แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ วิชา วทิ ยาการคำนวณ ปก นายสหพล เท่ียงกลาง ตำแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรยี นบ้านชงโค สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำระยอง เขต2 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชีวติ จรงิ อยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ 1. แสดงลำดับขนั้ ตอนการทำงาน หรอื การแกป้ ัญหาอยา่ งง่าย ➢ อัลกอริทมึ เปน็ ขัน้ ตอนที่ใชใ้ นการแกป้ ัญหา โดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรือขอ้ ความ ➢ การแสดงอัลกอริทึมทำไดโ้ ดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ 2. เขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ หรอื ใช้สัญลกั ษณ์ ซอฟต์แวร์หรอื ส่ือและตรวจหาข้อผิดพลาด ➢ ตัวอย่างปญั หา เชน่ เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetris ของโปรแกรม เกม OX การเดนิ ไปโรงอาหาร การทำความสะอาดห้องเรยี น ➢ การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดบั ของคำสัง่ ให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน ➢ ตวั อยา่ งโปรแกรม เชน่ เขียนโปรแกรมทสี่ ัง่ ให้ตวั ละคร ทำงานซ้ำไม่สน้ิ สุด ➢ การตรวจหาข้อผิดพลาดทำได้โดยตรวจสอบคำส่ังทแี่ จ้ง ขอ้ ผิดพลาด หรือหากผลลพั ธ์ไม่เปน็ ไปตามท่ตี ้องการให้ ตรวจสอบการทำงานทลี ะคำส่ัง ➢ ซอฟตแ์ วร์หรือส่อื ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ ใช้บตั ร คำส่งั แสดงการเขยี นโปรแกรม Code.org
ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ 3. ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ ➢ อินเตอร์เน็ตเปน็ เครือขา่ ยขนาดใหญ่ ชว่ ยใหก้ าร 4. รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอ ติดตอ่ สือ่ สารทำได้สะดวกและรวดเร็ว เปน็ แหลง่ ขอ้ มูล ข้อมูล โดยใช้ ซอฟตแ์ วร์ตามวตั ถุประสงค์ ความรู้ทีช่ ่วย ในการเรียนและการดำเนนิ ชวี ติ ➢ เวบ็ เบราวเ์ ซอร์เป็นโปรแกรมสำหรบั อา่ นเอกสารบนเว็บเพจ ➢ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทำไดโ้ ดยใช้เวบ็ ไซตส์ ำหรับ สบื คน้ และต้องกำหนดคำคน้ ท่เี หมาะสมจงึ จะได้ข้อมลู ตาม ต้องการ ➢ ข้อมลู ความรู้ เช่น วิธีทำอาหาร วิธพี ับกระดาษเป็นรปู ต่างๆ ขอ้ มูลประวัตศิ าสตรช์ าติไทย(อาจเป็นความรู้ในวิชาอื่นๆหรือ เรอ่ื งท่ีเปน็ ประเดน็ ท่ีสนใจในชว่ งเวลาน้ัน) ➢ การใชอ้ นิ เตอร์เนต็ อยา่ งปลอดภยั ควรอยใู่ นการดูแลของครู หรอื ผู้ปกครอง ➢ การรวบรวมข้อมลู ทำได้โดยกำหนดหัวขอ้ ที่ต้องการ เตรียม อปุ กรณ์ในการจดบนั ทกึ ➢ การประมวลผลอยา่ งงา่ ย เชน่ เปรียบเทียบ จดั กลมุ่ เรียงลำดับ ➢ การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลายลักษณะตามความเหมาะสม เชน่ การบอกเลา่ การทำเอกสารรายงาน การจัดทำป้าย ประกาศ ➢ การใชซ้ อ้ ฟแวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เชน่ ใช้ซอฟแวร์ นำเสนอหรือซอฟต์แวรก์ ราฟิกสร้างแผนภูมริ ปู ภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำทำป้ายประกาศหรืเอกสารรายงาน ใชซ้ อฟต์แวรต์ ารางทำงานในการประมวลผลข้อมลู
ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ 5. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างปลอดภยั ➢ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปกป้อง ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการใช้ อนิ เทอร์เน็ต ข้อมูลสว่ นตัว ➢ ขอความช่วยเหลือจากครหู รือผู้ปกครองเมื่อเกิดปญั หาจาก การใชง้ าน เม่ือพบขอ้ มูลหรอื บคุ คลทท่ี ำให้ไมส่ บายใจ ➢ การปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำให้ ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผ้อู น่ื เช่น ไม่ใชค้ ำหยาบ ล้อเลยี น ด่าทอ ทำใหผ้ ้อู ่นื เสยี หายหรือเสียใจ ➢ ข้อดีและข้อเสียในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร
คำอธบิ ายรายวชิ า เทคโนโลยี วทิ ยาการคำนวณ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 20 ชั่วโมง / ปี ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเกี่ยวกบั การใช้อลั กอริทึมเป็นข้ันตอนทใี่ ช้ในการแกป้ ัญหา การแสดง อลั กอริทมึ ทำได้โดยการเขยี น บอกเล่า วาดภาพหรือใช้สัญลักษณ์ การเขียนโปรแกรมเป็นการสรา้ ง ลำดบั ของคำสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน การตรวจหาขอ้ ผิดพลาดทำไดโ้ ดยตรวจสอบคำส่ังท่ีแจง้ ข้อผิดพลาด หรือหากผลลพั ธ์ไม่เป็นไปตามท่ีต้องการให้ ตรวจสอบการทำงานทีละคำสงั่ ซอฟต์แวร์ หรอื สือ่ ทีใ่ ช้ในการเขยี นเว็บเบราวเ์ ซอรเ์ ปน็ โปรแกรมสำหรบั อา่ นเอกสารบนเว็บเพจ การสบื ค้น ข้อมลู บนอินเตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซตส์ ำหรบั สบื ค้นและตอ้ งกำหนดคำคน้ ทเ่ี หมาะสม จงึ จะได้ข้อมูลตามต้องการ การใชอ้ ินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือ ผู้ปกครอง การรวบรวมขอ้ มูลทำไดโ้ ดยกำหนดหัวขอ้ ทตี่ ้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก การ ประมวลผลอย่างงา่ ย การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม การใชซ้ อ้ ฟแวร์ ทำงานตาวัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ขอความช่วยเหลอื จากครหู รอื ผปู้ กครองเม่อื เกดิ ปญั หาจาก การใชง้ าน เม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำใหไ้ มส่ บายใจ การปฏิบตั ิตาม ข้อตกลงในการใช้อินเทอรเ์ น็ตจะทำให้ ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อน่ื ข้อดีและขอ้ เสีย ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ตัวชว้ี ัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1. แสดงอัลกอริทึมในการทำงาน หรือการแกป้ ัญหาอย่างงา่ ย โดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรอื ขอ้ ความ 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรอื สือ่ และตรวจหาข้อผดิ พลาด ของโปรแกรม 3. ใช้อินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ 4. รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมลู โดยใช้ ซอฟต์แวร์ตามวตั ถุประสงค์ 5. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา่ งปลอดภัย ปฏิบตั ิ ตามข้อตกลงในการใช้ อนิ เทอรเ์ น็ต รวมทั้งหมด 5 ตวั ช้ีวัด
โครงสรา้ งรายวิชา เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 20 ชว่ั โมง / ปี ลำดับที่ หน่วยการเรยี นรู้/เรอื่ ง มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา คะแนน 1 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด (ชวั่ โมง) 10 อยา่ งปลอดภัย ว 4.2 ป.3/5 - การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 10 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหา อย่างปลอดภยั ความรู้ - ขอความชว่ ยเหลือจากครหู รือ 2 ผ้ปู กครองเมอื่ เกิดปัญหาจาก การใช้งาน เม่อื พบขอ้ มูลหรือ บุคคลท่ีทำให้ไม่สบายใจ - การปฏิบัติตามขอ้ ตกลงในการ ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ จะทำให้ ไมเ่ กดิ ความเสยี หายต่อตนเองและ ผูอ้ ่ืน - ข้อดแี ละข้อเสียในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร ว 4.2 ป.3/3 - อินเทอร์เนต็ เป็นเครือขา่ ย ขนาดใหญ่ ช่วยให้การ ติดตอ่ สอื่ สารทำไดส้ ะดวกและ รวดเรว็ เป็นแหลง่ ข้อมลู ความรู้ ทชี่ ่วย ในการเรยี นและการ ดำเนนิ ชีวติ - เวบ็ เบราว์เซอร์เปน็ โปรแกรม สำหรบั อา่ นเอกสารบนเว็บเพจ
ลำดับที่ หนว่ ยการเรยี นร/ู้ เรอ่ื ง มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา คะแนน การเรยี นร้/ู ตวั ชวี้ ดั (ชั่วโมง) 3 รวบรวม ประมวลผล และ 10 นำเสนอขอ้ มลู ว 4.2 ป.3/4 - การสบื คน้ ข้อมลู บน 2 10 อนิ เทอรเ์ น็ตทำไดโ้ ดยใช้เวบ็ ไซต์ 4 4 การใชซ้ อฟต์แวร์ทำงานตาม สำหรับสบื คน้ และตอ้ งกำหนด วัตถุประสงค์ คำคน้ ท่ีเหมาะสมจงึ จะไดข้ อ้ มลู ตามต้องการ - ข้อมูลความรู้ เชน่ ขัน้ ตอนการ ทำอาหาร - การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ อยา่ ง ปลอดภยั ควรอย่ใู นการดแู ลของ ครู หรือผปู้ กครอง - การรวบรวมข้อมลู ทำได้โดย กำหนดหวั ข้อท่ตี ้องการเตรยี ม อุปกรณใ์ นการจดบนั ทึก - การประมวลผลอยา่ งงา่ ย - การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลาย ลกั ษณะตามความเหมาะสม ว 4.2 ป.3/3 - การสืบค้นขอ้ มลู บน ว 4.2 ป.3/4 อนิ เทอร์เน็ตทำไดโ้ ดยใชเ้ วบ็ ไซต์ สำหรบั สบื ค้นและต้องกำหนด คำคน้ ทเี่ หมาะสมจงึ จะได้ขอ้ มลู ตามต้องการ - การรวบรวมขอ้ มลู - การประมวลผลอยา่ งงา่ ย - การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลาย ลักษณะตามความเหมาะสม - การใชซ้ ้อฟแวร์ทำงานตาม วัตถุประสงค์
ลำดบั ที่ หนว่ ยการเรยี นร/ู้ เรือ่ ง มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา คะแนน การเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั (ช่ัวโมง) 10 5 แสดงอลั กอรทิ มึ ในการทำงาน ว 4.3 ป.3/1 - อลั กอรทิ ึมเปน็ ข้นั ตอนท่ใี ช้ใน 4 20 หรอื แก้ปัญหาอย่างง่าย การแกป้ ัญหา - การแสดงอัลกอริทมึ ทำไดโ้ ดย 6 40 6 เขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ ว 4.2 ป.3/2 การเขยี น บอกเล่า วาดภาพ 100 โปรแกรม Scratch หรอื ใชส้ ัญลักษณ์ - การเขียนโปรแกรมเปน็ การ สรา้ งลำดบั ของคำส่ังให้ คอมพิวเตอรท์ ำงาน - การตรวจหาข้อผิดพลาดทำได้ โดยตรวจสอบคำสัง่ ท่แี จง้ ขอ้ ผิดพลาด หรอื หากผลลพั ธ์ไม่ เปน็ ไปตามที่ตอ้ งการให้ ตรวจสอบการทำงานทลี ะคำสั่ง สอบปลายภาค รวม 20
โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การ วธิ กี ารจัดกิจกรรม ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรียนรู้ การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) การใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง แผนการจดั การ 1.วิธีการสอนแบบ 1.ทกั ษะความคิด 1.ใบงานที่ 1.1 1 ปลอดภัย เรยี นรู้ท่ี 1 สรา้ งสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ จรยิ ธรรมในการ (Creativity-Based 2.ทกั ษะการสอื่ สาร 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ใช้เทคโนโลยี Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคิดอย่าง ใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการ สารสนเทศ 2.วธิ กี ารสอนโดยใช้ เป็นระบบ 1 ค้นหาความรู้ ปญั หาเปน็ ฐาน 4.ทกั ษะการคดิ (Problem–based วเิ คราะห์ Learning : PBL) แผนการจดั การ 1.วธิ ีการสอนแบบ 1.ทกั ษะความคิด 1.ใบงานที่ 1.2 เรยี นรู้ท่ี 2 สร้างสรรคเ์ ปน็ ฐาน สรา้ งสรรค์ Digital (Creativity-Based 2.ทักษะการสอ่ื สาร Footprint Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคิดอยา่ ง 2.วิธกี ารสอนโดยใช้ เป็นระบบ ปัญหาเปน็ ฐาน 4.ทกั ษะการคดิ (Problem–based วเิ คราะห์ Learning : PBL) แผนการจดั การ 1.วิธกี ารสอนแบบ 1.ทักษะความคดิ 1.แบบประเมิน เรยี นรู้ท่ี 3 สร้างสรรคเ์ ปน็ ฐาน สรา้ งสรรค์ ผลงาน เวบ็ เบราเซอร์ (Creativity-Based 2.ทักษะการส่ือสาร 2.แบบประเมนิ Learning : CBL) 3.ทักษะการคิดอยา่ ง รายบคุ คล 2.วิธีการสอนโดยใช้ เปน็ ระบบ ปญั หาเป็นฐาน 4.ทกั ษะการ (Problem–based แกป้ ัญหา Learning : PBL)
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การ วิธกี ารจัดกิจกรรม ทกั ษะทไี่ ด้ การประเมิน เวลา เรียนรู้ การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 รวบรวม ประมวลผล แผนการจดั การ 1.วธิ กี ารสอนแบบ 1.ทักษะความคดิ 1.แบบประเมิน 1 และนำเสนอข้อมูล เรยี นร้ทู ่ี 4 สรา้ งสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ ผลงาน Google (Creativity-Based 2.ทักษะการสอื่ สาร 2.แบบประเมนิ 1 Learning : CBL) 3.ทักษะการคิดอย่าง พฤติกรรมกล่มุ 2.วิธกี ารสอนโดยใช้ เปน็ ระบบ 1 ปัญหาเปน็ ฐาน 4.ทักษะการคดิ (Problem–based วิเคราะห์ Learning : PBL) 5.ทักษะการ แก้ปญั หา 5.ทกั ษะการทำงาน ร่วมกนั แผนการจดั การ 1.วิธีการสอนแบบ 1.ทกั ษะความคดิ 1.ใบงานท่ี 3.1 เรียนรู้ที่ 5 สร้างสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ 2.แบบประเมนิ รวบรวมขอ้ มลู (Creativity-Based 2.ทกั ษะการสื่อสาร รายบุคคล Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคิดอย่าง 2.วิธกี ารสอนแบบใช้ เป็นระบบ เกม (Game) 4.ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 5.ทกั ษะการทำงาน ร่วมกัน 6.ทักษะการ แกป้ ญั หา แผนการจดั การ 1.วิธกี ารสอนแบบ 1.ทกั ษะความคดิ 1.ใบงานท่ี 3.1 เรยี นรทู้ ่ี 6 สรา้ งสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ 2.แบบประเมนิ ประมวลผล (Creativity-Based 2.ทักษะการสือ่ สาร รายบุคคล ขอ้ มลู Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคิดอยา่ ง 3.แบบประเมิน 2.วธิ กี ารสอนแบบใช้ เปน็ ระบบ พฤติกรรมกลุม่ เกม (Game) 4.ทักษะการคิด วเิ คราะห์ 5.ทกั ษะการ แกป้ ัญหา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ วธิ กี ารจัดกจิ กรรม ทกั ษะทไี่ ด้ การประเมิน เวลา เรียนรู้ การเรียนรู้ (ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 แผนการจดั การ 1.วธิ กี ารสอนแบบ 1.ทักษะความคิด 1.ใบงานท่ี 4.1 4 การใช้ซอฟตแ์ วร์ เรยี นรู้ท่ี 7 สร้างสรรคเ์ ปน็ ฐาน สรา้ งสรรค์ 2.แบบประเมนิ ทำงานตาม นำเสนอขอ้ มูล (Creativity-Based 2.ทกั ษะการส่อื สาร รายบคุ คล 1 วัตถปุ ระสงค์ Learning : CBL) 3.ทักษะการคดิ อย่าง 3.แบบ 2.วธิ กี ารสอนโดยการ เปน็ ระบบ ประเมนิ ผลงาน 1 ลงมือปฏิบตั ิ 4.ทกั ษะการคิด (Practice) วเิ คราะห์ 5.ทกั ษะการใช้ กระบวนการทาง เทคโนโลยี 6.ทักษะการ แก้ปัญหา หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 แผนการจดั การ 1.วธิ กี ารสอนแบบ 1.ทกั ษะความคดิ 2.แบบประเมนิ แสดงอัลกอริทมึ ในการ เรยี นรทู้ ี่ 8 สร้างสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ รายบคุ คล ทำงานหรือแกป้ ัญหา อลั กอรทิ มึ (Creativity-Based 2.ทักษะการสอ่ื สาร อย่างง่าย Learning : CBL) 3.ทักษะการคดิ อย่าง เป็นระบบ 4.ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ 5.ทกั ษะการ แกป้ ัญหา แผนการจดั การ 1.วิธีการสอนแบบ 1.ทกั ษะความคิด 1.ใบงาน 5.2 เรยี นรูท้ ่ี 9 สรา้ งสรรคเ์ ปน็ ฐาน สร้างสรรค์ 2.แบบประเมนิ การแสดง (Creativity-Based 2.ทักษะการสอื่ สาร รายบุคคล อัลกอริทึมดว้ ย Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคดิ อย่าง การเขยี นบอกเล่า เปน็ ระบบ 4.ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 5.ทกั ษะการ แกป้ ัญหา
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการ วิธกี ารจดั กจิ กรรม ทกั ษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา เรียนรู้ การเรียนรู้ (ชว่ั โมง) หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 6 เขยี นโปรแกรมอย่าง แผนการจดั การ 1.วิธีการสอนแบบ 1.ทักษะความคดิ 1.ใบงาน 5.3 1 งา่ ย โดยใชโ้ ปรแกรม เรยี นรู้ท่ี 10 สร้างสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ 2.แบบประเมนิ Scratch การแสดง (Creativity-Based 2.ทักษะการสอ่ื สาร รายบคุ คล 1 อัลกอรทิ ึมด้วย Learning : CBL) 3.ทักษะการคดิ อย่าง การวาดภาพ เป็นระบบ 6 4.ทกั ษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการทำงาน ร่วมกัน 6.ทักษะการ แก้ปญั หา แผนการจดั การ 1.วธิ ีการสอนแบบ 1.ทักษะความคดิ 1.ใบงาน 5.4 เรยี นรูท้ ่ี 11 สรา้ งสรรคเ์ ป็นฐาน สรา้ งสรรค์ 2.แบบประเมิน การแสดง (Creativity-Based 2.ทักษะการส่ือสาร รายบุคคล อลั กอริทึมดว้ ย Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคิดอยา่ ง การใชส้ ัญลกั ษณ์ เปน็ ระบบ 4.ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 5.ทักษะการ แกป้ ญั หา แผนการจดั การ 1.วธิ ีการสอนแบบ 1.ทกั ษะความคดิ 1.แบประเมนิ เรียนรู้ท่ี 12 สร้างสรรคเ์ ปน็ ฐาน สร้างสรรค์ ผลงาน Scratch (Creativity-Based 2.ทกั ษะการส่อื สาร 2.แบบประเมิน Learning : CBL) 3.ทกั ษะการคิดอยา่ ง รายบุคคล 2.วธิ กี ารสอนโดยการ เปน็ ระบบ ลงมอื ปฏบิ ัติ 4.ทักษะการคิด (Practice) วเิ คราะห์ 5.ทกั ษะการ แก้ปญั หา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วทิ ยาการคำนวณ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่สอน 27 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2565 ผ้สู อนนายสหพล เทย่ี งกลาง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชีวติ จริงอย่างเปน็ ข้นั ตอน และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ขอความช่วยเหลอื จากครูหรือผู้ปกครองเมอื่ เกิดปญั หา จากการใช้งาน เมอื่ พบข้อมูลหรอื บคุ คลท่ีทำให้ไมส่ บายใจ การปฏิบัตติ ามข้อตกลงในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตจะทำให้ ไมเ่ กิดความเสยี หายต่อตนเองและผูอ้ นื่ ข้อดแี ละข้อเสียในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 3. ตัวชี้วัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 ป.3/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เนต็ จุดประสงค์ 1. บอกไดว้ า่ จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมีอะไร้บา้ ง (K) 2. ปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ต (P) 3. เห็นความสำคญั ของการปกปอ้ งข้อมูลส่วนตวั (A)
4. สาระการเรียนรู้ 1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่นปกป้องข้อมูลสว่ นตัว 2. ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเม่ือเกดิ ปัญหาจาก การใช้งาน เม่ือพบขอ้ มลู หรือบุคคลท่ที ำใหไ้ ม่ สบายใจ 3. การปฏิบัตติ ามข้อตกลงในการใช้อนิ เทอร์เน็ตจะทำใหไ้ ม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อ่ืน เช่น ไมใ่ ช้คำหยาบล้อเลียน ด่าทอ ทำใหผ้ ู้อ่ืนเสยี หายหรอื เสียใจ 4. ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร ทกั ษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์ ทกั ษะการคิดอย่างเปน็ ระบบ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปญั หา 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 7. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 1.1 จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 8. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. วธิ กี ารสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning : PBL)
ชว่ั โมงท่ี 1 ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ผ้สู อนถามผ้เู รียนเพ่ือเป็นการกระตุ้นความสนใจของผูเ้ รียน เช่น “นกั เรยี นรูอ้ ะไรเกยี่ วกับเพ่อื นทน่ี ัง่ ข้างๆกันบ้าง?” 2. ผู้สอนสุ่มผู้เรียนใหบ้ อกข้อมูลสว่ นตวั เบ้ืองต้นของตวั เอง เช่น ชอ่ื นามสกุล ชอื่ เลน่ วนั เดือน ปี เกิด อาหารที่ชอบ ผลไมท้ ่ชี อบ สีท่ีชอบ 3. ผสู้ อนอธิบายว่า ขอ้ มูลสว่ นตวั คือ ข้อมูลทีแ่ สดงความเปน็ ตัวตนของเรา เช่น ช่ือ-นามสกลุ ทอี่ ยู่ เบอร์ โทรศพั ท์ เลขท่บี ตั รประชาชน ช่อื บัญชีผ้ใู ช้-รหัสผา่ น จำนวนเงนิ เลขทีบ่ ัญชีธนาคาร เปน็ ตน้ ข้นั สอน 4. ผู้สอนแจก ใบความรู้ที่ 1 จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ใหก้ บั ผ้เู รยี น พรอ้ มอธบิ ายใบ ความรู้ คือ จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ แบ่งเปน็ 4 ประเด็น คือ 1. ความเปน็ ส่วนตัว ความเป็นส่วนตัวของขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยทัว่ ไปหมายถงึ สิทธทิ ี่จะอย่ตู ามลำพงั และเปน็ สิทธทิ ีเ่ จา้ ของสามารถทจ่ี ะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปดิ เผยให้กบั ผู้อืน่ สทิ ธินี้ ใชไ้ ด้ครอบคลมุ ท้ังปัจเจกบุคคล กล่มุ บคุ คล และองคก์ ร และหนว่ ยงานตา่ งๆ 2. ความถูกต้อง ขอ้ มลู ควรได้รับการตรวจสอบความถกู ตอ้ งกอ่ นทจ่ี ะบนั ทกึ ข้อมูลเกบ็ ไว้รวมถงึ การปรับปรุง ข้อมลู ให้มีความทนั สมยั อย่เู สมอ นอกจากน้ี ควรใหส้ ิทธิแก่บคุ คลในการเข้าไปตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งของข้อมลู ตนเองได้ 3. ความเป็นเจา้ ของ เป็นกรรมสทิ ธิ์ในการถือครองทรพั ย์สิน ซ่ึงอาจเปน็ ทรัพย์สนิ ทัว่ ไปท่ีจับต้องได้ เชน่ คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรอื อาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ทีจ่ ับต้องไมไ่ ด้ เชน่ บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แตส่ ามารถถ่ายทอดและบันทกึ ลงในสือ่ ตา่ งๆ ได้ เชน่ สง่ิ พิมพ์ เทป ซีดีรอม เปน็ ต้น
4. การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล การเข้าใช้งานโปรแกรม หรอื ระบบคอมพิวเตอร์ มักจะมีการกำหนดสิทธติ ามระดบั ของ ผู้ใชง้ าน ท้ังนี้ เพื่อเป็นการป้องกนั การเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมลู ของผู้ใช้ที่ไม่มสี ว่ น เกี่ยวข้อง และเปน็ การรักษาความลับของข้อมลู จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ (บัญญัติ 10 ประการ) จรรยาบรรณท่ผี ใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตยดึ ถือไวเ้ สมอื นเป็นแม่บทแหง่ การปฏิบตั ิเพื่อระลึกและเตือนความจำเสมอ 1. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์เพื่อก่ออาชญากรรมหรือละเมดิ สิทธิผ้อู ื่น 2. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรร์ บกวนการผอู้ ื่น 3. ไมท่ ำการสอดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดูไฟลข์ องผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต 4. ไม่ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร 5. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรส์ ร้างหลักฐานเทจ็ 6. ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ในการคัดลอกโปรแกรมทมี่ ลี ิขสทิ ธ์ิ 7. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยที่ตนเองไมม่ สี ิทธิ์ 8. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรเ์ พื่อนำเอาผลงานของผู้อ่ืนมาเปน็ ของตน 9. คำนึงถึงผลของการกระทำทจ่ี ะเกิดขน้ึ กบั สังคม 10. ใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กติกา และมารยาท 5. ผูส้ อนแจก ใบงานท่ี 1.1 จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พรอ้ มอธบิ ายวิธีการทำใบงาน คือ ให้ผเู้ รยี นเขียนทำเครื่องหมาย / หนา้ ข้อท่ีเป็นควรทำ และทำเครื่องหมาย x หนา้ ข้อ ที่ไม่ควรทำ เมอ่ื ใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต 6. ผู้สอนให้ผ้เู รียนแลกเปลยี่ นใบงานกนั และผ้สู อนเฉลยใบงาน ขั้นสรปุ 7. ผสู้ อนสรุปใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ใจวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศมีท้งั ประโยชน์และโทษ จงึ ต้องศึกษาเพ่อื ให้ใชง้ าน ไดอ้ ย่างเทา่ ทันและปลอดภัยซง่ึ มดี งั น้ี 1. ไมเ่ ปิดเผยข้อมลู ส่วนตัว 2. กำหนดรหสั ผ่านใหร้ ดั กุม เปลยี่ นรหัสผ่านทกุ ๆ 3 เดือน 3. ออกจากระบบทกุ ครง้ั หลงั ใช้งาน
4. ตดิ ต้งั โปรแกรมป้องกนั ไวรัสคอมพวิ เตอร์ 5. ขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดปญั หา 8. ผูส้ อนถามผูเ้ รียนวา่ หากพบว่า ขอ้ มูลส่วนตัวภกู ขโมยไป ผ้เู รยี นจะบอกใครให้ชว่ ยเหลือไดบ้ า้ ง แนวคำตอบ : บอกพ่อ แม่ ผู้ปกครอง บอกคณุ ครู แจง้ ผู้ดแู ลเวบ็ ไซต์ แจ้งตำรวจ 9. ผ้สู อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นสอบถามเพม่ิ เตมิ 9. สื่อการเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 1.1 จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. ใบความรทู้ ี่ 1 จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 0 10. การวดั และประเมนิ ผล วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจ ใบงานท่ี 1.1 แบบประเมนิ ผลงาน คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี ผ่าน จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี เกณฑ์ สารสนเทศ แบบประเมนิ พฤตกิ รรม รายบคุ คล คุณภาพอยูใ่ นระดบั ดี ผ่าน ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ จากการทำใบงานที่ 1.1 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี อนั พึงประสงค์ คุณภาพอยใู่ นระดับ ดี ผา่ น สารสนเทศ เกณฑ์ ประเมินด้านคณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค์ คือ (1)มวี นิ ยั (2)ใฝเ่ รียนรู้ (3)มุง่ มั่นในการทำงาน
แบบบันทกึ หลังแผนการสอน 1. บันทกึ ผลหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1.1 ด้านความรู้ จากการประเมินผลการเรยี นรู้ด้านความรูโ้ ดยใช้แบบฝึกทักษะ พบว่า นักเรยี นทำแบบฝึกทักษะได้ผา่ น เกณฑ์ ทง้ั หมด 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 80 นักเรียนทท่ี ำแบบฝกึ หดั ไม่ผ่านเกณฑ์ 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 1.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ จากการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะกระบวนการ พบว่า นักเรียนไดค้ ะแนนในระดบั ดมี าก ขน้ึ ไป ทั้งหมด 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 1.3 ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ จากการประเมินการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ พบว่า นักเรียนมีความต้ังใจเรียนรว่ มกิจกรรม ในชน้ั เรยี น อยูใ่ นระดบั ดีมาก ท้งั หมด 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 2. ปัญหาอุปสรรค นกั เรียนบางสว่ นยงั ไมเ่ ข้าใจในเนือ้ หาท่ีสอน จงึ มผี ลทำให้ไม่สามารถบอกความหมายของ จรยิ ธรรมในการ ใชเ้ ทคโนโลยีฯได้ 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ซักถามนักเรียนทย่ี งั ไม่เข้าใจในเนื้อหา และอธิบายเพิ่มเติมเปน็ รายบุคคล ลงชอ่ื …………………….…………….ผู้สอน (นายสหพล เที่ยงกลาง) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ความคดิ เหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………….ผู้บริหารสถานศึกษา (…………………..…………………………) ตำแหนง่ ………………………………………
ภาคผนวก ใบความรู้ / ใบงาน / แบบประเมนิ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รำยวิชำ เทคโนโลยี วิทยำกำรคำนวณ ช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 คำช้ีแจง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่ำงเรียนและนอกเวลำเรียน เลขประจำ ัตว ระดับ คุณภำพ ีม ิว ันย ใ ่ฝเ ีรยน ู้ร ุ่มง ั่มนในกำร ทำงำน รวมคะแนน ้รอยละ ลำดับที่ ชอ่ื - สกุล ของผ้รู บั กำรประเมิน 1 1816 เด็กชาย ลีน่า 3 3 3 9 100 นี 2 3 3 8 89 ดมี าก 2 1815 เด็กหญงิ เหมวย นี 3 2 3 8 89 ดีมาก 3 1812 เด็กหญิง นุช โส 3 2 3 8 89 ดีมาก 4 1835 เด็กหญิง ศิรพิ รเพ็ญ พวงทอง 3 3 3 9 100 ดีมาก 5 1852 เด็กหญงิ อาทิตติยา ใยเจรญิ 3 2 3 8 89 ดีมาก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั ิชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ลงช่ือ ................................................................... ผปู้ ระเมนิ พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ัตชิ ัดเจนและบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน (นำยสหพล เทยี่ งกลำง) พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั บิ ำงครง้ั ให้ 1 คะแนน ........................./........................./.............................
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล รายวชิ า เทคโนโลยี วิทยาการคานวณ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 คาชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น เลขประจา ัตว ันกเ ีรยน ระดับ คณุ ภาพ การวางแผนการทางาน ความ ัรบ ิผดชอบ การตรง ่ตอเวลา ความสะอาดเ ีรยบ ้รอย ผลสาเ ็รจของงาน รวมคะแนน ิคดเ ็ปน ้รอยละ เลขที่ ชอ่ื - สกุล ของผรู้ ับการประเมิน 3 3 3 3 3 15 100 1 1816 เดก็ ชาย ลีนา่ นี 3 3 3 3 3 15 100 ดมี าก 2 1815 เดก็ หญิง หมวย นี 3 3 3 3 3 15 100 ดีมาก 3 1812 เด็กหญิง นชุ โส 3 3 3 3 3 15 100 ดมี าก 4 1835 เดก็ หญิง ศริ ิพรเพญ็ พวงทอง 3 3 3 3 3 15 100 ดมี าก 5 1852 เดก็ หญิง อาทติ ติยา ใยเจริญ 3 3 3 3 3 15 100 ดมี าก เกณฑก์ ารให้คะแนน : พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ ................................................................... ผ้ปู ระเมิน (นำยสหพล เที่ยงกลำง) พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน ........................./........................./............................. พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตบิ ำงครง้ั ให้ 1 คะแนน
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 Digital Footprint เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง วนั ที่สอน 4 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ผูส้ อนนายสหพล เทย่ี งกลาง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชีวิตจรงิ อย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รูเ้ ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม 2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ขอความช่วยเหลือจากครหู รือผู้ปกครองเมอื่ เกดิ ปัญหา จากการใช้งาน เมอ่ื พบข้อมลู หรอื บคุ คลท่ีทำให้ไมส่ บายใจ การปฏิบัตติ ามข้อตกลงในการใช้อนิ เทอร์เน็ตจะทำให้ ไม่เกิดความเสยี หายต่อตนเองและผู้อืน่ ข้อดแี ละข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 3. ตัวชี้วัด/จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ตวั ชี้วดั ว 4.2 ป.3/5 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา่ งปลอดภัย ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการใช้ อนิ เทอรเ์ น็ต จุดประสงค์ 1. อธิบายไดว้ า่ ร่องรอยดจิ ิทลั (Digital Footprint) คืออะไร (K) 2. ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ (P) 3. เหน็ ความสำคัญของการปกป้องข้อมลู สว่ นตัว (A)
4. สาระการเรียนรู้ 1. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ ปกปอ้ งขอ้ มลู ส่วนตวั 2. ขอความช่วยเหลอื จากครหู รือผ้ปู กครองเมือ่ เกดิ ปัญหาจาก การใชง้ าน เม่ือพบขอ้ มลู หรอื บุคคล ที่ทำให้ไมส่ บายใจ 3. การปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการใช้อินเทอรเ์ น็ตจะทำให้ไมเ่ กิดความเสียหายตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น เชน่ ไม่ใชค้ ำหยาบลอ้ เลียน ด่าทอ ทำใหผ้ อู้ ื่นเสยี หายหรือเสยี ใจ 4. ข้อดแี ละข้อเสียในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร 5. สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร ทกั ษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคดิ อย่างเป็นระบบ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทกั ษะการแกป้ ญั หา 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 7. ภาระงาน 1. ใบงานท่ี 1.2 Digital Footprint 8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. วธิ กี ารสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธกี ารสอนโดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning : PBL)
ช่ัวโมงที่ 1 ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น 1. ผ้สู อนเลา่ ใหผ้ ู้เรียนฟงั เพ่ือเป็นการกระตนุ้ ความสนใจของผู้เรยี น ไม่นานมาน้ีมีนักการเมือง บุคคล สำคัญทางสงั คมโดนโจมตที างส่อื สงั คมออนไลน์ ด้วยรูปภาพและข้อมลู ทเี่ คยลงไว้ในส่ือสังคมออนไลน์ ท่ีเคยลงไวน้ านหลายสบิ ปี และถูกขดุ คุ้ยมาโจมตี และทำให้เกิดการส่ือสารท่สี รา้ งความเกลยี ดชังและ ความขัดแย้ง เหตุการณ์ทง้ั หมดน้ีเกิดขึ้นด้วย รอ่ งรอยดิจทิ ัล (Digital Footprint) 2. ผสู้ อนถามผ้เู รยี นเพ่ือเป็นการทบทวนความรู้เดมิ ของผ้เู รยี น เชน่ “เดก็ ๆรู้จกั คำวา่ ดิจิทัล หรือไม่ ดิจทิ ลั คอื อะไร?” แนวคำตอบ : ดจิ ิทัลเป็นเทคโนโลยีท่ีมีความสำคัญกบั การดำรงชวี ติ ของมนุษยใ์ นยุคปจั จบุ ัน เชน่ คอมพวิ เตอร์ สมาร์ทโฟน แทบ็ เลต็ 3. ข้นั สอน 4. ผู้สอนแจก ใบความรูท้ ี่ 2 ร่องรอยดิจิทลั (Digital Footprint) ใหก้ ับผเู้ รยี น พร้อมอธิบาย ใบความรู้ คือ รอ่ งรอยดิจิทัล คอื รอ่ งรอยที่ผใู้ ชอ้ นิ เทอร์เนต็ กระทำการต่าง ๆ เชน่ การใชง้ านอัพโหลดข้อมลู สว่ นตวั ไฟลง์ าน รูปภาพ การใช้งานสมาร์ทโฟน แท็บเลต็ และคอมพิวเตอร์ โดยระบบต่าง ๆ ของ อินเทอร์เน็ตจะบันทึกขอ้ มูลของผู้ใชง้ าน เชน่ ชอ่ื และข้อมูลส่วนตวั วนั เดินปีเกิด ตำแหน่งงาน ผลงาน ข้อมลู การศึกษา ประวตั ิสว่ นตวั ของผู้ใชง้ าน ร่องรอยดจิ ิทลั สามารถบอกใหผ้ ้อู ่ืนทราบถงึ ส่ิง ที่เราชอบ สิ่งทส่ี นใจ และสิง่ ท่ีเราอยากทำ ร่องรอยดจิ ิทัล มี 2 ประเภทคือ ประเภทท่ี 1 ร่องรอยดิจิทัล ทผี่ ู้ใชเ้ จตนาบันทกึ (Active Digital Footprints) รอ่ งรอยดิจทิ ลั ของผูใ้ ช้งานท่เี จตนาบันทึกไว้ในโลกออนไลน์ ข้อมลู ทเ่ี ราตั้งใจเปดิ เผยโดยทีร่ ู้ตัว เช่น อีเมล์ เบอร์โทร ช่อื โปรไฟล์ เฟซบุก๊ หรือส่งิ ที่เราต้งั ใจโพสต์ลงในโซเชียลมเี ดยี เช่น สิง่ ที่เราพดู หรือโพสต์ รูปที่เราเคยลง สงิ่ ที่เรากดไลก์ รที วติ หรอื แชร์ ทต่ี ง้ั สถานที่ที่เราอยู่ หรือเคยไป
ประเภทที่ 2 ร่องรอยดจิ ิทลั ทผ่ี ใู้ ช้ไม่เจตนาบันทึก (Passive Digital Footprints) รอ่ งรอย ดิจทิ ลั ของผูใ้ ชง้ านทไี่ ม่มเี จตนาบันทกึ เอาไว้ในโลกออนไลน์ หรือข้อมลู แบบท่ีไม่ได้ต้งั ใจหรอื ไม่ได้รตู้ วั เชน่ IP Address หรือ Search History ตา่ ง ๆ ทเี่ ราถูกจดั เกบ็ เอาไว้ ส่งิ ทเ่ี ราเคยคลกิ เข้าไป การซ้ือ สินคา้ ออนไลน์ของเรา การเปิดระบบ GPS เปน็ ต้น 5. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนชว่ ยกนั คดิ กฎการใชง้ านอินเทอรเ์ น็ตเพื่อไม่ใหท้ ง้ิ ร่องรอยดจิ ทิ ลั แนวคำตอบ : ไมโ่ พสตภ์ าพ หรอื ขอ้ มลู ส่วนตัวลงบนอินเทอร์เน็ต ไม่แสดงความคดิ เห็นในแง่ลบ ก่อนโพสตห์ รือแชรอ์ ะไร ควรเปรียบเทยี บข้อมลู จากแหล่งข้อมลู ท่ีนา่ เชื่อถือ ใช้อนิ เทอร์เน็ต ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ 6. ผูส้ อนแนะนำกฎความปลอดภัยในการใช้งานอินเทอรเ์ น็ต คอื 1. ไมเ่ ปดิ เผยข้อมูลส่วนตวั เชน่ เบอร์โทรศพั ท์ ชอื่ โรงเรียน ชอ่ื เพอ่ื น หรือผู้ปกครอง 2. ไมน่ ัดแนะเพอ่ื พบปะกบั บุคคลทีร่ ู้จกั ทางอินเทอร์เน็ตโดยไมบ่ อกผ้ปู กครอง 3. ไม่ส่งรูปหรือขอ้ มลู สว่ นตวั ให้กับคนทีร่ จู้ ักทางอินเทอร์เน็ต 4. ไม่ใหค้ วามสนใจ หรือตอบโตก้ ับคนที่ใชถ้ ้อยคำหยาบคาย 5. ไม่ดาวน์โหลดส่ิงทีไ่ มค่ นุ้ เคยหรอื เปิดเอกสารจากอีเมล์ของคนทเี่ ราไมร่ จู้ ัก 6. เคารพในกฎระเบยี บ นโยบาย หรือข้อตกลงทใ่ี ห้ไว้กับผ้ปู กครอง และคณุ ครู ในการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต 7. ผู้สอนแจก ใบงานที่ 1.2 Digital Footprint ใหก้ ับผู้เรียน พรอ้ มอธิบายวธิ ีการทำใบงาน คอื ให้ผ้เู รยี นเขียนประวัติสว่ นตวั ของตัวเองด้วย ปากกา ลงในใบงาน โดยผูส้ อนให้เวลา 20 นาที 8. เม่อื ครบกำหนดเวลา ผูส้ อนให้ผูเ้ รยี น นำ ยางลบ ลบขอ้ มูลส่วนตวั ทเ่ี ขียนลงในใบงาน จะพบวา่ ไม่ สามารถลบได้ หรือบางคนอาจจะลบได้ แต่กไ็ มส่ ะอาด ซึง่ เปรยี บเสมือนการกระทำการต่าง ๆ บน อนิ เทอร์เนต็ ทุกอย่างจะถูกบันทึกไวแ้ ละยากทีจ่ ะลบออกไป ขน้ั สรปุ 9. อธิบายวา่ ร่องรอยการกระทำของผ้ใู ช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น หากเราทำอะไรลงไปในโลกอินเทอรเ์ นต็ จะคงอย่อู ย่างถาวร ยากที่จะลบออกไปได้ และเมือ่ บุคคลอ่ืนเขา้ มาอา่ นอาจนำข้อมลู ของเราไป เผยแพรไ่ ด้ จะทำให้เกิดผลเสียตอ่ ตัวเราและคนอ่ืนมากมาย ฉะน้นั เดก็ ๆ จะต้องระมดั ระวังใหม้ าก ในการส่งข้อมูลลงไปในโลกของอินเทอร์เน็ต 10. ผู้สอนเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสอบถามเพิ่มเตมิ
9. สอ่ื การเรยี นรู้ เกณฑ์ 1. ใบงานที่ 1.2 Digital Footprint คุณภาพอยู่ในระดบั ดี ผา่ น 2. ใบความรทู้ ี่ 2 ร่องรอยดจิ ิทัล (Digital Footprint) เกณฑ์ 0 คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่าน 10. การวัดและประเมินผล เกณฑ์ วธิ ีการ เครื่องมอื คุณภาพอยใู่ นระดบั ดี ผ่าน เกณฑ์ ตรวจ ใบงานท่ี 1.1 แบบประเมินผลงาน ใบงานที่ 1.2 Digital Footprint แบบประเมินพฤตกิ รรม รายบุคคล ประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคล จากการทำใบงาน1.2 Digital แบบประเมนิ คุณลักษณะ Footprint อันพงึ ประสงค์ ประเมินด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คือ (1)มีวินัย (2)ใฝเ่ รยี นรู้ (3)มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
แบบบนั ทกึ หลังแผนการสอน 1. บนั ทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1.1 ด้านความรู้ จากการประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความร้โู ดยใชแ้ บบฝึกทักษะ พบว่า นักเรียนทำแบบฝึกทักษะไดผ้ ่าน เกณฑ์ ทงั้ หมด 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 1.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ จากการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะกระบวนการ พบว่า นกั เรียนได้คะแนนในระดับ ดมี าก ขน้ึ ไป ทงั้ หมด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ จากการประเมนิ การเรียนรู้ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ พบวา่ นักเรียนมีความตง้ั ใจเรียนรว่ มกิจกรรม ในชน้ั เรียน อยู่ในระดับ ดีมาก ทัง้ หมด 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 2. ปญั หาอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………….…………….ผู้สอน (นายสหพล เทยี่ งกลาง) ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย ความคิดเหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………….ผู้บริหารสถานศกึ ษา (…………………..…………………………) ตำแหนง่ ………………………………………
ภาคผนวก ใบความรู้ / ใบงาน / แบบประเมนิ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รำยวิชำ เทคโนโลยี วิทยำกำรคำนวณ ช้นั ประถมศึกษำปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่ำงเรียนและนอกเวลำเรียน เลขประจำ ัตว ระดับ คุณภำพ ีม ิว ันย ใ ่ฝเ ีรยน ู้ร ุ่มง ั่มนในกำร ทำงำน รวมคะแนน ้รอยละ ลำดับที่ ชอื่ - สกุล ของผูร้ ับกำรประเมิน 1 1816 เด็กชาย ลีน่า 3 3 3 9 100 นี 3 3 3 9 100 ดีมาก 2 1815 เด็กหญงิ เหมวย นี 3 3 3 9 100 ดมี าก 3 1812 เด็กหญงิ นุช โส 3 3 3 9 100 ดมี าก 4 1835 เด็กหญงิ ศิรพิ รเพ็ญ พวงทอง 3 3 3 9 100 ดีมาก 5 1852 เด็กหญงิ อาทิตติยา ใยเจรญิ 3 3 3 9 100 ดมี าก เกณฑก์ ารให้คะแนน : พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ ................................................................... ผปู้ ระเมนิ พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิชดั เจนและบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน (นำยสหพล เท่ียงกลำง) พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั บิ ำงคร้งั ให้ 1 คะแนน ........................./........................./.............................
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล รายวิชา เทคโนโลยี วทิ ยาการคานวณ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 คาชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน เลขประจา ัตว ันกเ ีรยน ระดับ คุณภาพ การวางแผนการทางาน ความ ัรบ ิผดชอบ การตรง ่ตอเวลา ความสะอาดเ ีรยบ ้รอย ผลสาเ ็รจของงาน รวมคะแนน ิคดเ ็ปน ้รอยละ เลขท่ี ชอ่ื - สกลุ ของผรู้ ับการประเมิน 3 3 3 3 3 15 100 1 1816 เด็กชาย ลนี า่ นี 3 3 3 2 3 14 93 ดีมาก 2 1815 เด็กหญิง หมวย นี 3 3 3 3 3 15 100 ดีมาก 3 1812 เด็กหญิง นุช โส 3 3 3 2 3 14 93 ดมี าก 4 1835 เด็กหญิง ศริ ิพรเพ็ญ พวงทอง 3 3 3 3 3 15 100 ดีมาก 5 1852 เด็กหญิง อาทติ ติยา ใยเจริญ 3 3 3 2 3 14 93 ดีมาก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงช่อื ................................................................... ผปู้ ระเมิน (นำยสหพล เทยี่ งกลำง) พฤติกรรมที่ปฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน ........................./........................./............................. พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตบิ ำงครง้ั ให้ 1 คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี วทิ ยาการคำนวณ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ในการค้นหาความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วนั ที่สอน 11 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ผสู้ อนนายสหพล เท่ยี งกลาง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจรงิ อย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด อินเทอร์เนต็ เปน็ เครือขา่ ยขนาดใหญ่ ชว่ ยให้การตดิ ต่อสอื่ สารทำไดส้ ะดวกและรวดเรว็ เปน็ แหล่งขอ้ มลู ความรูท้ ่ชี ว่ ย ในการเรยี นและการดำเนนิ ชีวิต เว็บเบราวเ์ ซอร์เปน็ โปรแกรมสำหรบั อา่ นเอกสารบนเวบ็ เพจ การ สบื คน้ ขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ตทำไดโ้ ดยใชเ้ วบ็ ไซต์สำหรบั สบื ค้นและตอ้ งกำหนดคำคน้ ทีเ่ หมาะสมจึงจะได้ขอ้ มูลตาม ตอ้ งการ ขอ้ มลู ความรู้ เชน่ ขั้นตอนการทำอาหาร การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ อย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผ้ปู กครอง 3. ตวั ชี้วัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด ว 4.2 ป.3/3 ใชอ้ ินเทอร์เนต็ ค้นหาความรู้ จดุ ประสงค์ 1. อธบิ ายได้ว่าเวบ็ เบราว์เซอรค์ ืออะไร (K) 2. เลือกใช้งานเว็บเบราวเ์ ซอร์ได้ตามวตั ถุประสงค์ (P) 3. เห็นประโยชนข์ องการใชง้ านอินเทอรเ์ น็ตดว้ ยเว็บเบราวเ์ ซอร์ (A)
4. สาระการเรียนรู้ 1. การใช้อินเตอรเ์ น็ตเปน็ เครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การติดต่อส่ือสารทำไดส้ ะดวกและรวดเร็ว เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ความรทู้ ีช่ ่วย ในการเรยี นและการดำเนินชีวิต 2. เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรบั อ่านเอกสารบนเวบ็ เพจ 3. การสืบค้นข้อมูลบนอนิ เตอรเ์ นต็ ทำไดโ้ ดยใช้เวบ็ ไซตส์ ำหรบั สบื ค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจงึ จะ ได้ข้อมลู ตามต้องการ 4. ข้อมลู ความรู้ เช่น วธิ ที ำอาหาร วิธีพบั กระดาษเปน็ รปู ตา่ ง ๆ ข้อมลู ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย (อาจเปน็ ความรใู้ นวชิ าอื่นๆหรือเรื่องทีเ่ ปน็ ประเดน็ ที่สนใจในชว่ งเวลาน้นั ) 5. การใช้อินเตอร์เนต็ อยา่ งปลอดภยั ควรอยู่ในการดูแลของครู หรอื ผปู้ กครอง 5. สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถในการส่อื สาร ทกั ษะการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ ทักษะความคดิ สร้างสรรค์ ทกั ษะการคดิ อย่างเปน็ ระบบ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทกั ษะการแกป้ ญั หา 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 7. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 2.1 กจิ กรรมลกู เตา๋ เบราว์เซอร์ 8. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. วิธกี ารสอนแบบสรา้ งสรรค์เปน็ ฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วธิ ีการสอนโดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL)
ช่วั โมงท่ี 1 ขนั้ นำเข้าส่บู ทเรียน 1. ผสู้ อนถามผเู้ รียนเพ่ือเปน็ การทบทวนความรเู้ ดิมของผเู้ รียนและเพ่ือกระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รียน เชน่ “นักเรียนเคยใชง้ านอินเทอร์เนต็ เพอ่ื ทำอะไรบ้าง” แนวคำตอบ ดูยูทปู เรยี นออนไลน์ ติดต่อส่ือสารกับเพ่ือน เลน่ เกม ข้นั สอน 2. ผู้สอนแจก ใบความรูท้ ่ี 3 เว็บเบราว์เซอร์ พรอ้ มอธิบายใบความรู้ คือ Web Browser (เวบ็ เบราวเ์ ซอร)์ คือ โปรแกรมท่ีใชใ้ นการเข้าถึงข้อมลู และตดิ ต่อส่อื สาร ในรปู แบบ Webpage (เว็บเพจ) โดยโปรแกรมจะแปลงภาษาคอมพิวเตอร์ HTML ให้เป็นภาษา ท่คี นท่วั ไปสามารถอา่ นและเข้าใจไดบ้ นหน้าเวบ็ การใชง้ าน Web Browser ในการเขา้ ชมเว็บไซต์ ผใู้ ช้งานจะตอ้ งกรอก Domain Name (โดเมนเนม) เพอ่ื เข้าไปยังเวบ็ ไซต์ต่างๆ โดย Domain Name จะนำมาใช้แทน IP Address (ไอพี แอดเดรส) หรือที่อยู่ของเวบ็ ไซตท์ ่ีเป็นตวั เลขซึ่งจดจำได้ยาก 3. ผู้สอนยกตัวอยา่ งโดเมนเนม หรือ ช่อื เว็บไซต์ เชน่ www.youtube.com หรอื www.google.co.th โดเมนเนมจะมนี ามสกุลท่ีแตกต่างกนั ไปแลว้ แต่ประเภทของเวบ็ ไซต์ เช่น .org , .co.th และท่นี ยิ มใช้ มากที่สดุ ก็คือ .com 4. ผสู้ อนอธบิ ายใบความรู้ตอ่ วา่ การจะเขา้ เว็บไซต์ตา่ งๆได้ นักเรียนจะต้องมี เว็บเบราว์เซอรก์ ่อน และเว็บเบราวเ์ ซอร์ทนี่ ยิ มใชม้ ากทสี่ ุด คือ 1. กูเกลิ โครม (Google Chrome) 2. อนิ เทอรืเนต็ เอ็กซพ์ ลอเรอร์ (Internet Explorer) 3. มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) 4. โอเปรา่ (Opera)
5. ซาฟารี (Safari) ประโยชน์ของเว็บบราวเซอร์ เวบ็ บราวเซอรเ์ ป็นโปรแกรมท่ีถกู สร้างขึ้นมาให้ผูใ้ ชง้ านอินเทอรเ์ นต็ สามารถใช้งานได้ง่ายขนึ้ ไม่ ว่าจะเปน็ การเข้าเวบ็ ไซต์เพื่อค้นหาข้อมูล ทำธุรกิจหรอื ธรุ กรรมตา่ งๆ ประกอบกบั ในปัจจุบันเมื่อ สังคเข้าส่ยู คุ อินเทอร์เนต็ การใช้งานเว็บบราวเซอร์จงึ เป็นท่นี ิยม และถือเปน็ สิ่งแรกท่ผี ู้ใชง้ านตอ้ ง ทำการเข้าใช้เพื่อเป็นการสง่ ต่อไปยังเวบ็ ไซต์หรือสิง่ อนื่ ๆ ที่เราตอ้ งการเข้าใชต้ ่อไป 5. ผสู้ อนนำ เคก้ เว็บบราวเซอร์ มาอธบิ ายว่ามแี บบใดบ้าง และมีคุณสมบตั ิอยา่ งไรบา้ ง 6. ผสู้ อนแจก ใบงานที่ 2.1 ลกู เตา๋ เบราวเ์ ซอร์ ใหก้ บั ผ้เู รียน พร้อมอธบิ ายวธิ กี ารทำใบงาน คือ 1. ใหผ้ ู้เรยี นตดั ตามรูปแบบ 2. พบั ตามรอยปะ 3. ทากาวท่ีหมายเลข 1 4. ประกอบใหเ้ ป็นลูกเตา๋ 7. ผู้สอนให้เวลาผ้เู รยี นในการทำลูกเตา๋ โดยผู้สอนคอยดแู ลความเรียบรอ้ ย โดยกำหนดระยะเวลาในการ ทำลกู เต๋าให้ผเู้ รียน 20 นาที 8. เมื่อครบกำหนดระยะเวลา ผ้สู อนให้ผ้เู รยี นนำลกู เต๋ามาส่ง กอ่ นส่งใหผ้ เู้ รียนทอยลกู เต๋า เม่ือตกทภี่ าพ ใดใหผ้ เู้ รยี นบอกช่ือเวบ็ เบราว์เซอรแ์ ละคณุ สมบัติเบอ้ื งต้น ขน้ั สรุป 9. ผสู้ อนสรปุ ให้ผู้เรียนเขา้ ใจว่า เว็บเบราว์เซอร์ เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้ผใู้ ชง้ านสามารถใช้งาน อนิ เทอรเ์ น็ตได้สะดวกสบายมากยง่ิ ขน้ึ เพราะการเรยี กใช้งานเว็บไซต์แตล่ ะคร้ัง ถา้ ต้องจดจำ IP ซง่ึ เปน็ ชุดตัวเลขคงเป็นเร่ืองยาก ซงึ่ หนา้ ทหี่ ลกั ๆ ของเว็บบราวเซอร์ก็คือช่วยในการแปลงโดเมนเนม ใหก้ ลายเปน็ ไอพีน้นั เอง 10. ผสู้ อนเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสอบถามเพม่ิ เติม
9. สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 2.1 ลกู เตา๋ เบราว์เซอร์ 2. ใบความรทู้ ี่ 3 เวบ็ เบราว์เซอร์ 3. เคก้ เว็บบราวเซอร์ 0 10. การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เครอื่ งมือ เกณฑ์ ประเมนิ พฤติกรรมรายบคุ คล แบบประเมนิ พฤติกรรม คุณภาพอยูใ่ นระดบั ดี จากการทำใบงานท่ี รายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 2.1 ลกู เตา๋ เบราวเ์ ซอร์ แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ตรวจใบงานที่ 2.1 ลกู เตา๋ ผา่ นเกณฑ์ เบราว์เซอร์ แบบประเมนิ คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ คุณภาพอยูใ่ นระดบั ดี ผ่าน ประเมนิ ด้านคุณลักษณะอัน เกณฑ์ พงึ ประสงค์ คือ (1)มวี ินัย (2)ใฝเ่ รียนรู้ (3)มงุ่ ม่ันในการทำงาน
แบบบันทึกหลงั แผนการสอน 1. บันทึกผลหลงั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1.1 ด้านความรู้ จากการประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นความรโู้ ดยใช้แบบฝกึ ทักษะ พบวา่ นักเรยี นทำแบบฝึกทกั ษะไดผ้ า่ น เกณฑ์ ท้งั หมด 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 80 นักเรยี นทท่ี ำแบบฝึกหดั ไมผ่ ่านเกณฑ์ 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20 1.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ จากการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะกระบวนการ พบว่า นักเรียนไดค้ ะแนนในระดบั ดมี าก ขึน้ ไป ทงั้ หมด 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 นักเรยี นได้คะแนนในระดับ ดี 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20 1.3 ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จากการประเมนิ การเรียนรดู้ ้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พบวา่ นกั เรียนมีความตง้ั ใจเรียนร่วมกิจกรรม ในชน้ั เรยี น อยูใ่ นระดบั ดีมาก ทัง้ หมด 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 2. ปญั หาอุปสรรค นักเรียนบางส่วนยงั ไมเ่ ข้าใจในเนื้อหาท่ีสอน จงึ มผี ลทำให้ไม่สามารถบอกอธบิ ายความหมายของเบราร์ เซอร์ได้ 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ซักถามนกั เรยี นทย่ี งั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหา และอธบิ ายเพิ่มเตมิ เปน็ รายบุคคล ลงช่ือ…………………….…………….ผสู้ อน (นายสหพล เทยี่ งกลาง) ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย ความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………….ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา (…………………..…………………………) ตำแหน่ง………………………………………
ภาคผนวก ใบความรู้ / ใบงาน / แบบประเมนิ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รำยวิชำ เทคโนโลยี วิทยำกำรคำนวณ ช้นั ประถมศึกษำปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่ำงเรียนและนอกเวลำเรียน เลขประจำ ัตว ระดับ คุณภำพ ีม ิว ันย ใ ่ฝเ ีรยน ู้ร ุ่มง ั่มนในกำร ทำงำน รวมคะแนน ้รอยละ ลำดับที่ ชอื่ - สกุล ของผูร้ ับกำรประเมิน 1 1816 เด็กชาย ลีน่า 3 3 3 9 100 นี 3 3 3 9 100 ดีมาก 2 1815 เด็กหญงิ เหมวย นี 3 3 3 9 100 ดมี าก 3 1812 เด็กหญงิ นุช โส 3 3 3 9 100 ดมี าก 4 1835 เด็กหญงิ ศิรพิ รเพ็ญ พวงทอง 3 3 3 9 100 ดีมาก 5 1852 เด็กหญงิ อาทิตติยา ใยเจรญิ 3 3 3 9 100 ดมี าก เกณฑก์ ารให้คะแนน : พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ ................................................................... ผปู้ ระเมนิ พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิชดั เจนและบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน (นำยสหพล เท่ียงกลำง) พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั บิ ำงคร้งั ให้ 1 คะแนน ........................./........................./.............................
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล รายวิชา เทคโนโลยี วทิ ยาการคานวณ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 คาชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น เลขประจา ัตว ันกเ ีรยน ระดบั คณุ ภาพ การวางแผนการทางาน ความ ัรบ ิผดชอบ การตรง ่ตอเวลา ความสะอาดเ ีรยบ ้รอย ผลสาเ ็รจของงาน รวมคะแนน ิคดเ ็ปน ้รอยละ เลขที่ ชอื่ - สกลุ ของผรู้ ับการประเมิน 3 3 3 3 3 15 100 1 1816 เด็กชาย ลีน่า นี 2 2 2 2 2 10 67 ดี 2 1815 เดก็ หญิง หมวย นี 3 3 3 3 3 15 100 ดมี าก 3 1812 เด็กหญิง นุช โส 3 3 3 2 3 14 93 ดีมาก 4 1835 เด็กหญิง ศริ ิพรเพ็ญ พวงทอง 3 3 3 3 3 15 100 ดมี าก 5 1852 เดก็ หญิง อาทิตติยา ใยเจริญ 3 3 3 2 3 14 93 ดีมาก เกณฑ์การให้คะแนน : พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ิชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ ................................................................... ผู้ประเมนิ (นำยสหพล เที่ยงกลำง) พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ัติชดั เจนและบอ่ ยครัง้ ให้ 2 คะแนน ........................./........................./............................. พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ตั ิบำงคร้งั ให้ 1 คะแนน
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ในการค้นหาความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 Google Search เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง วันทีส่ อน 18 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ผสู้ อนนายสหพล เท่ยี งกลาง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชีวติ จริงอย่างเป็นขัน้ ตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รูเ้ ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด อินเทอรเ์ นต็ เปน็ เครือขา่ ยขนาดใหญ่ ชว่ ยใหก้ ารตดิ ต่อส่ือสารทำได้สะดวกและรวดเรว็ เปน็ แหล่งขอ้ มลู ความร้ทู ี่ช่วย ในการเรยี นและการดำเนินชีวิต เวบ็ เบราวเ์ ซอรเ์ ปน็ โปรแกรมสำหรบั อา่ นเอกสารบนเวบ็ เพจ การ สืบค้นขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ น็ตทำได้โดยใชเ้ วบ็ ไซต์สำหรบั สบื ค้นและต้องกำหนดคำคน้ ท่ีเหมาะสมจงึ จะได้ข้อมูลตาม ตอ้ งการ ข้อมลู ความรู้ เชน่ ขั้นตอนการทำอาหาร การใชอ้ ินเทอร์เน็ตอยา่ งปลอดภยั ควรอยใู่ นการดูแลของครู หรือผปู้ กครอง 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชี้วัด ว 4.2 ป.3/3 ใช้อินเทอร์เนต็ ค้นหาความรู้ จดุ ประสงค์ 1. อธิบายขนั้ ตอนการหาข้อมูลดว้ ย Google Search ได้ (K) 2. พจิ ารณาเลอื กแหล่งข้อมลู ที่นา่ เชอ่ื ถือได้ (P) 3. เห็นประโยชนข์ องการใชง้ าน Google Search (A)
4. สาระการเรียนรู้ 1. การใช้อนิ เตอรเ์ นต็ เปน็ เครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การตดิ ต่อสื่อสารทำได้สะดวกและรวดเรว็ เป็นแหล่งข้อมลู ความรทู้ ่ีช่วย ในการเรยี นและการดำเนนิ ชีวิต 2. เวบ็ เบราว์เซอรเ์ ป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ 3. การสืบค้นข้อมูลบนอนิ เตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เวบ็ ไซต์สำหรับสบื คน้ และต้องกำหนดคำค้นท่เี หมาะสมจึงจะ ได้ข้อมลู ตามตอ้ งการ 4. ขอ้ มลู ความรู้ เช่น วิธที ำอาหาร วิธพี ับกระดาษเปน็ รปู ตา่ งๆข้อมลู ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย (อาจเป็นความรู้ ในวชิ าอน่ื ๆหรอื เรื่องทเ่ี ป็นประเด็นที่สนใจในชว่ งเวลานั้น) 5. การใช้อินเตอร์เนต็ อยา่ งปลอดภัยควรอยใู่ นการดูแลของครู หรอื ผปู้ กครอง 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ ทักษะความคิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการคิดอย่างเปน็ ระบบ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ทักษะการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใชช้ ีวิต ทักษะการทำงานรว่ มกัน 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 7. ภาระงาน 1. ใบงานท่ี 2.2 Google Search 8. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. วธิ ีการสอนแบบสรา้ งสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วธิ กี ารสอนโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning : PBL
ช่ัวโมงที่ 1 ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ผสู้ อนถามผูเ้ รียนเพื่อเปน็ การทบทวนความรู้เดมิ ของผู้เรยี นและเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจของผเู้ รียน เช่น “เมือ่ นักเรยี นต้องการรู้เรื่องเก่ียวกับอะไรสกั เร่อื งหน่ึงนักเรยี นจะไปถามใคร? จะเป็นอย่างไร ถ้ามีคนที่สามารถตอบเราได้ทุกเรอ่ื งที่เราสงสยั ?” 2. ผูส้ อนถามผเู้ รียนวา่ “ถา้ คุณครูสง่ั ให้นักเรียนหาขอ้ มูลเก่ียวกบั เรือ่ งไวรัสโคโรนา Covid-19 นักเรยี นจะไปถามใคร หรือหาข้อมูลจากไหนที่จะไดข้ ้อมลู ท่ีครบถ้วนมากทสี่ ุด” ข้นั สอน 3. ผสู้ อนแจก ใบความรู้ Google Search ให้กับผเู้ รยี น พรอ้ มอธบิ ายใบความรู้ 4. ผสู้ อนแนะนำผู้เรยี นวา่ เมอ่ื ก่อน ถ้าเราอยากรเู้ รือ่ งอะไรเราจะต้องไปท่หี ้องสมดุ และเลอื กดูหนังสอื ตามหมวดหม่ทู ่ีเราตอ้ งการจะรู้ แต่ในปจั จุบนั เราไม่ต้องเดนิ ทางไปห้องสมดุ เรากส็ ามารถหาขอ้ มลู ตา่ งๆได้ จากอินเทอร์เนต็ ทีร่ วบรวมข้อมลู มากมายจากทวั่ ทุกมุมโลกเอาไว้ ที่มีท้ังขอ้ ความ ภาพ วีดิโอ แผนที่ ในปัจจบุ ันมีเวบ็ ไซตม์ ากมายท่ีใหบ้ ริการคน้ หาขอ้ มลู แต่ท่ีนยิ มมากทีส่ ุด กค็ ือ Google Google Search เปน็ เครื่องมอื ท่ีใหบ้ รกิ ารค้นหาข้อมลู บนอินเทอร์เนต็ (Search Engine) ของเว็บไซต์ Google.com ผูใ้ ชง้ านเพยี งเขา้ เวบ็ ไซต์ www.google.com จากนน้ั พมิ พ์คำหรอื ข้อความ (Keyword) เก่ยี วกบั เรื่องท่ีต้องการคน้ หา และกดปุ่ม Enter Google Search ก็จะแสดงเว็บไซตท์ ัง้ หมดทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับ Keyword เหล่านน้ั ทนั ที ไม่เฉพาะแตเ่ พียงการคน้ หาข้อมลู ในรปู ของเว็บไซต์เทา่ นนั้ Google Search ยังสามารถ คน้ หาข้อมูลทเ่ี ปน็ ไฟลร์ ูปภาพ (Images) , กลุ่มขา่ ว (News Groups) และ สาระบบเวบ็ (Web Directory) ได้อยา่ งแมน่ ยำอีกดว้ ย 5. ผสู้ อนอธิบายเพ่ิมเติมว่า เพราะความงา่ ยของการเขา้ ถึงข้อมูล ทำให้มผี คู้ นมากมายหลงเช่ือข้อมลู ท่ีไม่ เปน็ ความจริงท่ีอ่านเจอ ดังนั้น หากตอ้ งการเอาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ผ้เู รียนจะตอ้ งดทู ี่มาของ แหล่งขอ้ มูล และนำข้อมลู มาเปรยี บเทยี บกนั จากหลายๆที่ และจงึ นำข้อมูลไปประมวลผลเปน็ สารสนเทศทมี่ ปี ระโยชนต์ อ่ ไป 6. ผู้สอนแจก ใบงานที่ 2.2 Google Search ใหน้ ักเรยี น พร้อมอธบิ ายการทำใบงาน คือ ให้ผูเ้ รยี น ช่วยกนั พจิ ารณาว่า ข้อมูลทีใ่ ดเชอ่ื ถือได้ ให้ทำเครื่องหมาย / หนา้ ข้อมูลที่เช่ือถือได้ และทำ เคร่อื งหมาย x หน้าข้อมลู ที่ไม่นา่ เช่อื ถือ โดยให้เวลาในการทำใบงาน 20 นาที
7. เม่ือครบกำหนดผูส้ อนใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกลุ่มออกมาอธบิ าย ว่าทำไมขอ้ มูลข้อนน้ั ๆถงึ น่าเชอื่ ถอื และ ทำไมถงึ ไมน่ ่าเช่ือถือ โดยผสู้ อนคอยให้คำแนะนำเพ่ิมเติม ขัน้ สรปุ 8. ผู้สอนสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจวา่ Google Search คอื โปรแกรมบนอนิ เทอรเ์ น็ตท่ชี ่วยใหผ้ ูใ้ ช้คน้ หาขอ้ มลู ไดง้ ่ายขึน้ โดยทผี่ ู้ใชง้ านเพียงแตท่ ราบหัวขอ้ ทต่ี ้องการคน้ หาแลว้ ป้อนคำหรือข้อความน้นั ๆลงไป บนเว็บไซต์ www.google.com แตเ่ พราะมีข้อมูลท่หี ลากหลายจงึ ตอ้ งดแู หล่งทม่ี าของข้อมูลก่อนท่ี จะนำข้อมูลไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป 9. ผ้สู อนให้ผู้เรียนช่วยกันบอกประโยชนข์ องการใช้งาน Google Search แนวคำตอบ : ค้นหาข้อมูลท่ีต้องการไดส้ ะดวก รวดเร็ว สามารถคน้ หาแบบเจาะลึกได้ มคี วามหลากหลายในการค้นหาข้อมูล 10. ผสู้ อนเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้สอบถามเพิม่ เตมิ 9. สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 2.2 Google Search 2. ใบความรู้ Google Search 0 10. การวัดและประเมินผล วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์ ประเมินพฤติกรรมรายบคุ คล แบบประเมนิ พฤติกรรม คุณภาพอยใู่ นระดับ ดี จากการทำใบงานท่ี ใบงานท่ี รายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 2.2 Google Search แบบประเมนิ ผลงาน คณุ ภาพอยู่ในระดับ ดี ตรวจใบงานท่ี 2.2 Google ผา่ นเกณฑ์ Search แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ คุณภาพอยู่ในระดบั ดี ผา่ น ประเมินดา้ นคณุ ลักษณะอนั เกณฑ์ พงึ ประสงค์ คือ (1)มีวินยั (2)ใฝเ่ รยี นรู้ (3)มุ่งม่นั ในการทำงาน
แบบบนั ทกึ หลังแผนการสอน 1. บนั ทกึ ผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 ด้านความรู้ จากการประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความร้โู ดยใชแ้ บบฝึกทักษะ พบว่า นักเรียนทำแบบฝึกทักษะไดผ้ ่าน เกณฑ์ ทงั้ หมด 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 1.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ จากการประเมินผลการเรยี นรู้ด้านทักษะกระบวนการ พบว่า นกั เรียนได้คะแนนในระดับ ดมี าก ขน้ึ ไป ทงั้ หมด 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 1.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ จากการประเมินการเรียนรู้ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ พบวา่ นักเรียนมีความตง้ั ใจเรียนรว่ มกิจกรรม ในชน้ั เรียน อยู่ในระดับ ดีมาก ทัง้ หมด 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 2. ปญั หาอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………….…………….ผู้สอน (นายสหพล เทยี่ งกลาง) ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย ความคิดเหน็ ของผ้บู ริหารสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………….ผู้บริหารสถานศกึ ษา (…………………..…………………………) ตำแหนง่ ………………………………………
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161