Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Published by TEERAPORN WAIKRUTTEE, 2022-03-06 08:23:41

Description: แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ศ23101 รายวิชา ศิลปะ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

นายธีระพร ไวยครุฑธี
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
โรงเรียนมัธยมวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์

Search

Read the Text Version

0

1

2

3

แผนการจัดการเรียนรู้ รหสั วิชา ศ23101 รายวิชา ศลิ ปะ 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดย นายธรี ะพร ไวยครุฑธี ครูผูช้ ว่ ย โรงเรยี นมธั ยมวดั ศรจี ันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานเุ คราะห์ โรงเรยี นมธั ยมวัดศรีจนั ทรป์ ระดิษฐ์ ในพระบรมราชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 1

2

3

4

แผนการจดั การเรยี นรู้ รหสั วชิ า ศ23101 รายวชิ า ศิลปะ 5 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 5

6

1 หน่วยการเรียนรู้ องค์ประกอบของ งานดนตรี

6

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 คาบท่ี 1 รหัสวิชา ศ23101 วชิ า ศิลปะ 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ปกี ารศกึ ษา 2564 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาทงั้ หมด 2 คาบ ใชเ้ วลา 1 คาบ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง องคป์ ระกอบของงานดนตรี เรอ่ื ง องค์ประกอบของงานดนตรี ชอ่ื - สกลุ (ผู้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้) นายธรี ะพร ไวยครุฑธี 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณค์ ุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรี อยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชมและประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ตวั ชี้วัด ศ 2.1 ม.3/1 เปรยี บเทยี บองค์ประกอบทใ่ี ช้ในงานดนตรแี ละงานศิลปะอ่ืน 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 ความรู้ 1) องคป์ ระกอบงานดนตรี 2) การเปรยี บเทียบองคป์ ระกอบในงานดนตรแี ละศิลปะ 2.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1) ทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2) ทักษะกระบวนการทำงาน 3) ทกั ษะการจดั การ 4) ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา 5) ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 3. สาระสำคัญ องค์ประกอบดนตรีมีความสำคัญต่อบทเพลง เพราะเป็นสิ่งท่ีทำให้บทเพลงมีความสมบูรณ์ ไพเราะ น่าฟงั อกี ทั้งเป็นสิง่ ท่ที ำให้ผู้ฟังเข้าใจบทเพลงมากข้นึ

4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K) - อธิบายองคป์ ระกอบของดนตรี 4.2 ทักษะที่สำคญั (P) - เขยี นรายงานเรอื่ ง องคป์ ระกอบของดนตรี 4.3 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) - มงุ่ มั่นในการทำงาน ตัวช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ที่การงาน 4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (C) - ความสามารถในการคดิ 5. จุดเน้นสู่การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 5.1 ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3Rs X 8Cs  Reading (อ่านออก)  (W) Riting (เขยี นได)้  (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ )  ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)  ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)  ทักษะด้านความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)  ทกั ษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)  ทกั ษะดา้ นการสือ่ สาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)  ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy)  ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)  ทกั ษะการเปลี่ยนแปลง (Change)

6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ ำถามท้าทาย ดงั นี้ - นกั เรียนคิดว่าดนตรจี ะเกดิ ความไพเราะได้นนั้ ต้องมีองคป์ ระกอบใดบ้าง 6.2 ให้ตัวแทนนักเรียน 1 คน ออกมาร้องเพลงที่ตนเองช่ืนชอบ 1 บทเพลง จากน้ันร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คำถาม ดงั นี้ - เพลงที่เพอ่ื นขับร้องมคี วามไพเราะหรอื ไม่ อยา่ งไร - ถ้าเพลงท่เี พื่อนร้องไพเราะ นักเรียนคิดว่า เพลงดงั กล่าว มีความไพเราะเพราะอะไร 6.3 ครูให้นักเรียนหลับตา แล้วเปิดดนตรีบรรเลงจากแถบบันทึกเสียงให้นักเรียนฟัง จากน้ันร่วมกัน แสดงความคิดเห็นว่า ดนตรีท่ีไดฟ้ ังมีความไพเราะมากน้อยเพียงใด ให้นักเรยี นแยกองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีทำให้ ดนตรีเกดิ ความไพเราะ 6.4 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ดนตรีจะไพเราะได้น้ันต้องมีจังหวะ (Rhythm) เสียง (Tone) ทำนอง (Melody) การประสานเสียง (Harmony) พ้ื นผิว (Texture) รูปแบบหรือสไตล์ (Form Style) เป็ น องค์ประกอบ 6.5 ให้นักเรียนศึกษาองค์ประกอบของดนตรี จากหนังสือเรียนหรือแหล่งการเรียนรู้อ่ืน นำความรู้ท่ี ได้มาจัดทำเป็นรูปเล่มรายงานสง่ ครูผสู้ อน 6.6 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น เพ่ือสรุปความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของ ดนตรี โดยครใู ชค้ ำถาม ดงั น้ี - องคป์ ระกอบของดนตรี มอี ะไรบา้ ง - จงั หวะ (Rhythm) คืออะไร และมคี วามสำคญั อยา่ งไร - เสียง (Tone) คืออะไร และมลี ักษณะอย่างไร - ทำนอง (Melody) คอื อะไร - การประสานเสียง (Harmony) มีความสำคัญอย่างไร - รูปแบบหรอื สไตล์ (Form Style) ของดนตรี เปน็ อย่างไร 6.7 นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ ความรู้ ดงั น้ี - องค์ประกอบดนตรีมีความสำคัญต่อบทเพลง เพราะเป็นสิ่งท่ีทำให้บทเพลงมีความสมบูรณ์ ไพเราะ นา่ ฟัง อีกท้งั เป็นส่ิงที่ทำใหผ้ ู้ฟังเข้าใจบทเพลงมากขึ้น 7. สอ่ื /นวัตกรรม/แหลง่ เรียนรู้ 7.1 หนงั สอื เรยี น ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ม.3 7.2 อินเทอร์เนต็ 7.3 Power Point

8. ช้ินงานหรือภาระงาน - 9. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 9.1 วิธีการวดั และประเมินผล - การทดสอบก่อนเรียน - สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรม - สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมน่ั ในการทำงาน 9.2 เคร่ืองมอื - แบบทดสอบก่อนเรยี น - แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการเข้ารว่ มกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 9.3 เกณฑ์การประเมนิ 9.3.1 การประเมินพฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผา่ น 1 รายการ ถือว่า ไมผ่ ่าน 9.3.2 การประเมินผลคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มงุ่ ม่ันในการทำงาน ตัวชีว้ ัดที่ 6.1 ตง้ั ใจและรับผิดชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าทกี่ ารงาน พฤติกรรมบง่ ชี้ ไมผ่ ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยยี่ ม (3) ตงั้ ใจและ ต้งั ใจและ ตัง้ ใจและ 1. เอาใจใสต่ ่อการ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ รับผิดชอบในการ รบั ผิดชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ ปฏิบตั ิหน้าท่ที ่ี ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ท่ี ปฏิบตั หิ น้าท่ีที่ ปฏบิ ัตหิ น้าทที่ ี่ไดร้ ับ หน้าท่กี ารงาน ไดร้ บั มอบหมาย ได้รบั มอบหมาย ไดร้ ับมอบหมาย ให้สำเรจ็ ให้สำเรจ็ มีการ ใหส้ ำเร็จ มกี าร มอบหมาย ปรับปรุงและ ปรบั ปรุงและ พฒั นาการทำงาน พัฒนาการทำงาน 2. ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ให้ดขี ึน้ ใหด้ ขี น้ึ ดว้ ยตนเอง ในการทำงานใหส้ ำเรจ็ 3. ปรบั ปรงุ และ พัฒนาการทำงาน ดว้ ยตนเอง

9.4 การประเมินสมรรถนะสำคัญ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์และทกั ษะศตวรรษท่ี 21 (การเรียนรู้ 3Rs x 8Cs) ประเด็นการประเมิน แหล่งเรียนรู้ วธิ ีวดั เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การให้ การสนทนา - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต คะแนน ทกั ษะด้านการคิดอย่าง ซักถาม การทำงาน พฤติกรรมการ มีวจิ ารณญาณและ แลกเปล่ียนเรียนรู้ รายบคุ คล ทำงานรายบุคคล - ระดบั คุณภาพ 2 ทกั ษะในการแก้ไข ผ่านเกณฑ์ ปัญหา (Critical การสร้างสรรค์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต Thinking and ช้ินงาน การทำงาน พฤติกรรมการ - ระดับคุณภาพ 2 Problem Solving) รายบคุ คล ทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ ทักษะด้านการ - การเขา้ รว่ ม สรา้ งสรรค์ และ กิจกรรม สงั เกตความมวี นิ ยั แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 นวัตกรรม (Creativity - การสนทนา ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มน่ั ใน คณุ ลกั ษณะอนั พึง ผา่ นเกณฑ์ and Innovation) ซักถาม การทำงาน และ ประสงค์ ทักษะด้านความเข้า แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ รักความเปน็ ไทย ระดับคุณภาพ 2 ใจความต่างวฒั นธรรม การใช้สารสนเทศ - แบบสงั เกต ผา่ นเกณฑ์ ตา่ งกระบวนทศั น์ และเทคโนโลยี - สังเกตพฤติกรรม พฤติกรรมการ (Cross-cultural การทำงาน ทำงานรายบคุ คล Understanding) รายบุคคล ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่า ทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)

10. แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 10.1 ผู้สอนนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ หลกั พอเพียง ความพอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี ประเด็น วิเคราะหห์ ลักสตู ร เนอ้ื หา เลอื กเรื่องท่สี อนให้ เพื่อให้การจดั กจิ กรรมการ ออกแบบ และจัดกจิ กรรม สอดคล้องกับท้องถิ่น เรียนรคู้ รอบคลุมตาม เนื้อหา ให้สอดคล้องกบั มาตรฐาน และผเู้ รยี น เพ่ือใหเ้ หน็ จดุ ประสงค์ ตวั ชวี้ ัด และบรบิ ทของ ความสำคญั ของการ ท้องถนิ่ อนุรกั ษภ์ มู ปิ ัญญา จดั การเรียนรู้เหมาะสม จัดการเรียนรู้ไดต้ าม เพื่อใหก้ ารจดั กิจกรรมการ เวลา เพียงพอกับเวลาท่ีกำหนดไว้ กระบวนการ ครบถว้ น เรยี นรู้ได้ครบตาม ตามท่ีวางแผนไว้ จุดประสงค์ท่ีกำหนดไว้ นกั เรียนปฏิบตั ติ าม เพ่ือใหน้ ักเรียนนำความรู้ 1. เพือ่ ให้นักเรยี นได้ กจิ กรรม และเกิดการ ทไี่ ด้ไปปฏบิ ัติ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และ เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง แสดงศกั ยภาพของตนเอง วิธกี ารจัดกจิ กรรม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จ 2. เพอื่ ตรวจสอบศักยภาพ ของนักเรยี นเป็นรายบคุ ล สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรง ตามความสามารถ กำหนดภาระงาน/ชน้ิ งาน เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี น เตรียมวธิ ีป้องกนั และ แหล่งเรยี นรู้ ในการทำผลิตภัณฑ์ ใฝ่เรยี นรู้ และสง่ เสรมิ การ แก้ปญั หาจากการปฏิบัติ ท้องถิน่ ไดเ้ หมาะสมกบั ใชเ้ ทคโนโลยี และภูมิ กจิ กรรม จดุ ประสงคแ์ ละวัยผเู้ รียน ปัญญาท้องถนิ่ 1. จัดเตรียมใบความรแู้ ละ 1. ออกแบบการเรียนรู้ เตรยี มแผนการจดั การ ใบงานที่เหมาะสมกบั เพื่อให้เห็นคุณคา่ ของ เรยี นรู้ หรือ สือ่ สำรอง เพ่ือ เน้ือหาที่สอน และความ ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ รองรับกรณีที่มีการ สื่อ/อปุ กรณ์ สนใจของผู้เรยี น 2. นกั เรียนได้รับประสบ เปลี่ยนแปลง 2. จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การณต์ รงในการเรียนรู้ เหมาะสมกบั วัยของผูเ้ รยี น และเกดิ ความภาคภูมใิ จ ในความสามารถของ

หลกั พอเพยี ง ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภมู ิคุ้มกนั ในตัวทีด่ ี ประเดน็ ตนเอง การประเมนิ ผล ประเมนิ ตามสภาพจริงของ เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนา เตรยี มวิธกี ารประเมนิ ให้ ผู้เรยี น ผู้เรยี นไดเ้ ต็มศักยภาพ เหมาะสมกับผู้เรยี น ความร้ทู ่ีครู - มคี วามรูใ้ นหลกั สูตร เน้ือหาสาระ ไดแ้ ก่ ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับดนตรี จำเปน็ ตอ้ งมี - หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - ใช้หลักความยุติธรรม มีความรบั ผิดชอบ มวี นิ ยั ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ - ปฏิบัตหิ นา้ ที่ด้วยความซือ่ สัตย์ ขยัน หม่นั เพยี ร อดทน มีจติ สาธารณะ และ คณุ ธรรมของครู ใชส้ ตปิ ัญญาในการจดั การเรยี นรู้ - จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีไ่ ม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่ืน ไม่ทำลายธรรมชาติ และ ส่ิงแวดลอ้ ม และไม่สร้างความแตกแยกในสังคม ชมุ ชน - มีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์เพื่อพฒั นาผูอ้ ่ืน และตนเองใหเ้ ป็นคนดีของสังคม 10.2 ผลท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ 1) ผ้เู รียนไดเ้ รยี นร้หู ลกั คิด และฝกึ ปฏบิ ตั ิ ตาม 3 ห่วง 2 เงื่อน ดังนี้ ความพอประมาณ มเี หตุผล มภี ูมิคุ้มกันในตัวท่ดี ี นกั เรียนมีพื้นฐานในการวดั และ นกั เรียนวเิ คราะห์ และตดั สนิ ใจ นกั เรยี นนำความรู้ท่ีไดจ้ ากการ ประเมินผล ในการร่วมกจิ กรรมระหวา่ งเรียน ปฐมนิเทศพน้ื ฐานเพื่อประกอบ การตัดสนิ ใจ การทำกจิ กรรม ความรู้ - นักเรียนทราบรายละเอยี ดในการวัดผล และประเมินผลรายวิชา ศิลปะ 5 (ศ23101) คณุ ธรรม - นกั เรยี นมีวนิ ัย ซอื่ สัตย์ สจุ รติ และตรงต่อเวลา 2) ผู้เรียนได้เรียนรู้การใช้ชวี ิตท่ีสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิตติ ามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั น้ี ดา้ น สมดลุ และพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลงในดา้ นต่าง ๆ องค์ประกอบ วตั ถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ ไดค้ วามรูเ้ กีย่ วกับ 1. มกี ารวางแผน มีความรอบรู้ใน 1. การเรียนรู้ แนวทางในการวัด ในการทำงานเป็น การวางแผนชวี ิต สอดคล้องกบั วิถี

ดา้ น สมดลุ และพร้อมรับการเปลย่ี นแปลงในดา้ นต่าง ๆ องคป์ ระกอบ วตั ถุ สงั คม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม และประเมนิ ผล กระบวนการแบบ ในอนาคต ชวี ิตของคนใน รายวชิ า ศิลปะ 5 กลุม่ ชุมชน (ศ23101) 2. นักเรียนมกี าร 2. เห็นคณุ คา่ ของ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ 3. นักเรียนได้ ชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกัน 1. มีทักษะในการใช้ 1. มที กั ษะในการ ใช้ประโยชน์จาก 1. ดำรงตนอยใู่ น วัสดุอปุ กรณ์อยา่ ง ทำงาน ส่งิ แวดลอ้ มอย่าง สังคมอย่างมี ทักษะ ประหยดั และคมุ้ ค่า 2. มีความสามารถใน ระมัดระวัง และ ความสขุ 2. การเลอื กใชว้ สั ดุ การนำความรู้ที่ได้รับ คุม้ ค่า 2. มที ักษะในการ อุปกรณไ์ ด้อยา่ ง ไปรว่ มกนั แก้ปัญหา คำนวณและนำไปใช้ เหมาะสม เพ่ือหาข้อสรปุ ได้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ตระหนกั ถึงผลท่ี 1. มคี วามรับผิด 1. มจี ิตสำนึกใน 1. สบื สานอนุรกั ษ์ เกิดจากการใช้วสั ดุ ชอบต่อการทำงาน การอนรุ ักษ์ภมู ิ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ อุปกรณ์ในการ ของกลมุ่ ปัญญาท้องถน่ิ 2. ใช้แหล่งเรียนรู้ ค่านิยม ปฏิบตั งิ าน 2. ยอมรับความ 2. ใชท้ รพั ยากร โดยใชภ้ มู ปิ ัญญา คิดเห็นซงึ่ กนั และ และส่ิงแวดล้อม ท้องถ่นิ กัน มีความเสีย อย่างประหยดั สละและอดทน ลงชอื่ ........................................................................ (นายธรี ะพร ไวยครุฑธี) .........../................./..............

แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง องค์ประกอบของงานดนตรี ชือ่ -นามสกุล....................................................................................................ชั้น ม.3/.............เลขท่.ี ............ คำชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. บทเพลงในข้อใดมรี ปู แบบเอกบท 2 เพลงตาอนิ กะตานา 1 เพลงสรรเสรญิ พระบารมี 4 เพลงพรปีใหม่ 3 เพลงสามคั คชี ุมนมุ 2. บทเพลงในข้อใดท่สี ื่ออารมณส์ ดชน่ื สบายใจ 2 เพลงสายฝน 1 เพลงเราสู้ 4 เพลงมาร์ชราชวลั ลภ 3 เพลงชะตาชวี ิต 3. พืน้ ผวิ มคี วามสำคญั ต่อบทเพลงอยา่ งไร 2 ทำให้บทเพลงมีความทนั สมยั 1 ทำให้บทเพลงมีความไพเราะ 4 ทำให้ผ้ฟู ังเข้าใจบทเพลงได้งา่ ยขน้ึ 3 ทำให้บทเพลงมีจังหวะสนุกสนาน 4. ขอ้ ใดกลา่ วถึงทำนองได้ถูกตอ้ งที่สดุ 1 ส่ิงท่ีทำใหผ้ ูฟ้ ังชื่นชอบการขับร้องของนักร้อง 2 สง่ิ ทก่ี ำหนดอัตราความเร็วของบทเพลง 3 ทำนองจะเคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ ตามจังหวะที่ดำเนนิ ไป 4 ทำนองเกดิ จากการบรรเลงเครอื่ งดนตรหี ลายชนิด 5. การบรรเลงดนตรใี นข้อใดทำให้เกิดเสยี งดงั 2 การสซี อด้วงอย่างช้า ๆ 1 การเป่าขลุ่ยในบทเพลงจังหวะเร็ว 4 การตกี ลองทดั รวั ๆ 3 การตรี ะนาดเอก 6. ขอ้ ใดคือสิง่ สำคัญของการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ 1 ผลงานตอ้ งใช้วสั ดุราคาสงู 2 ผลงานจะต้องมีความยิ่งใหญง่ ดงาม 3 ผลงานที่สร้างมชี ื่อเสยี ง 4 ไมเ่ ลียนแบบผลงานของศิลปนิ ทา่ นอื่น

7. การสรา้ งผลงานศลิ ปะที่โดดเดน่ ส่งผลอย่างไร 2 ผลงานมีราคาสงู 1 ผลงานนา่ สนใจ มีผูช้ ื่นชอบ 4 ผลงานไดร้ ับรางวลั มากมาย 3 ผลงานมผี ู้เลยี นแบบ 8. องคป์ ระกอบทางดนตรแี ละศิลปะมคี วามสำคญั อย่างไร 1 ทำให้ดนตรีและศลิ ปะมีความทันสมยั 2 ทำใหด้ นตรีและศิลปะมรี ูปแบบไม่ซ้ำกบั ผู้อ่ืน 3 ทำให้ดนตรีและศลิ ปะมีผู้สนใจเพิ่มมากข้ึน 4 ทำใหด้ นตรแี ละศิลปะมีความสมบูรณม์ ีเอกลกั ษณ์ 9. ข้อใดที่ถอื ว่าเปน็ พนื้ ฐานของศิลปะ 3 รปู ทรง 4 พน้ื ผวิ 1 จุด 2 เสน้ 10. งานศิลปะจะใช้ทักษะด้านใดมากทีส่ ดุ 2 ความคดิ สร้างสรรค์ 1 ความแข็งแรง 4 ความกลา้ แสดงออก 3 การเคลื่อนไหว เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. 1 2. 2 3. 1 4. 3 5. 4 6. 4 7. 1 8. 4 9. 2 10. 2

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้ารว่ มกจิ กรรมรายบคุ คล คำชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงใน ช่องท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ท่ี ชือ่ -สกลุ ความมี ความมี การรับฟัง การแสดง การตรงต่อ รวม ของผูร้ บั การประเมิน วินยั นำ้ ใจ ความ ความ เวลา 20 เอื้อเฟือ้ คิดเหน็ คดิ เหน็ คะแนน เสียสละ 43214321432143214321 ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมนิ .............../.................../................. เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกวา่ 10 ปรบั ปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คำชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงใน ชอ่ งที่ตรงกบั ระดับคะแนน การแก้ไข ที่ ชอ่ื -สกุล ความ การแสดง การรบั ฟัง ความตั้งใจ ปญั หา/ ของผู้รบั การประเมนิ รว่ มมือกัน ความ ความ ทำงาน หรอื รวม คิดเหน็ คิดเหน็ ปรับปรุง 20 ทำ ผลงาน คะแนน กิจกรรม กลุ่ม 4321 4321 432 14321 4321 ลงชอ่ื .......................................................ผ้ปู ระเมนิ .............../.................../................. เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกวา่ 10 ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชีแ้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในชอ่ ง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 4321 1. รักชาติ 1.1 ยนื ตรงเมอื่ ได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และอธิบายความหมาย ศาสน์ กษตั ริย์ ของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบตั ิตนและชกั ชวนผอู้ ่ืนปฏิบตั ิตามสิทธิและหนา้ ทข่ี องพลเมอื ง 1.3 ให้ความรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทำกิจกรรมกบั สมาชิกในโรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม 1.4 เปน็ ผู้นำหรอื เป็นแบบอยา่ งในการจดั กิจกรรมท่ีสร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชุมชน และสังคม ชื่นชม ปกป้องความเปน็ ชาตไิ ทย 1.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของ ศาสนา และเปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ีของศาสนกิ ชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามท่ีโรงเรียนและชุมชนจดั ขน้ึ ชนื่ ชมในพระ ราชกรณยี กิจ พระปรชี าสามารถของพระมหากษตั ริย์และพระราชวงศ์ 2. ซอ่ื สตั ย์ สุจริต 2.1 ใหข้ ้อมลู ทถ่ี กู ต้อง และเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ัติในสิ่งท่ีถกู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลวั ทจ่ี ะกระทำความผดิ ทำ ตามสญั ญาทต่ี นให้ไวก้ บั เพอื่ น พอ่ แม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู เป็น แบบอย่างท่ีดดี ้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบตั ิตนต่อผ้อู ่ืนดว้ ยความซอื่ ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง และเปน็ แบบอย่างที่ดีแก่เพอื่ นด้านความซ่ือสัตย์ 3. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว โรงเรียน และสงั คม ไม่ละเมิดสทิ ธขิ องผอู้ ืน่ ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั และรับผดิ ชอบในการทำงาน ปฏิบัตเิ ปน็ ปกติวสิ ยั และเปน็ แบบอย่างท่ีดี 4 ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรูไ้ ดอ้ ยา่ งมีเหตุผล

5. อยอู่ ยา่ ง 5.1 ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เชน่ สิง่ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั พอเพียง คุ้มค่า และเก็บรกั ษาดแู ลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม 6. มงุ่ มั่นในการ 5.2 ใชท้ รพั ยากรของส่วนรวมอย่างประหยดั ค้มุ คา่ และเก็บรักษาดูแล ทำงาน อยา่ งดี 7. รักความเปน็ 5.3 ปฏิบัตติ นและตัดสินใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตุผล ไทย 5.4 ไม่เอาเปรยี บผู้อื่น และไมท่ ำให้ผอู้ ืน่ เดือดร้อน พร้อมให้อภยั เม่ือผอู้ ่ืน 8. มจี ิตสาธารณะ กระทำผิดพลาด 5.5 วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวนั บนพ้ืนฐาน ของความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร 5.6 รเู้ ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และสภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตวั อยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 6.1 เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ตั ิหน้าทที่ ี่ได้รบั มอบหมาย 6.2 ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบในการทำงานใหส้ ำเร็จ 6.3 ปรบั ปรุงและพัฒนาการทำงานอย่างรอบคอบ 6.4 ทมุ่ เท ทำงาน อดทน ไม่ท้อต่อปญั หาและอุปสรรค 6.5 พยายามแกป้ ญั หาและอปุ สรรคในการทำงานให้สำเร็จ 6.6 ช่นื ชมผลงานความสำเรจ็ ด้วยความภาคภมู ิใจ 7.1 มจี ติ สำนกึ ในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย 8.1 รจู้ กั ช่วยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน 8.2 อาสาทำงาน ชว่ ยคิด ชว่ ยทำ แบ่งปนั สง่ิ ของ ทรัพยส์ นิ และอื่น ๆ พรอ้ มช่วยแกป้ ญั หา 8.3 ดูแล รกั ษาทรพั ย์สนิ ของหอ้ งเรียน โรงเรยี น ชุมชน 8.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ชมุ ชน เพ่ือแกป้ ญั หาหรือรว่ มสรา้ งสง่ิ ทดี่ งี ามตามสถานการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ลงช่อื .......................................................ผปู้ ระเมิน .............../.................../.................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน 104 - 124 ดมี าก 83 - 103 ดี 62- 82 พอใช้ ตำ่ กวา่ 62 ปรับปรงุ

บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ รหสั วิชา........................รายวชิ า.....................................................ชั้นมัธยมศกึ ษาปที .ี่ ..........เวลา............ช่ัวโมง เรื่องทีส่ อน............................................................................................................................................................ ช้ัน เตม็ ขาด ผลการจัดการเรยี นรู้ ปญั หา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข ม.3/1 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/2 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/3 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/4 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... .......................................

ชน้ั เต็ม ขาด ผลการจดั การเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/5 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/6 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/7 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... .......................................

ผลการประเมนิ /ผลการทดสอบ เตม็ มา ดมี าก ปานกลาง ปรับปรงุ สรุป จำนวน ร้อยละ ทักษะทีจ่ ำเป็นในการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 3Rs คือทักษะพ้นื ฐานท่ีจำเปน็ ตอ่ ผ้เู รยี นทกุ คน มดี ังน้ี 1. Reading คอื สามารถอา่ นออก 2. (W) Riteing คือ สามารถเขียนได้ 3. (A) Rithmatic คอื มีทักษะในการคำนวณ 3Rs คือ 8Cs ซึ่งเป็นทักษะต่าง ๆ ท่ีจำเป็นเช่นกัน ซ่ึงทุกทักษะสามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนรู้ ได้ ทกุ วชิ า มีดงั น้ี 1. Critical thinking and problem solving คือ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่ าง มวี ิจารณญาณและสามารถแก้ไขปัญหาได้ 2. Creativity and innovation คอื การคิดอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละคดิ เชิงนวตั กรรม 3. Cross-cultural understanding คือ ความเข้าใจในความแตกต่างของวัฒนธรรมและ กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม 4. Collaboration teamwork and leadership คือ ความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะ ความเป็นผู้นำ 5. Communication information and media literacy คือ มี ทั กษ ะใน การสื่อสารและ การรู้เท่าทันส่ือ 6. Computing and IT literacy คือ มีทักษะการใช้คอมพิวเตอรแ์ ละรูเ้ ท่าทันเทคโนโลยี 7. Career and learning skills คือ มีทกั ษะอาชีพและการเรยี นรู้ 8. Compassion คอื มคี วามเมตตากรณุ า มีคุณธรรม และมีระเบียบวินัย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จึงประกอบด้วยคณุ สมบัติ ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผอู้ นื่ เช่น การผลติ และการบริโภคที่อย่ใู นระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่าง มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทำน้ัน ๆ อย่างรอบคอบ

3. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคำนึ งถึงความเป็น ไป ได้ของสถานการณ์ ต่างๆ ที่ คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมเี งอ่ื นไข ของการตัดสินใจและดำเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยูใ่ นระดับพอเพยี ง 2 ประการ ดังนี้ 1) เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องรอบด้านความ รอบคอบท่ีจะนำความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังใน การปฏบิ ัติ 2) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ ซ่ือสัตย์สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำรินั้นแตกต่างจากเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของตะวันตก ซ่ึงให้ความสำคัญกับเร่ืองวัตถุที่เป็นรูปธรรม เช่น เงิน ทรัพย์สิน กำไร โดยไม่นำเรื่องของสภาพจิตใจหรือ เร่ืองนามธรรมมาเกี่ยวข้อง อีกท้ังเศรษฐกิจพอเพียงยังมีขอบเขตท่ีกว้างขวางกว่าเศรษฐกิจนายทุน หรือเศรษฐกิจธุรกิจ เพราะสามารถครอบคลุมได้ถึง 4 ด้าน คือ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านจิตใจ มิติด้านสังคม และมติ ดิ า้ นวัฒนธรรม ดังน้ี 1. มิติด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกิน ให้มีความขยันหม่ันเพียร ประกอบสัมมาอาชีพ เพือ่ ให้พึ่งตนเองได้ ให้พน้ จากความยากจน 2. มิติด้านจิตใจ เศรษฐกิจพอเพียงเน้นที่จิตใจที่รู้จักพอ คือ พอดี พอประมาณและพอใจในสิ่งท่ี มี ยินดใี นส่ิงท่ีไดไ้ ม่โลภ เศรษฐกิจพอเพียงจะตอ้ งเร่ิมทีต่ ัวเอง โดยสร้างรากฐานทางจติ ใจที่ม่ันคง โดยเริ่มจาก ใจทรี่ จู้ กั พอ เปน็ การปฏบิ ัตติ ามทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏปิ ทา 3. มิติด้านสังคม เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งให้เกิดสังคมท่ีมีความสุขสงบ ประชาชนมีความเมตตา เอื้ออาทรชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ไมใ่ ชต่ ่างคนต่างอยู่ มุ่งใหเ้ กิดความสามัคคีร่วมมือกัน เพ่ือให้ทุกคนอยู่ร่วมกัน ไดโ้ ดยปราศจากการเบียนเบียนกัน การเอารดั เอาเปรียบกนั การมุ่งรา้ ยทำลายกนั 4. มิติด้านวัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของประชาชน เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งให้เกิดวัฒนธรรมหรือ วิถีชีวิตท่ีประหยัด อดออม มีชีวิตที่เรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย ไม่ตกเป็นทาสของวัตถุนิยมและบริโภคนิยม ซึง่ ทำให้เกิดการเป็นหนเ้ี ป็นสิน เกดิ การทจุ รติ คอรัปชน่ั เป็นปัญหาสังคมท่ีร้ายแรงท่สี ุดปญั หาหนึ่งท่ีบอ่ นทำลาย ความม่นั คงของชาติ มิติทั้ง 4 ด้านของเศรษฐกิจพอเพียงได้สะท้อนให้เห็นว่า เศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้ส่งผลดีต่อแค่ด้าน เศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลดีต่อด้านต่างๆ ท่ีมีส่วนช่วยให้คนในประเทศอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ตามวิถชี ีวติ ทไ่ี มฟ่ งุ้ เฟ้อ และอยู่บนพ้ืนฐานของความพอดี

แบบประเมินทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ขอ้ เสนอแนะ ลงนาม 3Rs 8Cs 3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข 4 มติ ิ ������ R1 ������ C1 ������ C2 ������ หว่ ง1 ������ เงื่อนไข1 ������ มติ ิ1 ������ R2 ������ C3 ������ C4 ������ หว่ ง2 ������ เง่อื นไข2 ������ มิติ2 ������ R3 ������ C5 ������ C6 ������ ห่วง3 ������ มิติ3 (นายธรี ะพร ไวยครฑุ ธี) ครูผู้สอน ������ C7 ������ C8 ������ มติ ิ4 (นางสาวพมิ พ์พรรณ แกว้ โต) ������ R1 ������ C1 ������ C2 ������ หว่ ง1 ������ เงอ่ื นไข1 ������ มติ ิ1 หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ������ R2 ������ C3 ������ C4 ������ ห่วง2 ������ เงื่อนไข2 ������ มิติ2 (นางปานทอง แสงจนั ทร์งาม) หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ ������ R3 ������ C5 ������ C6 ������ หว่ ง3 ������ มิติ3 (นายพรอ้ มพันธุ์ ลายลักษณ์) ������ C7 ������ C8 ������ มติ ิ4 รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ������ R1 ������ C1 ������ C2 ������ หว่ ง1 ������ เงื่อนไข1 ������ มติ ิ1 (นางสาวชลารักษ์ สายอุทัศน์) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนฯ ������ R2 ������ C3 ������ C4 ������ ห่วง2 ������ เงอื่ นไข2 ������ มติ ิ2 ������ R3 ������ C5 ������ C6 ������ ห่วง3 ������ มติ ิ3 ������ C7 ������ C8 ������ มติ ิ4 ������ R1 ������ C1 ������ C2 ������ ห่วง1 ������ เงอ่ื นไข1 ������ มิติ1 ������ R2 ������ C3 ������ C4 ������ ห่วง2 ������ เงอ่ื นไข2 ������ มิติ2 ������ R3 ������ C5 ������ C6 ������ ห่วง3 ������ มิติ3 ������ C7 ������ C8 ������ มติ ิ4 ������ R1 ������ C1 ������ C2 ������ หว่ ง1 ������ เงื่อนไข1 ������ มิติ1 ������ R2 ������ C3 ������ C4 ������ หว่ ง2 ������ เงอ่ื นไข2 ������ มติ ิ2 ������ R3 ������ C5 ������ C6 ������ ห่วง3 ������ มติ ิ3 ������ C7 ������ C8 ������ มติ ิ4

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 คาบท่ี 2 รหัสวิชา ศ23101 วิชา ศิลปะ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ปีการศกึ ษา 2564 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาท้ังหมด 2 คาบ ใชเ้ วลา 1 คาบ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง องคป์ ระกอบของงานดนตรี เร่ือง การเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานดนตรีและศิลปะ ชื่อ - สกลุ (ผจู้ ดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้) นายธีระพร ไวยครฑุ ธี 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดต่อดนตรี อย่างอสิ ระ ชน่ื ชมและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน ตัวช้วี ดั ศ 2.1 ม.3/1 เปรียบเทียบองค์ประกอบทีใ่ ช้ในงานดนตรแี ละงานศิลปะอืน่ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 ความรู้ 1) องค์ประกอบงานดนตรี 2) การเปรยี บเทียบองคป์ ระกอบในงานดนตรแี ละศลิ ปะ 2.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1) ทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2) ทักษะกระบวนการทำงาน 3) ทกั ษะการจดั การ 4) ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา 5) ทักษะการทำงานร่วมกัน 3. สาระสำคัญ องค์ประกอบทางศิลปะเป็นส่ิงท่ีใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ เม่ือมีการนำดนตรีมาเก่ียวข้อง จะทำ ให้เกดิ การสร้างสรรค์ผลงานด้านศลิ ปะทีน่ า่ สนใจ

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K) - อธบิ ายองค์ประกอบของดนตรีและงานศลิ ปะอ่นื 4.2 ทักษะทีส่ ำคัญ (P) - เปรียบเทยี บองค์ประกอบท่ีใชใ้ นงานดนตรแี ละงานศิลปะอ่นื 4.3 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) - มุ่งมน่ั ในการทำงาน ตัวชีว้ ัดท่ี 6.1 ตัง้ ใจและรับผิดชอบในการปฏิบตั หิ นา้ ที่การงาน 4.4 สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น (C) - ความสามารถในการคดิ 5. จดุ เน้นสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน 5.1 ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3Rs X 8Cs  Reading (อา่ นออก)  (W) Riting (เขียนได้)  (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)  ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)  ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)  ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)  ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)  ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)  ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy)  ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)  ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change)

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.1 ให้นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คำถามทา้ ทาย ดงั น้ี - ถ้านักเรียนต้องการวาดภาพวิวทิวทัศน์ จะเลือกบทเพลงใดมาช่วยในการสร้างจินตนาการ ในการวาด 6.2 ให้นักเรียนชมการแสดงการเต้นรำ (Dance) ของนักร้องไทยหรือนักร้องชาวต่างชาติ จากนั้น ร่วมกันวิเคราะห์วา่ การเตน้ รำทีม่ ีความสนกุ สนานนนั้ มาจากองคป์ ระกอบใดบา้ ง 6.3 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ดนตรีเป็นศิลปะแขนงหน่ึงที่สร้างสรรค์ข้ึนมาเพื่อให้มนุษย์เกิดความ ผ่อนคลาย เป็นศิลปะที่ละเอียดอ่อนสามารถเข้าถงึ จิตใจมนุษย์ได้ ซ่ึงองค์ประกอบของดนตรแี ละองค์ประกอบ ของศลิ ปะมีความแตกต่างกัน 6.4 ให้นักเรียนเลือกภาพจิตรกรรม 1 ภาพ ที่ชื่นชอบ แล้ววิเคราะห์ว่าภาพน้ันใช้องค์ประกอบศิลปะ ใดบ้าง แลว้ ออกมานำเสนอทห่ี น้าชัน้ เรยี น 6.5 ให้นักเรียนเลือกฟังบทเพลงท่ีช่ืนชอบแล้ววาดภาพท่ีเกิดจากการจินตนาการในบทเพลงนั้น จากนน้ั ออกมานำเสนอทหี่ นา้ ชน้ั เรียน 6.6 ให้นักเรียนเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีและศิลปะว่ามีความเหมือนและความแตกต่างกัน อยา่ งไร ลงในช้ินงานท่ี 1 6.7 ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพ่ือสรุปความรู้เก่ียวกับการเปรียบเทียบ องคป์ ระกอบในงานดนตรีและศลิ ปะ โดยครูใชค้ ำถาม ดังน้ี - องคป์ ระกอบศิลปะมีความสำคญั อย่างไร - ดนตรีและศลิ ปะมีความเก่ียวขอ้ งกันอย่างไร - ดนตรีและศลิ ปะมีความสำคัญต่อคนในสงั คมอย่างไร - ถา้ ศลิ ปะมอี งคป์ ระกอบไม่สมบรู ณจ์ ะเป็นอยา่ งไร - องคป์ ระกอบศลิ ปะใดที่เป็นพนื้ ฐานของงานศิลปะ 6.8 นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี - องค์ประกอบทางศิลปะเป็นสิ่งที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ เมื่อมีการนำดนตรี มาเก่ียวขอ้ ง จะทำให้เกิดการสรา้ งสรรคผ์ ลงานด้านศิลปะที่น่าสนใจ 7. สอ่ื /นวตั กรรม/แหลง่ เรยี นรู้ 7.1 หนงั สอื เรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.3 7.2 อินเทอรเ์ นต็ 7.3 Power Point

8. ช้นิ งานหรือภาระงาน - ช้ินงานที่ 1 เร่ือง การเปรียบเทยี บองคป์ ระกอบในงานดนตรีและศิลปะ 9. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 9.1 วิธีการวัดและประเมินผล - การทดสอบหลังเรยี น - สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ รว่ มกิจกรรม - สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ ม่นั ในการทำงาน - ตรวจชน้ิ งานท่ี 1 9.2 เครอ่ื งมอื - แบบทดสอบหลังเรยี น - แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรม - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ชน้ิ งานที่ 1 9.3 เกณฑ์การประเมิน 9.3.1 การประเมินผลตัวช้ีวดั การประเมนิ ช้นิ งานนี้ ให้ผสู้ อนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เร่ือง เปรยี บเทยี บองคป์ ระกอบท่ีใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอืน่ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน เปรยี บเทยี บ 4321 องค์ประกอบที่ใช้ใน งานดนตรีและงาน บรรยาย บรรยาย บรรยาย บรรยาย ศลิ ปะ องค์ประกอบท่ีใชใ้ น องคป์ ระกอบท่ีใช้ องคป์ ระกอบท่ีใช้ องคป์ ระกอบท่ี งานดนตรแี ละงาน ในงานดนตรีและ ในงานดนตรีและ ใช้ในงานดนตรี ศลิ ปะอ่ืน ๆ ได้อยา่ ง งานศลิ ปะอ่ืน ๆ งานศลิ ปะอื่น ๆ และงานศลิ ปะอื่น ๆ ครบถว้ นถกู ต้อง นำ ไดอ้ ยา่ งครบถ้วน ได้อยา่ งครบถ้วน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ความรูเ้ รื่อง ถูกต้อง นำความรู้ ถูกต้อง นำความรู้ นำความรู้เร่ือง องค์ประกอบ เรอื่ งองค์ประกอบ เร่อื งองคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบที่ ทีใ่ ชใ้ นงานดนตรีและ ทีใ่ ชใ้ นงานดนตรี ทใ่ี ช้ในงานดนตรแี ละ ใชใ้ นงานดนตรี งานศิลปะอืน่ ๆ และงานศลิ ปะ งานศลิ ปะอ่นื ๆ มา และงานศลิ ปะ มาใช้ในการ อืน่ ๆ มาใช้ในการ ใช้ในการ อนื่ ๆ มาใช้ในการ

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 4321 เปรยี บเทยี บกนั ได้ เปรยี บเทยี บกันได้ เปรียบเทียบกนั ได้ เปรยี บเทียบกันได้ อย่างเปน็ เหตุเปน็ ผล อยา่ งเปน็ เหตุ อยา่ งเป็นเหตุเป็นผล นำความร้เู รอ่ื ง เป็นผล นำความรู้ องคป์ ระกอบที่ใช้ใน เร่อื งองค์ประกอบที่ งานดนตรแี ละงาน ใช้ในงานดนตรีและ ศลิ ปะอ่ืน ๆ ไปใช้ งานศิลปะอืน่ ๆ ประโยชน์อย่าง ไปใชป้ ระโยชน์ สร้างสรรค์ และเปน็ อย่างสร้างสรรค์ รูปธรรม 9.3.2 การประเมนิ พฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1 รายการ ถอื วา่ ไม่ผ่าน 9.3.3 การประเมนิ ผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ม่งุ มั่นในการทำงาน ตัวช้วี ดั ท่ี 6.1 ตัง้ ใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหนา้ ที่การงาน พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 1. เอาใจใสต่ อ่ การ ไม่ต้งั ใจปฏบิ ตั ิ ตง้ั ใจและ ตง้ั ใจและ ตั้งใจและ ปฏิบตั หิ น้าทที่ ไ่ี ดร้ ับ หนา้ ท่ีการงาน รับผดิ ชอบในการ รับผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ มอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ที่ ปฏบิ ัติหนา้ ทีท่ ี่ 2. ต้งั ใจและรับผดิ ชอบ ไดร้ บั มอบหมาย ไดร้ บั มอบหมาย ได้รับมอบหมาย ในการทำงานให้สำเร็จ ใหส้ ำเรจ็ ให้สำเร็จ มกี าร ให้สำเรจ็ มีการ 3. ปรับปรงุ และ ปรับปรุงและ ปรบั ปรุงและ พัฒนาการทำงาน พฒั นาการทำงาน พัฒนาการทำงาน ด้วยตนเอง ให้ดขี ึ้น ใหด้ ีขึ้นด้วยตนเอง

9.4 การประเมินสมรรถนะสำคัญ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์และทักษะศตวรรษที่ 21 (การเรียนรู้ 3Rs x 8Cs) ประเด็นการประเมนิ แหลง่ เรยี นรู้ วิธีวดั เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การให้ การสนทนา คะแนน ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ ง ซักถาม - ตรวจช้นิ งานท่ี 1 - ชิ้นงานท่ี 1 มวี ิจารณญาณและ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - รอ้ ยละ 60 ทักษะในการแก้ไข การทำงาน พฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์ ปญั หา (Critical การสรา้ งสรรค์ รายบุคคล ทำงานรายบคุ คล - ระดบั คณุ ภาพ 2 Thinking and ชน้ิ งาน ผา่ นเกณฑ์ Problem Solving) - ตรวจชิน้ งานท่ี 1 - ชน้ิ งานที่ 1 ทักษะดา้ นการ - การเขา้ รว่ ม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - รอ้ ยละ 60 สรา้ งสรรค์ และ กจิ กรรม การทำงาน พฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ นวตั กรรม (Creativity - การสนทนา รายบุคคล ทำงานรายบคุ คล - ระดับคณุ ภาพ 2 and Innovation) ซกั ถาม สังเกตความมีวินัย แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ ทกั ษะดา้ นความเข้า แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มนั่ ใน คณุ ลกั ษณะอันพึง ระดับคุณภาพ 2 ใจความต่างวฒั นธรรม การใชส้ ารสนเทศ การทำงาน และ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ตา่ งกระบวนทัศน์ และเทคโนโลยี รักความเปน็ ไทย (Cross-cultural - แบบสงั เกต ระดบั คุณภาพ 2 Understanding) - สังเกตพฤติกรรม พฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์ ทกั ษะด้านการสอ่ื สาร การทำงาน ทำงานรายบคุ คล สารสนเทศและรู้เทา่ รายบุคคล ทันสอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)

10. แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 10.1 ผู้สอนนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ หลกั พอเพยี ง ความพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กันในตัวทดี่ ี ประเดน็ วเิ คราะห์หลกั สูตร เนอ้ื หา เลอื กเรื่องทสี่ อนให้ เพอ่ื ให้การจัดกจิ กรรมการ ออกแบบ และจดั กิจกรรม สอดคล้องกบั ท้องถนิ่ เรยี นรู้ครอบคลุมตาม เนอ้ื หา ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน และผู้เรยี น เพื่อให้เหน็ จดุ ประสงค์ ตัวชว้ี ัด และบรบิ ทของ ความสำคญั ของการ ท้องถิน่ อนุรักษภ์ มู ิปัญญา จัดการเรียนรู้เหมาะสม จดั การเรยี นรไู้ ด้ตาม เพอื่ ใหก้ ารจัดกิจกรรมการ เวลา เพียงพอกับเวลาท่ีกำหนดไว้ กระบวนการ ครบถ้วน เรียนรู้ไดค้ รบตาม ตามที่วางแผนไว้ จดุ ประสงคท์ ี่กำหนดไว้ นกั เรียนปฏบิ ตั ิตาม เพอื่ ให้นกั เรียนนำความรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนได้ กจิ กรรม และเกิดการ ทไ่ี ด้ไปปฏบิ ตั ิ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และ เรยี นรู้ด้วยตนเอง แสดงศกั ยภาพของตนเอง วิธกี ารจัดกจิ กรรม เพื่อให้เกิดความภาคภูมใิ จ 2. เพื่อตรวจสอบศกั ยภาพ ของนักเรียนเป็นรายบคุ ล สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรง ตามความสามารถ กำหนดภาระงาน/ช้นิ งาน เพอื่ ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี น เตรยี มวธิ ีปอ้ งกัน และ แหลง่ เรยี นรู้ ในการทำผลติ ภณั ฑ์ ใฝเ่ รยี นรู้ และสง่ เสริมการ แกป้ ญั หาจากการปฏิบัติ ทอ้ งถิ่นไดเ้ หมาะสมกับ ใชเ้ ทคโนโลยี และภมู ิ กิจกรรม จดุ ประสงค์และวยั ผู้เรยี น ปัญญาท้องถ่นิ 1. จดั เตรยี มใบความรู้และ 1. ออกแบบการเรยี นรู้ เตรียมแผนการจดั การ ใบงานท่ีเหมาะสมกบั เพอ่ื ให้เหน็ คุณคา่ ของ เรยี นรู้ หรอื สอื่ สำรอง เนอื้ หาที่สอน และความ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน เพอื่ รองรับกรณีที่มีการ สอ่ื /อปุ กรณ์ สนใจของผู้เรียน 2. นักเรยี นได้รับประสบ เปล่ยี นแปลง 2. จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การณต์ รงในการเรยี นรู้ เหมาะสมกบั วยั ของผ้เู รยี น และเกดิ ความภาคภูมิใจ ในความสามารถของ

การประเมินผล ตนเอง ความรู้ท่คี รู ประเมินตามสภาพจรงิ ของ เพ่ือส่งเสรมิ และพัฒนา เตรียมวิธกี ารประเมนิ ให้ จำเปน็ ต้องมี ผเู้ รยี น ผู้เรียนได้เตม็ ศักยภาพ เหมาะสมกับผู้เรยี น - มีความรใู้ นหลักสตู ร เน้อื หาสาระ ไดแ้ ก่ ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับดนตรี คุณธรรมของครู - หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ใช้หลกั ความยุตธิ รรม มีความรบั ผิดชอบ มีวินยั ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - ปฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ้วยความซือ่ สัตย์ ขยัน หมนั่ เพียร อดทน มีจิตสาธารณะ และ ใชส้ ตปิ ัญญาในการจัดการเรียนรู้ - จดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่เบียดเบยี นตนเองและผอู้ ื่น ไม่ทำลายธรรมชาติ และ ส่ิงแวดล้อม และไม่สร้างความแตกแยกในสงั คม ชมุ ชน - มคี วามคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์เพอื่ พัฒนาผู้อน่ื และตนเองให้เปน็ คนดีของสังคม 10.2 ผลทเ่ี กดิ ขึ้นกับผเู้ รียนสอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จากการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 1) ผู้เรยี นได้เรยี นรู้หลักคิด และฝกึ ปฏิบัติ ตาม 3 หว่ ง 2 เง่ือน ดงั นี้ ความพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กนั ในตัวทดี่ ี นกั เรยี นมีพื้นฐานในการวัด และ นกั เรยี นวเิ คราะห์ และตัดสินใจ นักเรียนนำความรู้ท่ีไดจ้ ากการ ประเมินผล ในการร่วมกจิ กรรมระหวา่ งเรียน ปฐมนเิ ทศพน้ื ฐานเพ่ือประกอบ การตัดสนิ ใจ การทำกจิ กรรม ความรู้ - นกั เรยี นทราบรายละเอยี ดในการวดั ผล และประเมนิ ผลรายวชิ า ศลิ ปะ 5 (ศ23101) คุณธรรม - นกั เรียนมีวินัย ซื่อสตั ย์ สุจริต และตรงต่อเวลา 2) ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรกู้ ารใช้ชวี ติ ที่สมดุลและพร้อมรบั การเปล่ียนแปลงใน 4 มติ ติ ามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดงั น้ี ดา้ น สมดลุ และพร้อมรบั การเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ องคป์ ระกอบ วัตถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม ได้ความรูเ้ ก่ยี วกบั 1. มีการวางแผนใน มคี วามรอบรู้ใน 1. การเรยี นรู้ แนวทางในการวัด การทำงานเป็น การวางแผนชวี ติ ใน สอดคล้องกับวิถี ความรู้ และประเมินผล กระบวนการแบบ อนาคต ชวี ติ ของคนใน รายวชิ า ศิลปะ 5 กลุ่ม ชุมชน (ศ23101) 2. นักเรียนมีการ 2. เหน็ คณุ ค่าของ

ดา้ น สมดลุ และพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงในดา้ นตา่ ง ๆ องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น 3. นักเรียนได้ ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั 1. มที ักษะในการใช้ 1. มีทักษะในการ ใช้ประโยชน์จาก 1. ดำรงตนอยู่ใน วสั ดุอุปกรณ์อย่าง ทำงาน ส่งิ แวดล้อมอย่าง สังคมอย่างมี ทักษะ ประหยัด และคุ้มค่า 2. มคี วามสามารถใน ระมัดระวัง และ ความสุข 2. การเลือกใชว้ สั ดุ การนำความรทู้ ี่ไดร้ ับ คุ้มค่า 2. มที ักษะในการ อปุ กรณ์ได้อย่าง ไปร่วมกันแกป้ ัญหา คำนวณและนำไปใช้ เหมาะสม เพื่อหาข้อสรุปได้ ได้อย่างเหมาะสม ตระหนักถึงผลที่ 1. มคี วามรับผดิ 1. มจี ิตสำนึกใน 1. สืบสานอนรุ ักษ์ เกิดจากการใช้วสั ดุ ชอบต่อการทำงาน การอนรุ ักษภ์ ูมิ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ อปุ กรณ์ในการ ของกลุม่ ปัญญาท้องถน่ิ 2. ใช้แหล่งเรยี นรู้ ค่านิยม ปฏบิ ตั ิงาน 2. ยอมรับความ 2. ใช้ทรัพยากร โดยใชภ้ มู ปิ ญั ญา คิดเหน็ ซ่ึงกันและ และส่ิงแวดล้อม ท้องถิน่ กนั มีความเสีย อย่างประหยัด สละและอดทน ลงชื่อ........................................................................ (นายธีระพร ไวยครุฑธี) .........../................./..............

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เร่อื ง องคป์ ระกอบของงานดนตรี ชื่อ-นามสกลุ ....................................................................................................ช้นั ม.3/.............เลขท.่ี ............ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องท่ีสุดเพยี งข้อเดียว 1. บทเพลงในข้อใดมรี ปู แบบเอกบท 2 เพลงตาอนิ กะตานา 1 เพลงสรรเสริญพระบารมี 4 เพลงพรปใี หม่ 3 เพลงสามคั คีชุมนมุ 2. บทเพลงในข้อใดทสี่ ่อื อารมณ์สดช่นื สบายใจ 2 เพลงสายฝน 1 เพลงเราสู้ 4 เพลงมาร์ชราชวัลลภ 3 เพลงชะตาชวี ติ 3. พ้นื ผวิ มีความสำคัญต่อบทเพลงอย่างไร 1 ทำใหบ้ ทเพลงมคี วามไพเราะ 2 ทำให้บทเพลงมคี วามทนั สมยั 3 ทำให้บทเพลงมจี งั หวะสนกุ สนาน 4 ทำใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจบทเพลงได้ง่ายข้นึ 4. ข้อใดกล่าวถงึ ทำนองไดถ้ ูกตอ้ งทส่ี ุด 1 สง่ิ ท่ที ำให้ผู้ฟงั ชื่นชอบการขบั ร้องของนักร้อง 2 สิง่ ทีก่ ำหนดอัตราความเร็วของบทเพลง 3 ทำนองจะเคล่ือนที่ไปขา้ งหน้าตามจังหวะที่ดำเนนิ ไป 4 ทำนองเกดิ จากการบรรเลงเคร่ืองดนตรีหลายชนิด 5. การบรรเลงดนตรีในข้อใดทำให้เกดิ เสยี งดงั 2 การสซี อด้วงอย่างช้า ๆ 1 การเป่าขล่ยุ ในบทเพลงจังหวะเร็ว 4 การตีกลองทดั รวั ๆ 3 การตีระนาดเอก 6. ขอ้ ใดคือสิง่ สำคัญของการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ 2 ผลงานจะต้องมีความย่งิ ใหญง่ ดงาม 1 ผลงานตอ้ งใชว้ ัสดุราคาสงู 4 ไมเ่ ลียนแบบผลงานของศิลปินท่านอ่ืน 3 ผลงานท่สี ร้างมีชื่อเสยี ง

7. การสรา้ งผลงานศลิ ปะที่โดดเด่นส่งผลอยา่ งไร 2 ผลงานมีราคาสูง 1 ผลงานนา่ สนใจ มผี ู้ชืน่ ชอบ 4 ผลงานไดร้ ับรางวลั มากมาย 3 ผลงานมผี ู้เลียนแบบ 8. องค์ประกอบทางดนตรีและศลิ ปะมคี วามสำคญั อย่างไร 1 ทำให้ดนตรีและศลิ ปะมีความทนั สมยั 2 ทำให้ดนตรแี ละศิลปะมรี ูปแบบไม่ซ้ำกบั ผู้อ่ืน 3 ทำใหด้ นตรีและศิลปะมีผู้สนใจเพิ่มมากข้ึน 4 ทำให้ดนตรีและศลิ ปะมีความสมบูรณม์ ีเอกลกั ษณ์ 9. ขอ้ ใดที่ถอื วา่ เปน็ พนื้ ฐานของศลิ ปะ 3 รปู ทรง 4 พน้ื ผวิ 1 จดุ 2 เสน้ 10. งานศิลปะจะใชท้ ักษะด้านใดมากทีส่ ุด 2 ความคดิ สร้างสรรค์ 1 ความแขง็ แรง 4 ความกลา้ แสดงออก 3 การเคล่อื นไหว เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 1. 1 2. 2 3. 1 4. 3 5. 4 6. 4 7. 1 8. 4 9. 2 10. 2

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้ารว่ มกจิ กรรมรายบคุ คล คำชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงใน ช่องท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ท่ี ชือ่ -สกลุ ความมี ความมี การรับฟัง การแสดง การตรงต่อ รวม ของผูร้ บั การประเมิน วินยั นำ้ ใจ ความ ความ เวลา 20 เอื้อเฟือ้ คิดเหน็ คดิ เหน็ คะแนน เสียสละ 43214321432143214321 ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมนิ .............../.................../................. เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกวา่ 10 ปรบั ปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คำชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงใน ชอ่ งที่ตรงกบั ระดับคะแนน การแก้ไข ที่ ชอ่ื -สกุล ความ การแสดง การรบั ฟัง ความตั้งใจ ปญั หา/ ของผู้รบั การประเมนิ รว่ มมือกัน ความ ความ ทำงาน หรอื รวม คิดเหน็ คิดเหน็ ปรับปรุง 20 ทำ ผลงาน คะแนน กิจกรรม กลุ่ม 4321 4321 432 14321 4321 ลงชอ่ื .......................................................ผ้ปู ระเมนิ .............../.................../................. เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกวา่ 10 ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชีแ้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในชอ่ ง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 4321 1. รักชาติ 1.1 ยนื ตรงเมอื่ ได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และอธิบายความหมาย ศาสน์ กษตั ริย์ ของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบตั ิตนและชกั ชวนผอู้ ่ืนปฏิบตั ิตามสิทธิและหนา้ ทข่ี องพลเมอื ง 1.3 ให้ความรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทำกิจกรรมกบั สมาชิกในโรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม 1.4 เปน็ ผู้นำหรอื เป็นแบบอยา่ งในการจดั กิจกรรมท่ีสร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชุมชน และสังคม ชื่นชม ปกป้องความเปน็ ชาตไิ ทย 1.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของ ศาสนา และเปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ีของศาสนกิ ชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามท่ีโรงเรียนและชุมชนจดั ขน้ึ ชนื่ ชมในพระ ราชกรณยี กิจ พระปรชี าสามารถของพระมหากษตั ริย์และพระราชวงศ์ 2. ซอ่ื สตั ย์ สุจริต 2.1 ใหข้ ้อมลู ทถ่ี กู ต้อง และเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ัติในสิ่งท่ีถกู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลวั ทจ่ี ะกระทำความผดิ ทำ ตามสญั ญาทต่ี นให้ไวก้ บั เพอื่ น พอ่ แม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู เป็น แบบอย่างท่ีดดี ้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบตั ิตนต่อผ้อู ่ืนดว้ ยความซอื่ ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง และเปน็ แบบอย่างที่ดีแก่เพอื่ นด้านความซ่ือสัตย์ 3. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว โรงเรียน และสงั คม ไม่ละเมิดสทิ ธขิ องผอู้ ืน่ ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั และรับผดิ ชอบในการทำงาน ปฏิบัตเิ ปน็ ปกติวสิ ยั และเปน็ แบบอย่างท่ีดี 4 ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรูไ้ ดอ้ ยา่ งมีเหตุผล

5. อยอู่ ยา่ ง 5.1 ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เชน่ สิง่ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั พอเพียง คุ้มค่า และเก็บรกั ษาดแู ลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม 6. มงุ่ มั่นในการ 5.2 ใชท้ รพั ยากรของส่วนรวมอย่างประหยดั ค้มุ คา่ และเก็บรักษาดูแล ทำงาน อยา่ งดี 7. รักความเปน็ 5.3 ปฏิบัตติ นและตัดสินใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตุผล ไทย 5.4 ไม่เอาเปรยี บผู้อื่น และไมท่ ำให้ผอู้ ืน่ เดือดร้อน พร้อมให้อภยั เม่ือผอู้ ่ืน 8. มจี ิตสาธารณะ กระทำผิดพลาด 5.5 วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวนั บนพ้ืนฐาน ของความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร 5.6 รเู้ ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และสภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตวั อยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 6.1 เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ตั ิหน้าทที่ ี่ได้รบั มอบหมาย 6.2 ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบในการทำงานใหส้ ำเร็จ 6.3 ปรบั ปรุงและพัฒนาการทำงานอย่างรอบคอบ 6.4 ทมุ่ เท ทำงาน อดทน ไม่ท้อต่อปญั หาและอุปสรรค 6.5 พยายามแกป้ ญั หาและอปุ สรรคในการทำงานให้สำเร็จ 6.6 ช่นื ชมผลงานความสำเรจ็ ด้วยความภาคภมู ิใจ 7.1 มจี ติ สำนกึ ในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย 8.1 รจู้ กั ช่วยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน 8.2 อาสาทำงาน ชว่ ยคิด ชว่ ยทำ แบ่งปนั สง่ิ ของ ทรัพยส์ นิ และอื่น ๆ พรอ้ มช่วยแกป้ ญั หา 8.3 ดูแล รกั ษาทรพั ย์สนิ ของหอ้ งเรียน โรงเรยี น ชุมชน 8.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ชมุ ชน เพ่ือแกป้ ญั หาหรือรว่ มสรา้ งสง่ิ ทดี่ งี ามตามสถานการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ลงช่อื .......................................................ผปู้ ระเมิน .............../.................../.................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน 104 - 124 ดมี าก 83 - 103 ดี 62- 82 พอใช้ ตำ่ กวา่ 62 ปรับปรงุ

บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ รหสั วิชา........................รายวชิ า.....................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีท.ี่ ..........เวลา............ชว่ั โมง เร่ืองท่สี อน............................................................................................................................................................ ชน้ั เต็ม ขาด ผลการจดั การเรยี นรู้ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแกไ้ ข ม.3/1 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/2 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/3 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/4 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... .......................................

ชน้ั เต็ม ขาด ผลการจดั การเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/5 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/6 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ม.3/7 ........ ........ ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ...................................... ...................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ....................................... .......................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook