Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ວິຊາ การขนถ่ายวัสดุ

ວິຊາ การขนถ่ายวัสดุ

Published by lavanh5579, 2021-08-24 08:46:58

Description: ວິຊາ การขนถ่ายวัสดุ

Search

Read the Text Version

16 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การขนถ่ายวัสดุ 1.9 การกาหนดเส้นทางลาเลียง ลกั ษณะของการเคลื่อนยา้ ยหรอื ลกั ษณะของการลาเลียง สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 4 สว่ น คือ 1.9.1 เสน้ ทางการลาเลยี ง (the path traveled) เส้นทางการลาเลียงเป็นการกาหนดระดับความสูง การกาหนดทิศทางมุมเอียงท่ีวัดอ้างอิงเส้นใน แนวนอน เช่น เส้นทางลาเลียงในแนวนอน เส้นทางลาเลียงในแนวดิ่ง เส้นทางลาเลียงขึ้น -ลงพื้นเอียง เสน้ ทางลาเลียงเป็นเส้นตรง และเสน้ ทางลาเลียงเปน็ เส้นโค้ง ดงั สามารถแดงไดใ้ นรูปที่ 1.11 รูปที่ 1.11 เสน้ ทางการลาเลียงวสั ดุ (ทีม่ า : อภิชาติ ศรีชาต,ิ 2559) 1.9.2 การบังคับเสน้ ทาง (the course followed) การบังคับเส้นทางในการลาเลียงเป็นการบอกทิศทางการลาเลียงที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น เสน้ ทางการลาเลียงที่กาหนดไว้ตายตัว ได้แก่ รางรถไฟที่ใช้ในการลาเลียงซ่ึงจะบอกต้นทางและปลายทางที่ แน่นอน ส่วนการใช้รถเข็นจะไม่มีการกาหนดเส้นทางท่ีแน่นอน ผู้ควบคุมสามารถกาหนดได้เองตามความ ต้องการ ดังสามารถแดงไดใ้ นรูปที่ 1.12 รปู ท่ี 1.12 การบังคบั เส้นทางในการลาเลยี ง (ทม่ี า : อภิชาติ ศรชี าต,ิ 2559) 1.9.3 ประเภทของการเคลอ่ื นที่ (the kind of motion) ประเภทของการเคล่ือนท่ีเป็นการลาเลียงวัสดุด้วยความเร็วในระดับปานกลาง ดังสามารถแดงได้ ในรปู ท่ี 1.13 และสามารถแยกออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ดงั นี้ อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

17 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกบั การขนถ่ายวสั ดุ 1. การเคลื่อนที่แบบต่อเนื่อง เป็นการเคล่ือนที่ท่ีตาแหน่งปลายทางอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกัน และต่อเชื่อมกันไปเร่ือย ๆ เปน็ วงจร 2. การเคลื่อนท่ีไม่ต่อเนื่อง เป็นการเคลื่อนท่ีไปแล้วหยุดโดยไม่มีการระบุระยะทางที่ แนน่ อน 3. การเคลอื่ นทสี่ ่งตอ่ เป็นการเคล่ือนทีล่ าเลียงวัสดไุ ปแลว้ กลบั เปน็ การเคล่ือนทเ่ี พียงสอง ตาแหน่ง เชน่ ลิฟตข์ ้นึ -ลง รางเขยา่ หรอื ระบบผลักดันวสั ดุ เปน็ ต้น รูปท่ี 1.13 การบังคับเสน้ ทางในการลาเลยี ง (ที่มา : อภิชาติ ศรชี าต,ิ 2559) 1.9.4 การเคลอ่ื นย้ายแบบผสมผสาน (the mixing of motion) การเคล่ือนท่ีแบบผสมผสานและอุปกรณ์ลาเลียงวัสดุท่ีเกิดจากการผสมผสานกันเพ่ือให้เกิดความ สะดวกมากยิง่ ขนึ้ เพราะจะลาเลียงในทิศทางเดียวไม่ไดจ้ ะต้องผสมทศิ ทางอ่นื ๆ ไปด้วย จงึ ถือได้ว่าเป็นการ ผสมผสานเพ่ือให้สะดวกสาหรับการใช้งาน ซึ่งเครือ่ งมือที่มกี ารเคล่ือนย้ายแบบผสมผสานสามารถแบ่งออก ได้เปน็ 4 กลมุ่ ดังนี้ 1. เคร่ืองมือขนส่ง (transporting equipment) เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเพ่ือทาการขนส่ง ไดท้ ัง้ ในเส้นทางตรง เส้นทางโคง้ เสน้ ทางแนวระนาบ เส้นทางพืน้ เอยี ง และเส้นทางผสมผสาน 2. เคร่ืองมือยก (elevating equipment) เปน็ เครอ่ื งมือที่ถูกออกแบบให้สามารถลาเลียง ในแนวด่งิ ซึง่ ผสมการเคลอื่ นทท่ี ัง้ แบบต่อเน่ือง แบบไมต่ อ่ เนอื่ ง และแบบเคลื่อนทีส่ ง่ ต่อ 3. เครื่องมือลาเลียง (conveying equipment) เป็นเคร่ืองมือท่ีประกอบข้ึนด้วยการ กาหนดขนาดของแรง ขนาดของมอเตอร์ขับ เพ่ือลาเลียงตามเส้นทางตรงและเส้นทางโค้ง ทั้งแบบบังคับ ทศิ ทางและแบบไม่บงั คบั ทิศทาง เป็นต้น 4. เคร่ืองมือถ่ายเท (transferring equipment) เป้นกลุ่มของเคร่ืองมือที่เน้นการบรรทุก ยกในเสน้ ทางทต่ี ายตัว และการเคลอื่ นทมี่ ลี กั ษณะเคล่อื น ๆ หยุด ๆ เป็นช่วง ๆ 1.10 ชนิดของเคร่อื งมอื และอปุ กรณล์ าเลียงวัสดุ 1.10.1 เครื่องมือลาเลยี งทั่วไป การแบ่งชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ลาเลียงวัสดจะอาศัยความแตกต่างของหน้าที่การทางาน ดงั สามารถแสดงได้ดังตารางท่ี 1.2 โดยรายละเอียดจะประกอบไปด้วย ลักษณะของการลาเลยี งและหน้าที่ หลกั ของเครือ่ งมือ อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

18 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ ความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกับการขนถ่ายวสั ดุ เคร่ืองมือท่ีนามาใช้ในการลาเลียงวัสดุจะมีลักษณะเฉพาะตัว เช่น อุปกรณ์บางตัวสามารถจับหมุน วัสดุไปพร้อม ๆ กับการลาเลียงวสั ดุ และมีทิศทางท่ีไม่แน่นอน ส่วนเส้นทางการลาเลียงท่ีบังคับไว้แล้วก็จะ เป็นเครอื่ งมอื ประเภทสายพานลาเลยี ง เครน หรือรางเลือ่ นต่าง ๆ เคร่ืองมือท่ีสามารถป้อน-จ่ายวัสดุด้วยตัวเองจะอาศัยการออกแบบกลไกในการยกเท การส่งต่อ หรือการจับวางโดยท่ีวัสดุไม่เกิดความเสียหาย นอกจากน้ีการรวมหน่วยวัสดุบนแผ่นรองวาง เครื่องมือ ลาเลียงจะต้องติดตั้งอุปกรณ์เสริมเพื่อจับยึดวัสดุให้เป็นหน่วยเดียวกัน ไม่แยกหรือกระจายออกจากกันใน ขณะท่ที าการลาเลียงวสั ดุ ตารางท่ี 1.2 ชนดิ ของเครอ่ื งมอื และอปุ กรณล์ าเลยี งวัสดุ ลักษณะ การ เส้นทางการลาเลยี ง การบงั คับ ประเภทของการ บรรทกุ เส้นทาง เคลอ่ื นท่ี หน้าท่กี ารทางาน ตามรูปแบบ ตาม แผนงาน หลกั ของเคร่ืองมือ รอง ัรบ นาพาไป แนวนอน แนว ่ดิง ระนาบ ื้พนเอียงข้ึน ระนาบ ้พืนเอียงเอง แนวเ ้สนตรง แนวเส้นโค้ง ับง ัคบเ ้สนทาง ไม่ ับงคับเส้นทาง ต่อเ ื่นอง ไ ่ม ่ตอเน่ือง ่สงต่อ เครอ่ื งมอื ขนส่ง   ● ●  เครอ่ื งมือยก  ● ●   เครื่องมอื ลาเลียง    ●       เครอ่ื งมือถา่ ยเท   เครื่องมือป้อน-จ่าย วัสดดุ ว้ ยตัวเอง     ● ●    ท่ีมา : http://www.pnkreis.com หมายเหตุ ● ไมแ่ นะนาใหใ้ ช้ กระบวนการผลิตต่อเน่ืองที่มีวัสดุเป็นจานวนมาก เมื่อต้องการลาเลียงวัสดุจะต้องอาศัยเทคนิคใน การวางระบบเพื่อจัดการกับวัสดุหรือสินค้าท่ีต้องจาหน่ายและกระจายไปท่ัวโลก การลาเลียงวัสดุจะเป็น ตัวอย่างในการทาให้ประสานกันหรือช่วยในการทางานร่วมกันสมบูรณ์มากข้ึน เคร่ืองมือลาเลียงวัสดุมี มากมายหลายชนิด ผู้ท่ีทาหน้าที่ออกแบบและเลือกอุปกรณ์จะต้องมีองค์ความรู้และทาให้การออกแบบ เลือกเคร่ืองมือตรงตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน อย่างไรก็ตามเครื่องมือต่าง ๆ สามารถแยกกลุ่มได้ตาม หนา้ ทก่ี ารทางานไดด้ ังต่อไปนี้ 1. เครื่องมือขนส่ง มีทั้งการลาเลียงวัสดุแบบบังคับเส้นทางและแบบไม่บังคับเส้นทาง ดัง สามารถแสดงได้ดังรูปท่ี 1.14 – 1.16 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

19 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกับการขนถ่ายวสั ดุ รปู ท่ี 1.14 เคร่อื งมือขนส่งท่ีมีเส้นทางขนสง่ ที่ไม่แน่นอน (ท่ีมา : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) รปู ที่ 1.15 เครอื่ งมือขนสง่ ท่ีใช้แรงงานคน มีเส้นทางขนส่งที่ไม่แนน่ อน (ที่มา : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) รปู ท่ี 1.16 อุปกรณข์ นสง่ ด้วยเคร่อื งยนต์ มีเสน้ ทางขนสง่ ท่ีไม่แนน่ อน (ท่ีมา : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 2. เคร่ืองมือลาเลียง แยกออกได้เป็นการเคลื่อนที่ต่อเนื่องและการเคล่ือนที่ส่งต่อ ดัง สามารถแสดงไดด้ ังรปู ที่ 1.17 อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

20 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ ความรเู้ บ้ืองต้นเกยี่ วกับการขนถา่ ยวัสดุ รปู ท่ี 1.17 เคร่ืองมือลาเลียงวัสดุอย่างต่อเนอ่ื ง (ท่มี า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 3. เครื่องมือยก แยกเป็นแบบใช้แรงโน้มถ่วงและใช้กาลังจากมอเตอร์ ดังสามารถแสดงได้ ดังรูปท่ี 1.18 – 1.23 รปู ท่ี 1.18 เครือ่ งมือยกวัสดใุ นแนวดิ่งแบบต่อเนือ่ ง รปู ท่ี 1.19 เครอื่ งมือยกวัสดใุ นแนวดง่ิ แบบไมต่ ่อเนื่อง (ทม่ี า : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com,2559) (ทีม่ า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com,2559) รูปท่ี 1.20 เครือ่ งมือลาเลียงวัสดใุ นแนวด่งิ รปู ที่ 1.21 เครือ่ งมือลาเลียงวสั ดุตามรางแขวน (ท่ีมา : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com,2559) (ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com,2559) อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี

21 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั การขนถ่ายวสั ดุ รูปท่ี 1.22 เครนยกวัสดใุ นแนวด่ิง (ท่มี า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) รปู ที่ 1.23 เครนยกที่ตดิ ตงั้ กับรถบรรทุก (ทีม่ า : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 4. เคร่ืองมือถ่ายเท แยกเป็นแบบเหนือศีรษะท้ังบังคับรางวิ่งและจากัดพื้นที่ใช้งาน ดัง สามารถแสดงไดด้ งั รปู ที่ 1.24 อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

22 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกบั การขนถา่ ยวสั ดุ รปู ท่ี 1.24 เคร่ืองมือถ่ายเทใชใ้ นกรณที ี่งานมขี ้อจากัดด้านพื้นที่ (ท่มี า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 5. เครื่องมอื ปอ้ น-จ่ายวัสดดุ ้วยตัวเอง สามารถลาเลยี งวัสดุได้โดยถาดและแผ่นรองวาง ดัง สามารถแสดงไดด้ ังรปู ท่ี 1.25 – 1.27 รปู ท่ี 1.25 รางลาเลยี งวัสดุ (ทมี่ า : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) อภิชาติ ศรีชาติ รปู ที่ 1.26 รางเอียงลาเลยี งวัสดุ (ท่ีมา : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

23 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ ความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกบั การขนถ่ายวัสดุ รปู ที่ 1.27 อปุ กรณใ์ นการจัดวางวัสดุ (ทม่ี า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 1.10.2 เคร่ืองมอื ลาเลยี งอเนกประสงค์ เม่ือต้องการออกแบบเลือกเคร่ืองมือท่ีใช้ในการลาเลียงวัสดุ จะเร่ิมต้นจากข้อมูลของผลิตภัณฑ์ เชน่ น้าหนกั วสั ดุ ขนาดความกว้าง-ยาว จุดศูนย์รวมของนา้ หนัก เปน็ ต้น เครื่องมือลาเลยี งท่ีเลือกควรจะใช้ งานได้อย่างอเนกประสงค์เพ่ือความคุ้มค่าต่อการลงทุน แผนกจัดซื้อควรศึกษาข้อมูลและข้อกาหนดในการ ใช้งานก่อนการตัดสินใจ ดังสามารถแสดงได้ดังรูปท่ี 1.28 – 1.30 สามารถแยกรายละเอียดเคร่ืองมือและ อปุ กรณท์ ่ีใช้ในการลาเลยี ง ดงั น้ี 1. เครอ่ื งมือลาเลียงวัสดุท่ีมีความอเนกประสงค์สามารถแยกเป็นส่วน ๆ ตามลักษณะของ บรรจุภัณฑ์ เช่น เครื่องมือสาหรับลาเลียงกล่องขนาดกลาง ถังทรงกระบอก ถงั เบียร์ ตะกรา้ ขวดขนาดใหญ่ ถุงกระดาษ และกระสอบ เปน็ ตน้ 2. เคร่อื งมือลาเลียงวสั ดุพเิ ศษ เช่น ขนาดใหญม่ าก มนี า้ หนักมาก มลี ักษณะเป็นแผน่ วสั ดุ เป็นทอ่ ยาว เป็นต้น การออกแบบเลอื กเครอ่ื งมอื ลาเลียงกจ็ ะเปน็ แบบเฉพาะงาน 3. เคร่ืองมือลาเลียงวัสดุท่ีจัดอยู่ในกลุ่มของเคร่ืองมือขนส่งที่ใช้งานอย่างอเนกประสงค์ เชน่ รถบรรทกุ รถว่งิ ตามราง รถไฟในโรงงาน รถเข็น รถเขน็ กาลังขับในตัว เปน็ ต้น 4. เคร่ืองลาเลียงวัสดุที่จัดอยู่ในกลุ่มของการขนส่งตามแนวดิ่ง เช่น เครน ป้ันจ่ัน รถยก เป็นต้น โดยมักจะติดตงั้ ตะขอสาหรบั เก่ยี วยกด้วยการนาวสั ดุมามดั รวมกนั 5. เครื่องมือลาเลียงวัสดุท่ีลาเลียงโดยอาศัยความเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างเคร่ืองมือกับ วัสดุ เช่น สายพานลาเลยี ง โซ่แบบแผ่นระนาด (slat) รางว่ิง (chutes) รางลกู กล้งิ เปน็ ตน้ 6. เคร่ืองมือลาเลียงวัสดุประเภทส่งต่อ นิยมทาเป็นรางวิ่งอาจจะเป็นรางเดียว (monorail) หรอื ใช้โซแ่ ขวนเพ่ือตดิ ตง้ั อุปกรณ์จดั ยึดวัสดุ อภิชาติ ศรชี าติ รูปที่ 1.28 รถเข็นอเนกประสงค์ (ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

24 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกบั การขนถ่ายวสั ดุ รูปที่ 1.29 รถยกอเนกประสงค์ (ที่มา : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) รปู ที่ 1.30 รถบรรทุกอเนกประสงค์ (ทีม่ า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 1.10.3 แผน่ รองวาง (Pallets) แผ่นรองวางอาจแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามการใช้งาน คือ แบบใช้งานแล้วทิ้ง แบบใช้งานทั่วไปและ แบบแผ่นรองเฉพาะงาน ซึ่งขึ้นอยู่กับราคาต้นทุนการผลิต ขนาดของแผ่นรองวางมาตรฐาน JIS จะกาหนด ความกว้างและความยาวในหน่วยมิลลิเมตร ดังแสดงในตารางที่ 1.3 และสามารถแบ่งชนิดตามมาตรฐาน JIS Z0604 โดยจะอาศัยรหสั อกั ษรในกากบั ดงั สามารถแสดงรูปร่างของแผ่นรองวางได้ดงั รูปที่ 1.31 อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

25 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ ความรูเ้ บือ้ งต้นเก่ียวกับการขนถา่ ยวสั ดุ ตารางท่ี 1.3 ขนาดแผน่ รองวางมาตรฐาน (JIS Z0604) ความกวา้ งของแผ่นรองวาง ความยาวของแผน่ รองวาง (mm) (mm) **800, 1,000 1,100, 800 800, 1,200 1,200, 800 1,100, 1,100 1,100, 900 1,000, 1,200 1,200, 1,000 **1,100 1,100, 1,400 1,100 1,400, 1,100 ทม่ี า : http://www.pnkreis.com หมายเหตุ ** หมายถงึ ขนาดทนี่ ยิ มใช้ในท้องตลาด อักษร ความหมาย อกั ษร ความหมาย อกั ษร ความหมาย แผ่นรองวางแบบหน้า S เดยี ว D แบบใชง้ านครง้ั เดียว R แบบนากลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ S4 แผน่ รองวางหนา้ เดียว 4 D4 แบบใชง้ านได้ 4 ทศิ ทาง R4 แบบใช้งานได้ 4 ทศิ ทาง ทศิ ทาง และใช้ครั้งเดยี ว และนากลบั มาใชใ้ หม่ได้ แผ่นรองวางหน้าเดียว แบบใชง้ านครง้ั เดียว แบบปกี ยืน่ สองหน้าและ SU ปกี ยื่นหน้าเดยี ว DU และปีกยน่ื หนา้ เดยี ว RW นากลับมาใชใ้ หม่ได้ รูปท่ี 1.31 การแบง่ ชนดิ ของแผน่ รองวางตามมาตรฐาน JIS (ท่มี า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

26 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ ความรู้เบือ้ งตน้ เก่ียวกับการขนถา่ ยวัสดุ รปู ที่ 1.32 ประเภทของแผ่นรองวาง (ท่มี า : ดดั แปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) นอกจากการแบ่งประเภทตามลักษณะการใช้งานแล้ว ประเภทของแผ่นรองวางยังสามารถแยกได้ ตามวัสดุทใ่ี ชท้ าแผน่ รองวางได้ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แผ่นรองวางจากไม้ (wooden pallets) ถือว่าไดร้ บั ความนิยมมากทส่ี ุดเพราะมีน้าหนัก เบาและยังสามารถซ่อมแซมไดง้ า่ ย ดังสามารถแสดงรปู รา่ งของแผ่นรองวางไดด้ ังรปู ที่ 1.32 (ก) 2. แผ่นรองวางจากเหล็ก (steel pallets) ใช้ในกรณีที่ต้องการความแข็งแรงมาก ๆ แผ่น รองวางจะมีน้าหนักมาก ราคาสูง และยุ่งยากในการซ่อมบารุง ดังสามารถแสดงรูปร่างของแผ่นรองวางได้ ดงั รูปท่ี 1.32 (ข) 3. แผ่นรองวางจากพลาสติก (plastic pallets) จะมีน้าหนักเบาและสะอาดเพราะ สามารถทาความสะอาดไดง้ า่ ย จึงเหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร ดังสามารถแสดงรปู ร่างของแผ่นรองวางได้ ดงั รปู ที่ 1.32 (ค) 4. แผ่นรองวางจากอะลูมิเนียม (aluminium pallets) จะมีน้าหนักเบามากและอายุการ ใช้งานยาวนาน แต่จะไม่เหมาะกับงานสนาม มักใช้กับอุตสาหกรรมอาหารมาตรฐาน ดังสามารถแสดง รูปรา่ งของแผ่นรองวางได้ดังรปู ท่ี 1.32 (ง) 5. แผ่นรองวางจากกระดาษ (paper pallets) จะเหมาะสมกับการใช้งานเพียงคร้ังเดียว อีกทั้งยังเน้นเรื่องสภาพแวดล้อมและการนากระดาษใช้แล้วนากลับมาแปรรูปใหม่ ดังสามารถแสดงรูปร่าง ของแผ่นรองวางได้ดังรูปท่ี 1.32 (จ) 1.10.4 รถเข็นยกระบบไฮดรอลิก กลไกรถเข็นยกจะมีข้อดี เพราะการทางานอาศัยหลักหลักพื้นฐานของคานสมดุล และใช้แรงน้อย ในการยกวสั ดุ กลไกจะมี 2 ระบบ คือ ใชเ้ ทา้ และใช้คันโยกเพ่อื ป๊ัมนา้ มันไฮดรอลิก ข้อดีคือ ระบบกลไกไม่ซับซ้อน ง่ายต่อการลาเลียง ส่วนด้ามสามารถปรับความสมดุลได้ น้าหนัก บรรทกุ อยู่ในชว่ ง 450 – 9,000 กิโลกรมั ดงั สามารถแสดงไดด้ ังรปู ที่ 1.33 อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

27 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ ความรเู้ บือ้ งต้นเกยี่ วกับการขนถา่ ยวสั ดุ รูปท่ี 1.33 รถเข็นยกระบบไฮดรอลิก (ทีม่ า : ดัดแปลงจาก http://www.pnkreis.com, 2559) 1.11 บทสรปุ การขนถ่ายมีบทบาทท่ีสาคญั ท่ีสนับสนุนกระบวนการผลิต เร่ิมตน้ ตง้ั แต่การนาวัตถุดิบมายังโรงงาน สง่ ผ่านไปยงั กระบวนการผลิตจนได้เป็นผลิตภัณฑ์ต้องมีการเคลอื่ นท่ี หากขาดการเคลอื่ นที่การผลิตยอ่ มไม่ อาจเกิดขึ้นได้เลย ซ่ึงปัจจัยการผลิตท่ีเคลื่อนที่อาจจะเป็นคน วัสดุ หรือเคร่ืองจักร การเคลื่อนท่ีของปัจจัย การผลิต หลักการสาคัญก็คือทาอย่างไรจึงจะทาให้การเคล่ือนที่หรือการขนถ่ายน้ันเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ซ่ึงเป็นสิ่งที่จะต้องคานึงถึงตลอดเวลาเพราะปัญหาด้านการขนถ่ายวัสดุมักจะเกิดข้ึนใน โรงงานเสมอ การจัดการการขนถ่ายวัสดุไม่ได้มุ่งหวังที่จะกาจัดปัญหาการขนถ่ายให้หมดไปแต่เป็นการ พยายามลดปัญหาใหน้ ้อยลง ทาใหก้ ารขนถ่ายเปน็ ไปอย่างสะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั และประหยดั การขนถ่ายวัสดุ (Materials Handling) หมายถึง การจัดเตรียมสถานท่ีและตาแหน่งของวัสดุเพื่อ อานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายหรือเก็บรักษา ซ่ึงการที่จะทาให้เกิดส่ิงเหล่านี้ได้ ต้องอาศัยศิลปะใน การสรรหาเครื่องมือและอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุมาใช้ให้เหมาะสมกับงาน องค์ประกอบของการขนถ่าย วสั ดุมี 4 ประการ คอื การเคลอื่ นที่ (Motion) เวลา (Time) ปรมิ าณ (Quantity) และเน้อื ท่ี (Space) วิธีการขนถ่ายวัสดุ หมายถึง วิธีการใช้ในการเคลื่อนย้ายวัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ จากจุดต้นทางสู่จุด ปลายทาง มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ ระบบ (Systems) อุปกรณ์ (Equipment) และหน่วย รองรับ (Transport units) การเลือกเคร่ืองมือขนถ่ายวัสดุที่ดีและเหมาะสม จะช่วยให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ ลด ต้นทุนการผลิต ยิ่งถ้าการค้ามีการแข่งขันสูง ผู้ประกอบการต้องคานึงถึงต้นทุน เพราะต้นทุนจากอุปกรณ์ การขนถ่ายวัสดุมีมากถึง 30 % ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด ในการลาเลียงวัสดุจากตาแหน่งหน่ึงไปยังอีก ตาแหน่งหนึ่ง จะต้องมีการวิเคราะห์และวางแผนปฏิบัติงานโดยแผนที่วางนั้นจะต้องคานึงถึงปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยประกอบการตัดสินใจเลือกเคร่ืองมือลาเลียงวัสดุ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เช่น ลักษณะของ วัสดุหรอื ผลิตภัณฑ์ ลักษณะพ้ืนที่ทางาน สภาวะแวดล้อม ประเภทของอุตสาหกรรม หน้าท่ีการทางานของ เครื่องมอื ลาเลยี งวสั ดแุ ละวธิ ีการลาเลียงวัสดุ การกาหนดเส้นทางลาเลียง สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน คือ เส้นทางการลาเลียง (the path traveled) การบังคับเสน้ ทาง (the course followed) ประเภทของการเคล่ือนที่ (the kind of motion) อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

28 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การขนถ่ายวสั ดุ และการเคลื่อนย้ายแบบผสมผสาน (the mixing of motion) การแบ่งชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ ลาเลียงวัสดจะอาศัยความแตกต่างของหน้าท่ีการทางาน ปัจจัยที่เก่ียวข้องคือลักษณะของการลาเลียงและ หน้าท่ีหลกั ของเคร่ืองมอื เครื่องมือที่นามาใช้ในการลาเลยี งวัสดุจะมีลักษณะเฉพาะตัว เช่น อุปกรณ์บางตัว สามารถจับหมุนวัสดุไปพร้อม ๆ กับการลาเลียงวัสดุ และมีทิศทางที่ไม่แน่นอน ส่วนเส้นทางการลาเลียงท่ี บังคับไว้แล้วก็จะเป็นเคร่ืองมือประเภทสายพานลาเลียง เครน หรือรางเลื่อนต่าง ๆ เครื่องมือท่ีสามารถ ป้อน-จ่ายวัสดุด้วยตัวเองจะอาศัยการออกแบบกลไกในการยกเท การส่งต่อ หรือการจับวางโดยท่ีวัสดุไม่ เกิดความเสียหาย นอกจากน้กี ารรวมหน่วยวัสดุบนแผ่นรองวาง เครอื่ งมอื ลาเลยี งจะต้องติดต้งั อุปกรณเ์ สริม เพอื่ จับยดึ วัสดุใหเ้ ป็นหน่วยเดยี วกัน ไม่แยกหรอื กระจายออกจากกนั ในขณะท่ีทาการลาเลียงวสั ดุ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

29 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การขนถ่ายวสั ดุ แบบฝึกหดั ท้ายบท 1.1 จงอธิบายความหมายของการขนถ่ายวสั ดุ 1.2 จงอธบิ ายหนา้ ทหี่ ลกั ของการขนถา่ ยวัสดุ 1.3 จงอธิบายขอบเขตของการขนถา่ ยวัสดุ 1.4 กฎของการขนถ่ายวัสดุมีองค์ประกอบอย่างไรบา้ ง 1.5 จงอธบิ ายความหมายของวิธีการขนถ่ายวัสดุ 1.6 จงบรรยายวิธีการในการเลอื กเคร่ืองมือขนถ่ายวสั ดทุ ่ีมีความเหมาะสมกบั การใชง้ าน 1.7 จงอธิบายตัวแปรประกอบสาคัญในการวเิ คราะห์ระบบลาเลยี งวสั ดุ 1.8 ใหน้ กั ศกึ ษาอธิบายพรอ้ มทง้ั เปรียบเทียบชนดิ ของเคร่ืองมอื และอุปกรณล์ าเลยี งวสั ดุ 1.9 ให้นกั ศึกษาบรรยายลกั ษณะของการเคลอ่ื นย้ายหรอื ลักษณะของการลาเลยี ง 1.10 ให้นักศึกษาบรรยายความสาคัญของการขนถา่ ยวสั ดุ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

30 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ ความร้เู บื้องตน้ เกี่ยวกบั การขนถา่ ยวสั ดุ เอกสารอ้างองิ David E. Mulcahy. (1999). Materials Handling Handbook. McGraw-Hill. Edward H. Frazelle. (2 0 0 1 ). World - Class Warehousing and Material Handling. McGraw-Hill. Raymond A. Kulwiec. (1984). Materials handling handbook 2nd ed. New York : Wiley. กรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์ (2559). เอกสารประกอบการสอนวิชา LOGISTICS ENGINEERING AND MANAGEMENT. ภ าค วิช าวิศ ว ก รรม อุ ต ส าห ก าร ค ณ ะวิศ วก รรม ศ าส ต ร์ . เชี ย งให ม่ : มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ชนดิ ของเครื่องมอื และอุปกรณล์ าเลยี งวัสดุ (2559) แหล่งทีม่ า : http://www.pnkreis.com ระบบการขนถา่ ยวสั ดุ (2559) แหล่งท่ีมา : http://anuwat.blogspot.com สุเนตร มูลทา (2558). เอกสารประกอบการเรียนวิชาการขนถ่ายวัสดุ. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์. กรุงเทพ: สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วัน. องค์ประกอบสาคญั ของการขนถา่ ยวสั ดุ (2559) แหลง่ ทม่ี า : https://sites.google.com อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

31 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 2 การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 4 ช่ัวโมง หัวข้อเนอ้ื หา 2.1 ระบบการเคล่ือนย้ายวัสดุ 2.2 การเลือกใช้อุปกรณ์ที่ช่วยในการขนยา้ ยตามลักษณะงาน 2.3 การวางผังขนถา่ ยวัสดุ 2.4 การออกแบบระบบเครือ่ งมอื ขนถ่ายวสั ดุ 2.5 การวิเคราะห์ตน้ ทนุ ของการขนถ่ายวสั ดุ 2.6 การจัดการบารุงรักษาเครื่องมือลาเลียง 2.7 บทสรุป แบบฝกึ หดั ท้ายบท เอกสารอา้ งองิ วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เม่อื ผู้เรยี น เรยี นจบบทน้แี ลว้ ผเู้ รยี นควรมีความรแู้ ละทกั ษะดังน้ี ดา้ นความรู้ 1. ผู้เรยี นมคี วามรแู้ ละความเข้าใจเกย่ี วกับการออกแบบระบบขนถา่ ยวัสดุ 2. ผเู้ รยี นมคี วามรแู้ ละความเข้าใจเกีย่ วกบั ระบบการเคล่ือนย้ายวัสดุ 3. ผู้เรยี นมีความร้แู ละความเข้าใจเกีย่ วกบั การเลือกใช้อปุ กรณท์ ีช่ ว่ ยในการขนยา้ ยตามลักษณะ งาน 4. ผ้เู รียนมคี วามร้แู ละความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การวางผงั ขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบเครื่องมือขน ถา่ ยวสั ดุ 5. ผเู้ รียนมคี วามรู้และความเขา้ ใจเกีย่ วกับการวเิ คราะห์ตน้ ทุนของการขนถา่ ยวัสดุ 6. ผูเ้ รยี นมีความรู้และความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การจัดการบารงุ รกั ษาเคร่ืองมือลาเลยี ง ดา้ นทกั ษะ 1. สามารถออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุและการวเิ คราะหต์ น้ ทนุ ของการขนถ่ายวสั ดุได้ วิธีสอนและกจิ กรรม 1. ช้ีแจงคาอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ เน้อื หา และเกณฑ์การให้คะแนนรายวชิ า 2. นาเข้าสบู่ ทเรียนโดยการบรรยาย ประกอบรูปภาพใน Power point 3. อธิบายเน้อื หาทลี ะหวั ขอ้ แลว้ เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนถามในแต่ละหัวขอ้ กอ่ นขา้ มหวั ข้อนัน้ 4. ตรวจสอบคาตอบของผู้เรยี น และสอบถามผเู้ รียนถ้าผูเ้ รียนมีคาถามสงสัย 5. ให้ผู้เรียนออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุและการวิเคราะห์ต้นทุนของการขนถ่ายวัสดุตามใบงานที่ มอบหมาย 6. มอบหมายใหผ้ ู้เรยี นทาแบบฝึกหัดทา้ ยบทเปน็ การบ้าน 7. เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมให้กบั นกั ศกึ ษาก่อนเลิกเรียน อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

32 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ สือ่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการขนถ่ายวัสดุ 2. กระดาน 3. สื่อบรรยาย Power point 4. ใบงานที่ 2 การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุและการวิเคราะหต์ ้นทุนของการขนถา่ ยวสั ดุ 5. แบบฝกึ หดั ท้ายบท 6. เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท การวัดผลและการประเมินผล การวัดผล 1. จากการเขา้ เรียนตรงตอ่ เวลา 2. จากการสงั เกตการมีส่วนร่วม 3. จากการถาม-ตอบ 4. จากการทาใบงาน 5. จากการทาแบบฝึกหัดทา้ ยบท การประเมนิ ผล 1. จากการส่งการบ้าน แบบฝึกหัดตามเวลา 2. การเขา้ เรยี นครบตามชว่ั โมงเรยี น 3. ทาใบงานถูกต้องและครบสมบรู ณ์ 4. ทาแบบฝึกหัดมีความถูกต้องไม่น้อยกวา่ 80% อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

33 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ บทท่ี 2 การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 2.1 ระบบการเคลอื่ นย้ายวัสดุ เมื่อทราบถึงลักษณะขอบเขตการขนย้ายวัสดุสินค้าแล้ว โรงงานอุตสาหกรรมเองก็ต้องหาวิธีการ และการ เลือกใช้ระบบการเคล่ือนย้าย ซ่ึงปัจจุบันมีเคร่ืองมือการขนย้ายอยู่หลายอย่าง ท่ีสามารถจัดหา และนามาพัฒนาเพื่อสร้างเป็นระบบของโรงงานอุตสาหกรรมได้ ปจั จุบนั การเคล่ือนยา้ ยวัสดุสามารถแบ่งได้ เป็น 3 ประเภท ซ่งึ มีเครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในแตล่ ะประเภทดังต่อไปนี้ 2.1.1 การเคลือ่ นย้ายโดยเครื่องจกั ร การเคล่ือนย้ายโดยเครื่องจักรเป็นระบบการเคล่ือนย้ายวัสดุท่ีได้มีการนาเอาเครื่องมือในการขน ย้ายหลายชนิดเข้ามาช่วย ซ่ึงเป็นเครื่องมือเครื่องจักรแบบธรรมดาที่ไม่ได้มีกลไกซับซ้อนมากนัก เครื่องมือ ขนยา้ ยทม่ี ีการใชก้ นั มากในการปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกบั การเคลือ่ นยา้ ยวัสดุ ซงึ่ มีรายละเอียดดงั น้ี 1. รถยก (Forklift Truck) เป็นเครื่องมือที่สามารถยกของและย้ายของนาไปกองได้ทั้งใน แนวนอนและแนวด่ิง รถยกน้ีมีหลายแบบและหลายขนาด แต่โดยทั่วไปจะมี 4 ล้อ ขับเคล่ือนด้วยล้อหน้า บงั คบั เลี้ยวด้วยล้อหลงั ยกของดว้ ยส้อมท่ีตดิ อยู่ด้านหน้า และยกของขน้ึ ด้วยระบบไฮดรอลิก แหล่งพลงั งาน มาจากน้ามันเบนซิน แก๊สปิโตรเลี่ยมเหลว (PLG) น้ามันดีเซล และมอเตอร์ไฟฟ้า สามรถยกน้าหนักได้ไม่ เกิน 4.5 ตัน ความกว้างช่องทางวิ่งอยู่ในช่วง 3.6 – 4.6 เมตร สามารถยกของได้สูงประมาณ 20 ฟุต (6 เมตร) รูปท่ี 2.1 รถยก (Forklift Truck) (ท่ีมา : นายอภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) 2. รถลากจูงประกอบรถพ่วง (Tractor-trailer) เป็นเคร่ืองมือการขนย้ายท่ีประกอบด้วย รถพ่วง 4 ล้อ ที่มีลักษณะคล้ายรถเข็นหรือเกวียนหลาย ๆ คันเช่ือมต่อกันท่ีจุดต่อ เคล่ือนที่โดยการใช้แรง คนเพียงคนเดียวหรือรถลากจูงเพียง 1 คัน ก็ สามารถลากจูงรถพ่วงได้หลายคัน รถลากจูงประกอบน้ีใช้ สาหรับการเคลื่อนย้ายวัสดุท่ีเป็นไปอย่างต่อเนื่องและสามารถขนวัสดุได้ทีละหลายชนิด รถลากจูงมักใช้ พลังงานไฟฟ้าหรือใช้พลังงานจากเคร่ืองยนต์ โดยควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยมือ แบบน่ังและแบบยืน ซ่ึงการ ลาเลยี งโดยใช้แรงคนอาจทาไมไ่ ด้จึงต้องอาศยั แรงจากรถลากจูง อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี

34 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ รูปที่ 2.2 รถลากจูงประกอบรถพ่วง (Tractor-trailer) (ท่มี า : นายอภชิ าติ ศรีชาติ, 2559) 3. ปั้นจ่ัน (Crane) เป็นเครื่องจักรท่ีมีกาลังในตัวเองใช้ทาการยกส่ิงของได้ในพ้ืนท่ีจากัด ซ่งึ เคร่ืองมือหรอื เครือ่ งจกั รประเภทอ่ืนเข้าไมถ่ ึง ป้ันจั่นมี 2 ชนิดคือ ป้ันจน่ั ชนดิ คานยกหมุนไม่ได้ และชนิด คานยกหมุนได้ - ป้ันจ่ันชนิดคานยกหมุนไม่ได้ โดยปกติจะติดต้ังอยู่บนรถแทรกเตอร์โดยมีคานยก ยื่นออกมาเหนอื ลอ้ หนา้ คานยกสามารถหันเหได้โดยการหมนุ ตวั ของรถแทรกเตอร์ - ปั้นจ่ันชนิดคานยกหมุนได้ จะติดตั้งอยู่บนรถ เรียกว่า รถปั้นจั่น ซ่ึงคานยกท่ีติด ตง้ั อยู่สามารถหมนุ ไดโ้ ดยทตี่ วั รถไม่ไดห้ มนุ รูปที่ 2.3 ปัน้ จั่น (Crane) (ที่มา : นายอภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) 4. รางเลื่อน (Conveyor) เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันมากในการขนย้ายวัสดุ รางเลื่อนน้ีไม่ จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับยานพาหนะใด รางเล่ือนมีหลายชนิด ท้ังที่มีกาลังขับเคล่ือนและชนิดที่ไม่มีกาลัง ขับเคล่อื น ปัจจุบันได้มีผู้ผลิตเคร่ืองมอื หลายชนิดเข้ามาใช้ในโรงงานอตุ สาหกรรม ทาให้เราสามารถพบเห็น เคร่ืองมือต่าง ๆ มากมาย เข้ามาใช้ในกิจการ โดยการนาเคร่ืองจักรมากกว่าหน่ึงชนิดเข้ามาใช้ประกอบกัน ในการเคลอื่ นย้าย อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

35 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ - รางเลื่อนชนิดท่ีมีกาลังขับเคล่ือน ได้แก่ รางเล่ือนชนิดสายพาน (Belt Conveyor) ซ่ึงมีลักษณะเป็นสายพานวงรอบ ไม่มีปลายสุด ติดตั้งอยู่บนโครงเหล็ก ขับเคลื่อนด้วยแรงฉุด ของเคร่อื งยนตห์ รอื ไฟฟา้ - รางเล่ือนชนิดท่ีไม่มีกาลังขับเคลื่อน ได้แก่ รางเลื่อนที่หมุนโดยแรงงานคน หรือ รางเลื่อนที่อาศัยแรงถ่วงของโลก เช่น รางเล่ือนชนิดใช้ล้อกล้ิง (Wheel Conveyor) และรางเล่ือนชนิด ลูกกล้งิ (Roller Conveyor) รปู ท่ี 2.4 รางเลอ่ื นชนิดสายพาน (Belt Conveyor) และรางเลื่อนชนดิ ลกู กลิง้ (Roller Conveyor) (ทมี่ า : :http://www.speedwayroller.com, 2559) 2.1.2 การเคลือ่ นย้ายอตั โนมัติ การเคลื่อนย้ายอัตโนมัติเป็นความพยายามท่ีจะใช้ความเป็นอัตโนมัติทดแทนการลงทุนใน เร่ือง แรงงานคนที่มีอยู่คอ่ นข้างมากในระบบการเคลื่อนย้ายโดยใช้เครื่องจักร ระบบการเคล่ือนย้ายอตั โนมัตินี้ได้ นาเอาเครื่องมือและเครือ่ งจกั รมาประกอบกันจนเป็นระบบการทางานที่มีความซับซ้อน มีความยุ่งยากมาก ยิ่งข้ึน โดยอาศัยคอมพิวเตอร์ จัดโปรแกรมควบคุมการทางานของชุดเครื่องจักร การใช้ระบบเคลื่อนย้าย อตั โนมัติจะทาให้การปฏบิ ตั งิ านเปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ และประหยดั เวลา รปู ท่ี 2.5 การเคล่ือนย้ายอัตโนมตั ิ (ท่มี า : www.daifuku-logisticssolutions.com, 2559) ระบบเคล่ือนย้ายอัตโนมัติทาข้ึนสาหรับใช้เคล่ือนย้ายวัสดุข้ึนเก็บในท่ีสูง โดยเครื่องจักรจะทางาน อัตโนมัติในการเก็บของและนาของออกจากท่ีเก็บ อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

36 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 2.1.3 การลาเลยี งดว้ ยลมหรอื นวิ เมติกคอนเวเยอร์ การลาเลยี งขนถ่ายวสั ดชุ นิด Bulk Material ประเภท ผง เกล็ด และเมล็ดด้วยแรงลมหรอื นวิ เมติก คอนเวเยอร์ (Pneumatic Conveyor) นั้น เป็นวิธีการลาเลียงขนถ่ายวัสดุอีกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะของ การลาเลียงภายในท่อให้สามารถเคลื่อนท่ีไปได้ในระยะทางไกล ๆ ซ่ึงเป็นการลาเลียงแบบระบบปิด การท่ี วสั ดุจะสามารถเคลื่อนท่ีไปในท่อได้น้ัน ต้องอาศัยความเร็วของลมท่ีเหมาะสมทาให้วัสดชุ นิดผง เกล็ด และ เมล็ดเกิดการลอยตวั และสามารถเคล่ือนท่ีในท่อลาเลียงไปยังปลายทางตามอัตราเร็วที่กาหนด การลาเลียง ด้วยลมได้ถกู นามาใชใ้ นอุตสาหกรรมการผลิตหลายประเภท เช่น แป้ง น้าตาล ตลอดจนถึงเม็ดพลาสติก ซึ่ง การลาเลียงด้วยลมนี้สามารถทางานร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ ได้อย่างสอดคล้องกัน เช่น ไซโคลน ถุงกรอง อากาศ ตลอดจน เครื่องกรองฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิตย์ เป็นต้น ซึ่งการลาเลียงด้วยลมให้ได้ความเร็วตามท่ี ตอ้ งการนน้ั ย่อมข้นึ อยู่กับชนดิ นา้ หนกั ความหนาแนน่ และ องค์ประกอบอน่ื ๆ ของวสั ดุที่แตกตา่ งกันไป รปู ที่ 2.6 การลาเลยี งดว้ ยลมหรอื นิวเมตกิ คอนเวเยอร์ (ท่มี า : http://www.handlift.net, 2559) 2.1.4 การลาเลียงดว้ ยแรงเขย่า (Vibratory Conveyors) อุปกรณ์ลาเลียงด้วยแรงเขย่าและเคร่ืองป้อน สามารถพบได้ในอุตสาหกรรมขนถ่ายทุกประเภท วัสดุปริมาณมวลเกือบท้ังหมด, ผลิตภัณฑ์อาหาร, เคมีภัณฑ์, ทรายโรงหล่อ, ถ่านหิน, แร่เหล็ก, กระบวนการหลอ่ และเศษ รปู ที่ 2.7 การลาเลยี งดว้ ยแรงเขยา่ (Vibratory Conveyors) (ที่มา : http://shape-community.blogspot.com, 2559) อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี

37 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 2.1.5 สายพานลาเลยี ง (Belt Conveyors) สายพานลาเลียงเป็นสายพานท่ีเคลื่อนที่ต่อเนื่องตลอดเวลาใช้งาน โดยปลายท้ังสองข้างของ สายพานจะต่อชนเข้าด้วยกัน ใช้สาหรับขนถ่ายวัสดุท้ังในแนวราบและแนวลาดเอียง (ข้ึน,ลง) ดังสามารถ แสดงในรูปท่ี 2.8 รปู ท่ี 2.8 แสดงลักษณะการใชง้ านของสายพานลาเลียง (ท่ีมา : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) ในการเลือกสายพานลาเลียงท่ีมีความเหมาะสมจะต้องมีความกว้างมากพอต่อการขนย้ายวัสดุใน ปริมาณที่ต้องการของผู้ใช้งานได้ โดยวัสดุจะต้องไม่อยู่ชิดขอบของสายพานมากเกินไป ดังน้ันขนาดความ กวา้ งของสายพานจะต้องสามารถลาเลยี งวสั ดุไปได้อย่างไม่แออดั จนเกนิ ไป 2.1.6 สกรูขนถา่ ย (Screw Conveyors) สกรูลาเลียงเป็นอุปกรณเ์ ชงิ กลที่ถูกสร้างขึ้นสาหรับขนถ่ายวัสดุตา่ ง ๆ สว่ นมากจะนิยมใชใ้ นการขน ถา่ ยวสั ดุปรมิ าณมวล (Bulk Materials) สกรูลาเลียงจะมีชน้ิ ส่วนประกอบหลักทสี่ าคัญอยู่หลายส่วนดว้ ยกัน ประกอบด้วย ใบสกรู ตัวแขวน ราง และชุดขับ การออกแบบสร้างสกรูลาเลียงจาเป็นต้องศึกษารูปร่าง ลักษณะของส่วนประกอบและหลักการนาไปใช้งาน สามารถแสดงได้ดังรูปท่ี 2.9 ท้ังน้ีขึ้นอยู่ว่าผู้ออกแบบ จะนาสกรูไปใช้เพ่ือการลาเลียงวัสดุประเภทใด ซึ่งคุณสมบัติของวัสดุปริมาณมวลชนิดต่าง ๆ นั้นได้ถูก จาแนกประเภทเอาไวต้ ามมาตรฐานของ CEMA (Conveyor Equipment Manufacturers Association) รูปท่ี 2.9 แสดงลักษณะการใชง้ านของสกรลู าเลียง (ที่มา : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) ใบสกรูนั้นถือว่าเป็นชิ้นส่วนประกอบหลักท่ีสาคัญท่ีสุดของชุดสกรูลาเลียง ลักษณะของใบสกรูจะ เป็นตัวบอกว่าจะนาไปใช้งานประเภทใดหรือเหมาะกับการขนวัสดุชนิดใด การพิจารณาออกแบบเลือกใบ อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

38 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ สกรูเพื่อนาไปใช้งานอย่างเหมาะสมน้ัน จะต้องศึกษาชนิดลักษณะรูปร่างของใบสกรูและส่วนประกอบชุด สกรลู าเลยี ง 2.2 การเลือกใช้อปุ กรณ์ทีช่ ว่ ยในการขนย้ายตามลักษณะงาน การท่ีจะตัดสินใจนาเครื่องมือมาใช้ในกจิ การต้องมีการพิจารณาอยา่ งรอบคอบ แนวทางท่ีใช้ในการ ตดั สนิ ใจเลือกเคร่อื งมือเคร่ืองจักรมาใช้สาหรับการเคล่ือนย้ายวสั ดุท่ีสาคญั มี 6 ประการ คอื 1. เครอื่ งมือเคร่ืองจักรทนี่ ามาใช้ตอ้ งมีมาตรฐานเทา่ ท่จี ะเปน็ ไปได้ 2. เคร่ืองมือเคร่ืองจักรที่นามาใช้ต้องช่วยในการเคลื่อนย้ายวัสดุเป็นไปอย่างต่อเนื่องในขณะ ปฏบิ ัตงิ านขนยา้ ย 3. ควรลงทุนในเครื่องมือเคร่ืองจักรชนิดที่สามารถเคล่ือนที่ได้มากกว่า ลงทุนในเคร่ืองมือ เคร่อื งจักรชนิดที่ตดิ ตง้ั อยูก่ บั ที่ 4. ตอ้ งใชป้ ระโยชนจ์ ากเครื่องมือเครื่องจักรชนิดเคล่อื นทไ่ี ดใ้ ห้มากทส่ี ดุ เท่าทจี่ ะเปน็ ไปได้ 5. พยายามเลือกเคร่ืองมือที่จะทาให้สัดส่วนต้นทุนการเคลื่อนย้ายวัสดุต่อน้าหนักหรอื ปรมิ าณของ วัสดุทเี่ คลอื่ นยา้ ยมีอตั ราตา่ สดุ 6. พยายามทีจ่ ะใชป้ ระโยชน์จากแรงถว่ งของโลกในการเคลอ่ื นย้ายวสั ดุ 2.2.1 การพิจารณาเลอื กใชเ้ คร่ืองมือขนถ่ายวัสดุ 2.2.1.1 งานเคล่อื นย้ายบ่อย งานเคลื่อนย้ายบ่อย เป็นการเคล่ือนย้ายท่ีมีระยะทางไมไ่ กลมากนักในลักษณะงานท่ีมกี าร เคลื่อนย้ายบ่อยครั้งหรอื ตอ่ เนื่องในขณะที่มีการผลติ และมีระยะทางในการขนย้ายท่ีระยะทางไมไ่ กลมากนัก การใช้รางเล่ือน (Conveyor) เป็นเครื่องมือท่ีนิยมใช้กันมากในการขนย้ายวัสดุและมีความเหมาะสมกับ ลักษณะการเคลื่อนย้ายลักษณะน้ี เพราะลักษณะของอุปกรณ์ง่ายต่อการทางาน ท้ังสามารถทางานด้วย เครื่องจักรขับเคล่ือน ได้แก่ รางเล่ือนสายพาน รางเล่ือนที่แบบใช้แรงงานคน หรือการทางานที่ใช้แรงโน้ม ถ่วง ได้แก่ รางเล่ือนที่ รางเลื่อนชนิดใช้ล้อกล้ิง (Wheel Conveyor) และรางเล่ือนชนิดลูกกลิ้ง (Roller Conveyor) เป็นต้น 2.2.1.2 งานเคลือ่ นยา้ ยท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงการขนย้ายได้ งานเคลื่อนย้ายท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงการขนย้ายได้ เป็นการขนย้ายในโรงงาน อตุ สาหกรรมจะมลี กั ษณะท่ีมีการเคลอื่ นย้ายหรือเปล่ียนแปลงบอ่ ย ๆ เพื่อความเหมาะสมกับงานและเวลาท่ี ใช้ การใช้ Industrial Vehicles จะมีความเหมาะสมโดยมีทั้งแบบลากจูง ใช้แรงดัน หรือขับเคลื่อนด้วย มอเตอร์ เช่น รถเข็น รถลากจงู แบบมีขบวนพ่วง รถยกปากสอ้ ม หรือรถเขน็ เปน็ ตน้ 2.2.1.3 งานทตี่ ้องการการจัดเกบ็ และเรียกใช้วัสดหุ ลากหลายแบบในหิง้ จัดเก็บ งานท่ีต้องการการจัดเก็บและเรียกใช้วัสดุหลากหลายแบบในหิ้ง เป็นการใช้อุปกรณ์แบบ Automated storage/retrieval systems (AS/RS) จะใช้ในการขนย้ายวัสดุ โดยการนาวัสดุไปเก็บ (Store) และนาวัสดุออกมา (Retrieve) แบบอัตโนมัติ จากท่ีจัดเก็บประเภทห้ิงจัดเก็บ (Storage Rack) โดยมีตาแหน่งหรือบริเวณที่เคร่ือง AS/RS มารับวัสดุไปจัดเก็บ (Pickup Station) และจุดท่ีนาวัสดุจากห้ิง จดั เก็บไปส่งเม่อื วสั ดุนัน้ ถกู เรยี กใช้ (Deposit Station) อปุ กรณแ์ บบ AS/RS อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี

39 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 2.2.1.4 งานทตี่ ้องจัดวัสดุเปน็ ชุดแยกออกจากกนั งานท่ีต้องจัดวัสดุเป็นชุดแยกออกจากกันอุปกรณ์ Carousels อุปกรณ์ประเภทนี้มี ลักษณะการเคล่ือนคล้ายกับประเภท Conveyor คือ เคล่ือนไปเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อุปกรณ์ ประเภทน้ีจะหมุนวนรอบ เช่น การเคล่ือนย้ายท่ีมีห้ิงหรือช้ันเก็บของไปตามสายพานเป็นรอบ ลักษณะการ เคลอ่ื นมที ้งั แบบหมุนวนในแนวราบและในแนวด่งิ แนวราบ เป็นตน้ 2.2.1.5 งานทส่ี ามารถควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอรท์ ี่ความมปี ระสิทธิภาพ งานท่ีสามารถควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ท่ีความมีประสิทธิภาพ จากอุปกรณ์ Automated Guided Vehicle Systems (AGV) อุปกรณ์ประเภท AGV มีลักษณะคล้ายอุปกรณ์ประเภท Industrial Truck แตกต่างที่ AGV ถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์และถูกกาหนดเส้นทางการเดินทางที่ชัดเจน ไม่ต้องใช้คนขับ การเลือกใช้อุปกรณ์ประเภท AGV มักต้องลงทุนสูง ท้ังค่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควบคุม การ ติดต้ังเส้นทางซ่ึงอาจมีการฝังสายไว้ใต้พื้นตามเส้นทาง และตัวรถ AGV เอง การควบคุมอุปกรณ์ประเภท AGV สามารถควบคุมได้หลาย ๆ คันโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมเพียงชดุ เดียว และ AGV แต่ละคันสามารถ ส่ือสารถึงกันได้ ดังสามารถแสดงไดด้ งั รปู ที่ 2.10 รูปที่ 2.10 อปุ กรณ์ Automated Guided Vehicle Systems (AGV) (ท่ีมา : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) 2.2.1.6 งานจากัดพ้ืนที่ไม่ได้ทาการขนย้ายเป็นประจาโดยวัสดุมีขนาดรูปร่างขนาด ต่างกัน งานจากัดพื้นที่ไม่ได้ทาการขนย้ายเป็นประจาโดยวัสดุมีขนาดรูปร่างขนาดต่างกัน เป็น อุปกรณ์ประเภทปั้นจ่ันและลูกรอก มีความเหมาะสมกบั ลักษณะงานท่ีมีความจากดั สาหรบั พ้ืนที่ในแนวราบ การขนถ่ายกระทาเป็นคร้ังคราว ไม่จาเป็นต้องทาอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอและวัสดุท่ีถูกขนถ่ายมีรูปร่างที่ แตกต่างไม่แน่นอน เช่น การขนย้ายช้ินส่วนขนาดใหญ่ในโรงงานท่ีมีพ้ืนท่ีในแนวราบที่จากัด เป็นต้น ดัง สามารถแสดงได้ดงั รปู ท่ี 2.11 อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

40 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ เครน ลกู รอก รปู ที่ 2.11 อุปกรณ์ประเภทป้ันจั่นและลูกรอก (ทมี่ า : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) 2.2.1.7 งานท่มี ีปริมาณมากอย่ทู ่ีสงู งานท่ีมีปริมาณมาก อยู่ที่สูงงานชนิดนี้ควรใช้หุ่นยนต์ท่ีมีการควบคุมส่ังการทางานด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์อัตโนมัติ สามารถทางานได้หลายรูปแบบ มีปริมาณงานจานวนมากต่อเน่ืองหรือจะ เป็นงานที่อยู่ในที่ค่อนข้างสูง เชน่ การเคลื่อนหรือหมนุ วสั ดุในการเช่ือมชน้ิ ส่วน เปน็ ต้น ดงั สามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 2.12 รูปท่ี 2.12 อปุ กรณ์หุ่นยนต์ (ทมี่ า : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) การจัดการระบบการขนถ่ายวัสดุถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งในองค์กรการผลิต ถึงแม้ว่า การขน ถ่ายวัสดุจะไม่สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าก็ตาม แต่ก็มีผลต่อการบริการการผลิตของโรงงานได้เช่นกัน การจัดระบบการขนย้ายหรือการเคล่ือนย้ายวัสดุ วัตถุดิบ สินค้า โรงงานอุตสาหกรรมจะต้องพิจารณาให้ รอบคอบในการเลือกใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถลดปัญหาการหยุดกระบวนการผลิต การซ่อมบารุง อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

41 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ ลดต้นทุนในการผลติ และความสญู เสียในรูปแบบของพลังงานที่ใช้ระยะยาวของโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้ ภาพรวมซพั พลายเชนขององค์กรมีประสิทธภิ าพยิ่งข้นึ 2.2.2 อุปกรณท์ ส่ี าคัญในการยกย้ายและจัดเก็บในคลังสินค้า สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีจะเก็บเข้าคลัง จะต้องถูกขนถ่ายเคล่ือนย้ายจากภายนอกเข้าสู่ ภายใน จากหน้าคลงั ข้นึ ไปเก็บในชน้ั วางตา่ ง ๆ และเม่ือตอ้ งการเบิกจา่ ยก็ตอ้ งมกี ารเข้าไปเอาลงจากชน้ั และ ขนย้ายออกมาสู่ท่าเทียบรถและขนข้ึนรถ กิจกรรมท้ังหมดย่อมต้องการเคร่ืองมือและอุปกรณ์หลายชนิด เสมือนหนึ่งเป็นเครื่องจักรในโรงงาน ซึ่งลาพังกาลังคนย่อมทากิจกรรมเหล่านี้ได้จากัดและต้องใช้เวลามาก อปุ กรณ์หลัก ๆ ท่ีใชใ้ นการจัดเก็บเคล่ือนยา้ ย (Materials handling equipment) อาจแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ใหญ่ ดงั น้ี 2.2.2.1 อปุ กรณท์ ี่ใชส้ าหรับการรวมสินค้าเปน็ หนว่ ยใหญ่ อุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับการรวมสินค้าเป็นหน่วยใหญ่ ได้แก่ ลังพลาสติก (containers) ลัง ตะแกรงโลหะ (wire boxes) และแพลเลทรองสินค้า (pallets) เป็นต้น ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า หรือผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด เช่น อะไหล่หรือของกินของใช้ชิ้นเล็ก จนกระท่ังเป็นชิ้นส่วนขนาดใหญ่ หรือ สินค้าท่ีบรรจุในกล่องกระดาษลูกฟูก เป็นต้น นิยมใช้แผ่นรองแพทเลท (pallet) นอกจากนั้นยังมีอุปกรณ์ อืน่ ๆ ทีเ่ ป็นเคร่ืองมอื ช่วยสนบั สนุนการรวมหนว่ ยอีกหลายอยา่ ง ดงั สามารถแสดงได้ดงั รปู ท่ี 2.13 รูปที่ 2.13 อุปกรณท์ ่ใี ชส้ าหรับการรวมสนิ คา้ เปน็ หน่วยใหญ่ (ที่มา : อภิชาติ ศรีชาติ, 2559) 2.2.2.2 อุปกรณท์ ใ่ี ช้สาหรับการจัดเก็บ อุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับการจัดเก็บ ได้แก่ ชั้นวางชนิดต่าง ๆ รวมไปถึงตู้ และขาต้ังแผงแขวน ชนิดต่าง ๆ เป็นต้น อุปกรณ์ช้ันวางถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์หลักในคลังสินค้าทุกแห่ง ชั้นวางสินค้า สามารถ จาแนกออกเป็น 2 กล่มุ ใหญ่ คอื 1. Shelving System เป็นชั้นวางท่ีมีพ้ืนช้ันรองรับ ส่วนใหญ่จะเป็นชั้นวางขนาด กลางและเล็ก ซ่ึงเหมาะสาหรับ การจัดเก็บสินค้าท่ีเก็บไว้ในกล่องหรือลังพลาสติก ตัวสินค้าไม่ใหญ่ หรือ ไม่ได้รวมเปน็ หนว่ ยใหญบ่ น pallet ดังสามารถแสดงได้ดงั รปู ที่ 2.14 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

42 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ รูปท่ี 2.14 อปุ กรณ์ Shelving System (ทีม่ า : อภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) 2. Racking System เป็นช้ันวางขนาดใหญ่ ซ่ึงไม่มีพ้ืนช้ันในแต่ละระดับ แต่จะมี คานขวางหน้าหลังของตัวช้ัน แทน เพ่ือรองรับการวางสินค้าด้วยแผ่นรอง pallet กลุ่มช้ันวางแบบ rack นี้ ยังสามารถแบ่งออกได้หลายชนิด ด้วยกัน ซ่ึงแต่ละชนิดมีจุดประสงค์การใช้งานท่ีต่างกันไป ตามความ เหมาะสมของสินค้าเช่น ชนิด Selective rack มี ลักษณะเลือกเบิกจ่ายได้คล่องตัว หากต้องการเก็บสินค้า จานวนมากในแตล่ ะชนดิ ก็อาจใชแ้ บบ Drive-in rack เป็นตน้ ดงั สามารถแสดงได้ดังรูปท่ี 2.15 อภชิ าติ ศรชี าติ รปู ท่ี 2.15 อปุ กรณ์ Racking System (ทม่ี า : อภิชาติ ศรชี าติ, 2559) สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

43 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 2.2.2.3 อุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับการเคลื่อนยา้ ย อปุ กรณ์ทใ่ี ชส้ าหรับการเคล่อื นย้าย ไดแ้ ก่ รถเข็น รถลากจูง ลอ้ เลือ่ นและรถยกชนิดต่าง ๆ รวมท้ังสายพานลาเลียง อุปกรณ์กลุ่มน้ีมีหลากหลายชนิดเช่นกัน จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม เราอาจแบ่ง ออกเปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ไดด้ ังน้ี 1. Industrial Truck ได้แก่ อุปกรณ์ทุกชนิดท่ีติดล้ออาจใช้คนเข็น ลากจูง หรือ ขับเคล่ือนด้วยไฟฟ้าหรือเครื่องยนต์ มีหลายชนิดตามสภาพการใช้งานและมีระดับความสามารถในการ ทางานต่างกัน ต้ังแต่ยกได้ 500 กิโลกรัม ไปจนกระทั่งหลายตัน สามารถยกสูงได้ตั้งแต่ 1.5 เมตร ไปจน มากกว่าสบิ เมตร ดงั สามารถแสดงได้ดงั รูปที่ 2.16 2. Conveyor เป็นสายพานลาเลียงซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ติดต้ังตามพ้ืนท่ีอย่างตายตัว ส่วนใหญ่จะใช้กับสินค้าท่ีห่อเป็นชิ้นย่อยแล้ว ในพ้ืนท่ีคลังท่ีมีการเบิกจ่าย และรวมหีบห่อใหม่ตามคาสั่งซื้อ สามารถทาใหก้ ารขนย้ายสินค้าไหลลื่นโดยท่คี นอยกู่ ับทไ่ี ด้เหมาะกับคลังท่ีมลี กั ษณะการเบิกจ่ายดว้ ยความถ่ี สูง ชนิดสินค้าไม่หลากหลายมีขนาดหรือมีอัตราน้าหนักใกล้เคียงกัน การใช้สายพานลาเลียงสามารถเสริม ประสทิ ธิภาพการทางานไดอ้ ยา่ งมาก ดงั สามารถแสดงไดด้ งั รูปท่ี 2.17 รูปที่ 2.16 Industrial Truck (ท่ีมา : อภชิ าติ ศรีชาติ, 2559) อภชิ าติ ศรีชาติ รูปท่ี 2.17 Conveyor (ทม่ี า : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

44 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 2.2.2.4 อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการข้นึ ลงของทหี่ น้าคลัง สาหรับคลังสินค้ามาตรฐาน การขนส่งสินค้าเข้าและออกจากคลังมีความถี่สูงจึงมีความ จาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องคานึงถึงการสร้างท่าเทียบรถ (dock) สาหรับการขึ้นลงสินค้า มิฉะนั้นช่วงจังหวะ การขนสินค้าข้ึนลงรถขนส่งจะเสียเวลามาก จะกลายเป็นคอขวดที่เป็นอุปสรรคต่อการไหลของสินค้า ดัง สามารถแสดงไดด้ งั รปู ท่ี 2.18 รปู ท่ี 2.18 อปุ กรณท์ ใ่ี ช้สาหรับการข้ึนลงของทห่ี น้าคลัง (ทมี่ า : http://www.thaiconveyorbelt.com, 2559) 2.2.3 สรปุ การเลือกอปุ กรณก์ ารขนถา่ ยวสั ดุ 1. Conveyor อุปกรณ์ประเภทนี้มีอยู่หลายรูปแบบ เช่น รางส่ง ลูกกล้ิง โซ่ส่ง สายพาน เป็นต้น ลักษณะของการใช้งานเพื่อให้มีการเคล่ือนย้ายอย่างต่อเน่ืองในเส้นทางที่ไม่เปล่ียนแปลง (แต่อาจมีการ เปลี่ยนทิศทางได้) โดยปกติมักใช้ในงานท่ีมีการเคลื่อนย้ายบ่อยๆ แต่ระยะในการเคล่ือนย้ายไม่ไกล จนเกินไป ท้ังน้ีเน่ืองจากค่าใช้จ่ายในการติดต้ังและค่าอุปกรณ์ ประเภท conveyor จะข้ึนกับชนิดและ ความยาวของระยะทางด้วย สาหรับการติดต้ังอุปกรณ์ conveyor จะมีทั้งแบบติดเพดาน (เหมาะกับการ ย้ายช้ินส่วนขนาดใหญ่) แบบติดต้ังบนพ้ืน (เช่น ใช้ขนย้ายกล่องหรือตู้คอนเทนเนอร์) การเคลื่อนย้ายอาจ อาศัยแรงโน้มถว่ งหรือเปน็ แบบทใ่ี ชพ้ ลงั งานขบั เคล่ือน (มอเตอร์หรือเคร่ืองยนต์) 2. Industrial Vehicles อุปกรณ์ประเภทน้ีมีทั้งท่ีแบบลากจูง ใช้แรงดัน หรือขับเคล่ือนด้วย มอเตอร์ เช่น รถเข็น รถลากจูงแบบมีขบวนพ่วง รถยกปากส้อม เป็นต้น อุปกรณ์ประเภทนี้สามารถใช้ เคลื่อนย้ายทั้งแบบหน่ึงจุดเริ่มต้น-หน่ึงจุดหมาย (single load) หรือหลายจุดเร่ิมต้น-หลายจุดหมาย (multiple loads) การเคล่ือนย้ายแบบ single load จะเป็นการขนย้ายแต่ละคร้ังมีจุดเร่ิมต้นและท่ีหมาย เพียงอย่างละจุดเท่าน้ัน อุปกรณ์ท่ีใช้อาจเป็นรถเข็น หรือรถยกปากส้อม ส่วนการเคล่ือนย้ายแบบ multiple load น้ัน อาจมีหลายจุดเริ่มต้นและหลายจุดหมายในแต่ละครั้งของการขนย้าย เช่น อาจมีการ หยิบของจากหลายๆ จุด ไปส่งยังหลายๆ ที่ เป็นต้น โดยอุปกรณ์ในการขนย้ายได้แก่ รถลากจูงแบบมีพ่วง (ลักษณะคล้ายรถไฟ ท่ีมีหลายตู้ขบวนติดๆกัน) หรือรถเข็น (เช่น ใช้ในลักษณะงานเหมือนการเลือกของใน ซูเปอร์มาเก็ต) อุปกรณ์ประเภท Industrial Vehicles เหมาะกบั การใช้ขนย้ายแบบท่ีสามารถเปลี่ยนแปลง เสน้ ทางได้ ทั้งน้ีในการเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ประเภทนี้ต้องคานงึ ถึงความกว้างของช่องทางด้วย 3. Automated storage/Retrieval systems (AS/RS) อุปกรณ์ประเภทนี้มักใช้ในการขนย้าย วสั ดุ โดยการนาวัสดุไปเก็บ (store) และนาวัสดุออกมา (retrieve) แบบอัตโนมัติ จากท่ีจัดเก็บประเภทห้ิง จดั เก็บ (storage rack) โดยมตี าแหนง่ /บรเิ วณทเี่ คร่ือง AS/RS มารบั วัสดุไปจัดเก็บ (pickup station) และ จุดที่นาวัสดุจากหิ้งจัดเก็บไปส่งเมื่อวัสดุนั้นถูกเรียกใช้ (deposit station) อย่างชัดเจน อุปกรณ์แบบ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

45 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ AS/RS เหมาะกับงานท่ีต้องการการจัดเก็บและเรียกใช้วัสดุหลากหลายแบบในห้ิงจัดเก็บที่หนาแน่นมากๆ การเลือกใช้อุปกรณ์แบบ AS/RS จะมีท้ังแบบใช้ AS/RS เคร่ืองเดียวต่อการจัดเก็บ 1 ช่องทาง (aisle) ใช้ AS/RS เคร่ืองเดียวต่อการจัดเก็บหลายช่องทาง หรือใช้ AS/RS หลายเคร่ืองในการจัดเก็บ 1 ช่องทาง ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับความหนาแน่นของพ้ืนท่ีจัดเก็บ ความถ่ีในการจัดเก็บและเรียกใช้วัสดุ โดยท่ัวไปแล้วปัจจัยที่มีผล ตอ่ ความสามารถในการจัดเกบ็ และเรียกใช้ของอุปกรณ์แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลกั ษณะโครงสร้างของ หิง้ ท่ีใชจ้ ัดเก็บ ความเร็วในการเคลอ่ื นของอุปกรณ์ AS/RS ทง้ั ในแนวดงิ่ และแนวราบ 4. Carousels อุปกรณ์ประเภทนม้ี ีลักษณะการเคล่อื นคล้ายกับประเภท Conveyor คือ เคล่ือนไป เรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อุปกรณ์ประเภทนี้จะหมุนวนรอบ การเคล่ือนย้ายที่มีหิ้งหรือช้ันเก็บของไป ตามสายพานเป็นรอบ ลักษณะการเคลื่อนมที ั้งแบบหมุนวนในแนวราบและในแนวดิ่ง อปุ กรณ์ประเภทน้ีถูก นามาใช้ในการจัดวัสดุเป็นชุดหรือใช้แยกวัสดุ ลักษณะของอุปกรณ์ประเภทน้ีคล้ายกับสายพานลาเลียง กระเป๋าเดนิ ทางตามสนามบินทวี่ นไปเปน็ รอบ 5. Automated guided vehicle systems (AGV) อุปกรณ์ ประเภท AGV มีลักษณ ะคล้าย อุปกรณ์ประเภท Industrial Truck แตกต่างที่ AGV ถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ และถูกกาหนดเส้นทาง การเดินทางที่ชัดเจน ไม่ต้องใช้คนขับ การเลือกใช้อุปกรณ์ประเภท AGV มักต้องลงทุนสูง ทั้งค่า คอมพิวเตอร์ที่ใช้ควบคุม การติดต้ังเส้นทางซึ่งอาจมีการฝังสายไว้ใต้พ้ืนตามเส้นทาง และตัวรถ AGV เอง การควบคุมอุปกรณ์ประเภท AGV สามารถควบคุมได้หลายๆ คันโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมเพียงชุดเดียว และ AGV แต่ละคันสามารถส่ือสารถึงกันได้ เช่น เพ่ือหลีกเลี่ยงการชนกันเองหรือเพ่ือป้องกันการกีดขวาง การจราจร หากอีกคนั ยงั อย่ใู นจดุ รบั ส่งวสั ดุ 6. Cranes and hoists หรืออุปกรณ์ประเภทปั้นจ่ันและลูกรอก อุปกรณ์ประเภทน้ีจะมีความ เหมาะสมกับลักษณะงานท่ีมีความจากัดสาหรับพื้นที่ในแนวราบ การขนถ่ายกระทาเป็นคร้ังคราวไม่ จาเปน็ ต้องทาอยา่ งต่อเน่ืองสม่าเสมอ และวัสดทุ ่ถี ูกขนถา่ ยมีรูปร่างที่แตกต่างไมแ่ น่นอน ตัวอย่างการใช้งาน ของอุปกรณ์ประเภทปั้นจน่ั และลกู รอก ได้แก่ การขนยา้ ยชิ้นส่วนขนาดใหญ่ในโรงงานที่มีพนื้ ทใ่ี นแนวราบท่ี จากัดสามารถใช้ลูกรอกติดต้ังบนเพดานเพ่ือการขนย้าย ในบางครั้งอุปกรณ์ประเภทนี้สามารถใช้ในการขน ย้ายวัสดุท่ีมีน้าหนักมาก เช่น แม่พิมพ์ขนาดใหญ่ รวมถึงการเคลื่อนย้ายเคร่ืองจักรในโรงงาน เป็นต้น สาหรับตัวอย่างของอุปกรณ์ในประเภทน้ี ได้แก่ Overhead Traveling Crane, Gantry Crane, Jib Crane และ Hoist เป็นต้น 7. Robots หรือที่เรามักเรียกว่าหุ่นยนต์ อุปกรณ์ประเภทนี้อาจถูกตั้งโปรแกรมให้ทางานได้หลาย ๆ แบบ เช่น ใช้เคลื่อนหรือหมุนวัสดุในการเช่ือมชิ้นส่วน การใช้หุ่นยนต์มักเป็นการเคล่ือนย้ายทีละชิ้นงาน มากกว่าที่จะเป็นการเคลื่อนย้ายวัสดุจานวนมาก เป็นต้น อุปกรณ์ประเภทน้ีมักต้องลงทุนสูง ซึ่งการใช้งาน อาจต้องคานึงถึงความจาเป็นต่างๆ ประกอบ เช่น ความปลอดภัย หรืองานที่ต้องการความแม่นยาสูง เป็น ตน้ การเลือกใช้อุปกรณ์ชนิดต่างๆ จักต้องดูปัจจัยหลายๆ อย่างประกอบกัน โดยต้องคานึงถึงราคา และต้นทุน ชนิดของอุปกรณ์ ลักษณะ ขนาดและปริมาณของชิ้นงาน พ้ืนท่ีและผังโรงงาน ความบ่อยและ ความต่อเนื่องของการขนถ่าย รวมไปถึงความยืดหยุ่นของเส้นทางท่ีใช้ในการลาเลียง จึงจะเหมาะสมและมี ประสทิ ธภิ าพทส่ี ุด อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

46 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 2.3 การวางผงั ขนถา่ ยวสั ดุ การเคลื่อนย้ายวัสดุในบริเวณโรงงานนับตั้งแต่การขนถ่ายวัตถุดิบลงจากพาหนะในการขนส่งแล้ว นาเข้าไปเก็บรักษาในคลังแล้วลาเลียงมาตรวจสอบก่อนเคลื่อนย้ายไปเข้าระบบการผลิตในระบบการผลิต ทาให้เกิดการเคลื่อนย้ายที่ของสินค้าระหว่างผลิต เม่ือผลิตเป็นสินค้าสาเร็จรูปแล้วต้องลาเลียงไปเก็บใน คลังสินค้าอีกคร้ังหนึ่ง ก่อนจะเคล่ือนย้ายไปยังแผนกขนส่งเพื่อขนข้ึนยานพาหนะเพื่อนาส่งจุดหมาย ปลายทางต่อไป ซง่ึ ลกั ษณะเครือ่ งมือเคร่ืองจักรทน่ี ามาใชใ้ นการขนย้ายนัน้ มีด้วยกนั หลายอย่าง 2.3.1 วตั ถุประสงคข์ องการวางผงั การขนย้ายวัสดุ การเคล่ือนย้ายวัสดุจะต้องอาศัยการวางผังการขนถ่ายวัสดุเพ่ือให้เกิดความสะดวกสบายในการ เคลื่อนย้ายวัสดุและเพื่อช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานโดยมีวัตถุประสงค์ของการวางผังการขนย้าย วัสดุ ดงั นี้ 1. เพมิ่ ผลผลิตโดยการนาองค์ประกอบทีส่ าคญั กระบวนการผลิตมารวมกนั 2. ปรับปรุงสภาพการทางานในโรงงาน 3. ปรับปรุงกรรมวธิ ีการเคล่ือนย้ายอปุ กรณ์ต่าง ๆ 4. ลดจานวนสินคา้ คงเหลือในกระบวนการผลิต 5. ทาใหโ้ รงงานมีความปลอดภัยต่อคนงานโดยมที างหนไี ฟได้อย่างเหมาะสม 6. ทาใหค้ นงานทางานอย่างมีประสิทธภิ าพ 7. กาหนดขอบเขตความรบั ผิดชอบในการทางาน 8. จัดตาแหน่องเคร่อื งจกั รเครอ่ื งมือใหม่เทา่ ทจ่ี าเป็น 9. จดั แผนงานตา่ ง ๆ ใหท้ างานในขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ 10. ใชป้ ระโยชน์จากการจัดพืน้ ท่อี ย่างเตม็ ที่ 2.3.2 หลักเกณฑ์ในการวางผงั การขนยา้ ยวัสดุ การเคลอ่ื นย้ายวัสดุมหี ลักเกณฑใ์ นการวางผงั การขนยา้ ยวสั ดุ ดงั น้ี 1. ความคล่องตวั สูง (maximum flexibility) 2. การประสานงานไดด้ ีที่สุด (maximum co-ordination) 3. ใช้เนือ้ ทใ่ี ห้มากที่สุด (maximum use of volume) 4. มองเหน็ ไดม้ ากทีส่ ุด (maximum visibility) 5. เข้าถงึ ได้งา่ ยท่สี ุด (maximum accessibility) 6. ระยะสั้นท่ีสดุ (minimum handing) 7. การเคลือ่ นย้ายน้อยทส่ี ดุ (minimum handing) 8. สภาพแวดลอ้ มการทางานทด่ี ีทสี่ ดุ (maximum comfort) 9. ความปลอดภยั (inherent safety) 10. เคลื่อนยา้ ยวสั ดุทางเดียว (unidirectional flow) อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

47 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 2.3.3 การวางผงั การขนย้ายวัสดุ การเลอื กใชเ้ คร่ืองมือการขนย้ายวสั ดุ เพ่ือใช้ในการขนยา้ ยวสั ดุเปน็ ในการขนย้ายวัสดุเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ทางอ้อมท่ีสาคัญมากอย่างหน่ึง ท่ีมีผลต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการผลิต โดยมีประโยชน์ของการเลือกใช้ เครอื่ งมอื ขนย้ายวัสดุในการวางผงั โรงงาน มีวธิ ีการในการเลอื กใช้เครื่องมือการขนยา้ ยวสั ดุดังนี้ 1. ทาใหเ้ กิดความสมดุลในกระบวนการผลติ 2. ช่วยให้เกดิ ความปลอดภัยในการทางาน 3. ใช้แรงงานอย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. ช่วยใหใ้ ชพ้ ื้นทโ่ี รงงานใหไ้ ด้ประโยชนอ์ ย่างเตม็ ที่ 5. ช่วยมองเหน็ การปรับเปลีย่ นพน้ื ท่ีในอนาคต 6. ลดเวลาในการขนย้ายใหส้ ้นั ทสี่ ุดในการผลติ สนิ คา้ ต่าง ๆ 7. ทาใหค้ นงานมสี ุขภาพจิตทด่ี ี 8. ช่วยลดสิง่ รบกวนตา่ ง ๆ การเคลื่อนย้ายวัสดุในโรงงาน เป็นกิจกรรมที่ไม่ได้สร้างมูลค่า แต่กลับจะเพิ่มต้นทุน ดังน้ันต้อง พิจารณาเครื่องขนย้าย ขนาดความกว้าง ความสูง ทิศทาง การเคลื่อนที่ให้เหมาะสมเพื่อนามาช่วยในการ ขนยา้ ย มหี ลายอย่าง ได้แก่ รางเล่ือน รถอตุ สาหกรรม รถอัตโนมตั ิ ป่ันจน่ั และรอก และหุน่ ยนต์ เปน็ ต้น 2.3.4 การวางผังกระบวนการผลิต การวางผงั โรงงาน จะดาเนนิ การหลงั จากท่ีไดท้ าการกอ่ สร้างอาคารโรงงานเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว เป็น เรื่องท่ีเกี่ยวกับการออกแบบในการวางผังโรงงานให้แก่ระบบการผลิตนั้น ผู้ออกแบบจาเป็นต้องทราบถึง ขั้นตอนการผลิต เพื่อจัดสถานที่ปฏิบัติการและจัดวางเคร่ืองจักรต่าง ๆ ให้เหมาะสมเพื่อที่จะให้การผลิต มี ความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพสูงสุด แต่ถ้าหากจัดวางตาแหน่งเครื่องจักร และ อุปกรณ์ไม่เหมาะสม ผลท่ีตามมาอาจเกิดความสูญเสียในการทางาน เคร่ืองจักรว่างงานมาก คนงานเกิด ความสับสนในการทางาน ทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น โดยทั่วไปแล้วการวางผังโรงงาน เม่ือมีความ จาเป็นต้องโยกยา้ ย เปลี่ยนแปลงเคร่ืองจักร หรือแผนกงานต่าง ๆ การจดั วางผังโรงงานให้ดีน้ัน จาเป็นต้อง ใช้วิศวกรโรงงาน ผู้บริหารจะต้องให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิด จึงจะทาให้งานสาเร็จลงได้ และเกิด ประโยชนส์ ูงสุดตามวัตถปุ ระสงค์ ดงั นัน้ ความจาเปน็ ท่ีตอ้ งมีการวางผงั โรงงาน มีสาเหตหุ ลายประการดงั น้ี 1. การเปล่ยี นแปลงลักษณะของผลิตภัณฑ์ 2. ขยายหรอื ลดขนาดของหน่วยงาน 3. การเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยขี องเครอ่ื งจักร 4. การย้ายหน่วยงานหรอื แผนก 5. การเพิม่ ชนดิ ของผลิตภัณฑ์ใหม่ 6. การเปลย่ี นแปลงสภาพการทางานทไี่ ม่เหมาะสม 2.3.4.1 วตั ถุประสงคข์ องการวางผงั กระบวนผลติ การวางผังโรงงานหรอื สถานประกอบการ เพื่อให้ได้ใชพ้ น้ื ท่ีอยา่ งคมุ้ ค่า เกิดความปลอดภัย กระบวนการผลิต และการทางานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมวี ัตถุประสงคท์ ีส่ าคญั ดังตอ่ ไปน้ี 1. เพื่อลดระยะทางและเวลาในการเคล่ือนย้ายวสั ดุ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

48 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 2. เพ่ือช่วยลดเวลาในการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ และขจัดปัญหาด้านการทางานมาก เกนิ ไป 3. เพื่อความสะดวกในการดาเนินงาน 4. เพื่อขจัดส่ิงรบกวน การสั่นสะเทือนของพ้ืนที่ ฝุ่นละออง ความร้อน กล่ิน การ ถ่ายเทอากาศ 5. เพื่อจัดแผนงานต่าง ๆ ให้ทางานในกรอบความรับผิดชอบชัดเจน ให้เอื้อต่อ กระบวนการผลิต และงา่ ยตอ่ การควบคมุ 6. เพ่ือการจดั วางพ้ืนทีใ่ ห้มปี ระโยชนอ์ ยา่ งเต็มที่ 7. เพ่อื ลดความเสี่ยงต่อปญั หาด้านสุขภาพและสรา้ งความปลอดภยั ให้กับคนงาน รูปที่ 2.19 ตัวอย่างการวางผงั โรงงานของสถานประกอบการ (ท่มี า : http://www.thailandindustry.com, 2559) 2.3.4.2 เป้าหมายพน้ื ฐานของการวางผังโรงงาน การออกแบบผังโรงงาน เป็นกระบวนการท่ีซับซ้อน เพราะจะเป็นการวางแผนที่เกี่ยวข้อง กับงานหลาย ๆ ด้านทต่ี ่างก็มีความสัมพนั ธก์ ันมากบ้างน้อยบ้างและงานแต่ละด้านก็มีผลกระทบต่อผลกาไร ทั้งส้ิน การออกแบบผังโรงงานท่ีไม่ถูกต้องจะทาให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงข้ึน เพราะจะทาให้มีการใช้ ทรัพยากรการผลติ อยา่ งไม่มีประสทิ ธผิ ล โดยมีเป้าหมายพ้นื ฐานดงั นี้ 1. หลักการเกี่ยวกับการรวมกิจกรรมทั้งหมด ผังโรงงานท่ีดีจะต้องรวมคน วัสดุ เคร่ืองจกั ร กจิ กรรมสนับสนุนการผลติ และข้อพจิ ารณาอื่น ๆ ที่ยงั ผลทาให้การรวมตวั กนั ดีท่สี ดุ 2. หลักการเกี่ยวกับการเคลือ่ นทใี่ นระยะทางสั้นที่สุด ผังโรงงานทีด่ ีกค็ ือ ผังโรงงาน ท่มี รี ะยะทางการเคลอ่ื นทขี่ องการขนถ่ายวสั ดรุ ะหว่างกิจกรรม หรอื ระหวา่ งหนว่ ยงานนอ้ ยทส่ี ุด 3. หลกั การเก่ียวกับการไหลของวัสดุ การไหลของวัสดุต้องเป็นไปอย่างต่อเนอื่ ง ไป ยังหนว่ ยงานตอ่ ๆ ไปโดยไมม่ กี ารวกวนกลบั ไปกลบั มา หรือเคล่ือนท่ตี ดั กนั ไปมา 4. หลักการเก่ียวกับการใช้พ้ืนที่ การใช้พ้ืนที่ให้เป็นประโยชน์มากที่สุดทั้งแนวนอน และแนวตัง้ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

49 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 5. หลักการเกี่ยวกับการทาให้คนงานมีความพอใจและมีความปลอดภัย ผังโรงงาน ทีไ่ มด่ เี ป็นเหตกุ อ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายและอุบตั ิเหตตุ ่อคนและทรัพยส์ นิ ของโรงงาน 6. หลักการเกี่ยวกับความยืดหยุ่น ผังโรงงานที่ดีต้องสามารถปรับปรุงหรือ เปลยี่ นแปลงโดยเสียค่าใชจ้ า่ ยนอ้ ยทส่ี ดุ และทาได้สะดวก 2.3.4.3 ความหมายของการวางผงั โรงงาน การวางผังโรงงาน (Plant Layout) หมายถึง การจัด วางเคร่ืองมือ เครื่องจักร วัสดุ อปุ กรณ์ วัตถอุ ื่น ๆ และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการผลิต เพื่อช่วยสนับสนุนกระบวนการ ผลิตภายใต้ข้อจากัดของอาคารท่ีมีอยู่ให้เหมาะสมกับตาแหน่ง โดยทาให้การดาเนินการผลิตน้ันเกิด ประโยชน์ มคี วามสะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั และเกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ 2.3.4.4 ความสาคัญของการวางผงั โรงงาน การวางผังโรงงานมคี วามสาคัญ ซึ่งเปน็ กจิ กรรมในการกาหนดตาแหน่งของคน เคร่ืองจักร วัสดุ และสงิ่ สนบั สนนุ การผลิตให้อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม ก่อให้เกิดกระบวนการผลติ ท่เี หมาะสม ลดเวลา ว่างเปล่า (Idle Time) การไหลของวัสดุเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลาการผลิตสั้นลง มีความยืดหยุ่นสูง เมือ่ มกี ารปรับปรงุ หรือเปล่ียนแปลงทาได้สะดวกและเสยี ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ส่งผลตอ่ ต้นทนุ การผลติ ต่าลง 2.3.4.5 ประโยชนข์ องการวางผังโรงงาน การออกแบบผังโรงงานช่วยทาให้การดาเนินการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึง ประโยชนข์ องการวางผงั โรงงานที่เหมาะสม มีดังตอ่ ไปนี้ 1. ชว่ ยให้เกิดความสมดลุ ในกระบวนการผลติ 2. ชว่ ยทาให้ลดคา่ เงนิ ลงทุนสาหรบั เครือ่ งจกั ร 3. ช่วยลดอนั ตรายและอุบัติเหตุท่จี ะเกดิ ขึ้นกบั คนงาน 4. เกดิ การใชพ้ ื้นท่ภี ายในโรงงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 5. ชว่ ยลดสิ่งรบกวนท่ีเกิดจากเครือ่ งจักร 6. ช่วยทาให้สภาพแวดล้อมในการทางานดีขน้ึ 7. ช่วยใหก้ ารใชแ้ รงงานที่มอี ยู่ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 8. ชว่ ยใหล้ ดคา่ ใชจ้ ่ายในการขนยา้ ยวสั ดุ 9. ชว่ ยให้มีความยดื หยุ่นตอ่ การเปลย่ี นแปลงท่อี าจเกดิ ขน้ึ 10. ประโยชน์อื่นๆ เช่น ลดแรงงานทางอ้อม ลดความสูญเสีย การควบคุมดูแล สะดวก การปรบั ปรงุ สภาพการทางานไดง้ า่ ยข้นึ การประหยดั พลังงาน และดา้ นการบรกิ ารอ่นื ๆ เป็นตน้ 2.3.4.6 ประเภทของการวางผังโรงงาน การวางผังโรงงานเป็นวิธีหน่ึงท่ีจะช่วยให้องค์กรเกิดความได้เปรียบเปรียบในด้านการ แข่งขัน ในการจัดวางเครื่องมือเครือ่ งจกั ร และอุปกรณ์สาหรับการผลิต จะต้องทราบถึงลักษณะของโรงงาน กระบวนการผลิต ความเหมาะสมในการนาไปใช้งานและข้อมูลการใช้งานของเครื่องจักร โดยประเภทของ การวางผังโรงงาน มดี ังตอ่ ไปนี้ อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

50 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 1. การวางผังตามกระบวนการผลิต (Process Layout) การวางผังตามกระบวนการผลิต (Process Layout) เป็นการจัดวางเคร่ืองมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้เป็นหมวดหมู่ หรือลักษณะการใช้งานเหมือนกันไว้ในแผนกเดียวกัน การ วางผังโรงงานแบบน้ีเหมาะสาหรับการผลิตที่มีจานวนไม่มาก อาจผลิตตามใบสง่ั ซือ้ ขนาดของผลิตภัณฑ์ไม่ แนน่ อน สามารถเปลีย่ นแปลงไดต้ ลอดเวลาแต่กส็ ามารถผลิตไดห้ ลายชนดิ ดงั สามารถแสดงได้ดังรูปท่ี 2.20 ตารางที่ 2.1 ข้อด-ี ข้อเสยี ของการวางผงั ตามกระบวนการผลติ ขอ้ ดี ขอ้ เสยี 1. ใช้เงินในการลงทนุ ตา่ 1. มกี ารใช้พื้นที่ภายในของโรงงานมาก 2. ถ้าหากเครื่องจักรเสียกไ็ ม่ทาให้กระบวนการ 2. การวางแผนควบคมุ การผลิตทาไดย้ ากและมี ผลติ หยุดชะงกั ทัง้ หมด ความซบั ซ้อน 3. มีความคลอ่ งตวั ในการเปล่ียนแปลงกรรมวิธกี าร 3. การใชเ้ คร่อื งมอื เคร่ืองจักรไมค่ ่อยมี ผลติ ประสิทธิภาพ 4. การขยายกาลังการผลติ ไม่ตอ้ งซื้อเคร่ืองจกั ร 4. ตอ้ งใชเ้ วลาในการฝึกอบรมและมีปรมิ าณสนิ ค้า ทั้งหมด คงเหลือมาก ที่มา : http://www.thailandindustry.com, 2559 2. การวางผงั ตามลกั ษณะผลติ ภัณฑ์ (Product Layout) การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ (Product Layout) เป็นการจัดลาดับขั้นตอน การผลิต โดยจัดเรียงแถวเคร่ืองจักร ไปตามข้ันตอนการผลิต ซ่ึงจะมีการผลิตสินค้า เป็นแบบชนิดเดียว เหมาะสาหรับการผลิตแบบต่อเน่ือง เช่น การผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ การผลิตรถยนต์ และการผลิตกระป๋อง เปน็ ตน้ ดงั สามารถแสดงไดด้ ังรปู ที่ 2.21 ตารางท่ี 2.2 ขอ้ ดี-ข้อเสยี ของการวางผังตามลักษณะผลติ ภณั ฑ์ ข้อดี ขอ้ เสยี 1. การควบคมุ การผลิตสามารถทาได้ง่าย 1. การลงทุนในการซื้อเครือ่ งจักรตน้ ทุนสูง 2. สามารใชพ้ น้ื ทภี่ ายในโรงงานได้อยา่ งมี 2. ถา้ เครือ่ งจักรชนิดใดเสียจะทาให้เกดิ การหยดุ ประสิทธิภาพ การผลติ ลงทงั้ หมด 3. การผลิตท่ีมีจานวนมาก จะสามารถใช้งานจาก 3. การเปลีย่ นแปลงผลิตภัณฑ์ส่งผลตอ่ การ เครอื่ งจักรอย่างเตม็ ที่ ปรบั เปลยี่ นเคร่อื งจักรและไม่คล่องตวั 4. ใช้เวลาในการผลติ นอ้ ยและลดเวลาขนย้าย 4. ตอ้ งซ้อื เครอื่ งจกั รใหม่หมดถา้ มกี ารขยายกาลงั การผลติ ทีม่ า : http://www.thailandindustry.com, 2559 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

51 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ รูปท่ี 2.20 การวางผงั ตามกระบวนการผลิต (Process Layout) (ท่ีมา : อภชิ าติ ศรีชาติ, 2559) รปู ท่ี 2.21 การวางผังตามลกั ษณะผลติ ภณั ฑ์ (Product Layout) แบบหลายผลติ ภัณฑ์ (ที่มา : อภิชาติ ศรชี าติ, 2559) 3. การวางผงั แบบอยูก่ ับที่ (Fixed Position Layout) การวางผังแบบอยู่กับที่ (Fixed Position Layout) เป็นการวางผังโดยชิ้นงานจะ อยูก่ บั ท่ี โดยนาอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือ เครื่องจกั รตา่ ง ๆ ไปใช้ในการผลติ ชิ้นงานชิน้ หนึ่ง ซึ่งจะมีนา้ หนักมากหรือ มีขนาดใหญ่ เช่น การสร้างเข่ือน การสร้างเรือ และการสร้างเครื่องบิน เป็นต้น ดังสามารถแสดงได้ดังรปู ท่ี 2.22 อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

52 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ ตารางท่ี 2.3 ขอ้ ด-ี ขอ้ เสียของการวางผงั ตามลักษณะผลติ ภณั ฑ์ ขอ้ ดี ข้อเสีย 1. ค่าใชจ้ ่ายในการลงทนุ ในการจัดวางผังต่า 1. ไมส่ ามารถทาการผลิตได้ในปริมาณมาก ๆ 2. การควบคุมตรวจสอบสามารถทาได้ง่าย 2. ใชร้ ะยะเวลาในการผลิตนาน ตอ้ งรอเครื่องจักร ในกระบวนการผลิต 3. ควบคุมกระบวนการผลติ ไดง้ ่าย 3. ใหอ้ ตั ราการผลติ ทต่ี ่าและช้า 4. การจัดลาดบั กระบวนการผลติ ไม่มคี วามซบั ซ้อน 4. ต้องเคลื่อนย้ายเคร่ืองจักรต่าง ๆ เขา้ หาชนิ้ งาน ท่มี า : http://www.thailandindustry.com, ออนไลน์ รูปท่ี 2.22 การวางผงั แบบอยู่กับที่ (Fixed Position Layout) (ทม่ี า : อภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) อภิชาติ ศรีชาติ รูปที่ 2.23 การวางผงั โรงงานแบบผสม (Mixed Layout) (ท่ีมา : อภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) สาขาวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

53 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 4. การวางผงั แบบผสม(Mixed Layout) การวางผังแบบผสม (Mixed Layout) เป็นการวางผังที่ผสมผสานรูปแบบการวาง ผังแบบ 1-3 โดยอาจจัดพนักงานให้ทางานเป็นกลุ่ม ซ่ึงให้จัดงานกันเอง อาจจัดการทางานออกเป็นกลุ่ม ผลิต เพ่ือผลิตเพียงบางส่วนของผลิตภัณฑ์ เช่น การผลิตอุปกรณ์ชิ้นส่วนวิทยุและโทรทัศน์ เป็นต้น แบงอ อกเป็ น 3 กลุ่ม คือ การวางผังแบ บ เซลล์ (Cellular) การวางผังแบ บ ป รับ เป ลี่ยน (Flexible Manufacturing Systems) และการวางผังแบบผลิตภัณฑ์ผสม (Mixed Model Assembly Lines) ดัง สามารถแสดงได้ดังรปู ท่ี 2.23 2.3.4.7 ขน้ั ตอนการวางผงั โรงงาน 1. ข้ันตอนการวางผังโรงงานแบบทั่วไป ขั้นตอนการวางผังโรงงานแบบทว่ั ไป มีด้วยกัน 3 ขน้ั ตอนดังน้ี 1. การวางผังโรงงานข้ันต้นการวางผังโรงงานแบบนี้เป็นการกาหนดขอบเขต เอาไว้กวา้ ง ๆ วา่ จะกาหนดให้พน้ื ทีน่ ท้ี าอะไร พน้ื ทีต่ รงนี้ตอ้ งอยู่ใกลก้ บั หน่วยงานใด เป็นต้น 2. การวางผังโรงงานอย่างละเอียด เป็นการกาหนดรายละเอียดในแต่ละ แผนกว่าในแผนกน้ีจะติดตั้งเครื่องจักร เคร่ืองมือตรงไหน มุมไหนทางเดินภายในแผนก จะกาหนด อย่างไร สรุปแลว้ การวางผังโรงงานอย่างละเอียดก็คอื การมองไปในรายละเอียดของแตล่ ะแผนกนน่ั เอง 3. การติดตั้งเคร่ืองจักรเป็นขั้นนาการวางผังโงงานอย่างละเอียดมาสู่การ ปฏบิ ัติ คือการติดตั้งเคร่อื งจกั รตามทีว่ างผงั ไว้แล้วใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านได้ 2. ขน้ั ตอนในการวางผงั โรงงานแบบท่ีเป็นระบบ ข้ันตอนในการวางผังโรงงานแบบท่ีเป็นระบบ หมายถึง การวางผังโรงงานท่ีเป็น ระบบมีประสิทธิภาพนั้น ผู้ท่ีทาการวางผังโรงงานจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการวางผังโรงงาน โดยมวี ธิ ที ่ีควรปฏิบัตดิ งั น้ี 1. การเก็บรวมรวมข้อมูล เป็นข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือใช้ในการประกอบการ วางแผน 1.1 จานวนลักษณะของแรงงาน และเคร่อื งมอื เครื่องจักร อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการผลติ 1.2 ขนาดของกาลงั การผลติ ทท่ี างโรงงานตอ้ งการ 1.3 ความต้องการลักษณะของพื้นที่ใช้สอย ใช้ในการจัดเก็บวัตถุดิบ สินคา้ คงเหลือและผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูปต่าง ๆ 1.4 ขนาดและลักษณะของทางเดิน เส้นทางไหลหรือเคล่ือนย้ายวัสดุไป ตามจุดบรเิ วณต่าง ๆ ในระหว่างทาการผลิต 1.5 ทราบถึงลักษณะขนาดของความกว้าง ความยาว ของโรงงานมีพื้นที่ ใชส้ อยทใ่ี ชใ้ นการตงั้ โรงงานดังกล่าว 1.6 ลักษณะอปุ กรณ์พเิ ศษทจี่ าเป็นจะต้องวางในโรงงาน 2. การวางแผนผังกระบวนการผลิต เป็นการวางผังโรงงานอย่างละเอียด ผู้ วางแผนจะต้องกาหนดบริเวณสาหรบั ติดตั้งเคร่ืองจักร บริเวณสานักงาน บริเวณผลิต บรเิ วณห้องเคร่ืองมือ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

54 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ บริเวณเก็บพัสดุ และบริเวณอ่ืน ๆ เป็นส่วนประกอบ โดยต่อไปจะกาหนดรายละเอียดว่าแต่ละแผนกจะ ตดิ ต้ังเคร่ืองจักรตรงไหน ทางเดินภายในแผนกจะผ่านตรงไหน มคี วามเหมาะสมมากน้อยเพียงใด โดยมีการ ใช้เทคนิคตา่ ง ๆ มาใช้ในการวางแผนได้ดงั นี้ 2.1 วิธีการวาดรูป (Drawing) คือผู้วางผังจะต้องเตรียมผังวาดตาม มาตราส่วน กาหนดว่าจะวางเคร่ืองจกั รตรงไหน บริเวณใด เม่อื ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องแล้วก็จะนาไปปรึกษากับ ฝ่ายต่าง ๆ เพ่ือแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ซ่ึงอาจรา่ งผังโรงงานใหม่อีกครั้ง โดยช่วยให้การวาง ผังโรงงานออกมาในรูปแบบท่ีสมบูรณ์ และเหมาะสมท่ีสุด เป็นท่ีนิยมเหมาะสาหรับโรงงานท่ีจะนาไปใช้ใน การวางผังกระบวนการผลิตที่จาเป็นต้องใช้เครื่องจักรที่มีจานวนมาก บริเวณผลิตจะมีพ้ืนท่ีกว้างขวาง เพยี งพอ 2.2 วธิ ีการสร้างแผ่นภาพจาลอง (Templates) คอื จะใช้กระดาษแข็งตัด ให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ซึ่งจะใช้กระดาษสีคละกัน ตัดเป็นรูปร่างเครื่องจักรแบบต่าง ๆ แล้วนาไปวางบน แผ่นกระดาษแข็งที่จัดไว้เป็นพื้นโรงงาน โดยมีการย่อมาตราส่วนกาหนดไว้ให้เล็กลง เพื่อความสะดวกใน การวัดระยะต่าง ๆ 2.3 วิธกี ารสรา้ งหุ่นจาลอง (Models) การวางผังโรงงานอตุ สาหกรรมใน ปัจจุบันเป็นท่ีนิยมใช้กันมาก เพราะสะดวกในการเคลื่อนย้ายหุ่นจาลองเคร่ืองจักร เม่ือต้องการปรับปรุง เปล่ียนแปลงผังโรงงานใหม่ หุ่นจาลองทาจากไม้ซึ่งจะทาสีที่แตกต่างกัน โดยขนาดจะลดลงไปตามขนาด มาตราส่วน แล้วนาไปวางลงบนแผน่ พน้ื รูปโรงงาน ตามขนาดสดั สว่ นทีไ่ ด้วางตาแหนง่ เอาไว้ รปู ที่ 2.24 แผ่นภาพแบบจาลองธรุ กิจ (Business Model Canvas) (ทม่ี า : http://www.thailandindustry.com, 2559) อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

55 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ รปู ท่ี 2.25 วธิ ีการสรา้ งหนุ่ จาลอง (ท่ีมา : http://www.thailandindustry.com, 2559) 3. การจัดทาแผนภูมิการไหลกระบวนการผลิต (Process Flow Chart) เป็น การบันทกึ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลติ โดยมีการกาหนดสัญลักษณ์แทนกิจกรรมต่าง ๆ ไว้ เพ่ือทาให้เข้าใจ กระบวนการผลิตได้ง่ายขึ้น ซึ่งสมาคมวิศวกรรมเคร่ืองกลแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (American Society of Mechanical Engineer: ASME) เปน็ ผ้กู าหนดสัญลักษณ์ขนึ้ มามี 6 ชนดิ คือ 3.1 การดาเนินงาน (Operation) เป็นการเปลี่ยนแปลงแปรสภาพ วตั ถุดบิ การถอดประกอบวัสดุ การเตรยี มวัสดุ และอนื่ ๆ ซึง่ นับว่าเป็นการดาเนินการอย่างหนง่ึ 3.2 การตรวจสอบ (Inspection) เป็นการตรวจสอบนับจานวน พจิ ารณาถึงคณุ สมบัติวา่ เป็นไปตามมาตรฐานหรอื ไม่ และจานวนปรมิ าณว่าเปน็ ไปตามกาหนดหรือไม่ 3.3 การขนส่ง (Transportation) เป็นการเคล่ือนย้ายผลิตภัณฑ์ จากทห่ี น่งึ ไปยังอกี ทีห่ นึง่ เพื่อทาให้การผลิตดาเนนิ ไปอยา่ งต่อเน่ือง 3.4 การรอคอย (Delay) เป็นขั้นตอนที่วัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ต้อง หยุดรอการเสียเวลาในการผลติ หรอื เป็นการหยุดชัว่ ขณะ เพ่ือใหห้ น่วยผลติ ทอี่ ยถู่ ัดไปว่างจงึ จะสง่ เข้าหนว่ ย ผลติ ได้ หรือรอการขนยา้ ย 3.5 การเก็บรักษา เป็นการรักษาวตั ถดุ บิ หรอื ผลิตภณั ฑ์ ไว้ใช้สาหรับ กระบวนการผลิตและเก็บไวส้ าหรับนาออกไปใชง้ าน 3.6 กิจกรรมผสม (Multiple Operation) หรือการรวมกิจกรรม (Combined Activity) คือจะมกี ิจกรรมหลาย ๆ กจิ กรรมรวมกัน ซ่ึงจะใชส้ ัญลกั ษณ์วงกลมอยู่ภายในกรอบ สเ่ี หลี่ยม วงกลม หมายถึง การดาเนินงาน และส่ีเหล่ียม หมายถึง การตรวจสอบไปพร้อม ๆ กัน ณ บริเวณ หนว่ ยผลติ นัน้ ๆ แผนภูมิการไหล คือแสดงผังบริเวณท่ีทางานและตาแหน่งของเครื่องจักรที่ เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต โดยจะกาหนดสเกลหรือไม่กาหนดก็ได้ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสม สามารถแบ่งออกได้ 2 ชนิดคือ 1. ผังการไหลของวัสดุ (Material Type) เป็นการแสดงถึง การเคล่ือนท่ี ของวตั ถุดิบในกระบวนการผลิต อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี

56 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ คนในการทางาน 2. ผังการไหลของคน (Man Type) เป็นการแสดงถึงการเคลื่อนท่ีของ สญั ลกั ษณ์ ช่ือ ลักษณะการทางาน การดาเนนิ งาน (Operation) การตรวจสอบ (Inspection) การขนสง่ (Transportation) การรอคอย (Delay) การเกบ็ รักษา กิจกรรมผสม (Multiple Operation) รปู ท่ี 2.26 สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นแผนภมู กิ ระบวนการผลิต (ที่มา : http://www.thailandindustry.com, 2559) 2.3.4.8 ปัจจัยท่ีใชพ้ จิ ารณาในการวางผังโรงงาน 1. ความต้องการสาหรับผลิตภัณฑ์ซ่ึงต้องการเคร่ืองจกั รในการผลิตสาหรับวัตถปุ ระสงค์ก็ แตกต่างไปในการผลิตแต่ละชนิด ซึ่งการวางแผนท่ีควรจะให้มีความยืดหยุ่นเพ่ือการเปลี่ยนแปลงในเร่ือง การใช้เคร่ืองจักรต่าง ๆ ควรมีการวางแผนไวส้ าหรับการใช้เคร่ืองจักร โดยท่ัว ๆ ไปเมือ่ มีการเปลยี่ นแปลงก็ อาจจะเปลีย่ นได้โดยงา่ ย 2. การเสี่ยงภัยของความล้าสมัยของเคร่ืองจักรโดยในปัจจุบันมีความล้าสมัยเร็ว เพราะ โรงงานผลิตได้พยายามปรับปรุงและผลิตรูปแบบใหม่ ๆ มันจึงเป็นเร่ืองเสี่ยงภัย และไม่ฉลาดเลยในการจะ ลงทนุ ซื้อเครอื่ งจกั รทใี่ กลจ้ ะลา้ สมัยมาตดิ ตง้ั ใชใ้ นโรงงาน อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

57 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 3. คุณภาพของผลผลิต เป็นสิ่งหนึ่งท่ีต้องคานึงในเร่ืองการวางแผนผังโรงงาน เพราะ วตั ถุประสงค์ของการผลติ คือต้องการให้สนิ ค้ามีคุณภาพสงู ดังน้ันในบางครั้งคุณภาพของสินค้าอาจจะลดลง เพราะแบบการติดต้ังเครื่องจักรไม่ถูกต้องจึงทาให้คุณภาพของสินค้าอาจลดลง ด้วยสาเหตุจากการใช้ เครื่องจักรล้าสมัยจึงทาใหส้ ินค้านั้นล้าสมัยไปด้วย ดังน้ันจึงควรใช้เครื่องจกั รใหม่ เพ่ือปรับปรุงคุณภาพของ สินค้าใหใ้ หม่ตามไปด้วย ซ่งึ เปน็ การลดต้นทนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการผลิตไปในตัว 4. คา่ ใชจ้ า่ ยในการบารุงรักษา เครือ่ งจกั รมักจะเสยี คา่ ใชจ้ ่ายในการบารงุ รักษาน้อยและถ้า หากติดต้งั เครือ่ งจักร เพื่อทจี่ ะใช้ผลติ ตอ่ เนอื่ งกันได้ กน็ ับว่าจะลดตน้ ทนุ ในการบารุงรกั ษาให้นอ้ ยลงได้ 2.3.4.9 การจัดวางผงั โรงงานที่ดี 1. เคร่ืองมือการขนถ่ายลาเลียงวัสดุ ควรมีการออกแบบแผนผัง ให้สอดคล้องกับการใช้ เคร่ืองมอื ตา่ ง ๆ ด้วย 2. พ้ืนทวี่ ่าง ควรจะต้องมพี ้ืนที่ว่างระหว่างกันระหว่างโตะ๊ ทางาน เคร่ืองจักร วัสดุอปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ 3. สภาพแวดล้อมและความสวยงาม ควรจัดมุมมองจากทางหน้าต่าง การประดับด้วย ตน้ ไม้ การระบายอากาศทด่ี ี ฯลฯ 4. การส่ือสารหรือการไหลของข้อมูล เป็นการส่ือสารระหว่างกัน และจาเป็นต่อการ ดาเนนิ งาน 5. ต้นทุนในการเคลื่อนย้าย หรือส่งวัสดุไปยังหน่วยผลิตต่าง ๆ ควรต้องคานึงถึงระยะ ทางการเคลอื่ นยา้ ย และเวลาทใ่ี ช้ 2.3.4.10 หลักเกณฑ์ในการวางผังโรงงาน การวางผังโรงงานหรือสถานประกอบการต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทาง ซ่ึงมีหลักเกณฑ์ที่ใช้ ในการพิจารณา ดังตอ่ ไปน้ีคือ 1. ความคล่องตัว คือในการเคลื่อนยา้ ยวัสดุ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ต่าง ๆ จะต้องมี ความคล่องตวั สามารถเปลย่ี นแปลงไดง้ ่าย 2. การประสานงาน คอื แต่ละแผนกงานจะต้องมีการประสานท่ีดีและสอดคล้องกัน เพอ่ื ทาการผลิต สามารถดาเนนิ การผลิตใหส้ มั พนั ธซ์ ่ึงกนั และกัน 3. การใช้ประโยชน์ของเน้ือที่ คือทุกส่วนของพ้ืนที่โรงงาน จะต้องใช้ให้เกิด ประโยชนม์ ากทสี่ ุด 4. เข้าถึงง่ายที่สุด หรือหยิบใช้ได้ง่ายสะดวก คืออุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรต่าง ๆ จะตอ้ งมีทางผ่านเข้าถึงได้งา่ ย สะดวก และไม่ควรมสี ิ่งกีดขวางทางเดิน 5. มองเห็นได้ชัดเจน คือบริเวณของโรงงานมีแสงสว่างท่ีสามารถมองเห็นได้ชัดเจน เครอื่ งจกั รควรมีการจัดไวใ้ ห้เป็นสัดสว่ นและเป็นระเบียบเพอ่ื ช่วยลดอุบตั เิ หตุทอ่ี าจจะเกิดขึ้นได้ 6. การเคลื่อนย้ายน้อย คือควรจะหลีกเล่ียงการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ระหวา่ งการผลิตโดยไม่จาเป็นและควรเลือกใช้อุปกรณ์ในการขนถ่ายให้เหมาะสมกับลักษณะงาน เพ่ือความ สะดวกรวดเร็วในการทางาน อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

58 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 7. เคลื่อนย้ายวัสดุทางเดียว คือเส้นทางในกระบวนการผลิตควรที่จะเป็นเส้นทาง เดียวกันไม่ควรท่ีจะสวนทางกัน เพราะอาจทาให้เกิดความสับสนเกิดความล่าช้าในการทางานหรืออาจจะ เกิดอุบตั ิเหตเุ กดิ ข้ึนได้เช่นกัน 8. ระยะทางส้นั ทสี่ ุด คือในการเคล่ือนยา้ ยวตั ถดุ ิบและผลิตภัณฑ์จะตอ้ งมีระยะทาง ทสี่ ั้นท่ีสุดเพื่อทาใหก้ ารดาเนินการผลิต เป็นไปได้อยา่ งต่อเนอ่ื งสมา่ เสมอ ซงึ่ จะช่วยประหยดั และลดต้นทุน การผลิต 9. ความปลอดภัย คือในการทางานจะต้องคานึงความปลอดภัย โดยเป็นเร่ืองที่ สาคัญมากอันดับแรกในการทางาน อุปกรณ์ เคร่ืองมอื เคร่ืองจักรต่าง ๆ ท่ีใช้ในโรงงาน จะต้องมีป้ายแสดง เตือนภัยต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถมองเห็นได้ชัดเจนและควรปลูกฝังจิตสานึกให้กับพนักงานหรือบุคลากรท่ี เกีย่ วขอ้ ง เช่น ถงั ดับเพลิง ประตูฉกุ เฉิน สญั ญาณเตือนภัย แสงสว่างเพยี งพอ และ อ่นื ๆ เป็นตน้ 10. สภาพแวดล้อมดี คือสร้างสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีดี คนงานมีความพึง พอใจในการทางาน การออกแบบผังของโรงงานควรท่ีจะมีอากาศถ่ายได้สะดวก การถ่ายเทความร้อน การ ควบคมุ เสยี ง การส่นั สะเทือน ห้องพักผอ่ น ห้องพยาบาล และส่งิ อานวยความสะดวกอืน่ ๆ ซงึ่ สิง่ เหลา่ นีช้ ่วย ใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านของคนงานมสี ภาพแวดล้อมที่ดีขน้ึ 2.3.5 ประโยชน์ของการเลอื กใช้เครื่องมอื ขนยา้ ยวัสดุในการวางผงั โรงงานต่อระบบการผลิต 1. ทาให้เกดิ ความสมดุลในกระบวนการผลิต 2. ชว่ ยใหเ้ กิดความปลอดภัยในการทางาน 3. ใช้แรงงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4. ชว่ ยใหใ้ ชพ้ น้ื ทใี่ นโรงงานใหไ้ ดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งเตม็ ที่ 5. ช่วยให้มองเห็นการปรบั เปลย่ี นพ้นื ท่ใี นอนาคต 6. ลดเวลาในการขนย้ายให้สัน้ สดุ 7. ทาให้คนงานมีสุขภาพจิตที่ดี การวางผังโรงงานที่ถูกแบบ จะช่วยทาให้บรรยากาศใน การทางานดีขึน้ 8. ช่วยลดสิ่งรบกวนต่าง ๆ จากกระบวนการผลติ 2.3.6 การวางแผนกาลงั การผลิต 2.3.6.1 กาลังการผลิต (Capacity) กาลังการผลิต (Capacity) คือ ความสามารถสูงสุดของหน่วยผลิตที่สามารถจะผลิต รองรับหรอื จดั เก็บไดใ้ นช่วงเวลาท่ีกาหนด โดยสามารถแบง่ ออกได้ 2 ประเภท คือ 1. กาลังการผลิตตามแผน (CPPlan ) คือ ความสามารถสูงสุดตามทฤษฏีท่ีระบบถูก ออกแบบไว้เพือ่ ให้ได้ผลผลติ ท่ตี ้องการตอ่ หน่ึงหน่วยเวลา กาลังการผลิตตามแผน (Planning Capacity Product) = PT (2.1) Time เมอื่ PT คือ ความสามารถสูงสุดตามทฤษฏที ร่ี ะบบถูกออกแบบไวเ้ พื่อให้ไดผ้ ลผลติ ทต่ี ้องการ Time คือ เวลา อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

59 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 2. กาลังการผลติ ท่ีมปี ระสิทธผิ ล (CPPerformance ) คือ กาลงั การผลิตที่องคก์ รคาดหวัง จะผลติ สินค้าหรอื บริการใหไ้ ด้ในระยะเวลาหนง่ึ ภายใต้เงือ่ นไขต่างๆ ทเ่ี ป็นขอ้ จากดั ของกระบวนการ กาลงั การผลติ ทม่ี ีประสทิ ธผิ ล (Performance Capacity Product) = PC (2.2) Time เมอื่ PC คอื กาลงั การผลิตท่ีองคก์ รคาดหวังจะผลิตสินคา้ หรอื บรกิ ารใหไ้ ด้ภายใต้เงอื่ นไขต่างๆ ทเ่ี ป็นข้อจากดั ของกระบวนการ Time คือ เวลา 2.3.6.2 ดชั นีชว้ี ัดประสทิ ธภิ าพของระบบ ดัชนที ่ใี ชว้ ัดประสิทธภิ าพของระบบมีท้ังส้ิน 2 ดัชนี คือ การใช้ประโยชน์ (Utilization) = PR (2.3) CPPlan ประสทิ ธภิ าพการผลติ (Efficiency) = PR (2.4) CPPerform ance เมื่อ PR คือ ผลผลิตท่ีเกดิ ขึ้นจริง CPPlan คอื กาลังการผลติ ตามแผน CPPerformance คอื กาลงั การผลิตทม่ี ปี ระสิทธิผล สงิ่ ท่ที าใหก้ าลังการผลิตของเรามีประสทิ ธภิ าพ มดี ังน้ี 1. ความแม่นยาในการพยากรณ์ความต้องการ (Forecast Demand Accurately) 2. ปรบั กาลังการผลิตให้มคี วามยดื หยนุ่ (Flexible Capacity) 3. เลือกกาลงั การผลติ ที่เหมาะสมทีส่ ุด (Choose the optimum capacity) 4. การจดั การอุปสงค์ (Managing Demand) 4.1 ความต้องการมากกว่ากาลงั การผลิต (Demand Exceeds Capacity) 4.2 กาลังการผลิตมากกวา่ ความตอ้ งการ (Capacity Exceeds Demand) 5. กลยทุ ธ์การขยายกาลงั การผลติ ตัวอย่างที่ 2.1 ในสัปดาห์ที่ผ่านมาโรงงานผลิตขนมปังแห่งหน่ึงผลิตขนมปังได้ 148,000 ชิ้น โดยโรงงาน แห่งนี้ได้กาหนดกาลังการผลิตท่ีมีประสิทธิผลไว้ที่ 175,000 ช้ิน ถ้าโรงงานแห่งน้ีเปิดทางาน 7 วันต่อ สัปดาห์ วันละ 3 กะ กะละ 8 ชั่วโมง สายการผลิตสามารถผลิตขนมปังได้ 1,200 ช้ินต่อช่ัวโมง จง คานวณหา 1. กาลงั การผลติ ตามแผน 2. การใชป้ ระโยชน์ (Utilization) อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี

60 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ 3. ประสิทธิภาพการผลติ (Efficiency) 4. ถ้าโรงงานแห่งน้ีต้องการประสิทธิภาพการผลิต 75% บริษัทแห่งนี้จะมีผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจริง เทา่ ใด วธิ ที า โจทย์กาหนดให้ 1. ผลติ ขนมปังได้ เทา่ กับ 148,000 ช้ิน คือขนมปงั ทผ่ี ลติ ได้จรงิ ( PR = 148,000) 2. กาลงั การผลิตท่มี ีประสทิ ธผิ ล เท่ากับ 175,000 ชน้ิ ( CPPerformance =175,000) 3. เวลาทางาน 7 วันต่อสัปดาห์ วันละ 3 กะ กะละ 8 ชั่วโมง เท่ากับ 7 x 3 x 8 = 168 ช่ัวโมง (Time = 168) 4. สายการผลิตสามารถผลติ ขนมปงั ได้ เท่ากับ 1,200 ช้ินต่อชว่ั โมง 1. กาลังการผลติ ตามแผน ตอบ กาลังการผลิตตามแผน (CPPlan ) = ความสามารถการผลิตขนมปังได้ x เวลา = 1,200 x 168 = 201,600 CPPlan = 201,600 ชิ้น 2. การใช้ประโยชน์ (Utilization) = PR การใช้ประโยชน์ (Utilization) CPPlan = 148,000 ตอบ 201,600 = 0.7341 3. ประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency) = PR ประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency) CPPerform ance = 148,000 ตอบ 175,000 = 0.8457 4. ถ้าโรงงานแห่งน้ตี อ้ งการประสทิ ธภิ าพการผลิต 75% บริษัทแห่งนีจ้ ะมีผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจรงิ เทา่ ใด ประสทิ ธิภาพการผลิต (%) = PR x 100 CPPerform ance 75 = PR x 100 175,000 75 = PR 100 175,000 PR = 75 x 175,000 100 ผลผลิตทีเ่ กิดข้นึ จรงิ ( PR ) = 131,250 ช้ิน ตอบ อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

61 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ ขยายกาลงั การผลติ กอ่ นทีจ่ ะมคี วามต้องการของลกู ค้า รักษากาลังการผลติ ให้นอ้ ยกว่าความต้องการของลกู คา้ จะเกิดข้ึน เสมอ รอความต้องการเพมิ่ ขึ้นอยา่ งแนน่ อนจงึ เพิ่มกาลงั การผลิต รปู ที่ 2.27 กลยุทธ์การขยายกาลังการผลติ (ท่มี า : http://www.thailandindustry.com, ออนไลน์) 2.3.6.3 การวิเคราะห์จดุ คมุ้ ทุน (Break-Even Analysis) การวเิ คราะห์จุดคมุ้ ทนุ สาหรับการวางแผนกาลังการผลิต เปน็ การคานวณหาจานวนหนว่ ย ในการผลิตท่ที าให้ “ตน้ ทุนรวม เทา่ กับ รายไดร้ วม” สมการที่ใช้ในการคานวณจุดค้มุ ทุน มีดังนี้ 1. จดุ คมุ้ ทุน (จานวนชิน้ ) จุดคมุ้ ทุน = CS (2.5) SC  CV 2. จดุ คุม้ ทนุ (จานวนเงิน) จุดคมุ้ ทุน = CS (2.6)  CV  1  SC    เมื่อ CS คือ ตน้ ทนุ คงท่ี SC คือ ราคาขายตอ่ หนว่ ย CV คอื ตน้ ทุนแปรผนั ตัวอย่างที่ 2.2 โรงงานผลิตกระดาษแห่งหนึ่งมีต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ในการผลิตเท่ากับ $10,000 ต้นทุนแรงงาน $1.5 ต่อหน่วย และต้นทุนวัตถุดิบ $0.75 ต่อหน่วย โรงงานผลติ กระดาษแห่งน้ีตั้งราคาขาย กระดาษ $4.00 ต่อรมี จงหาจดุ ค้มุ ทนุ ใหแ้ กโ่ รงงานผลิตกระดาษแหง่ นี้ วธิ ที า โจทยก์ าหนดให้ 1. ต้นทุนคงท่ี (Fixed Cost) ในการผลติ เท่ากับ $10,000 ( CS =10,000) อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

62 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ 2. ต้นทุนแรงงาน $1.5 ต่อหน่วย 3. ตน้ ทุนวตั ถดุ ิบ $0.75 ตอ่ หน่วย 4. ราคาขายกระดาษ $4.00 ตอ่ รมี ( SC =4.00) จะได้ว่า ต้นทุนแปรผัน = ต้นทุนแรงงาน + ต้นทุนวัตถุดิบ = $1.5 + $0.75 = $2.25 (CV =2.25) จุดคุ้มทุน (จานวนชนิ้ ) = CS ตอบ จุดคุ้มทนุ (จานวนช้ิน) SC  CV = 10,000 4.00  2.25 = 10,000 1.75 = 5,714.29 รีม จดุ คุ้มทุน (จานวนเงนิ ) = CS จดุ คุ้มทนุ (จานวนเงิน)  CV  1  SC    = 10,000 1  2.25  4.00  = 10,000 ตอบ 0.4375 = $22,857.14 2.4 การออกแบบระบบเครือ่ งมือขนถา่ ยวสั ดุ 2.4.1 การขนถา่ ยวัสดุ การขนถ่ายวัสดุเป็นกรรมการวิธีท่ีใช้ในการเคลื่อนย้ายวัสดุในกระบวนการผลิต นับตั้งแต่เป็น วตั ถดุ ิบจนเป็นสนิ คา้ - การขนถา่ ยวสั ดุเกดิ ข้ึนในการผลิตหน่งึ จานวน 50 - 70% ของกระบวนการท้ังหมด (20 - 35% ของมลู ค่าผลติ ภณั ฑ์) - การขนถา่ ยไมท่ าใหม้ ูลคา่ สงู ขึ้น แต่จะทาใหค้ ่าใช้จา่ ยในกระบวนการผลิตสงู ขึน้ 2.4.2 วัตถปุ ระสงค์หลักของการขนถ่าย วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของการขนถา่ ย มดี ังนี้ - เพ่อื ลดต้นทนุ การผลิต - เพ่ิมกาลงั การผลติ เพ่มิ ผลผลติ ตอ่ ช่ัวโมง เพ่ิมประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองจักร - ทาใหส้ ภาพการทางานดีข้นึ ปลอดภยั ลดความเหนื่อยล้า - ลดปริมาณของเสยี วสั ดเุ สยี หายน้อย - เพ่ิมประโยชน์ของการใช้พื้นท่ีและอุปกรณ์ ใช้พื้นท่ีและอุปกรณ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลดการหยดุ ของเครอ่ื งจกั รและอปุ กรณ์ อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

63 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ - การรบั -จา่ ยวสั ดไุ ด้ตามตอ้ งการ ถกู ต้อง ทง้ั จานวนและเวลา - ลดคา่ ใชจ้ า่ ย 2.4.3 สมการการขนถา่ ยวสั ดุ สมการการขนถ่ายวัสดุเป็นสิ่งที่ใช้ในการพิจารณาและแก้ปัญหาการขนถ่ายวัสดุ ซ่ึงจะมีคาถาม 6 คาถามในการขนถ่ายวสั ดุ ดังนี้ 1. ขนถา่ ยวัสดุทาไม? 2. ขนถ่ายวัสดุอะไร? 3. ขนจากไหนไปไหน? 4. ขนถา่ ยเมอื่ ไร? 5. ขนถา่ ยอยา่ งไร? 6. ขนถา่ ยโดยใคร? สมการการขนถา่ ยวัสดุ นัน่ คอื อะไร + ที่ไหน + เมือ่ ไร = อย่างไร + ใคร (2.7) วสั ดุ + การเคลอื่ นที่ = วิธีการ (2.8) ตวั อย่างที่ 2.3 จงเขยี นสมการการขนถา่ ยวสั ดุของตอ้ งการขนถ่ายเมล็ดธัญพืชไปเกบ็ รักษาในไซโล วิธที า สมการการขนถ่ายวสั ดุ เชน่ ตอ้ งการขนถา่ ยเมล็ดธัญพชื ไปเกบ็ รักษาในไซโล อะไร = วัสดุ คือ เมล็ดธัญพชื เชน่ ขา้ วเปลอื ก ขา้ วโพด ทีไ่ หน + เมอื่ ไร = การเคลอ่ื นที่ คือ ขนจากรถบรรทุกไปยังไซโลทุกวนั เชา้ และบ่าย อยา่ งไร + ใคร = วธิ ีการ คือ อุปกรณ์ลาเลียงในแนวราบและแนวดิ่งใช้คนควบคุมระบบ 2 คน 2.4.4 หลกั การทั่วไปของการขนถา่ ยวสั ดุ - ตอ้ งวางแผนกจิ กรรมสาหรบั การขนถา่ ยทุกอยา่ งใหส้ ัมพนั ธ์กัน - ลด รวม หรือกาจัดการเคล่อื นทีแ่ ละอุปกรณ์ทไี่ ม่จาเปน็ - ปล่อยใหว้ ัสดุเคลอ่ื นท่ดี ้วยน้าหนักของตัวเองมากทีส่ ุด - เพมิ่ ปริมาณ ขนาด น้าหนกั ของภาระใหม้ ากทส่ี ดุ - ใช้อุปกรณแ์ ละวิธีการที่ปลอดภัย ได้มาตรฐาน - ใช้ทีว่ ่างของอาคารใหเ้ ปน็ ประโยชน์มากท่สี ุด 2.4.5 สง่ิ ทค่ี วรคานงึ ถงึ ในการขนถ่ายวสั ดุ - สมบตั ิทางกายภาพและเคมขี องวัสดุ - สภาพพนื้ ท่แี ละส่ิงแวดล้อม อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

64 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบขนถ่ายวสั ดุ - กระบวนการผลิต - ลักษณะการขนถ่าย - คุณสมบัติของอุปกรณข์ นถ่าย 2.4.6 รปู แบบของอุปกรณข์ นถ่ายวสั ดุแบบต่อเนือ่ ง รูปแบบของอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุแบบต่อเนือ่ ง สามารถจาแนกได้หลายแบบ ดงั นี้ 1. หลกั การถา่ ยทอดกาลังของแรงขับไปยังวัสดุ - ขบั ด้วยกลไก - แรงโนม้ ถ่วงหรือนา้ หนกั ของวสั ดเุ อง - ขับแบบไฮดรอลกิ และนิวแมติกส์ 2. ชนดิ ของแรงขบั - มชี ุดลาก/ดงึ คือ วัสดุเคล่อื นท่ไี ปพรอ้ มกบั ชดุ ลาก - ไม่มีชุดลาก/ดึง คือ วัสดุเคลื่อนท่ีไปโดยอาศัยการหมุนหรือส่ันของกลไกของ อุปกรณ์ขนถา่ ย 3. ชนิดของวัสดุ - อปุ กรณ์ขนถ่ายวัสดปุ รมิ าณมวล - อปุ กรณ์ขนถา่ ยวัสดุช้นิ 4. ทิศทางและเส้นทางของวัสดุ - แนวดิ่ง - แนวราบ - ผสมกัน 5. ลักษณะของชดุ ขนถา่ ยวสั ดุ - สายพานต่อเนือ่ ง แผน่ เรยี บ - กระพอ้ กระบะ - รางเปิด รางปดิ - ขนถ่ายด้วยน้า ลม 6. การประยุกต์ใชง้ าน - อยู่กบั ท่ี - เคล่ือนยา้ ยได้ 2.4.7 การเลอื กอุปกรณ์ขนถา่ ยวัสดุ 1. การเลอื กในสภาพแวดล้อมทั่วไป - ตอบสนองความซับซอ้ นทางวศิ วกรรมของงานได้ - ควรมปี ระสิทธภิ าพในเทอมของเศรษฐศาสตร์ 2. แฟกเตอร์ทางวศิ วกรรม - คุณลักษณะของวสั ดุ - ความสามารถในการขนถ่ายของอปุ กรณ์ อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

65 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ การออกแบบระบบขนถา่ ยวสั ดุ - ทิศทาง ความยาว ค่าตา่ ง ๆ ของเสน้ ทางขนถา่ ย - วิธีการปอ้ นและถ่ายวสั ดุ - ความเขา้ กนั กบั กระบวนการผลิต - สงิ่ แวดล้อมทท่ี างาน 3. แฟกเตอร์ทางเศรษฐกิจ - คา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ต้งั - ค่าใชจ้ ่ายในการปฏบิ ตั ิงาน - คนงานประจาหน่วย - ระยะคืนทุน 4. ทศิ ทางของการพฒั นา - การเคลอื่ นทอี่ ยา่ งตอ่ เนือ่ งของวสั ดุจากจดุ เริ่มต้นไปจุดปลาย - เพ่มิ ความสามารถในการขนถา่ ย - พฒั นาเสน้ ทางในแนวเอียงท่ชี นั เพอื่ เพม่ิ ความเร็วในขนถ่าย - เพ่มิ ความสามารถในการขนถ่ายในสภาพการทางานหนัก - การควบคุมอตั โนมัติ - ใชค้ อมพวิ เตอร์ออกแบบ - ลดการใช้โลหะ - แขนกล - สรา้ งมาตรฐานของอุปกรณ์ขนถ่าย 2.4.8 สมบตั ทิ างกายภาพของวสั ดุ 1. ชนดิ ของวสั ดุ - วัสดุชิ้น (Individual Unit) ได้แก่ ลัง ขวด กระสอบข้าวสาร ช้ินส่วนเน้ือสัตว์ ฯลฯ - วัสดุปริมาณมวล (Bulk Material) ได้แก่ เมล็ดธัญพืช แป้งมัน น้าตาลทราย หิน ดนิ ฯลฯ 2. สมบัติทางกายภาพของวสั ดชุ ้นิ - ขนาด เล็ก กลาง และใหญ่ - นา้ หนกั เบา ปานกลาง และหนัก - ความหนาแน่นเน้ือ (solid density) คือ อัตราส่วนระหวา่ งมวลของเน้อื วัสดุล้วน ๆ ตอ่ ปริมาตรของวสั ดุนน้ั - รปู ร่าง เป็นรปู ทรงเรขาคณิตและรูปทรงท่วั ไป - ลกั ษณะผวิ เรยี บ และไม่เรยี บ 3. สมบัติทางกายภาพของวัสดุปรมิ าณมวล - ขนาด ละเอียดมาก ละเอียด เมด็ ก้อน - รูปร่าง ทรงกลม และรปู ทรงทั่วไป อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook