัติ 1.2 ห า ก ว ง เ งิ น เ กิ น อ า น า จ หั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ช ก า ร ใ ห้ น า เ ส น อ ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง เ พ่ื อ พิจารณาอนุมัติ 1.3 หากวงเงินเกนิ อานาจปลัดกระทรวง ให้นาเสนอรฐั มนตรเี พ่ือพิจารราอนุมตั ิ 2. เม่ือได้รับอนุมัติจากผู้มีอานาจให้ดาเนินการจัดซื้อหรือจัดจ้างได้แล้ว จึงดาเนินการ จดั ทาสัญญาต่อไป

อานาจการสง่ั ซือ้ สั่งจา้ ง การสัง่ ซ้อื หรอื ส่งั จ้างคร้งั หน่ึง เปน็ อานาจของผดู้ ารงตาแหนง่ และภายในวงเงนิ ดังต่อไปน้ี การดาเนินการโดยวธิ ี หวั หน้าส่วนราชการ ปลดั กระทรวง รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง ตกลงราคา / สอบราคา / ไมเ่ กนิ 50,000,000 บาท เกิน 50,000, 000 บาทแต่ เกิน 100,000,000 บาท ประกวดราคา ไมเ่ กนิ 100,000,000 บาท พิเศษ ไม่เกิน 25,000,000 บาท เกิน 25,000,000 บาทแต่ เกนิ 50,000,000 บาท ไมเ่ กนิ 50,000,000 บาท กรณีพเิ ศษ ไม่จากัดวงเงนิ เกิน 50,000,000 บาทแต่ เกิน 100,000,000 บาท E - auction ไม่เกิน 50,000,000 บาท ไม่เกนิ 100,000,000 บาท จา้ งออกแบบและควบคุมงาน ไมเ่ กิน 10,000,000 บาท เกิน 10,000,000 บาท 7. การทาสัญญา (หวั หน้าส่วนราชการ) การจัดทาสัญญา เป็นข้ันตอนท่ีเจ็ดของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซ่ึงเป็นตอนต่อจากการท่ีเจ้าหน้าท่ี พสั ดขุ องสว่ นราชการไดด้ าเนินการจัดทารายงานเพื่อเสนอขอจัดซื้อหรือจัดจ้างโดยผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุ โดย ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก หั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ช ก า ร แ ล ะ ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ข้ั น ต อ น ก า ร จั ด ห า พัสดุจนได้ผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเพ่ือให้ทาสัญญากับส่วนราชการแล้ว ซ่ึงมีขั้นตอน และวิธีการดาเนินการ ดงั น้ี 1. การตรวจสอบสญั ญา เม่ือส่วนราชการได้ดาเนินการจัดพัสดุตามข้ันตอนเรียบร้อย แล้ว ก่อนที่จะลงนามใน สัญญา เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบจะต้องตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ ท่ีใช้ประกอบกันสัญญา ตลอดจนรปู แบบของสัญญาใหถ้ กู ต้อง ดังน้ี 1. รปู แบบของสญั ญา ส่วนราชการต้องทาสญั ญา ดงั น้ี 1.1 ตามตวั อยา่ งท่ี กวพ. กาหนด หรือ 1.2 ตามทีไ่ ด้ผ่านการพิจารณาของสานักงานอัยการสูงสุด หรอื 1.3 ตามที่คณะรัฐมนตรกี าหนด

2. การทาข้อตกลง ในการจัดหาของส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการอาจใช้ ดลุ พินิจ ทาขอ้ ผูกพันกับผซู้ ้อื หรอื ผ้จู า้ ง โดยทาข้อตกลงเปน็ หนงั สอื ก็ได้ คอื 2.1 การซ้อื การจ้าง หรือการแลกเปลีย่ น โดยงิธกี ารตกลงราคา 2.2 การจัดหาที่คู่สัญญาสามารถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนภายใน 5 วันทาการ ของทางราชการ นับตั้งแตว่ ันถดั จากวันทาขอ้ ตกลงเป็นหนังสอื 2.3 การซ้อื หรอื การจา้ งโดยกรณพี เิ ศษและการจัดหาจากสว่ นราชการ 2.4 การซือ้ โดยวธิ พี เิ ศษ สาหรบั (1) ก า ร ซื้ อ พั ส ดุ ท่ี ข า ย ท อ ด ต ล า ด จ า ก ส่ ว น ร า ช ก า ร ห น่ ว ย ง า น ต า ม กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็น ราชการบริหารส่วนทอ้ งถนิ่ รัฐวิสาหกจิ องค์การระหวา่ งประเทศ หรอื หนว่ ยงานของต่างประเทศ (2) การซอ้ื พัสดุทต่ี ้องซือ้ เร่งดว่ น หากล่าช้าอาจจะเสียหายแกร่ าชการ (3) การซ้อื พัสดุเพ่อื ใชใ้ นราชการลบั (4) กา ร ซ้ื อพัส ดุ ที่มี ค วา ม ต้ องกา ร ใช้ เ พิ่ม ข้ึนในส ถา น กา ร ณ์ ท่ีจ า เ ป็ น หรอื เร่งด่วน หรอื เพื่อประโยชนข์ องสว่ นราชการ และจาเป็นตอ้ งซอื้ เพมิ่ (Repeat Order) 2.5 การจา้ งโดยวิธพี เิ ศษ สาหรบั (1) งานที่ตอ้ งจา้ งชา่ งผู้มฝี ีมอื โดยเฉพาะ หรือผู้มีความชานาญเปน็ พเิ ศษ (2) ง า น จ้ า ง ซ่ อ ม พั ส ดุ ที่ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ถ อ ด ต ร ว จ ใ ห้ ท ร า บ ค ว า ม ช า รุ ด เสียหายก่อนจึงจะประเมินค่าซ่อมได้ เช่น งานจ้างซ่อมเครื่องจักร เคร่ืองมือกล เครื่องยนต์ เครื่อง ไฟฟา้ หรือเครอื่ งอิเล็กทรอนิกส์ เปน็ ต้น (3) งานท่ตี ้องการทาโดยเร่งดว่ น หากลา่ ชา้ อาจจะเสยี หายแก่ราชการ (4) งานทีต่ อ้ งปกปดิ เป็นความลับของทางราชการ 2.6 การเชา่ ท่ีตอ้ งจา่ ยเฉพาะค่าเชา่ และผูเ้ ช่าไมต่ ้องเสียเงินอ่ืนใด นอกจากคา่ เชา่ 3. การจัดหาซึ่งมีราคาไม่เกิน 5,000 บาท หรือในกรณีการซ้ือหรือจ้างโดย วิธีตกลงราคา ในกรณีจาเป็นและเร่งด่วนท่ีเกิดข้ึนโดยมิได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดาเนินการ ตามปกติได้ทนั จะไม่ทาข้อตกลงเปน็ หนงั สอื กไ็ ด้ 2. การลงนามในสญั ญา เป็นอานาจของบคุ คล ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 หัวหน้าสว่ นราชการ 2.2 ผทู้ ี่ได้รบั มอบอานาจจากหัวหนา้ สว่ นราชการ

สั ญ ญ า ห รื อ ข้ อต ก ล ง เ มื่ อ ส่ วน ร า ช ก า ร ไ ด้ มี ก า ร ไ ด้ ล ง นา ม ใ น สั ญ ญ า แ ล้ ว จ ะ แ ก้ ไ ข เปล่ยี นแปลงรายการมไิ ด้ 8. การดาเนนิ การตามสัญญา การดาเนินการตามสัญญา เป็นขั้นตอนที่แปดของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซึ่งเป็นการ บริหารสัญญา และติดตามผลการดาเนินการให้เป็นไปตามสัญญาท่ีได้ลงนามไว้ มีขั้นตอนและวิธีการ ดาเนนิ การ ดงั นี้ 1. สั ญ ญ า ห รื อ ข้ อ ต ก ล ง เ มื่ อ ส่ ว น ร า ช ก า ร ไ ด้ มี ก า ร ไ ด้ ล ง น า ม ใ น สั ญ ญ า แ ล้ ว จ ะ แ ก้ ไ ข เปล่ียนแปลงรายการมไิ ด้ 2. การแกไ้ ขเปล่ียนแปลงสัญญาหรือขอ้ ตกลง การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงสญั ญาหรือขอ้ ตกลงทไ่ี ดม้ ีการลงนามแล้ว จะกระทาได้แตเ่ ฉพาะ กรณี ดังตอ่ ไปน้ี (1.) มคี วามจาเป็น โดยไมท่ าใหท้ างราชการเสยี ประโยชน์ (2.) เพ่ือประโยชนแ์ กท่ างราชการ (3.) หวั หนา้ สว่ นราชการ เป็นผู้พจิ ารณาอนุมตั ิ (4.) กรณีต้องเพ่ิงวงเงิน และทาให้วงเงินสูงเกินอานาจส่ังการของหัวหน้าส่วน ร า ช กา ร จ ะ ต้ อ งไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ จ า ก ป ลั ด ก ร ะ ท ร วง แ ล ะ ต้ อง ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย วิธี ก า ร งบปะมาณหรอื ขอทาความตกลงในสว่ นทีใ่ ช้เงินกู้ หรอื เงนิ ช่วยเหลือ แลว้ แตก่ รณี (5.) การแก้ไขเปล่ียนแปลงสัญญาหรือข้อตกลงท่ีต้องเพิ่มหรือลดวงเงิน หรือ เพมิ่ หรอื ลดระยะเวลาการส่งมอบของ หรอื ระยะเวลาในการทางาน ใหต้ กลงพร้อมกนั ไป (6.) กา รแ ก้ไขเ ปลี่ ย นแ ป ลงท่ีเ ก่ียวกับค วาม มั่ นค งแข็งแ ร ง ห รืองานเ ทค นิค เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง จ ะ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ ง จ า ก วิ ศ ว ก ร ส ถ า ป นิ ก แ ล ะ วิ ศ ว ก ร ผู้ ช า น า ญ ก า ร ห รื อ ผู้ทรงคุณวุฒิซุ่งรับผิดชอบหรือสามารถรับรองคุณลักษณะเฉพาะแบบ และรายการของงานก่อสร้าง หรืองานเทคนิคเฉพาะอยา่ ง 3. การงด หรือลดคา่ ปรบั หรอื ขยายเวลา สัญญาหรือข้อตกลงเม่ือส่วนราชการได้มีการได้ลงนามในสัญญาแล้ว จะงด หรือลดค่าปรับ หรือขยายเวลา ให้พจิ ารณาตามจานวนวนั ท่ีมีเหตุเกดิ ข้นึ จรงิ เฉพาะกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ (1.) เหตเุ กิดจากความผดิ หรือความบกพร่องของส่วนราชการ (2.) เหตุสดุ วสิ ัย (3.) เหตเุ กิดจากพฤตกิ ารณอ์ ันหนง่ึ อันใดทีค่ ูส่ ญั ญาไมต่ ้องรบั ผดิ ชอบตามกฎหมาย

(4.) อานาจการพิจารณา เป็นของหัวหน้าส่วนราชการ แต่ถ้าเกินวงเงินในการสั่งการต้อง เสนอปลัดกระทรวงพจิ ารณา (5.) ต้องระบเุ งอื่ นไข ใหค้ ูส่ ัญญาตอ้ งแจง้ เหตุตาม (1) (2) (3) ไว้ในสญั ญาด้วยว่าต้องแจ้ง ให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุน้ันสิ้นสุดลง หากมิได้แจ้งภายในกาหนดเวลา ดังกล่าวจะยกมากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ ในภายหลังมิได้ เว้นแต่เหตุเกิดจากความผิดหรือ ความบกพร่องของสว่ นราชการเอง 4. การบอกเลิกสญั ญา สัญญาหรือข้อตกลงเมื่อส่วนราชการได้มีการ ได้ลงนามในสัญญาแล้ว การบอกเลิกสัญญา หรือขอ้ ตกลงใดทส่ี ่วนราชการลงนามแล้ว จะบอกเลิกสัญญา หรอื ข้อตกลงน้นั ไมไ่ ด้ เวน้ แต่กรณดี งั นี้ (1) มเี หตอุ ันเชอ่ื ไดว้ า่ ผู้รบั จ้างไมส่ ามารถทางานได้แลว้ เสร็จ ภายในระยะเวลาที่กาหนด (2) เพ่ือแก้ไขข้อเสียเปรียบของทางราชการ ในการที่จะปฏิบัติตามสัญญาหรือ ขอ้ ตกลงนน้ั ตอ่ ไป (3) ท่เี ป็นประโยชนแ์ กท่ างราชการโดยตรง (4) คู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาหรือข้อตกลงได้และมีการปรับ หาก จานวนค่าปรับเกินร้อยละสิบของวงเงินค่าพัสดุ หรือค่าจ้าง เว้นแต่คู่สัญญายินยอมเสียค่าปรับให้แก่ทาง ราชการโดยไมม่ ีเงื่อนไข หัวหน้าสว่ นราชการพิจารณาผ่อนปรนไดเ้ ท่าท่ีจาเป็น (5) อานาจการพจิ ารณาเป็นของหัวหนา้ ส่วนราชการ 5. ตดิ ตามผลการดาเนินงานใหเ้ ป็นไปตามแผนการดาเนินงาน 6. ตดิ ตามผลการดาเนินงานให้ผขู้ ายหรือผูร้ บั จา้ งปฏบิ ตั ตื ามเงอื่ นไขขอ้ ตกลง 7. ติดตามการควบคมุ งานจา้ งให้เป็นไปตามระเบยี บของทางราชการ 8. กรณีท่ีผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ไม่สามารถส่งมอบ พัสดุได้ภายในกาหนดเวลาท่ีกาหนดไว้ใน สัญญาหรือข้อตกลง ให้แจ้งการเรียกค่าปรับ เมื่อผู้ขายหรือผู้ส่งมอบพุสดุ ให้มีการแจ้งสงวนสิทธิ การเรยี กคา่ ปรบั ด้วย (ข้อ 134) 9. การคิดคานวณค่าปรับให้ถือปฏิบัติตามท่ีกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง ท่ีกานดตาม ระเบียบว่าด้วยการพสั ดุ (ข้อ 134) 10. การพิจารณางดหรือลดค่าปรับ หรือขยายเวลาทาการตามสัญญาหรือข้อตกลง ให้ พิจารณา(ข้อ 139) 11. กรณีท่ีมีเหตุอันเช่ือได้ว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างไม่สามารถส่งมอบสิ่งของหรือ ทางานให้แล้ว เสร็จได้ภายในระยะเวลที่กาหนดได้ เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อบอก เลกิ สญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงได้ (ข้อ 137 และข้อ 138)

12. เมื่อผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งมอบพัสดุเรียบร้อยแล้ว ให้ติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญา หรือข้อตกลง เชน่ การประกนั ความชารุดข้อบกพรอ่ ง การบริการหลังการขาย เปน็ ต้น 13. ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบพัสดุหรืองานจ้างต่อเจ้าหน้าท่ีพัสดุและเจ้าหน้าที่พัสดุแจ้งให้ ผตู้ รวจรบั หรอื คณะกรรมการเพอื่ ดาเนินการต่อไป (ขอ้ 71 และข้อ 72) 9. การตรวจรบั พัสดุ การตรวจรับพัสดุ เป็นข้ันตอนที่เก้าของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซ่ึงเป็นข้ันตอนที่ต่อจากการ ดาเนินการตามสัญญาครบถูกต้องครบถ้วนตามแบบรูปรายการตามเงื่อนไขที่ส่วนราชการกาหนด มี ขั้นตอนและวิธีการ ดงั นี้ 1. เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการตรวจรับพัสดุตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ มี หนา้ ท่ตี รวจรบั พัสดุใหถ้ กู ต้องครบถ้วนตามหลกั ฐานที่ตกลงกนั ไวต้ ามสญั ญาหรือขอ้ ตกลง สาหรบั กรณีทีม่ ีการทดลอง หรือตรวจสอบในทางเทคนคิ หรอื ทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชานาญการ ห รื อ ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิเ กี่ ย ว กับ พั ส ดุ นั้น ม า ใ ห้ ค า ป รึ กษ า ห รื อ ส่ ง พั ส ดุ น้ั น ไ ป ท ด ล อ งห รื อ ต ร ว จ ส อ บ ณ สถานทขี่ องผ้ชู านาญการหรอื ผู้ทรงคณุ วุฒนิ น้ั ๆ กไ็ ด้ ในกรณีจาเป็นที่ไม่สามารถตรวจนับเป็นจานวนหน่วยท้ังหมดได้ ให้ตรวจรับตามหลัก วิชาการสถติ ิ 2. ตอ้ งตรวจรับในวันที่ผขู้ ายหรือผูร้ ับจา้ งนาพัสดมุ าสง่ และตรวจรับพัสดใุ หเ้ สรจ็ สิน้ โดยเรว็ 3. สถานทต่ี รวจรับคณะกรรมการจะตอ้ งตรวจรบั ณ สถานท่ี ดงั นี้ 3.1 ทท่ี าการของผใู้ ชพ้ ัสดุ 3.2 สถานทซี่ ่ึงกาหนดไว้ในสญั ญา 3.3 สถานทอ่ี ืน่ ท่ไี ดร้ ับอนุมตั ิจากหัวหน้าส่วนราชการ 4. ในกรณีทีผ่ ู้ขายหรอื ผ้รู ับจา้ งสง่ มอบพัสดุ เมือ่ ตรวจพสั ดแุ ลว้ ปรากฏว่า (1) ถูกต้องครบถ้วน ใหร้ บั พัสดไุ ว้ แล้วมอบพสั ดุทต่ี รวจรับใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ทพี่ สั ดุ (2) ถูกต้องแต่ไม่ครบจานวนหรือส่งมอบครบจานวน แต่ไม่ถูกต้องท้ังหมด ถ้า สัญญาหรือข้อตกลงมิได้กาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนให้ตรวจรับไว้เฉพาะจานวนท่ีถูกต้อง และให้รับพัสดุไว้ และถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งมอบพัสดุถูกต้องครบถ้วน ตั้งแต่วันท่ีผู้ขายหรือผู้รับจ้างนาพัสดุน้ันมา ส่ง แล้วสง่ มอบพสั ดุทต่ี รวจรบั ให้แก่เจา้ หนา้ ท่ีพัสดุ (3) พัสดุที่ประกอบกันเป็นชุดหรือเป็นหน่วย ถ้าปรากฏว่าผู้ขายส่งมอบสิ่งของ ไม่ครบ โดยขาดส่วนใดส่วนหน่ึงไป ทาให้ผู้ซื้อไม่สามารถใช้ส่ิงของนั้นได้โดยสมบูรณ์ ถือว่าผู้ขายยัง

ไม่ได้ส่งมอบส่ิงของ และกรรมการต้องรายงานความบกพร่องต่อผู้ซ้ือ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายทราบภายใน 3 วนั ทาการ นบั แต่วนั ตรวจพบ (4) พัสดุ ที่ส่ งม อบ ถูกต้ องไม่ คร บ จา นวนห รือหรือส่งมอบค รบจ านวนแต่ ไ ม่ ถูกต้องท้ังหมด หรือพัสดุที่ประกอบกันเป็นชุดหรือเป็นหน่วย ซ่ึงผู้ขายส่งมอบสิ่งของไม่ครบ โดยขาดส่วนใด ส่วนหนึ่งไป ทาให้ผู้ซ้ือไม่สามารถใช้สิ่งของนั้นได้โดยสมบูรณ์ โดยปกติให้รีบรายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อ แจ้งใหผ้ ขู้ ายหรอื ผูร้ บั จ้างทราบภายใน 3 วนั ทาการ นับแต่วันตรวจพบ แต่ทั้งนี้ไม่ตัดสิทธิ์ของส่วนราชการที่จะปรับ ผขู้ ายหรือผรู้ บั จ้างในจานวนท่ีส่งมอบไม่ครบถ้วนรอื ไม่ถูกต้องน้นั 5. ถ้ากรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับพัสดุ ให้ทาความเห็นแย้ง และให้รายงานให้ หัวหน้าส่วนราชการเพ่ือพิจารณาสั่งการ ถ้าหัวหน้าส่วนราชการส่ังการให้รับพัสดุน้ันไว้ จึงทาใบตรวจรับ และสง่ มอบพัสดใุ หเ้ จ้าหนา้ ท่ีพสั ดุ 6. จัดทาใบตรวจรับโดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อยสองฉบับ มอบแก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง 1 ฉบับ และเจ้าหนา้ ท่พี สั ดุ 1 ฉบบั เพือ่ ดาเนินการเบกิ จา่ ยเงนิ ตามระเบียบว่าด้วยการเบกิ จ่ายเงนิ จากคลัง 7. ส่งมอบพัสดุแกเ่ จ้าหน้าที่พัสดุ 8. รายงานใหห้ ัวหนา้ ส่วนราชการทราบ การตรวจการจา้ ง และควบคมุ การกอ่ สรา้ ง 1. เป็นหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจการจา้ ง (ข้อ 72) 2. ถ้ากรรมการบานไมย่ อมรับงาน ใหท้ าความเห็นแยง้ 3. ผู้ควบคมุ งานต้องทาบันทึกการปฏิบัติของผู้รับจ้างเพือ่ รายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง 4. การตรวจรับงานแต่ละงวด ตามนัยสัญญาเป็นเพียงเพื่อท่ีจะออกใบตรวจรับงานจ้าง ให้แก่ผู้รับจ้าง เพ่ือใช้เป็นหลักฐานในการนามาขอเบิกเงินจากทางราชการเท่านั้น มิใช่เป็นการตรวจรับ งานจ้างในงวดนั้นไว้ใช้ในราชการ (หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ท่ี สร.1001/ว 28 ลงวันท่ี 18 พฤศจกิ ายน 2525) 5. ตอ้ งรายงานให้หัวหน้าสว่ นราชการทราบ หรอื สง่ั การ ขอ้ สงั เกต 1. ในการรับมอบพัสดุหรืองานจ้างตามสัญญา ถ้าปรากฏว่าผู้รับจ้าง หรือผู้ขาย ผิดนัด และ จะต้องถูกปรับตามสัญญา ส่วนราชการคู่สัญญาจะต้องบอกสงวนสิทธิเรียกค่าปรับไว้เป็นลายลักษณ์ อกั ษร ในขณะรับมอบพสั ดุ

2. ในกรณีที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างผิดสัญญา และจะต้องถูกปรับ แต่ยังมีข้อโต้แย้ง หรือมีเหตุที่ จะขอต่ออายุสัญญา หรือขอลดเงินค่าปรับ และเร่ืองกาลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ ให้ส่วนราชการผู้ซ้ือหรือผู้ว่าจ้างดาเนินการขอเบิกจ่ายเงินในส่วนทีไม่ปัญหาให้แก่ผู้ขาย หรือผู้รับจ้าง ไปกอ่ นได้ เมอ่ื ได้วินิจฉัยชข้ี าดเกย่ี วกับการปรับหรืองดปรบั แลว้ กใ็ ห้เบิกจ่ายเงินเพิม่ เติมตอ่ ไป 10. การดาเนินการเบิกจา่ ยเงิน การดาเนินการเบิกจ่ายเงินเป็นข้ันตอนที่สิบของการดาเนินการจัดหาพัสดุ ซึ่งเป็นขั้นตอน สุดท้ายในการดาเนินการจัดหาพัสดุ ต่อจากการดาเนินการตรวจรับพัสดุตามสัญญาครบถูกต้อง ครบถว้ นตามรปู แบบรายการตามเงื่อนไขทีส่ ่วนราชการกาหนด มขี น้ั ตอนและวิธีการดาเนนิ การ ดังน้ี 1. เจ้าหน้าท่ีพัสดุต้องดาเนินการรวบรวมหลักฐานอันเป็นเอกสารแห่งหนี้ท่ีเกี่ยวกับการ ดาเนนิ การจัดหาพสั ดุ 2. ส่งให้แก่สานักอานวยการกลางเพื่อดาเนินการเบิกจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับ เงนิ ต่อไป

แผนภาพ ขน้ั ตอนกระบวนการจดั ซื้อจดั จ้าง รายงานขอความเหน็ ชอบ กอ่ นการดาเนนิ การขอ เจา้ หน้าที่พสั ดุ หัวหน้าส่วนราชการ การดาเนินการ ผู้อนุมตั ิ ใหค้ วามเหน็ ชอบและแต่งตั้งคณะกรรมการ การจดั ทาสัญญา - วิธตี กลงราคา - วิธพี ิเศษ - วธิ ีสอบราคา - วธิ ีกรณพี เิ ศษ - วิธปี ระกวดราคา - วธิ ปี ระมวล e-Auction - หัวหนา้ สว่ นราชการ ตามวงเงนิ - ปลดั กระทรวง - รฐั มนตรี - หัวหนา้ สว่ นราชการ - คณะกรรมกการตรวจรบั พสั ดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้างและผคู้ วบคุมงาน - บอกเลกิ การตรวจรบั พสั ดุ - งด ลดคา่ ปรบั มเี งอื่ นไข - ขยายเวลา - เปล่ยี นแปลงสญั ญา - ออกหลักฐานการตรวจรบั พัสดุ การดาเนนิ การเบิกจา่ ยเงิน

บทที่ 5 การซอ้ื การจ้างโดยวิธีตกลงราคา ความหมาย การซือ้ หรือการจ้างโดยวธิ ตี กลงราคาได้แก่ การซือ้ การจ้างครงั้ หน่งึ ซง่ึ มีราคาไมเ่ กนิ 100,000 บาท การซ้อื การจ้างโดยวิธีตกลงราคา แบ่งออกเป็น 2 กรณี 1. กรณปี กติ 2. กรณจี าเปน็ เร่งดว่ น ขน้ั ตอนกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จา้ งวิธีตกลงราคา กรณีปกติ กอ่ นการดาเนิน เจา้ หน้าท่ีพัสดุ รายงานขอความเหน็ ชอบ ให้ความ การดาเนนิ การ หัวหน้าสว่ นราชการ ผอู้ นมุ ัติ เหน็ ชอบ แตง่ ต้งั คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุหรือผู้ตรวจรบั พสั ดุ - เจา้ หนา้ ทพี่ สั ดตุ ิดต่อผ้ขู าย / ผู้รบั จา้ ง - ผูข้ าย / ผูร้ บั จา้ งเสนอราคา - เจา้ หน้าทพ่ี สั ดุพิจารณาคัดเลอื กและรายงานผลการพจิ ารณา - หวั หนา้ เจ้าหนา้ ทีพ่ ัสดุ ภายในวงเงนิ ที่ไดร้ บั ความเหน็ ชอบ การจดั ทาสัญญา - หวั หนา้ เจา้ หนา้ ทพ่ี สั ดุ การตรวจรบั พสั ดุ - คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ - ผูต้ รวจรบั พัสดุ วงเงนิ ไม่เกนิ 10,000 บาท - หลกั ฐานการตรวจรับ 2 ฉบับ การดาเนินการเบิกจ่าย

1. การซื้อการจา้ งโดยวิธีตกลงราคากรณีปกติ การจัดหาพัสดุ ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบในแต่ละข้ันตอนของการจัดหา จะต้องพิจารณาเพื่อความ คุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน (Value for Money) ความโปร่งใส (Transparency) ความมีประสิทธิภาพและ ประสิทธผล (Efficiency and Effectiveness) และความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จของงาน (Accountability) และต้องดาเนินงานโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็น ธรรม โดยคานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน เว้นแต่กรณีที่มีลักษณะ เปน็ การเฉพาะอนั เป็นการยกเวน้ ท่ีกาหนดไว้ในระเบียบ การดาเนินการแต่ละข้ันตอน ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบต้องมีการบันทึกหลักฐานในการดาเนินการ พรอ้ มทง้ั ระบุเหตผุ ลในการพจิ ารณาสง่ั การในขั้นตอนท่สี าคัญไวเ้ พ่ือประกอบการพจิ ารณาดว้ ย การดาเนินการจดั หาพัสดโุ ดยวิธตี กลงราคา มีขน้ั ตอนกระบวนการจดั หาพสั ดุ ดงั น้ี 1. ตรวจสอบแผนการจัดหาพัสดุ ประเภทพัสดุท่ีต้องการจัดหา รหัสรายการ รหัสหมวดหมู่ ของพัสดุ ให้เป็นไปตามเอกสารประกอบการจัดตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรืองบประมาณรายจ่ายประจาปี เพิม่ เตมิ และวงเงนิ ในการจดั หา 2. ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อกาหนดรายละเอียดและคุณลักษณะรูปแบบรายการ ใหส้ อดคล้องกับการใช้พัสดุทผี่ ลิตในประเทศและกิจการของคนไทย 3. จัดทารายการขอซื้อหรือหรือขอจ้างเสนอหัวหน้าส่วนราชการผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุ พร้อมเสนอขอแตง่ ต้งั คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจา้ ง ผูค้ วบคมุ งาน แลว้ แตก่ รณี 4. เมื่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้ความเห็นชอบในการดาเนินการจัดหาพัสดุ โดยวิธี ตกลงราคาแล้ว เจ้าหน้าท่ีพัสดุดาเนินการติดต่อกับผู้ที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง (ข้อ 39) หมายถึง การติดต่อกับผู้ที่มีอาชีพขายหรือรั บจ้างผ่านกระบวนการและเครื่องมือสื่อสารต่างๆ เช่น โทรศพั ท์ โทรสาร หรอื สอบถามราคาโดยตรงจากผูค้ า้ ต่างๆ เป็นตน้ 5. ผูท้ ี่มีอาชพี ขายหรอื รบั จ้างเสนอราคา 6. เจ้าหน้าท่ีพัสดุ พิจารณาในรายละเอียดของพัสดุท่ีจะซ้ือหรืองานที่จะจ้าง รวมทั้งราคา แล้ว หากพิจารณาเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็นราคาท่ีเหมาะสมและอยู่ภายในวงเงินที่ได้รับความเห็นชอบ ให้จัดทารายงานเห็นพร้อมด้วยเหตผุ ลนาเสนอตอ่ หัวหนา้ ส่วนราชการผา่ นหัวหน้าเจา้ หนา้ ทพี่ ัสดุ 7. หัวหน้าส่วนราชการ พิจารณารายงานผลการดาเนินการจัดหาพัสดุ ตามที่เจ้าหน้าที่ พัสดนุ าเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook