การดำเนนิ งาน แนวทาง/มาตรการการดำเนนิ งาน หนว่ ยงาน คน ระดับจงั หวดั 61 62 63 กำหนด 4. พฒั นาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มี สมรรถนะ ตามมาตรฐานวชิ าชพี และมี จรรยาบรรณของวชิ าชีพทด่ี ี 5. สง่ เสริมพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของ โรงเรยี นขนาดเล็ก 6. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยยดึ ภารกิจและพ้นื ที่ปฏิบัติงานเป็นฐานด้วยระบบ ออนไลน์ (TEPE Online) ซ่งึ เปน็ กระบวน พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในรูปแบบ ของการเรียนรศู้ ตวรรษที่ 21 ท่ีสามารถเรยี นรู้ ได้ทุกสถานท่ี ทุกเวลาตามความตอ้ งการและ ความสนใจของตนเอง ทั้งยังช่วยประหยัด งบประมาณของทางราชการ 7. พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการพฒั นา ทอ้ งถน่ิ โดยมสี ถาบันอุดมศกึ ษาเปน็ พ่เี ลี้ยงใน การส่งเสรมิ สรา้ งองคค์ วามรูท้ างวชิ าการ และ ความเชี่ยวชาญตา่ งๆ 8. พัฒนาครใู หม้ ีความรทู้ ักษะและความชำนาญ ในการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการปฏบิ ัติงาน การตดิ ต่อสอ่ื สาร การประชุมและการจัดการ (SDG4 Roadmap) 165
สว่ นท่ี 4 ส า ร ะ สา คั ญ ข อ ง แ ผ น ท่ีนา ท า ง ตวั ชี้วดั ค่าเปา้ หมาย ขอ้ มูลสารสนเทศ ผลก (SDG4 Indicator) 2568 2573 แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
การดำเนินงาน แนวทาง/มาตรการการดำเนนิ งาน หน่วยงาน เรียนการสอน 9. พัฒนาครแู บบ Real time โดยมี platform กลาง รวบรวมและเผยแพร่ ส่ือ นวตั กรรม งานวิจยั แหลง่ ข้อสอบ แผนการสอน ค่มู ือ คลิป วิดโี อ เพอื่ ให้ครูใชแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรวู้ ิธกี ารสอน ไดท้ ุกเวลา 10. พฒั นาครใู ห้มที กั ษะความรู้และความ ชำนาญการใชภ้ าษาองั กฤษ รวมท้งั การจัดการ เรยี นการสอน (Human Capital Excellence Center : HCEC) 11. นิเทศ ช่วยเหลือ พัฒนาครูท่สี อนไม่ตรงวุฒิ และครูที่สอนคละชนั้ (SDG4 Roadmap) 166
SDG4 Roadmap ส่วนท่ี 5 การขับเคลอื่ นเปา้ หมาย การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ส่วนที่ 5 การขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื การขบั เคลอ่ื น SDG4 Roadmap สกู่ ารปฏบิ ตั ิ และการตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงาน “เปา้ หมายท่ี 4 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ ทกุ คนมกี ารศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพอยา่ งครอบคลมุ และเทา่ เทยี ม และสนบั สนนุ โอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ” แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDGs Roadmap) เพื่อใช้เป็นแผนสำหรับการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย แนวทางการดำเนินงาน 6 ด้าน ซึ่งสอดคล้องกับองค์ประกอบของแผนที่นำทางฯ ที่ สศช. แจ้งให้หนว่ ยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักดำเนินการจัดทำขนึ้ เพ่ือขับเคล่ือนเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนเป็นรายเป้าหมายหลัก ซึ่งองค์ประกอบหรือแนวทางการดำเนินงานที่มีความสำคัญและ ส่งผลต่อการขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ ได้แก่ 1) การสร้างความตระหนักรู้ ทุกภาคส่วนเข้าใจ หลักการเปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยืน โดยการสร้างการตระหนกั รู้ จะดำเนินการทง้ั ในระดับประเทศและ ท้องถิ่น เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเทศสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป 2) การมีกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับนโยบายและปฏิบัติ เพื่อให้มีหน่วยงานของรัฐ หรือผู้รับผิดชอบบูรณาการการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างชัดเจน 3) ภาคีการพัฒนา ทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและระหว่างประเทศมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเป้าหมายกา รพัฒนาที่ยั่งยืน ของประเทศไทย และสุดท้าย 4) การติดตามประเมินผลการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยืน การ ติดตามและประเมินผลเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วยระบบฐานข้อมูลกลางที่มีการรายงาน ความก้าวหน้าจากทกุ หน่วยงานของรัฐ ดังนนั้ ในการขบั เคลือ่ นเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน เปา้ หมายหลักท่ี 4 ไปสู่การปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศึกษา จึงนำแนวทางการดำเนินงานหรือองค์ประกอบข้างต้น มากำหนดเป็นแนวทางสำหรับการ ขบั เคลอื่ น SDG4 Roadmap ไปส่กู ารปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. กรอบแนวทางการขบั เคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ั่งยืน (SDGs) 1.1 แนวทางการดำเนนิ งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย SDGs 1.2 กลไกการขับเคลอ่ื น SDGs 1.3 การตดิ ตามประเมนิ ผลการขับเคล่ือน SDGs 2. กรอบแนวทางการขบั เคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน เป้าหมายหลักท่ี 4 (SDG4) 2.1 แนวทางการดำเนนิ งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย SDG4 2.2 กลไกการขบั เคลือ่ น SDG4 2.3 การติดตามประเมนิ ผลการขบั เคล่อื น SDG4 แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 168 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 3. แนวทางการบริหารสกู่ ารปฏิบตั ิ 4. ขอ้ มูลรายช่ือหน่วยงานและผรู้ ับผดิ ชอบ 1. กรอบแนวทางการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยืน (SDGs) 1.1 แนวทางการดำเนนิ งานเพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย SDGs จากการที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ วิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บความเชอื่ มโยงระหวา่ ง 169 เปา้ หมายย่อย (Target) ของ SDGs กับ 37 เปา้ หมาย ระดับประเด็นแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 23 ฉบับ และ 140 เป้าหมายระดับแผนย่อย ของแผนแม่บทฯของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า เป้าหมาย SDGs ทั้ง 17 เปา้ หมายหลัก และ 169 เป้าหมายยอ่ ยมคี วามสัมพันธ์สอดคล้อง กบั ยุทธศาสตร์ชาตทิ ง้ั 6 ดา้ น และ มีความสอดคล้องกบั เปา้ หมายระดับแผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 22 ประเด็น ดังได้กล่าวถึงมาแล้วในส่วนที่ 3 ซึ่งสามารถแสดงความเชื่อมโยงจากเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs 17 เป้าหมายกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ฉบับ ได้ดังภาพดา้ นล่าง การเชอื่ มโยงเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ่ังยนื กบั แผน 3 ระดับของประเทศ สำหรับการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุ เป้าหมายที่กำหนด จะดำเนินการผ่านการจัดทำแผน 3 ระดับ โดยมีการถ่ายทอดเป้าหมายยุทธศาสตร์ ชาติไปสู่การปฏิบัติผ่านแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึง่ เปน็ แผนท่ีมกี ารกำหนดแนวทางและเปา้ หมายการดำเนินงานทชี่ ัดเจน กำหนดเปน็ ช่วงเวลาระยะ 5 ปี แผนทน่ี าทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 169 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น จากนั้น จึงมีการถ่ายทอดไปสู่แผนปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติราชการ ที่แต่ละหน่วยงานจัดทำขึ้น ตาม บทบาทและภารกิจของหน่วยงาน หรือมีการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และภาคี เครือข่าย เพื่อรองรับการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติในที่สุด ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่า ใน การดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามบทบาทและอำนาจหน้าทีน่ ัน้ ถือว่า เป็นการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปด้วย โดยปรยิ าย รายละเอียดดงั ภาพ 1.1.1 การดำเนนิ งานในภาพรวม ระดับประเทศ คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ในคราวการประชุมครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2562 ได้มีมติเห็นชอบในหลักการร่างแผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDG Roadmap) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการ ดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานให้เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ซึ่งแผนการขับเคลื่อนฯ ครอบคลุม การดำเนินการหลักใน 6 ดา้ น ดงั นี้ 1. การสร้างการตระหนักรู้ ดำเนินการให้ทุกภาคส่วนมีความรู้และความ เข้าใจในเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื โดยมีการดำเนินการทั้งในระดบั ประเทศ และระดบั ทอ้ งถ่ิน เพ่ือให้ ทกุ ภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการขบั เคลอื่ นประเทศสคู่ วามยง่ั ยนื 2. การเชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนกับแผน 3 ระดับของ ประเทศ ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และ แผนระดับอื่น ๆซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน สร้างประเทศให้มั่นคง โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้าง หลัง แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 170 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 3. กลไกการขับเคล่ือนการพัฒนาทย่ี ั่งยนื มคี ณะกรรมการเพ่ือการพัฒนา ที่ยั่งยืนเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนในระดับนโยบาย และหน่วยงานภาครัฐบูรณาการร่วมกับทุก ภาคสว่ นของสงั คม เพอ่ื นำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิที่เป็นรปู ธรรม 4. การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดำเนินงานโดย ยึดหลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล เพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการที่สำคัญต่อการบรรลุเป้าหมายการ พัฒนาท่ียัง่ ยืนและยุทธศาสตรช์ าติ รวมท้ังขยายผลสู่การขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับพื้นท่ี (SDG Localization) 5. ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศ และภาคกี ารพัฒนาระหวา่ งประเทศ เพอื่ ร่วมขับเคลื่อนประเทศไทยให้บรรลุเปา้ หมายการพฒั นาท่ีย่ังยืน 6. การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วยระบบฐานข้อมูลกลางที่มีการรายงาน ความกา้ วหนา้ จากหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องอย่างสม่ำเสมอ 1.1.2 การดำเนนิ งานขบั เคล่อื น SDGs ระดับหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติของประเทศไทย สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะเลขานุการ กพย. ได้จัดประชุมชี้แจงสร้าง ความรู้ความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความ เข้าใจในเรื่องการขับเคลื่อน SDGs ระหว่างหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักรายเป้าหมายหลัก (Goals) และเป้าหมายย่อย (Targets) กำหนดแนวทางการขับเคลื่อน SDGs ร่วมกันในระยะ 10 ปี ข้างหน้า รวมถึง รับทราบแนวทางการจัดทำ Roadmap รายเป้าหมายหลัก และการกำหนดค่า เป้าหมาย/หมุดหมายรายเป้าหมายย่อย โดยการจัดทำ Roadmap เพื่อการดำเนินการขับเคลื่อน เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยในระดับเป้าหมายหลัก (Goal) กำหนดให้เจ้าภาพรายเป้าหมายหลักเป็น ผู้ดำเนินการ ในการจัดทำ Roadmap ให้ประสานหน่วยงานรับผิดชอบรายเป้าหมายย่อยเพื่อพิจารณา กำหนดคา่ เป้าหมายและหมดุ หมาย (milestone) ใหส้ อดคลอ้ งกบั SDGs และเป้าหมายของยุทธศาสตร์ แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 171 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ชาติและแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากตัวชี้วัดท่ี สหประชาชาติกำหนดเป็นหลัก (global SDG indicators) และอาจเสนอตัวชี้วัดทดแทน (proxy indicators) และตัวชี้วัดเพิ่มเติม (additional indicators) เพื่อให้การขับเคลื่อน SDGs สอดคล้องกับ บริบทของประเทศ ตลอดจนประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด เพื่อระบุ แหล่งขอ้ มูล (sources) และผ้ปู ระสานงาน (focal point) ดว้ ย 1.1.3 การดำเนนิ งานขบั เคลอ่ื น SDGs ระดับพื้นท่ี (SDG Localization) การดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 เป้าหมายหลักใน ระดับพื้นที่ ชุมชุนและท้องถิ่น ซึ่ง กพย. ได้มีมติมอบหมายให้สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย (มท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการขับเคลื่อน เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ั่งยืนในระดับพนื้ ท่ี โดยใหม้ กี ารจัดกลุ่มจังหวดั รวมท้ังเพิ่มเติมตัวชี้วัดการพัฒนา ท่ยี ัง่ ยนื ทกี่ ระทรวงมหาดไทยเสนอและมีข้อมูลพร้อมในระดับจังหวัด จำนวน 34 ตวั และมอบหมายให้ สศช. รว่ มกับ มท. ในการคัดเลือกจงั หวัดนำร่องในพื้นที่ 6 ภาค และกระจายตัวตามกลุ่มจังหวัด 4 ระดับ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพื่อทดลองจัดทำแผนพัฒนาจงั หวดั และแผนพฒั นาท้องถิน่ เพื่อขับเคลื่อน เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้ข้อมูลตัวชี้วัดในทุกมิติเป็นเครื่องบ่งชี้สถานการณ์การพัฒนา และ จัดเตรียมแผนงาน/โครงการ รองรับประเด็นเร่งด่วนสำคัญที่ได้จากการใช้ตัวชี้วัดเกี่ยวกับเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยนื (SDGs) ของพื้นที่ไว้ในแผนพัฒนาจังหวดั และแผนพัฒนาทอ้ งถิ่นต่อไป ในการจัดทำดัชนี การพัฒนาทีย่ ัง่ ยืนระดับจังหวัด ได้รวบรวมตัวชีว้ ัดตาม SDGs ภายใต้ 17 เป้าหมายหลัก ที่มีการจัดเก็บ ข้อมูลระดับจังหวัดไว้แล้ว และคัดเลือกตัวชี้วัดที่สามารถใช้ทดแทน (Proxy) โดยในเบื้องต้นพบว่า มี ข้อมูลเพียง 24 ตัวชี้วัด และแบ่งกลุ่มตัวชี้วัดออกเป็น 5 กลุ่มตามกรอบแนวคิดของสหประชาชาติ ได้แก่ มิติการพฒั นาคน มติ ิเศรษฐกิจและความมั่งคั่ง มติ ิสง่ิ แวดล้อม มติ สิ ันติภาพและยุติธรรม และมิติความเป็น หุน้ ส่วนการพฒั นา องคป์ ระกอบของตัวชี้วดั การพัฒนาท่ียง่ั ยนื ระดบั จงั หวดั 24 ตัว มติ ิการพฒั นา ตัวชว้ี ัด 1. การพฒั นาคน 1. ร้อยละของประชากรทอ่ี ยู่ใต้เส้นความยากจน 2. ร้อยละของทารกแรกเกดิ ทม่ี นี ำ้ หนักตำ่ กวา่ เกณฑ์ 2. เศรษฐกจิ และความม่งั ค่งั 3. ร้อยละของประชากรทเ่ี จบ็ ปว่ ยท่เี ปน็ ผู้ป่วยใน 4. อัตราส่วนประชากรตอ่ แพทย์ (คน/แพทย์) 5. อตั ราการเขา้ เรยี นรวม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายและอาชวี ศกึ ษา 6. จำนวนปีการศึกษาเฉลย่ี ประชากรไทยอายุ 15-59 ปี (ป)ี 7. คา่ เฉล่ยี คะแนน o-net มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (คะแนน) 8. ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครวั เรือนตอ่ ประชากร (กิโลวัตต์-ชัว่ โมง/คน) 9. รายไดเ้ ฉลีย่ ของครัวเรอื นตอ่ เดอื น (บาท) 10. ร้อยละผ้อู ยู่ในระบบประกันสงั คมต่อกำลงั แรงงาน แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 172 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น มติ ิการพัฒนา ตวั ช้ีวัด 2. เศรษฐกจิ และความมงั่ คงั่ 11. อตั ราการวา่ งงาน (%) (ต่อ) 12. ผลติ ภาพแรงงาน (บาท/คน) 3. สงิ่ แวดล้อม 13. ร้อยละของหมบู่ ้านทีถ่ นนสายหลักใช้การได้ตลอดปี 4. สันตภิ าพ และยตุ ธิ รรม 5. ความเปน็ หนุ้ สว่ นการพัฒนา 14. รอ้ ยละของประชากรทีม่ ีโทรศัพท์มือถือ 15. สัมประสิทธ์กิ ารกระจายรายได้ 16. รอ้ ยละของประชากรท่ีประสบอทุ กภัย (%) 17. รอ้ ยละของประชากรที่ประสบภยั แลง้ (%) 18. รอ้ ยละของครัวเรอื นทเ่ี ข้าถงึ นำ้ ประปา 19. สัดสว่ นปรมิ าณขยะท่กี ำจัดถูกต้องตอ่ ปรมิ าณขยะทเ่ี กิดข้ึน 20. อตั ราการเปล่ยี นแปลงของพนื้ ทป่ี ่าไม้ในจงั หวัด 21. การแจง้ ความคดีชีวิต ร่างกาย เพศ และคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ (ตอ่ ประชากรแสนคน) 22. รอ้ ยละภาษที ี่ท้องถิน่ จัดเกบ็ ไดต้ ่อรายไดร้ วม ท่ีไมร่ วมเงนิ อดุ หนุน และเงินอดุ หนนุ เฉพาะกจิ 23. ความสามารถในการเบกิ จ่ายงบประมาณของจงั หวดั 24. รอ้ ยละของครวั เรอื นท่ีเขา้ ถึงอนิ เตอร์เน็ต นำข้อมูลตามตัวชี้วัด 24 ตัว ระดับจังหวัด 76 จังหวัด (เป็นช่วงเวลา) มา คำนวณดัชนีการพัฒนาทีย่ ั่งยืนระดับจังหวดั SDGs โดยรายชื่อตัวชี้วัด ปีที่นำข้อมูลมาใช้ในการคำนวณ และค่าสูงสุด-ค่าต่ำสุด จากนั้น ดำเนินการจัดกลุ่มพื้นที่จังหวัดตามดัชนีการพัฒนาทีย่ ั่งยืน เพื่อกำหนด พื้นทน่ี ำร่องในการขบั เคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับพื้นท่ีให้ชัดเจน ใชค้ า่ กลางของประเทศ ซึ่งได้จากการคำนวณค่ามัธยฐาน (Median) ของดัชนีผสม (Composite Index) ค่าดัชนีรวมหรือดัชนี ย่อยในแต่ละมิติ จากนั้นคำนวณค่าที่น้อยกว่าค่ากลางของประเทศ ร้อยละ 10 และ ร้อยละ 20 เพื่อใช้เป็น เกณฑใ์ นการจัดกลุม่ พ้ืนที่จังหวดั โดยแบง่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม ดังน้ี กลุ่มที่ 1 เป็นพื้นที่/จังหวัดที่มีความเหลื่อมล้ำสูง ยังขาดความพร้อมและ ต้องได้รับการสนับสนุนอย่างเร่งด่วน ได้แก่ จังหวัดที่มีค่าดัชนีผสม SDGs ต่ำกว่าค่ากลางของประเทศ มากกว่ารอ้ ยละ 20 กลมุ่ ท่ี 2 เปน็ พืน้ ท/ี่ จังหวัดที่มีศักยภาพ แต่ยังมขี อ้ จำกัดที่จะพัฒนา ได้แก่ จงั หวัดทีม่ คี า่ ดชั นีผสม SDGs ตำ่ กว่าคา่ กลางของประเทศ ระหวา่ งรอ้ ยละ 10 ถึง ร้อยละ 20 กลุ่มที่ 3 เป็นพื้นที่/จังหวัดที่มีศักยภาพและพร้อมที่จะพัฒนา ได้แก่ จงั หวดั ทมี่ ีค่าดัชนีผสม SDGs ตำ่ กว่าคา่ กลางของประเทศ ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10 กลุ่มท่ี 4 เปน็ พื้นท/ี่ จังหวัดท่ีมีความเข้มแข็งและพร้อมขยายผลไปภายนอก แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 173 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ได้แก่ จังหวัดทีม่ คี ่าดชั นีผสม SDGs สูงกวา่ คา่ กลางของประเทศ การดำเนินการในระยะต่อไป สศช. นำผลการจดั ทำดชั นีการพัฒนาท่ียั่งยืน ระดับจังหวัด หารือร่วมกับ มท. เพื่อพิจารณาปรับปรุง ให้ความเห็นชอบการจัดทำดัชนีการพัฒนาที่ ยั่งยืนระดับจังหวัด จากนั้นร่วมกันคัดเลือกจังหวัดนำร่อง ในพื้นที่ 6 ภาค และกระจายตัวตามกลุ่ม จังหวัดทั้ง 4 ระดับเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในพื้นท่ี ผ่านการพัฒนาตามแผนพัฒนา จังหวัด โดยใช้ข้อมูลตัวชี้วัดในทุกมิติเป็นเครื่องมือในการกำหนดแนวทางการพัฒนา และแผนงาน/ โครงการที่สอดคล้องกับประเด็นเร่งด่วนสำคัญที่ได้จากการใช้ตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ต่อไป เมื่อได้ดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับจังหวัด ก็จะได้มีการดำเนินการในระดับองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ เปน็ ลำดับถดั ไป 1.2 กลไกการดำเนนิ งานเพือ่ ขับเคลอ่ื น SDGs 1.2.1 กลไกการขบั เคล่อื นระดบั นโยบายหรอื ระดบั ประเทศ การกำหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาให้มีความยั่งยืน ครอบคลุม ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและบูรณาการ เป็นไปตามข้อตกลงหรือความ ร่วมมอื ระหวา่ งประเทศที่เก่ียวข้องกับการพฒั นาที่ยั่งยืน สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ทัง้ ในปจั จุบนั และในอนาคตเพ่ือคุณภาพชวี ิตที่ดขี ้ึน ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการพัฒนาประเทศ ให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และกำหนดท่าทีของประเทศไทยในการประชุมระหว่างประเทศท่ี เก่ยี วข้องกบั การพัฒนาท่ียั่งยืนท้ังในระดับภูมิภาคและระดบั โลกได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ กพย. มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีสำนักงาน สภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ เป็นเลขานุการ ซงึ่ กพย. มีอำนาจหน้าที่ (1) กำหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ ให้ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างสมดุลและบูรณาการ และเป็นไปตามข้อตกลงหรือความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง แล้ว เสนอตอ่ คณะรัฐมนตรีเพ่ือใหค้ วามเหน็ ชอบ (2) ส่งเสริมและสนบั สนุนการดำเนินงานของหน่วยงานของ รัฐและเอกชนทีเ่ กี่ยวข้องกบั การพัฒนาที่ยัง่ ยนื (3) กำกับการดำเนินงานของหนว่ ยงานของรฐั ให้เป็นไปตาม นโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศตามระเบียบน้ี และข้อตกลงหรือความร่วมมือระหว่าง ประเทศที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (4) เสนอแนะให้มีการกำหนดหรือแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุง มาตรการด้านเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมายเพื่อส่งเสริมด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน ต่อคณะรัฐมนตรี (5) กำหนดแนวทางและท่าทีการเจรจาในการประชุมระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ที่ยั่งยืน (6) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตามนโยบาย ยุทธศาสตร์การพฒั นาทยี่ ่ังยืนของประเทศ และขอ้ ตกลงหรือความร่วมมือระหว่างประเทศที่เก่ียวข้องกบั การพัฒนา ที่ยั่งยืน (7) ออกประกาศ และคำสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ (8) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือที่ปรึกษา เพื่อดำเนินการใด ๆ ตามที่ กพย. มอบหมาย (9) เชิญบุคคล ผู้แทนหนว่ ยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อมาชี้แจงหรือให้ข้อมูลต่อ กพย. หรือคณะอนุกรรมการ (10) รายงานผลการ ดำเนินงานต่อคณะรฐั มนตรีอยา่ งนอ้ ยปลี ะหนง่ึ ครั้ง (11) ปฏิบตั กิ ารอ่ืนใดเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบน้ี หรือตามที่ นายกรัฐมนตรีหรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมาย แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 174 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ต่อมา กพย. ได้มคี ำสั่งแตง่ ต้ังคณะอนกุ รรมการ 4 คณะ ดงั นี้ 1) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มีอำนาจหน้าที่ในการวาง แนวทางการดำเนนิ งาน ประสาน และบูรณาการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เปน็ ไปตาม เป้าหมาย การพัฒนาที่ยง่ั ยนื รวมทั้งจัดทำแผนทน่ี ำทางเพ่อื ขบั เคลื่อนการดำเนินงานเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายการพัฒนาที่ ยงั่ ยนื 2) คณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดการองค์ความรู้การพัฒนาที่ยั่งยืนตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้ง เสรมิ สร้างและเผยแพรค่ วามรู้ ความเขา้ ใจ และการตระหนัก รู้ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกระดับ ท้ัง ภายในประเทศและต่างประเทศ 3) คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลการพัฒนาที่ย่ังยืน มีอำนาจหนา้ ที่ใน การกำกับการพัฒนาข้อมูลตามเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนให้มีความทันสมัย รวมทั้งให้คำแนะนำและ ข้อเสนอแนะในการพฒั นา ขีดความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูล สำหรับการขับเคล่ือนเพ่ือบรรลุ เป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน และการรายงานสถานการณ์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื บนหลักฐานข้อมูลเชิง ประจักษ์ 4) คณะอนุกรรมการการประเมนิ สิ่งแวดล้อมระดับยทุ ธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่ใน การเสนอแนะกระบวนการ ขั้นตอน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดทำการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ ยุทธศาสตร์ให้ชัดเจน เพื่อผลักดันให้มีการขับเคลื่อนและนำการประเมิน สิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ มาใช้กับการวางแผนพฒั นาประเทศ แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 175 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 1.2.2 กลไกการดำเนินงาน ระดบั เป้าหมายหลัก (Goal) และเปา้ หมายรอง (Target) กพย. ได้กำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักรายเป้าหมายหลัก (Goals) และเป้าหมายย่อย (Targets) เพื่อรับผิดชอบกำหนดแนวทางการขับเคลื่อน SDGs ร่วมกันในระยะ 10 ปี ข้างหน้า และจัดทำ Roadmap รายเป้าหมายหลัก และการกำหนดค่าเป้าหมาย/หมุดหมายราย เป้าหมายย่อย ให้สอดคล้องกับ SDGs และเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติและแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากตัวชี้วัดที่สหประชาชาติกำหนดเป็นหลัก (global SDG indicators) และอาจเสนอตัวชี้วัดทดแทน (proxy indicators) และตัวชี้วัดเพิ่มเติม (additional indicators) เพื่อให้การขับเคลื่อน SDGs สอดคล้องกับบริบทของประเทศ ตลอดจนประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด เพื่อระบุแหล่งข้อมูล (sources) และผู้ประสานงาน (focal point) ดว้ ย ภารกิจของหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก [Custodian: C] ดังนี้ ภารกิจของหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก รายเป้าหมายหลัก (SDGs Goal) [C.1] ได้แก่ ประสาน/บูรณาการทำงานภาพรวมระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพื่อให้บรรลเุ ป้าหมาย หลกั SDGs ท่รี บั ผิดชอบ รายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนต่อฝ่ายเลขานุการฯ และในกรณีที่ไม่มีการ จัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดตามที่สหประชาชาติกำหนด ให้หน่วยงานรับผิดชอบรายเป้าหมายหลัก รวบรวม ความเห็นและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานรบั ผิดชอบฯ รายเป้าหมายย่อยพร้อมแจ้งข้อเสนอตัวช้วี ัด ทเ่ี ห็น ว่าเหมาะสมในการขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ต่อฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการ ขับเคล่ือนเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื เพอ่ื พิจารณาดำเนินการตามความเหมาะสมต่อไป ภารกิจของหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก รายเป้าหมายย่อย (SDGs Target) [C.2] ได้แก่ ขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายย่อย กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของแต่ละ เป้าหมาย ใหส้ อดคล้องกบั เป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนอื่น ๆ ท่ี เกี่ยวข้อง กำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายย่อย โดยพิจารณาจากตัวชี้วัดท่ี สหประชาชาติกำหนด (global Indicators) เป็นหลัก และอาจพิจารณาเสนอตัวชี้วัดทดแทน (proxy indicators) และตัวชี้วัดเพิ่มเติม (additional indicators) เพื่อให้การขับเคลื่อนฯ สอดคล้องกับบริบท ของประเทศไทย ประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูลตวั ชีว้ ัดท่ีเก่ียวข้องในรายเป้าหมาย ย่อย เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์สถานการณ์ และรายงานผลการขับเคลื่อนรายเป้าหมายย่อย (Target) ต่อ หน่วยงานรบั ผิดชอบเป้าหมายหลัก (Goal) 1.2.3 ภาคีการพัฒนา ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุน และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในประเทศและภาคีการ พฒั นาระหว่างประเทศด้วย ซ่ึงภาคกี ารพัฒนาที่จะร่วมขับเคล่ือนประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ ย่ังยืน ไปกับหนว่ ยงานของรฐั ได้แก่ ภาคธุรกจิ เอกชน ภาควชิ าการ ภาคประชาสังคม/ประชาชนและภาคี เพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ โดยภาคธุรกิจเอกชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชนในการ ดำเนินงานเพื่อความยั่งยืน และเชื่อมประสานแนวทางการพัฒนาด้านความยั่งยืนร่วมกันระหว่างองค์กร แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 176 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ธรุ กจิ ขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ภาควชิ าการมีส่วนรว่ มในการส่งเสริมการเรยี นรู้จากการปฏิบัติ (Action Learning) สนับสนุนการบริการทางวิชาการเชิงปฏิบัติการ (Action Academic Service) และการ วิจัยเพื่อการเปลี่ยนแปลง (Action Research) ส่วนภาคประชาสังคม/ประชาชน มีส่วนร่วมในการสร้าง เครือข่ายและพื้นที่การทำงานร่วม (Platform) การขับเคลื่อน SEP for SDGs ผ่านคลังสมองของพื้นที่ (local think tank) และส่งเสริมการสร้างพื้นทีป่ ฏิบัตกิ ารแห่งการเรียนรู้เพ่อื ความยัง่ ยืน (SDGS Lab หรือ SEP Lab) สำหรับในส่วนของภาคีเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ เช่น องค์กรระหว่างประเทศ (UN ในประเทศไทย World Bank, IMF, ADB) องค์กรความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (GIZ, USAID, JICA, SIDA) และความรว่ มมือทางวิชาการ 2.3 การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน SDGS การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อน SDGs เป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เพราะจะทำให้มี ข้อมูลสถานการณ์ ความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานที่เป็นปัจจุบัน สามารถนำมาใช้เป็น ข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการ การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาหรือแก้ปัญหาเพื่อให้การดำเนินงานของ ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ั่งยืนได้ รวมถึงเป็นขอ้ มลู สำหรบั การวางแผนหรือการลงทุนเพื่อการ พัฒนาในแต่ละเป้าหมายได้ตรงจุดตรงประเด็น นอกจากนั้น ยังใช้เป็นข้อมูลสำหรับการรายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงาน กพย. ได้กำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักรายเป้าหมายหลัก (Goals) และเป้าหมายย่อย (Targets) เพื่อรับผิดชอบจัดทำ Roadmap รายเป้าหมายหลัก รวมทั้งกำหนด ตัวชี้วัดที่เหมาะสม รายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนต่อฝ่ายเลขานุการด้วย สำหรับการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูป ประเทศ สศช. ใช้ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือประกอบการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงาน รวมท้ังใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการแสดงผล ท้ัง ในภาพรวมการดำเนินโครงการให้หน่วยงานได้รับทราบดว้ ย เพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการกำหนดนโยบายหรือ ทิศทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นอกจากนั้น สศช. ได้จัดทำฐานข้อมูลเปิดภาครัฐเพื่อ สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ (Open Data Portal for Monitoring and แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 177 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น Evaluating Government Projects under National Strategy: Open-D) เพื่อเป็นศูนย์กลางแหล่งข้อมูลเปิด ภาครัฐที่เชื่อมโยงชุดข้อมูลสารสนเทศระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐ ซึ่งจะได้พัฒนาการรายงานผลการดำเนินงาน ให้เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป สำหรับการติดตามประเมินผล SDGs คณะอนุกรรมการ ติดตามและประเมินผลเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้เห็นชอบการแบ่งกลุ่มตัวชี้วัดที่สอดคล้อง กับบรบิ ทของประเทศไทย เพื่อใช้สำหรบั การติดตามประเมินผล ดังน้ี กลุ่มที่ 1 กลุ่มตัวชี้วัดพื้นฐาน เป็นตัวชี้วัดที่ประเทศไทยมีการดำเนินการและติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเนื่องแล้ว หรือมีระดับการพัฒนาที่บรรลุเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด เช่น สัดส่วนประชากรที่เข้าถึงไฟฟ้า อัตราการตายของทารกอายุต่ำกว่า 5 ปี เป็นต้น ตัวชี้วัดกลุ่มนี้ มี 112 ตัวชว้ี ัด กลมุ่ ที่ 2 กล่มุ ตวั ช้ีวัดท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแมบ่ ทฯ เป็นตัวช้ีวัดที่สำคัญ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ตวั ช้วี ดั กลุม่ นมี้ ี 62 ตัวชี้วดั กลุ่มที่ 3 กลุ่มตัวชี้วัดนอกเหนือยุทธศาสตร์ชาติ เป็นตัวชี้วัดที่วัดระดับการพัฒนาที่มี ความก้าวหน้ากว่าบริบทการพฒั นาของประเทศไทย ตวั ชวี้ ัดกลมุ่ นมี้ ี 73 ตัวช้ีวัด เปา้ หมายหลักท่ี จำนวน กลุ่มตัวชี้วดั หน่วยรบั ผิดชอบ/ ตวั ช้ีวัด กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 ประสานงานหลกั 1 13 7 5 1 มท. 2 14 8 6 0 กษ. 3 28 19 4 5 สธ. 4 12 7 3 2 ศธ. 5 14 12 1 1 พม. 6 11 3 5 3 สทนช. 7 6 1 2 3 พน. 8 16 11 1 4 สศช. 9 12 4 6 2 อก. 10 14 3 2 9 สศช. 11 14 3 5 6 มท. 12 13 1 5 7 ทส. 13 8 0 5 3 ทส. 14 10 7 1 2 ทส. 15 14 4 3 7 ทส. 16 24 11 4 9 ยธ. 17 24 10 4 10 กต. รวม 247 111 62 74 แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 178 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น แนวทางการดำเนนิ งาน 1. คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลฯ เห็นชอบตามแนวทางการติดตามและ ประเมินผลตามที่ สศช. เสนอ คือ สำหรับตัวชี้วัดกลุ่มที่ 1 ให้หน่วยงานรับผิดชอบเป้าหมายหลักดำเนินการ ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง สำหรับกลุ่มที่ 2 ให้หน่วยงานรับผิดชอบเป้าหมายหลักเร่งดำเนินการ ติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดที่มีความพร้อม ในกรณีที่ยังไม่สามารถพัฒนาข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วนได้ ให้ พิจารณาตัวชี้วัดเทียบเคียง (Proxy) เสนออนุกรรมการพิจารณาต่อไป ส่วนตัวชี้วัดกลุ่ม 3 ให้หน่วยงาน รบั ผิดชอบเตรยี มการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการติดตามประเมินผล เมือ่ ประเทศไทยมีการพฒั นาสูงขึ้นสามารถ ดำเนินการภารกิจได้ 2. สำหรับการรายงานผลการดำเนินงาน SDGs ของหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ต่อ สศช. ให้ ดำเนนิ การจัดทำรายงานตามองค์ประกอบ ดังภาพดา้ นลา่ ง 1.4 สรุป กรอบแนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของ ประเทศไทย จะดำเนินการผ่านรูปแบบและวิธีการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เนื่องจาก SDGs กับเป้าหมาย การพฒั นาประเทศตามยุทธศาสตร์มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน ดงั นัน้ การดำเนนิ งานของหน่วยงานท้ัง ภาครฐั และเอกชน หรอื ภาคส่วนท่เี กย่ี วข้องเพื่อใหบ้ รรลุยุทธศาสตร์ชาติ จึงเป็นการดำเนินงานเพ่ือให้บรรลุ เป้าหมาย SDGS ไปพรอ้ ม ๆ กัน อยา่ งไรกต็ ามเพื่อให้การดำเนินงานเพ่ือขับเคล่ือน SDGs ในช่วงปี 2021 -2030 มีหน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบการขับเคลื่อน SDGs ในภาพรวมของประเทศอย่างชัดเจน และ เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จึงได้มีการตั้งคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และอนุกรรมการฯ 4 คณะ ที่ กพย. ตั้งขึ้นมารับผิดชอบการดำเนินงาน ซึ่ง เพื่อให้มีกรอบแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน กพย. ได้เห็นชอบให้มีแผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการ แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 179 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น พัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDG Roadmap) สำหรับในส่วนของการขบั เคล่ือนระดับ เป้าหมายหลัก 17 เป้าหมาย กพย. ได้กำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักราย เป้าหมายหลัก (Goals) และเป้าหมายย่อย (Targets) และให้หน่วยงานรับผิดชอบเป้าหมายหลัก ดำเนินการจัดทำแผนท่ีนำทางฯ ที่สอดคล้องกับ Thailand’s SDG Roadmap เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางใน การขับเคลื่อนเป้าหมายหลัก นอกจากนั้น สศช. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ กพย. ยังได้ประสานกับ กระทรวงมหาดไทย เพอื่ ดำเนินการขับเคล่ือน SDGs ลงสูร่ ะดบั จงั หวดั และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อไป เป็นลำดับ ทัง้ นี้ หน่วยงานรบั ผิดชอบและประสานงานหลักแต่ละเป้าหมายต้องดำเนินการจัดทำรายงาน ผลการดำเนินงานจดั สง่ ให้ สศช. เพ่อื นำเสนอ กพย. ทุกปี 2. กรอบแนวทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลกั ที่ 4 (SDG4) 2.1 แนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเปา้ หมาย SDG4 ตามมติ กพย. เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2563 มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ เป็น หน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก เป้าหมายหลัก (SDGs Goal) “เป้าหมายที่ 4 สร้าง หลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียมและสนับสนุนโอกาสในการ เรียนรตู้ ลอดชีวิต” ท่ีประกอบด้วย เปา้ หมายย่อย 10 เป้าหมาย กระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็น หนว่ ยงานรับผิดชอบเป้าหมายย่อย8 เป้าหมาย กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 1 เป้าหมาย และกระทรวงการต่างประเทศ1 เป้าหมาย ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยนื เปา้ หมายหลกั ท่ี 4 ไปสูก่ ารปฏบิ ัติไดจ้ รงิ และสอดคล้องกับแนวทางการดำเนนิ งาน 6 ดา้ น ภายใต้ Thailand’s SDGs Roadmap กระทรวงศึกษาธิการจึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาขึ้น โดยมีปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน โดยคณะกรรมการชุดนี้จะมี อำนาจหน้าทปี่ ระการหนึง่ คอื ใหค้ วามเห็นชอบแผนทน่ี ำทางการขบั เคลือ่ นเป้าหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืนด้าน การศึกษา ซึ่งแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย SDG4 มีแนวทางการดำเนินงาน 6 ด้าน เช่นเดียวกับ Thailand’s SDGs Roadmap และในการขับเคลื่อนจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการ ดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้ง 17 เป้าหมาย ไปพร้อม ๆ กับเป้าหมายหลักที่ 4 เนื่องจากทุกเป้าหมายต่างส่งผลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของกันและกัน ซึ่งกิจกรรมสำคัญในการ ขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน เปา้ หมายหลกั ที่ 4 ภายใต้แผนทนี่ ำทางฯ มีดังน้ี 1) การสร้างการตระหนักรู้ ดำเนินการให้ทุกภาคส่วนมีความรู้และความเข้าใจใน เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยมีการดำเนินการทัง้ ในระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น เพื่อให้ทุกภาค สว่ นมสี ่วนร่วมในการขับเคลอื่ นประเทศส่คู วามยง่ั ยนื การสร้างการตระหนกั รู้ เพ่อื ให้ทุกภาคสว่ นในทุกระดับ มี ความรู้และความเข้าใจในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายหลักที่ 4 ด้านการศึกษา โดยมีการ ดำเนินการทั้งในระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเทศสู่ ความยั่งยืน ซึ่งในการสร้างความรู้ความเข้าใจนั้นมีกลุ่มเป้าหมาย และประเด็นที่ต้องให้กลุ่มเป้าหมาย ตระหนักรู้ ดังนี้ แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 180 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ท่ี กล่มุ คำอธิบาย ประเดน็ ที่ตอ้ งการสรา้ งให้ตระหนักรู้ เครือ่ งมอื ที่จะใช้ เป้าหมาย พร้อมคำอธบิ าย 1 นักเรียน/ ผเู้ รียนทกุ ระดับ/ 1. เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืนด้าน 1. เอกสารส่ิงพิมพ์ นกั ศึกษา ประเภทการศึกษา การศึกษา ได้แก่ แนวนโยบาย หนังสือ ตำรา บทความ ตั้งแตก่ อ่ นประถมศึกษา พื้นฐานแห่งรัฐ และกฎหมายท่ี ผลงานวิจัย ประถมศึกษา เกี่ยวข้อง หลักสูตรการศึกษา 2. สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ มธั ยมศึกษา อาชวี ศกึ ษา กระบวนการเรียนการสอน การวดั มัลตมิ ีเดยี วีดทิ ัศน์ และอดุ มศึกษา ทง้ั ใน ประเมินผล เส้นทางการศึกษาต่อ 3. หลักสูตรการศึกษา ระบบและนอกระบบ เพ่ืออาชีพ เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนในแต่ละ และการจัดกิจกรรมการ ระดับไดร้ ับรู้เกย่ี วกับกรอบทิศทาง เรยี นการสอน กิจกรรม ของการจดั การศึกษา รับรู้เก่ียวกับ พัฒนาผู้เรยี น สิทธิข้ันพืน้ ฐานด้านการศึกษา เพ่ือ การเลือกเข้าศึกษาได้ตามสิทธิและ ตรงกับความสนใจ/ความต้องการ 2. เปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนทั้ง 17 เป้าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนไดร้ ับรู้และ เห็นความสำคัญของเป้าหมายการ พฒั นาทย่ี ่ังยืนทุกเป้าหมายใน เบื้องต้น และเขา้ ไปมีส่วนรว่ ม ดำเนินการ หรือส่งเสรมิ สนับสนนุ การดำเนินงาน เนื่องจากทุก เปา้ หมายมีความสำคัญและส่งผล กระทบต่อกันและกัน 2 ผูบ้ ริหาร ผู้บรหิ ารสถานศึกษา 1. เปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืนดา้ น 1. เอกสารส่ิงพิมพ์ สถานศึกษา ครู และ ครู/ผู้สอน และบคุ ลากร การศึกษา ได้แก่ แนวนโยบาย หนงั สือ ตำรา บทความ บุคลากร ทเี่ กี่ยวข้อง ทเ่ี ก่ียวข้องกับ พื้นฐานแห่งรฐั แผน และกฎหมายที่ ผลงานวิจัย การจดั การเรยี นการสอน เก่ียวข้อง หลักสูตรการศึกษา 2. ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ กระบวนการเรียนการสอน การวัด มัลติมีเดีย วดี ทิ ัศน์ ประเมินผล เสน้ ทางการศึกษาต่อ 3. การประชุมชแ้ี จง เพื่ออาชีพของผู้เรียน ตลอดจนองค์ ประชุมปฏบิ ัติการ หรือ ความรหู้ รือแนวปฏิบัติท่ีเปน็ เลิศใน สัมมนาทางวชิ าการ การจัดการศึกษาแต่ละระดบั เพ่ือให้ 4. การจัดหลักสตู ร ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการ ฝึกอบรมและพัฒนา ศกึ ษาได้รับรเู้ ก่ียวกับกรอบทิศทาง และเปา้ หมายการจัดการศึกษาของ ประเทศ รับรู้เก่ียวกับสิทธขิ น้ั แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 181 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ที่ กลมุ่ คำอธิบาย ประเดน็ ทต่ี อ้ งการสร้างให้ตระหนกั รู้ เคร่ืองมือท่ีจะใช้ เป้าหมาย พรอ้ มคำอธิบาย พน้ื ฐานดา้ นการศึกษาของผู้เรยี น สามารถจดั การศึกษาใหส้ อดคล้อง กบั ความต้องการของเด็ก เป้าหมาย หรือความต้องการของประเทศหรือ ตลาดแรงงาน และการให้คำปรึกษา แนะนำในการเลือกเข้าศึกษาต่อ สง่ ต่อผเู้ รียนในแต่ละระดับช้ัน 2. เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนทงั้ 17 เป้าหมาย เพื่อใหผ้ ูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับรู้ และเห็นความสำคัญของเป้าหมาย การพฒั นาที่ย่ังยืนทุกเป้าหมายใน เบื้องต้น สามารถวเิ คราะห์และ นำมาใช้ประกอบการจดั ทำหลักสูตร หรอื กจิ กรรมการเรียนการสอนได้ อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ สถานการณ์ รวมท้ัง เขา้ ไปมีส่วนรว่ ม ดำเนินการ หรือส่งเสรมิ สนบั สนุน การดำเนินงานเปา้ หมายอนื่ ให้สำเรจ็ ดว้ ย เนื่องจากทุกเป้าหมายมี ความสำคัญและส่งผลกระทบต่อกนั และกัน 3 หน่วยงาน ผูบ้ รหิ ารและบุคลากร 1. เปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืนดา้ น 1. เอกสารส่ิงพิมพ์ ทางการ ศึกษาหรือ ในหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง การศึกษา ได้แก่ แนวนโยบาย หนงั สือ ตำรา บทความ หน่วยงาน ภาครฐั กับการจัดการศึกษา พ้ืนฐานแห่งรฐั แผน และกฎหมายท่ี ผลงานวจิ ัย ที่เก่ียวข้อง กับการจัด และหน่วยงานที่มี เก่ียวข้อง หลกั สูตรการศึกษา 2. ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ การศึกษา ส่วนร่วมส่งเสริม กระบวนการเรียนการสอน การวดั มลั ตมิ ีเดยี วีดิทัศน์ สนบั สนุนการจัด ประเมินผล เส้นทางการศึกษาตอ่ 3. การประชุมชีแ้ จง การศึกษา เพ่ืออาชีพของผู้เรยี น ตลอดจนองค์ ประชุมปฏิบตั ิการ หรือ ความรู้หรือแนวปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลิศใน สัมมนาทางวชิ าการ การจัดการศึกษาแต่ละระดับ เพ่ือให้ 4. การจัดหลักสตู ร ผบู้ ริหารและและบุคลากรได้รับรู้ ฝกึ อบรมและพัฒนา เก่ียวกับกรอบทิศทางและเป้าหมาย การจัดการศึกษาของประเทศ รับรู้ แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 182 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ท่ี กลมุ่ คำอธบิ าย ประเดน็ ทีต่ อ้ งการสร้างให้ตระหนักรู้ เครอ่ื งมือทจี่ ะใช้ เป้าหมาย พรอ้ มคำอธิบาย ผ้ทู ี่มีความบกพร่อง ทางร่างกาย สติปัญญา เกี่ยวกับอำนาจหน้าท่ีและแนวทางใน จติ ใจ อารมณ์ / ผู้ท่ขี าดโอกาสในการ การเข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัดหรอื เข้าถึงบริการ ขัน้ พ้นื ฐานของรฐั ส่งเสริมสนับสนนุ การจดั การศึกษา (การศึกษา) หรอื มสี ่วนร่วมในการสง่ เสริมและ พฒั นาผู้เรยี น ครู และบุคลากรท่ี เกี่ยวข้อง เพ่ือมีสว่ นร่วมในการ วางแผน ร่วมพฒั นาการศึกษาเพ่ือ การพัฒนากำลังคนของประเทศใหม้ ี คณุ ภาพสอดคล้องกับความต้องการ ของประเทศหรือตลาดแรงงาน 2. เปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยืนท้งั 17 เป้าหมาย เพื่อใหผ้ ูบ้ ริหาร และ บุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับรู้และ เห็นความสำคัญของเป้าหมายการ พฒั นาทย่ี ่งั ยืนทุกเป้าหมายใน เบ้ืองต้น สามารถวเิ คราะห์และเหน็ ความสอดคล้อง เช่ือมโยงระหว่าง เป้าหมายต่าง ๆ รวมท้ัง เข้าไปมสี ว่ น ร่วมดำเนินการ หรือส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานเปา้ หมาย อื่นใหส้ ำเร็จด้วย เน่ืองจากทุก เปา้ หมายมีความสำคัญและสง่ ผล กระทบต่อกนั และกนั 4 ผพู้ ิการ/ 1. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน 1. เอกสารสิ่งพิมพ์ ผดู้ ้อยโอกาส การศึกษา ได้แก่ แนวนโยบาย หนังสือ ตำรา บทความ พื้นฐานแห่งรัฐ และกฎหมายที่ ผลงานวจิ ัย เก่ียวข้อง หลกั สูตรการศึกษา 2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการเรียนการสอน การวัด มลั ตมิ ีเดยี วีดทิ ัศน์ ประเมินผล เสน้ ทางการศึกษาต่อ 3. หลกั สูตรการศึกษา เพ่ืออาชีพ เพ่ือใหผ้ ้เู รียนในแต่ละ และการจัดกิจกรรมการ ระดับไดร้ ับรูเ้ ก่ยี วกับกรอบทิศทาง เรยี นการสอน กิจกรรม ของการจัดการศึกษา รับรู้เกี่ยวกับ พัฒนาผู้เรยี น สทิ ธิขน้ั พื้นฐานด้านการศึกษา เพ่ือ การเลือกเข้าศึกษาได้ตามสิทธิและ แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 183 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ที่ กล่มุ คำอธิบาย ประเดน็ ท่ีตอ้ งการสรา้ งให้ตระหนกั รู้ เครื่องมอื ทจี่ ะใช้ เป้าหมาย พรอ้ มคำอธบิ าย ตรงกับความสนใจ/ความต้องการ รวมท้ัง ได้ความช่วยเหลือและไดร้ บั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งเหมาะสม กบั ความต้องการจำเป็น 2. เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนท้ัง 17 เป้าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ และเหน็ ความสำคัญของเป้าหมาย การพฒั นาที่ยัง่ ยืนทุกเปา้ หมายใน เบ้ืองต้น และเข้าไปมสี ่วนร่วม ดำเนินการ หรือส่งเสรมิ สนับสนนุ การดำเนนิ งาน เน่ืองจากทุก เปา้ หมายมีความสำคัญและสง่ ผล กระทบต่อกนั และกัน 5 ประชาชน พ่อแม่ ผปู้ กครอง 1. เปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดา้ น 1. เอกสารสิ่งพิมพ์ ผนู้ ำชุมชน และ ประชาชนทัว่ ไป การศึกษา ได้แก่ แนวนโยบาย หนงั สือ ตำรา บทความ พ้ืนฐานแห่งรฐั แผน และกฎหมายที่ ผลงานวจิ ัย เกี่ยวข้อง หลักสูตรการศึกษา 2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการเรียนการสอน การวดั มลั ติมีเดยี วดี ทิ ัศน์ ประเมินผล เส้นทางการศึกษาต่อ 3. การประชุมชี้แจง เพื่ออาชีพของผู้เรียน เพ่ือให้พ่อแม่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และประชาชน ของหนว่ ยงานและ ทวั่ ไปไดร้ ับรู้เกีย่ วกับกรอบทิศทาง สถานศึกษา และเปา้ หมายการจดั การศึกษาของ ประเทศ รับร้เู กี่ยวกับอำนาจหนา้ ที่ และแนวทางในการเข้ามามีสว่ นร่วม ในการจัดหรือส่งเสรมิ สนับสนุนการ จดั การศึกษา หรือมีส่วนรว่ ม ในการส่งเสรมิ และพัฒนาผู้เรียน เพื่อมีส่วนร่วมในการวางแผน ร่วม พฒั นาการศึกษาให้สอดคล้องกับ สภาพบรบิ ทในพน้ื ทหี่ รือความ ต้องการของชุมชน ท้องถิน่ 2. เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืนทงั้ 17 เป้าหมาย เพื่อใหพ้ ่อแม่ แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 184 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น ท่ี กลมุ่ คำอธิบาย ประเดน็ ที่ตอ้ งการสร้างให้ตระหนักรู้ เครื่องมือทีจ่ ะใช้ เป้าหมาย พรอ้ มคำอธบิ าย ผ้ปู กครอง ผู้นำชุมชน ประชาชน ทัว่ ไป ไดร้ บั รู้และเหน็ ความสำคัญ ของเป้าหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืนทุก เปา้ หมายในเบื้องต้น สามารถ วเิ คราะห์และเห็นความสอดคล้อง เชอ่ื มโยงระหว่างเป้าหมายต่าง ๆ รวมทงั้ เข้าไปมสี ่วนรว่ มดำเนินการ หรอื ส่งเสริมสนบั สนนุ การดำเนินงาน เป้าหมายอ่ืนใหส้ ำเรจ็ ดว้ ย เน่ืองจาก ทกุ เป้าหมายมีความสำคัญและสง่ ผล กระทบต่อกนั และกัน 6 ภาคี บรษิ ัท สมาคม มูลนธิ ิ 1. เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดา้ น 1. เอกสารส่ิงพิมพ์ เครือข่าย หน่วยงาน/องค์กร ทดี่ ำเนินงานเก่ียวข้อง การศึกษา ได้แก่ แนวนโยบาย หนงั สือ ตำรา บทความ ภาคประชา กับการศึกษาท้ังใน สังคม ประเทศและระหว่าง พ้ืนฐานแห่งรัฐ แผน และกฎหมายท่ี ผลงานวิจัย ประเทศ เช่น Unicef องค์กร UNESCO OECD เก่ียวข้อง หลักสูตรการศึกษา 2. สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ เอกชน เปน็ ตน้ กระบวนการเรียนการสอน การวัด มัลตมิ ีเดยี วีดิทัศน์ องค์กร ระหวา่ ง ประเมินผล เสน้ ทางการศึกษาต่อ 3. การประชุมช้ีแจง ประเทศ เพื่ออาชีพของผู้เรียน เพื่อใหภ้ าค การจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสังคม องค์กรเอกชน องค์กร ของหน่วยงานและ ระหว่างประเทศ ไดร้ ับรู้เกี่ยวกับ สถานศึกษา กรอบทิศทางและเป้าหมายการจดั การศึกษาของประเทศ รับรู้เกย่ี วกบั อำนาจหนา้ ทแ่ี ละแนวทางในการเข้า มามีส่วนรว่ มในการจัดหรือส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา หรือมี ส่วนร่วมในการสง่ เสริมและพัฒนา ผูเ้ รยี น เพื่อมีส่วนรว่ มในการวางแผน ร่วมพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้อง กับสภาพบริบทในพ้ืนทหี่ รือความ ต้องการของชุมชน ท้องถิน่ รวมท้ัง ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา การศึกษาใหส้ อดคล้องกบั สภาพ ความเปล่ียนแปลงและทิศทางการ พฒั นาการศึกษาของโลก แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 185 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 2) การเชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายหลักที่ 4 กับแผน 3 ระดับของ ประเทศ ในการดำเนินงานพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย SDG4 มีความจำเป็นต้องมีการเชื่อมโยง เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ัง่ ยนื ดา้ นการศกึ ษาเข้ากับการขบั เคลื่อนการพฒั นาประเทศตามกรอบยุทธศาสตร์ ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนระดับอืน่ ๆ ให้สอดคลอ้ งกนั 2.2 กลไกการขบั เคล่อื นการพฒั นาทยี่ ั่งยืน (เปา้ หมายหลกั ที่ 4) 1) กลไกการขับเคลือ่ นระดับชาติ 1.1) คณะกรรมการเพื่อการพฒั นาที่ยัง่ ยนื 1.2) คณะอนุกรรมการขบั เคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน 1.3) คณะอนกุ รรมการส่งเสรมิ การพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.4) คณะอนุกรรมการตดิ ตามและประเมินผลการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 186 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 2) กลไกการขบั เคลื่อนระดับกระทรวง 2.1) คณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา 3) กลไกการขบั เคล่ือนระดับพ้นื ท่ี 3.1) คณะทำงานขับเคล่ือนในระดบั พนื้ ที่ (1) คณะทำงานขับเคลือ่ นเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ัง่ ยืน เป้าหมายหลกั ที่ 4 ระดบั ภาค (2) คณะทำงานขับเคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื เป้าหมายหลกั ท่ี 4 ระดบั จังหวดั 3.2) หน่วยงานภาครัฐ (1) คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (2) สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค 8 (3) สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ฉะเชิงเทรา (4) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ (5) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 (6) สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 2 (7) สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา (8) สำนกั งาน กศน.จงั หวัดฉะเชิงเทรา (9) ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจำจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (10) สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (11) สำนกั งานสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา (12) สำนักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดฉะเชงิ เทรา (13) สำนกั งานสถติ ิจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (14) สำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (15) สำนักงานแรงงานจังหวดั ฉะเชิงเทรา (16) สำนกั งานพัฒนาฝมี อื แรงงานฉะเชงิ เทรา (17) ผู้อำนวยการโรงเรียนฉะเชงิ เทราปัญญานกุ ลู (18) สถานศึกษาทุกแหง่ ในจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา สังกัด สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (19) สถานศึกษาทกุ แห่งทกุ สังกัดในจังหวัดฉะเชงิ เทรา 3.3) หนว่ ยงานภาคเอกชน (1) สถานศึกษาทุกแห่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัด สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 187 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 4) ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศและภาคี การพฒั นาระหวา่ งประเทศ เพอื่ ร่วมขับเคลอื่ นประเทศไทยใหบ้ รรลุเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ั่งยนื เครือข่าย รายชือ่ หน่วยงาน รายละเอยี ดและลกั ษณะการมสี ว่ นรวม ผลลัพธ์ทค่ี าดหวงั ภาคเอกชน บริษทั 1. มีส่วนรว่ มในการให้ขอ้ มูล ให้ขอ้ คิดเห็น 1. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะ ภาควชิ าการ ผูป้ ระกอบการ หรือความต้องการเกย่ี วกับคุณภาพผูเ้ รียน และประสบการณ์ สถาบันการศึกษา สถาบันวิชาการ เพอ่ื วางแผนจัดการศึกษา สอดคล้องกบั ความตอ้ งการ นกั วชิ าการ 2. รับสถานที่ฝึกงาน เพ่ือให้ความรูแ้ ละ ของสถานประกอบการ/ ฝกึ ปฏิบตั ิงาน สรา้ งประสบการณต์ รงให้กับ ผ้ปู ระกอบการ ผู้เรยี น 2. ผู้เรยี นท่ีเป็น 3. สนับสนุนทนุ การศกึ ษา สร้างหรอื พฒั นา ผดู้ ้อยโอกาสทางการศึกษา สภาพแวดล้อมหรือแหลง่ เรียนรู้ ส่อื สำหรบั ไดร้ ับทนุ เพ่ือสรา้ งโอกาส ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ทางการศกึ ษา 4. จดั บุคลากรมืออาชีพร่วมเป็นครู วทิ ยากรมาช่วยในการจดั การเรยี นการสอน 1. ศึกษา วิจยั และพัฒนาสรา้ งองค์ความรู้ 1. มอี งค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมเก่ียวกบั การศึกษา ผลงานวจิ ัย เทคโนโลยี 2. สัมมนาวิชาการเพ่ือแลกเปลย่ี น นวัตกรรมเอ้ือต่อการ ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ แนวคิด พฒั นาการศึกษา หลักการทางวิชาการ 2. มีบคุ ลากรที่มีความรู้ 3. ผลติ เอกสาร บทความ ตำรา ความเช่ียวชาญเฉพาะ เข้า แนวทางการพัฒนาเกย่ี วกับ SDG4 มาชว่ ยจดั การเรียนการ เผยแพร่ สอน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพ 4. สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจกับนักเรียน ผู้เรยี น นักศึกษา ผ่านกระบวนการจัดการเรยี นการ 3. ผู้เรยี นมีสอ่ื และแหลง่ สอน การบรรยายในเวทีและโอกาสต่าง ๆ เรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 188 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น เครือขา่ ย รายชอ่ื หน่วยงาน รายละเอยี ดและลักษณะการมีสว่ นรวม ผลลัพธท์ ีค่ าดหวงั ภาคประชา สังคม มลู นธิ ิ กองทนุ 1. ศกึ ษา วจิ ัยและพฒั นาสรา้ งองค์ความรู้ 1. มอี งค์ความรู้ สมาคม ประชาชน เทคโนโลยี นวตั กรรมเกีย่ วกับการศึกษา ผลงานวจิ ัย เทคโนโลยี ภาคี นวัตกรรมเอื้อตอ่ การ การพฒั นา 2. สมั มนาวชิ าการเพื่อแลกเปลย่ี น พฒั นาการศึกษา ระหว่าง ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ แนวคดิ ประเทศ หลกั การทางวิชาการ 3. ผลติ เอกสาร บทความ ตำรา แนวทางการพัฒนาเกย่ี วกับ SDG4 เผยแพร่ 4. สนบั สนนุ ทนุ การศึกษาใหก้ ับผู้เรยี นทีม่ ี ความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ เชน่ ยากจน พกิ าร หรอื ด้อยโอกาส เปน็ ต้น Unicef/ 1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย จดั ทำข้อเสนอแนะ 1. มีผลงานวิจยั องค์ UNESCO/ OECD แนวทางการดำเนินงาน เพื่อใหบ้ รรลุ ความรู้ แนวทางทีเ่ ปน็ เปา้ หมาย 4 โดยนำแนวทางและบทเรยี น ประโยชนต์ ่อการ จากประเทศที่ประสบผลสำเรจ็ พฒั นาการจดั การศึกษา 2. มสี ่วนรว่ มในการให้ข้อคดิ เห็น 2. มีบคุ ลากรทมี่ ีความรู้ ข้อเสนอแนะ แนวทาง แนวคิดทเี่ ป็น ความเชยี่ วชาญเฉพาะ เข้า ประโยชน์ต่อการวางแผนการจัดการศึกษา มาช่วยพัฒนาการศึกษา 3. จัดนักวิชาการท่ีมีความรู้ความเชย่ี วชาญ เฉพาะเขา้ มาใหค้ วามรู้ หรอื มีส่วนรว่ ม ส่งเสริม สนับสนนุ การดำเนินงาน/โครงการ ท่ีเกย่ี วข้องกับการพฒั นาการศกึ ษา 2.3 การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน เปา้ หมายท่ี 4 ตามที่คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลฯ ได้เห็นชอบการจัดกลุ่มตัวชี้วัดเป้าหมาย การพฒั นาท่ีย่ังยืน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม นน้ั สำหรับในสว่ นของเป้าหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืน เป้าหมายท่ี 4 มี ตัวช้วี ดั 12 ตัว แบง่ เป็น กลุ่มที่ 1 กลุม่ ตัวชว้ี ดั พน้ื ฐาน 7 ตัว กล่มุ ท่ี 2 กลุม่ ตวั ชี้วดั ทีส่ อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ ชาตแิ ละแผนแมบ่ ทฯ 3 ตวั และกลมุ่ 3 จำนวน 2 ตัวชว้ี ดั สำหรับในการติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมาย ที่ 4 กระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการทบทวนตัวชี้วัดในแต่ละเป้าหมายย่อย และระบุหน่วยงาน รับผิดชอบและแหล่งข้อมูลสำหรับการติดตามประเมินผลไว้ ในส่วนที่ 4 ซึ่งในการทบทวนตัวชี้วั ดน้ัน จะให้ความสำคัญกับแหล่งข้อมูลที่จะใช้สำหรับการติดตามประเมินผลตามตัวชี้วัดเป็นสำคัญ ซึ่งมี แนวทางดงั นี้ แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 189 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 1. แหล่งข้อมูล ที่มีการจัดเก็บข้อมูล จากผลการดำเนินงานที่เป็นจริง หรือเป็นข้อมูลตาม สภาพที่เป็นจริง เป็นรายปี และเป็นข้อมูลภาพรวมของประเทศ จะใช้เป็นเป็นลำดับแรก เพื่อให้การติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานมีความต่อเนื่อง สามารถปรับปรุง ทบทวนแนวทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับ สภาพทเ่ี ปน็ จรงิ 2. แหล่งข้อมูล ที่ไม่ได้มีการจัดเก็บข้อมูลตามสภาพที่เป็นจริง เป็นรายปี แต่มีการจัดเก็บ ข้อมูล แบบปีเว้นปี หรือทุก 3 ปี แต่ใช้การจัดเก็บข้อมูลโดยการสำรวจหรือหรือการวิจัย ข้อมูลมีความ น่าเชื่อถือ รวมทั้งมีการรายงานผลข้อมูลอย่างเป็นทางการ เช่น สำนักงานสถิติแห่งชาติ สถาบันทดสอบ ทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ เป็นตน้ เพอ่ื ให้สามารถติดตามประเมนิ ผลการดำเนินงานได้ 3. กรณีที่ ไม่มีแหล่งข้อมูลที่ชัดเจน หรือมีการจัดเก็บข้อมูลไม่ต่อเนื่อง หรือไม่มีการ จัดเก็บข้อมูล ซึ่งในกรณีนี้อาจเป็นประเดน็ ที่มีผลการดำเนินการอยู่แล้ว หรือไม่สอดคล้องกับบริบทหรือ สภาพการดำเนินงานที่เป็นจริงในประเทศไทย หรือยังมีเพียงส่วนน้อยของประเทศที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้มีข้อมูลที่สามารถแสดงผลการดำเนินงานในประเด็นนี้ได้ชัดเจนขึ้น จะได้มีการ พฒั นารูปแบบและวิธีการในการจัดเกบ็ ข้อมูลเหล่าน้เี พ่ิมเติม เชน่ ให้หนว่ ยงานในระดับพื้นที่ดำเนินการ สำรวจ หรอื ดำเนินการวจิ ยั 2.3.1 ผลการทบทวนเพื่อกำหนดตัวชว้ี ดั เปา้ หมายย่อย SDG4 ผลการพิจารณาทบทวนตัวชี้วัดและแหล่งข้อมูลที่จะใช้สำหรับการติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานเพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมาย SDG4 ใน 10 เปา้ หมายยอ่ ย มตี วั ช้ีวัดและแหล่งข้อมูล ดงั น้ี เป้าหมายยอ่ ย/ตัวชี้วัด แหลง่ ข้อมูล หน่วยงาน SDG 4.1 สร้างหลักประกนั วา่ เดก็ ชายและเด็กหญิงทุกคนสำเรจ็ การศึกษาระดับประถมศกึ ษาและ มธั ยมศกึ ษาที่มคี ุณภาพ เทา่ เทียม และไมม่ ีค่าใช้จ่าย นำไปส่ผู ลลัพธ์ทางการเรียนท่ีมีประสทิ ธิผล ภายในปี พ.ศ. 2573 1) ร้อยละของเด็กในวัย ป.3 ท่ีมีทักษะ ผลสอบ RT และ NT หนว่ ยงานหลักและสถานศึกษา การอา่ นและการคำนวณข้ันพ้ืนฐาน ในสังกัด สพฐ. / สช. / กศน. / อว. / อปท. / อบจ. / ทศ. / อบต. / ตช. / พศ. 2) คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทาง ผลสอบ O-NET หน่วยงานหลักและสถานศึกษา การศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ในสังกัด (1) ภาษาไทย (2) คณติ ศาสตร์ (3) สพฐ. / สช. / กศน. / อว. / วทิ ยาศาสตร์ (4) สังคมศึกษา ศาสนา อปท. /อบจ. / ทศ. / อบต. / และวัฒนธรรม (5) ภาษาต่างประเทศ ตช. /พศ. (ภาษาองั กฤษ) แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 190 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น เป้าหมายย่อย/ตวั ชี้วัด แหลง่ ข้อมูล หน่วยงาน 3) อัตราการสำเรจ็ การศึกษาระดับ รายงานผลการสำรวจข้อมูล หน่วยงานหลักและสถานศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ ในสังกัด มัธยมศึกษาตอนปลาย สพฐ. / สช. / กศน. / อว. / อปท. / อบจ. / ทศ. / อบต. / ตช. / พศ. SDG 4.2 สร้างหลักประกนั ว่าเดก็ ชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถงึ การพัฒนา การดูแล และการจัด การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยท่ีมคี ุณภาพ ภายในปี 2573 1) ร้อยละของเด็กอายตุ ่ำกวา่ 5 ปี ทมี่ ี รายงานผลการสำรวจข้อมลู 1. หนว่ ยงานหลักและ พัฒนาการทางดา้ นสขุ ภาพ การเรยี นรู้ สถานศึกษาในสังกัด และพฒั นาการทางบุคลิกภาพตามวยั สพฐ. / สช. / อว. / อปท. / จำแนกตามเพศ อบจ. / ศพด. / ทศ. / อบต. / ตช. 2. สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 3. สำนกั งานพัฒนาสงั คมและ ความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวัด ฉะเชงิ เทรา 2) อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย (อย่างน้อย รายงานผลการสำรวจข้อมูล หนว่ ยงานหลักและสถานศึกษา 1 ปี ก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรี ยน ในสังกัด ประถมศึกษา) จำแนกตามเพศ สพฐ. / สช. / อว. / อปท. / อบจ. / ศพด. / ทศ. / อบต. / ตช. SDG 4.3 ให้ชายและหญิงทุกคนเขา้ ถึงการศกึ ษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา อดุ มศึกษา รวมถงึ มหาวิทยาลัยทม่ี ีราคาท่ีสามารถจ่ายได้และมีคุณภาพภายในปี 2573 1) อตั ราการเข้าเรียนระดับอาชีวศึกษา รายงานผลการสำรวจข้อมูล หนว่ ยงานหลักและสถานศึกษา (สัดสว่ นผ้เู รียนระดับมัธยมศึกษาตอน ในสังกัด ปลายสายอาชวี ศึกษา (ปวช.) : สาย สอศ. / สพฐ. / สช. / กศน. / สามัญศึกษา) อว. / อปท. / อบจ. / ทศ. / ตช. / พศ. 2) อตั ราการเข้าเรียนต่อในระดับ รายงานผลการสำรวจข้อมูล หนว่ ยงานหลักและสถานศึกษา อดุ มศึกษา ในสังกัด สอศ. / สพฐ. / สช. / กศน. / อว. / อปท. / อบจ. / ทศ. / ตช. / พศ. แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 191 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น เปา้ หมายยอ่ ย/ตัวชี้วดั แหล่งข้อมูล หน่วยงาน SDG 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผู้ใหญท่ ่ีมีทักษะท่ีจำเปน็ รวมถึงทักษะทางเทคนคิ และอาชพี สำหรับการจา้ งงาน การมีงานท่ดี ีและการเป็นผู้ประกอบการ ภายในปี 2573 1) สดั สว่ นของเยาวชน/ผูใ้ หญ่ที่มที ักษะ รายงานผลการสำรวจข้อมูล 1. หนว่ ยงานหลกั และ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สถานศึกษาในสงั กัด ส่ือสาร จำแนกตามประเภททักษะ สอศ. / สพฐ. / สช. / กศน. / อว. / อปท. / อบจ. / ทศ. / ตช. / พศ. 2. สำนกั งานพฒั นาฝมี ือจังหวัด ฉะเชิงเทรา SDG4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสรา้ งหลักประกนั ว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถึงผู้ พกิ าร ชนพ้นื เมือง และเด็กเข้าถึงการศกึ ษาและการฝกึ อาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียม ภายในปี 2573 1) ดชั นีความเท่าเทียมทางเพศ จำแนก รายงานผลการสำรวจข้อมูล 1. หน่วยงานหลักและ ตามระดบั การศึกษา (ปฐมวยั สถานศึกษาในสงั กัด ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ สอศ. / สพฐ. / สช. / กศน. / มธั ยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา) อว. / ศพด. / อปท. / อบจ. / 2) ดชั นีความเทา่ เทียมทางความมั่งค่ัง ทศ. / อบต. / พศ. / ตช. จำแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวยั 2. สำนักงานพฒั นาสังคมและ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น ความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา) ฉะเชงิ เทรา 3) ดชั นีความเทา่ เทียมตามพ้ืนท่ี จำแนก ตามระดับการศึกษา (ปฐมวยั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา) SDG 4.6 สรา้ งหลักประกนั วา่ เยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนสูง ท้ังชายและหญิงสามารถอ่านออก เขียนไดแ้ ละคำนวณได้ ภายในปี 2573 1) อตั ราการอา่ นออกเขียนได้ของ รายงานผลการสำรวจขอ้ มูล 1. หนว่ ยงานหลกั และ ประชากรอายุ 15 ปี ขึน้ ไปจำแนกตาม สถานศกึ ษาในสงั กัด เพศ สพฐ. / สช. / สอศ. /กศน. / 2) อัตราการมีทักษะดา้ นการคำนวณของ อว. / อปท. / อบจ. / ทศ. / ประชากรอายุ 15 ปขี น้ึ ไป จำแนกตาม อบต./ พศ. / ตช. เพศ 2. สำนกั งานสถิติจังหวดั ฉะเชิงเทรา 3) จำนวนปีการศึกษาเฉล่ยี ของ 3. สำนกั งานแรงงานจังหวดั ประชากรอายุ 15 ปีข้นึ ไปจำแนกตาม เพศ ฉะเชิงเทรา แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 192 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น เปา้ หมายย่อย/ตัวชี้วัด แหลง่ ข้อมูล หนว่ ยงาน 4. สำนกั งานพฒั นาฝีมือ แรงงานจงั หวัดฉะเชิงเทรา SDG 4.7 สร้างหลักประกนั ว่าผเู้ รียนทุกคนไดร้ ับความรู้และทกั ษะที่จำเปน็ สำหรบั ส่งเสรมิ การพัฒนา อย่างยั่งยนื รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยนื และการมีวิถชี ีวิตท่ยี ั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขและไม่ใชค้ วามรนุ แรง การเป็น พลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในส่วนร่วมของวัฒนธรรมต่อ การพัฒนาท่ีย่ังยืน ภายในปี 2573 1) ระดบั การดำเนินการการกำหนดเร่ือง รายงานผลการสำรวจขอ้ มูล หน่วยงานหลกั และ การศึกษาเพ่ือความเป็นพลเมืองโลกและ สถานศึกษาในสังกดั สพฐ./ การจัดการศึกษา เพ่ือการพฒั นาทีย่ ั่งยืน สช. / สอศ. / เปน็ เร่ืองหลักใน (ก) นโยบายการศึกษา กศน. / อว. / อปท. /อบจ. / ของประเทศ (ข) หลกั สูตร (ค) ศพด. /ทศ. / อบต. / พศ. / การศกึ ษาของครู (หลักสตู รการผลิต/ ตช. พัฒนาครู) และ (ง) การประเมินผล นักเรียน 2) การจัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อ พฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามรู้และทักษะ เก่ียวกับความเป็นพลเมือง หรือการ พฒั นาทย่ี ั่งยืน (โครงการ/กิจกรรม พัฒนาผู้เรยี นเสริมหลักสูตร) SDG 4.a สรา้ งและยกระดับอุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือทางการศึกษาที่อ่อนไหวต่อเด็กผู้พิการ และเพศภาวะ และใหม้ สี ภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ทปี่ ลอดภยั ปราศจากความรนุ แรง ครอบคลุมและมปี ระสิทธผิ ล สำหรับทกุ คน 1) สดั สว่ นของโรงเรยี นที่มีการเข้าถึง รายงานผลการสำรวจข้อมลู 1. หนว่ ยงานหลกั และ บริการขน้ั พื้นฐาน จำแนกตามประเภท สถานศกึ ษาในสงั กัด สพฐ. / บริการ (สัดสว่ นของโรงเรียนท่ีมกี าร สช. / สอศ. /กศน./ อว. / เขา้ ถงึ ) (a) ไฟฟ้า (b) อินเทอร์เนต็ ที่ใช้ อปท./ อบจ. / ในการเรียนการสอน (c) เคร่ือง ศพด. / ทศ. / อบต. / พศ. / คอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ในการเรยี นการสอน ตช. (d) โครงสร้างพน้ื ฐาน และวสั ดุ 2. สำนักงานพฒั นาสงั คมและ อปุ กรณ์ทไ่ี ด้รับการปรบั ให้เหมาะสม ความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวัด กบั นกั เรียนท่ีมีความบกพร่องทาง ฉะเชิงเทรา ร่างกาย (e) นำ้ ด่ืมพื้นฐาน (f) สงิ่ 3. สำนกั งานสาธารณสขุ อำนวยความสะดวกพ้ืนฐานด้าน จงั หวัดฉะเชงิ เทรา แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 193 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น เปา้ หมายย่อย/ตัวช้ีวัด แหลง่ ข้อมูล หน่วยงาน สุขอนามยั ท่ีแบง่ แยกตามเพศ และ (g) ส่งิ อำนวยความสะดวกพ้นื ฐานในการ ทำความสะอาดมือ (ตามนยิ ามตวั ช้วี ัด ของ WASH ในเรอ่ื ง นำ้ สุขอนามยั และสขุ ลักษณะสำหรบั ทกุ คน) SDG 4.b ขยายจำนวนทุนการศึกษาในท่ัวโลกท่ีใหส้ ำหรับประเทศกำลังพฒั นาโดยเฉพาะประเทศ พัฒนาน้อยที่สุด รฐั กำลังพัฒนาท่ีเป็นเกาะขนาดเล็ก และประเทศในแอฟริกาในการสมคั รเขา้ ศกึ ษา ตอ่ ในระดับอุดมศกึ ษา รวมถึงการฝกึ อาชพี และโปรแกรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตรใ์ นประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอืน่ ๆ ภายในปี 2563 1) ปริมาณความช่วยเหลือเพื่อการ รายงานผลการสำรวจขอ้ มูล 1. หนว่ ยงานหลักและ พัฒนาอย่างเป็นทางการ (ODA) ท่ีเปน็ สถานศึกษาในสงั กดั ทุนการศึกษา สำหรบั ประเทศกำลัง สพฐ. / สช. / สอศ. /กศน. / พฒั นาและประเทศพฒั นาน้อยที่สดุ อว. / อปท./ อบจ. / ศพด. / ทศ. / อบต. / พศ. / ตช. 2. สำนกั งานพัฒนาสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์จังหวัด ฉะเชงิ เทรา SDG 4.c เพ่ิมจำนวนครูท่ีมีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผ่านทางความร่วมมือระหว่างประเทศในการ ฝกึ อบรมครูในประเทศกำลังพัฒนาเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยท่ีสุด และรัฐกำลังพัฒนาท่ีเป็น เกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573 1) สดั ส่วนของครูที่มคี ุณวฒุ ิเหมาะสมใน ฐานข้อมลู ทางการศึกษา หน่วยงานหลักและสถานศึกษา การจัดการศึกษาพ้ืนฐาน จำแนกตาม ในสังกัด สพฐ. / สช. / สอศ. / ระดบั การศึกษา ผู้ซึ่งอย่างน้อยได้รับการ กศน. / อว. / อปท. / อบจ. / ฝึกอบรม (เช่น การฝึกอบรมการสอน) ศพด. / ทศ. /อบต. / พศ. / ซงึ่ ต้องดำเนนิ การก่อนหรือระหว่างชว่ ง ตช. ท่ที ำการสอนในระดบั ทเ่ี ก่ยี วข้องของ แต่ละประเทศ (1) ก่อนประถมศึกษา (2) ประถมศึกษา (3) มัธยมศึกษาตอนตน้ (4) มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 194 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 3. แนวทางการบรหิ ารสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดำเนินการโดยใช้ กระบวนการและกลไก ดังนี้ 1. การติดตามประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวม สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ฉะเชิงเทราเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบตัวชี้วัด ดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินงานจาก หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ดำเนินการประมวลผล สรุปขอ้ มูล นำเสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนเปา้ หมายการ พัฒนาทีย่ ั่งยนื ด้านการศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. การติดตามประเมินผลการดำเนินงานในระดับพื้นที่ จะดำเนินการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานผ่านกลไกหน่วยงานทุกสังกัดที่อยู่ในพื้นที่ ซึ่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ฉะเชิงเทราจะมีการตั้งคณะทำงานภายใต้คณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศึกษาระดับจงั หวัดฉะเชงิ เทรา 3. กระทรวงศึกษาธิการประสาน รวบรวมข้อมูลสถิตทิ างการศึกษาจากหน่วยงานหลัก และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง กรณีต้องขอข้อมลู เพ่ิมเติม 4. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา จัดทำรายงานความก้าวหน้าการ ดำเนินงานเปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื เปา้ หมายหลกั ที่ 4 ตามโครงรา่ งรายงานฯ ท่ี สศช. กำหนด 5. จัดพิมพ์ และเผยแพร่ให้หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง และสาธารณชนผ่านเวบ็ ไซต์ www. cpeo.go.th แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 195 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น 4. ข้อมูลรายชอ่ื หนว่ ยงานและผ้ปู ระสานงานหลัก 4.1 หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบและประสานงานหลัก เปา้ หมายหลกั /เปา้ หมายยอ่ ย หนว่ ยงาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ผู้ประสานงานหลัก 1. ผ้อู ำนวยการสำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ E-mail: [email protected] โทรศัพท์: 02-628-6013 2. ผอู้ ำนวยการกลุม่ ยุทธศาสตร์และแผนกระทรวงศึกษาธกิ าร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนกั งานปลดั ระทรวงศึกษาธิการ E-mail: [email protected] โทรศัพท์: 02-628-6013 3. นางสาวธนาทพิ ย์ ชมเชยวงศ์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนกั งานปลดั ระทรวงศึกษาธกิ าร E-mail: [email protected] โทรศัพท์: 02-628-6013 4. นางสาวมนตรธ์ ดิ า ฟอลเลต็ สำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำนกั งานปลดั ระทรวงศึกษาธกิ าร E-mail: [email protected] โทรศัพท์: 02-628-6013 หน่วยงาน กระทรวงการตา่ งประเทศ ผู้ประสานงานหลกั 1. ผอู้ ำนวยการกองกจิ การเพอื่ การพัฒนา กรมองค์การระหว่างประเทศ E-mail: [email protected] โทรศพั ท์: 02-223-5000 2. นางสาวณชั ชา สุวรรณมาลี นักการทตู ปฏบิ ัตกิ าร E-mail: [email protected] โทรศพั ท์: 02-223-5000 หนว่ ยงาน กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ผู้ประสานงานหลัก 1. ผู้อำนวยการกองยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาระดับอุดมศกึ ษา E-mail: [email protected] โทรศพั ท์: 02-039-5614 2. นางสาวนพรัตน์ ประสาทเขตการณ์ นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ E-mail: [email protected] โทรศัพท:์ 02-039-5626 หนว่ ยงาน กระทรวงมหาดไทย ผู้ประสานงานหลัก 1. ผอู้ ำนวยการกองส่งเสรมิ และพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่ E-mail: [email protected] โทรศพั ท:์ 086-695-3973 แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 196 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สว่ นท่ี 5 ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ย่ั ง ยื น หน่วยงาน กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ ผู้ประสานงานหลัก 1. นายปฐมพงษ์ พงษบ์ ูรณกจิ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ E-mail: [email protected] โทรศพั ท:์ 02-202-9023 2. นางสาววรนชุ ออ้ นอบุ ล นักวิเทศสัมพนั ธป์ ฏบิ ตั กิ าร E-mail: [email protected] โทรศพั ท:์ 087-998-7551 หน่วยงาน กระทรวงสาธารณสุข ผู้ประสานงานหลัก 1. ผอู้ ำนวยการกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน E-mail: [email protected] โทรศพั ท:์ 02-590-1384 2. นางธิติภทั ร คูหา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ E-mail: [email protected] โทรศพั ท์: 02-039-5626 หนว่ ยงาน กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ผู้ประสานงานหลกั 1. ผูอ้ ำนวยการกองส่งเสรมิ และเผยแพร่ กรมสง่ เสริมคุณภาพสง่ิ แวดล้อม E-mail: [email protected] โทรศัพท:์ 098-828-5666 หนว่ ยงาน กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้ประสานงานหลกั 1. นางสาวบศุ รา แสงอรณุ นกั วชิ าการสถติ ิชำนาญการพิเศษ E-mail: [email protected] โทรศัพท:์ 02-141-7507 หน่วยงาน สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ ผู้ประสานงานหลกั 1. รองผูบ้ ญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดน E-mail: [email protected] โทรศพั ท:์ 02-279-9520-34 2. ผ้กู ำกบั การ ฝา่ ยอำนวยการ7 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวตระเวนชายแดน E-mail: [email protected] โทรศพั ท:์ 02-279-9520-34 ตอ่ 51713 หน่วยงาน สำนกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร ผู้ประสานงานหลัก 1. ผู้อำนวยการสำนกั การศึกษา E-mail: - โทรศพั ท์: 02-437-6631-5 แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 197 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
SDG4 Roadmap ภาคผนวก
อภธิ ำนศัพท์ กศน. สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตช. สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ ทศ. เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล ในพ้นื ทจ่ี ังหวัดฉะเชงิ เทรา พมจ. สำนักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั ฉะเชิงเทรา พศ. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มท. กระทรวงมหาดไทย กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิน่ รงจ. สำนักงานแรงงานจังหวัดฉะเชิงเทรา ศธ. กระทรวงศึกษาธิการ ศพด. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กทุกแห่งสังกัดท้องถน่ิ จังหวดั ฉะเชิงเทรา สช. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สถานศกึ ษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรยี น ศูนย์การเรยี น วิทยาลยั สถาบนั มหาวิทยาลยั หนว่ ยงานการศึกษาหรอื หน่วยงานอื่นของรฐั หรือของเอกชน ท่ตี ั้งในพนื้ ท่ีจังหวัด ฉะเชิงเทรา สนง.สถิติ สำนกั งานสถิตจิ งั หวัดฉะเชงิ เทรา สนพ.ฉช. สำนกั งานพฒั นาฝีมอื จงั หวัดฉะเชงิ เทรา สพฐ. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สพป.ฉช.1 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต 1 สพป.ฉช.2 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 2 สพม.ฉช. สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาฉะเชงิ เทรา สสจ. สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ฉะเชิงเทรา สอศ. สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หน่วยงานหลกั สังกัด กศน. สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดฉะเชิงเทรา หน่วยงานหลกั สังกัด สช. กลุ่มสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ฉะเชงิ เทรา หนว่ ยงานหลัก สังกัด สพฐ. (1) สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 1 (2) สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 (3) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา (4) ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจำจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (5) โรงเรยี นฉะเชงิ เทราปัญญานุกูล หน่วยงานหลัก สังกัด อปท. (1) ท้องถ่ินจังหวัดฉะเชงิ เทรา (2) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ฉะเชงิ เทรา หน่วยงานหลัก สงั กัด อว. มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครนิ ทร์ แผนทนี่ ำทำงกำรขับเคลอ่ื นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 199 จังหวดั ฉะเชงิ เทรำ
อภธิ ำนศัพท์ (ตอ่ ) อบจ. องค์การบริหารส่วนจงั หวัดฉะเชิงเทรา อบต. องค์การบริหารส่วนตำบล ในพน้ื ท่ีจังหวัดฉะเชงิ เทรา อปท. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดฉะเชงิ เทรา อว. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม แผนทนี่ ำทำงกำรขบั เคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 200 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ
คำส่ังสำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ท่ี 375 / ๒๕๖4 เร่ือง แตง่ ต้ังคณะทำงานจดั ทำแผนทนี่ ำทางการขบั เคล่ือนเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยนื ด้านการศกึ ษา (SDG4 Roadmap) จังหวดั ฉะเชงิ เทรา …………………………………………… ดว้ ยสำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดฉะเชิงเทราจะจัดทำสาระของแผนทน่ี ำทางการขบั เคลื่อน เป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) จังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือเปน็ กรอบแนวทาง ในการดำเนนิ งานขบั เคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาท่ียง่ั ยนื เปา้ หมายที่ 4 “สร้างหลักประกันว่าทุกคนมกี ารศกึ ษา ที่มคี ุณภาพอย่างครอบคลมุ และเท่าเทยี ม และสนบั สนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวติ ” ของจังหวัดฉะเชิงเทรา ตามโครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมนิ ผลระดับพืน้ ทเ่ี พ่ือสนบั สนุนการขบั เคล่อื นเป้าหมาย ของสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการพัฒนาทย่ี ั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) ในการน้ี เพื่อให้การดำเนินงานขับเคลอื่ นเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ั่งยนื ด้านการศกึ ษา (SDG4) ของจงั หวัดฉะเชิงเทรา มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธิผล ส่งผลตอ่ การบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาท่ียั่งยนื ของ ประเทศ จงึ แต่งต้ังคณะทำงานจดั ทำแผนทนี่ ำทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ดังนี้ 1. นายต้งั อสิพงษ์ ศึกษาธิการจังหวัดฉะเชงิ เทรา ประธานคณะทำงาน ๒. นางสาวสกุ ัญญา แสงสุข รองศึกษาธิการจังหวดั ฉะเชงิ เทรา รองประธานคณะทำงาน 3. นางเพญ็ จันทร์ บญุ เพง็ ผอู้ ำนวยการกลุม่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล คณะทำงาน 4. นางนภา กกู้ ีรติกุล ผู้อำนวยการกล่มุ สง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน คณะทำงาน 5. นางวนดิ า แสงศรี ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ อำนวยการ คณะทำงาน 6. นางสาวนพรตั น์ เชือ้ วงศ์ ผอู้ ำนวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษา คณะทำงาน 7. นางกมลจนั ทร์ เจรญิ สมประสงค์ ผอู้ ำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานบุคคล คณะทำงาน 8. นางสาวพรธภิ า เฉลิมสุขศรี ผอู้ ำนวยการกลุ่มลูกเสอื ยุวกาชาด คณะทำงาน และกิจการนกั เรยี น 9. นางออมใจ บุญเขยี ว ศกึ ษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน 10. นายมานะ จรพิภพ ศกึ ษานเิ ทศก์ ชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน 11. นางสาวดลใจ ถาวรวงศ์ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน 12. นางรัศมี มีเดช ศกึ ษานเิ ทศก์ ชำนาญการ คณะทำงาน 13. นางสาวเยาวธิดา เส้ยี วเส็ง ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการ คณะทำงาน 14. นางองนุ่ ละเตบ็ ซัน ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการ คณะทำงาน /15. นาง… แผนทน่ี ำทำงกำรขบั เคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ งั่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 201 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ
-2- 15. นางจริ วดี อยา่ ลืมญาติ ผอู้ ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน คณะทำงาน และเลขานุการ 16. นางอนัญญา พวงพกุ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กรรมการและ ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร 17. นางจิรกิต์ิ ปล้องประกาย นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 18. นางสาวรตั นา เสาเวยี ง นักวิชาการคอมพวิ เตอร์ชำนาญการ กรรมการและ ผูช้ ่วยเลขานุการ มีหนา้ ที่ ให้ข้อมลู และจดั ทำสาระของแผนที่นำทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) ของจังหวดั ฉะเชงิ เทรา ตามกรอบแนวทางของสำนักงานปลดั กระทรวง ศกึ ษาธิการ ใหแ้ ล้วเสร็จภายในวันท่ี 30 กันยายน 2564 ทั้งน้ี ให้ผู้ทไ่ี ดร้ บั แตง่ ตั้ง ปฏิบัตหิ น้าทตี่ ามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแก่ทาง ราชการ สงั่ ณ วันที่ 23 กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖4 (นายตั้ง อสพิ งษ)์ ศึกษาธิการจงั หวดั ฉะเชิงเทรา แผนทน่ี ำทำงกำรขับเคลอื่ นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำทยี่ งั่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 202 จังหวดั ฉะเชงิ เทรำ
คณะผจู้ ดั ทำ ท่ปี รึกษำ ศกึ ษาธิการจังหวดั ฉะเชงิ เทรา รองศึกษาธิการจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา นายต้งั อสิพงษ์ นางสาวสุกัญญา แสงสขุ บรรณำธกิ ำรกิจและจัดทำรปู เลม่ นางจิรวดี อย่าลมื ญาติ ผอู้ ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน นางอนัญญา พวงพุก นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ นางจิรกิต์ิ ปลอ้ งประกาย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ นางสาวรัตนา เสาเวยี ง นกั วชิ าการคอมพิวเตอรช์ ำนาญการ แผนทน่ี ำทำงกำรขับเคลอื่ นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำทย่ี ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 203 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241