ช่อื หนงั สือ กฎหมายดจิ ทิ ลั รวบรวมโดย ส�ำนักกฎหมาย ศูนยก์ ฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ส�ำนักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อาคารเดอะ ไนน์ ทาวเวอร์ แกรนด์ พระรามเก้า (อาคารบี) ชน้ั ๒๐-๒๒ เลขท่ี ๓๓/๔ ถนนพระราม ๙ แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรงุ เทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศัพท ์ ๐ ๒๑๒๓ ๑๒๓๔ โทรสาร ๐ ๒๑๒๓ ๑๒๐๐ เวบ็ ไซต์ www.etda.or.th http://ictlawcenter.etda.or.th www.facebook.com/ictlawcenter ISBN (e-Book) ๙๗๘-๖๑๖-๗๙๕๖-๔๗-3 พิมพ์ครง้ั ที ่ ๑ (สิงหาคม ๒๕๖๒) จำ� นวน ๑,๐๐๐ เล่ม แหลง่ ทีม่ า ราชกิจจานุเบกษา ราคา ๓๐๐ บาท
สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 4
ค�ำนำ� ปจั จุบันธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรอื ธรุ กรรมทางออนไลน์มคี วามหมายครอบคลุมทัง้ พาณชิ ย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Commerce) และธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ภาครฐั (e-Government) ซึ่งนบั วนั มปี รมิ าณการใชง้ านเพมิ่ มากขนึ้ และมบี ทบาทอยา่ งมากในการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั ดงั นน้ั เพอ่ื ผลกั ดนั ให้ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือธุรกรรมทางออนไลน์เป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนนโยบาย การพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน คณะกรรมการธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในฐานะคณะกรรมการระดบั ชาติ จงึ ไดก้ ำ� หนดยทุ ธศาสตรเ์ ชงิ รกุ เพอ่ื สง่ เสรมิ ความเชอ่ื มนั่ และผลกั ดนั ใหก้ ารทำ� ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ น่ั คงปลอดภยั ภายใตม้ าตรฐานทนี่ า่ เชอ่ื ถอื โดยมสี ำ� นกั งาน พฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื สพธอ. (Electronic Transactions Development Agency : ETDA) ท�ำหนา้ ทขี่ บั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรเ์ กย่ี วกบั ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ หเ้ กดิ ผลในทางปฏบิ ตั ิ อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาการทำ� ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องประเทศ ในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การทำ� ธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ สข์ องประเทศ สพธอ. ไดร้ วบรวม กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดิจิทัล น�ำมาจัดพิมพ์เป็น หนังสือ เพื่อให้เป็นแหล่งข้อมูลส�ำหรับใช้ศึกษาหาความรู้ด้านกฎหมายดิจิทัล การจัดพิมพ์คร้ังนี้ ไดร้ วบรวมกฎหมายใหม่ ๆ โดยเฉพาะทกี่ ระทรวงดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมได้ผลักดันให้เกิดขน้ึ ในช่วงไมก่ ี่ปที ี่ผ่านมา อันเปน็ ประโยชนต์ ่อการสร้างความรคู้ วามเข้าใจ รวมถึงสรา้ งความเช่ือมนั่ และ ความน่าเช่ือถือในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้กับทุกภาคส่วน โดยเป็นส่วนช่วย ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนในยุคดิจทิ ัลต่อไป ศนู ย์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (ICT Law Center) ภายใต้ส�ำนกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
สารบัญ ๑๑ ๒๗ ๑. พระราชบญั ญัติส�ำ นกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒. พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม) ๒.๑ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๕๙ เร่อื ง แนวทางการจัดทำ�แนวนโยบาย (Certificate Policy) และแนวปฏิบตั ิ (Certification Practice Statement) ของผูใ้ หบ้ ริการ ออกใบรบั รองอิเล็กทรอนกิ ส์ (Certification Authority) พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒.๒ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ์ ๘๓ เร่อื ง หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำ�หรอื แปลงเอกสาร และขอ้ ความใหอ้ ยูใ่ นรูปของขอ้ มูลอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒.๓ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๙๗ เร่อื ง การรบั รองสงิ่ พิมพอ์ อก พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๔ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๐๗ เร่ือง หนว่ ยงานรบั รองสงิ่ พมิ พ์ออก พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๕ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ์ ๑๑๑ เร่อื ง แนวทางการใช้บริการคลาวด์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒.๖ พระราชกฤษฎีกากำ�หนดประเภทธุรกรรมในทางแพง่ และพาณิชย์ ๑๒๑ ที่ยกเว้นมิให้นำ�กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ มาใช้บังคับ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒.๗ พระราชกฤษฎีกากำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการทำ�ธุรกรรม ๑๒๗ ทางอิเล็กทรอนกิ สภ์ าครฐั พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒.๗.๑ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๑๓๕ เร่ือง แนวนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการรกั ษาความม่ันคงปลอดภัย ด้านสารสนเทศของหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับแก้ไขเพิม่ เติม) ๒.๗.๒ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๔๕ เร่ือง แนวนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล ของหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๓
๒.๘ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัย ๑๕๕ ในการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒.๘.๑ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส ์ ๑๖๕ เร่อื ง ประเภทของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ และหลักเกณฑ์ การประเมนิ ระดับผลกระทบของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามวิธกี ารแบบปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๘.๒ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๗๑ เร่อื ง มาตรฐานการรกั ษาความม่นั คงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ตามวิธกี ารแบบปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๘.๓ ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๑๘๗ เร่อื ง รายช่อื หนว่ ยงานหรือองค์กร หรอื สว่ นงานของหนว่ ยงาน หรือองค์กรที่ถือเป็ นโครงสร้างพ้นื ฐานสำ�คัญของประเทศ ๑๙๗ ซ่ึงต้องกระทำ�ตามวิธีการแบบปลอดภัยในระดับเครง่ ครัด พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๒๓ ๓. พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔. พระราชบญั ญตั ิสภาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ ๕. พระราชบญั ญัติการบริหารงานและการใหบ้ ริการภาครฐั ผา่ นระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๔๓ ๖. พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒๕๗ (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม) ๖.๑ กฎกระทรวงกำ�หนดแบบหนงั สือแสดงการยึด ๒๗๕ หรืออายัดระบบคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖.๒ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๒๘๕ เร่อื ง หลักเกณฑ์การเก็บรกั ษาข้อมลู จราจรทางคอมพวิ เตอร์ ของผใู้ ห้บรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖.๓ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๓๐๑ เร่ือง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคณุ สมบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบญั ญตั ิ ว่าด้วยการกระทำ�ความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม)
๖.๔ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ๓๑๓ เร่ือง กำ�หนดแบบบตั รประจำ�ตัวพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ตามพระราชบญั ญตั ิ ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖.๕ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ๓๒๑ เร่ือง ลักษณะและวิธกี ารสง่ และลักษณะและปรมิ าณของขอ้ มลู ความถี่และวิธกี ารสง่ ซ่ึงไมก่ ่อให้เกิดความเดือดรอ้ นร�ำ คาญแก่ผรู้ บั พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๖ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ๓๒๙ เร่ือง หลักเกณฑ์ ระยะเวลา และวิธกี ารปฏิบตั ิสำ�หรบั การระงับการทำ�ให้แพรห่ ลาย หรอื ลบข้อมลู คอมพวิ เตอรข์ องพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ีหรอื ผู้ใหบ้ ริการ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๗ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ๓๓๙ เร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบญั ญตั ิ ว่าด้วยการกระทำ�ความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๘ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ๓๔๙ เร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการกล่ันกรองขอ้ มูลคอมพิวเตอรต์ ามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำ�ความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๙ ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ๓๕๗ เร่ือง ข้ันตอนการแจ้งเตือน การระงับการทำ�ให้แพรห่ ลายของข้อมูลคอมพิวเตอร์ และการน�ำ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๑๐ ระเบยี บ ว่าด้วยการจับ ควบคุม ค้น การทำ�สำ�นวนสอบสวนและดำ�เนนิ คดี ๓๖๗ กับผู้กระทำ�ความผดิ ตามพระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทำ�ความผิด ๓๗๓ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๗๙ ๖.๑๑ ระเบยี บกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหากรรมการผทู้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการ กล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๗. พระราชบัญญัติการรกั ษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๘. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔๑๕
ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 10
พระราชบัญญัติ สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 11
ชื่อกฎหมาย พระราชบัญญตั สิ ำนักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๖ / ตอนที่ ๔๙ ก / หนา ๔๕ / วนั ที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ เร่มิ บังคับใช วนั ที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๒ ผรู ักษาการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 12
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๔๕ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา พระราชบัญญตั ิ สานกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ปที ่ี ๔ ในรัชกาลปัจจบุ นั สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยท่เี ป็นการสมควรมกี ฎหมายว่าดว้ ยสานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหง่ ชาติทาหน้าท่ีรฐั สภา ดงั ต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัตินี้ “คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า คณะกรรมการธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกสต์ ามกฎหมายว่าด้วยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการกากบั สานักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการกากับสานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ “สานักงาน” หมายความว่า สานกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 13
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๔๖ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา “ผู้อานวยการ” หมายความว่า ผ้อู านวยการสานกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๔ ให้มีสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีวัตถุประสงค์เก่ียวกับ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนนโยบายและแผนของรัฐด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนามาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้ระบบ งานเทคโนโลยดี ิจิทัลต่าง ๆ เชื่อมโยงกันไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มีความมั่นคงปลอดภยั และมคี วามนา่ เช่ือถอื สานกั งานเปน็ หนว่ ยงานของรฐั ท่มี ฐี านะเปน็ นิติบุคคล และไม่เปน็ ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วย ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวา่ ด้วยวิธกี ารงบประมาณหรอื กฎหมายอ่นื กิจการของสานักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมาย ว่าดว้ ยแรงงานสัมพนั ธ์ กฎหมายวา่ ด้วยการประกนั สังคม และกฎหมายว่าดว้ ยเงินทดแทน แต่พนกั งาน และลูกจ้างของสานักงานต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าดว้ ยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน ใหส้ านกั งานเปน็ หน่วยงานของรฐั ตามกฎหมายว่าด้วยความรบั ผิดทางละเมิดของเจ้าหนา้ ท่ี มาตรา ๕ นอกจากดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง ให้สานักงานรับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และมีหน้าท่ีและ อานาจดงั ตอ่ ไปนด้ี ้วย (๑) จัดทาแผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เสนอต่อคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเลก็ ทรอนิกส์เพอ่ื พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ (๒) จัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านมาตรฐานที่สอดคล้องกับนโยบาย และแผนระดับชาติว่าดว้ ยการพัฒนาดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม (๓) ส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ให้มีการดาเนินการ ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ทั้งทางการเงิน การค้า การลงทุน และการนาเข้าส่งออก รวมท้ังการให้บริการประชาชนของภาครัฐ ให้สอดคล้องกบั แผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 14
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๔๗ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๔) ศกึ ษา วิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื รองรับการทาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งส่งเสริมการออกแบบสถาปัตยกรรม ดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทัล เพอ่ื เสนอแนะต่อคณะกรรมการธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ สใ์ นการกาหนดมาตรฐาน เร่ืองดังกลา่ ว (๕) จัดทาข้อเสนอแนะเก่ียวกับมาตรฐาน และมาตรการหรือกลไกการกากับดูแลท่ีเกี่ยวข้อง กับการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีสอดคล้องและเชื่อมโยงกันอย่างมีความมั่นคงปลอดภัยและ มคี วามนา่ เชอ่ื ถือ (๖) กากับดูแลการประกอบธุรกิจบริการเก่ียวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการให้การสนับสนุนการประกอบธุรกิจบริการ เก่ยี วกบั ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ดงั กล่าว (๗) วิเคราะห์และรับรองความสอดคล้องและความถูกต้องตามมาตรฐานหรือตามมาตรการ หรือกลไกการกากับดูแลที่เกี่ยวข้องกับการทาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละพาณิชย์อิเล็กทรอนกิ ส์ (๘) เป็นศูนย์กลางในการให้บริการทางวิชาการหรือให้บริการที่เก่ียวกับการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แก่หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานเอกชน และประชาชน รวมทั้งเผยแพร่และใหค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจในการทาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ และพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ (๙) ทาความตกลงและร่วมมือกับองค์การหรือหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศใน กิจการทีเ่ กยี่ วกบั การดาเนนิ การตามหนา้ ทีแ่ ละอานาจของสานกั งาน (๑๐) ฝึกอบรมเพ่ือยกระดับของบุคลากรของสานักงานและบุคคลภายนอกให้มีทักษะเกี่ยวกับ มาตรฐาน ความมั่นคงปลอดภัย และการสร้างความน่าเชื่อถือในระบบและการให้บริการทางธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกสแ์ ละพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ (๑๑) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นตามท่ีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือคณะกรรมการ มอบหมาย หรือตามที่กฎหมายกาหนด มาตรา ๖ ในการดาเนินงานของสานักงาน นอกจากหน้าท่ีและอานาจตามที่บัญญัติใน มาตรา ๕ แล้ว ใหส้ านกั งานมหี นา้ ทีแ่ ละอานาจทว่ั ไป ดังตอ่ ไปนีด้ ว้ ย (๑) ถอื กรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง และมที รัพยสทิ ธติ า่ ง ๆ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 15
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๔๘ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) ก่อตั้งสิทธิ หรือทานิติกรรมทุกประเภทผูกพันทรัพย์สิน ตลอดจนทานิติกรรมอื่นใด เพ่ือประโยชนใ์ นการดาเนนิ กิจการของสานกั งาน (๓) จัดใหม้ ีและให้ทุนเพอื่ สนับสนนุ การดาเนนิ กจิ การของสานกั งาน (๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการดาเนินงาน ทั้งน้ี ตามหลกั เกณฑแ์ ละอัตราทีส่ านกั งานกาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ (๕) ปฏิบัติการอ่ืนใดท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าท่ีและอานาจของสานักงาน หรือตามที่ คณะกรรมการธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รือคณะกรรมการมอบหมาย มาตรา ๗ ทุนและทรพั ย์สินในการดาเนินงานของสานกั งานประกอบดว้ ย (๑) เงินและทรพั ย์สนิ ท่ีได้รับโอนมาตามมาตรา ๓๕ (๒) เงนิ อดุ หนนุ ท่ัวไปที่รัฐบาลจัดสรรใหต้ ามความเหมาะสมเป็นรายปี (๓) คา่ ธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรอื รายไดจ้ ากการดาเนินงาน (๔) เงินบรจิ าคจากภาคเอกชนหรือองค์กรอ่ืน รวมท้งั จากตา่ งประเทศหรอื องค์การระหว่างประเทศ และเงินหรือทรพั ย์สนิ ทม่ี ผี ู้อุทศิ ให้ (๕) ดอกผลและผลประโยชนห์ รอื รายไดอ้ ืน่ ใดทีเ่ กิดจากการดาเนินงานของสานักงาน ทรพั ยส์ นิ ของสานักงานไม่อยใู่ นความรบั ผดิ แหง่ การบงั คับคดแี ละมาตรการบงั คบั ทางปกครอง มาตรา ๘ รายได้ของสานักงานไมต่ อ้ งนาส่งคลงั เป็นรายไดแ้ ผน่ ดนิ มาตรา ๙ ใหม้ ีคณะกรรมการกากบั สานกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญและประสบการณ์ในด้านธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผูแ้ ทนสานกั งบประมาณ และกรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิซงึ่ รัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนหกคน ใหผ้ ู้อานวยการเป็นกรรมการและเลขานกุ าร และใหผ้ อู้ านวยการแตง่ ตง้ั พนักงานของสานกั งาน เป็นผู้ช่วยเลขานุการไดต้ ามความจาเปน็ แต่ไม่เกินสองคน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังตามวรรคหน่ึง ต้องมีความรู้ ความเช่ียวชาญและ ประสบการณ์ในด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสามคน และ ด้านอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งอนั เป็นประโยชนต์ ่อการดาเนนิ งานของสานกั งาน มาตรา ๑๐ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสัญชาติไทย และไม่มีลักษณะ ต้องหา้ ม ดังตอ่ ไปนี้ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 16
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๔๙ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๑) เปน็ บคุ คลล้มละลายหรอื เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๒) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ (๓) เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้ กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๔) เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรอื ผบู้ รหิ ารท้องถนิ่ เวน้ แต่จะได้พน้ จากตาแหน่งมาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงปี (๕) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งอื่นในพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าท่ีของ พรรคการเมือง เวน้ แตจ่ ะได้พน้ จากตาแหน่งมาแล้วไมน่ ้อยกว่าหนงึ่ ปี (๖) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรอื จากหนว่ ยงานของเอกชน เพราะทุจริตต่อหนา้ ท่หี รอื ประพฤติชั่วอย่างรา้ ยแรง (๗) ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอิสระอ่ืนใด หรือเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือลูกจ้างของ องค์การเอกชนใดท่ีมีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชนข์ ัดแย้งไม่ว่าโดยตรงหรอื โดยอ้อมกับการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ในตาแหน่งกรรมการและหนา้ ที่และอานาจของสานกั งาน มาตรา ๑๑ ประธานกรรมการและกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒมิ วี าระการดารงตาแหนง่ คราวละสป่ี ี มาตรา ๑๒ เม่ือประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้ดาเนินการแต่งต้ังใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งต้ังประธานกรรมการและกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่ ให้ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้น อยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏบิ ัติหน้าที่ตอ่ ไปจนกว่าประธานกรรมการและกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒซิ งึ่ ไดร้ ับแตง่ ตั้งใหม่ เข้ารบั หนา้ ท่ี มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๑ ประธานกรรมการและ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิพ้นจากตาแหนง่ เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคณุ สมบัติหรือมลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๐ (๔) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าท่ี หรือหยอ่ นความสามารถ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 17
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๕๐ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๑๔ ในกรณีท่ีประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่และให้ดาเนินการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตาแหน่งที่ว่างภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีตาแหน่งว่างลง เว้นแต่วาระของ กรรมการเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน และให้ผู้ท่ีได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระ ทีเ่ หลืออยูข่ องผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๑๕ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกวา่ กง่ึ หนึ่งของ จานวนกรรมการทม่ี อี ยู่ จงึ จะเปน็ องค์ประชมุ ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ได้ ให้ทป่ี ระชมุ เลอื กกรรมการคนหน่งึ เพอ่ื ทาหน้าท่ีประธานในทป่ี ระชุม ในการวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้ามคี ะแนนเสยี งเท่ากนั ให้ประธานในท่ีประชุมออกเสยี งเพิ่มขน้ึ อกี เสยี งหนงึ่ เปน็ เสยี งชี้ขาด กรรมการที่มสี ว่ นไดเ้ สียในเรอ่ื งทม่ี กี ารพิจารณาจะเขา้ ร่วมประชุมมิได้ การประชุมของคณะกรรมการอาจกระทาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่คณะกรรมการ กาหนดกไ็ ด้ มาตรา ๑๖ ใหค้ ณะกรรมการมีหน้าทีแ่ ละอานาจ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) กาหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเหน็ ชอบแผนการดาเนินงานของสานักงาน (๒) ออกข้อบังคับวา่ ดว้ ยการจัดองค์กร การเงิน การบริหารงานบุคคล การบริหารงานทวั่ ไป การพสั ดุ การตรวจสอบภายใน รวมตลอดท้ังการสงเคราะห์และสวสั ดิการตา่ ง ๆ ของสานกั งาน (๓) อนุมัตแิ ผนการใชจ้ ่ายเงนิ และงบประมาณรายจา่ ยประจาปีของสานกั งาน (๔) ควบคุมการบริหารงานและการดาเนินการของสานักงานและผู้อานวยการให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญตั ินแี้ ละกฎหมายอ่นื ทีเ่ กี่ยวข้อง (๕) แตง่ ตั้งคณะกรรมการสรรหาผ้อู านวยการ (๖) วินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองของผู้อานวยการในส่วนท่ีเกี่ยวกับการบริหารงานของ สานักงาน (๗) ประเมินผลการดาเนนิ งานของสานักงาน และการปฏิบตั ิงานของผอู้ านวยการ (๘) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามท่ีพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนกาหนดให้เป็นหน้าท่ีและอานาจ ของคณะกรรมการหรือตามทคี่ ณะรฐั มนตรมี อบหมาย สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 18
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๕๑ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อบังคับตาม (๒) ถ้ามีการจากัดอานาจผู้อานวยการในการทานิติกรรมกับบุคคลภายนอก ให้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๑๗ ให้คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีหรือ กระทาการอย่างหน่งึ อยา่ งใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมายได้ คณะกรรมการอาจแต่งต้ังบุคคลซึ่งมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ใน การปฏิบัติหน้าทข่ี องคณะกรรมการ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการได้ การปฏิบัติหน้าที่และจานวนของคณะอนุกรรมการตามวรรคหน่ึงหรือที่ปรึกษาตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการกาหนด ใหน้ ามาตรา ๑๕ มาใชบ้ งั คับแก่คณะอนุกรรมการโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๘ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ท่ีปรึกษาคณะกรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนกุ รรมการ ได้รับเบยี้ ประชุมหรือคา่ ตอบแทนตามหลักเกณฑท์ ่ีคณะรฐั มนตรีกาหนด มาตรา ๑๙ ให้สานักงานมีผู้อานวยการคนหน่ึงซ่ึงคณะกรรมการแต่งต้ัง มีหน้าท่ีบริหาร กิจการของสานกั งาน มาตรา ๒๐ ผู้ที่จะได้รับการแต่งต้ังเป็นผู้อานวยการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องหา้ ม ดังตอ่ ไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) อายุไม่เกินหา้ สิบแปดปบี ริบรู ณ์ (๓) สามารถทางานให้แกส่ านักงานได้เตม็ เวลา (๔) เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านที่เกี่ยวกับภารกิจของสานักงาน และการบริหารจดั การ (๕) ไมเ่ ปน็ บุคคลลม้ ละลายหรอื เคยเป็นบคุ คลล้มละลายทุจรติ (๖) ไม่เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ (๗) ไมเ่ คยไดร้ ับโทษจาคกุ โดยคาพพิ ากษาถงึ ทีส่ ดุ ใหจ้ าคกุ เวน้ แตเ่ ปน็ โทษสาหรบั ความผดิ ทไ่ี ด้ กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๘) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรอื จากหน่วยงานของเอกชน เพราะทจุ รติ ตอ่ หนา้ ท่ีหรือประพฤตชิ ่ัวอยา่ งร้ายแรง (๙) ไม่เคยถูกถอดถอนออกจากตาแหนง่ ตามกฎหมาย ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 19
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๕๒ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๑๐) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมอื ง สมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ หรือผูบ้ ริหารท้องถ่นิ กรรมการ หรือผู้ดารงตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าท่ี พรรคการเมือง (๑๑) ไมเ่ ปน็ ผูม้ สี ่วนไดเ้ สยี ในกจิ การทเี่ ก่ยี วข้องกับสานกั งานไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางออ้ ม มาตรา ๒๑ ผู้อานวยการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดารงตาแหนง่ เกนิ สองวาระตดิ ตอ่ กนั ไมไ่ ด้ ก่อนครบกาหนดตามวาระการดารงตาแหน่งของผู้อานวยการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน แตไ่ มเ่ กนิ หกสิบวนั หรือภายในสามสบิ วันนบั แตว่ นั ที่ผู้อานวยการพ้นจากตาแหนง่ ก่อนวาระ ใหค้ ณะกรรมการ แต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือสรรหาผู้อานวยการคนใหม่ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการสรรหาเสนอรายช่ือบุคคล ทเ่ี หมาะสมไม่เกินสามคนตอ่ คณะกรรมการ มาตรา ๒๒ ในแต่ละปีให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผูอ้ านวยการ ท้ังน้ี ให้เป็นไป ตามระยะเวลาและวธิ กี ารท่คี ณะกรรมการกาหนด มาตรา ๒๓ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๑ ผู้อานวยการพ้นจาก ตาแหน่ง เมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) อายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ (๔) คณะกรรมการให้ออก เพราะไมผ่ า่ นการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน มคี วามประพฤติเสอ่ื มเสีย บกพรอ่ งหรือไมส่ ุจรติ ตอ่ หนา้ ท่ี หรือหยอ่ นความสามารถ (๕) ได้รับโทษจาคกุ โดยคาพิพากษาถงึ ที่สดุ ให้จาคุก (๖) ขาดคุณสมบัติหรอื มลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๒๐ ยกเวน้ กรณมี าตรา ๒๐ (๒) มาตรา ๒๔ ใหผ้ ู้อานวยการมีหนา้ ทแ่ี ละอานาจ ดงั ต่อไปนี้ (๑) บริหารงานของสานักงานให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามภารกิจของสานักงาน และตามนโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แผนยุทธศาสตร์เก่ียวกับธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรฐานที่สอดคล้องกับ นโยบายและแผนดงั กล่าว นโยบายของคณะรฐั มนตรีและคณะกรรมการ และระเบียบ ข้อบังคบั หรือ มติของคณะกรรมการ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 20
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๕๓ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) วางระเบียบเกี่ยวกับการดาเนนิ งานของสานกั งานโดยไมข่ ัดหรอื แย้งกบั กฎหมาย มติคณะรฐั มนตรี และระเบยี บ ข้อบงั คับ ขอ้ กาหนด นโยบาย มติ หรอื ประกาศของคณะกรรมการ (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของสานักงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานของ พนักงานและลูกจ้างของสานักงานตามระเบยี บหรอื ข้อบังคับของสานกั งาน (๔) แต่งตั้งรองผู้อานวยการหรือผู้ช่วยผู้อานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ เพอื่ เปน็ ผู้ชว่ ยปฏบิ ัติงานของผอู้ านวยการตามทผ่ี อู้ านวยการมอบหมาย (๕) บรรจุ แต่งตั้ง เล่ือน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง ของสานักงาน ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้างของสานักงานออกจากตาแหน่ง ท้ังนี้ ตามข้อบังคับท่ี คณะกรรมการกาหนด (๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด นโยบาย มติ หรือประกาศของ คณะกรรมการ ให้ผอู้ านวยการรับผดิ ชอบในการบรหิ ารงานของสานกั งานขน้ึ ตรงตอ่ คณะกรรมการ มาตรา ๒๕ ในกิจการของสานักงานท่ีเกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อานวยการเป็นผู้แทน ของสานักงาน เพ่ือการน้ี ผู้อานวยการจะมอบอานาจให้บุคคลใดปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แตต่ อ้ งเป็นไปตามข้อบงั คบั ท่ีคณะกรรมการกาหนด มาตรา ๒๖ ให้คณะกรรมการเป็นผู้กาหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของ ผู้อานวยการตามหลกั เกณฑท์ ีค่ ณะรัฐมนตรกี าหนด มาตรา ๒๗ เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานของสานกั งาน ผู้อานวยการอาจขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐ มาปฏิบัติงานเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสานักงานเป็นการชั่วคราวได้ ท้ังนี้ เมอ่ื ได้รบั อนมุ ัติจากผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื นายจา้ งของผูน้ ้ัน และมีข้อตกลงทท่ี าไว้ในการอนุมตั ิ และในกรณี ที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับอนุมัติให้มาปฏิบัติงานเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสานักงานเป็นการชั่วคราว ให้ถือว่าเป็นการไดร้ บั อนญุ าตใหอ้ อกจากราชการหรอื ออกจากงานไปปฏบิ ัตงิ านใด ๆ เมื่อส้ินสุดระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติให้มาปฏิบัติงานในสานักงาน ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐตามวรรคหน่ึง มีสิทธิได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งและรับเงินเดือนในส่วนราชการหรือหน่วยงานเดิม ไมต่ ่ากวา่ ตาแหนง่ และเงินเดือนเดมิ ตามข้อตกลงท่ที าไว้ในการอนุมตั ิ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 21
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๕๔ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันกลับมาบรรจุและไดร้ ับแต่งตั้งในส่วนราชการหรือหน่วยงานเดิม ตามวรรคสองแล้ว ใหน้ ับระยะเวลาของเจ้าหน้าท่ขี องรฐั ผู้นน้ั ระหว่างทม่ี าปฏบิ ตั งิ านในสานกั งานสาหรับ การคานวณบาเหน็จบานาญหรือประโยชน์ตอบแทนอ่ืนทานองเดียวกันเสมือนอยู่ปฏิบัติราชการหรือ ปฏิบตั งิ านเตม็ เวลาดังกลา่ ว แลว้ แตก่ รณี มาตรา ๒๘ ข้าราชการหรอื เจ้าหน้าที่ของรฐั ซึง่ อยู่ระหวา่ งการปฏิบตั งิ านชดใช้ทนุ การศกึ ษา ท่ีได้รับจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ที่ได้ย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ท่ีสานักงานโดยได้รับความเห็นชอบ จากผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด ให้ถือเป็นการชดใช้ทุนตามสัญญา และให้นับระยะเวลาการปฏิบัติงานใน สานักงานเป็นระยะเวลาในการชดใชท้ นุ ในกรณีที่หน่วยงานของรฐั แหง่ ใดประสงค์จะขอให้พนักงานของสานักงานซง่ึ อยู่ระหว่างการปฏิบัติงาน ชดใช้ทุนการศึกษาท่ีได้รับจากสานักงานไปเป็นข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐ แหง่ นั้น ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากผู้อานวยการกอ่ น และใหถ้ อื วา่ การไปปฏบิ ัตงิ านในหน่วยงานของรฐั แห่งนั้นเป็นการชดใช้ทุนตามสัญญา และให้นับระยะเวลาการปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น เป็นระยะเวลาในการชดใช้ทุน มาตรา ๒๙ การบัญชีของสานักงานให้จัดทาตามหลักสากล ตามแบบและหลักเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๓๐ ให้สานักงานจัดทางบดุล งบการเงินและบัญชี แล้วส่งผู้สอบบัญชีภายใน หนึง่ รอ้ ยยี่สิบวันนบั แตว่ นั สิ้นปีบัญชี ให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของสานักงาน และประเมินผลการใช้จ่ายเงินและทรัพย์สินของ สานกั งานทุกรอบปแี ลว้ ทารายงานผลการสอบบญั ชเี สนอต่อคณะกรรมการเพ่อื รับรอง มาตรา ๓๑ ให้สานักงานจัดทารายงานการดาเนินงานประจาปีเสนอคณะกรรมการและ รัฐมนตรีภายในหนง่ึ ร้อยแปดสบิ วนั นบั แตว่ นั สิ้นปีบัญชี และเผยแพร่รายงานนตี้ ่อสาธารณชน รายงานการดาเนนิ งานประจาปีตามวรรคหนง่ึ ให้แสดงรายละเอียดของงบการเงนิ ทีผ่ สู้ อบบญั ชี ใหค้ วามเห็นแล้ว พรอ้ มทั้งผลงานของสานกั งานและรายงานการประเมนิ ผลการดาเนินงานของสานักงาน ในปที ลี่ ว่ งมาแล้ว การประเมินผลการดาเนินงานของสานักงานตามวรรคสอง จะต้องดาเนินการโดยบุคคลภายนอก ท่คี ณะกรรมการใหค้ วามเหน็ ชอบ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 22
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๕๕ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๓๒ ให้รัฐมนตรีมอี านาจกากับดูแลโดยทวั่ ไปซึ่งกิจการของสานกั งานใหเ้ ป็นไปตามหนา้ ท่ี และอานาจ และตามกฎหมาย นโยบายของรฐั บาล แผนยุทธศาสตร์ และมติคณะรฐั มนตรีท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือการน้ี รัฐมนตรีมีอานาจสั่งให้ผู้อานวยการชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น หรือทารายงานเสนอ และมีอานาจสั่งยับย้ังการกระทาของสานักงานท่ีขัดต่อหน้าท่ีและอานาจของสานักงาน นโยบายของ รัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนส่ังสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับ การดาเนินการของสานกั งานได้ ในกรณที ี่ผู้อานวยการฝา่ ฝืนหรอื ไม่กระทาการตามคาสัง่ ของรฐั มนตรตี ามวรรคหนง่ึ ใหร้ ัฐมนตรี ส่งเร่ืองใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาดาเนนิ การตามหนา้ ทแ่ี ละอานาจต่อไป มาตรา ๓๓ ให้คณะกรรมการบริหารสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ในวันก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้เท่าที่จาเป็นไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งต้ังคณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัติน้ี ซ่ึงต้องไม่เกินหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ มาตรา ๓๔ ในวาระเร่ิมแรก ให้ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ อยใู่ นวันก่อนวนั ท่พี ระราชบัญญตั ินใ้ี ช้บังคบั ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีผู้อานวยการ จนกวา่ จะมีการแต่งตัง้ ผอู้ านวยการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๕ เม่ือพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ให้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นอันยกเลิก และให้โอนบรรดา กิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าท่ี หน้ี เจ้าหน้าที่และลูกจ้าง และงบประมาณของสานักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ท่มี ีอยู่ในวันกอ่ นวันทีพ่ ระราชบญั ญัตินใี้ ชบ้ ังคับ ไปเป็นของสานักงาน ให้เจ้าหน้าที่และลกู จ้างท่ีโอนไปตามวรรคหน่งึ ไดร้ บั เงนิ เดอื น เงินประจาตาแหน่ง หรือค่าจ้าง รวมทั้งสิทธิและประโยชน์ต่าง ๆ เท่ากับท่ีเคยได้รับอยู่เดิมไปพลางก่อน จนกว่าจะได้บรรจุและแต่งต้ัง ให้ดารงตาแหน่งในสานกั งาน โดยไดร้ บั เงนิ เดอื นหรือคา่ จ้างไม่ต่ากว่าเงินเดือนหรือคา่ จา้ งทไี่ ด้รับอยเู่ ดิม ในกรณที ีเ่ จ้าหน้าท่หี รอื ลูกจา้ งผใู้ ดอยู่ภายใต้ระเบยี บหรอื สัญญาจ้างทม่ี ไิ ดก้ าหนดระยะเวลาการจ้าง มใิ ห้ถือวา่ การจา้ งโดยไม่มกี าหนดระยะเวลาดังกลา่ วเปน็ สทิ ธิและประโยชนต์ ามวรรคสอง สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 23
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๙ ก หน้า ๕๖ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา การบรรจแุ ละแตง่ ต้ังเจ้าหน้าทห่ี รอื ลกู จ้างตามวรรคสองไม่ถือเปน็ การออกจากงานเพราะสังกัดเดมิ เลกิ จ้าง มาตรา ๓๖ ให้นาบทบัญญัติเก่ียวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม การพ้นจากตาแหน่ง และการปฏบิ ัติหน้าทีข่ องเจา้ หน้าทีแ่ ละลูกจา้ งของสานกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ตามที่กาหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎีกาจัดตง้ั สานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาใช้กับพนักงานและลูกจ้างของสานักงาน จนกว่าจะมีข้อบังคับเกี่ยวกับเร่ืองดังกล่าว ทอ่ี อกตามพระราชบญั ญัติน้ี มาตรา ๓๗ ในวาระเรมิ่ แรก กรณที ่งี บประมาณซง่ึ ได้รบั โอนมาตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง ไมเ่ พยี งพอแก่การดาเนนิ งานของสานักงาน ให้ผอู้ านวยการเสนอต่อคณะรฐั มนตรเี พื่อขอรับเงินอุดหนนุ ทั่วไป เพอ่ื เป็นค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งานใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องสานักงาน ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาจัดสรรเงนิ งบประมาณรายจา่ ยเป็นเงนิ อุดหนุนทัว่ ไปตามทีผ่ อู้ านวยการเสนอ ตามความจาเปน็ และเหมาะสม มาตรา ๓๘ การร่วมทุน การกู้ยืมเงิน และการดาเนินการใดเท่าที่จาเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงคข์ องสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎกี า จัดตั้งสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ท่ีได้กระทาไว้ก่อน วันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ และยังไม่ส้ินสุด ให้ยังคงดาเนินการได้ต่อไปจนกว่าการดาเนินการ ดังกล่าวจะส้นิ สุดลง มาตรา ๓๙ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศท่ีออกตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ท่ีใช้บังคับอยู่ในวันก่อน วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมีระเบยี บ ข้อบังคับ หรอื ประกาศทอ่ี อกตามพระราชบญั ญัตินี้ มาตรา ๔๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ ตามพระราชบญั ญัตินี้ ผรู้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 24
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๕บ๗กษา ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญตั ิฉบับน้ี คือ โดยที่ปัจจุบันสานกั งานพัฒนาธรุ กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ซึ่งมีสถานะเป็นองค์การมหาชน ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน มีหน้าที่เฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานต่าง ๆ เท่านั้น แต่ด้วย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมจะต้องมีการพัฒนา ส่งเสริม และ สนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในฐานะคณะกรรมการระดับชาติและต้องมีการควบคุมดูแลการประกอบธุรกิจเก่ียวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับนานาประเทศ รวมท้ัง ต้องมกี ารบรู ณาการการทางานระหว่างหนว่ ยงานของรัฐทเี่ กยี่ วข้องกับการสง่ เสริมภาคเอกชนในการดาเนินการ ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ตลอดจนการดาเนินการในด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และ ด้านอื่นท่ีเก่ียวข้อง สมควรท่ีจะมีหน่วยงานที่มีการบริหารงานที่คล่องตัวและมีประสิทธิภาพเพื่อรับผิดชอบใน การดาเนินการดังกล่าว ในการนี้จึงได้ปรับปรุงสถานะและอานาจหน้าที่ของสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เพื่อให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจได้อย่างเหมาะสมและ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ของประเทศ จงึ จาเป็นต้องตราพระราชบัญญตั ิน้ี สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 25
ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 26
พระราชบัญญัติ วา ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบบั แกไ ขเพ่ิมเตมิ ) สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 27
ชอื่ กฎหมาย พระราชบญั ญัติวา ดว ยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบบั แกไ ขเพิ่มเตมิ ) ประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๑๘ / ตอนท่ี ๑๑๒ ก / หนา ๒๖ / วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๔ เรม่ิ บังคบั ใช วนั ท่ี ๓ เมษายน ๒๕๔๕ ผูร กั ษาการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม แกไขเพมิ่ เติมโดย พระราชกฤษฎีกาแกไขบทบัญญัตใิ หสอดคลองกบั การโอนอำนาจหนาทข่ี องสวนราชการ ใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญตั ิปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา : เลม ๑๑๙ / ตอนท่ี ๑๐๒ ก / หนา ๖๖ / วันท่ี ๘ ตุลาคม ๒๕๔๕ เริม่ บังคบั ใช : วันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ พระราชบญั ญตั วิ าดว ยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา : เลม ๑๒๕ / ตอนที่ ๓๓ ก / หนา ๘๑ / วันที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑ เร่ิมบงั คบั ใช : วนั ที่ ๑๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 28
พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบญั ญตั แิ หง กฎหมายที่เกี่ยวกับความรบั ผดิ ในทางอาญา ของผูแทนนติ ิบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา : เลม ๑๓๔ / ตอนที่ ๑๘ ก / หนา ๑ / วันท่ี ๑๑ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๐ เรมิ่ บังคบั ใช : วันท่ี ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ พระราชบญั ญัตวิ า ดว ยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนที่ ๔๙ ก / หนา ๑๒ / วันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ เร่ิมบังคับใช : วันท่ี ๑๕ เมษายน ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติวา ดวยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนท่ี ๖๗ ก / หนา ๒๐๓ / วนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เริ่มบังคบั ใช : วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 29
พระราชบัญญตั ิ วา ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส พ.ศ. ๒๕๔๔ ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไว ณ วนั ท่ี ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ เปนปท่ี ๕๖ ในรชั กาลปจ จบุ ัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยทเ่ี ปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส พระราชบัญญตั ินม้ี บี ทบญั ญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธแิ ละเสรีภาพของบุคคล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ หกระทำได โดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัตแิ หง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัตขิ ึ้นไวโดยคำแนะนำและยนิ ยอมของ รฐั สภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญตั วิ าดว ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๔๔” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปนตน ไป มาตรา ๓ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับแกธุรกรรมในทางแพงและพาณิชยที่ดำเนินการ โดยใชขอมูลอิเล็กทรอนิกส เวนแตธุรกรรมท่ีมพี ระราชกฤษฎีกากำหนดมใิ หนำพระราชบัญญัตนิ ี้ ทง้ั หมดหรอื แตบางสว นมาใชบงั คับ ความในวรรคหนึ่งไมมีผลกระทบกระเทือนถึงกฎหมายหรือกฎใดที่กำหนดขึ้นเพ่ือ คมุ ครองผูบรโิ ภค พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบงั คับแกธรุ กรรมในการดำเนินงานของรฐั ตามทีก่ ำหนดในหมวด ๔ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ินี้ “ธุรกรรม” หมายความวา การกระทำใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทางแพงและพาณิชย หรอื ในการดำเนินงานของรฐั ตามทีก่ ำหนดในหมวด ๔ ๑ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๑๘/ตอนท่ี ๑๑๒ ก/หนา ๒๖/๔ ธันวาคม ๒๕๔๔ 30 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
๒ “อิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การประยุกตใชวิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคลายกัน และใหหมายความรวมถึงการประยุกตใช วิธีการทางแสง วธิ ีการทางแมเหล็ก หรอื อุปกรณทเ่ี กย่ี วขอ งกับการประยุกตใชว ิธตี าง ๆ เชนวา นั้น “ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา ธุรกรรมที่กระทำขึ้นโดยใชวิธีการ ทางอิเลก็ ทรอนิกสท ง้ั หมดหรอื แตบ างสว น “ขอความ” หมายความวา เรื่องราวหรือขอเท็จจริง ไมวาจะปรากฏในรูปแบบของ ตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือ โดยผานวิธกี ารใด ๆ “ขอมูลอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา ขอความที่ไดสราง สง รับ เก็บรักษา หรือ ประมวลผลดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เชน วิธีการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส โทรเลข โทรพมิ พ หรือโทรสาร “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส” หมายความวา อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ อื่นใดที่สรางขึ้นใหอยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสซึ่งนำมาใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสเพื่อ แสดงความสัมพันธระหวางบุคคลกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยมีวัตถุประสงคเพื่อระบุตัวบุคคล ผูเปนเจาของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น และเพื่อแสดงวา บคุ คลดังกลา วยอมรบั ขอความในขอมลู อิเล็กทรอนิกสน น้ั “ระบบขอมูล” หมายความวา กระบวนการประมวลผลดวยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส สำหรบั สรา ง สง รบั เก็บรกั ษา หรือประมวลผลขอ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส “การพิสูจนและยืนยันตัวตน”๒ หมายความวา กระบวนการพิสูจนและยืนยัน ความถกู ตอ งของตวั บคุ คล “ระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล”๓ หมายความวา เครือขาย ทางอิเล็กทรอนิกสที่เชื่อมโยงขอมูลระหวางบุคคลใด ๆ หรือหนวยงานของรัฐเพื่อประโยชน ในการพสิ ูจนแ ละยืนยันตวั ตน และการทำธรุ กรรมอื่น ๆ ที่เก่ียวเนื่องกับการพสิ จู นและยืนยันตวั ตน “ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติ”๔ หมายความวา โปรแกรม คอมพิวเตอรหรือวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอัตโนมัติอื่น ที่ใชเพื่อที่จะทำใหเกิด การกระทำหรือการตอบสนองตอขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือการปฏิบัติการใด ๆ ตอระบบขอมูล ไมวาทั้งหมดหรือแตบางสวน โดยปราศจากการตรวจสอบหรือการแทรกแซงโดยบุคคลธรรมดา ในแตละครง้ั ทมี่ ีการดำเนินการหรือแตล ะครง้ั ท่ีระบบไดส รา งการตอบสนอง “การแลกเปลีย่ นขอมูลทางอเิ ลก็ ทรอนิกส” หมายความวา การสง หรอื รบั ขอความดวย วธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนิกสร ะหวา งเคร่ืองคอมพวิ เตอรโ ดยใชมาตรฐานท่กี ำหนดไวล ว งหนา ๒ มาตรา ๔ นิยามคำวา “การพิสูจนและยืนยันตัวตน” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓ มาตรา ๔ นิยามคำวา “ระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔ มาตรา ๔ นิยามคำวา “ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติ” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรม ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 31
๓ “ผูสงขอมูล” หมายความวา บุคคลซึ่งเปนผูสงหรือสรางขอมูลอิเล็กทรอนิกสกอนจะมี การเก็บรักษาขอมูลเพื่อสงไปตามวิธีการที่ผูนั้นกำหนด โดยบุคคลนั้นอาจจะสงหรือสรางขอมูล อเิ ลก็ ทรอนิกสด วยตนเอง หรอื มกี ารสง หรือสรางขอมลู อเิ ล็กทรอนิกสในนามหรือแทนบุคคลน้ันก็ได ทงั้ น้ี ไมร วมถงึ บคุ คลท่เี ปน ส่อื กลางสำหรับขอ มลู อิเล็กทรอนกิ สน้ัน “ผูรับขอมูล” หมายความวา บุคคลซึ่งผูสงขอมูลประสงคจะสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสให และไดรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น ทั้งนี้ ไมรวมถึงบุคคลที่เปนสื่อกลางสำหรับขอมูล อเิ ล็กทรอนกิ สน้ัน “บุคคลที่เปนสื่อกลาง” หมายความวา บุคคลซึ่งกระทำการในนามผูอื่นในการสง รับ หรือเก็บรักษาขอมูลอิเล็กทรอนิกสอันใดอันหนึ่งโดยเฉพาะ รวมถึงใหบริการอื่นที่เกี่ยวกับขอมลู อิเลก็ ทรอนกิ สนัน้ “ใบรับรอง” หมายความวา ขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือการบันทึกอื่นใด ซึ่งยืนยันความ เชือ่ มโยงระหวางเจา ของลายมือชือ่ กบั ขอมลู สำหรับใชส รา งลายมือชอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส “เจาของลายมือชื่อ” หมายความวา ผูซึ่งถือขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกสแ ละสรางลายมอื ชื่ออิเล็กทรอนกิ สน ั้นในนามตนเองหรือแทนบคุ คลอนื่ “คูกรณีที่เกี่ยวของ” หมายความวา ผูซึ่งอาจกระทำการใด ๆ โดยขึ้นอยูกับใบรับรอง หรอื ลายมอื ชอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส “หนวยงานของรัฐ”๕ หมายความวา (๑) กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการ สว นภูมภิ าค และราชการสวนทองถ่ิน (๒) รัฐวิสาหกจิ ท่ตี ัง้ ข้ึนโดยพระราชบญั ญัติหรอื พระราชกฤษฎกี า (๓) องคก ารมหาชนที่ตัง้ ขึ้นโดยพระราชบัญญตั ิหรอื พระราชกฤษฎกี า (๔) หนวยงานของรฐั สภา (๕) หนวยงานของศาล ในสวนทไ่ี มเก่ียวกบั การพพิ ากษาอรรถคดี (๖) องคก รตามรฐั ธรรมนญู ในสวนท่ีไมเ กยี่ วกบั การวินจิ ฉัยชี้ขาดขอพพิ าท (๗) องคกรอิสระทตี่ ง้ั ข้นึ ตามกฎหมาย (๘) นิติบุคคล คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งมีหนาที่และอำนาจในการดำเนินงานของรัฐ ไมวา ในการใด ๆ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส “ผูอ ำนวยการ”๖ หมายความวา ผูอ ำนวยการสำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส ๕ มาตรา ๔ นิยามคำวา “หนวยงานของรัฐ” แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๖ มาตรา ๔ นิยามคำวา “ผูอำนวยการ” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 32
๔ “สำนักงาน”๗ หมายความวา สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ตามกฎหมาย วาดวยสำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส “รฐั มนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรีผูรักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา ๕ บทบญั ญัติมาตรา ๑๓ ถงึ มาตรา ๒๔ และบทบญั ญตั มิ าตรา ๒๖ ถึงมาตรา ๓๑ จะตกลงกนั เปนอยา งอน่ื กไ็ ด มาตรา ๖๘ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หมวด ๑ ธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส มาตรา ๗ หามมิใหปฏิเสธความมผี ลผูกพันและการบังคับใชทางกฎหมายของขอความใด เพียงเพราะเหตทุ ีข่ อความนัน้ อยูในรปู ของขอ มูลอเิ ล็กทรอนิกส มาตรา ๘ ภายใตบ งั คับบทบัญญัตแิ หง มาตรา ๙ ในกรณที กี่ ฎหมายกำหนดใหก ารใดตอง ทำเปนหนังสือ มีหลักฐานเปนหนังสือหรือมีเอกสารมาแสดง หรือกำหนดผลทางกฎหมาย กรณีไมทำเปนหนังสือ ไมมีหลักฐานเปนหนังสือหรือไมมีเอกสารมาแสดง ถาไดมีการจัดทำ ขอความขึ้นเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สามารถเขาถึงและนำกลับมาใชไดโดยความหมาย ไมเปลี่ยนแปลง ใหถือวาขอความนั้นไดทำเปนหนังสือ มีหลักฐานเปนหนังสือหรือมีเอกสาร มาแสดงตามทก่ี ฎหมายกำหนด๙ ในกรณีกฎหมายกำหนดใหตองมีการปดอากรแสตมป หากไดมีการชำระเงินแทนหรือ ดำเนินการอื่นใดดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสตามหลักเกณฑและวิธีการที่หนวยงานของรัฐซ่ึง เกี่ยวของประกาศกำหนด ใหถือวาหนังสือ หลักฐานเปนหนังสือ หรือเอกสาร ซึ่งมีลักษณะเปน ตราสารนั้นไดมีการปดอากรแสตมปและขีดฆาตามกฎหมายนั้นแลว ในการนี้ในการกำหนด หลักเกณฑและวิธีการของหนวยงานของรัฐดังกลาว คณะกรรมการจะกำหนดกรอบและแนวทาง เพ่อื เปนมาตรฐานทั่วไปไวดวยกไ็ ด๑๐ ๗ มาตรา ๔ นิยามคำวา “สำนักงาน” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๘ มาตรา ๖ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัติวา ดวยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๙ มาตรา ๘ วรรคแรก แกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัติวาดวยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๐ มาตรา ๘ วรรคสอง เพมิ่ โดยพระราชบัญญัตวิ าดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 33
๕ มาตรา ๙๑๑ ในกรณีท่ีกฎหมายกำหนดใหมีการลงลายมือชื่อ หรือกำหนดผลทางกฎหมาย กรณีทไ่ี มม ีการลงลายมือชอ่ื ไว ใหถ ือวาไดม ีการลงลายมอื ชอื่ แลว ถา (๑) ใชวิธีการที่สามารถระบุตัวเจาของลายมือชื่อ และสามารถแสดงเจตนาของเจาของ ลายมอื ชอื่ เกีย่ วกับขอ ความในขอมูลอิเล็กทรอนิกส และ (๒) ใชว ธิ ีการในลักษณะอยางใดอยางหนงึ่ ดังตอ ไปน้ี (ก) วิธีการที่เชื่อถือไดโดยเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการสรางหรือสงขอมูล อิเลก็ ทรอนกิ ส โดยคำนงึ ถึงพฤติการณแวดลอมทง้ั ปวง รวมถงึ ขอ ตกลงใด ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ ง หรอื (ข) วิธีการอื่นใดที่สามารถยืนยันตวั เจาของลายมือชื่อและสามารถแสดงเจตนาของ เจาของลายมอื ชอื่ ตาม (๑) ไดด วยวธิ ีการนนั้ เองหรอื ประกอบกับพยานหลักฐานอืน่ วธิ กี ารทเี่ ช่ือถือไดต ามวรรคหน่ึง (๒) (ก) ใหคำนึงถึง (๑) ความมั่นคงและรัดกุมของการใชวิธีการหรืออุปกรณในการระบุตัวบุคคล สภาพพรอมใชงานของทางเลือกในการระบุตัวบุคคล กฎเกณฑเกี่ยวกับลายมือชื่อที่กำหนดไวใน กฎหมายระดับความมั่นคงปลอดภัยของการใชลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส การปฏิบัติตาม กระบวนการในการระบุตวั บุคคลผูเ ปน สื่อกลาง ระดับของการยอมรับหรือไมยอมรับ วิธีการที่ใช ในการระบุตัวบุคคลในการทำธุรกรรม วิธีการระบุตัวบุคคล ณ ชวงเวลาที่มีการทำธุรกรรมและ ตดิ ตอส่อื สาร (๒) ลักษณะ ประเภท หรือขนาดของธุรกรรมที่ทำ จำนวนครั้งหรือความสม่ำเสมอ ในการทำธรุ กรรม ประเพณที างการคา หรือทางปฏิบตั ิ ความสำคัญ มลู คาของธรุ กรรมท่ที ำ หรือ (๓) ความรดั กมุ ของระบบการตดิ ตอส่ือสาร ใหนำความในวรรคหนึ่งมาใชบังคับกับการประทับตราของนิติบุคคลดวยวิธีการ ทางอเิ ล็กทรอนิกสดวยโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๐ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหนำเสนอหรือเก็บรักษาขอความใดในสภาพ ที่เปนมาแตเดิมอยางเอกสารตนฉบับ ถาไดนำเสนอหรือเก็บรักษาในรูปขอมูลอิเล็กทรอนิกส ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ ใหถือวาไดมีการนำเสนอหรือเก็บรักษาเปนเอกสารตนฉบับ ตามกฎหมายแลว (๑) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดใชวิธีการที่เชื่อถือไดในการรักษาความถูกตองของขอความ ตง้ั แตการสรา งขอความเสรจ็ สมบรู ณ และ (๒) สามารถแสดงขอความนนั้ ในภายหลงั ได ความถูกตองของขอความตาม (๑) ใหพิจารณาถึงความครบถวนและไมมี การเปลยี่ นแปลงใดของขอความ เวน แตก ารรับรองหรือบันทึกเพม่ิ เตมิ หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นไดตามปกติในการติดตอสื่อสาร การเก็บรักษา หรือการแสดงขอความซึ่งไมมีผล ตอความถูกตองของขอ ความนัน้ ๑๑ มาตรา ๙ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัติวาดว ยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 34 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
๖ ในการวินิจฉัยความนาเชื่อถือของวิธีการรักษาความถูกตองของขอความตาม (๑) ใหพิเคราะหถึงพฤติการณที่เกี่ยวของทั้งปวง รวมทั้งวัตถุประสงคของการสรางขอความนั้น ในกรณีที่มีการทำสิ่งพิมพออกของขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามวรรคหนึ่งสำหรับใชอางอิง ขอความของขอมูลอิเล็กทรอนิกส หากสิ่งพิมพออกนั้นมีขอความถูกตองครบถวนตรงกับขอมูล อิเล็กทรอนิกส และมีการรับรองสิ่งพิมพออกโดยหนวยงานที่มีอำนาจตามที่คณะกรรมการ ประกาศกำหนดแลว ใหถอื วาสงิ่ พิมพออกดังกลาวใชแ ทนตน ฉบบั ได๑ ๒ มาตรา ๑๑๑๓ หามมิใหปฏิเสธการรับฟงขอมูลอิเล็กทรอนิกสเปนพยานหลักฐาน ในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมายทั้งในคดีแพง คดีอาญา หรือคดีอื่นใด เพียงเพราะเหตุวา เปน ขอมลู อเิ ล็กทรอนกิ ส ในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสจะเชื่อถือไดหรือไมเพียงใดน้ัน ใหพิเคราะหถึงความนาเชื่อถือของลักษณะหรือวิธีการที่ใชสราง เก็บรักษา หรือสื่อสารขอมูล อิเล็กทรอนิกส ลักษณะหรือวิธีการเก็บรักษา ความครบถวน และไมมีการเปลี่ยนแปลงของ ขอความ ลักษณะ หรือวิธีการที่ใชในการระบุหรือแสดงตัวผูสงขอมูล รวมทั้งพฤติการณท่ี เก่ียวขอ งท้งั ปวง ใหน ำความในวรรคหนึง่ มาใชบงั คบั กับสงิ่ พมิ พออกของขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสด ว ย มาตรา ๑๒ ภายใตบังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๐ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหเก็บรักษา เอกสารหรือขอความใด ถาไดเก็บรักษาในรูปขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามหลักเกณฑดังตอไปน้ี ใหถอื วา ไดมีการเกบ็ รกั ษาเอกสารหรอื ขอความตามทีก่ ฎหมายตองการแลว (๑) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นสามารถเขาถึงและนำกลับมาใชไดโดยความหมาย ไมเ ปลย่ี นแปลง (๒) ไดเกบ็ รกั ษาขอ มลู อเิ ล็กทรอนิกสนน้ั ใหอยใู นรปู แบบทเี่ ปน อยูในขณะท่ีสราง สง หรือ ไดรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น หรืออยูในรูปแบบที่สามารถแสดงขอความที่สราง สง หรือไดรับ ใหป รากฏอยา งถกู ตอ งได และ (๓) ไดเก็บรักษาขอความสวนที่ระบุถึงแหลงกำเนิด ตนทาง และปลายทางของขอมูล อเิ ล็กทรอนิกส ตลอดจนวนั และเวลาทสี่ งหรือไดรับขอ ความดงั กลา ว ถา มี ความในวรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับกับขอความที่ใชเพียงเพื่อวัตถุประสงคในการสงหรือ รบั ขอ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส หนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบในการเก็บรักษาเอกสารหรือขอความใด อาจกำหนด หลกั เกณฑรายละเอียดเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั การเก็บรกั ษาเอกสารหรือขอความน้ันได เทาที่ไมขัดหรือ แยง กับบทบัญญัติในมาตราน้ี ๑๒ มาตรา ๑๐ วรรคส่ี เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๓ มาตรา ๑๑ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญัตวิ า ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 35
๗ มาตรา ๑๒/๑๑๔ ใหนำบทบญั ญัตใิ นมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใชบังคับ กับเอกสารหรือขอความที่ไดมีการจัดทำหรือแปลงใหอยูในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกส ในภายหลังดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส และการเก็บรักษาเอกสารและขอความดังกลาวดวย โดยอนุโลม การจดั ทำหรือแปลงเอกสารและขอความใหอยูในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามวรรคหน่ึง ใหเปน ไปตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารที่คณะกรรมการกำหนด มาตรา ๑๓ คำเสนอหรือคำสนองในการทำสัญญาอาจทำเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสก็ได และหามมิใหปฏิเสธการมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้นไดทำคำเสนอ หรอื คำสนองเปน ขอ มูลอิเลก็ ทรอนิกส มาตรา ๑๓/๑๑๕ การเสนอเพื่อทำสัญญาผานการติดตอสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส ครงั้ เดียวหรอื หลายครั้ง ซึ่งไมไดสง ถึงบุคคลใดโดยเฉพาะเจาะจง แตบ ุคคลท่วั ไปทีใ่ ชระบบขอมูลน้ัน สามารถเขาถึงได รวมถงึ การเสนอโดยใหร ะบบขอมูลสามารถโตตอบไดโ ดยอัตโนมตั ิ ในการทำคำส่ัง ผานระบบขอมูลใหถือเปนคำเชิญชวนเพื่อทำคำเสนอ เวนแตการเสนอเพื่อทำสัญญาระบุได โดยแจง ชัดถึงเจตนาของบุคคลที่ทำการเสนอทจี่ ะผูกพันหากมีการสนองรบั มาตรา ๑๓/๒๑๖ หามมิใหปฏิเสธความสมบูรณหรือการบังคับใชของสัญญาที่ทำโดย การโตตอบระหวางระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติกับบุคคลธรรมดา หรือ ระหวางระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติดวยกัน เพียงเพราะเหตุที่ไมมีบุคคล ธรรมดาเขาไปเกี่ยวของกับการดำเนินการในแตละครั้งที่กระทำโดยระบบแลกเปลี่ยนขอมูล ทางอิเลก็ ทรอนกิ สอัตโนมัตหิ รอื ในผลแหงสัญญา มาตรา ๑๔ ในระหวางผูสงขอมูลและผูรับขอมูล การแสดงเจตนาหรือคำบอกกลาว อาจทำเปน ขอ มลู อิเล็กทรอนิกสก ไ็ ด มาตรา ๑๕ บุคคลใดเปนผูสงขอมูลไมวาจะเปนการสงโดยวิธีใด ใหถือวาขอมูล อิเลก็ ทรอนิกสเ ปน ของผูนนั้ ในระหวางผูสงขอมูลและผูรับขอมูล ใหถือวาเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสของผูสงขอมูล หากขอมูลอเิ ล็กทรอนกิ สนน้ั ไดสงโดย (๑) บคุ คลผมู ีอำนาจกระทำการแทนผูส งขอ มลู เก่ียวกับขอมลู อิเล็กทรอนิกสนั้น หรือ (๒) ระบบขอ มูลทีผ่ ูสง ขอมลู หรือบุคคลผูม ีอำนาจกระทำการแทนผสู งขอมูลไดกำหนดไว ลว งหนาใหส ามารถทำงานไดโดยอตั โนมัติ ๑๔ มาตรา ๑๒/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดวยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ 36 ๑๕ มาตรา ๑๓/๑ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตวิ า ดว ยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๖ มาตรา ๑๓/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
๘ มาตรา ๑๖ ผูรับขอมูลชอบที่จะถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสเปนของผูสงขอมูลและ ชอบท่จี ะดำเนินการไปตามขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสน ้ันได ถา (๑)๑๗ ผรู บั ขอ มูลไดตรวจสอบโดยสมควรตามวธิ กี ารทผ่ี สู งขอมลู ไดต กลงหรือผูกพันตนไว วาเปน ขอมลู อิเลก็ ทรอนิกสเปน ของผสู ง ขอมลู หรอื (๒) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ผูร บั ขอมลู ไดรบั นัน้ เกิดจากการกระทำของบุคคลซึง่ ใชวิธีการ ที่ผูสงขอมูลใชในการแสดงวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นเปนของผูสงขอมูล ซึ่งบุคคลนั้นไดลวงรู โดยอาศยั ความสมั พันธร ะหวางบคุ คลนน้ั กับผสู ง ขอ มูลหรือผมู ีอำนาจกระทำการแทนผสู งขอมูล ความในวรรคหนง่ึ มิใหใ ชบ ังคบั ถา (๑) ในขณะนั้นผูรับขอมูลไดรับแจงจากผูสงขอมูลวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ผูรับขอมูล ไดรับนั้นมิใชของผูสงขอมูล และในขณะเดียวกันผูรับขอมูลมีเวลาพอสมควรที่จะตรวจสอบ ขอ เท็จจริงตามทไี่ ดร บั แจง นั้น หรอื (๒) กรณตี ามวรรคหน่ึง (๒) เมื่อผรู ับขอมูลไดรูหรือควรจะไดรูวา ขอ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน้ัน ไมใชของผูสงขอมูล หากผูรับขอมูลไดใชความระมัดระวังตามสมควร หรือดำเนินการตามวิธีการ ทีไ่ ดต กลงกันไวกอนแลว มาตรา ๑๗ ในกรณีตามมาตรา ๑๕ หรือมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง ในระหวางผูสงขอมูล และผูรับขอมูล ผูรับขอมูลมีสิทธิถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับนั้นถูกตองตามเจตนาของ ผูสงขอมูลและสามารถดำเนินการไปตามขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นได เวนแตผูรับขอมูลไดรูหรือ ควรจะไดรูวา ขอ มูลอิเล็กทรอนิกสท่ไี ดร บั นั้นมีขอผดิ พลาดอันเกิดจากการสง หากผูรับขอมูลไดใช ความระมดั ระวงั ตามสมควรหรือดำเนินการตามวิธกี ารทีไ่ ดตกลงกนั ไวกอนแลว มาตรา ๑๗/๑๑๘ ในกรณีที่มีการลงขอมูลผิดพลาดโดยบุคคลธรรมดาและสงผานระบบ แลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมัติของผูอื่น และระบบแลกเปลี่ยนขอมูล ทางอิเล็กทรอนิกสอัตโนมตั นิ ัน้ ไมม ชี องทางใหบคุ คลดงั กลา วแกไขขอผิดพลาดที่เกดิ ขน้ึ บคุ คลดงั กลา ว หรือผแู ทนมีสิทธทิ จ่ี ะถอนการแสดงเจตนาในสว นท่เี กดิ จากการลงขอมลู ผิดพลาดได หาก (๑) บคุ คลดังกลา วหรือผแู ทนไดแจงใหอ ีกฝา ยหนึ่งทราบถึงขอผิดพลาดโดยพลันหลังจาก ที่ตนไดรูถึงขอผิดพลาดนั้น และแสดงใหเห็นวาไดสงขอมูลผิดพลาดผานระบบแลกเปล่ียนขอมลู ทางอิเล็กทรอนกิ สอัตโนมัติ และ (๒) บุคคลดังกลาวหรือผูแทนไมไดใชหรือไดรับประโยชนใด ๆ จากสินคา บริการ หรือ ส่ิงอืน่ ใดอยางนยั สำคญั จากอกี ฝา ยหนึ่ง ๑๗ มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง (๑) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๘ มาตรา ๑๗/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั วิ าดวยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 37
๙ มาตรา ๑๘ ผูรับขอมูลชอบที่จะถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับแตละชุดเปนขอมูล ที่แยกจากกัน และสามารถดำเนินการไปตามขอมูลอิเล็กทรอนิกสแตละชุดนั้นได เวนแตขอมูล อิเล็กทรอนิกสชุดนั้นจะซ้ำกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสอีกชุดหนึ่ง และผูรับขอมูลไดรูหรือควรจะ ไดรูวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสซ้ำ หากผูรับขอมูลไดใชความระมัดระวัง ตามสมควร หรอื ดำเนนิ การตามวธิ ีการทไ่ี ดตกลงกันไวก อนแลว มาตรา ๑๙ ในกรณีที่ตองมีการตอบแจงการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไมวาผูสงขอมูลได รองขอหรือตกลงกับผูรับขอมูลไวกอนหรือขณะที่สงขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือปรากฏในขอมูล อเิ ล็กทรอนกิ สใ หเ ปนไปตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ (๑) ในกรณีที่ผูสงขอมูลมิไดตกลงใหตอบแจงการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบหรือ วิธกี ารใดโดยเฉพาะ การตอบแจงการรับอาจทำไดด ว ยการติดตอสื่อสารจากผูร ับขอมูล ไมวาโดย ระบบขอมูลที่ทำงานโดยอัตโนมัติหรือโดยวิธีอื่นใด หรือดวยการกระทำใด ๆ ของผูรับขอมูล ซง่ึ เพยี งพอจะแสดงตอ ผูส ง ขอ มูลวา ผรู ับขอมูลไดร ับขอ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน ้ันแลว (๒) ในกรณีที่ผูสงขอมูลกำหนดเงื่อนไขวาจะถือวามีการสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสตอเม่ือ ไดรับการตอบแจงการรับจากผูรับขอมูล ใหถือวายังไมมีการสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสจนกวา ผสู งขอมลู จะไดรบั การตอบแจงการรบั แลว (๓) ในกรณีที่ผูสงขอมูลมิไดกำหนดเงื่อนไขตามความใน (๒) และผูสงขอมูลมิไดรับ การตอบแจงการรับนั้นภายในเวลาที่กำหนดหรือตกลงกัน หรือภายในระยะเวลาอันสมควร ในกรณที ม่ี ไิ ดกำหนดหรอื ตกลงเวลาไว (ก) ผูสงขอมูลอาจสงคำบอกกลาวไปยังผูรับขอมูลวาตนยังมิไดรับการตอบแจง การรบั และกำหนดระยะเวลาอนั สมควรใหผูรับขอมูลตอบแจง การรบั และ (ข) หากผสู ง ขอมูลมิไดร ับการตอบแจงการรับภายในระยะเวลาตาม (ก) เมอื่ ผูสงขอมูล บอกกลาวแกผูรับขอมูลแลว ผูสงขอมูลชอบที่จะถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นมิไดมีการสงเลย หรอื ผสู งขอมูลอาจใชสิทธอิ ืน่ ใดทผี่ สู ง ขอมูลมอี ยูได มาตรา ๒๐ ในกรณีที่ผูสงขอมูลไดรับการตอบแจงการรับจากผูรับขอมูล ใหสันนิษฐาน วาผูรบั ขอมลู ไดร ับขอมูลอิเล็กทรอนิกสท่ีเกยี่ วของแลว แตขอสนั นษิ ฐานดังกลาวมิใหถือวาขอมูล อิเลก็ ทรอนกิ สท ผ่ี รู ับขอมูลไดร บั น้นั ถูกตองตรงกันกับขอมูลอเิ ล็กทรอนิกสทีผ่ สู ง ขอ มูลไดสงมา มาตรา ๒๑ ในกรณีที่ปรากฏในการตอบแจงการรับขอมลู อิเล็กทรอนิกสนั้นเองวาขอมูล อิเล็กทรอนิกสที่ผูรับขอมูลไดรับเปนไปตามขอกำหนดทางเทคนิคที่ผูสงขอมูลและผูรับขอมูลได ตกลงหรือระบุไวในมาตรฐานซึ่งใชบังคับอยู ใหสันนิษฐานวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สงไปน้ัน ไดเปน ไปตามขอ กำหนดทางเทคนิคทัง้ หมดแลว มาตรา ๒๒ การสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหถือวาไดมีการสงเมื่อขอมูลอิเล็กทรอนิกสนน้ั ไดเ ขา สรู ะบบขอมลู ที่อยูนอกเหนอื การควบคุมของผสู งขอมูล สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 38
๑๐ มาตรา ๒๓ การรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหถือวามีผลนับแตเวลาที่ขอมูลอิเล็กทรอนิกส น้นั ไดเ ขาสูระบบขอมลู ของผูร บั ขอ มลู หากผูรับขอมูลไดกำหนดระบบขอมูลที่ประสงคจะใชในการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสไว โดยเฉพาะใหถือวาการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสมีผลนับแตเวลาทีข่ อมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นไดเขาสู ระบบขอมูลที่ผูรับขอมูลไดกำหนดไวนั้น แตถาขอมูลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวไดสงไปยังระบบ ขอมูลอื่นของผูรับขอมูลซึ่งมิใชระบบขอมูลที่ผูรับขอมูลกำหนดไว ใหถือวาการรับขอมูล อเิ ลก็ ทรอนกิ สม ผี ลนับแตเวลาที่ไดเรยี กขอ มูลอิเล็กทรอนิกสจากระบบขอมูลนัน้ ความในมาตรานี้ใหใชบังคับแมระบบขอมูลของผูรับขอมูลตั้งอยูในสถานที่อีกแหงหน่ึง ตา งหากจากสถานท่ีทถี่ อื วา ผรู บั ขอมูลไดร บั ขอมูลอเิ ล็กทรอนิกสตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๔ การสงหรือการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกส ใหถือวาไดสง ณ ที่ทำการงานของ ผสู ง ขอมูล หรอื ไดรับ ณ ทีท่ ำการงานของผรู บั ขอ มูล แลวแตกรณี ในกรณีที่ผูสงขอมูลหรือผูรับขอมูลมีที่ทำการงานหลายแหง ใหถือเอาที่ทำการงาน ทเี่ ก่ยี วขอ งมากท่ีสุดกบั ธุรกรรมนัน้ เปน ที่ทำการงานเพ่ือประโยชนต ามวรรคหน่ึง แตถ าไมสามารถ กำหนดไดวาธุรกรรมนั้นเกี่ยวของกับที่ทำการงานแหงใดมากที่สุด ใหถือเอาสำนักงานใหญ เปนสถานที่ทไี่ ดรบั หรอื สง ขอ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน ้ัน ในกรณที ่ีไมป รากฏที่ทำการงานของผสู งขอมูลหรือผรู บั ขอมูล ใหถ ือเอาถนิ่ ท่ีอยูปกติเปน สถานที่ทีส่ งหรือไดรบั ขอ มูลอิเล็กทรอนิกส ความในมาตรานี้มิใหใชบังคับกับการสงและการรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสโดยวิธีการ ทางโทรเลขและโทรพิมพ หรอื วิธกี ารส่ือสารอ่ืนตามทกี่ ำหนดในพระราชกฤษฎกี า มาตรา ๒๕ ธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกสใดที่ไดกระทำตามวิธีการแบบปลอดภัยที่กำหนด ในพระราชกฤษฎกี า ใหส นั นิษฐานวา เปน วิธีการท่เี ชื่อถือได หมวด ๒ ลายมือชอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส มาตรา ๒๖ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่มีลักษณะดังตอไปนี้ใหถือวาเปนลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกสท ่เี ชอื่ ถอื ได (๑) ขอมูลสำหรับใชสรา งลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนน้ั ไดเช่อื มโยงไปยังเจาของลายมือช่ือ โดยไมเชื่อมโยงไปยังบุคคลอนื่ ภายใตส ภาพท่ีนำมาใช (๒) ในขณะสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนั้น ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ ยภู ายใตการควบคมุ ของเจา ของลายมือช่อื โดยไมมีการควบคมุ ของบุคคลอนื่ (๓) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกิดแกลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส นับแตเวลาที่ไดสรางข้ึน สามารถจะตรวจพบได และ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 39
๑๑ (๔)๑๙ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหการลงลายมือชื่อเปนไปเพื่อรับรองความครบถวน และไมมีการเปลี่ยนแปลงของขอความ การเปลี่ยนแปลงใดแกขอความนั้นสามารถตรวจพบได นับแตเ วลาทล่ี งลายมือชือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง ไมเปนการจำกัดวาไมมีวิธีการอื่นใดที่แสดงไดวาเปนลายมือช่ือ อิเลก็ ทรอนิกสท่ีเช่ือถือได หรือการแสดงพยานหลักฐานใดเกยี่ วกับความไมนาเชื่อถือของลายมือชื่อ อเิ ล็กทรอนกิ ส มาตรา ๒๗ ในกรณีมีการใชขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อสราง ลายมอื ชอ่ื อิเล็กทรอนกิ สทจ่ี ะมีผลตามกฎหมาย เจาของลายมือชอื่ ตอ งดำเนินการดังตอ ไปน้ี (๑) ใชความระมัดระวังตามสมควรเพื่อมิใหมีการใชขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกสโดยไมไ ดรบั อนญุ าต (๒) แจงใหบุคคลที่คาดหมายไดโดยมีเหตุอันควรเชื่อวาจะกระทำการใดโดยขึ้นอยูกับ ลายมือชื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ สหรอื ใหบ ริการเกย่ี วกับลายมือช่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส ทราบโดยมิชักชา เม่ือ (ก) เจาของลายมือชื่อรูห รือควรไดรวู าขอมูลสำหรับใชสรางลายมือช่ืออเิ ล็กทรอนิกสนั้น สูญหาย ถูกทำลาย ถูกแกไข ถูกเปดเผยโดยมชิ อบ หรอื ถูกลวงรโู ดยไมสอดคลองกับวตั ถปุ ระสงค (ข) เจา ของลายมือชือ่ รจู ากสภาพการณท่ีปรากฏวา กรณีมีความเส่ียงมากพอที่ขอมูล สำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส สูญหาย ถูกทำลาย ถูกแกไข ถูกเปดเผยโดยมชิ อบ หรือ ถกู ลวงรูโดยไมส อดคลองกับวัตถุประสงค (๓) ในกรณีมีการออกใบรับรองสนับสนุนการใชลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส จะตองใช ความระมัดระวังตามสมควรใหแนใจในความถูกตองและสมบูรณของการแสดงสาระสำคัญ ทั้งหมด ซึ่งกระทำโดยเจาของลายมือชื่อเกี่ยวกับใบรับรองนั้นตลอดอายุใบรับรอง หรือตามที่มี การกำหนดในใบรบั รอง มาตรา ๒๘ ในกรณมี กี ารใหบ ริการออกใบรับรองเพ่ือสนับสนนุ ลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส ใหม ผี ลทางกฎหมายเสมือนหนึง่ ลงลายมือชอ่ื ผใู หบรกิ ารออกใบรบั รองตอ งดำเนินการ ดังตอไปนี้ (๑) ปฏบิ ตั ิตามแนวนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิทีต่ นไดแสดงไว (๒) ใชความระมัดระวังตามสมควรใหแนใจในความถูกตองและความสมบูรณของ การแสดงสาระสำคัญทั้งหมดทีต่ นไดกระทำเก่ียวกบั ใบรับรองนัน้ ตลอดอายุใบรับรอง หรือตามท่ี มกี ารกำหนดในใบรบั รอง (๓) จัดใหมีวิธีการในการเขาถึงโดยสมควร ใหคูกรณีที่เกี่ยวของสามารถตรวจสอบ ขอเทจ็ จริงในการแสดงสาระสำคญั ทั้งหมดจากใบรับรองได ในเรือ่ งดังตอ ไปน้ี (ก) การระบุผใู หบ รกิ ารออกใบรับรอง (ข) เจาของลายมือชื่อซึ่งระบุในใบรับรองไดควบคุมขอมูลสำหรบั ใชส รางลายมือช่อื อิเลก็ ทรอนิกสในขณะมกี ารออกใบรบั รอง ๑๙ มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง (๔) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 40
๑๒ (ค) ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสมีผลใชไดในขณะหรือกอนที่มี การออกใบรับรอง (๔) จัดใหมีวิธีการเขาถึงโดยสมควร ใหคูกรณีที่เกี่ยวของสามารถตรวจสอบ กรณีดังตอไปนจ้ี ากใบรับรองหรือจากวิธอี ื่น (ก) วิธกี ารท่ีใชใ นการระบุตวั เจาของลายมอื ชือ่ (ข) ขอ จำกดั เก่ียวกับวัตถุประสงคและคุณคาท่ีมีการนำขอมูลสำหรับใชส รางลายมือชื่อ อิเลก็ ทรอนกิ สห รอื ใบรบั รอง (ค) ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสมีผลสมบูรณใชไ ดและไมสูญหาย ถกู ทำลาย ถูกแกไข ถกู เปด เผยโดยมชิ อบ หรือถกู ลว งรูโดยไมส อดคลองกบั วัตถปุ ระสงค (ง) ขอ จำกดั เกย่ี วกบั ขอบเขตความรบั ผิดท่ีผูใหบรกิ ารออกใบรบั รองไดร ะบุไว (จ) การมีวธิ ีการใหเ จาของลายมอื ช่อื สง คำบอกกลาวเมือ่ มีเหตุตามมาตรา ๒๗ (๒) (ฉ) การมีบริการเกย่ี วกับการเพกิ ถอนใบรบั รองทท่ี ันการ (๕) ในกรณีทมี่ บี ริการตาม (๔) (จ) บริการน้นั ตองมวี ิธกี ารทีใ่ หเ จาของลายมือชื่อสามารถ แจงไดต ามหลกั เกณฑท ีก่ ำหนดตามมาตรา ๒๗ (๒) และในกรณีที่มบี รกิ ารตาม (๔) (ฉ) บริการนน้ั ตองสามารถเพิกถอนใบรบั รองไดทนั การ (๖) ใชร ะบบ วธิ กี าร และบุคลากรท่เี ช่ือถอื ไดใ นการใหบรกิ าร มาตรา ๒๙ ในการพิจารณาความเชื่อถือไดของระบบ วิธีการ และบุคลากรตามมาตรา ๒๘ (๖) ใหค ำนงึ ถงึ กรณีดังตอ ไปนี้ (๑) สถานภาพทางการเงนิ บุคลากร และสนิ ทรัพยทมี่ อี ยู (๒) คุณภาพของระบบฮารดแวรและซอฟตแวร (๓) วิธีการออกใบรับรอง การขอใบรบั รอง และการเก็บรกั ษาขอมูลการใหบ ริการนัน้ (๔) การจัดใหมีขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเจาของลายมือชื่อ ที่ระบุในใบรับรองและผูท่ี อาจคาดหมายไดว าจะเปน คกู รณีทเ่ี กี่ยวของ (๕) ความสมำ่ เสมอและขอบเขตในการตรวจสอบโดยผูตรวจสอบอสิ ระ (๖) องคกรที่ใหการรับรองหรือใหบริการออกใบรับรองเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือการมีอยู ของสิ่งทีก่ ลาวมาใน (๑) ถึง (๕) (๗) กรณใี ด ๆ ทีค่ ณะกรรมการประกาศกำหนด มาตรา ๓๐ คกู รณที เ่ี ก่ียวขอ งตองดำเนนิ การ ดงั ตอไปน้ี (๑) ดำเนินการตามสมควรในการตรวจสอบความนาเชื่อถอื ของลายมือชอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส (๒) ในกรณีลายมอื ชอื่ อเิ ล็กทรอนิกสม ใี บรบั รอง ตองมีการดำเนินการตามสมควร ดงั น้ี (ก) ตรวจสอบความสมบูรณของใบรับรอง การพักใช หรือการเพิกถอนใบรบั รอง และ (ข) ปฏบิ ตั ติ ามขอจำกดั ใด ๆ ที่เกย่ี วกับใบรับรอง ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 41
๑๓ มาตรา ๓๑ ใบรบั รองหรอื ลายมือชอ่ื อิเล็กทรอนกิ สใ หถือวามผี ลทางกฎหมายโดยไมต อง คำนึงถงึ (๑) สถานที่ออกใบรับรองหรือสถานทสี่ รา งหรือใชลายมือชอื่ อเิ ล็กทรอนิกส หรือ (๒) สถานท่ีทำการงานของผูอ อกใบรบั รองหรือเจาของลายมือชื่ออิเล็กทรอนกิ ส ใบรับรองที่ออกในตางประเทศใหมีผลตามกฎหมายในประเทศเชนเดียวกับใบรับรอง ทีอ่ อกในประเทศ หากการออกใบรับรองดังกลาวไดใชระบบที่เชื่อถือไดไมน อยกวาระบบท่ีเชื่อถือได ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่สรางหรือใชในตางประเทศใหถือวามีผลตามกฎหมายใน ประเทศ เชนเดียวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่สรางหรือใชในประเทศ หากการสรางหรือใช ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสดังกลาวไดใชระบบที่เชื่อถือไดไมนอยกวาระบบที่เชื่อถือไดตาม พระราชบัญญตั นิ ้ี ในการพิจารณาวาใบรับรองหรือลายมือช่ืออเิ ล็กทรอนิกสใดมีความเชื่อถือไดตามวรรคสอง หรอื วรรคสาม ใหค ำนงึ ถึงมาตรฐานระหวา งประเทศและปจจยั อืน่ ๆ ทเี่ กีย่ วขอ งประกอบดว ย หมวด ๓ ธรุ กจิ บริการเกย่ี วกับธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส มาตรา ๓๒๒๐ บคุ คลยอมมสี ทิ ธปิ ระกอบธุรกจิ บริการเกย่ี วกับธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส แตในกรณีที่จำเปนเพื่อรักษาความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย หรือเพื่อประโยชน ในการเสริมสรางความนาเชื่อถือและยอมรับในระบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส หรือเพื่อปองกัน ความเสียหายตอสาธารณชน ใหมีการตราพระราชกฤษฎีกากำหนดใหการประกอบธุรกิจบริการ เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใดเปนกิจการที่ตองแจงใหทราบ ตองขึ้นทะเบียน หรือ ตองไดรับใบอนญุ าตกอน แลว แตก กรณี ในการกำหนดใหกรณีใดตองแจงใหทราบ ตองขึ้นทะเบียน หรือตองไดรับใบอนุญาต ตามวรรคหนึ่ง ใหกำหนดโดยพิจารณาจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจน้ัน ประกอบกับความเหมาะสมในการควบคุมดูแลและการปองกันความเสียหายตามระดับ ความรนุ แรงของผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากการประกอบธรุ กิจดงั กลา ว ในการนี้ จะกำหนดใหหนวยงานของรัฐแหงหนึ่งแหงใดเปนผูรับผิดชอบใน การควบคุมดูแลในพระราชกฤษฎีกาที่ออกตามวรรคหนึ่งก็ได หากไมมีการกำหนดใหหนวยงาน ของรฐั แหง ใดเปน ผรู ับผดิ ชอบในการควบคุมดแู ล ใหส ำนักงานเปนผูรบั ผิดชอบในการควบคุมดูแล การประกอบธุรกิจบริการเกย่ี วกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสตามพระราชกฤษฎีกาดงั กลาว ทั้งน้ี ใหหนวยงานของรัฐซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการควบคุมดูแลตามพระราชกฤษฎีกาหรือสำนักงาน แลวแตกรณี แตงตงั้ พนกั งานเจา หนาทเี่ พอื่ ปฏบิ ัติการใหเ ปนไปตามพระราชกฤษฎกี าดว ย ๒๐ มาตรา ๓๒ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัตวิ า ดว ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 42 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
๑๔ กอ นเสนอใหตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ง ตอ งจดั ใหมีการรับฟงความคิดเห็นของ ประชาชนตามความเหมาะสม และนำขอมลู ทีไ่ ดร ับมาประกอบการพจิ ารณา มาตรา ๓๓๒๑ ในกรณีที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดใหการประกอบธุรกิจบริการเก่ียวกับ ธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ สใดเปนกิจการทตี่ องแจงใหทราบ ผูทปี่ ระสงคจะประกอบธุรกิจดังกลาว ตองแจงตอพนักงานเจาหนาที่กอนเริ่มประกอบธุรกิจนั้น ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ทก่ี ำหนดในพระราชกฤษฎกี า เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับแจง ใหออกใบรับแจงเพื่อเปนหลักฐานการแจงในวันท่ี รับแจงนั้นและใหผูแจงประกอบธุรกิจนั้นไดตั้งแตวันที่ไดรับใบรับแจงดังกลาว แตถาพนักงาน เจาหนาที่ตรวจพบในภายหลังวาการแจงไมถูกตองหรือไมครบถวน ใหมีอำนาจส่ังผูแจงแกไขให ถูกตองหรือครบถวนและนำผลการแกไขมาแสดงตอพนักงานเจาหนาที่ภายในระยะเวลา ท่กี ำหนด ในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจไมแกไขหรือไมปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด ใหพนักงานเจาหนาที่สัง่ ใหผูนั้นหยดุ การใหบรกิ ารในสว นที่เกี่ยวกบั ธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกสในการประกอบธุรกิจนั้นนับแตวันที่ครบกำหนดระยะเวลาตามวรรคสอง จนกวา จะแกไ ขใหถ ูกตอ งและครบถว นตามคำสงั่ ของพนักงานเจา หนาที่ ในการประกอบธุรกจิ ผูแ จง ตองปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑท่ีกำหนดในพระราชกฤษฎีกาและ ตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด หลักเกณฑตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาวใหกำหนดเรื่อง การชดใชหรอื เยยี วยาผูไดรบั ความเสียหายจากการประกอบธุรกจิ ไวดวย ถาผูแจงไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการประกอบธุรกิจตามวรรคสี่ ใหพนักงานเจาหนาที่ มีคำสั่งหามมิใหผูน ้ันใหบริการในสวนที่เก่ียวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในการประกอบธุรกิจนั้น จนกวา จะไดป ฏิบัตใิ หถ กู ตอ งครบถว นตามหลักเกณฑท ่ีกำหนดดงั กลาว ในกรณที ี่ผูแจงไมแกไขตามวรรคสามหรือไมปฏิบัตติ ามวรรคหาภายในระยะเวลาเกาสิบวัน นบั แตว ันที่หยุดหรือถกู หา มการใหบริการ ใหพ นักงานเจาหนา ท่ถี อนการรบั แจงของผนู ั้นออกจาก สารบบการรบั แจงและแจง เปน หนงั สอื ใหผ นู ้นั ทราบโดยเรว็ มาตรา ๓๓/๑๒๒ ในกรณีทีพ่ ระราชกฤษฎีกากำหนดใหการประกอบธุรกิจบริการเก่ียวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใดเปน กจิ การทต่ี องขึ้นทะเบยี น ผูท ีป่ ระสงคจ ะประกอบธุรกิจดังกลาว ตองขอขึ้นทะเบียนตอ พนักงานเจาหนาท่ีกอนเริ่มประกอบธุรกจิ นั้น ตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีกำหนดในพระราชกฤษฎีกา เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับคำขอขึ้นทะเบียนแลว ใหออกใบรับการขอขึ้นทะเบียนเพื่อ เปนหลักฐานการขอขึ้นทะเบียนในวันที่ยื่นคำขอนั้น และหากพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบ เอกสารและหลักฐานการขึ้นทะเบียนแลวเห็นวาครบถวนและถูกตองตามที่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกา ใหรบั ขึ้นทะเบยี นและแจง เปนหนังสือใหผขู อขน้ึ ทะเบียนทราบภายในสามสิบวัน ๒๑ มาตรา ๓๓ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิวาดว ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 43 ๒๒ มาตรา ๓๓/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตวิ า ดว ยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
๑๕ นับแตวันที่ไดรับคำขอขึ้นทะเบียนดังกลาว และใหผูขึ้นทะเบียนประกอบธุรกิจนั้นไดตั้งแตวันที่ ไดร บั ข้ึนทะเบยี น หากพนักงานเจาหนาที่ไมสามารถตรวจสอบใหแ ลวเสร็จไดภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ใหผูขอขึ้นทะเบียนประกอบธุรกิจไปพลางกอนได นับแตวันถัดจากวันที่ครบกำหนดระยะเวลา ดงั กลาว ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบกอนการรับขึ้นทะเบียนตามวรรคสอง หรือตรวจ พบหลังจากที่ผูนั้นไดประกอบธุรกิจดังกลาวแลว วาเอกสารและหลักฐานการขึ้นทะเบียนของ ผูขอขึ้นทะเบียนไมครบถวนหรือไมถูกตอง ใหแจงเปนหนังสือแกผูขอขึ้นทะเบียนหรือ ผูขึ้นทะเบียนแลวแตกรณี เพื่อแกไขใหถูกตองและครบถวนภายในระยะเวลาที่กำหนด ในการนี้ ถาผูขอขึ้นทะเบียนหรือผูขึ้นทะเบียนไมแกไขใหถูกตองและครบถวน หรือไมดำเนินการจนพน กำหนดระยะเวลาที่พนักงานเจาหนาที่กำหนดโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหสิทธิในการประกอบ ธุรกิจของผูขอขึ้นทะเบียนตามวรรคสามเปนอันระงับและใหถือวาคำขอขึ้นทะเบียนนั้นตกไป หรอื ใหมคี ำสง่ั เพกิ ถอนการขึน้ ทะเบยี นของผปู ระกอบธรุ กจิ นนั้ แลว แตก รณี ในการประกอบธุรกิจ ผูขึ้นทะเบียนตองปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกาและตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด หลักเกณฑตามพระราชกฤษฎีกา ดังกลา วใหกำหนดเรือ่ งการชดใชห รือเยยี วยาผูไดรับความเสยี หายจากการประกอบธรุ กจิ ไวดวย ถาผูขึ้นทะเบียนฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการประกอบธุรกิจตามวรรคหา ใหคณะกรรมการพิจารณามีคำสั่งปรับผูนั้นไมเกินหนึ่งลานบาท โดยคำนึงถึงความรายแรง แหงพฤติกรรมที่กระทำผิด หลักเกณฑในการพิจารณากำหนดคาปรับใหเปนไปตามท่ี คณะกรรมการกำหนด และในกรณที ่เี ห็นสมควรคณะกรรมการอาจมคี ำสั่งใหผ นู ้ันดำเนินการใด ๆ เพอ่ื แกไขใหถกู ตอ งหรือเหมาะสมได ถาผูถูกปรับตามวรรคหกไมชำระคาปรับ ใหคณะกรรมการมีอำนาจฟองคดีตอศาล ที่มีเขตอำนาจในการพิจารณาคดีอาญาเพื่อบังคับชำระคาปรับ ในการนี้ ถาศาลพิพากษาให ชำระคาปรับ หากผูนั้นไมชำระคาปรับภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลมีคำพิพากษา ใหยึด ทรพั ยสินของผนู น้ั เพือ่ ชดใชแ ทนคา ปรับ แตมิใหน ำมาตรการกกั ขังแทนคาปรับมาใชแ กผูน้นั ในกรณีที่ผูกระทำผิดตามวรรคหกไมดำเนินการแกไขตามคำสั่งของคณะกรรมการ หรือ ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการประกอบธุรกิจตามวรรคหาซ้ำอีกภายในระยะเวลาหน่ึงป นบั แตวันท่คี ณะกรรมการมคี ำสง่ั ปรบั ครั้งแรก คณะกรรมการอาจมีคำสัง่ เพิกถอนการข้ึนทะเบียน ของผขู น้ึ ทะเบียนน้นั ใหพ นกั งานเจา หนาท่แี จงคำส่งั ดังกลา วใหผูนั้นทราบโดยเร็ว มาตรา ๓๔๒๓ ในกรณีที่พระราชกฤษฎีกากำหนดใหการประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใดเปนกิจการที่ตองไดรับใบอนุญาต ใหผูที่ประสงคจะประกอบธุรกิจ ดังกลา วยืน่ คำขอรบั ใบอนุญาตตอ พนกั งานเจา หนา ที่ตามทกี่ ำหนดในพระราชกฤษฎกี า ๒๓ มาตรา ๓๔ แกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิวาดว ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 44
๑๖ คุณสมบัติของผูขอรับใบอนุญาต หลักเกณฑและวิธีการขออนุญาต การออกใบอนุญาต การตออายใุ บอนุญาต การคืนใบอนญุ าต และการสง่ั พกั ใชหรือเพิกถอนใบอนุญาต ใหเปนไปตาม หลักเกณฑ วธิ กี าร และเงือ่ นไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎกี า ในการประกอบธุรกิจ ผูไดรับใบอนุญาตตองปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกา ประกาศที่คณะกรรมการกำหนด หรือเงื่อนไขในใบอนุญาต หลักเกณฑ ตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาวใหกำหนดเรื่องการชดใชหรือเยียวยาผูไดรับความเสียหายจาก การประกอบธุรกจิ ไวด ว ย ในกรณีที่ผูไดรับใบอนุญาตฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการประกอบธุรกิจ ตามวรรคสาม ใหค ณะกรรมการพจิ ารณามีคำสั่งปรับผูนน้ั ไมเกนิ สองลานบาท และใหนำความใน มาตรา ๓๓/๑ วรรคหกและวรรคเจ็ด มาใชบ งั คับโดยอนุโลม ในกรณีที่ผูกระทำผิดตามวรรคสี่ไมดำเนินการแกไขตามคำสั่งของคณะกรรมการ หรือ ฝา ฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการประกอบธรุ กิจตามวรรคสามซำ้ อีกภายในระยะเวลาหน่ึงป นับแตวันที่คณะกรรมการมีคำสั่งปรับครั้งแรก คณะกรรมการอาจมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ของผไู ดรบั ใบอนุญาตนนั้ ใหพ นักงานเจา หนาที่แจง คำสัง่ ดงั กลา วใหผ นู ั้นทราบโดยเร็ว มาตรา ๓๔/๑๒๔ เพื่อประโยชนในการควบคุมดูแลการประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสตามหมวดนี้ ใหคณะกรรมการ สำนักงานหรือหนวยงานของรัฐซึ่งเปน ผรู ับผดิ ชอบในการควบคมุ ดูแลตามมาตรา ๓๒ วรรคสาม ประกาศกำหนดรายละเอียดเพมิ่ เติมใน เรื่องที่กำหนดไวในพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๓๒ ได โดยไมขัดหรือแยงกับพระราชกฤษฎีกา ดงั กลา ว มาตรา ๓๔/๒๒๕ เพื่อประโยชนในการควบคุมดูแลและกำกับการประกอบธุรกิจบริการ เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามพระราชกฤษฎีกา ตามมาตรา ๓๒ ใหพนักงานเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐหรือสำนักงานที่มีหนาที่ควบคุมดูแล การประกอบธรุ กิจบรกิ ารเกีย่ วกับธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกสนัน้ มีหนา ที่และอำนาจ ดังตอไปนี้ (๑) มีหนังสือแจงใหผูใหบริการหรือเจาหนาที่ของผูใหบริการ หรือบุคคลใดมาใหขอมูล หรอื สงเอกสารหรือหลกั ฐานใด ๆ เกีย่ วกับการประกอบธุรกิจการใหบ ริการนน้ั (๒) ตรวจสอบและรวบรวมขอเท็จจริงเพื่อรายงานตอคณะกรรมการ ในกรณีท่ี ผูใหบริการไดกระทำความผิดหรือทำใหเกิดความเสียหายเพราะเหตุฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามพระราชกฤษฎีกา ประกาศของคณะกรรมการ หรือเงื่อนไขใน ใบอนุญาต (๓) เขาไปในสถานที่ของผูใหบริการในระหวา งเวลาพระอาทิตยขึ้นจนถึงพระอาทิตยตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น เพื่อตรวจสอบและรวบรวมขอเท็จจริง และยึดหรืออายัด ๒๔ มาตรา ๓๔/๑ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดวยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 45 ๒๕ มาตรา ๓๔/๒ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดวยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์
๑๗ เอกสารและหลักฐาน รวมถึงสิ่งอื่นใดที่เกี่ยวกับการใหบริการที่สงสัยวามีไวเพื่อใชหรือไดใช ในการกระทำความผิด ในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรานี้ ใหแสดงบัตรประจำตัวพนักงาน เจาหนาที่ที่หนวยงานของรัฐหรือสำนักงานที่มีหนาที่ควบคุมดูแลออกให และใหผูที่เกี่ยวของ อำนวยความสะดวกตามสมควร หมวด ๓/๑ ระบบการพสิ ูจนและยืนยนั ตัวตนทางดิจทิ ัล๒๖ มาตรา ๓๔/๓๒๗ การพิสูจนและยืนยันตัวตนของบุคคลอาจกระทำผานระบบการพิสูจน และยนื ยนั ตวั ตนทางดิจทิ ลั ได ผูใดประสงคจะอาศัยการพิสูจนและยืนยันตัวตนของบุคคลอื่นผานระบบการพิสูจนและ ยืนยันตัวตนทางดิจิทัลอาจแจงเงื่อนไขเกี่ยวกับความนาเชื่อถือของการพิสูจนและยืนยันตัวตน ทางดิจิทัลทตี่ อ งใชใหบุคคลอน่ื น้นั ทราบเปนการลว งหนา และเมือ่ ไดมกี ารพสิ ูจนและยืนยันตัวตน ทางดิจิทัลตามเง่ือนไขดังกลาวแลว ใหสันนิษฐานวาบุคคลท่ีไดรบั การพสิ ูจนและยืนยันตัวตนเปน บุคคลนน้ั จรงิ เงื่อนไขเกี่ยวกับความนาเชื่อถือของการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัลตามวรรคสอง ตองมีมาตรฐานไมต่ำกวาที่คณะกรรมการหรือคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔/๔ วรรคสอง แลวแตกรณี ประกาศกำหนด โดยมีหลักประกันการเขาถึงและการใชประโยชนของประชาชน โดยสะดวกและไมเ ลอื กปฏบิ ตั ิ มาตรา ๓๔/๔๒๘ ในกรณีที่จำเปนเพื่อรักษาความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย หรือเพื่อประโยชนในการเสริมสรางความนาเชื่อถือและยอมรับในระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตน ทางดจิ ทิ ัล หรือเพ่อื ปองกันความเสียหายแกสาธารณชน ใหมกี ารตราพระราชกฤษฎีกากำหนดให การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับระบบการพิสูจนและยนื ยนั ตัวตนทางดิจิทลั ใดเปนการประกอบ ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ สที่ตองไดรับใบอนุญาตกอน และใหนำบทบัญญตั ิ ในหมวด ๓ ธุรกิจบริการเก่ยี วกบั ธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส มาใชบ งั คับโดยอนุโลม พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งอาจกำหนดใหมกี ารจัดต้ังคณะกรรมการขึ้นมาคณะหน่ึง เพื่อทำหนาที่ประกาศกำหนดหลักเกณฑที่ผูประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับระบบการพิสูจนและ ยืนยันตัวตนทางดิจิทัลจะตองปฏิบัติ และใหมีอำนาจพิจารณามีคำสั่งและดำเนินการอื่นใดตาม ๒๖ หมวด ๓/๑ ระบบการพิสูจนและยืนยนั ตัวตนทางดิจทิ ัล มาตรา ๓๔/๓ และมาตรา ๓๔/๔ เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั ิ วาดวยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๗ มาตรา ๓๔/๓ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตวิ าดวยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๘ มาตรา ๓๔/๔ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั วิ าดวยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 46
๑๘ มาตรา ๓๔ ในกรณีที่ผูไดรับใบอนุญาตฝาฝนหรือปฏิบัติไมถูกตองตามหลักเกณฑการประกอบ ธรุ กิจกไ็ ด หมวด ๔ ธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ สภาครัฐ มาตรา ๓๕ คำขอ การอนุญาต การจดทะเบียน คำสั่งทางปกครอง การชำระเงิน การประกาศหรือการดำเนินการใด ๆ ตามกฎหมายกับหนวยงานของรัฐหรือโดยหนวยงานของรัฐ ถาไดกระทำในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดโดย พระราชกฤษฎีกา ใหนำพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับและใหถือวามีผลโดยชอบดวยกฎหมาย เชนเดียวกับการดำเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายในเรื่องนั้นกำหนด ทั้งนี้ ในพระราชกฤษฎีกาอาจกำหนดใหบุคคลที่เกี่ยวของตองกระทำหรืองดเวนกระทำการใด ๆ หรือ ใหห นวยงานของรฐั ออกระเบียบเพือ่ กำหนดรายละเอียดในบางกรณดี ว ยก็ได ในการออกพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ง พระราชกฤษฎีกาดังกลาวอาจกำหนดให ผปู ระกอบธรุ กจิ บรกิ ารเกย่ี วกบั ธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกสต องแจงใหทราบ ตองขนึ้ ทะเบียน หรือ ตอ งไดรบั ใบอนญุ าต แลวแตกรณี กอนประกอบกจิ การก็ได ในกรณีนี้ ใหนำบทบญั ญตั ิในหมวด ๓ และบทกำหนดโทษท่เี กยี่ วของมาใชบ งั คับโดยอนุโลม เมื่อไดมีการตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งแลว ศาลหรือองคกรตามรัฐธรรมนูญ อาจพิจารณานำหลักเกณฑในเรื่องใดที่กำหนดไวตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาวมาใชบังคับแก การดำเนินการในสวนที่เกี่ยวกับกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีของศาลหรือในการวินิจฉัยชี้ขาด ขอพิพาทแลวแตกรณี เพื่อใหเปนไปตามความเหมาะสมกับหนาที่และอำนาจของตนตาม กฎหมายได รวมถึงการกำหนดหลักเกณฑเพิ่มเตมิ ดวย ทั้งนี้ โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา๒๙ หมวด ๕ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส มาตรา ๓๖๓๐ ใหมีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสคณะหนึ่ง ประกอบดวย ประธานกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมเปนรองประธานกรรมการ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิอื่นซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ัง จำนวนแปดคน ใหผูอำนวยการเปนกรรมการและเลขานุการ และแตงตั้งพนักงานของสำนักงานเปน ผูช ว ยเลขานกุ ารไดตามความจำเปนแตไ มเกนิ สองคน ๒๙ มาตรา ๓๕ วรรคสาม เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั วิ าดว ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓๐ มาตรา ๓๖ แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัติวา ดว ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 47
๑๙ ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ตองเปนบุคคลที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ และความสามารถเปนที่ประจักษดานการเงิน ดานการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ดานนิติศาสตร ดานวิทยาการคอมพิวเตอร ดานวิทยาศาสตรหรือวิศวกรรมศาสตร ดานสังคมศาสตร หรือดานอื่นใดที่เปนประโยชนตอการดำเนินงานของคณะกรรมการ ทั้งนี้ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตองประกอบดวยบุคคลซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงาน ของรัฐที่มีตำแหนงหรือเงินเดือนประจำรวมเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิดวยไมนอยกวากึ่งหน่ึง ของจำนวนกรรมการผทู รงคุณวุฒทิ ง้ั หมด หลักเกณฑและวิธีการไดมาซึ่งประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหเปนไป ตามระเบียบทร่ี ัฐมนตรีกำหนด มาตรา ๓๗๓๑ ใหคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสมีหนาที่และอำนาจ ดังตอ ไปน้ี (๑) พิจารณาใหความเห็นชอบแผนยุทธศาสตรเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ทสี่ ำนักงานเสนอตามมาตรา ๔๓ วรรคสอง (๒) สงเสริมและสนับสนุนหนวยงานของรัฐ เอกชน และประชาชนใหดำเนินกิจกรรม ตามแผนยทุ ธศาสตรตาม (๑) (๓) กำหนดมาตรฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัลในสวนที่เกี่ยวของกับธุรกรรม ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (๔) กำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตรตาม (๑) เพื่อรวบรวมขอมูล และปญหาเกยี่ วกับการทำธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ สท่สี งผลกระทบตอการดำเนนิ การและพัฒนา ทางเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื เสนอตอคณะกรรมการดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ (๕) เสนอแนะตอคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและ คณะรัฐมนตรีในการจัดใหมีหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส และการคุมครองทรัพยสินทางปญญาเกี่ยวกับการทำธุรกรรม ทางอเิ ล็กทรอนิกส (๖) เสนอแนะหรือใหคำปรึกษาตอรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกาตาม พระราชบัญญัตินี้ (๗) ออกระเบียบหรือประกาศเพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชน ในการสงเสรมิ และสนับสนุนการทำธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (๘) กำกับดูแลการประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสตาม พระราชบัญญตั นิ ้ี (๙) ปฏิบัติการอืน่ ใดเพอื่ ใหเปน ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ หรอื กฎหมายอืน่ ๓๑ มาตรา ๓๗ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั วิ าดว ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 48 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
๒๐ ในการปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามหนาที่และอำนาจตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการ มีหนังสือเรียกหนวยงานของรัฐหรือบุคคลใดมาชี้แจง ใหขอเท็จจริง หรือมาใหถอยคำหรือ สงเอกสารหลกั ฐานที่เกี่ยวขอ งเพ่อื ประกอบการดำเนนิ งานได ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ใหคณะกรรมการเปนเจาพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๘๓๒ ประธานกรรมการและกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิมีวาระการดำรงตำแหนงส่ีป เมื่อครบกำหนดวาระตามวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการแตงตั้งประธานกรรมการและ กรรมการผทู รงคณุ วุฒิข้ึนใหม ใหประธานกรรมการและกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิซึ่งพน จากตำแหนง ตามวาระนั้นอยูในตำแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาประธานกรรมการและ กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับแตงตั้งใหมเขารับหนาที่ แตตองไมเกินเกาสิบวันนับแตวันที่ ประธานกรรมการและกรรมการผทู รงคุณวฒุ ิพน จากตำแหนง ตามวาระนั้น มาตรา ๓๙๓๓ นอกจากการพนจากตำแหนง ตามวาระตามมาตรา ๓๘ ประธานกรรมการ และกรรมการผูท รงคุณวุฒิพน จากตำแหนง เมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพรองหรือไมสุจริต ตอ หนา ทีห่ รอื หยอ นความสามารถ (๔) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรค วามสามารถ (๕) ไดรับโทษจำคุกโดยตองคำพิพากษาถึงที่สดุ ใหจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับความผิด ท่ไี ดกระทำโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ มาตรา ๔๐๓๔ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตำแหนง กอนวาระ ใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการเทาที่เหลืออยู และใหดำเนินการแตงตั้ง ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิแทนตำแหนงที่วางภายในหกสิบวันนับแตวันที่ ตำแหนงวางลง เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงเกาสิบวัน และใหผูที่ไดรับแตงตั้งใหดำรง ตำแหนงแทนอยูใ นตำแหนงเทากับวาระทเี่ หลอื อยขู องผซู ึ่งตนแทน มาตรา ๔๑ การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึง่ หน่ึง ของจำนวนกรรมการทง้ั หมดจงึ เปน องคป ระชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหคณะกรรมการเลือก กรรมการคนหน่ึงทำหนาทปี่ ระธานในท่ีประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหน่ึง ในการลงคะแนน ถาคะแนนเสยี งเทากันใหป ระธานออกเสียงเพ่มิ ขนึ้ อีกเสยี งหนง่ึ เปน เสยี งชี้ขาด ๓๒ มาตรา ๓๘ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิวา ดว ยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓๓ มาตรา ๓๙ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั วิ า ดว ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓๔ มาตรา ๔๐ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัตวิ าดว ยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 464
Pages: