Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสหกิจศึกษา

คู่มือสหกิจศึกษา

Published by uraiwan.cha, 2018-08-15 08:29:14

Description: handbooksahakit

Search

Read the Text Version

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OKปรัชญา (Philosophy) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก พัฒนาคน พฒั นาชาติปณิธาน (Pledge) สูง้ าน วชิ าการดี มคี ุณธรรม เป็นผ้นู าํ ดา้ นเทคโนโลยีวสิ ยั ทัศน์ (Vision) มหาวทิ ยาลัยชั้นนําดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมงุ่ สปู่ ระชาคมอาเซยี นพนั ธกจิ (Mission) 1. จัดการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มคี ณุ ภาพตอบสนอง ความต้องการของผูใ้ ชบ้ ัณฑิต ท้งั ในประเทศและกลมุ่ ประเทศอาเซียน 2. พฒั นางานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวตั กรรมที่มีคณุ ภาพบนพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงั คมศาสตร์ 3. บรู ณาการองค์ความรูก้ บั ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ เพอ่ื สร้างความเขม้ แขง็ ใหช้ ุมชนและสงั คม 4. ทํานุบาํ รุงศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยนื 5. บริหารจัดการเชิงธรรมาภบิ าลเพอ่ื กา้ วสูค่ วามเป็นองคก์ รคณุ ภาพ 6. พัฒนามหาวิทยาลัยม่งุ ส่คู วามเป็นประชาคมอาเซยี น อัตลกั ษณ์ : บัณฑิตนักปฏิบตั ิ

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OKวทิ ยาเขตบางพระ (ทต่ี ั้ง : สํานกั งานอธกิ ารบด)ี คณะในสังกดั : คณะเกษตรศาสตร์และทรพั ยากรธรรมชาติ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะสตั วแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีการบนิ ทอ่ี ยู่ : 43 หมู่ 6 ตาํ บลบางพระ อําเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 20110 โทรศพั ท์ : 0-3835-8201 โทรสาร : 0-3834-2493 เวป็ ไซต์ : www.rmutto.ac.thวิทยาเขตจักรพงษภวู นารถ คณะในสงั กดั : คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะศลิ ปศาสตร์ ทอ่ี ยู่ : 122/41 ถนนวิภาวดีรงั สติ แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กรุงเทพฯ รหสั ไปรษณยี ์ 10400 โทรศัพท์ : 0-2692-2360-4 โทรสาร : 0-2277-3693 เวป็ ไซต์ : www.cpc.rmutto.ac.thวิทยาเขตจนั ทบรุ ี คณะในสังกดั : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร คณะเทคโนโลยสี ังคม ทอ่ี ยู่ 131 หมู่ 10 ถนนบาํ ราศนราดรู ตําบลพลวง อําเภอเขาคชิ ฌกูฎ จงั หวดั จันทบุรี 22210 โทรศัพท์ : 0-3930-7274 โทรสาร : 0-3930-7274 เว็ปไซต์ : www.chan.rmutto.ac.thวทิ ยาเขตอุเทนถวาย คณะในสังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ที่อยู่ : 225 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ รหสั ไปรษณยี ์ 10300 โทรศัพท์ : 0-2252-7029 โทรสาร : 0-2252-7580 เวป็ ไซต์ : www.uthen.rmutto.ac.th

คาํ นํา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มีพันธกิจในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีมีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ท้ังในประเทศและกลุ่มประเทศอาเซียน พันธกิจดังกล่าวนับเป็นหน่ึงในพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย ท้ังน้ีมหาวิทยาลัย โดยสํานักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น ได้สง่ เสริมให้ทุกคณะ สถาบัน ทุกสาขาวิชา จัดสหกิจศึกษาเข้าไว้ในหลักสูตร ซึ่งนับว่าเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ต่อการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัตทิ ีม่ คี ณุ ภาพ คู่มือสหกิจศึกษา ฉบับน้ีเป็นผลสําเร็จจาก โครงการการจัดการความรู้ด้านสหกิจศึกษา ดําเนินโครงการโดยสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ซึ่งได้จัดประชุมกิจกรรมระดมความรู้ถึง 5 คร้ัง นับเป็นการตกผลึกทั้งความรู้ ประสบการณ์ รวมทั้งได้สนทนาถึงสภาพปัญหาและการแก้ไขการจัดสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยท้ัง 4 วิทยาเขต ซ่ึงทําให้การจัดสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยประสบผลสําเร็จและมีความเป็นเอกภาพมากข้ึน ค่มู อื สหกิจศกึ ษาฉบับนี้ ได้เผยแพรผ่ ่านทางเว็บไซต์ http://academic.rmutto.ac.th ของสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในรูปแบบเอกสารออนไลน์ (online) อันเป็นการส่งเสริมให้ นักศึกษา อาจารย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก และนักศึกษา อาจารย์ของมหาวิทยาลัยอ่ืน ตลอดสถานประกอบการที่รับนักศึกษาเข้าปฏิบัติสหกิจศึกษาได้มีโอกาสเข้าถึง และศึกษาหาความรู้ตามท่ีสนใจได้อย่างกว้างขวางทั่วถึงและเท่าเทยี ม ขอขอบคุณ สาขาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ ท่ีได้มอบคู่มือสหกิจศึกษาซ่ึงได้จัดทําข้ึนใช้ในสาขาโดยปรับปรุงจากคู่มือโครงการสหกิจศึกษา หลักสูตรเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง ให้เป็นต้นแบบสําหรับการ วิพากย์วิจารณ์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นประโยชน์ในการจัดสหกิจศึกษาของทั้งมหาวิทยาลัยให้เป็นเอกภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ขอขอบคุณคณะกรรมการของโครงการทุกท่าน และคณะกรรมการฝ่ายบันทึกและจัดทํารูปเล่มของสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนที่ได้ร่วมสร้างบรรยากาศการจัดการความรู้ ในรูปแบบสุนทรียสนทนา ซึ่งนําไปสู่การร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมพัฒนาจนเกิดผลสําเร็จเป็นคู่มือสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ฉบบั นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก พฤษภาคม 2557

สารบญั หน้าคาํ นําสารบัญ1. สหกิจศกึ ษาคืออะไร .......................................................................................................................1 1.1 หลักการและเหตุผล .....................................................................................................1 1.2 วัตถปุ ระสงคส์ หกจิ ศึกษา..............................................................................................1 1.3 นกั ศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาสหกิจศึกษา ..................................................................2 1.4 หน่วยงานและบคุ ลากรที่รับผดิ ชอบ.............................................................................2 1.5 ลักษณะงานทีใ่ ห้นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา ........................................................3 1.6 ตารางเปรียบเทียบการปฏบิ ัติสหกจิ ศกึ ษากับการฝึกงานของนกั ศกึ ษา........................32. บทบาท หน้าท่ี และประโยชน์ของนกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา................................................................5 2.1 บทบาทและหน้าท่ขี องนักศึกษาสหกจิ ศึกษา ...............................................................5 2.2 ประโยชนท์ ่ีนักศึกษาจะไดร้ บั จากการปฏิบัติงานสหกจิ ศกึ ษา ......................................5 2.3 ประโยชนท์ ี่มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออกได้รบั .....................................53. บทบาทของสถานประกอบการกับสหกิจศึกษา .............................................................................6 3.1 หนา้ ที่ของพนกั งานท่ีปรึกษา (Job Supervisor) .........................................................6 3.2 แนะนําการจัดทาํ รายงานสหกจิ ศกึ ษา..........................................................................6 3.3 การจดั เตรยี มข้อมลู สาํ หรบั การนิเทศนักศึกษา.............................................................7 3.4 การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านนกั ศกึ ษาสหกิจศึกษา....................................................7 3.5 การเตรยี มความพรอ้ มของสถานประกอบการ .............................................................7 3.6 ประโยชน์ที่สถานประกอบการจะได้รับ........................................................................8 3.7 สทิ ธิประโยชน์ทางภาษี.................................................................................................84. กระบวนการและข้นั ตอนสหกิจศึกษา...........................................................................................13 4.1 การรับสมัครนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษาและคัดเลือกนักศกึ ษา ..........................................13 4.2 สถานประกอบการเสนองานแก่นักศกึ ษา...................................................................13 4.3 การลงทะเบยี นลว่ งหนา้ (Pre-register) รายวิชาสหกิจศกึ ษา....................................13 4.4 การรับสมัครนกั ศกึ ษาสหกิจศึกษา .............................................................................13 4.5 การเลือกสมัครงานและการจัดเขา้ คู่ (Matching) ......................................................13 4.6 ประกาศแจ้งให้นักศึกษาทราบผลการคดั เลอื กจากสถานประกอบการ ......................14 4.7 การจัดอบรมสมั มนาและปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาก่อนออกปฏิบตั งิ าน ในหวั ข้อ ความปลอดภัยในโรงงาน 5 ส ระบบคณุ ภาพ ISO 9000 : 2000 บคุ ลกิ ภาพและ มนษุ ยสมั พันธ์.............................................................................................................15 4.8 กิจกรรมระหวา่ งการปฏบิ ัตงิ าน..................................................................................15 4.9 อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา.....................................................................................16 4.10 กิจกรรมภายหลงั การปฏิบตั งิ าน.................................................................................17

สารบญั (ต่อ) หนา้ 4.11 การประเมนิ ผล...........................................................................................................17 4.12 การประเมินผลรายงานรายวิชาสหกจิ ศกึ ษา ..............................................................175. ขอ้ แนะนาํ และแนวปฏบิ ัตสิ ําหรบั นกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา 5.1 ข้อแนะนําในการตดิ ตอ่ กบั สหกจิ ศึกษา ......................................................................19 5.2 การใหบ้ ริการของงานสหกิจศึกษาประจาํ คณะ ..........................................................20 5.3 การประกันสขุ ภาพและอุบัติเหตุสําหรบั นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา...................................216. สหกจิ ศึกษานานาชาติ...................................................................................................................227. การเขยี นรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา................................................................................23 7.1 รูปแบบการเขยี นรายงานสหกิจศกึ ษา (Co-op Report Format).............................24 7.2 การพมิ พ์รายงานสหกิจศกึ ษา.....................................................................................25 7.3 เนื้อหาของรายงานสหกิจศึกษา..................................................................................318. แผนการเรยี นสหกจิ ศกึ ษาในหลกั สตู รตา่ ง ๆ ................................................................................519. แนวปฏิบตั ิท่ดี ีในงานสหกจิ ศกึ ษา .................................................................................................53 การระดมความคดิ เห็นถงึ แนวปฏบิ ตั ิที่ดใี นการปฏิบตั สิ หกจิ ศึกษา .......................................5310. ภาคผนวก

สหกิจศึกษา CO-OPERATIVE EDUCATION 1. สหกิจศกึ ษาคอื อะไร สภาวการณ์ปัจจุบันท่ีตลาดแรงงานมีการแข่งขันและมีการคัดเลือกบุคคลเข้าทํางานที่คัดสรรเป็นอย่างดี ดังน้ันความต้องการของตลาดแรงงานจึงกําหนดลักษณะของบัณฑิตให้เป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ ไดแ้ ก่ การเปน็ ผทู้ ่ไี วว้ างใจได้ในด้านการงาน ความคิดริเริ่ม ระเบียบวินัยจริยธรรม ศีลธรรม การส่ือสารข้อมูล การเป็นผู้นํา เป็นต้น สิ่งที่ท้าทายสําหรับบัณฑิตในปัจจุบัน คือการมีโอกาสสร้างความเข้าใจและคุ้นเคยกับโลกแห่งความจริงของการทํางานและการเรียนรู้ เพ่ือให้ได้ทักษะของงานอาชีพและทักษะด้านพัฒนาตนเอง นอกเหนือไปจากทักษะด้านวิชาการ ทักษะเหล่านี้จะเรียนรู้และพัฒนาโดยเร็วเมื่อนักศึกษาผู้เป็นบัณฑิตในอนาคตจะมีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงตามสถานประกอบการต่างๆ1.1 หลกั การและเหตุผล สหกิจศึกษา (Co-operative Education) เป็นแผนการศึกษาโดยมีจุดมุ่งหมายให้บัณฑิตได้มีประสบการณ์ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นให้นักศึกษาท่ีจะเป็นบัณฑิตในอนาคตได้นําวิชาการท้ังทางภาคทฤษฎีและปฏิบัติต่างๆ ได้ศึกษามาแล้วนําไปปฏิบัติในสถานประกอบการให้ได้ผลดีทําให้บัณฑิตสามารถเรียนรู้ประสบการณ์จากการไปปฏิบัติงาน และทําให้บัณฑิตมีคุณภาพตรงตามวัตถุประสงค์ที่สถานประกอบการต้องการมากท่ีสุด อีกท้ังเพื่อเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมืออันดีระหว่างสถานศึกษาที่บัณฑิตได้ไปฝึกปฏิบัติกับสถานประกอบการรวมท้งั ยงั เป็นการเผยแพรเ่ กยี รตคิ ุณของสถานศกึ ษาต่อบุคคลและสถาบันตา่ งๆ ทอ่ี ยภู่ ายนอก1.2 วัตถปุ ระสงค์สหกิจศึกษา เพื่อใหน้ ักศกึ ษา 1.2.1 ไดร้ ับประสบการณต์ รงเก่ียวกบั การทํางานจริงในสถานประกอบการสอดคล้องกับ อตั ลกั ษณ์บณั ฑติ ของมหาวิทยาลัยที่ว่า “บณั ฑติ นักปฏิบตั ิ” 1.2.2 ศึกษาเรียนร้เู รอื่ งการจดั และบรหิ ารงานในสถานประกอบการอย่างละเอียด 1.2.3 พบเห็นปัญหาต่างๆ ทแ่ี ท้จริงของสถานประกอบการและคดิ ค้นวิธีแกป้ ญั หาเฉพาะหน้า 1.2.4 ศกึ ษาเก่ียวกบั บุคลากรส่วนต่างๆ ของผรู้ ว่ มปฏิบตั ิงานสถานประกอบการ ทัง้ ด้าน บุคลกิ ภาพ หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ การทาํ งานร่วมกนั และการปฏิบตั ิงานเฉพาะ 1.2.5 รจู้ ักปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับสงั คมในสถานประกอบการ การเป็นผู้นําและเป็นผตู้ ามท่ี เหมาะสม 1.2.6 ส่งเสรมิ ความสมั พันธอ์ นั ดีระหวา่ งสถานศกึ ษาท่นี ักศกึ ษาได้ไปปฏบิ ัติงานสหกิจศกึ ษา กบั สถานประกอบการ 1.2.7 เผยแพร่ช่อื เสียงมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออกต่อบุคคลและสถาบนั ต่างๆ ที่อยภู่ ายนอก

คู่มอื สหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 21.3 นกั ศกึ ษาทีล่ งทะเบียนรายวิชาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกได้จัดระบบการศึกษาเป็น ระบบทวิภาค คือ 1 ปีการศึกษา ประกอบด้วย 2 ภาคการศึกษา โดยแต่ละภาคการศึกษามีระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์แต่ละภาคการศึกษาสหกจิ ศกึ ษา มีระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 16 สัปดาห์ ซ่ึงรายวชิ าสหกิจศกึ ษามีลกั ษณะดงั น้ี 1.3.1 เปน็ นักศกึ ษาหลักสตู รปริญญาตรซี ึ่งกาํ ลงั ศึกษาอยู่ โดยผา่ นการศึกษาในมหาวทิ ยาลัย มาแล้วไม่น้อยกวา่ ก่ึงหนึง่ ของจํานวนหนว่ ยกติ รวมตามหลกั สูตรการศึกษานัน้ 1.3.2 มรี ะดับคะแนนเฉลีย่ สะสมไมต่ า่ํ กว่า 2.00 สาํ หรบั หลกั สตู รปริญญาตรี ในภาคการศกึ ษา กอ่ นลงทะเบยี นวชิ าสหกิจศึกษา 1.3.3 ต้องผา่ นการพิจารณาคุณสมบตั ใิ นสาขาวิชาตน้ สังกดั ของนักศึกษาตามเกณฑท์ ค่ี ณะ กาํ หนด 1.3.4 ไมเ่ ปน็ โรคทเี่ ปน็ อุปสรรคตอ่ การปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการน้นั 1.3.5 มคี วามประพฤตเิ รียบรอ้ ย 1.3.6 ภาคการศึกษาสหกจิ ศึกษามคี า่ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.3.7 กาํ หนดให้นักศกึ ษาจะตอ้ งไปปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษา โดยมรี ะยะเวลาการปฏิบัตงิ าน ตามที่กาํ หนด ท้งั นไ้ี ม่น้อยกว่าภาคการศกึ ษาละ 16 สัปดาห์1.4 หนว่ ยงานและบคุ ลากรท่ีรับผดิ ชอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกมอบหมายให้หน่วยงานรับผิดชอบจัดการสหกิจศึกษาแบ่งเปน็ 1.4.1 มหาวทิ ยาลยั มอบหมายหน่วยงานรับผดิ ชอบการจัดสหกจิ ศึกษาและการฝกึ งานวิชาชีพ ดังน้ี 1.4.1.1 สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เป็นหน่วยงานที่ทําหน้าที่ให้การ สนับสนุนการดาํ เนนิ งานสหกิจศกึ ษาการฝึกงานวิชาชีพของมหาวิทยาลยั 1.4.1.2 งานสหกิจศึกษาและการฝึกงานวิชาชีพประจําคณะ มีหน้าที่ประสานงานและ ใหก้ ารสนบั สนุนการดาํ เนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาและการฝึกงานวิชาชพี ของคณะ 1.4.2 มหาวทิ ยาลยั แตง่ ตั้งคณะกรรมการ เพ่ือรบั ผดิ ชอบการดาํ เนินงานสหกิจศึกษาและการ ฝกึ งานวิชาชีพ ดังน้ี 1.4.2.1 คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสหกิจศึกษาและการฝึกงานวิชาชีพ ประจํา มหาวิทยาลยั ประกอบด้วยอธิการบดีเป็นประธาน รองอธิการบดีด้านวิชาการ คณบดี ผู้ที่ อธิการบดีเห็นสมควรเป็นคณะกรรมการจํานวน 1 คน และผู้อํานวยการสํานักส่งเสริม วิชาการและงานทะเบียนเป็นกรรมการและเลขานุการ ทําหน้าที่กําหนดนโยบาย ให้ คําปรึกษา ช้ีแนะ ให้ความเห็นชอบการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบ ระเบียบ และข้อบังคับที่ เกี่ยวกบั สหกิจศกึ ษาและการฝึกงานวิชาชพี ของมหาวทิ ยาลยั 1.4.2.2 คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสหกิจศึกษาและการฝึกงานวิชาชีพประจํา คณะ ประกอบด้วยคณบดีเป็นประธาน รองคณบดีฝ่ายวิชาการ หัวหน้าสาขาวิชาและ หัวหน้าสหกิจศึกษาและการฝึกงานวิชาชีพประจําคณะเป็นกรรมการและเลขานุการ ทํา หนา้ ท่บี ริหารงานสหกจิ ศึกษาและการฝกึ งานวิชาชีพของคณะ 1.4.2.3 คณะแตง่ ตัง้ บคุ คลเพอื่ ทาํ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบการดาํ เนินงานสหกิจศึกษา และการ ฝึกงานวิชาชีพของคณะและมอี าํ นาจหนา้ ที่ ดงั น้ี

ค่มู ือสหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 3 (1) อาจารย์ประสานงานสหกิจศกึ ษาและการฝึกงานวิชาชพี ประจําคณะ ให้แต่งต้งั จากหวั หนา้ สาขาวิชาหรืออาจารยป์ ระจําสาขาวชิ า ทาํ หนา้ ท่ีดาํ เนินงานสหกจิ ศึกษา และการฝึกงานวิชาชีพของสาขาวิชา รวมทง้ั การใหค้ าํ ปรึกษาเก่ียวกับงานสหกิจศกึ ษา และการฝึกงานวิชาชีพแกน่ ักศึกษาในสาขาวชิ า (2) อาจารย์นเิ ทศ ใหแ้ ต่งตั้งจากอาจารยป์ ระจําสาขาวิชา ทาํ หน้าทนี่ ิเทศ ให้ คําปรึกษาและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษาและการฝกึ งาน วิชาชีพในสถานประกอบการ (3) เจ้าหน้าทปี่ ฏบิ ัติงานสหกิจและการฝึกงานวชิ าชพี ประจาํ คณะ ทาํ หน้าทีจ่ ดั ทํา เอกสารและงานธุรการท่เี ก่ยี วข้องกบั งานสหกิจศึกษาและการฝึกงานวชิ าชพี1.5 ลักษณะงานที่ใหน้ ักศึกษาปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา 1.5.1 ปฏบิ ัติงานเสมือนหน่ึงเป็นพนักงานประจํา 1.5.2 มีหน้าทีร่ ับผดิ ชอบงานชดั เจน 1.5.3 ปฏบิ ตั ิงานเตม็ เวลา (Full Time) 1.5.4 ระยะเวลาการปฏบิ ตั สิ หกิจศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ 16 สปั ดาห์1.6 ตารางเปรียบเทยี บการปฏบิ ตั สิ หกจิ ศึกษากับการฝึกงานของนกั ศึกษาประเดน็ การ การปฏิบัติสหกจิ ศึกษา การฝึกงานเปรียบเทียบรปู แบบของการขอเข้า นกั ศกึ ษาต้องเขียนและย่ืนใบสมัครต่อองค์กรผู้ใช้ ส่วนใหญม่ ักไมม่ กี ารย่นื ใบสมคั รงานและไปปฏบิ ัตสิ หกจิ ศึกษา บัณฑิตในลักษณะเดียวกับการสมัครงานและต้อง สัมภาษณ์นักศกึ ษาแตพ่ ิจารณาจากหรือฝึกงาน ผ่านการสอบสัมภาษณ์ รวมท้ังการคัดเลือกจาก หนงั สอื /จดหมายขอความอนุเคราะห์รับ องคก์ รผใู้ ช้บณั ฑิต นักศึกษาฝึกงานจากสถาบนั อุดมศึกษาสถานะของนักศึกษา นักศึกษาจะเป็นเสมือนเจ้าหน้าที่หรือพนักงาน นกั ศึกษาอยู่ในสถานะของนักศกึ ษาฝกึ งานในองค์กรผู้ใชบ้ ณั ฑิต ปฏิบัติงานชั่วคราวในองค์กรผู้ใช้บัณฑิตในฐานะ พนักงานเต็มเวลาคุณสมบัตขิ อง แตล่ ะมหาวทิ ยาลัยจะกําหนดแตกต่างกนั บ้าง ส่วนใหญใ่ ช้หลกั เกณฑก์ ารเป็นนักศกึ ษามานกั ศกึ ษา เลก็ นอ้ ย แต่โดยส่วนใหญ่นักศึกษาจะตอ้ งมี แล้วไมน่ อ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของหลกั สตู ร คะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ ํา่ กว่า 2.00 ศกึ ษาอยใู่ น ระดบั ชัน้ ปี 3 หรือ 4 และตอ้ งผ่านการพิจารณา คุณสมบัตอิ ่ืนๆ ตามเกณฑ์ทมี่ หาวทิ ยาลยั กาํ หนดคา่ ตอบแทน นักศึกษาสหกิจศึกษาส่วนใหญ่จะได้รับ นกั ศกึ ษาอาจจะได้รับค่าจา้ งหรือคา่ ตอบแทน สวัสดิการ ค่าจ้างหรือค่าตอบแทนอื่นตามความ ตามความเหมาะสมจากองค์ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ เหมาะสมจากองค์กรผใู้ ชบ้ ณั ฑติลกั ษณะการทาํ งาน เน้นการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์จากการทํางาน ขึน้ อยูก่ ับองคก์ รผูใ้ ช้บัณฑติ บางครง้ั งานที่ จริงเป็นหลัก หรือ Work based learning หรือ ไดร้ ับมองหมายไมต่ รงกบั สาขาวชิ าท่ีเรยี น โครงงานพิเศษ (Project) ท่ีใช้ความรู้ตรงหรือ สั ม พั น ธ์ กั บ ส า ข า วิ ช า ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ล ะ เ ป็ น ประโยชนก์ บั องคก์ รผู้ใชบ้ ณั ฑิต

คมู่ อื สหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 4ประเดน็ การ การปฏบิ ตั ิสหกจิ ศึกษา การฝึกงานเปรียบเทยี บระยะเวลาการ ปฏิบตั ิงานเตม็ เวลา ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ฝึกงานในภาคการศึกษาฤดรู ้อน โดยมีปฏบิ ตั งิ าน ภาคการศกึ ษา หรือ 16 สปั ดาห์ และอาจ ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 200 ชว่ั โมงทาํ การ มากกวา่ 1 ภาคการศกึ ษา (ข้ึนอย่กู บั หรอื ไม่น้อยกวา่ 20 - 25 วันทําการ (ขึ้นอยู่ มหาวทิ ยาลัยกําหนด) กบั สถาบนั อดุ มศึกษาจะกําหนด)การประสานงาน มีการประสานงานอยา่ งใกล้ชิดระหว่าง สว่ นใหญจ่ ะมีการประสานงานในชว่ งระหว่าง บุคลากรจากสถาบันอดุ มศึกษาและองค์กรผใู้ ช้ ก่อนส่งนกั ศกึ ษาเขา้ ฝึกงานและหลงั การสถาบนั อุดมศกึ ษากับ บณั ฑิตอยา่ งต่อเน่ืองสมาํ่ เสมอ ฝึกงานองคก์ รผู้ใชบ้ ณั ฑิตการดูแลนกั ศึกษา องค์กรผู้ใช้บัณฑิตจัดให้มีหัวหน้างานหรือบุคลากร องคก์ รผู้ใชบ้ ณั ฑติ จัดใหม้ ีหัวหน้างานเพื่อระหว่างการปฏิบัตงิ าน ท่ีเหมาะสมทําหน้าที่พนักงานท่ีปรึกษา (Job ดูแลและสอนงาน Supervisor) หรือพ่ีเลี้ยง (Menior) ทําหน้าที่กําหนด งานให้นักศึกษาปฏิบัติดูแลให้คําปรึกษาแนะนําแก่ นักศึกษาตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติงานการสง่ ผลการ นักศึกษาสหกิจศึกษาจะต้องทํารายงานวิชาการ จัดทํารายงานผลการปฏบิ ัติงานปฏิบตั ิงานของ จํานวน 1 เล่ม ในหัวข้อและเน้ือหาที่องค์กรผู้ใช้นักศกึ ษา บัณฑิตและอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาในสาขาวิชา/ ภาควิชาทกี่ ําหนดการติดตามผลการ อาจารยน์ ิเทศหรอื อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาสหกิจศึกษา คณะกรรมการดําเนินงานการฝึกงานออกปฏิบัติงาน ในสาขา/ภาควิชาจะทําหน้าที่ดูแล ติดตามการ ตรวจเยย่ี มนกั ศกึ ษาฝกึ งานไม่น้อยกว่า 1 คร้ัง ปฏบิ ัตงิ านตามระยะเวลาที่กําหนด ตลอดระยะเวลาของการฝกึ งานการประเมินผล การประเมินผลจะต้องผ่านการประเมินผลจาก พิจารณาจากผลการประเมินงานขององค์กร อาจารยท์ ี่ปรกึ ษารว่ มกบั พนักงานทีป่ รึกษา ผู้ใช้บัณฑิต และกรรมการดําเนินงานการ ฝึกงานการสรุปผลการ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานจะมีการสัมมนา การจัดกิจกรรมเมอ่ื สน้ิ สุดการฝึกงานข้ึนอยู่ปฏิบัติงาน แลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา กบั แตล่ ะสถาบันอดุ มศกึ ษาเปน็ ผูก้ าํ หนด ผู้บริหารและผู้แทนองค์กรผู้ใช้บัณฑิต ผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษา เพ่ือทราบถึงพัฒนาการและ ความสามารถในการนําเสนอและถ่ายทอด แลกเปลี่ยนประสบการณ์หมายเหตุ: การปฏบิ ัติสหกจิ ศึกษาในหลกั สตู รสหกิจศกึ ษาของแต่ละสถาบันอุดมศกึ ษาจะมกี ระบวนการและข้นั ตอนสหกิจศึกษาทค่ี ล้ายคลงึ กัน แต่ท้ังนี้ รายละเอยี ดต่างๆ ของแตล่ ะหลกั สตู รสหกิจศึกษาจะขึ้นอยกู่ ับความเหมาะสมของแตล่ ะสถาบนั เปน็ ผู้กําหนด อา้ งอิง : ข้อมลู จาก สมาคมสหกจิ ศกึ ษาไทย 6 มิถนุ ายน 2552

2. บทบาท หนา้ ที่ และประโยชนข์ องนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา2.1 บทบาทและหนา้ ทข่ี องนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา 2.1.1 ตดิ ตามขา่ วสารการจัดหางานและประสานกับเจา้ หน้าทีส่ หกจิ ศกึ ษาตลอดเวลา 2.1.2 ผา่ นการปฐมนเิ ทศ ฝกึ อบรมครบถว้ น ตามท่รี ายวิชาสหกิจศกึ ษากําหนด 2.1.3 ไปรายงานตัวภายในวนั และเวลาทก่ี ําหนด พรอ้ มด้วยหนังสือสง่ ตวั บตั รประจําตัว นกั ศึกษา คาํ แนะนาํ ของสถานประกอบการ และคมู่ ือสหกจิ ศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัย ยืน่ ต่อหัวหน้าสถานประกอบการหรอื ผู้ท่ีทางสถานประกอบการมอบหมาย 2.1.4 รบั การปฐมนเิ ทศเพ่อื ทราบนโยบาย และคําแนะนําอืน่ ๆ จากสถานประกอบการ 2.1.5 ต้ังใจปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากพนกั งานทปี่ รึกษาอยา่ งเต็มกําลังความสามารถ 2.1.6 ปฏิบตั ิตนอยู่ในระเบียบวนิ ัยหรือขอ้ บังคบั ของสถานประกอบการ 2.1.7 ประสานงานกับงานสหกิจศกึ ษาของคณะ เพ่ือติดตอ่ ส่งเอกสารตามกําหนดเวลาและให้ ขา่ วสารการปฏบิ ตั งิ านของตนเองกบั งานสหกิจศึกษาของคณะตลอดเวลาท่ปี ฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ 2.1.8 หากมีปญั หาในการปฏิบัติงานจะตอ้ งรีบติดตอ่ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาสหกิจศกึ ษา หรือ เจา้ หน้าทฝี่ ่ายนเิ ทศงานสหกจิ ศกึ ษาโดยทันที2.2 ประโยชน์ทน่ี กั ศกึ ษาจะได้รบั จากการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา 2.2.1 ไดร้ บั ประสบการณต์ รงตามสาขาวชิ าชีพที่เรยี นเพมิ่ เติมจากการเรยี นในหอ้ งเรียน 2.2.2 เกิดการเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเอง การทาํ งานร่วมกับผู้อ่นื ความรบั ผดิ ชอบ และมคี วาม ม่ันใจในตนเองมากขึ้น ซึง่ เปน็ คุณสมบัตทิ ี่พงึ ประสงคข์ องสถานประกอบการ 2.2.3 ไดท้ ราบปัญหาต่างๆ ท่ีแทจ้ รงิ ของสถานประกอบการ และคิดค้นวธิ กี ารแกป้ ญั หา เฉพาะหนา้ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 2.2.4 เกิดทักษะการสื่อสารขอ้ มูลการทาํ งานภายในสถานประกอบการ (Communication Skills) 2.2.5 ได้รับค่าตอบแทนการปฏบิ ัติงานตามความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกจิ 2.2.6 ทราบความถนัดของตนเองเพ่ือเลอื กอาชพี ไดถ้ กู ตอ้ ง 2.2.7 เป็นบณั ฑติ นกั ปฏิบตั ทิ ี่มีศกั ยภาพในการทํางานมากขน้ึ และมีโอกาสได้รบั การเสนองาน ก่อนสาํ เร็จการศกึ ษา2.3 ประโยชน์ทม่ี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออกไดร้ บั 2.3.1 ผลิตบัณฑติ นักปฏิบตั ิทม่ี คี ณุ ภาพ ไดต้ รงกับความต้องการของตลาดแรงงาน 2.3.2 มีความสัมพันธอ์ ันดีกับสถานประกอบการ 2.3.3 ได้ทราบปญั หาทีแ่ ท้จรงิ ในสถานประกอบการ เพือ่ เป็นแนวทางในการพฒั นาการศกึ ษา 2.3.4 นาํ ปญั หาทีแ่ ทจ้ รงิ มาบรู ณาการเป็นกรณศี ึกษาในการจัดการเรียนการสอน 2.3.5 เพม่ิ ประสบการณภ์ าคปฏิบตั ิและพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ผู้สอน 2.3.6 มโี อกาสใชป้ ระโยชน์รว่ มในเครือ่ งมืออนั ทันสมยั และเพ่ิมโอกาสทํางานวจิ ัยประยุกต์ เพื่ออุตสาหกรรมอยา่ งแทจ้ รงิ

คู่มอื สหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 6 3. บทบาทของสถานประกอบการกับสหกจิ ศกึ ษา สถานประกอบการเป็นองค์กรที่มีความสําคัญที่จะพัฒนานักศึกษาโดยวิธีการของสหกิจศึกษา ให้เกิดผลทางรูปธรรม ซ่ึงในทางปฏิบัติสหกิจศึกษามีรูปแบบและขั้นตอนท่ีจําเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชิดจากสถานประกอบการ โดยเฉพาะพนักงานฝ่ายบุคคลหรือฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์และพนักงานท่ีปรึกษา (Job Supervisor) จะเป็นผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้กํากบั และดูแลนักศกึ ษาในระหว่างการปฏิบตั งิ านโดยมีหน้าทห่ี ลกั ดงั น้ี 1. ให้รายละเอียดของลักษณะงานท่ีต้องการให้นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาก่อนล่วงหน้า 1 ภาคการศกึ ษา 2. ฝา่ ยบุคคลหรอื ฝา่ ยทรัพยากรมนุษยจ์ ดั การปฐมนิเทศ เพ่อื ใหน้ ักศึกษาทราบถึงระเบียบวินัย วัฒนธรรม การรักษาความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนให้ความรู้เก่ียวกับสถาน ประกอบการ โครงสร้างการบริหารงานและอ่ืนๆที่เก่ียวข้องของสถานประกอบการที่ นกั ศกึ ษาจะต้องปฏบิ ัติ 3. แต่งตงั้ พนกั งานท่ีปรึกษา3.1 หน้าทข่ี องพนกั งานท่ปี รึกษา (Job Supervisor) พนักงานท่ีปรึกษา หมายถึง บุคลากรหรือเจ้าหน้าท่ีที่สถานประกอบการมอบหมาย ให้ทําหน้าท่ีดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา อาจจะเป็นผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานในการปฏิบัติงานตลอดระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา จึงกล่าวได้ว่าอาจารย์ของนักศึกษา ณ สถานประกอบการเป็นผู้ที่ให้คําแนะนําและเป็นท่ีปรึกษาทั้งทางด้านปฏิบัติงานและการปรับตัวเข้ากับการปฏิบัติงานของนักศกึ ษา ดังน้ันพนักงานที่ปรึกษาจงึ เป็นผ้ทู ่มี คี วามสําคญั ทสี่ ุดทจ่ี ะทําใหก้ ารปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษาสําเรจ็ ไปดว้ ยดโี ดยมีหนา้ ที่หลกั ดังน้ี 1. กาํ หนดลกั ษณะงาน (Job Description) และแผนการปฏบิ ัตงิ าน (Co-op Work Plan) กําหนดตําแหน่งงานและขอบข่ายหน้าที่งานของนักศึกษาท่ีจะต้องปฏิบัติและแจ้งให้นักศึกษารับทราบ งานท่ีได้รับมอบหมายจะมีลักษณะงานตรงตามสาขาวิชาของนักศึกษา โดยมีการกาํ หนดแผนงานการปฏิบัติรายสัปดาหใ์ หแ้ กน่ ักศึกษาสหกจิ ศึกษา 2. การใหค้ าํ ปรกึ ษา ให้คําปรึกษาชี้แนะแนวทางการทํางานและการแก้ปญั หาจากประสบการณ์ทมี่ ีให้กับนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา รวมทงั้ ให้ความร่วมมอื ด้านการประสานงานกับอาจารย์นเิ ทศนักศกึ ษาสหกจิ ศึกษา3.2 แนะนาํ การจัดทํารายงานสหกจิ ศึกษา กําหนดให้นกั ศกึ ษาจัดทาํ รายงานเสนอต่อสถานประกอบการ และอาจารย์ประจํารายวิชาสหกิจศึกษา โดยรายงานฉบับน้ีอาจประกอบด้วยเนื้อหาท่ีสถานประกอบการจะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ตอ่ ไป รายงานอาจมีลักษณะดงั นี้ 1. โครงการหรืองานวิจัย หากงานท่ีนักศึกษาได้รับมอบหมายเป็นงานโครงการ (Project) หรืองานวจิ ยั นักศกึ ษาจะต้องทํารายงานในหวั ขอ้ ของโครงการและงานวิจยั ดังกลา่ ว 2. ในกรณีที่งานได้รับมอบหมายเป็นงานประจํา (Routine) เช่น งานในสายการผลิต งานบํารงุ รักษา งานตรวจสอบคณุ ภาพ รายงานของนกั ศกึ ษาอาจจัดทํา ดงั นี้

คมู่ ือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หนา้ 7 - รายงานและข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานประจาํ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายท้ังหมดหรือบางสว่ น - รายงานหัวข้อพิเศษ (Special Assignment หรือ Project) เป็นหัวข้อท่ีสถาน ประกอบการสนใจในลักษณะโครงการหรือปญั หาพเิ ศษใหน้ ักศกึ ษาค้นคว้าสรุปและ วิจารณ์ รวบรวมไว้เป็นเล่ม เพ่ือใชป้ ระโยชน์ ซึ่งหัวขอ้ ของรายงานอาจจะไม่สัมพันธ์ กันกบั งานประจาํ ของนกั ศกึ ษาก็ได้ เมื่อพนักงานที่ปรึกษากําหนดหัวข้อรายงานแล้ว นักศึกษาจะต้องจัดแบบโครงร่างรายงานการปฏิบัติงาน (Report Outline สหกิจ 11) โดยหารือกับพนักงานที่ปรึกษา แล้วจัดส่งให้งานสหกิจศึกษาเพื่อส่งมอบให้อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจําสาขาวิชาให้ความเห็นชอบก่อน จึงจัดส่งคืนให้แก่นักศึกษาตอ่ ไป ลักษณะรายงานเป็นรายงานที่มีรูปแบบรายงานตามรายงานวิชาการกําหนดความยาวไม่ควรเกิน 25 หน้า ส่วนภาคผนวกสามารถเพิ่มข้อมูลได้ตามความจําเป็น นักศึกษาต้องจัดพิมพ์รายงานดังกล่าวให้เรียบร้อยและส่งให้พนักงานท่ีปรึกษา เพื่อตรวจสอบและประเมินผลอย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนสิ้นสุดการปฏิบตั งิ าน3.3 การจัดเตรียมขอ้ มลู สาํ หรบั การนิเทศนักศกึ ษา ระหว่างการปฏบิ ัติงานของนักศกึ ษา เจา้ หนา้ ที่สหกิจศกึ ษา (Co-op Coordinator) ประสานกบั อาจารย์ท่ปี รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา (Co-op Advisor) เพอ่ื ขอนดั หมายนเิ ทศนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา ณ สถานประกอบการ โดยมีหัวขอ้ การหารือกับเจา้ หน้าท่ีฝา่ ยบุคคลหรอื พนกั งานที่ปรกึ ษา ดงั น้ี - ศกึ ษาข้อมลู เพม่ิ เติมจากการดําเนนิ การสหกจิ ศกึ ษาเพือ่ พฒั นาหลกั สตู ร - ลกั ษณะงานท่ีมอบหมายให้นักศึกษาปฏบิ ตั ิ - แผนการปฏบิ ตั ติ ลอดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน - หวั ขอ้ รายงานสหกจิ ศึกษาและความกา้ วหนา้ - การพัฒนาตนเองของนักศึกษา - ผลการปฏบิ ัตงิ านของนกั ศกึ ษาและความประพฤติ - ปญั หาต่างๆ ทีส่ ถานประกอบการพบเกีย่ วกับการมาปฏิบัตงิ านของนักศึกษา3.4 การประเมินผลการปฏิบัตงิ านนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา 3.4.1 พนักงานทป่ี รึกษาต้องตรวจแก้ไขรายงานให้นกั ศกึ ษาและประเมินผลเนอื้ หาและจัดทํา รายงาน อย่างช้าท่ีสดุ ในสัปดาห์สุดท้ายของการปฏบิ ัตงิ านของนักศึกษา 3.4.2 แจง้ การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศกึ ษาของนักศกึ ษา และจดั ส่งใหก้ บั งาน สหกจิ ศึกษาทราบโดยตรงต่อไป3.5 การเตรียมความพรอ้ มของสถานประกอบการ 3.5.1 กําหนดกรอบงาน และจัดโปรแกรมการทํางานของนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา 3.5.2 กาํ หนดหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบและพนกั งานท่ีปรึกษา 3.5.3 กําหนดคณุ สมบตั ิของนักศกึ ษาทตี่ อ้ งการรบั เขา้ ปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา 3.5.4 ในกรณที ี่บ้านพักอาศัยของนักศกึ ษาอยู่ไกลจากสถานประกอบการ ควรแนะนําหรือ จดั หาท่ีพักให้กบั นกั ศกึ ษา 3.5.5 ให้ความอนุเคราะห์คา่ ตอบแทนในอัตราท่ีสมควรและเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ

ค่มู อื สหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 8 3.5.6 ดแู ลนักศึกษา ใหค้ าํ แนะนาํ และเปิดโอกาสใหน้ กั ศึกษาได้เรยี นรู้งานให้เตม็ ศกั ยภาพท่ี สถานประกอบการจะพงึ ให้ได้3.6 ประโยชนท์ สี่ ถานประกอบการจะไดร้ ับ 3.6.1 เกดิ ความรว่ มมือทางวิชาการและสร้างความสมั พันธท์ ีด่ ีกบั สถานศกึ ษา 3.6.2 สร้างภาพพจน์ที่ดขี ององค์กร ในดา้ นการส่งเสริมสนับสนุนการศกึ ษาและชว่ ยพฒั นา บณั ฑิตของชาติ 3.6.3 ได้รบั นักศกึ ษาทีม่ คี วามกระตือรือรน้ และมีความรคู้ วามสามารถตรงตามความต้องการ ของสถานประกอบการ 3.6.4 เพ่ิมโอกาสในการคัดเลอื กบัณฑติ เขา้ เป็นพนักงานประจาํ ในอนาคตตอ่ ไป3.7 สทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษี 3.7.1 การดาํ เนนิ ขน้ั ตอนดา้ นเอกสารเพอ่ื ขอรบั สทิ ธปิ ระโยชน์ทางภาษี สถานประกอบการทรี่ บั นักศึกษาสหกจิ ศกึ ษาจะได้รับสิทธิประโยชนท์ างภาษโี ดยตรง(หกั ค่าใชจ้ า่ ยได้ 2 เทา่ ) ภายใต้กฎหมาย 2 ฉบับ ได้แก่ 1. มาตรา 33 (1) แหง่ พระราชบญั ญัติส่งเสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545 2. มาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การยกเวน้ รษั ฎากร (ฉบบั ท่ี 437) พ.ศ. 2548 (ซง่ึ ออกเพื่อรองรบั มาตรา 33 (1) แหง่ พระราชบัญญัติสง่ เสรมิการพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545 นอกจากนน้ั สถานประกอบการจะไดร้ บั สทิ ธิประโยชนท์ างภาษี (หักคา่ ใชจ้ ่ายได้ 2เท่า) ด้วย การบรจิ าคเงินหรือทรัพย์สนิ ใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาของรัฐภายใตก้ ฎหมาย 2 ฉบบั ได้แก่ 1. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วา่ ดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร(ฉบับท่ี 420) พ.ศ. 2547 2. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร(ฉบับท่ี 476) พ.ศ. 2551 3.7.2 สิทธิประโยชน์ทางภาษีตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545ประกอบดว้ ยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับท่ี 437) พ.ศ. 2548 สิทธิประโยชน์ ในกรณนี ้เี ป็นสทิ ธิประโยชน์ที่สถานประกอบการ ซง่ึ ดําเนินการสหกจิศกึ ษาจะไดร้ บั ยกเว้นภาษีเงินไดเ้ ป็นกรณีพิเศษ สาํ หรบั ค่าใช้จา่ ยทีใ่ ชใ้ นการฝกึ สหกจิ ศึกษาเป็นจาํ นวน 2เท่า ของคา่ ใช้จ่ายทจ่ี ่ายจรงิ โดยสถานประกอบการจะตอ้ งดาํ เนินการให้เป็นไปตาม มาตรา 18 แหง่พระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545 โดยยน่ื เอกสารตามขน้ั ตอนดังตอ่ ไปน้ี

คู่มอื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 9 ขนั้ ตอนการย่นื เอกสารตอ่ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ยืน่ เอกสารคาํ ขอต่อนายทะเบยี น (อธิบดกี รมพัฒนาฝีมอื แรงงาน) เป็นคําขอรับ นิสิต/นกั ศกึ ษาตามแบบ ฝง 1 และมีเอกสารแนบ 1. สาํ เนาหนงั สอื แสดงการจดทะเบียน และวัตถุประสงค์ไมเ่ กนิ 6 เดือน 2. หลกั สตู รและรายละเอยี ดการฝกึ จาํ นวน 1 ฉบับ 3. สัญญาการฝึก (แบบ ฝง 2) 4. ทะเบยี นประวัตผิ ู้รับการฝึกของนิสติ /นักศึกษา นายทะเบยี นรับทราบดําเนนิ การฝึกสหกิจศกึ ษา รายงานผลของการสาํ เร็จการฝึกสหกิจศึกษา ใหน้ ายทะเบียนรับทราบ ตามแบบ ฝง 3 นําหนังสือรับทราบและรายการ ค่าใช้จ่ายที่เกดิ ข้ึนจรงิ ยืน่ ขอหกั ค่าใช้จา่ ย กบั กรมสรรพากร 3.7.2.1 รายการคา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ ด้รับสทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษี รายการค่าใชจ้ า่ ยทส่ี ถานประกอบการได้จา่ ยไปในการฝกึ สหกิจศกึ ษา และมสี ทิ ธินําไปหักคา่ ใชจ้ า่ ย ได้ 2 เทา่ ไดแ้ ก่ ค่าใช้จา่ ย ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) คา่ เบ้ยี เลีย้ งที่ จา่ ยให้แก่นกั ศกึ ษาตามท่ีกําหนด ไว้ในสญั ญา แตไ่ มต่ า่ํ กวา่ครึ่งหน่งึ ของอัตราค่าจา้ งขนั้ ต่าํ สงู สดุ 2) คา่ เบยี้ ประกนั อบุ ัติเหตุ 3) ค่าสวสั ดกิ าร เช่น เงนิ รางวลั ค่าอาหาร คา่ ท่พี กั ค่าเดนิ ทาง ระหวา่ งจงั หวัด และ คา่ ชุดฟอร์มทจี่ ัดให้แก่นกั ศกึ ษาที่เขา้ รบั การฝกึ สหกจิ ศกึ ษา 4) ค่าวัสดอุ ปุ กรณเ์ ฉพาะทใี่ ชใ้ นการฝึกสหกจิ ศึกษา และไมป่ ะปนกบั ทใี่ ช้ในการประกอบ กจิ การปกติของสถานประกอบการ โดยจะต้องระบุรายการ จาํ นวน และราคาของวัสดุอุปกรณน์ ั้นใหช้ ดั เจน 5) คา่ วิทยากรภายนอกท่เี ชิญมาเฉพาะเพอ่ื ฝึกอบรมนกั ศึกษาสหกิจศึกษา

คมู่ อื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 10 3.7.2.2 การจัดเตรยี มเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาของกรมสรรพากร เมอื่ ดาํ เนนิ การย่นื เอกสารตอ่ กรมพฒั นาฝีมอื แรงงานเรยี บรอ้ ยแล้ว สถาน-ประกอบการมหี น้าทย่ี ืน่ แบบแสดงรายการภาษี (ภ.ง.ด. 50) โดยบนั ทึกคา่ ใชจ้ ่าย ดงั น้ี - บันทึกค่าใช้จ่ายในอัตรา 1 เท่าในรายการท่ี 8 (รายจ่ายในการขายและบรหิ าร) ข้อ 23 “รายจา่ ยอื่นทนี่ อกเหนือจาก 1 ถงึ 22” และ - บนั ทกึ ค่าใช้จ่ายในอัตรา 1 เท่าในรายการที่ 10 (รายไดท้ ี่ไดร้ บั ยกเว้นภาษีเงนิ ได้หรือรายจา่ ยทีม่ สี ทิ ธิหกั ไดเ้ พิ่มขนึ้ ) ขอ้ 2.3 “รายจา่ ยในการสง่ ลูกจ้างเข้ารับการศึกษาและฝกึ อบรม” และเก็บรกั ษาเอกสารค่าใชจ้ า่ ยเพอ่ื ขอรบั สิทธปิ ระโยชน์ทางภาษีตามพระราชกฤษฎกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยการยกเว้นรษั ฎากร (ฉบบั ท่ี 437) พ.ศ. 2548 ดังตอ่ ไปน้ีหนังสือรับทราบจากอธกิ ารบดกี รมพัฒนาฝมี อื แรงงานในการฝกึ นกั ศึกษาสหกิจศกึ ษา สําเนาแบบเสนองานสหกจิ ศึกษา (แบบ สหกจิ 2)ใบสาํ คัญรับเงนิ คา่ เบี้ยเลี้ยง ใบสําคัญรบั เงนิ คา่ เบีย้ เลย้ี ง นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา ใบสําคญั รับเงนิ คา่ ใบสําคัญรบั เงนิ คา่ วสั ดุ ใบสาํ คญั รบั เงนิ สวัสดกิ ารทจ่ี ่ายแก่ อุปกรณท์ ใี่ ชใ้ นการ ค่าวิทยากรภายนอกนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา ฝึกสหกจิ ศกึ ษา เกบ็ ไวท้ ี่สถานประกอบการเพ่อื รอ การตรวจสอบจากกรมสรรพากร 3.7.2.3 สิทธปิ ระโยชนจ์ ากการนับจาํ นวนผรู้ ับการฝกึ พระราชบัญญตั ิสง่ เสรมิ การพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2545 ไดก้ ําหนดให้สถานประกอบการท่ีมี ลกู จ้างตัง้ แต่ 100 คนขึ้นไปจะต้องจัดฝึกอบรมฝีมอื แรงงานในอัตราร้อยละ 50ของจาํ นวน ลูกจา้ งเฉลยี่ ในรอบปี (นบั ตามจาํ นวนผู้รบั การฝกึ ถ้าคนหนง่ึ เข้าฝึกอบรม หลายครัง้ หลายหลักสตู รให้นับเป็น 1 คน) หากไม่จดั ฝกึ อบรมหรือจัดไมถ่ งึ รอ้ ยละ 50 แลว้ จํานวนที่ขาดไปนัน้ จะตอ้ งถูกคาํ นวณจ่ายเป็นเงินสมทบเขา้ กองทนุ พฒั นาฝีมือแรงงาน

คู่มือสหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 11 สถานประกอบการที่รับนิสติ นักศึกษาเขา้ ปฏบิ ตั สิ หกจิ ศกึ ษาในสถาน-ประกอบการสามารถนบั จาํ นวนนิสติ นักศึกษาเป็นผู้รับการฝึกประเภทฝกึ เตรียมเขา้ ทํางานโดยแสดงรายละเอยี ดใน “แบบแสดง การจา่ ย เงินสมทบกองทนุ พัฒนาฝีมือแรงงานประจําปี .....” (แบบ สท.2)ซ่งึ สถานประกอบการจะต้องยื่น แบบฟอรม์ ดงั กล่าวตอ่ กรมการพัฒนาฝีมอื แรงงานปลี ะคร้งั โดยย่ืนภายในต้นปถี ัดไปสําหรับรอบระยะเวลาของปกี อ่ นหนา้ 3.7.2.4 กรณรี ับนักศกึ ษาฝกึ งาน (Apprentice) ฝึกหดั (Internship) ทวภิ าคี(Dual Training) สําหรับสถานประกอบการทรี่ บั นกั เรยี นนิสิต นักศกึ ษาเข้าปฏบิ ัติงานในลักษณะที่เปน็ การจดั การศึกษาเชงิ บูรณาการกบั การทาํ งาน (Work Integrated Learning : WIL) ไม่ว่าจะเป็นรปู แบบใด ไดแ้ ก่ ระบบฝึกงาน (Apprentice) ระบบทวภิ าคี (Dual Training) ระบบสหกิจศึกษา(Cooperative Education) ระบบฝกึ หดั (Internship) สามารถขอรับสทิ ธิประโยชนท์ างภาษีและสิทธิประโยชน์ จากการนบั จาํ นวนผรู้ ับการฝกึ ตามพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545ไดท้ ้ังหมด โดยตอ้ งมรี ะยะเวลาการฝกึ ในแตล่ ะหลักสูตรตอ่ เนอื่ งกันไมน่ อ้ ยกว่า 30 ชั่วโมง 3.7.3 สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการบริจาคเงินหรือทรัพย์สิน เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการทางการศึกษาตามพระราชกฤษฎีกาฯฉบับที่ 420 พ.ศ. 2547 และพระราชกฤษฎีกาฯฉบับท่ี 476 พ.ศ. 2551 สถานประกอบการท่ีบริจาคเงนิ และทรพั ยส์ นิ เพ่ือการสง่ เสริมใหเ้ กิดการบรู ณาการทางการศกึ ษาใหแ้ กส่ ถานศึกษาของทางราชการสถานศกึ ษาขององค์การของรัฐบาล (รายชอื่ สถาน ศึกษาดูไดจ้ ากเว็บไซต์กรมสรรพากร www.rd.go.th) จะได้รับสทิ ธิประโยชน์ทางภาษดี ว้ ยการหกั ค่าใช้จ่ายได้ 2เทา่ ของคา่ ใช้จา่ ยทจ่ี ่ายไปแต่ตอ้ งไมเ่ กินร้อยละ 10 ของกําไรสุทธิก่อนหักรายจา่ ยเพอ่ื การกุศลสาธารณะหรือเพ่ือการสาธารณประโยชนแ์ ละเพอื่ การศกึ ษาหรือการกีฬาโดยมรี ายละเอียด ดังนี้ 3.7.3.1 วตั ถุประสงค์ของการบรจิ าค สถานประกอบการจะต้องบริจาคเงนิ หรอื ทรัพยส์ นิ โดยไมม่ ลี กั ษณะเปน็สญั ญาตา่ งตอบแทนและบริจาคเพ่ือวตั ถุประสงค์ ดังนี้ 1) บริจาคเปน็ ค่าใช้จ่ายสาํ หรับการจัดทําหรอื จัดสร้างอาคาร อาคารพร้อมที่ดนิ หรือทดี่ ิน 2) บริจาคเป็นค่าใช้จ่ายสําหรับการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพ่ือการศึกษาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ือและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์อ่ืนๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การศึกษา 3) บริจาคเป็นค่าใช้จ่ายสําหรับการจัดหา ครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเป็นทุนการศึกษาการประดิษฐ์การพัฒนาการค้นคว้า หรือการวิจัยสําหรับนักเรียนนิสิต หรือนักศึกษาของสถานศึกษา การบริจาคตาม ข้อ 3 น้ี จะต้องเป็นการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือประโยชน์ท่ีจะตกแก่นักศึกษาโดยตรงเท่าน้ัน เช่น ทุนการศึกษาท่ีให้แก่นักศกึ ษาทนุ การวจิ ยั ท่ีดาํ เนนิ งาน โดยนักศึกษาทุนการประดษิ ฐซ์ ึ่งเป็นผลงานของนักศึกษา เป็นต้น

ค่มู ือสหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หนา้ 12 3.7.3.2 การจดั เตรยี มเอกสาร 1) สถานประกอบการจะต้องยื่นความจํานงบริจาคเงนิ หรอื ทรพั ยส์ ินใหแ้ ก่สถาบนั อุดมศกึ ษา โดยระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ของการบริจาคจาํ นวนเงนิ และทรพั ยส์ ินทบ่ี ริจาคอย่างชัดเจน 2) สถาบนั อุดมศกึ ษาจะต้องออกใบสําคญั แสดงการรับเงินหรือทรพั ย์สิน 3) สถานประกอบการเกบ็ รกั ษาสาํ เนาเอกสาร ขอ้ 1 และตน้ ฉบับเอกสารขอ้ 2 เพอ่ื รอการตรวจสอบจากกรมสรรพากร 4) สถานประกอบการยน่ื แบบ ภ.ง.ด. 50 ตอ่ กรมสรรพากรภายใน 150วัน หลงั จากสนิ้ รอบระยะเวลาบญั ชีของสถานประกอบการ

4. กระบวนการและข้นั ตอนสหกจิ ศึกษา4.1 การรบั สมัครนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษาและคัดเลือกนักศกึ ษา เพื่อให้เตรียมการเก่ียวกับการไปปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและนักศึกษามีคุณภาพพร้อมท่ีจะไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสหกิจศึกษาและการฝึกงานวิชาชีพประจําคณะฯ ได้กําหนดระเบียบท่ีเก่ียวข้องกับการสมัครเข้าร่วมปฏบิ ตั ิสหกจิ ศึกษาดงั น้ี 1. การพิจารณานักศึกษาเข้าโครงการฯกําหนดให้นักศึกษาช้ันปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ยื่นแบบคําร้องที่งานสหกิจศึกษาฯ ประจําคณะ สมัครเข้าเป็นนักศึกษาหลักสูตรสหกิจศึกษา (Co-op) ตามระยะเวลาที่โครงการฯ โดยใช้แบบแจ้งรายละเอียดการเข้าร่วมปฏิบัติสหกิจศึกษา (เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 1) 2. การแจ้งความจํานงไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษาจะต้องส่งแบบแจ้งความจํานงไปปฏิบัติสหกิจศึกษา ภายในสัปดาห์แรกหลังจากเปิดภาคการศึกษาของทุกภาคการศึกษา นักศึกษาท่ีไม่สง่ แบบสํารวจดงั กลา่ วถอื ว่าประสงค์จะสละสทิ ธ์จิ ากการไปปฏิบัตงิ านแล้ว 3. สาขาวิชาพจิ ารณาความเหมาะสมของนักศกึ ษาแล้วตดิ ประกาศให้นกั ศึกษาทราบ4.2 สถานประกอบการเสนองานแก่นักศึกษา งานสหกิจศึกษาประจําคณะ ส่งเอกสารรายละเอียดสหกิจศึกษา และแบบเสนองานสหกิจศึกษา(เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 2) ล่วงหน้าประมาณ 1 ภาคการศึกษา แก่สถานประกอบการเพ่ือสํารวจความตอ้ งการรบั นักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา4.3 การลงทะเบียนล่วงหน้า (Pre-register) รายวิชาสหกิจศึกษา นักศกึ ษาทจ่ี ะออกปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการ ตอ้ งลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนส้ินภาคการศึกษา(ดูกําหนดการในการปฏิบัติสหกิจศึกษาประจําภาคเรียนน้ันๆ) ณ แผนกทะเบียนพร้อมชําระค่าลงทะเบียนการลงทะเบียนภายหลงั ระยะเวลาถอื วา่ เป็นการลงทะเบียนล่าช้าเชน่ เดยี วกับรายวิชาอืน่ ๆ4.4 การรบั สมัครนกั ศกึ ษาสหกิจศึกษา รับสมัครงานนักศึกษาสหกิจศึกษา (เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 3) เพ่ือส่งสถานประกอบการและเอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 4 (แบบแจ้งรายชอ่ื นักศกึ ษาสหกจิ ศึกษา)4.5 การเลอื กสมคั รงานและการจดั เขา้ คู่ (Matching) งานสหกิจศึกษาและคณะกรรมการสหกิจศึกษาจะดําเนินการจัดเข้าคู่ ระหว่างสถานประกอบการกับนักศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือเลือกคนให้เหมาะสมกับภาระงานและความสามารถของบุคคล(Put the right man on the right job) ทง้ั นอี้ าจดสู ่วนอนื่ ๆ ประกอบด้วยคือตําแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการ ระยะทางการเดินทาง 1. จัดให้นักศึกษาลงฝึกปฏิบัติงานใน 1 สถานประกอบการ และส่งให้สถานประกอบการรบั ทราบ 2. สถานประกอบการนัดสัมภาษณน์ ักศึกษาก่อนเร่ิมฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ยืนยนั รบั นักศึกษาเขา้ ฝกึ งาน

คู่มือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 14 3. หากไม่มีการยนื ยันรับนกั ศกึ ษาเขา้ ฝึกงาน จะพจิ ารณาเลอื กสถานประกอบการใหม่ใหก้ ับนกั ศึกษา โดยเลือกสถานประกอบการและลักษณะงานท่ีตรงกับความสนใจของนักศึกษาเป็นหลักการเลือกสถานประกอบการไม่ควรคํานึงถึงสวัสดิการท่ีสถานประกอบการเสนอให้ เช่น ค่าตอบแทนและที่พัก (งานสหกิจศึกษา ไม่สามารถให้ข้อมูลที่เก่ียวกับค่าตอบแทนและที่พักแก่นักศึกษา) หากนักศึกษาเลือกสมัครงานตามท่ีตนเองสนใจและมีความถนัดนักศึกษาจะต้องเต็มใจไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการใดก็ไดท้ ี่นักศึกษาเลอื ก การคัดเลอื กนกั ศกึ ษาโดยสถานประกอบการ สถานประกอบการจะคัดเลือกนักศึกษาไปปฏิบัติงาน โดยพิจารณาจากใบสมัครอย่างเดียวหรืออาจจะสัมภาษณ์นักศึกษาด้วย ซึ่งเมื่อนักศึกษาส่งใบสมัครแล้วขอให้ตรวจสอบประกาศการสัมภาษณ์งานเปน็ ระยะๆ หลงั จากนนั้ สถานประกอบการจะส่งผลการคัดเลือกนักศกึ ษาใหป้ ฏบิ ตั ิสหกิจศึกษาทราบโดยจะระบุลาํ ดบั การเลือกนกั ศกึ ษา การจัดเขา้ คู่ ระหวา่ งสถานประกอบการและนกั ศกึ ษา งานสหกิจศึกษาประจําคณะจะนําผลการคัดเลือกนักศึกษาของสถานประกอบการ และลําดับความต้องการของนักศึกษามาจัดเข้าคู่กันจึงจะประกาศผลการคัดเลือกให้นักศึกษาทราบในกรณีที่นักศึกษาที่ไม่มีรายชื่อในประกาศผลการคัดเลือกให้รีบติดต่องานสหกิจศึกษาประจําคณะโดยด่วน เพ่ือจัดหาสถานประกอบการให้ใหม่โดยเร็วท่ีสุด และจะประกาศผลการคัดเลือกนักศึกษาทางป้ายประชาสัมพันธ์ตามวันท่ีกําหนดในปฏิทินศึกษา ภายหลังการประกาศผลการคัดเลือกแล้วถือว่านกั ศึกษาทกุ คนจะต้องไปปฏบิ ตั ิงาน จะขอสละสทิ ธิ์การไปปฏบิ ตั ิงานไม่ไดโ้ ดยเด็ดขาด คา่ ตอบแทนและสวสั ดิการจากสถานประกอบการ ตามปกติสถานประกอบการจะจา่ ยเบี้ยเล้ยี งให้แก่นักศึกษาในอัตราที่สถานประกอบการกําหนดอย่างไรก็ตามหน่วยงานราชการบางแห่งอาจได้ค่าตอบแทนที่น้อย ในกรณีที่สถานประกอบการหรือหน่วยงานเสนองานให้แก่นักศึกษาโดยมีค่าตอบแทนน้อยน้ัน งานสหกิจศึกษาจะรับงานนั้นให้แก่นกั ศึกษาไดห้ รือไม่มเี งือ่ นไข ดงั น้ี 1. ยอมรบั งานให้แกน่ กั ศึกษาโดยปรบั ตามสถานการณ์ทางเศรษฐกิจทีต่ กตํา่ 2. เป็นไปตามความต้องการของนักศึกษา โดยมีเหตุผลอันควร เช่น สถานประกอบการต้ังอยู่ในภมู ลิ าํ เนาของนกั ศกึ ษา นกั ศกึ ษาสนใจลักษณะงานที่บริษัทเสนอ 3. สาขาวชิ าเห็นชอบด้วย กรณีที่สถานประกอบการจัดท่ีพักให้นักศึกษาถือว่าเป็นสวัสดิการเพ่ิมเติม หากนักศึกษาไม่สะดวกในเรื่องท่ีพักท่ีจัดให้ สามารถจัดหาท่ีพักเองได้แต่จะนํามาเป็นข้ออ้างในการไม่ไปปฏิบัติงานหรือเปลี่ยนสถานทไ่ี มไ่ ด้ ในกรณีทีส่ ถานประกอบการให้ชว่ ยจดั หาท่ีพกั ทปี่ ลอดภัยและเหมาะสม เช่น พักรวมกับบุคลากรของสถานประกอบการ พักในละแวกท่ีพนักงานพักอยู่และมีรถยนต์ของสถานประกอบการรบั ส่งโดยสะดวก เปน็ ตน้4.6 ประกาศแจ้งให้นักศกึ ษาทราบผลการคดั เลอื กจากสถานประกอบการ เม่อื งานสหกิจศกึ ษาประกาศแจ้งผลการคัดเลือกสถานประกอบการ ให้นักศึกษารายงานตัวหรือรับการสัมภาษณ์จากสถานประกอบการ(หากสถานประกอบการต้องการ) พร้อมกับทําหนังสือสัญญาการเข้ารับการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษารายวิชาสหกิจศึกษา โดยนักศึกษาจะต้องประสานงานกับสถานประกอบการผ่านเจา้ หนา้ ทีง่ านสหกิจศึกษาประจําคณะ

คู่มอื สหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 15 หากมเี หตขุ ัดขอ้ งใหต้ ิดต่อทางโทรศพั ทแ์ จง้ กับเจ้าหน้าท่งี านสหกิจศึกษาหรือสถานประกอบการโดยตรง และหลกี เลี่ยงเดนิ ทางไปยงั สถานประกอบการในวันหยุดเพราะอาจไมส่ ะดวกในการตดิ ตอ่ การเตรียมความพร้อมก่อนออกสหกจิ ศึกษา 1 หนว่ ยกติ หรอื ไม่น้อยกวา่ 30 ช่วั โมง4.7 การจัดอบรมสัมมนาและปฐมนิเทศ นักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงานในหัวข้อ ความปลอดภัยใน โรงงาน 5 ส ระบบคณุ ภาพ ISO 9000:2000 บคุ ลิกภาพ และมนุษยสมั พนั ธ์ การอบรมสัมมนานกั ศึกษาสหกจิ ศึกษากอ่ นออกปฏบิ ตั ิงาน งานสหกิจศึกษาจะจัดให้มีการฝึกอบรมนักศึกษาก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาอย่างต่อเน่ืองโดยกําหนดระยะเวลาล่วงหน้าก่อนภาคการศึกษาสหกิจ ทั้งนี้เพ่ือเป็นการเตรียมให้นักศึกษามีความพร้อมมากทส่ี ดุ ก่อนทีจ่ ะออกไปปฏิบตั งิ าน ณ สถานประกอบการ โดยมีหัวข้อท่จี ะอบรมเรือ่ งตา่ งๆดังน้ี 1. การเลือกงานและสถานประกอบการ 2. การเขยี นใบสมคั ร 3. การเขียนประวัตสิ ว่ นตวั 4. การเตรยี มตัวสมั ภาษณ์ 5. การบรรยายพเิ ศษของสถานประกอบการ 6. การพัฒนาบุคลิกภาพ 7. การนําเสนอโครงการ/ผลงาน 8. ความปลอดภยั ในโรงงาน 9. ดาํ เนนิ การตามระบบ 5 ส 10. ดําเนนิ การตามระบบควบคุมคณุ ภาพ ISO 9000 นักศึกษาจะได้ฟังโอวาทจากคณบดี ได้พบอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาประจําสาขาวิชา และกิจกรรมอบรมเตรยี มความพร้อมสูค่ วามสาํ เรจ็ ซ่ึงจะมกี ารแนะนําการปฏิบตั ติ นในสถานประกอบการ ช้แี จงสิ่งต่างๆ แก่นักศึกษา ซ่ึงในวันดังกล่าวถือว่านักศึกษามีความพร้อมในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะทางด้านวิชาการ ระเบียบวินัยและบุคลิกภาพ หากมีนักศึกษาคนใดไม่เหมาะสมที่จะไปปฏิบัติงาน อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาจะแจ้งผลให้นักศึกษาทราบเพ่ือระงับการปฏิบัติงานทันที เช่น กรณีนักศึกษาไว้ผมยาว หรอื ผิดวินัยของนกั ศกึ ษาระหวา่ งภาคการศกึ ษา4.8 กจิ กรรมระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้การประสานงานระหว่างนักศึกษาและเจ้าหน้าท่ีสหกิจศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยนักศึกษาจะตอ้ งจัดสง่ เอกสารท่ีจําเปน็ ใหก้ บั รายวิชาสหกจิ ศกึ ษาระยะเวลาทกี่ ําหนด ดงั นี้ 1. ระหว่างสัปดาห์แรกของการปฏิบัติงาน นักศึกษาจะต้องส่งแบบฟอร์ม แบบแจ้งรายละเอียดท่ีพักระหว่างการปฏิบัติงาน (เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 6) และแบบแจ้งรายละเอียดงานแผนปฏิบัติงานสหกิจ (เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 7) แจ้งสถานที่ปฏิบัติงาน (ชื่อโรงงาน-ที่อยู่) ช่ือพนักงานที่ปรึกษา (Job Supervisor) หน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย หมายเลขโทรศัพท์และโทรสารที่จะติดตอ่ กบั นกั ศึกษาและพนกั งานทปี่ รึกษา 2. ระหว่างสัปดาห์ที่ 3 ของการปฏิบัติงาน นักศึกษาจะต้องจัดส่งแบบแจ้งโครงร่างรายงานการปฏิบัติงาน (เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 11) เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาได้ตรวจสอบและให้คาํ แนะนาํ ท้ังน้ีนกั ศึกษาอาจจะเริม่ เขียนรายงานได้ทันที โดยอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาอาจจะให้

คู่มอื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หนา้ 16คําแนะนําเพิ่มเติมระหว่างการไปนิเทศงานก็ได้ ในกรณีที่พนักงานพ่ีเลี้ยงไม่มีเวลาเขียนข้อมูลในแบบฟอร์มต่างๆให้นักศึกษาอาจจะแก้ไขปัญหา โดยการสอบถามข้อมูลด้วยวาจาแล้วเป็นผู้เขียนข้อมูลท่รี ับดว้ ยตนเอง จากน้ันนาํ ไปให้พนักงานพ่ีเลีย้ งตรวจและลงนามรับทราบ หากมีข้อขัดข้องใดท่ีทําให้ไม่สามารถจดั สง่ เอกสารได้ตามกําหนด จะตอ้ งแจง้ ให้เจ้าหน้าทส่ี หกจิ ศึกษาทางโทรสารหรือจดหมายทันที 3. นักศึกษาต้องส่งรายงานท่ีเสร็จสมบูรณ์ให้แก่พนักงานท่ีปรึกษาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ก่อนส้ินการปฏิบัติงานและจะต้องแก้ไขตามพนักงานท่ีปรึกษาแนะนําให้เสร็จเรียบร้อย โดยระหว่างการปฏิบัติงานนักศึกษาจะต้องปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของการบริหารงานบุคคลของสถานประกอบการอย่างเครง่ ครัดทกุ ประการ เช่น กําหนดเวลาการเข้า-ออกงาน วนั หยดุ และวันลา ฯลฯ4.9 อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศกึ ษา - อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจาํ สาขาวิชา ออกนิเทศนักศึกษา อย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อการปฏิบัติการสหกิจศึกษาของนักศึกษา 1 คน - ฝ่ายนิเทศ ประสานงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาและสถานประกอบการเพื่อกําหนดวัน เวลาท่ีจะไปนิเทศนักศึกษาโดยใช้แบบแจ้งยืนยันการนิเทศ (เอกสารสหกิจศกึ ษาหมายเลข 12) - ฝ่ายนิเทศนักศึกษา ตรวจสอบคุณภาพงานพร้อมทั้งบันทึกรายงาน - อาจารย์นิเทศ ตรวจสอบคุณภาพงานพร้อมทั้งบันทึกรายงานที่สถานประกอบการมอบหมาย โดยใช้แบบฟอร์ม แบบบันทึกการนิเทศ (เอกสารสหกจิ ศกึ ษาหมายเลข 13) - ส่งแบบประเมินผลการนิเทศคืนสาํ นักงานสหกิจศึกษา อาจารยท์ ีป่ รึกษาการนิเทศงานสหกจิ ศกึ ษา รายวิชาสหกิจศึกษาได้จัดให้มีการนิเทศงานโดยคณาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาประจําสาขาวิชาท่ีมีนักศึกษาไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ โดยมีวัตถุประสงค์ของการนิเทศงานสหกิจศึกษา ดังนี้ - เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกําลังใจแก่นักศึกษาที่กําลังปฏิบัติงานโดยลําพัง ณ สถานประกอบการซงึ่ นกั ศกึ ษาจะต้องอยู่หา่ งไกลครอบครัว เพือ่ นและคณาจารย์ - เพือ่ ดูแลและติดตามผลการปฏิบัตงิ านของนักศึกษา ให้เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของสหกจิ ศกึ ษา - เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนในระหว่างการปฏิบัติงาน ทั้งปญั หาดา้ นวชิ าการและปัญหาการปรับตวั ของนักศึกษาในสภาวะการทาํ งานจริง - เพ่ือขอรับทราบและแลกเปล่ียนข้อคิดเห็น เกี่ยวกับแนวความคิดการมาปฏิบัติงานของนักศกึ ษาในระบบสหกจิ ศึกษา ตลอดจนการแลกเปลยี่ นความกา้ วหนา้ ทางวิชาการซ่งึ กนั และกนั - เพ่อื ประเมนิ ผลการดําเนินงานและรวบรวมข้อมลู ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลยั ข้ันตอนการนิเทศงานสหกจิ ศกึ ษา ประกอบด้วย - เจ้าหน้าท่ีสหกิจศึกษาประจําคณะ ประสานงานกับอาจารย์นิเทศเพ่ือกําหนดแผนการนิเทศงานท้ังภาคการศึกษา โดยนักศึกษาทุกคนท่ีไปปฏิบัติงานจะต้องได้รับการนิเทศงานอย่างน้อย 4 ครั้งในระหว่างท่ีปฏบิ ัติงาน - เจ้าหน้าที่สหกิจศึกษาประจําคณะ ประสานงานกับสถานประกอบการเพ่ือนัดหมายวันและเวลาที่อาจารยน์ ิเทศจะเดินทางไปนเิ ทศนักศกึ ษา ณ สถานประกอบการ - เจ้าหน้าที่สหกิจศึกษาประจําคณะ รวบรวมแฟ้มประวัตินักศึกษาพร้อมรายละเอียดสถานประกอบการส่งมอบใหอ้ าจารย์นิเทศกอ่ นวนั เดินทาง

ค่มู อื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 17 - อาจารยน์ ิเทศเดินทางไปนิเทศงานตามกําหนดนัดหมายโดยมีหัวข้อนิเทศงาน คือ ตรวจสอบคุณภาพงานและหัวข้อรายงานที่สถานประกอบการมอบหมาย ติดตามผลการปฏิบัติงานความก้าวหน้าในการจัดทํารายการของนักศึกษาให้คําปรึกษาและช่วยแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึนท้ังทางด้านวิชาการและการพฒั นาตนเองของนกั ศึกษา - ภายหลังเดินทางกลับอาจารย์นิเทศประเมินผลการนิเทศงานท้ังสถานประกอบการและนกั ศึกษาตามแบบประเมินผลและส่งคืนงานสหกิจศกึ ษา4.10 กิจกรรมภายหลงั การปฏบิ ตั ิงาน - อาจารย์นิเทศประจําสาขาวิชา สัมภาษณ์นักศึกษาถึงปัญหาต่างๆ เพ่ือนํามาพิจารณารายงานประกอบ - จดั ใหน้ กั ศกึ ษาแลกเปลยี่ นประสบการณ์ของนกั ศกึ ษาร่วมกนั จากการปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษา - นกั ศึกษาสง่ แบบแจ้งยืนยนั สง่ รายงานการปฏิบตั ิ (เอกสาร สหกิจ14 ) - การจดั ปจั ฉิมนิเทศ4.11 การประเมินผล คะแนนเป็น S (Satisfactory – ผา่ น) และ U (Unsatisfactory – ไม่ผ่าน) โดยยดึ หลกั 4 ขอ้ 1. เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนเิ ทศ อบรม สมั มนา สมั ภาษณห์ ลังจากกลับมาครบ 2. ไดร้ บั ผลประเมนิ จากพนกั งานที่ปรึกษา (เอกสารหมายเลข สหกจิ 15) 3. ได้รบั ผลประเมินรายงาน 4. เขา้ ร่วมกิจกรรมสหกจิ ศึกษา โดยปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษาครบถ้วน เช่น สัมภาษณ์ – สัมมนา4.12 การประเมินผลรายงานวชิ าสหกจิ ศกึ ษา การให้คะแนนตัวอักษรจะเป็นระบบ S (Satisfactory – ผ่าน) และ U (Unsatisfactory –ไม่ผ่าน) ท้ังนี้มีกระบวนการท่ีใช้ในการประเมินผลดังน้ี เกณฑ์การประเมินผ่านและไม่ผ่าน ให้ระบุเป็นร้อยละ 60 1. นกั ศึกษาเขา้ ร่วมการปฐมนิเทศ อบรม สมั มนา และกิจกรรมสหกจิ ศกึ ษาท่กี าํ หนดไวโ้ ดยครบถ้วน 2. ได้รับผลการประเมินความสามารถในการปฏิบัติงานและรายวิชาในระดับ S จากพนักงานท่ีปรกึ ษาและ อาจารยน์ เิ ทศ 3. ได้รบั ผลการประเมินรายงานวชิ าการในระดบั S จากอาจารยน์ เิ ทศ 4. เข้าร่วมกิจกรรมหลังการปฏิบัติงานครบถ้วน ได้แก่ การประชุม การสัมภาษณ์ สัมมนาและส่งแบบสอบถาม นักศกึ ษาท่รี ว่ มกจิ กรรมท้ัง 4 กระบวนการและผ่านการประเมินจากภาควิชา จะได้รับคะแนนตวั อักษร S กรณที ่ีนกั ศึกษาได้รบั คะแนนตัวอักษร U ต้องไปปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษาใหม่ ท้ังนี้อาจจะมีผลทําให้สาํ เรจ็ การศึกษาชา้ กว่ากําหนด ในสัปดาห์สุดท้ายของการปฏิบัติงาน พนักงานท่ีปรึกษาจะประเมินผลนักศึกษาและรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ตามแบบฟอร์มที่งานสหกิจศึกษากําหนด และให้นักศึกษานํากลับมาย่ืนต่องานสหกิจศกึ ษาทนั ที ในวันทเ่ี ดินทางกลับมหาวิทยาลยั

คู่มือสหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 18 เรมิ่เอกสารสหกจิ ศกึ ษาหมายเลข 2 สถานประกอบการ รบั นกั ศกึ ษาสหกิจศึกษา ไมผ่ ่าน เสนองานแก่นักศึกษา และคัดเลอื ก เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 6 พจิ ารณา เอกสารสหกจิ ศกึ ษาหมายเลข 7 เอกสารสหกจิ ศกึ ษาหมายเลข 8 ผา่ น ลงทะเบียนรายวชิ าการปฏิบัติ งานจรงิ ในสถานประกอบการ รับสมัครนกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา เอกสารสหกิจศกึ ษาหมายเลข 1 เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 3 สถานประกอบการพจิ ารณา พิจารณา ไมผ่ า่ น ผ่าน ประกาศแจง้ ให้นักศกึ ษาทราบ เอกสารสหกจิ ศกึ ษาหมายเลข 4 อบรม / สมั มนา / ปฐมนิเทศ เอกสารสหกจิ ศึกษาหมายเลข 9 เอกสารสหกิจศกึ ษาหมายเลข 10 ปฏิบตั งิ านสหกิจศกึ ษา เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 11 อาจารยท์ ่ปี รึกษา เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 12 นิเทศงานสหกิจศกึ ษา เอกสารสหกจิ ศกึ ษาหมายเลข 13 จดั ทํารายงาน เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 14 โครงการปจั ฉมิ นิเทศ เอกสารสหกิจศึกษาหมายเลข 15 เอกสารสหกจิ ศึกษาหมายเลข 16 ประเมนิ ผล เอกสารสหกจิ ศึกษาหมายเลข 17 สรุป จบ

5. ข้อแนะนาํ และแนวปฏบิ ตั สิ าํ หรบั นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา5.1 ข้อแนะนาํ ในการตดิ ตอ่ กับสหกิจศึกษา เพื่อให้การเตรียมการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเพื่อให้นักศึกษามีคุณสมบัติพร้อมท่ีจะไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสหกิจศึกษาและการฝึกงานวิชาชีพประจําคณะ และสาขาวิชาได้กําหนดระเบียบการทีเ่ กี่ยวกับการสมัครเข้าร่วมรายวิชาสหกิจศกึ ษาไว้ดังนี้ 5.1.1 การรับสมัครเขา้ สหกจิ ศึกษา ให้นักศกึ ษาช้นั ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 ยื่นแบบคําร้องท่ีโครงการฯ เพ่ือสมัครเข้าเป็นนักศึกษาในรายวิชาสหกิจศึกษาตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษากําหนดการคัดเลือกเข้าเรียนในโครงการดังกล่าวจะเป็นหน้าท่ีของสาขาวิชา โดยยึดหลักการและเงื่อนไขตามทแ่ี ต่ละสาขาวชิ ากาํ หนด 5.1.2 การอบรมหลักสูตรภาคบังคับก่อนการปฏิบัติงาน เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษาทุกคนต้องเข้าอบรม หลักสูตรต่างๆ ตามท่ีคณะกรรมการฯ กําหนด หากเข้าร่วมกิจกรรมใดไม่ได้ต้องลาล่วงหน้า และศึกษาวิดีโอเทปเป็นการชดเชยภายหลัง ถ้านักศึกษาเข้าอบรมไม่ครบถ้วน จะตัดสิทธ์ิการไปปฏิบัติงานทันที คณะกรรมการฯ จะประกาศช่ือผู้มีสิทธ์ิไปปฏิบัติงานอย่างช้า1 สัปดาห์ก่อนกําหนดวันส่งใบสมัครงาน หลักสูตรอบรมดังกล่าว ได้แก่ การอบรมพัฒนาบุคลิกภาพการอบรมทักษะการสมัครงานและสัมภาษณ์การอบรมเทคนิคการนําเสนอ การเสนอวิดีทัศน์เก่ียวกับการบรหิ ารงานในสถานประกอบการเร่ือง ISO 9000 ความปลอดภยั ในโรงงานและ 5 ส 5.1.3 การแจ้งความจํานงไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษาสหกิจศึกษาต้องกรอกแบบสํารวจการไปปฏิบัติงาน ภายใน 1 สัปดาห์หลังเปิดภาคการศึกษาของทุกภาคการศึกษา นักศึกษาที่ไม่กรอกแบบสาํ รวจถอื ว่าสละสทิ ธ์ิจากการเปน็ นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาทนั ที 5.1.4 การขอเปล่ียนการปฏิบัติงาน เมื่อนักศึกษาย่ืนใบสมัครงานแล้วประสงค์จะขอเล่ือนการไปปฏบิ ัตงิ าน ให้ยืน่ คําร้องขอเลื่อนการไปปฏิบัติงานต่อคณบดี ก่อนวันประกาศผลการปฏิบัติงานในภาคการศกึ ษาน้ัน - เมอ่ื ประกาศผลการคัดเลอื กแล้วนกั ศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานทุกคนจะลาออกหรือเล่ือนการออกปฏบิ ัติงานไม่ได้ - นกั ศกึ ษาทไ่ี ปปฏิบตั ิงานแลว้ จะลาออกจากงานสหกิจศกึ ษาหรอื เลอ่ื นเวลาไปปฏบิ ตั ิงานไม่ได้โดยเด็ดขาด ยกเว้นกรณีเจ็บป่วยฉกุ เฉนิ เทา่ น้ัน 5.1.5 กําหนดจํานวนภาคการศึกษาสหกิจศึกษา นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาตามภาคการศกึ ษามาตรฐานทก่ี ําหนดโดยสาขาวิชา 5.1.6 กรณียื่นใบคําร้องต่างๆ คําร้องที่คณบดีอนุมัติแล้วจะมีผลในวันที่ท่ีแผนกทะเบียนรับเร่ืองไม่ใชว่ ันท่นี ักศึกษาเขียนคํารอ้ ง 5.1.7 การยื่นขอคาํ ร้องสําเรจ็ การศกึ ษาในภาคการศกึ ษาสหกิจศึกษา กรณีท่ีนักศึกษาจะขอยื่นสําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาท่ีไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สามารถทําได้โดยจะต้องปฏิบัติตามระเบียบการลงทะเบียนเรียนและระเบียบการแจ้งขอสําเร็จการศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดไว้โดยวันสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเป็นภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนจบน้ันจะ

คมู่ อื สหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 20ถือเอาวันส่งรายงานฉบับสมบูรณ์เป็นวันกําหนดที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษาทั้งนี้นักศึกษาจะต้องปฏิบัติกิจกรรมหลงั ปฏิบัตงิ านใหค้ รบถ้วนตามกําหนดระยะเวลาท่ีรายวชิ าสหกจิ ศกึ ษากําหนดไวด้ ว้ ย5.2 การใหบ้ ริการของงานสหกิจศกึ ษาประจาํ คณะ 5.2.1 ฝา่ ยจัดหางานและเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหบ้ รกิ ารแกน่ ักศกึ ษา ดังน้ี - ประสานงานกับอาจารย์นิเทศ เกี่ยวกับการคัดเลือกนักศึกษาสหกิจศึกษาตามคุณสมบัติของนักศึกษา คุณภาพงาน การจัดหางาน การจัดอบรมและกิจกรรมสหกิจศึกษาท่ีเก่ียวข้องร่วมกับอาจารย์นเิ ทศประจาํ สาขาวชิ าจดั หางานให้เพยี งพอกับนกั ศกึ ษา - ให้ข้อมูลและคําแนะนํานักศึกษาเกี่ยวกับ การหางาน แหล่งงาน การสมัครงาน ลักษณะงานท่ีจะปฏิบัติ ลักษณะของธุรกิจของสถานประกอบการท่ีนักศึกษาจะไปปฏิบัติงานปัญหาท่ีเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน การพัฒนาตนเองของนักศึกษา นักศึกษาสามารถขอคําปรึกษาจากเจ้าหน้าท่ีสหกิจศึกษาได้ทุกวนั ทําการ ณ งานสหกิจศึกษาประจาํ คณะ - จัดทาํ ขอ้ มลู การปฏิบตั งิ านของนกั ศกึ ษา 5.2.2 ฝ่ายนิเทศงานสหกจิ ศึกษา - ประสานงานกับสถานประกอบการ อาจารยน์ เิ ทศ ในการนเิ ทศงานของนักศึกษา - ใหค้ ําปรึกษาเพอ่ื แก้ไขปัญหาใหน้ ักศึกษาระหวา่ งปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ - ประสานกบั หนว่ ยงานภายในมหาวิทยาลัย เพอ่ื สนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของนักศึกษา - ประเมินผลการปฏิบตั งิ านทุกภาคการศกึ ษา - จัดกิจกรรมสมั มนาสหกจิ ศกึ ษาภายหลังกลับจากสถานประกอบการ 5.2.3 ฝ่ายฝึกอบรมใหบ้ ริการแก่นกั ศึกษา ดงั น้ี - จัดอบรมให้แก่นักศึกษา ได้แก่ หลักสูตรการพัฒนาบุคลิกภาพ ทักษะการสมัครงานและสัมภาษณ์ เทคนิคการนําเสนอ การบริหารงานโรงงาน ความปลอดภัย 5 ส การควบคุมคุณภาพ ISO9000 เปน็ ตน้ - ใหบ้ ริการในสว่ นของทาํ เนียบสถานประกอบการ - บรกิ ารยืมคืนรายงานการฝึกปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างและแนวทางแก่นักศึกษาในการจดั ทํารายงานฝึกปฏิบัตงิ านสหกิจศกึ ษา พร้อมทัง้ ตัวอย่างเอกสารนําเสนอ ซีดี 5.2.4 ฝา่ ยวางแผนและทะเบยี นนกั ศกึ ษา ใหบ้ ริการ ดงั นี้ - รวบรวมใบสมคั รนักศกึ ษาเขา้ รว่ มรายวิชาสหกจิ ศกึ ษา - ประสานงานกับสาขาวิชาในการจัดนกั ศึกษาเขา้ หลักสตู รสหกจิ ศึกษา - รับแบบแจง้ ความจํานงไปปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษาของนกั ศึกษาในแตล่ ะภาคการศกึ ษา - รบั สมัครงานสหกจิ ศึกษาของนักศึกษา - ประกาศผลสอบคัดเลอื กนักศึกษาไปปฏิบัติงาน - จัดทําทะเบียนประวตั นิ ักศึกษาสหกิจศกึ ษา - รับคําร้องต่างๆ ได้แก่ ขอสมัครจากงานสหกิจศึกษาประจําคณะ ขอเล่ือนภาคการศึกษาที่จะไปปฏบิ ัตงิ าน - จัดทาํ ใบรบั รองการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศึกษาทุกภาคการศึกษา

คู่มอื สหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 215.3 การประกนั สขุ ภาพและอบุ ตั เิ หตุสําหรับนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา ทางมหาวิทยาลัย ได้เห็นความสําคัญเรื่องสุขภาพของนักศึกษา จึงได้จัดทําประกันสุขภาพและอบุ ัติเหตุใหน้ กั ศึกษาทุกคนเพอื่ เปน็ สวสั ดกิ ารแก่นกั ศึกษา ดังน้ี 5.3.1 ให้ความคุ้มครองแก่นักศึกษาสหกิจศึกษา เมื่อประสบอุบัติเหตุถึงแก่กรรมหรือสญู เสียอวยั วะบางสว่ นทส่ี าํ คญั ของรา่ งกายรวมทงั้ การทุพลภาพท้ังหมดอย่างถาวร 5.3.2 อัตราความคุ้มครองที่ได้รับจะเป็นไปตามบริษัทประกันภัยที่มหาวิทยาลัย ได้จัดทําประกนั ไว้ซ่ึงอาจจะแตกตา่ งกันไปในแตล่ ะปีการศกึ ษา 5.3.2.1 ค่ารกั ษาพยาบาลเนือ่ งจากอุบตั ิเหตุจา่ ยตามเป็นจริงสูงสดุ ไมเ่ กิน 15,000 บาท 5.3.2.2 การประกันชีวิตกลมุ่ - เสยี ชวี ิตเน่อื งจากอุบตั ิเหตุ 100,000 บาท - สูญเสยี อวัยวะ ตา มือ เท้า ทุพลภาพโดยส้ินเชิงถาวรเนื่องจากอุบัติเหตุ 100,000 บาท (จา่ ยเป็นรอ้ ยละของจํานวนเงนิ เอาประกันทก่ี ําหนดไว)้ 5.3.3 วิธเี รยี กเกบ็ เงนิ ประกนั ขณะปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา ในขณะปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษาสามารถเรียกเงินประกันคืนได้หากนักศึกษาประสบอุบัตเิ หตุ โดยมีข้อกําหนดดังนี้ - ขอใบรบั รองแพทย์และใบเสร็จรับเงนิ ภายหลงั การรกั ษาจากโรงพยาบาลทุกครั้ง - นําใบเสร็จรับเงินใบรับรองแพทย์ และเอกสารท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมด ส่งทางไปรษณีย์ถึงงานสหกจิ ศกึ ษาจะส่งมอบเอกสารต่อไป เพ่ือเรยี กเกบ็ เงินคืนจากบริษัทประกันตามทจี่ ะได้รับ - บริษัทประกันภัยจะสั่งเช็คจ่ายในนามนักศึกษา คณะฯ โดยจะติดประกาศรายช่ือนักศกึ ษาและให้นกั ศกึ ษาไปรบั เงิน

6. สหกจิ ศึกษานานาชาติ กระแสโลกาภิวัตน์และความเป็นนานาชาติเป็นเป้าหมายสําคัญประการหน่ึงของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โดยเฉพาะในต่างประเทศนิยมแลกเปล่ียนนักศึกษาสหกิจศึกษาระหว่างประเทศ ซ่ึงเป็นการส่งเสริมศักยภาพของนักศึกษา โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีประสบการณ์ตรงในการปฏิบัติงาน ณต่างประเทศ ซ่ึงเพิ่มศักยภาพของนักศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาต่างประเทศ การปรับตัวให้เข้ากับสังคมพหุวัฒนธรรม และแนวคิดใหม่ๆ ซ่ึงนักศึกษาสามารถเลือกไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในตา่ งประเทศได้ มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการสหกิจศึกษานานาชาติ เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยจะประสานงานให้นักศึกษาที่จะไปสหกิจศึกษานานาชาติ เช่น การขอหนังสือเดินทางและใบอนุญาตทํางาน เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาด้านกฎหมายคนเข้าเมือง การประกันสุขภาพและประกันชีวิต การประสานงานเรื่องกําหนดการเดินทางและการรับส่งที่สนามบิน และนักศึกษาควรศึกษาศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศท่ีต้องไปด้วย ซึ่งค่าใช้จ่ายต่าง ๆ นักศึกษาจะเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบเอง

7. การเขยี นรายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศึกษา การเขียนรายงานถือเป็นกิจกรรมบังคับของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มีวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกฝนทักษะการสื่อสาร (Communication Skill) ของนักศึกษาและเพ่ือจัดทําข้อมูลที่เป็นประโยชน์สําหรับสถานประกอบการ นักศึกษาจะต้องขอรับคําปรึกษาจากพนักงานที่ปรึกษา (Job Supervisor)เพื่อกําหนดหัวข้อรายงานที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงความต้องการของสถานประกอบการเป็นหลักตัวอย่างของรายงานสหกิจศึกษา ได้แก่ผลงานวิจัยท่ีนักศึกษาปฏิบัติรายงานวิชาการในหัวข้อที่น่าสนใจการสรุปข้อมูลหรือสถิติบางประการ การวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูลเป็นต้น ในกรณีท่ีสถานประกอบการไม่ต้องการรายงานในหัวข้อข้างต้น นักศึกษาจะต้องพิจารณาเรื่องท่ีตนสนใจและนํามาทํารายงาน โดยปรึกษากับพนักงานท่ีปรึกษาก่อน ตัวอย่างหัวข้อท่ีจะใช้เขียนรายงาน ได้แก่ รายงานวชิ าการในหวั ข้อทสี่ นใจ รายงานการปฏบิ ัติงานทไี่ ด้รับมอบหมาย หรอื แผนและวิธีการปฏบิ ตั ิงานท่ีจะทําให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ที่นักศึกษาวางเป้าหมายไว้จากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา(Learning Objectives) เม่ือกําหนดหัวข้อได้แล้ว ให้นักศึกษาจัดทําโครงร่างของเน้ือหารายงานพอสังเขปตามแบบแจ้งเค้าโครงร่างรายงานท้ังน้ีจะต้องได้รับความเห็นชอบจากพนักงานท่ีปรึกษา (JobSupervisor) ก่อน แล้วจัดสง่ ใหโ้ ครงการสหกจิ ศึกษา ภายใน 3 สัปดาห์แรกของการปฏิบัตงิ าน7.1 รปู แบบการเขยี นรายงานสหกิจศกึ ษา (Co-op Report Format) รายงานสหกิจศึกษาเป็นรายงานทางวิชาการ ท่ีนักศึกษาจะต้องเขียนในระหว่างการปฏิบัติงานณ สถานประกอบการตามการกํากบั ดแู ลของพนักงานท่ีปรึกษา การเขียนรายงานสหกิจศึกษาท่ีดีจะต้องมีความถูกต้อง ชัดเจนและมีความสมบูรณ์ของเนื้อหาท่ีจะเสนอ รูปแบบและหัวข้อต่างๆ ได้กําหนดไว้อย่างเป็นระบบ ประกอบดว้ ย สว่ นท่ี 1 ส่วนนาํ ส่วนท่ี 2 เนอื้ หาหลัก สว่ นที่ 3 ส่วนทา้ ย 7.1.1 ส่วนนาํ เป็นสว่ นประกอบทจ่ี ะเข้าส่เู นอื้ หาของรายงาน ประกอบด้วย - ปกนอก (Cover) - ปกใน (Title Page) - จดหมายนําส่งรายงาน - กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) - บทคัดย่อภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ (Abstract) - สารบัญเรือ่ ง (List of Contents) - สารบญั ตาราง (List of Tables) - สารบญั รปู ภาพ (List of Figures)

คู่มือสหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หนา้ 24 7.1.2 ส่วนเนื้อหาหลกั เป็นส่วนทส่ี าํ คญั ทส่ี ุดของรายงาน ประกอบด้วย บทท่ี 1 บทนํา บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฏแี ละงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง บทที่ 3 แผนการปฏบิ ตั ิงานและวิธีการศกึ ษา บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา บทท่ี 5 สรปุ ผลการศึกษา และขอ้ เสนอแนะ 7.1.3 ส่วนประกอบตอนทา้ ย เปน็ ส่วนเพิม่ เติม เพอ่ื ทาํ ใหร้ ายงานสมบูรณ์ ประกอบดว้ ย - บรรณานุกรม (Bibliography) - ภาคผนวก (Appendix, Appendices) อย่างไรก็ตามในส่วนของเนื้อหาของรายงานสหกิจศึกษา อาจจะแตกต่างกันไปตามลักษณะการปฏิบัติงานของนักศึกษาแต่ละคนและสถานประกอบการ และเพ่ือให้การเขียนรายงานสหกิจศึกษาของนักศึกษามีรูปแบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงกําหนดการจัดทํารูปเล่มรายงานสหกิจศึกษาให้นกั ศกึ ษาใช้รปู แบบดงั ต่อไปน้ี7.2 การพิมพร์ ายงานสหกจิ ศึกษา 7.2.1 กระดาษทใ่ี ชพ้ มิ พ์ กระดาษทีใ่ ช้พมิ พ์ จะตอ้ งพิมพล์ งกระดาษมาตรฐาน A4 (กว้าง 210 ม.ม. ยาว 297 ม.ม.)ชนิดความหนา 80 แกรม สขี าวสภุ าพ และใช้หนา้ เดยี ว 7.2.2 ตวั พมิ พ์ 1) จัดพิมพด์ ว้ ยรูปแบบอักษรสภุ าพ ขนาดโตเหมาะสม และอ่านงา่ ย(font TH SarabunPSK ขนาด 16) 2) จัดพิมพ์ในแนวตั้งเป็นหลกั โดยอาจจะมรี ปู ภาพหรอื ตารางแสดงในแนวนอนได้ตามความจําเปน็ ของขอ้ มูลท่จี ะตอ้ งนาํ เสนอ 7.2.3 การเวน้ ระยะห่างจากขอบกระดาษ 1) ดา้ นบน ใหเ้ วน้ ระยะห่างจากขอบกระดาษ 1.5 นว้ิ ( หรือ 3.75 ซม.) 2) ด้านล่าง ใหเ้ ว้นระยะหา่ งจากขอบกระดาษ 1 นิว้ ( หรอื 2.54 ซม.) 3) ดา้ นซา้ ยมอื ให้เวน้ ระยะหา่ งจากขอบกระดาษ 1.5 นว้ิ ( หรือ 3.75 ซม.) 4) ดา้ นขวามือ ใหเ้ วน้ ระยะห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว ( หรือ 2.54 ซม.) 7.2.4 การลาํ ดบั เลขหนา้ และการพมิ พเ์ ลขหนา้ 1) ในส่วนท่ี 1 คือ ต้ังแต่ จดหมายนําส่งรายงาน จนถึงสารบัญรูป ให้ใช้ตัวอักษรโรมัน เช่น I II III IV ฯลฯ แสดงเลขหน้า โดยพิมพ์ไว้ด้านบนขวามือ กระดาษห่างจากขอบกระดาษดา้ นบน 1 นว้ิ และด้านขวามอื 1 น้ิว 2) ในส่วนของเน้ือหา ให้ใช้ตัวเลขอารบิค (1 2 3 4 5) แสดงเลขหน้าโดยพิมพ์ไว้ดา้ นบนขวามือ ห่างจากขอบกระดาษด้านบน 1 นว้ิ และดา้ นขวามอื 1 นิ้ว 3) หนา้ ที่เป็นบทที่ (คือหนา้ แรกของแต่ละบท) ให้นบั หนา้ แต่ไม่ต้องใส่เลขหนา้ 4) หนา้ แรกของบรรณานุกรม ภาคผนวก ใหน้ บั หน้าแตไ่ มต่ ้องใสเ่ ลขหนา้

คมู่ ือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 25 7.2.5 การพิมพ์เอกสารในส่วนนํา 1) กิตติกรรมประกาศ ให้พิมพ์คําว่า “กิตติกรรมประกาศ“ ไว้ในบรรทัดแรก ห่างจากขอบกระดาษ 2 น้ิว กลางหน้ากระดาษ ใช้อักษร ตัวเข้ม ขนาด 20 พอยท์ และเว้น 1 บรรทัดปกติก่อนพิมพ์รายละเอียดในบรรทัดต่อไป โดยเริ่มพิมพ์ห่างจากขอบด้านซ้าย 7 ช่วงตัวอักษร ใช้อักษรตัวปกติ ขนาด 16 พอยท์ 2) บทคัดย่อ ให้พิมพ์คําว่า “บทคัดย่อ“ ไว้ในบรรทัดแรก ห่างจากขอบกระดาษ 2น้ิว กลางหน้ากระดาษ ใช้อักษร ตัวเข้ม ขนาด 20 พอยท์ และเว้น 1 บรรทัดปกติ ก่อนพิมพ์รายละเอียดในบรรทัดต่อไป โดยเร่ิมพิมพ์ห่างจากขอบด้านซ้าย 7 ช่วงตัวอักษร ใช้อักษรตัวปกติ ขนาด16 พอยท์ 3) สารบัญ ให้พิมพ์คําว่า “สารบัญ” “สารบัญตาราง” “สารบัญภาพ “หรือ“สารบญั รูป” ไวใ้ นบรรทัดแรกกลางหน้ากระดาษ ใชอ้ ักษร ตัวเข้ม ขนาด 20 พอยท์ กรณี สารบัญ หรือ สารบัญตาราง หรือ สารบัญภาพ หรือ สารบัญรูป มีรายละเอียดเกิน 1 หน้า ให้พิมพ์ในหน้าถัดไป โดยพิมพ์คําว่า “ สารบัญ (ต่อ)” หรือ “สารบัญตาราง(ต่อ)” หรือ“สารบัญภาพ (ต่อ)” หรือ “สารบัญรูป (ต่อ)” แล้วแต่กรณีไว้กลางหน้ากระดาษห่างจากขอบกระดาษด้านบน 1.5 นว้ิ ใชอ้ ักษร ตวั เขม้ ขนาด 20 พอยท์ การพมิ พ์สารบัญ จากคําว่า “สารบญั ” ให้เว้น 1 บรรทัดปกติ พิมพ์คําว่า “หน้า” ชิดขอบด้านขวา ใชต้ วั อกั ษรตวั เขม้ ขนาด 16 พอยท์ บรรทัดถดั มาจะเปน็ รายละเอยี ดของสารบัญ และเลขหน้า โดยพิมพเ์ ลขหน้าให้ตรงกับแนวขอบดา้ นขวา - ส่วนแรก คือ ตั้งแต่ หน้าจดหมายนําส่ง ถึง สารบัญภาพ หรือ สารบัญรูป ให้พิมพ์ด้วยตัวอักษร ตวั เข้ม 16 พอยท์ ชดิ ขอบด้านซา้ ย และใชต้ ัวอักษรโรมนั I II III IV V ฯลฯ แสดงเลขหน้า - ส่วนท่ีสอง คือ ตั้งแต่ บทที่ 1 ถึง บทที่ 4 สําหรับส่วนท่ีเป็นบทท่ี และ ช่ือเรื่องประจําบท ให้พิมพ์ชิดขอบด้านซ้ายอยู่ในบรรทัดเดียวกัน ใช้อักษร ตัวเข้ม ขนาด 16 พอยท์ เมื่อพิมพ์บทที่แล้วให้เว้น 1 เคาะ ตามด้วยเลขประจําบท และเว้น 2 เคาะ ตามด้วยชื่อเร่ืองประจําบท บรรทัดถัดมาพิมพ์หัวข้อใหญ่ของแต่ละบท และให้มีเลขกํากับเช่นเดียวกับในเนื้อหา ใช้อักษรปกติ ขนาด 16พอยท์ โดยพิมพใ์ ห้ตรงกบั ช่ือเรอื่ งประจําบท รายละเอียดระหวา่ งแต่ละบทไว้ตอ้ งเว้นบรรทัด - บรรณานุกรม พิมพ์ห่างจากบรรทัดบน โดยเว้น 1 บรรทัดปกติ และพิมพ์ชิดขอบซา้ ยตรงกับบทท่ี ใช้อักษรตัวเข้ม ขนาด 16 พอยท์ - ภาคผนวก พิมพ์ห่างจากบรรทัดบน โดยเว้น 1 บรรทัดปกติ และพิมพ์ชิดขอบดา้ นซ้ายตรงกบั บทที่ ใช้อักษรตัวเข้ม ขนาด 16 พอยท์ กรณีที่ภาคผนวกมมี ากกวา่ 1 ภาค ใหพ้ ิมพแ์ ยกเป็นภาคผนวก ก ภาคผนวก ข หรือ ภาคผนวก ค ในบรรทัดถัดไป ตรงกับช่ือเรื่องในแต่ละบท โดยไม่ตอ้ งเว้นบรรทัด และให้ใชต้ ัวอักษรปกติ ขนาด 16 พอยท์ - การพิมพ์สารบัญตาราง จากคําว่า “สารบัญตาราง” ให้เว้น 1 บรรทัดปกติ แล้วพิมพ์คําว่า “ตารางที่” ชิดขอบซ้าย และคําว่า “หน้า” ชิดขอบด้านขวา ในบรรทัดเดียวกัน ใช้อักษรตัวเขม้ ขนาด 16 พอยท์ - การพิมพ์สารบัญภาพ หรือสารบัญรูป จากคําว่า “สารบัญภาพ” ให้เว้น 1บรรทัดปกติ แล้วพิมพ์คําว่า “ภาพท่ี” ชิดขอบซ้าย และคําว่า “หน้า” ชิดขอบด้านขวา ในบรรทัดเดยี วกนั ใชอ้ กั ษรตัวเขม้ ขนาด 16 พอยท์

คู่มือสหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 26 7.2.6 การพมิ พ์เอกสารในส่วนเนอื้ หา ในสว่ นเนอื้ หาหลัก ใหพ้ ิมพ์รายละเอียดของสว่ นต่าง ๆ ดังนี้ 1) บทท่ี ให้พิมพ์คําว่า “บทที่” แล้วเว้น 1 เคาะ ตามด้วยตัวเลขประจําบท โดยพิมพ์ไว้ในบรรทัดแรกกลางหน้ากระดาษ ห่างจากขอบกระดาษดา้ นบน 2 นวิ้ ใช้อกั ษรตัวเข้ม ขนาด 20 พอยท์ 2) ชอื่ เรื่องประจําบท ให้พิมพ์ชื่อเร่ืองประจําบทไว้กลางหน้ากระดาษ ใช้อักษรตัวเข้มขนาด 20 พอยท์ระหวา่ งบทท่ีกับช่อื เรอื่ งประจาํ บทไม่ตอ้ งเว้นบรรทัด และก่อนจะพมิ พ์ข้อความตอ่ ไป ให้เวน้ 1 บรรทดั ปกติ 3) หวั ขอ้ ใหญ่ หัวข้อใหญ่ คือ หัวข้อที่ไม่ใช่ชื่อเรื่องประจําบท ให้พิมพ์ชิดขอบซ้ายใส่หมายเลขประจําบท ตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยเลขลําดับของหัวข้อ เว้น 2 เคาะ แล้วตามด้วยช่ือหัวขอ้ ใชอ้ ักษรตัวเขม้ ขนาด 18 พอยท์ และใหพ้ ิมพห์ ่างจากบรรทดั บน โดยเว้น 1 บรรทดั ปกติ สําหรับข้อความท่ีเป็นรายละเอียดของหัวข้อใหญ่ให้พิมพ์ในบรรทัดถัดไป โดยเว้น½ บรรทัดปกติ และพมิ พ์ห่างจากขอบซา้ ย 7 ชว่ งตัวอกั ษร ใชอ้ ักษรปกติ 16 พอยท์ กรณีท่ีมีรายละเอียดแยกเป็นข้อย่อยๆอีก ให้พิมพ์แยกเป็นข้อ ๆ ในบรรทัดถัดไปโดยใชห้ มายเลข .1 .2 .3 ฯลฯ และพิมพ์ห่างจากขอบด้านซา้ ย 7 ช่วงอกั ษร ใชอ้ ักษรตัวปกติ 4) หัวข้อย่อย หวั ขอ้ ย่อย คือ หัวขอ้ ที่แบง่ มาจากหัวข้อใหญ่ ซ่ึงหัวข้อย่อยมีได้อีกหลายระดับ ให้พิมพ์ห่างจากขอบดา้ นซา้ ย 7 , 14 และ 21 ชว่ งตัวอกั ษร ตามลาํ ดบั ของหวั ขอ้ ยอ่ ยในแต่ละระดับ โดยใช้อกั ษรตวั เข้ม ขนาด 16 พอยท์1.1//หัวข้อใหญข่ องบทที่ 1 อักษรตวั เขม้ ขนาด 18 พอยท์///////1.1.1//หัวขอ้ ย่อย อักษรตัวเข้ม ขนาด 16 พอยท์//////////////1)//หัวข้อยอ่ ย/////////////////////-//หวั ข้อยอ่ ย อักษรปกติ ขนาด 16 พอยท์ อกั ษรปกติ ขนาด 16 พอยท์ 5) การพิมพ์ตาราง ให้พิมพ์ตารางแทรกลงในเนื้อเร่ืองที่มีความสัมพันธ์กันในแต่ละบท ห่างจากข้อความบรรทัดบน โดยเว้น 1 บรรทัดปกติ พิมพ์คําว่า “ตารางท่ี” ชิดขอบซ้าย แล้วเว้น 1 เคาะ ตามด้วยหมายเลขบทที่ ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยหมายเลขลําดับท่ีของตารางในบทนั้นเว้น 2 เคาะ ตามด้วยชื่อตาราง ในกรณีท่ีชื่อตารางมีความยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์บรรทัดบนยาวกว่าบรรทัดล่าง โดยเร่ิมพิมพ์บรรทัดล่างตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อตาราง ใช้อักษรตัวปกติขนาด 16 พอยท์ บรรทดั ถดั ไปเป็นตารางไม่ต้องเว้นบรรทัด ถ้าตารางมีความกว้างมากให้ย่อส่วนลง แต่ต้องอ่านได้ชัดเจน หรือจะพิมพ์ตามแนวขวางของกระดาษก็ได้ แต่ถ้าตารางยังมีความยาวมากจนไม่สามารถจะบรรจุไว้ในหน้าเดียวกัน ถึงแม้จะย่อ หรือ พิมพ์ตามแนวขวางแล้วก็ตาม ให้พิมพ์ตารางต่อในหน้าถัดไป โดยพิมพ์คําว่า “ตารางท่ี X.XX(ต่อ)” ไว้ในบรรทัดแรก ชิดขอบด้านซ้าย แต่ไม่ต้องมีช่ือตารางอีก เชน่ ตารางที่ 3.1(ต่อ) ก่อนพมิ พ์ขอ้ ความอน่ื ๆ ให้เวน้ 1 บรรทดั ปกติ

คมู่ อื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 27 การเรยี งหมายเลขตาราง ใหเ้ รยี งไปตามบท เช่น - ตารางในบทที่ 1 ใหพ้ ิมพ์ ตารางท่ี 1.1 ตารางที่ 1.2 ตารางท่ี 1.3 ฯลฯ - ตารางในบทที่ 2 ใหพ้ มิ พ์ ตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.2 ตารางที่ 2.3 ฯลฯ 6) การนําเสนอภาพหรือรูป การนําเสนอภาพให้แทรกลงในเนื้อเรื่องท่ีสัมพันธ์กันในแต่ละบท โดยจัดวางภาพไว้กลางหน้ากระดาษ ห่างจากบรรทัดบน โดยเว้น 1 บรรทัดปกติ และใส่คําว่า “ภาพท่ี” หรือ “รูปท่ี” (ให้ใช้อย่างใดอย่างหนึ่งตลอดเล่ม) ไว้ใต้ภาพชิดขอบด้านซ้าย เว้น 1 เคาะ ตามด้วยหมายเลขบทที่ตามด้วยเครอ่ื งหมายมหพั ภาพ ( . ) และตามด้วยหมายเลขลําดับทข่ี องภาพในบทนน้ั ๆ เว้น 2 เคาะ ตามด้วยคําบรรยายภาพ ถ้าคําบรรยายเกิน 1 บรรทัด ให้เร่ิมพิมพ์บรรทัดล่างตรงกับอักษรตัวแรกของคําบรรยายภาพ ใช้อักษรปกติ ขนาด 16 พอยท์ กอ่ นพิมพข์ ้อความอืน่ ตอ่ ไป ให้เวน้ 1 บรรทดั ปกติ การเรยี งหมายเลขภาพ ใหเ้ รียงไปเหมือนกับการเรยี งตาราง เช่น - ภาพในบทที่ 1 ใหพ้ มิ พ์ ภาพที่ 1.1 ภาพที่ 1.2 ภาพท่ี 1.3 ฯลฯ - ภาพในบทที่ 2 ใหพ้ มิ พ์ ภาพที่ 2.1 ภาพท่ี 2.2 ภาพที่ 2.3 ฯลฯ 7.2.7 การพิมพ์เอกสารในส่วนบรรณานุกรม การพิมพบ์ รรณานกุ รม ให้ใชก้ ารอ้างอิงระบบนาม-ปี 1) ให้พิมพ์ คําว่า “บรรณานุกรม” ไว้ในบรรทัดแรกกลางหน้ากระดาษ ใช้อักษรตัวเขม้ ขนาด 20 พอยท์ 2) ให้เรียงรายการที่ใช้อ้างอิงทั้งหมดไว้ด้วยกัน โดยเรียงลําดับตามตัวอักษรแรกของรายการทีอ่ า้ งอิง โดยยดึ วิธีการเรียงลําดับอักษรตามแบบพจนานุกรม 3) ให้เรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาไทยไว้ก่อน แล้วจึงตามด้วยรายการบรรณานกุ รมภาษาอังกฤษ 4) เรม่ิ พมิ พ์รายการของบรรณานุกรมชิดขอบด้านซ้าย ถ้าพิมพ์ไม่หมดในหน่ึงบรรทัดให้ขึ้นบรรทัดใหม่โดยย่อห้าเข้าไป 7 ช่วงตัวอักษร เร่ิมพิมพ์ตัวอักษรท่ี 8 ถ้าไม่จบใน 2 บรรทัด ข้ึนบรรทัดที่ 3-4 ให้ตรงกับบรรทัดที่ 2 จนจบรายการ รูปแบบการพมิ พบ์ รรณานุกรม ผู้แตง่ 1. ผ้แู ตง่ ไม่ตอ้ งใชค้ ํานําหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว ศ. ผศ. รศ. ดร. นายแพทย์ 2. ผ้แู ต่งที่มีฐานนั ดรศักด์ิ บรรดาศกั ดิ์ หรอื ยศ ให้ใชช้ ือ่ ตวั ชื่อสกุล ตามด้วย เคร่ืองหมายจลุ ภาค(,) และฐานนั ดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ หรือยศ 3. เอกสารอ้างอิงของหน่วยงาน เช่น กระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ ให้ใช้ช่ือหน่วยงานนั้นๆเป็นผู้แต่ง กรณีเอกสารออกในนาม หน่วยงานระดับกรม หรือหน่วยงานย่อยไปกว่ากรมและสังกัดอยู่ในกรมนัน้ ๆ แม้วา่ จะปรากฏชอื่ กระทรวงอยู่ ให้ใช้ช่ือกรมและตามด้วยช่ือกระทรวง เป็นผู้แต่ง ส่วนช่ือของหน่วยงานย่อยใหไ้ ว้ในสว่ นของผ้พู ิมพ์ 4. เอกสารที่มีเฉพาะชื่อบรรณาธิการ (editor) หรือผู้รวบรวม (compiler) ให้ใช้ช่ือบรรณาธกิ าร ค่ันด้วยจุลภาค ( , ) ตามด้วยคําวา่ “บรรณาธกิ าร” หรือ “ผูร้ วบรวม” 5. เอกสารอ้างอิงที่ไม่ปรากฏช่ือผู้แต่ง หรือรายงานการประชุมทางวิชาการ ให้ใช้ชื่อเรื่องของเอกสารน้ันลงเปน็ รายการแรก

คู่มือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 28 ช่อื บทความ 1. ให้ใชช้ ือ่ ตามท่ีปรากฏในเอกสาร อยู่ในเคร่ืองหมายอัญประกาศ (“ ”) 2. ชื่อภาษาอังกฤษให้เขียนอักษรตัวแรกของทุกๆคํา ด้วยตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ยกเว้นบุพบท สันธาน และคาํ นาํ หน้านามหนังสือทว่ั ไป ช่อื หนังสือหรอื วารสาร 1. ช่ือหนงั สอื หรือวารสารใหพ้ ิมพ์ด้วยอักษรตัวเขม้ 2. ช่ือหนังสือท่ีพิมพ์เป็นชุด ถ้าอ้างเล่มเดียวให้ลงเฉพาะเล่มน้ัน เช่น เล่ม 3 กรณีที่อ้างมากกว่า 1 เลม่ แต่ไมต่ อ้ เนอ่ื งกันใหใ้ ส่หมายเลขของแต่ละเล่มโดยมีจุลภาคคั่น เช่น เล่ม1,3,5 หรือ Vol.1, 3, 5 แตถ่ ้าอา้ งทุกเล่มในชดุ นั้น ใหใ้ สจ่ าํ นวนเล่มทั้งหมด เช่น 5 เล่ม หรือ 5 Vol. และพิมพ์ด้วยอักษรตัวเข้ม ตอ่ เน่อื งจากช่อื หนังสอื ครง้ั ท่ีพิมพ์ 1. การพมิ พ์ครั้งท่ี 1 หรอื เปน็ การพมิ พ์ครงั้ แรก ไม่ตอ้ งระบุ 2. ให้ระบุรายการครั้งท่ีพิมพ์สําหรับคร้ังท่ี 2 ข้ึนไป ตามที่ปรากฏในสิ่งพิมพ์นั้น ๆ เช่นพมิ พ์ครั้งที่ 2. พมิ พ์คร้งั ที่ 2 แก้ไขเพิม่ เตมิ . พมิ พค์ ร้งั ท่ี 3 ปรับปรงุ แกไ้ ข. หรือ 2nd ed., สถานทพี่ ิมพแ์ ละผ้พู มิ พห์ รือผผู้ ลติ 1. เอกสารอ้างอิงภาษาไทย ให้ลงชื่อจังหวัดเป็นเมืองท่ีพิมพ์ สําหรับกรุงเทพมหานคร ให้ใช้คําว่า “กรงุ เทพฯ” 2. ถ้าผ้พู มิ พ์เป็นสาํ นักพมิ พ์ทมี่ ีสาํ นักงานต้ังอยู่หลายเมือง และช่ือเมืองเหล่านั้นปรากฏอยู่ในเอกสาร ใหใ้ ช้ชือ่ เมอื งแรกทป่ี รากฏเปน็ สถานทีพ่ ิมพ์ 3. ให้ลงช่อื ผพู้ มิ พโ์ ดยไม่ตอ้ งใส่คําว่า”สาํ นักพมิ พ์” “บริษทั ---จํากดั ” เชน่ สาํ นักพิมพ์ดอกหญ้า ใหล้ งวา่ “ดอกหญ้า” แตก่ รณีทส่ี าํ นกั พิมพเ์ ปน็ สมาคม หรือ มหาวทิ ยาลัย ให้ระบุช่ือเต็ม โดยใส่คําว่า “สาํ นกั พิมพ์” ไว้ดว้ ย เชน่ “สาํ นักพมิ พส์ มาคมห้องสมดุ แหง่ ประเทศไทย” 4. ถ้าเอกสารสิ่งพิมพ์ไม่ปรากฏชื่อสํานักพิมพ์ ให้ลงชื่อโรงพิมพ์โดยใส่คําว่า”โรงพิมพ์ ไว้ดว้ ย เช่น “โรงพิมพ์การศาสนา” 5. ผู้พิมพ์เป็นหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน ให้ใช้ชื่อหน่วยงานน้ัน โดยไม่ต้องใส่คําว่า“สํานักพิมพ์” หรือ “โรงพิมพ์” เช่น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สํานักงานปลัดทบวงมหาวทิ ยาลัย หลกั การเขยี นบรรณานุกรมและตัวอยา่ ง หนังสอื ทั่วไปผแู้ ตง่ .//ปี พ.ศ.ทีพ่ มิ พ.์ //ชอ่ื หนังสอื .//ครั้งทีพ่ ิมพ.์ (ถ้าม)ี //เมอื งท่ีพมิ พ์/:/ผู้พิมพ.์ตัวอยา่ งผแู้ ตง่ 1 คนเกษม จนั ทร์แกว้ . 2526. การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม. กรงุ เทพฯ : ไฮพร้นิ ตงิ้ผแู้ ตง่ 2 คนธงชยั สนั ตวิ งษ์ และชยั ยศ สนั ติวงศ.์ 2533. พฤติกรรมบคุ คลในองคก์ ร. พิมพค์ รงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช

คมู่ ือสหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 29ผู้แต่งมากกว่า 2 คนมัลลิกา บนุ นาค และคณะ. 2519. ทศั นคติของวงการธุรกจิ ทีม่ ตี อ่ สถาบนั การศึกษาดา้ นธุรกิจ. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบญั ชี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์M.David Egan and Victor Olgyay. 2002. Architectural Lighting. 2 nd edition . NewYork : McGraw – Hill .ผแู้ ต่งที่มีบรรดาศักด์ิเนื่อง นลิ รตั น์,ม.ล. 2539. ชวี ติ ในวัง 1. กรุงเทพฯ : ศรสี ารา.ผ้แู ต่งทม่ี ีสมณศกั ดิ์สมเด็จพระญาณสงั วร(เจรญิ สวุ ฑั ฒโน). 2535. คู่มือชีวิต. กรุงเทพฯ : ชวนพมิ พ์ หนงั สอื ทผี่ ู้แตง่ เปน็ หน่วยงานช่อื หนว่ ยงาน .//ปีพ.ศ.ท่พี ิมพ.์ //ช่อื หนังสือ.//เล่มที.่ (ถ้าม)ี //ครงั้ ทพ่ี ิมพ.์ (ถ้ามี)//เมอื งทพ่ี มิ พ/์ :/ผู้พมิ พ์ตวั อย่างกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2535. หลักสตู รมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศกั ราช 2524 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2533). กรงุ เทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงสมาคมหอ้ งสมดุ แหง่ ประเทศไทย. 2507. บรรณารกั ษ์ศาสตร์ชดุ ประโยคครูมธั ยม. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพ์ สมาคมหอ้ งสมดุ แห่งประเทศไทย เอกสารทีม่ ีเฉพาะชอื่ บรรณาธิการหรือผู้รวบรวมหรือผเู้ รียบเรียงช่ือบรรณาธิการหรอื ผู้รวบรวมหรือผูเ้ รยี บเรยี ง,/บรรณาธกิ ารหรอื ผู้รวบรวมหรือผเู้ รียบเรยี ง.// ปีพ.ศ.ท่พี ิมพ์.//ช่ือหนังสือ.//เล่มท่.ี (ถ้ามี)//คร้ังทีพ่ มิ พ(์ ถา้ ม)ี //เมืองท่พี ิมพ/์ :/ผพู้ มิ พ์ตัวอย่างอมรวิชช์ นาครทรรพ,ผู้เรยี บเรียง. 2540. ความฝันของแผน่ ดนิ . พมิ พ์คร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พต์ ะวนั ออกFriedman, E.G., editor. 1995. Clock Distribution Networks in VLSI Circuits and Systems. New York : IEEE Press รายงานการประชุม หรอื บทความจากหนงั สอืผู้เขียนรายงานหรือบทความ.//ปพี .ศ.ที่พมิ พ์.//”ชือ่ รายงานหรอื ชอื่ บทความ.”//หนา้ /เลขหน้า.// ใน/ช่ือบรรณาธกิ ารหรอื ผู้รวบรวม.//ชอ่ื หนงั สอื หรือรายงานการประชมุ .//เล่มท.่ี (ถ้าม)ี // ครัง้ ทีพ่ ิมพ์.(ถ้าม)ี //เมอื งท่ีพมิ พ์/:/ผ้พู มิ พ์

คูม่ อื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 30ตวั อย่างประเวศ วะสี. 2533. “วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับสังคมไทย ในช่วงตน้ ของศตวรรษ ที่ 21. ” หน้า 60. ใน ธีระชัย ปูรณโชติ. ทิศทางและนโยบายในการจัดการศึกษาด้าน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของประเทศไทย สําหรับช่วงต้นของศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ชมรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยศี ึกษา สมาคมการศึกษาแหง่ ประเทศไทย.อทุ ุมพร จามรมาน. 2540. “การสรา้ งและตรวจสอบเครอื่ งมอื วิจยั .” หนา้ 319-325. ใน ทศิ นา แขมมณี และสรอ้ ยสน สกลรักษ์. แบบแผนและเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทความในวารสารผูแ้ ตง่ .//ปที พี่ มิ พ.์ //”ชื่อบทความ.”//ช่อื วารสาร.//ปที ี(่ ฉบบั ท่ี)/:/เลขหนา้ -เลขหนา้ตวั อย่างนภิ าพร ประภาศริ ิและเอ้ือน ป่ินเงนิ . 2541. “การวัดความซับซ้อนของซอฟต์แวร.์ ” สารสนเทศลาดกระบัง. 3(1) : 42-557.3 เนือ้ หาของรายงานสหกจิ ศกึ ษา โครงการสหกิจศึกษา กาํ หนดเนอ้ื หาใน สว่ นเนอ้ื เรื่อง ของ รายงานสหกิจศกึ ษาดังนี้ บทท่ี 1 บทนาํ 1.1 ความสําคญั และท่ีมาของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1.5 สถานท่ที าํ การศกึ ษา 1.5.1 ช่อื และทีต่ ัง้ ของสถานประกอบการ 1.5.2 ลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ หรอื การใหบ้ ริการหลักขององคก์ ร 1.5.3 รูปแบบการจัดองคก์ รและการบรหิ ารองค์กร 1.5.4 ตาํ แหน่งและหน้าทงี่ านทีน่ ักศึกษาไดร้ บั มอบหมาย 1.5.5 พนักงานที่ปรกึ ษา และตาํ แหน่งของพนกั งานทีป่ รึกษา 1.6 ระยะเวลาในการศึกษา 1.7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2.1 แนวคิดทฤษฎที เี่ กยี่ วข้อง 2.2 งานวจิ ัยท่เี กีย่ วขอ้ ง บทที่ 3 แผนการปฏิบตั งิ านและวิธีการศกึ ษา 3.1 แผนงานปฏบิ ัตงิ าน 3.2 รายละเอียดงานท่ีนักศึกษาปฏิบัติในงานสหกิจศึกษา หรือรายละเอียดโครงงานที่ ไดร้ ับมอบหมาย

ค่มู ือสหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 31 3.3 ขั้นตอนการดําเนนิ งานท่นี ักศึกษาปฏบิ ตั งิ านหรือโครงงาน 3.3.1 วธิ ีการศกึ ษา 3.3.2 การรวบรวมขอ้ มูลท่ใี ช้ในการศึกษา 3.3.3 เครื่องมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา 3.3.4 การวิเคราะหข์ ้อมูล 3.3.5 การวดั ผลการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผลการศกึ ษา และขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ และอภิปรายผลการศึกษา 5.2 ข้อเสนอแนะ

ค่มู อื สหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 32 ตวั อยา่ งการเขียนรายงานสหกิจ 1. ตวั อยา่ งปกนอก 1.5 นว้ิ รายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา (font TH SarabunPSK ขนาด 20 ตัวเขม้ ) การจัดการคลงั สนิ คา้ ของบรษิ ัทไทยโตชบิ าอตุ สาหกรรม จํากัดWAREHOUSE MANAGERMENT OF THAITOSHIBA ELECRICINDUSTRES CO.,LTD. (font TH SarabunPSK ขนาด 18 ตัวเข้ม) โดย นายเจนณรงค์ มลิวัลย์ 02-4932071054-7 (font TH SarabunPSK ขนาด 16 ) ปฏิบตั ิงาน ณ บรษิ ทั ไทยโตชิบาอตุ สาหกรรม จาํ กัด 161/1 หมู่ 2 ถ.ติวานนท์ ต.ทา่ ทราย อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 (font TH SarabunPSK ขนาด 16 )

ค่มู อื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 33 ตัวอย่างปกใน 1.5 นวิ้ รายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา(font TH SarabunPSK ขนาด 20 ตวั เขม้ ) การจัดการคลงั สินคา้ ของบรษิ ัทไทยโตชบิ าอตุ สาหกรรม จาํ กัดWAREHOUSE MANAGERMENT OF THAITOSHIBA ELECRICINDUSTRES CO.,LTD. (font TH SarabunPSK ขนาด 18 ตัวเข้ม) โดย นายเจนณรงค์ มลวิ ลั ย์ 024932071054-7 (font TH SarabunPSK ขนาด 16 ) ปฏบิ ัตงิ าน ณ บรษิ ัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด 161/1 หมู่ 2 ถ.ตวิ านนท์ ต.ทา่ ทราย อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 (font TH SarabunPSK ขนาด 16 )

ค่มู อื สหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 34 - ตวั อยา่ งสนั ปก – การจดั การคลังสนิ คา้Warehouse Managerment นายเจนณรงค์ มลวิ ลั ย์

คู่มอื สหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 35 - ตัวอยา่ งจดหมายนําส่งรายงาน - ห่างจากขอบกระดาษ 2 นิว้ 11 ตุลาคม 2556เร่อื ง ขอสง่ รายงานการปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษาเรียน อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา สาขาวชิ าเทคโนโลยโี ลจิสตกิ สแ์ ละการจดั การระบบขนสง่ ตามทข่ี ้าพเจา้ นายเจนณรงค์ มลิวัลย์ นกั ศึกษาสาขาวชิ า เทคโนโลยีโลจสิ ติกส์และการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถได้ไปปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา (05-360-301) ระหว่างวันที่ - มิถุนายน 2556 ถึง วันที่ - ตุลาคม 2556ในตําแหน่งนักศึกษาฝึกงาน แผนกคลังสินค้า ณ บริษัท ไทยโตชิบา จํากัด และได้รับมอบหมายจากพนักงานท่ีปรึกษา (job supervisor) ให้ทํารายงาน เรื่อง การจัดการคลังสินค้าของบริษัทไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด (Warehouse management of Thai Toshiba Electric Industries Co., Ltd.) บัดนี้ การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาได้ส้ินสุดลงแล้ว ข้าพเจ้าขอส่งรายงานจํานวน 1 เล่ม มาพร้อมน้ีเพื่อขอรบั คาํ ปรึกษาตอ่ ไป จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา ขอแสดงความนับถอื(นายเจนณรงค์ มลวิ ลั ย)์วนั ที่ เดอื น พ.ศ.

คู่มือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 36 - ตัวอยา่ งกติ ตกิ รรมประกาศ - หา่ งจากขอบกระดาษ 2 น้ิว กติ ติกรรมประกาศ ตวั เขม้ 20 พอยท์ (Acknowledgment) เคาะ 1 บรรทดั ปกติการท่ีข้าพเจ้าได้มาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ บริษัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด ตั้งแต่วันท่ี - มิถุนายน พ.ศ.2556 ถึงวันท่ี - ตุลาคม พ.ศ.2556 ทําให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้และประสบการณ์ต่างๆ ท่ีมีค่ามาก สําหรับรายงานวิชาสหกิจศึกษาฉบับน้ี สําเร็จได้ด้วยดีโดยได้รับความรว่ มมือและการสนบั สนุนจากหลายฝา่ ย ดังนี้1. คณุ เวชประสิทธ์ิ ตุ้มมงคล (SM) บริษัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด ท่ีเห็น ความสําคัญของระบบศึกษาแบบสหกิจศึกษา และได้ให้โอกาสท่ีมีคุณค่าอย่างย่ิงต่อ ขา้ พเจา้2. คณุ ......................................................................................3. คุณ.......................................................................................4. คณุ .......................................................................................5. คุณ.......................................................................................6. คณุ .......................................................................................7. คณุ ....................................................................................... และบุคลากรทา่ นอ่ืนๆ ทไี่ ม่ไดก้ ลา่ วนามทกุ ทา่ นซง่ึ ได้ใหค้ ําแนะนําช่วยเหลือในการจดั ทํารายงาน ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่วม ในการให้ข้อมูลและเป็นท่ีปรกึ ษาในการทํารายงานฉบับนีจ้ นเสร็จสมบรู ณ์ ตลอดจนใหก้ ารดูแลและให้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับชีวติ ของการทํางานจริงข้าพเจา้ ขอขอบพระคณุ ไว้ ณ ทน่ี ี้ นายเจนณรงค์ มลิวัลย์ ผู้จดั ทาํ รายงาน 11 ตลุ าคม 2556

คู่มอื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 37 - ตวั อย่าง บทคัดย่อ - ห่างจากขอบกระดาษ 2 น้ิว บทคดั ยอ่ (Abstract) ตัวเข้ม 20 พอยท์ เคาะ 1 บรรทดั ปกติ บริษัทไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด เป็นบริษัทที่ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าจําหน่ายท้ังภายในประเทศ และส่งกลับยังประเทศญี่ปุ่น จากการที่ได้เข้าปฏิบัติงานของโครงการสหกิจศึกษาในบริษัทโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในแผนกวิศวกรรม ซ่ึงเป็นแผนกท่ีสําคัญเป็นอย่างมากต่อกระบวนการผลิตเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ซึ่งในการเข้าไปปฏิบัติงานน้ัน ได้ศึกษาในส่วนของการอนุรักษ์พลังงาน โดยศึกษาถึงวิธีการอนุรักษ์พลังงานแบบต่างๆ พร้อมท้ังยังศึกษาถึงพลังงานที่ใช้ในบริษัท ซึ่งการปฏิบัตินั้นได้บันทึกการใช้พลังงานและปรับปรุงการใช้พลังงานด้าน GasLPG ไฟฟา้ น้ํามันเตาและนํ้าประปา โดยในด้าน Gas LPG ได้จัดบันทึกประจําวันของปริมาณ Gas LPGที่ใช้ของเคร่ืองจักรแต่ละตัว (ที่มีมิเตอร์วัด) ในด้านของไฟฟ้าได้ปรับปรุงประกอบกําลังของหม้อแปลงอันเน่ืองจากค่าตัวประกอบกําลังของหม้อแปลงตกลงพร้อมท้ังยังจัดแผนโครงการลดค่าความต้องการไฟฟ้าในช่วงเวลา Partial Peak ในด้านนํ้ามันเตาได้ปรับปรุงประสิทธิภาพของ Boiler ให้สูงขึ้นโดยการปรับปรุงอัตราส่วนผสมระหว่างน้ํามันเตากับอากาศ ในการเผาไหม้ให้สมบูรณ์และได้ประสิทธิภาพท่ีสูงขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยลดการใช้น้ํามันเตาของ Boiler ในด้านน้ําประปาได้มีการบันทึกการใช้นา้ํ ประปารายเดือนเพอ่ื เปน็ สถิติ และวเิ คราะห์ในการใช้พลงั งาน ในการปฏิบัติดังกล่าวข้างต้นจะส่งผลในด้านการอนุรักษ์พลังงานของบริษัท และเป็นการประหยดั ค่าใชจ่ ่ายให้กับทางบรษิ ทั ทัง้ ส้นิ

คมู่ อื สหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 38 - ตัวอย่างสารบญั - สารบญั หนา้ I เคาะ 1 บรรทดั ปกติ II IIIจดหมายนําสง่ IVกิตติกรรมประกาศ Vบทคดั ย่อ VIสารบัญ 1สารบัญตาราง 1สารบญั รปู 2บทท่ี 1 บทนาํ 3 4 1.1 รายละเอยี ดเก่ยี วกับ บรษิ ทั ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากดั 5 1.2 ลกั ษณะการประกอบการ การใหบ้ ริการหลักขององค์กร 6 1.3 รปู แบบการจดั องคก์ รและการบริหารงานขององค์กร 7 1.4 ตําแหนง่ และลกั ษณะงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายใหร้ บั ผิดชอบ 7 1.5 พนกั งานทีป่ รกึ ษา และตาํ แหนง่ งานของพนักงานทีป่ รึกษา 1.6 ระยะเวลาทีป่ ฏบิ ัตงิ าน 12บทท่ี 2 รายละเอยี ดของงานท่ปี ฏบิ ตั ิ 15 2.1 กระบวนการและเทคนิคการลดคา่ ใช้จา่ ยพลงั งาน 16 18 2.1.1 วตั ถุประสงคข์ องการประหยัดพลงั งาน 20 2.1.2 กระบวนการประหยดั พลังงาน 2.2 เทคนิคการประหยดั พลงั งานในอาคาร 25 2.2.1 การใช้พลงั งานในอาคาร 27 2.2.2 การประหยัดพลงั งานโดยการปรับปรุงกรอบอาคารและทิศทาง 29 35 ของอาคาร 37 2.3 หลักการใช้เครื่องมือ 2.3.1 หลกั การใช้เคร่อื งมือวัดการใช้พลังงานไฟฟา้ HIOKI model 3166 2.3.2 หลกั การใช้เครือ่ งมือวัดปรมิ าณกา๊ ซ Testo 300XL 300m 2.4 การประหยัดพลังงานในระบบไฟฟา้ 2.4.1 การประหยดั พลงั งานในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง

คูม่ อื สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หนา้ 39 - ตัวอย่างสารบัญ - หน้า 40 สารบญั (ตอ่ ) 45 47 2.4.2 การตรวจวัดค่าพลังงานไฟฟ้าและทําการปรงั ปรุง PF 49 2.4.3 การควบคุม Peak Demand 55 58 1) ปจั จัยทีเ่ กย่ี วข้อง 65 2) วธิ ีการควบคุม 68 2.5 การประหยดั พลังงานดา้ นนํ้ามันเตา 70 2.6 ตารางบนั ทกึ ค่าต่างๆ ที่ไดจ้ ดั ทําบทท่ี 3 สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านบทที่ 4 ปญั หาและขอ้ เสนอแนะบรรณานุกรมภาคผนวก

คู่มอื สหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หน้า 40 -ตัวอยา่ งสารบัญตาราง- สารบญั ตาราง หนา้ เคาะ 1 บรรทดั ปกติ 22 47ตารางท่ี 50ตาราง 2.1 การต่อสายวัดแรงดนั ในระบบไฟฟา้ ตา่ งๆ 60ตาราง 2.2 การตอ่ แคม้ ป์วัดกระแสในระบบไฟฟา้ ตา่ งๆ 61ตาราง 2.3 กําลงั ไฟฟา้ ก่อนการปรับปรงุ และหลักการปรบั ปรงุ PF 62ตาราง 2.4 DESCRIPTION ของหม้อแปลงลกู ที่ 3 63ตาราง 2.5 ผลการวดั ปรมิ าณก๊าซของ MP Boiler ก่อนปรับปรงุ 64ตาราง 2.6 การวดั ปรมิ าณกา๊ ซของ MP Boiler เมื่อมกี ารปรับปรุงครั้งท่ี 1 65ตาราง 2.7 การวดั ปรมิ าณกา๊ ซของ PM Boiler เม่ือมกี ารปรบั ปรุงครงั้ ที่ 2ตาราง 2.8 ผลการวดั ปรมิ าณก๊าซของ Boiler CLEAVER BROOKS ก่อนปรับปรุงตาราง 2.9 ผลการวัดปรมิ าณกา๊ ซของ Boiler CLEAVER BROOKS ปรับปรงุ ครง้ั ท่ี 1

คูม่ อื สหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 41 - ตวั อยา่ งสารบญั รปู - สารบัญรปู หน้า เคาะ 1 บรรทดั ปกติ 12 13รูปที่ 14รูปที่ 1.1 แผนผังแสดงการบริหารงานของบริษัท 18รูปท่ี 1.2 แผนผังแสดงการบริหารงานของบรษิ ทั พร้อมผ้บู รหิ าร 19รูปท่ี 1.3 แผนผังแสดงการบรหิ ารงานของฝ่ายวิศวกรรมศาสตร์ 19รูปที่ 2.1 ด้านหน้าของเครอ่ื งวดั การใชพ้ ลงั งาน 20รูปที่ 2.2 ด้านขา้ งของเครื่องวดั การใช้พลังงาน 21รูปที่ 2.3 Connector Section ของเครอ่ื งวดั การใชพ้ ลงั งาน 22รูปที่ 2.4 หนา้ จอเริม่ ตน้ ของเครือ่ งวัดการใชพ้ ลงั งาน 23รูปท่ี 2.5 การต่อแค้มป์วดั กระแส 23รูปท่ี 2.6 ปิดสวิตซ์ 25รูปที่ 2.7 การตอ่ สารเพาเวอร์ 27รูปท่ี 2.8 หนา้ จอการตรวจสอบระบบภายใน 27รปู ที่ 2.9 ย่านการวดั ของแรงดันไฟฟา้ และกระแสไฟฟา้ 28รูปท่ี 2.10 หน้าจอการตง้ั ค่าหนา้ 1 ของการวัดปกติ 28รปู ท่ี 2.11 หนา้ จอการต้ังค่าหน้า 2 ของการวัดปกติ 29รปู ท่ี 2.12 หนา้ จอการวัดค่าช่ัวขณะ 30รปู ที่ 2.13 หน้าจอการแสดงคา่ ตา่ํ สดุ -สูงสุด 31รปู ที่ 2.14 หนา้ ต่างของการบอกเวลาต่ําสุด-สูงสุด 31รปู ท่ี 2.15 หนา้ จอ Integrated Measurement Setting ½รูปท่ี 2.16 หนา้ จอการวดั ค่าสะสมรปู ท่ี 2.17 หนา้ จอการวดั สะสมแบบอตั โนมัติ

คู่มือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หนา้ 42 - ตวั อยา่ ง - ห่างจากขอบกระดาษ 2 น้ิว บทที่ 1 ตัวเขม้ 20 พอยท์ บทนํา เคาะ 1 บรรทดั ปกติกลา่ วนาํ ตัวเขม้ 16 พอยท์ในปัจจบุ ันการใชพ้ ลังงานมีเพิ่มมากขึ้น และการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมเพ่ิมมากข้ึนด้วยเช่นกันซึ่งในด้านอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานท่ีมีการใช้พลังงานในด้านต่างๆ สูง ฉะน้ันเพื่อเป็นการลดต้นทุนในการผลิต และเป็นการประหยัดทรัพยากรของประเทศ จึงได้มีการศึกษาและการอนุรักษ์พลังงานเข้ามาในหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ซึง่ ทางกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม ได้ออกพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ข้ึนเพ่ือบังคับใช้กับหน่วยงานอุตสาหกรรม ต่าง ๆ ให้มีการอนุรักษ์พลังงานมากข้นึ เคาะ 1 บรรทดั ปกติ1.1 วตั ถปุ ระสงค์ ตวั เข้ม 18 พอยท์1. เพอื่ เขา้ ใจการทาํ งานภายในบรษิ ทั ไทยโตชบิ าอตุ สาหกรรม จํากดั2. เพื่อศกึ ษากระบวนการผลติ เครื่องใช้ไฟฟ้า3. เพือ่ ศกึ ษาการใชพ้ ลงั งานภายในแผนกตา่ งๆ ของบรษิ ทั4. เพือ่ เข้าใจปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ เกี่ยวกบั พลังงานภายในบรษิ ทั5. เพือ่ ศึกษาถงึ ลักษณะการทาํ งานของบคุ ลากรภายในบริษัท6. เพื่อนาํ ทฤษฎีที่ศกึ ษามา นาํ มาใชก้ ับงานจรงิ1.2 รายละเอียดเกย่ี วกับ บริษทั ไทยโตชิบาอตุ สาหกรรม จาํ กดั บริษัทในเครอื โตชบิ าประเทศไทยมี 5 บริษทั 1. บริษัท ไทยโตชบิ าอุตสาหกรรม จํากัด (TTEI) ผลิตเครื่องไฟฟ้าภายในบ้าน ไดแ้ ก่ พัดลม ตเู้ ยน็ โทรศพั ท์ มอเตอร์ ปมั๊ น้ํา หม้อหงุ ขา้ ว กระตกิ น้ํารอ้ น เตาอบไมโครเวฟ และกะทะไฟฟา้ 2. บริษัท โตชิบาไทยแลนด์ จาํ กัด (TTC) จําหน่ายผลติ ภัณฑ์ เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ภายในบา้ น

คู่มือสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก หนา้ 43 หา่ งจากขอบกระดาษ 1.5 นิ้ว 3. บริษัท ไทยโตชิบาฟลูออเรสเซ่นท์แลมป์ จํากัด (TTCF) ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ท่ี เก่ยี วกับแกว้ ใช้ในอุตสาหกรรม เชน่ ท่อแกว้ ฝาครอบแกว้ 4. บรษิ ัท ไทยโตชบิ าไลทต์ งิ้ จาํ กดั (TTLC) ผลิตและจาํ หน่ายฟลูออเรสเซนต์และบลั ลาสต์ 5. บริษัท สวนอตุ สาหกรรมบางกะดี จาํ กดั (BIP) จดั บริการอาํ นวยความสะดวกให้กบั บริษัท ในเครอื และบรกิ ารลูกคา้ เชน่ จ่ายนํ้าดี และบาํ บัดนาํ้ เสยี1.4 เป้าหมายของบริษัท 1. ผลติ สนิ คา้ คณุ ภาพทดั เทยี มกบั ตา่ งประเทศ 2. สนองความตอ้ งการของตลาดในประเทศและการส่งออก 3. ใชว้ ตั ถุดบิ ในประเทศ 4. สง่ เสรมิ ใหค้ นไทยมงี านทํา 5. สรา้ งความเจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ1.5 นโยบายของบริษัท 1. ใชแ้ รงงานท้องถน่ิ 2. ใหค้ า่ ตอบแทนทเี่ หมาะสม 3. ส่งเสริมใหพ้ นกั งานมีความกา้ วหน้า 4. จัดสวสั ดิการตามความเหมาะสม 5. พนกั งานมีสว่ นในความคดิ รเิ รม่ิ 6. สรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผู้บรหิ าร และพนักงาน 7. สนบั สนุนให้เกดิ ความเปน็ ธรรมแก่ทุกฝา่ ย1.6 อุดมการณข์ องบริษทั 1. มุง่ มัน่ ในความเป็นเลิศ 2. เชิดชคู วามเป็นธรรม

คู่มอื สหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก หน้า 44 - ตวั อยา่ ง - ห่างจากขอบกระดาษ 2 นว้ิ บทท่ี 2การอนุรักษ์พลังงานภายในบริษัทไทยโตชบิ าอตุ สาหกรรม เคาะ 1 บรรทดั ปกติการประหยัดพลังงาน คือ ความพยายามในการใช้พลังงานน้อยท่ีสุด เพ่ือให้ได้ผลที่ดีที่สุดโดยไม่กระทบกระเทือนกิจกรรมการผลิต และไม่เป็นการลดการใช้พลังงานในส่ิงท่ีจําเป็น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ การใช้พลังงานตามความจําเป็นในขณะเดียวกันลดการสูญเสียท่ีไม่จําเป็นต่าง ๆ เพ่ือให้ประสิทธิภาพในการใชพ้ ลงั งานสูงขึ้น เคาะ 1 บรรทดั ปกติ2.1 กระบวนการและเทคนิคการลดค่าใช้จ่ายพลังงาน ตวั เขม้ 18 พอยท์ค่าใช้จ่ายพลังงานเป็นต้นทุนอย่างหน่ึงของอาคารถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายพลังงานจะมีสัดส่วนไมม่ ากเมือ่ เปรียบเทียบกบั คา่ ใช้จา่ ยด้านอ่ืนๆ ไมว่ า่ จะเป็นค่าบุคลากร ค่าวัสดุครุภัณฑ์ ค่าใช้สอยแตก่ ารลดค่าใชจ้ ่ายพลงั งานจะเป็นช่วยลดค่าใชจ้ า่ ยในงบประมาณและเพ่ิมกําไรให้แกอ่ าคาร2.1.1 วตั ถุประสงคข์ องการประหยดั พลงั งาน ตวั เขม้ 16 พอยท์วัตถุประสงค์ของการประหยัดพลังงานมีหลายอย่าง แต่เหตุผลที่สําคัญที่สุดที่เจ้าของอาคารตดั สนิ ใจดาํ เนินการประหยดั พลงั งาน คือ “ เพื่อลดคา่ ใชจ้ า่ ย ”2.1.2 กระบวนการประหยดั พลงั งาน ตัวเข้ม16 พอยท์กระบวนการประหยัดพลังงาน คือ ข้ันตอนในการนําเทคนิคประหยัดพลังงานไปใช้ดังนั้น ถึงแม้ว่าเราจะมีเทคนิคแต่ไม่สามารถนําไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานจะไม่สัมฤทธิ์ผล กระบวนการประหยดั พลังงานประกอบด้วย1. วเิ คราะห์ค่าใชจ้ า่ ยพลงั งาน2. ตรวจสอบการใช้พลังงาน ตรวจสอบลักษณะการใช้พลังงานของอุปกรณ์ต่าง ๆเพ่อื เป็นขอ้ มลู สาํ หรบั ใช้วเิ คราะห์ศักยภาพในการประหยดั พลงั งาน3. วิเคราะห์ศกั ยภาพในการประหยัดพลงั งาน เปน็ การเลือกใช้เทคนิคการประหยัดพลงั งานที่เหมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook