Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Published by learnoffice, 2022-03-09 07:46:32

Description: หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Search

Read the Text Version

ดานองคความรูที่นําไปใชกับชุมชน การคิดคํานวณตนทุนวัตถุดิบเพื่อใหสามารถ ในการดําเนินกิจกรรมในโครงการ กําหนดราคาขายใหไดกําไรตามที่ตองการได นอกจากกระบวนการถายทอดการจักสานการ รวมทั้งการใหความรูเกี่ยวกับชองทางการจัด แปรรูป เสนไผ ตั้งแตการตัดไผ ผาไผ การจกั จําหนายและการตลาด ที่มีความหลากหลาย ตอก (ผา ไผเ ปน เสน เล็ก ๆ แผน บาง ๆ) ตามขนาด มีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ซึ่งมีความ ที่ตองการแลวจึงนําไปขึ้นรูปเพื่อสานเปน ทันสมัย โดยเฉพาะการสื่อสารกับลูกคาที่มี เครื่องใชตาง ๆ ทําใหกลุมเปาหมายไดเขาใจ ความรวดเร็วคลองตัวมากขึ้นกวาในอดีต โดย การทําตั้งแตตนจนออกมาเปนผลิตภัณฑ หรือ ใชชองทางออนไลน นอกจากนั้นยังไดใหความ ชิ้นงานสําหรับจัดจําหนายได นอกเหนือจาก รูเรื่องตราสินคาและบรรจุภัณฑเพื่อสรางการ การสงเสริมความรูดานภูมิปญญาแลวทีมงาน จดจําได และใหการสนับสนุนผลิตภัณฑของ ยังไดใหความรูเกี่ยวกับการสรางกลุมอาชีพ กลุมอาชีพจักสาน ใหเขาใจถึงประโยชนที่จะไดรับจากการรวม นอกจากความรทู างวิชาการดังกลาวแลว กลุมและการหนุนเสริมขอหนวยงานภาครัฐที่ ทางทีมงานยังไดจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ จะเขามาในอนาคต ความรูเรื่องการวางแผน (Healthcare) สําหรับผูสูงอายุ โดยการแนะนํา การผลิต ใหใชของที่มีอยูในครัวเรือนมาประดิษฐใชใน เพื่อใหเขาใจถึงการเตรียมและการ การออกกําลังกาย ไดแก ตัวบีบมืออยางงาย วางแผนการผลิตใหทันเวลาตอความตองการ ไดดวยตนเอง ของลูกคา การคํานวณตนทุนผลิตภัณฑ เขาใจ ˹Ҍ ·èÕ 93

ผ ล ผ ลิ ต จ า ก ก า ร ดํ า เ นิ น โครงการ การใหความสนใจและการเขามามี สว นรว มในกจิ กรรมของโครงการยกระดบั พฒั นา คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับชุมชน ฐานราก ทาํ ใหเ กดิ ผลผลติ เปน ผลติ ภณั ฑช มุ ชน 3 ชน้ิ งาน ไดแ ก โคมไฟ ตะกรา ชะลอม ซง่ึ เปน การ เรียนรูการจักสานรูปแบบดังกลาวเปนคร้ังแรก สามารถเรยี นรแู ละทาํ ความเขา ใจกบั วธิ กี าร จักสานผลิตภัณฑแตละช้ินงานไดในเวลาจํากัด และผเู ขา รว มโครงการยงั ไดม สี ว นรว มในการ ออกแบบตราสินคาและบรรจุภัณฑเพ่ือใหเปน เอกลกั ษณข องเครอ่ื งจกั สานเมอื งไผ ˹ŒÒ·èÕ 94

ผ ล ลั พ ธ จ า ก ก า ร ดํ า เ นิ น โครงการ การรวมกิจกรรมของคนในชุมชนตําบลเมือง ไผในโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายไดใหกับชุมชนฐานราก ทําใหเกิดการรวมผูที่สนใจมาทํางานจักสาน จึงเกิดการรวมกลุมอาชีพ จักสานในตําบล เมอื งไผ จํานวน 1 กลมุ ถงึ แมจ ะเปนการรวม กลุมกันอยางไมเปนทางการ แตก็มีกิจกรรม รวมคิดรวมทํากันมาอยางตอเนื่อง สรางความ รักความสามัคคีใหเกิดขึ้นในชุมชน อีกทั้งยัง สามารถสรางรายไดเพิ่มจากงานหัตกรรมการ จักสานอกี ทางหนึ่งดว ย ˹Ҍ ·èÕ 95

ผลตอบรับจากการดําเนิน โครงการ จากการดําเนินกิจกรรมในโครงการกับกลุม รูและการทําจักสานตองฝกฝนฝมือ และ เปาหมายในตําบลเมืองไผ พบวา ผูเขารวม มีมาตรฐานดานความละเอียด เรียบรอย โครงการสวนใหญยังไมเคยทํางานจักสาน สวยงาม ใชงานไดจ รงิ จะชวยใหเกดิ รายไดจ ริง มากอน และการเขารวมกิจกรรมในครั้งนี้ เพราะในระหวา งดาํ เนนิ กจิ กรรมพบวา มผี สู นใจ เปนครั้งแรกที่ไดเรียนรูการจักสานตั้งแตเริ่ม สอบถามขอมูลสินคา ราคา และมียอดจอง คัดสรรวัตถุดิบ จากไมไผ นํามาแปรรูปให ผลิตภัณฑจักสานมาอยางตอเนื่องสรางความ เปนเสนไผขนาดตาง ๆ และสานออกมาเปน มั่นใจใหกับผูเขารวมโครงการที่จะมุงมั่นและ ภาชนะรูปทรงตามตองการ และจัดจําหนาย พัฒนาชิ้นงานเพื่อสรางยอดขายตอไป ไดจริง กระบวนการเรียนรูในกิจกรรมจึง เปนการสงเสริมการเรียนรูแบบครบวงจร ทําใหผูเขารวมโครงการรับรูไดวา การเรียน ˹Ҍ ·èÕ 96

เสียงสะทอนจากชุมชน กลุมเปาหมายที่เขารวมกิจกรรมใน โครงการไดแสดงใหเห็นถึงชิ้นงานตาง ๆ รวม ถึงกระบวนการทํางานระหวางคณะทํางาน กับชุมชน ไดรวมกันคิดรวมกันทํา และมอง เห็นถึงกระบวนการทํางานและการวางแผน รวมกัน มองเห็นความสําเร็จ และประโยชน ของชุมชนในอนาคตโดยสวนใหญชุมชน มีความเห็นดวยที่จะมีการพัฒนาอาชีพเพื่อ สรางเสริมรายไดใหกับคนในชุมชน และมี ความคาดหวังวา จะไดรับการพัฒนาจาก หนวยงานผูดําเนินโครงการอยางตอเนื่อง ให เกิดกลุมอาชีพอยางเปนรูปธรรรม เพื่อให เกิดการสรางงานสรางอาชีพ เพิ่มรายได และ มีโอกาสที่จะไดรับการสนับสนุนจากหนวย งานภาครัฐ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป ˹Ҍ ·Õè 97

ผลกระทบทางสงั คม หลังจากการดําเนินกิจกรรมในโครงการ เสรจ็ สน้ิ ตามกาํ หนดการดาํ เนนิ งานแลว จะเหน็ ไดว า คนในชมุ ชนขาดความตอ เนอ่ื งในการพฒั นา ตอ ยอด โดยเฉพาะการประชมุ หรอื การปรกึ ษา หารอื รว มกนั การแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เปน ตน ซึ่งตางคนตางมีภาระหนาที่ที่ไมสอดคลองกัน ประการตอมา สถานการณก ารแพรระบาดของ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาํ ให การพบปะของคนในชุมชนเปนไปไดยากลําบาก มากขน้ึ โดยเฉพาะเรอ่ื งการเดนิ ทาง การรวมตวั ทําใหปฏิสัมพันธระหวางกันไมตอเนื่องคนใน ชุมชนสวนใหญเปนกลุมเปราะบาง โดยเฉพาะ ผสู ูงอายุ สวนเด็กและเยาวชนยงั มี จาํ นวน นอ ยทใ่ี หค วามสนใจทจ่ี ะเรยี นรตู อ ยอดภมู ปิ ญ ญา ทอ งถน่ิ จากคนรนุ เกา ˹ŒÒ·Õè 98

ขอ เสนอแนะ แนวทางท่ีจะดําเนินการพัฒนาและตอ 1. แนวทางการสง เสรมิ กลมุ อาชพี ยอดในอนาคต สาํ หรบั กลมุ จกั สาน ทเ่ี ปน การรวม แนวทางที่จะดําเนินการพัฒนาและ ตัวกันอยางไมเปนทางการ แตเกิดการรวมตัว ตอยอดในอนาคต สําหรบั กลมุ จกั สาน ที่เปน การ กันเปน กลมุ อาชพี โดยใชช อ่ื กลมุ วา “กลมุ จกั สาน รวมตัวกันอยางไมเปนทางการ แตเกดิ การรวม เมอื งไผ” มปี ระชาชนในตาํ บลเมอื งไผใ หค วามสนใจ ตัวกันเปนกลุมอาชีพ โดยใชชื่อกลุมวา “กลุม เขา รว มโครงการ ขณะนม้ี สี มาชกิ จาํ นวน 10 คน จักสานเมอื งไผ” และมเี ปาหมายท่จี ะพัฒนาตอ เมอ่ื ไดร บั การถา ยทอดความรเู กย่ี วกบั การจกั สาน ยอดใหเ กดิ การรวมกลุมอยางเปน ทางการ โดย จากวทิ ยากรแลว พบวา สามารถถา ยทอดความรู จดทะเบยี นเปน วสิ าหกจิ ชมุ ชนเพอ่ื ใหส มาชกิ กลมุ ใหก บั สมาชกิ ไดเ ปน อยา งดี นาํ ความรทู ไ่ี ดร บั มา ไดร บั ออกแบบสรา งสรรคช น้ิ งานเพม่ิ เตมิ ได ดงั นน้ั หาก มีการสงเสริมใหขยายองคความรนู ้ใี นวงกวางใน ตาํ บลเมอื งไผ จะเปน การชว ยกนั อนรุ กั ษส บื สาน งานจักสานใหมีความตอเนื่องจากรุนสูรุน ไม สญู หายไปจากพน้ื ทม่ี ดี งั น้ี ˹Ҍ ·èÕ 99

2. แนวทางการสง เสรมิ ใหเ ปน แหลง เรยี นรู ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ กลมุ จกั สานสามารถพฒั นาตอ ยอดใหเ ปน แหลง เรยี นรใู นดา นภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ได 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธันยธร ติณภพ สมาชิกกลุมแตละคน มีความสามารถ 2. อาจารย ดร.อัญชลี เยาวราช และความถนัดในการถายทอดความรูตั้งแต 3. อาจารยปริยากร สวางศรี กระบวนการจัดหา คัดเลือกตนไผที่เหมาะสม 4. อาจารยวัชรพล วงศจันทร สายพันธที่เหมาะสม แลวนํามาแปรรูปดวย 5. อาจารยวราวุฒิ คําพานุช การจักตอก และสานออกมาเปนเครื่องใชรูป (อาจารยนักพัฒนาทองถิ่น) ทรงตาง ๆ ความสามารถในการถายอดของ สมาชิกกลุมจักสานเมืองไผ ถือไดวาเปนทุน มนุษยที่มีคุณคาตอการสืบสาน ภูมิปญญา จักสาน ซึ่งกลุมจักสานมีศักยภาพที่สามารถ ผลักดันใหเปนแหลงเรียนรูสําหรับผูสนใจ และเยาวชนไดในอนาคตได ˹ŒÒ·èÕ 100

Ãкº¼ÅÔµ¹íÒé ´èÁ× ªÁØ ª¹áÅР¡ÃдѺÊØ¢ÀÒ¾ªØÁª¹ µÓºÅ¤Åͧ䡋à¶×Íè ¹ ÍÓàÀͤÅͧËÒ´ ¨§Ñ ËÇÑ´ÊÃÐá¡ÇŒ บทนาํ ชมุ ชนตาํ บลคลองไกเ ถอ่ื น อาํ เภอคลองหาด ชุมชนสูงเมื่อเปรียบเทียบกับรายรับจากการทํา จงั หวัดสระแกว เปนพื้นที่ที่คนในชุมชนสวน เกษตรกรรมในการดาํ เนนิ โครงการคณะผดู าํ เนนิ การ ใหญทาํ อาชีพเกษตรกรรมเปน หลกั เชน ออย มุงเนนการสรางกรอบปญหาและความตองการ ขา วโพด มันสําปะหลัง ลาํ ไย ยางพารา ปาลม ของชุมชนระดับตาํ บลเพื่อกาํ หนดแผนปฏิบัติ กลวยไข โดยมีสภาพดินเปน ดินรว นหรอื ดินดาํ การแบบมีสวนรวมของชุมชนในการวางแนวทาง แดงที่เหมาะแกการเพาะปลูกพืชดังกลาว แต ลดปญหาความยากจนของประชาชนและ อยางไรก็ตามพื้นที่ตําบลคลองไกเถ่ือนก็ยัง ยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจรากฐาน ประสบปญหาการขาดแคลนน้าํ เพ่ือทาํ การ การจัดการสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตาํ บล เกษตรในฤดูแลงทาํ ใหไมสามารถทาํ การเกษตร คลองไกเ ถอ่ื น อาํ เภอคลองหาด จงั หวดั สระแกว ไดตลอดท้ังปทาํ ใหเกษตรกรยังมีรายไดตา่ํ วิธีการการดําเนินแผนงานเนนไปที่การวิจัย เนอ่ื งจากผลผลติ ทไ่ี ดย งั ไมต รงตามความตอ งการ เชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory ของตลาด ทําใหไ มไดร าคาทค่ี ุมคา กบั ตน ทนุ ท่ี Action Research) ซึ่งเปนการบูรณาการ เกษตรกรลงทนุ ไป โดยนอกจากคนในชุมชนจะ การวิจยั แบบมีสวนรว ม (Participatory Re- มีรายจายจากการทําเกษตรกรรมแลว ยังมี search) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualita- รายจา ยภายในครัวเรอื นทเ่ี กดิ ข้ึนตลอดเวลา จน tive Research) ทําใหรายจาย ภาคครัวเรือนของคนใน ˹Ҍ ·Õè 101

เพ่ือใหไดมาซ่ึงแผนพัฒนาชุมชนท่ีจะ อนั เนื่องมาจากพระราชดําริ โดยมีกลยุทธ สามารถลดความเหลื่อมลํ้าในการยกระดับ ในการสรางเครือขายชุมชนนักปฏิบัติจาก ร า ย ไ ด ข อ ง ป ร ะ ช า ช น น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ภายในและภายนอกเพ่ือรวมกันศึกษาแกไข กระบวนการทางความคิดสรางสรรคท่ีจะ ปญหาของชุมชนทองถิ่นและเสริมพลังให เพ่ิมมูลคาทรัพยากรที่ไมกอประโยชนใน ชุมชนทองถิ่นสามารถดาํ รงอยไู ดอ ยางยั่งยืน ชุมชนใหเกิดประโยชนอันสงผลใหประชาชน จัดทําโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน มีรายไดท่ีเพ่ิมสูงข้ึนกระบวนการลดปญหา และทอ งถิน่ โดยมีความรวมมอื กับหนว ยงาน ความยากจนท่ีเหมาะกับการเขาถึงของ และผูนําชุมชนในทองถิ่นอาทิเชน กํานนั ประชาชนทุกวัยไดอยางทั่วถึงและยั่งยืนและ ผใู หญบาน แกนนาํ ชุมชน อบต. และหนว ย เผยแพรองคค วามรสู ูประชาชนกลมุ อื่นๆ ได งานราชการในตาํ บลเพ่ือพัฒนาชาวบานใน นําไปประยุกตใชในการพัฒนาชุมชนของ พื้นที่ในการพัฒนาดานตางๆ นําเทคโนโลยี ตนเองตอไป และนวัตกรรมรวมไปถึงการเสริมสราง มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ องคความรูเพ่ือสรางการเรียนรูลงไปสูชุมชน ในพระบรมราชูปถัมภ เปนมหาวิทยาลัยที่ เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืนของชุมชนในอนาคต พระราชประสงคใหเปนมหาวิทยาลัยเพื่อ ตอไปจากปญ หาตา งๆ ท่ไี ดร ับฟง จากชมุ ชน การพัฒนาทองถิ่นตามพระราชบัญญัติ พบวาชุมชนตัวอยางมีความตองการแกไข มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ปญหาใน 2 ดาน คือ เพอ่ื ใหครอบคลุมพ้ืนท่ี ท่ีระบุใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศึกษา และกลุมเปาหมายของประชาชนในพ้ืนท่ี เพื่อการพัฒนาทองถิ่นเสริมพลังปญญา ชุมชนหมูท ี่ 1-11 ไมนอ ยกวา 100 ครัวเรือน ของแผน ดิน ซง่ึ สอดคลอ งกับแผนยุทธศาสตร ของตําบลคลองไกเถื่อน อําเภอคลองหาด เพอ่ื ยกคณุ ภาพมาตรฐานมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จังหวัดสระแกว โดยปญหาที่ชุมชนมีความ สูคุณภาพเปนเลิศ โดยมุงเนนการพัฒนา ตองการจะแกไขคือ คุณภาพบัณฑิตสูนักปฏิบัติอยางมืออาชีพ การยกคณุ ภาพมาตรฐานชวี ติ ของชมุ ชนทอ งถน่ิ และพ้ืนท่ใี หม คี วามเขมแข็งและย่งั ยืน พรอม ทัง้ สอดคลองกับยุทธศาสตร มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถัมภ ในประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 การพฒั นางาน พนั ธกจิ สมั พนั ธ และถา ยทอดเผยแพรโ ครงการ ˹ŒÒ·èÕ 102

1. ลดรายจา ยในภาคครวั เรอื นจากการซอ้ื นา้ํ โดยจากตารางขอมูลการคาใชจายในการ บรโิ ภค โดยจากขอ มลู พบวา ชาวบา นในชมุ ชน บรโิ ภคนํ้าของชมุ ชน พบวา ชาวบานในชุมชน มรี ายจา ย มคี า ใชจ า ยในการซอ้ื นา้ํ บรโิ ภคเดอื นละ 240 บาท ตอ ครวั เรอื น สามารถลดคา ใชจ า ยในการซอ้ื นา้ํ จากการซือ้ น้ําบริโภคดังตารางท่ี 1 เพอื่ มาบรโิ ภครอ งละ 58.33 เมือ่ ระบบผลติ ตารางที่ 1 ตารางแจกแจงรายละเอียด น้าํ ด่ืมชุมสามารถใชง านได การบริหารจัดการน้าํ ดื่มแบบรายเดือนตอ จากแนวทางการทาํ งานไดจัดทาํ โมเดล ครัวเรอื น การบริหารจัดการนาํ้ ด่ืมเพ่ือชวยลดคาใชจาย ใหชาวบา นและเพม่ิ รายไดใ หก ับหมบู าน ดงั นี้ ˹Ҍ ·èÕ 103

2. ชมุ ชนมคี วามตอ งการยกระดบั สขุ ภาพของ คนในชมุ ชน จากการรบั ฟง ปญ หากบั ชมุ ชน จงึ ไดว าง แนวทางในโครงการโดยใชน วตั กรรมและเทคโนโลยี เขา ไปชว ยเหลอื ชมุ ชนในเรอ่ื งของการผลติ นา้ํ ดม่ื ชมุ ชน พรอ มกบั การใหอ งคค วามรกู บั ชมุ ชนใน เรอ่ื งมาตรฐานการผลติ นา้ํ ดม่ื รวมไปถงึ ดบู าํ รงุ รักษาระบบใหสามารถใชงานนานและกิจกรรม การยกระดับสุขภาพของคนในชุมชนอยางมี ประสทิ ธภิ าพ โดยโครงการมวี ตั ถปุ ระสงค คอื 1. เพื่อทบทวนแผนการปฏิบัติการยก ระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได ใหก บั คนในชมุ ชนฐานราก ตาํ บลคลองไกเ ถอ่ื น อําเภอคลองหาด จงั หวัดสระแกว ใหสอดคลอง กับความตองการของตําบลโดยดําเนินงาน ตามหลักงาน 16 เปาหมาย ของกระทรวง การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม 2. เพื่อดําเนินงานตามรูปแบบชุมชน นวัตกรรมในประเด็นชุมชนวิสาหกิจเขมแข็ง ตําบลคลองไกเถื่อน โดยการดําเนินกิจกรรม สง เสรมิ และยกระดบั ความรใู นการใชเ ทคโนโลยี สาํ หรบั การผลติ นา้ํ ดม่ื และพฒั นาระบบธนาคาร นา้ํ ใตด นิ 3. เพ่ือใหช ุมชนมีคณุ ภาพชวี ิตดีขน้ึ มี รายจายลดลงรอ ยละ 10 ˹ŒÒ·èÕ 104

ผลการดาํ เนนิ งาน จากการวางแผนการดาํ เนินงานสาํ หรับ 2. ศึกษาชมุ ชนและจดั ทาํ ฐานขอ มลู ตาํ บลดาํ เนนิ กิจกรรมท้ังหมดเพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงคที่ การประมวลผลรวบรวมขอมูลจากเอกสารฐาน ไดตั้งไว ไดม กี ารกาํ หนดแผนการตา ง ๆ ดงั น้ี ขอมูลท่เี ก่ยี วของของตาํ บลเพ่อื วางกรอบในการ 1. สรา งความรว มมอื กบั หนว ยงานราชการ พฒั นารว มกนั รวมทง้ั สรปุ ประเดน็ ในการพฒั นาและ ท่ีเก่ียวของโดยการช้ีแจงแนวทางการทาํ งาน กลมุ เปา หมายในการดาํ เนนิ การในพน้ื ท่ี พรอมกับรับฟงขอเสนอแนะจากองคการบริหาร สว นตาํ บลไกเ ถอ่ื นเพอ่ื ขอปรกึ ษาหารอื ขอ แนะนาํ เกย่ี วกบั ทศิ ทางการดาํ เนนิ โครงการ และขอฐาน ขอ มลู ตาํ บลในเบอ้ื งตน ˹Ҍ ·èÕ 105

3. กาํ หนดตามแผนงานดงั น้ี 6. จัดทําสอ่ื ประชาสมั พนั ธก ารพฒั นาการ 1. ทบทวนแผนปฏบิ ตั กิ ารยกระดบั พฒั นา ยกระดับคุณภาพชีวิตและพัฒนาสินคาและ คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับคนใน พฒั นาระบบธนาคารนา้ํ ใตด นิ เพอ่ื การเกษตรและ ชมุ ชน ระบบผลติ นา้ํ ดม่ื ประจาํ ตาํ บล 2. การพฒั นาการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และ 7. ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามผล พัฒนาสินคาและพัฒนาสินคาและพัฒนาระบบ การดําเนินงาน ธนาคารนา้ํ ใตด นิ เพอ่ื การเกษตรและระบบผลติ นา้ํ 8. จัดทํารายงานผลการดําเนินโครงการ ดม่ื ประจาํ ตาํ บล และเรื่องเลาความสําเร็จโครงการ 3. ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการยกระดบั สขุ ภาพคนในชมุ ชน 4. การลงพนื้ ทีด่ ําเนินปฏิบตั ิกิจกรรมยอ ย การปรับปรงุ ระบบผลิตนํ้าด่มื ประจําตําบล 5. การลงพืน้ ท่ีดําเนนิ ปฏบิ ัติกิจกรรมยอย การตดิ ตัง้ ชุดออกกาํ ลังกายในชุมชน ˹Ҍ ·èÕ 106

ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ โครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต การกําหนดแผนและแนวทางการทํางานที่ ชุมชนและยกระดับรายไดใหกับคนในชุมชน สอดคลองกับแผนของจังหวัดสระแกว ฐานราก ตาํ บลคลองไกเ ถอ่ื น อาํ เภอคลองหาด หนวยงานราชการระดับจังหวัดสระแกว จังหวัดสระแกว ไดมีการสรางเครือขาย นายอําเภอคลองหาด สาํ นักงานพัฒนาชมุ ชน ความรวมมอื กบั หนว ยงานตา ง ๆ ทั้งภาครัฐ สํานักงานเกษตรอําเภอและหนวยงาน และเอกชน โดยมีวัตถุประสงคเดียวกัน เพื่อ ราชการระดบั อาํ เภอคลองหาด นายกองคการ รวมกันพัฒนาชุมชนใหเกิดความเขมแข็ง บริหารสวนตาํ บลคลองไกเถือ่ น กํานันตําบล การดาํ เนนิ กจิ กรรมตา ง ๆ ในการทาํ งานรว มกบั คลองไกเถ่อื น ภาคประชาชนในชมุ ชนทั้งหมด ชมุ ชน การเปด โอกาสใหไ ดแลกเปลีย่ นขอ มูล ทร่ี ว มมอื กนั ทาํ งานใหส าํ เรจ็ รวมไปถงึ เครอื ขา ย ขาวสาร รวมท้งั ประสบการณก บั บุคคลอ่นื ท่ี ภาคเอกชนในนามบรษิ ทั วัสดุและวศิ วภัณฑ อยนู อกหนว ยงาน ลดความซา้ํ ซอ นในการทาํ งาน จํากัดที่สนับสนุนวัสดุเพิ่มเติม เพื่อใหงาน และยังใหความรวมมือและทาํ งานในลักษณะ บรรลตุ ามวัตถุประสงค ทเ่ี ออ้ื ประโยชนซ ง่ึ กนั และกนั ซง่ึ มคี วามจาํ เปน อยางยิ่งที่ตองสรางความพันธที่ดีตอกันไว โดยเครอื ขา ยทไ่ี ดร ว มกนั พฒั นาชมุ ชนใหเ ขม แขง็ ในสวนของภาครัฐ ผูวาราชการจังหวัด โดยการประสานงานของมหาวิทยาลัยใน ˹Ҍ ·èÕ 107

สรุปผลการดําเนินงาน จากการดําเนินโครงการยกระดับ พัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและยกระดับรายได ใหกับคนในชมุ ชนฐานราก ตําบลคลองไกเ ถื่อน อาํ เภอคลองหาด จงั หวดั สระแกว มกี ารดาํ เนนิ งาน เพือ่ พัฒนาชุมชนใหเ กิดความเขม แข็ง จากการ ดาํ เนินกิจกรรมการพัฒนาระบบผลิตนา้ํ ด่ืม ชุมชนและกิจกรรมยกระดับสุขภาพของ คนในชุมชน โดยกิจกรรมการปรับปรุงระบบ ผลติ นา้ํ ดม่ื ชมุ ชน ทางคณะทาํ งานไดม กี ารสาํ รวจ ระบบผลิตนํ้าดื่มของชุมชน โดยในชุมชนมี ระบบผลติ นา้ํ ดม่ื เดมิ อยแู ลว โดยมกี ารดาํ เนนิ การ ตดิ ตง้ั มาในป พ.ศ. 2548 จากงบประมาณของ ภาครัฐโดยโครงการพัฒนาศักยภาพหมูบาน (S.M.L) ซึ่งระบบดังกลาวไมสามารถใชงานได ตัง้ แตป พ.ศ. 2552 จนถงึ ปจจุบนั โดยมสี าเหตุ มาจาก ชมุ ชนขาดองคค วามรใู นเรอ่ื งการบรหิ าร จัดการ การดูแลบํารุงรักษา ซึ่งจากการที่ คณะทํางานไดเขาไปสํารวจระบบผลิตนํ้าด่ืม ชุมชนรวมกับผูนาํ ชุมชนพบวาระบบโดยท่ัวไป ยงั สามารถใชง านได แตต อ งมกี ารปรบั ปรงุ บางสว น ประกอบไปดวย ระบบทอ จายนํา้ ระบบไฟฟา ระบบกรองนาํ้ และระบบฆาเช้ือ เพ่อื ใหระบบ กลบั มาใชงานไดอ กี ครั้งหนึ่ง โดยระบบผลิตน้ํา ดืม่ ชมุ ชนมเี ทคโนโลยดี ังนี้ ˹Ҍ ·èÕ 108

นวัตกรรมองคความรู เทคโนโลยี การฆาเชื้อในระบบผลติ นา้ํ ด่ืมชุมชน หมทู ่ี 10 1. เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการพัฒนา บา นทับทมิ สยาม 05 ใชเทคโนโลยีการฆา เช้ือ ระบบผลิตนา้ํ ดื่มชุมชนเพื่อใหระบบกลับมา ดวยรังสอี ลั ตราไวโอเลต (Ultraviolet Radia- ใชงานไดพบวาระบบผลิตน้าํ ด่ืมเปนระบบท่ีมี tion : UV) ซึ่งรังสียูวมี ีลักษณะเปน แสงสมี ว ง การทํางานแบบ Reverse Osmosis โดยใช มีพลังงานตํ่า มีอํานาจทะลุทะลวงนอย ไม นวตั กรรมการใชแ รงดนั อดั ระบบนา้ํ ผา นสารกรอง สามารถผานแกว พลาสติก สารละลายที่ ในกระบวนการตา ง ๆ ทง้ั หมด 4 ขน้ั ตอน มีความขุนมาก ๆ แผนฟลมนํ้ามันที่ลอยบน ประกอบไปดวยไสกรองกรองสารแขวนลอย ผิวหนานํ้า แตสามารถทะลุผานอากาศไดดี แมงกานีสตรวจจับเหล็กที่แขวนลอยในน้าํ นา้ํ สะอาดหรือสารละลายท่ีมีความขนุ ไมมาก ถา นกรองกลน่ิ และเรซน่ิ เพอ่ื ปรบั ความกระดา ง สามารถทะลุทะลวงได 1-2 มิลลิเมตร จึง ของนา้ํ โดยนา้ํ จากระบบกรองนา้ํ กระบวนการ สามารถทําลายจุลนิ ทรยี ได เฉพาะผิวเทานั้น สดุ ทา ยจะผา นการฆา เชอ้ื โรคเพอ่ื ความปลอดภยั จงึ ใชเ ปน กระบวนการสดุ ทา ย กอ นการบรรจนุ า้ํ กอนท่ีคนในชุมชนจะนําไปบริโภค โดยระบบ โดยความยาวคลื่นของรังสียูวี ที่ใชในการ ˹Ҍ ·èÕ 109

ทาํ ลายจุลินทรียในนํ้า เปนแกวพิเศษที่ยอม ท่ีถูกตองตามหลักการของวิทยาศาสตรการกีฬา ใหแ สงยวู ผี า นตลอด โดยใช ควอทซ (Quartz) โดยมกี ารรว มประชมุ กบั ผนู าํ ชมุ ชน เรอ่ื งแนวทาง หรอื แกว ทม่ี ี เนอ้ื ซลิ กิ าสงู มาก (High silica glass) การพัฒนาพื้นที่การออกกําลังกายของคนใน เพ่ือใหไดชวงคล่ืนท่ีทาํ ลายจุลินทรียไดภายใน ชมุ ชน โดยชดุ ออกกาํ ลังกายท่ีไดจัดสรางและนํา เวลาท่เี หมาะสมแสงยูวีจะทาํ ใหเกิดกระบวนการ ไปตดิ ต้ังทช่ี มุ ชนในพ้ืนที่ หมูท่ี 3 บา นเขาตางอก เปล่ยี นแปลงทางเคมีในเซลลและทาํ ใหจุลินทรีย ไดใชเทคโนโลยีการออกกําลังกายที่อวัยวะ ตายในทส่ี ดุ เพอ่ื ใหคนในชมุ ชนมคี วามปลอดภัย ทุกสวนได เพื่อใหถูกตองตามหลักวิทยาศาสตร จากการบรโิ ภคนา้ํ การกีฬา 2. เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการยกระดบั สขุ ภาพชมุ ชน เปน นวตั กรรมระบบการออกกาํ ลงั กายเพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงและสุขภาพของคน ในชมุ ชนใหด ขี น้ึ โดยมีชุดออกกาํ ลงั กายท้งั หมด 5 ชดุ และมกี ารใหอ งคค วามรดู า นการออกกาํ ลงั กาย ˹Ҍ ·Õè 110

ผลผลิตจากการดาํ เนิน โครงการ ผรู ับผิดชอบโครงการไดนาํ เทคโนโลยีเพ่อื สุขภาพที่ดีและถูกตองตามหลักวิทยาศาสตร เขาไปชวยยกระดับและลดรายจายของชุมชน ท่ีถูกตองอยางยั่งยืนในปจจุบันและอนาคต โดยใชห ลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ช ความรูของกิจกรรมน้ีท่ีผูรับผิดชอบโครงการ โดยใชก ระบวนการนาํ องคค วามรทู เ่ี ปน ประโยชน รวบรวมความรมู าได มดี งั น้ี เพอ่ื ชมุ ชนทง้ั ในปจ จบุ นั และในอนาคตวเิ คราะหผ ล 1. ชมุ ชนจะมอี งคค วามรใู นเรอ่ื งมาตรฐาน งานเพอ่ื ใชเ ปน ทนุ ใหช มุ ชนไดน าํ ไปตอ ยอดในการ การผลิตนํา้ ดูแลรักษาระบบผลิตนํ้าสาํ หรับ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ใหด ยี ง่ิ ขน้ึ ในดา นองคค วามรู ชุมชน 1. การใชเทคโนโลยีการผลิตนํ้าดื่มใน 2. ชมุ ชนจะมอี งคค วามรใู นการดแู ลรกั ษา ชุมชน เปนมิติดานเศรษฐกิจ การลดรายจาย ระบบผลติ นํา้ ดม่ื สําหรับชุมชน ของคนในชุมชนและการมีองคความรูในการ 3. ชมุ ชนจะมอี งคค วามรใู นการยกระดบั ดูแลรักษาระบบและใชความรูในการสราง สขุ ภาพ ความย่ังยืนเพื่อเปนการสรางเศรษฐกิจพอเพียง อยางยั่งยืนในอนาคต 2. การสรางองคความรูในการยกระดับ เสรมิ สรา งสขุ ภาพ เปน มติ ดิ า นสงั คม เพอ่ื เสรมิ สรา ง ˹Ҍ ·Õè 111

ผลลัพธจากการดําเนิน ผลตอบรับจากการดาํ เนิน โครงการ โครงการ ในดานการนาํ นวัตกรรมไปพัฒนาชุมชน 1. ผูนําชุมชนที่มีวิสัยทัศนในการพัฒนา มผี ลการดําเนนิ งานทีเ่ ปน รูปธรรมดังน้ี และสงเสริมใหคนในชุมชนเห็นความสําคัญ 1.ระบบการผลิตนํ้าในชุมชนกลับมา และมีความตั้งใจในการสงเสริมและสรางแรง ใชงาน เพื่อลดภาระคาใชจายใหกับชุมชน ผลักดันใหมีการสรางเครือขายในการขับ และใหความรูเรื่องมาตรฐานการใชนํ้า เคลื่อนกระบวนการเรียนรูตาง ๆ ใหเกิดขึ้น สําหรับการบริโภครวมไปถึงการดูแลรักษา ในชุมชนอยางตอเนื่องทั้งในปจจุบันและ ระบบใหสามารถใชงานในระยะยาวไดโดย อนาคต กระบวนการปรับปรุงระบบนํ้าอยูในชวง 2. ความเขมแข็งของชุมชน และตอบรับ ของการดําเนินการปรับปรุงระบบ การสงเสริมพัฒนาจากภาครัฐพรอมทั้งให 2.การยกระดับสุขภาพของคนใน ความรวมมือในการทํากิจกรรมตาง ๆ เขาใจ ชุมชนดวยการจัดทําพื้นที่สําหรับการออก และมีความตองการมีสวนรวมในการพัฒนา กําลังกายที่เพียงพอกับชุมชน โดยใหองค ชุมชน ความรูเรื่องการออกกําลังกายที่ถูกตอง 3. กลมุ เปา หมายมคี วามพรอ มดา นทักษะ ตามหลักวิทยาศาสตรการกีฬาโดยกระบวนการ ความรู ภูมิปญญา และความตั้งใจในการ อยูในชว งของการดําเนินการตดิ ต้งั ระบบ รวมพัฒนาชุมชนใหมีความรูและสามารถ แกไขปญหาเบื้องตนไดดวยตนเอง 4. ภาคเี ครอื ขา ยใหก ารสนบั สนนุ ในการให ขอมลู และใหความรว มมือในทุกๆ ดาน ˹Ҍ ·Õè 112

เสยี งสะทอ นจากชมุ ชน จากการดาํ เนินงานไปในบางสวนพบวา จึงอยากจะใหมีการนําเทคโนโลยีรวมกับ กิจกรรมที่ไดดาํ เนินงานในโครงการยกระดับ ความรูในงานวิชาการจากหนวยงานท่ีเช่ียวชาญ พัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและยกระดับรายได ดา นนเ้ี ขา ไปรว มกนั ชว ยเหลอื ในภาคเกษตรกรรม ใหก ับคนในชุมชนฐานราก ในป 2564 ตําบล ใหม ากขึ้น เปน การเพ่มิ ผลผลติ เพิม่ รายไดใหก ับ คลองไกเถอ่ื น ไดช มุ ชนตวั อยางไดรับนวัตกรรม กลุมเกษตรกรและเปนการยกระดับคุณภาพ ระบบผลิตนํ้าดื่มในชุมชนเพื่อลดรายจาย ชีวิตใหดีขึ้นกวาที่เปนอยูในปจจุบันเชน การใช ในครัวเรือนและชมุ ชนนอกพน้ื ทไ่ี ดร บั องคค วามรู พลังงานทดแทน (Renewable Energy) เขา ใช ในเรอ่ื งมาตรฐานการจดั การนา้ํ ดม่ื และองคค วามรู ดาํ เนินกิจกรรมทางดานการเกษตรเพ่ือลด ดา นการดแู ลบาํ รงุ รกั ษาระบบผลติ นา้ํ ดม่ื และองค ตน ทนุ การใชน า้ํ มนั เชอ้ื เพลงิ ในไรการใชเ ทคโนโลยี ความรดู านการยกระดับเสริมสรางสุขภาพ การควบคมุ การแบบอตั โนมตั ิ (Automatic Con- ของคนในชุมชน แตหากมองในภาพกวางของ trol) เพื่อสงเสริมการเจริญเติบโตของพืชตาม พื้นที่ตาํ บลคลองไกเถ่อื นท้งั หมดซ่งึ มีพ้นื ท่เี ปน ชวงระยะเวลา,ที่เหมาะสมและใหผลผลิตท่ีตรง บรเิ วณกวา งและประชาชนสว นใหญม อี าชพี การทาํ ตามมาตรฐานของผูซื้อทาํ ใหไดราคาท่ีเหมาะสม เกษตรกรรมเปนหลักจากการปลูกไรหลายชนิด โดยแนวทางการพัฒนาทั้งหมดเพื่อความยั่งยืน และปญ หาที่เกดิ จากการทาํ เกษตร ในเรอื่ งการ ของเกษตรกรในอนาคตตอไป ขาดนํ้าทําเกษตรกรรมในชวงหนารอนก็ยังเปน ปญ หาหลกั ทําใหผลผลิตที่ออกมาไมไดคณุ ภาพ ตามท่ีผูซ้ือตองการมีผลทาํ ใหราคาสินคาเกษตร ตกตา่ํ ในบางชว งไมค มุ คา กบั ตน ทนุ ทไ่ี ดล งไปทาํ ให เกษตรกรตดิ กบั ดกั ในการประกอบอาชพี มาตอ เนอ่ื ง ˹Ҍ ·èÕ 113

˹Ҍ ·Õè 114

ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ชมุ ชน กิจกรรมท่ีไดดาํ เนินงานในโครงการยกระดับ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนและยกระดบั รายไดใ ห กบั คนในชมุ ชนฐานราก ในป 2564 ตาํ บลคลองไก เถอ่ื น ไดด าํ เนนิ กจิ กรรม 2 ดา นคอื 1. นวัตกรรมระบบผลิตนํา้ ด่มื ในชมุ ชน เพื่อนําระบบผลิตนํ้าดื่มในพื้นที่ หมูที่ 10 บานทับทมิ สยาม 05 กลบั มาใชง านได โดยมี วัตถุประสงคเพื่อลดรายจายการซ้ือนาํ้ บริโภค ของคนในชุมชนหมูที่ 10 ลดลงรอยละ 10 จากจาํ นวนครัวเรอื นทั้งหมด 155 ครัวเรอื น โดยจากขอมูลการบริโภคนา้ํ ของชุมชนจะ สามารถลดคา ใชจ า ยไดครัวเรือนละ 140 บาท ตอเดือน เมอื่ เปรยี บเทียบเปน รายเดือนของ ชุมชนท้ังหมด 155 ครวั เรอื น จะสามารถลดคา ใชจ า ยไดครัวเรอื นละ 21,700 บาทตอเดือน และเปรียบเทียบเปนรายปของชุมชนทั้งหมด 155 ครัวเรอื น จะสามารถลดคาใชจ า ยไดครวั เรือนละ 260,400 บาทตอป สามารถแจกแจง ตามตารางท่ี 2 ˹Ҍ ·Õè 115

ตารางท่ี 2 ตารางแจกแจงรายละเอยี ดการบรหิ ารจดั การนา้ํ ดม่ื แบบทง้ั หมบู า น 155 ครวั เรอื น แบบราย เดอื นและรายป ของชมุ ชนหมทู ่ี 10 บา นทบั ทมิ สยาม 05 ตาํ บลคลองไกเ ถอ่ื น ˹Ҍ ·èÕ 116

จากตารางท่ี 2 จะพบวา เมอ่ื ระบบไดด าํ เนนิ มาตรฐานน้าํ ดื่มสําหรับการบรโิ ภค และการดูแล การเสรจ็ สน้ิ แลว นอกจากจะเปน การลดรายจา ยให บาํ รงุ รกั ษาระบบผลติ นา้ํ ดม่ื ชมุ ชน โดยประชาชน กบั ครวั เรอื นรอ ยละ 58 ตอ ครวั เรอื น ในการซอ้ื นา้ํ ในชุมชนยังไมไดรับองคความรูในเร่ืองดังกลาว บรโิ ภครายเดอื นแลว ชมุ ชนยงั มเี งนิ ทไ่ี ดจ ากการ เนอ่ื งจากมขี อ จาํ กดั ในการลงพน้ื ทด่ี าํ เนนิ งานตาม ซอ้ื นา้ํ กลบั มาเปน รายไดใ หก บั กองทนุ หมบู า นเพอ่ื ใช ทไ่ี ดก ลา วมาในขน้ั ตน ในการบรหิ ารจดั การหมบู า น คดิ เปน 186,000 บาท ตอป เปนผลทจ่ี ะเกิดข้นึ จากการดาํ เนนิ โครงการ เมอ่ื แลว เสรจ็ แตจ ากแผนการดาํ เนนิ งานระบบการ ผลิตนา้ํ ด่มื ชุมชนยังไมสามารถดาํ เนินการใหแลว เสร็จไดเน่ืองจากมีขอจาํ กัดในการลงพ้ืนท่ี ดาํ เนนิ งาน ทาํ ใหเปาหมายที่จะลดรายจายใหก ับ คนในชมุ ชนยังไมบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคทีต่ ้ังไว ผลกระทบในดานการใหองคความรูในเร่ือง ˹Ҍ ·èÕ 117

2. นวัตกรรมการยกระดับสุขภาพ จากการปรับแผนการทํางานของคณะ ชุมชนในพื้นที่ หมูที่ 3 บานเขาตางอก โดย ผูทํางานไดมีการปรับแนวทางการทาํ งานเพ่ือให การติดตั้งระบบการออกกําลังกายภายใน บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค ทงั้ ในเรื่องนวตั กรรมการ โครงการ จัดตั้งพื้นที่การออกกําลังกายของ ปรบั ปรงุ พฒั นาระบบผลติ นา้ํ ดม่ื ชมุ ชน การตดิ ตง้ั ชุมชน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับ ระบบออกกาํ ลังกายเพื่อยกระดับสุขภาพชุมชน สุขภาพของคนในชุมชนดวยอุปกรณออก รวมไปถงึ การใหองคความรขู องท้ัง 2 กจิ กรรม มี กําลังกาย ที่ถูกตองตามหลักวิทยาศาสตรกีฬา การปรับแผนการทาํ งานโดยวางแผนการติดตั้ง จํานวนครัวเรือนทั้งหมด 165 ครัวเรือน ระบบใหแลวเสร็จ ทดสอบระบบทง้ั 2 ระบบ ของชุมชนบานเขาตางอกและชุมชนใกลเคียง เพ่ือใหชมุ ชนสามารถใชประโยชน จากกจิ กรรม ที่จะไดใชบริการจากกิจกรรมนี้อยางทั่วถึง ไดและทาํ การถายทอดองคความรูไปสูชุมชน ทั้งตําบลคลองไกเถื่อน ผานระบบออนไลนเพ่ือใหประชาชนในชุมชนได รบั ผลประโยชนท เ่ี กิดขึน้ จากกจิ กรรมน้ัน ๆ ˹ŒÒ·Õè 118

ขอ เสนอแนะ 1. การใชพ ลังงานทดแทน (Renewable 4. การขยายผลเรอ่ื งการยกระดบั สุขภาพ Energy)เขาใชดําเนินกิจกรรมทางดาการเกษตร ของชุมชนดวยระบบการออกกาํ ลังกายดวย เพ่ือลดตนทุนการใชนาํ้ มันเชื้อเพลิงในไรดวย เทคโนโลยีท่ีสูงขนึ้ การติดตัง้ ระบบ โซลา เซลลส ําหรับระบบผลติ น้าํ 5. การใชเทคโนโลยีการควบคมุ การแบบ ดม่ื ชมุ ชนหมูท่ี 10 บา นทบั ทิมสยาม 05 เพือ่ ลด อตั โนมตั ิ (Automatic Control) เพ่ือสงเสรมิ คา ใชจ า ยการใชน า้ํ มันเช้ือเพลิง การเจริญเติบโตของพืชตามชวงระยะเวลาที่ 2. การขยายผลการผลิตนํ้าดื่มชุมชน เหมาะสมสาํ หรับการยกระดับการทําเกษตร ไปยังพื้นที่หมูที่ 3 บานเขาตางอก ซึ่งเปนพื้นที่ ของชมุ ชน ทม่ี รี ะบบผลติ นา้ํ ดม่ื ชมุ ชนอยแู ลว เพอ่ื ลดคา ใชจ า ย 6. การประสานงานใหเ อกชนเขาไปมีสว น ในกับคนในชุมชนและการขยายผลไปยังพ้ืนที่ รวมมากขึ้นสาํ หรับการสนับสนุนเทคโนโลยีการ อื่น ๆ จนครอบคลุมทั้งตําบล จนทําใหเปน ทําเกษตรของคนในชุมชน ภาพใหญเรื่องการลดคาใชจายดานการซ้ือนา้ํ 7. การใหอ งคค วามรูด านการสงเสริมการ บรโิ ภคของทั้งตําบล ตลาดและแปรรูปผลิตภัณฑในชุมชนเพ่ือยก 3. ขยายผลเร่ืองการยกระดับสขุ ภาพดวย ระดบั รายไดข องชมุ ชนใหสงู ขนึ้ การสนับสนุนชุดออกกาํ ลังกายชุมชนไปยังพื้นท่ี อื่นๆทม่ี รี ะหา งจากจดุ ทโ่ี ครงการมกี ารตดิ ตง้ั เพอ่ื ให ประชาชนเขา ถงึ ระบบการออกกาํ ลงั ภายมากขน้ึ ˹Ҍ ·èÕ 119

8. การใหองคความรูดานการสงเสริม 11. การจดั ทาํ สอ่ื ประชาสมั พนั ธน าํ เสนอ การตลาดดานการปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑเพ่ือ จดุ เดน ชมุ ชนในลกั ษณะตา งๆ ทง้ั ดา น เศรษฐกจิ ใหเกิดความแปลกใหมการสื่อถึงวิถีชุมชนท่ี สงั คม วฒั นธรรม เพ่อื ใหภาพของตาํ บลคลอง แสดงลงในตราสนิ คาหรอื บรรจุภัณฑ ไกเ ถอ่ื น เปนทร่ี จู ักและจงู ใจใหค นเดินทางมา 9. การพฒั นาตอยอดระบบธนาคารน้าํ สัมผัสคลองไกเถ่ือนเพ่ือใหเกิดเศรษฐกิจ ใตดนิ ทไี่ ดจดั ทําไว เพือ่ ทาํ ใหใ หน ้ําไหลลงบอ หมุนเวียนในตําบลมากขึ้นเปนการยกระดับ ใตดินไดรวดเร็วขึ้นซึ่งจะชวยปองกันปญหานา้ํ รายไดข องคนในพ้ืนท่ี ทว มขงั ในชวงฤดูฝน และสามารถกกั เก็บนาํ้ ไว ใชในฤดูแลงเพ่ิมข้ึนทําใหดินชุมนํา้ และอุมน้ํา มากยง่ิ ขึน้ ในการทําการเกษตร อาจจะขยาย ผลโดยการติดตั้งระบบสูบนา้ํ พลังงานแสง ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ อาทิตยได ชวยลดคาใชจายไดใ นอนาคต 10. การจัดทําพื้นที่นํารองสาํ หรบั พ้ืนที่ อาจารยภุมรินทร ทวิชศรี ทอ งเที่ยวเชงิ เกษตร เพื่อเพ่ิมทางเลือกในการ อาจารยศิลปชัย กลิ่นไกล เพิ่มรายไดจากการทองเท่ียวการขายสินคา อาจารยวีระพงศ ทองสา ชุมชนโดยกลุมผลิตสนิ คาชมุ ชน อาจารยเทวกุล จันทรขามปอม อาจารยปุณณานันท พันธแกน ˹ŒÒ·èÕ 120

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ¼ŒÒÁÑ´ÂŒÍÁ ÊÕ¡ÒºÁоÃÒŒ Ç µÓºÅ¤Åͧ¹Òíé ãÊ ÍÓàÀÍÍÃÞÑ »ÃÐà·È ¨Ñ§ËÇ´Ñ ÊÃÐá¡ŒÇ บทนาํ ดานสังคม : จากการนาํ เสนอขอมูลของ ดา นเศรษฐกจิ : ประชาชนในพื้นท่ี ผใู หญบา นทงั้ 12 หมบู าน พบวา ตาํ บลคลองนา้ํ ตําบลคลองนาํ้ ใสมีรายไดจากการขายผลผลิต ใสไมพ บ ความขัดแยง ภายในชุมชน สว นใหญ ทางการเกษตร ซึ่งสว นใหญ คือ ขาวและออ ย มีผูสูงอายุอาศัยอยูในชุมชน และวัยแรงงาน รองลงมาเปนรายไดจ ากการรบั จา งทั่วไป ออกไปทาํ งานในกรุงเทพฯ แตจากสถานการณ ดานสงิ่ แวดลอม : ชุมชนตําบลคลองนํ้า การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ทําให ใสมีปญหาขาดแคลนนา้ํ เพื่อการอุปโภคและ วัยแรงงานบางสวนเดินทางกลับภูมิลาํ เนา บริโภค น้าํ สําหรับการบรโิ ภค ไดม าจากการซื้อ เน่ืองจากผูประกอบการบางรายปดกิจการ จากผูผ ลติ นา้ํ เพอื่ จําหนา ยเพียงรายเดยี ว สว น ลดจํานวนพนักงาน และบางสวนถูกลดคาแรง นา้ํ สําหรับการทาํ การเกษตรในหนาแลง หรือเงินเดือนลง ทําใหรายรับไมเพียงพอกับ ขาดแคลนนํ้า นํ้าไมเพียงพอสําหรับการทํา รายจายหากยังอาศัยอยูที่กรุงเทพฯ จึงได การเกษตร แมจะมีแหลงนํ้าตามธรรมชาติ เดินทางกลับภูมิลําเนา ความสัมพันธของ และแหลงนา้ํ ท่สี รางขึน้ จาํ นวนมากก็ตาม คนในชุมชน มีลักษณะเปนเครือญาติ ˹ŒÒ·èÕ 121

ดานวัฒนธรรม : ประชาชนในพื้นที่ ตา ง ๆ ดว ยความเตม็ ใจ ความเปน ชมุ ชนเขม แขง็ ตาํ บลคลองนา้ํ ใสสวนใหญอพยพมาจาก มีความสามัคคีและพรอมที่จะไดรับการพัฒนา เมืองเวียงจันทร หลวงพระบาง ที่มาพรอมกัน ไปดวยกันอยางเตม็ ที่ หลายกลมุ ไดแ ก กลมุ ไทยใหญ ไทยญอ ไทยนอ ย ไทยยอย จึงมีความหลากหลายทั้งดานภาษา วฒั นธรรม และประเพณี นอกจากนก้ี ลมุ ไทยญอ เองยังไดนาํ เอาภาษาและวัฒนธรรมประจาํ ถ่ิน มาดว ย คอื ภาษาไทยญอ และประเพณขี น้ึ เขา ปราสาทผง้ึ ในชว งกอ นเขา พรรษา ขอ คน พบ : จากการศึกษาพื้นทตี่ ําบล คลองนํ้าใส การสมั ภาษณพูดคยุ กับผนู ําชมุ ชน และประชาชนในชุมชน โดยเฉพาะอยางย่ิง กลมุ เปาหมาย คณะทํางานไดเห็นถงึ ความรวม มือของหนว ยงานตา ง ๆ ความกระตอื รือรนใน การแสดงออกถึงการมีสวนรวมกับกิจกรรม ˹ŒÒ·Õè 122

ผลการดาํ เนินงาน การศึกษาปญหาและความตองการ 2. ผูสูงอายุในชุมชนมีความกังวล เกิด ของชมุ ชนในพน้ื ทต่ี าํ บลคลองนา้ํ ใส หมทู ่ี 1-12 ความเครียดจากการวางงานและขาวสารเก่ียว สรุปประเด็นปญหาและความตองการของ กับโรคไวรัสโคโรนา ดังนั้นหากมีอาชีพเสริมที่ ชมุ ชน ดงั น้ี สามารถทําไดทบ่ี านหรือในครอบครัว นอกจาก 1. ชุมชนอยากมีอาชีพเสริมที่สามารถ จะเพิ่มรายไดแลว ยังเปนกจิ กรรมท่ีใหผ สู งู อายุ สรางรายไดเพิ่มจากอาชีพหลัก เนื่องจาก ไดทาํ เพอ่ื ผอนคลายความกังวลจากสถานการณ ในปจจุบันมีรายได ไมเพียงพอกับรายจาย ดงั กลา วไดด ว ย ซ่ึงสวนหนึ่งเปนผลพวงมาจากสถานการณ 3. อยากใหมีการสงเสริมการรวมกลุม การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ตง้ั แตต น อาชีพที่เปนรูปธรรมชัดเจนและยั่งยืน รวมทั้ง ป 2563 ทําใหรายไดทีม่ าจากการทาํ งานรับจาง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ที่ไดรับการพัฒนา การเปนพนักงาน การคาขาย หรือรวมไปถึง ฝก อบรมใหม คี วามตอ เนอ่ื ง อยากเรยี นรเู กย่ี วกบั รายไดจากแหลงทองเที่ยว (วัดเขานอ ยสีชมพู) การพัฒนาผลิตภัณฑและชองทางการตลาด ลดลงไปดวย รวมทั้งความหวั่นเกรงกับโรคตดิ หรือแหลงขายสินคาท่ีสามารถทาํ ใหการขาย เช้อื ดงั กลาว สนิ คา ในสภาวะทม่ี กี ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ ได เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถสรา งรายไดไ ดอ กี ชอ งทางหนง่ึ ˹Ҍ ·Õè 123

นอกจากนี้ ผูนําชุมชนและนายก ซึ่งยังมีเหลือในปริมาณที่มาก จึงคิดวาอาจ องคการบริหารสวนตําบลคลองนํ้าใสยัง จะสามารถนํามาสรางประโยชนหรือเพิ่ม เสนอประเด็นกี่ยวกับ ใบมะพราวและกาบ มูลคาได มะพราว ซึ่งในตําบลคลองนํ้าใสมีปริมาณ ตนมะพราวที่ชาวบานปลูกไวจํานวนมาก ทางมะพราวแกที่หลุดรวงจากตน ชาวบาน จะนํามาเหลาเพื่อเอาทางมะพราวสงขายให กับพอคาแมคาที่มารับซื้อ เพื่อไปทําเปน ไมกวาดทางมะพราว แตไดราคาที่คอนขาง ตํ่า คือ ราคาประมาณกิโลกรัมละ 15 บาท ชาวบานบางคนนําไปสุมโคนตนไม บางชนิด เพื่อประโยชนในทางการเกษตร แตยังมีสวนหนึ่งที่ปลอยทิ้งไว หรือกําจัดทิ้ง โดยการเผา สรางมลภาวะทางอากาศ และ ทําใหหนาดินสูญเสียแรธาตุ สว นกาบมะพรา ว ชาวบานนําไปปลูกตนไม คลุมหนาดินตนไม ˹Ҍ ·èÕ 124

การคืนขอมูลกิจกรรมที่จะดําเนินการสูชุมชน 1. กิจกรรมการสรางนวัตกรรมสินคา ชุมชน: การยอมสีผาจากกาบมะพราว ในพ้ืนทีต่ าํ บลคลองนํ้าใส โจทยการพัฒนาชุมชนตาํ บลคลองนา้ํ ใส 2. กิจกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ และนาํ เสนอกิจกรรมท่ีผานการวิเคราะหและ ผายอมสีธรรมชาติจากกาบมะพราว สงั เคราะห โดยใชขอมูลพื้นฐานตาง ๆ รวมถงึ 3. กจิ กรรมการสงเสริมและดําเนนิ การ สภาพปญหาของชมุ ชน ประเดน็ ความตองการ จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนอาหารไกจาก ของชุมชน จึงไดเสนอกิจกรรมในการพฒั นา ผักไชยา (ขยายผลจากกจิ กรรมในโครงการยก ชุมชน เปนการอบรมใหความรูเกี่ยวกับการ ระดบั คณุ ภาพชีวติ ชมุ ชนและทอ งถิน่ ระยะท่ี 2 สรางอาชีพและสงเสริมการรวมกลุมอาชีพ ปงบประมาณ 2563) โดยมกี ิจกรรมทีจ่ ะดําเนนิ การ 3 กิจกรรม ดงั น้ี ˹ŒÒ·Õè 125

การอบรมใหความรูเกี่ยวกับการสรางอาชีพ และสงเสริมการรวมกลุมอาชีพ 3. นําผาที่แชสารสมแลวนํามามัดลาย กิจกรรมการสรางนวัตกรรมสินคา ตามความชอบ ชุมชน: การยอมสีผาจากกาบมะพราว 4. นําผาไปยอมในนํ้าสีกาบมะพราว จากการที่ในพื้นที่ตําบลคลองนํ้าใส ประมาณ 1 - 2 ช่ัวโมง (ถาตองการสอี อ นกแ็ ช มีตน มะพรา วเปน จาํ นวนคอนขางมาก ผลแหง ประมาณ 30 - 45 นาที ถาตองใหผาสเี ขม ก็ มะพราว ชาวบานนํามาปอกเปลือกและใช ประมาณ 1 - 2 ชัว่ โมง) ระหวางนีใ้ หคนใหทัว่ บริโภคในครอบครัว และมีสงขายบาง สวน ทกุ 15 นาที กาบมะพราว ที่ไดมากก็กองรวมกันไว 5. นาํ ผา ทย่ี อ มสเี สรจ็ แลว ไปลา งและซกั อาจมีบางสวนถูกนําไปใชในการปลูกตนไม ดว ยนา้ํ เปลา 1 ครง้ั จากนน้ั นาํ ไปตากใหแ หง หรือปกคลุมดินเพื่อเก็บกักความชื้นใหกับ 6. ถา เปน การยอ มเสอ้ื ผา สาํ เรจ็ รปู เมอ่ื ตนไมหรือพืช สวนที่เหลือก็วางทิ้งไว กําจัด แหง แลว นาํ ไปซกั ดว ยนา้ํ ยาซกั ผา หรอื ผงซกั ฟอก ทิ้งโดยการเผา สรางมลภาวะทางอากาศ และ 1 ครง้ั ถา เปน ผา ผนื สามารถนาํ ไปแปรรปู เปน ทําใหหนาดินสูญเสียแรธาตุ ผลติ ภณั ฑต า ง ๆ ได การยอมสีผา ดวยสจี ากกาบมะพราว นา้ํ สจี ากกาบมะพรา วขยุ มะพรา วสามารถ 1. นํานาํ้ สีกาบมะพรา วท่เี ตรยี มไวม าตม เกบ็ ไวใ ชไ ด แตต องนาํ มาอุน ทุก ๆ 2 วัน หาก ใหเ ดือด เตมิ นํา้ ยากนั สีตก และเติมเกลอื ตม ผา ตองการ สเี ขมก็ใสเปลือกมะพรา วมาก สีออนก็ ประมาณ 0.5 กิโลกรมั ใสน อ ย 2. นําผาหรือเสื้อที่จะยอม ไปแชในนํ้า ละลายสารสมที่ตมพออุน ประมาณ 5-10 นาที ˹ŒÒ·Õè 126

กิจกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑผายอมสี กรรมการกลุม ฯ และการตัง้ ช่ือกลุมฯ ธรรมชาติจากกาบมะพราว ระเบยี บวาระที่ 2 เรอ่ื งเพ่อื ทราบ การออกแบบและการขน้ึ รปู ผา เพอ่ื แปรรปู ระเบยี บวาระที่ 3 เรอ่ื งเพ่อื พจิ ารณา เปน ผลติ ภณั ฑ ระเบยี บวาระท่ี 4 เรือ่ งอื่น ๆ (ถามี) 1.นาํ กระดาษวาดแบบท่ีตัดเปนรูป ซงึ่ สรุปผลการประชมุ มีดังน้ี ผลติ ภณั ฑไ วแ ลว มาวางบนผา ทต่ี อ งการแปรรปู ทป่ี ระชมุ มมี ตใิ หน ายสวุ ชิ า เกดิ นา้ํ ใส เปน 2. ตดั ผา ตามรปู ทรงและแบบของกระดาษ ประธานกลมุ และดําเนินการจดั ประชุมตอไป วาดแบบ ใ น ท่ี ป ร ะ ชุ ม พิ จ า ร ณ า คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ 3. ทาํ การเย็บตามรูปแบบของผลติ ภณั ฑ รบั รองคณะกรรมการกลุมฯ โดยที่ประชุมเสนอ ซึ่งสามารถเย็บไดทั้งใชเข็มเย็บดวยมือหรือจักร บคุ คลเปน คณะกรรมการกลุม จาํ นวน 10 ราย เยบ็ ผา สมาชิกที่เขารวมประชุมไดมีการพิจารณาและ ตั้งชอ่ื กลมุ ดงั นี้ ชอ่ื “วิสาหกิจชุมชนกลุมผา กิจกรรมการสงเสริมและดําเนินการจด ยอมสีจากกาบมะพราวและกลุมอาหารไกจาก ทะเบียนวิสาหกิจชุมชนอาหารไกจากผัก ผักไชยา” ไชยา การประชุมเพ่ือจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนซึ่ง มีเขารวมการประชุม จํานวน 15 คน โดย กําหนดระเบียบวาระการประชุม ดังน้ี ระเบียบวาระท่ี 1 การคดั เลือกคณะ ˹Ҍ ·Õè 127

ประธานกลุมไดชี้แจงเรื่องการมอบ ดาํ เนนิ การจดั ซอ้ื วสั ดุ และผรู บั ผดิ ชอบการตลาด หมายผูรับผิดชอบเปนผูมีอํานาจทําการแทน และการประชาสัมพันธ โดยคณะผูวิจัยได ในการจดทะเบียน ตอทะเบียน ปรับปรุง อํานวยความสะดวกและประสานงานระหวาง วิสาหกิจชุมชน และการดําเนินงานอื่น ๆ ใน ชุมชนกับสํานักงานเกษตรอําภออรัญประเทศ นามของวิสาหกิจชุมชน และการมอบหมาย ในการดําเนินการเพื่อขอจดทะเบียน ผูรับผิดชอบดานตาง ๆ ในวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชน และไดรับเอกสารยืนยัน ไดแก ผูรับผิดชอบดําเนินการจัดหาวัตถุดิบ เปนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียน เพื่อใชในการผลิต ผูรับผิดชอบหลักในการ วิสาหกิจชุมชน ควบคุมดําเนินการผลิตสินคา ผูรับผิดชอบ ˹Ҍ ·Õè 128

ภาคเี ครอื ขา ยทเ่ี กย่ี วขอ ง รว มคดิ รว มทาํ แบบพนั ธมติ รและหนุ สว น หนว ยงานทส่ี ามารถตอ ยอดและรว มพฒั นาผลงาน (Partnership) ของมหาวิทยาลัยใหไดรับการยกระดับเปน การดาํ เนนิ โครงการฯ จะเปน การดาํ เนนิ กลมุ วสิ าหกจิ ได อกี ทง้ั วสิ าหกจิ ชมุ ชนกลมุ ผา บาตกิ กิจกรรมในรูปแบบการมีสวนรวมตลอดท้ัง ตาํ บลโคกเพลาะ จงั หวดั ชลบรุ ี และวสิ าหกจิ ชมุ ชน กระบวนการ ประกอบดว ย ชมุ ชนทเ่ี ปน เปา หมาย กลมุ ผาบาติกและเสนลายทองอาํ เภอบานโพธ์ิ หลักท่สี ามารถรวมขับเคล่อื นและพัฒนารวมกับ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ที่สนบั สนุนองคค วามรูดา น มหาวทิ ยาลยั และภาคเี ครอื ขา ยตา ง ๆ ประกอบดว ย การยอ มสผี า และการแปรรปู ผา ใหเ ปน ผลติ ภณั ฑ องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลคลองนา้ํ ใสทส่ี นบั สนนุ ทม่ี คี วามหลากหลาย เพอ่ื ใหช มุ ชนสามารถดาํ เนนิ ขอ มลู พน้ื ฐานของชมุ ชนเพอ่ื ประกอบการวางแผน กิจกรรมและสรางอาชีพสรางรายใหกับชุมชน การดาํ เนนิ กจิ กรรมทส่ี าํ คญั รวมถงึ สมาชกิ ชมุ ชน อยา งยง่ั ยนื ตาํ บลคลองนา้ํ ใส ทใ่ี หค วามรว มมอื ในการดาํ เนนิ กิจกรรมกลุมท่ีสะทอนถึงสภาพปญหาและ ศกั ยภาพชองชมุ ชน พฒั นาชมุ ชนจงั หวดั สระแกว เปน หนว ยงานทส่ี นบั สนนุ การดาํ เนนิ กจิ กรรมของ มหาวิทยาลัยในดานการจดทะเบียนรวมกลุม วิสาหกิจชุมชน เกษตรจังหวัดสระแกวเปน ˹ŒÒ·Õè 129

เกิดประโยชนรวมกันแกผูเกี่ยวของทุก อีกท้ังหนวยงานวิสาหกิจชุมชนกลุมผา ฝาย (Mutual benefits) บาตกิ ตาํ บลโคกเพลาะ จงั หวดั ชลบรุ แี ละวสิ าหกจิ หนวยงานที่เขารวมดําเนินกิจกรรม ชมุ ชน กลุมผา บาติกและเสน ลายทอง อาํ เภอ ในตําบลคลองนํ้าใสในครั้งนี้จะกอใหเกิด บานโพธิ์ จังหวดั ฉะเชิงเทรา ทเี่ ขา มามสี ว นรว ม ประโยชนตามพันธกิจของหนวยงาน อาทิ ในการดาํ เนินกิจกรรมสามารถถายทอดองค มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรม ความรูในดานการยอมผาดวยสีธรรมชาติและ ราชปู ถมั ภ ไดด าํ เนนิ งานตามพนั ธกจิ ทม่ี งุ พฒั นา การแปรรูปผาใหเกิดเปนผลิตภัณฑในรูปแบบ ทอ งถน่ิ ใหม คี วามมน่ั คง มั่งคั่งและยั่งยืน โดย ตา ง ๆ ท้ังนี้ในทกุ ภาคสวนมีเปา หมายท่สี ําคัญ อาศัยองคความรูและศักยภาพของคณาจารย คือการพัฒนาชุมชนและทองถิ่นใหมีความ ในการพัฒนาที่มีชุมชนเปนเปาหมายหลัก ยั่งยืน ทง้ั นม้ี หาวทิ ยาลยั จะไดร บั การพฒั นาองคค วามรู อยางไรก็ตามภาคประชาชนในตําบล เพื่อเปนแนวทางการดําเนินงานในอนาคต คลองน้าํ ใสไดรับองคความรูท่ีเปนประโยชน ตอไปรวมถึงหนวยงานพัฒนาชุมชน ที่มีเปา และสามารถสรางนวัตกรรมท่ีโดดเดนใหเกิด มุงพัฒนาทองถิ่นใหมีความมั่นคงในทุกมิติ ขึ้นในชุมชนโดยอาศัยกระบวนการมีสวนรวม เพ่ือนําไปสูการพัฒนาภาพรวมในระดับจังหวัด ของภาคีเครือขายที่เขมแข็งดังน้ันจะเห็นไดวา ซึ่งการมารวมดําเนินงานกับมหาวิทยาลัย ทุกภาคสวนที่รวมดาํ เนินกิจกรรมสามารถได ในครั้งนี้ หนวยงานจะไดร บั ฐานขอมลู ที่สําคญั รับประโยชนรวมกันทุกฝายท่ีนาํ ไปสูการ ในพฒั นาชมุ ชนในตาํ บลคลองนา้ํ ใส เชน เดยี วกบั พัฒนาชุมชนและทองถ่ินใหเกิดความยั่งยืนใน หนวยงานเกษตรจังหวัดที่จะไดรับขอมูลที่ มิติเชิงการปฏบิ ตั แิ ละเชงิ นโยบาย เปนพืน้ ฐานดา นการพฒั นา การเกษตร รวมถงึ การเลี้ยงสัตว (การเลีย้ งไก และเลี้ยงกบ) ใน ตําบลคลองนํ้าใส ˹Ҍ ·Õè 130

เกดิ การเรยี นรรู ว มกนั และเกดิ ผลงานวชิ าการ ชุมชนมาเปน ปจ จยั ทส่ี าํ คญั ในการพฒั นา ซง่ึ จะ (Knowledge sharing and scholarship) นาํ ไปสกู ารสรางนวัตกรรมชุมชนและกอใหเกิด การดาํ เนินโครงการฯ ในครง้ั นี้ เปนการ ความเปน ชุมชนนวัตกรรม โดยเปาหมายหลกั ดําเนินงานแบบมีสวนรวม ซ่ึงจะกอ ใหเ กิดการ คอื การรว มคดิ รวมทําและรว มรบั ผลประโยชน แลกเปลี่ยนระหวางประสบการณของชุมชน อกี ทง้ั ในภาควชิ าการจะกอ ใหเ กดิ ผลงานการพฒั นา และองคค วามรขู องเครอื ขา ยรว มกบั มหาวทิ ยาลยั เชิงพื้นที่ตามเปาหมายของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะสงผลใหเกิดความรูในรูปแบบที่ 3 คือ ทั้งนี้การพัฒนาชุมชนตําบลคลองนํ้าใสนั้นจะ การผสมผสานองคความรูระหวางสามสวน นาํ ไปสูการถอดบทเรียนความสาํ เร็จเพ่ือนาํ สู ทั้งนี้จะมีการแลกเปล่ียนขอมูลดานการยอมสี การขยายผลและพฒั นาเปน หลกั สตู ร กระบวนการ จากธรรมชาติและทรัพยากรท่ีสําคัญในชุมชน ถายทอดองคความรูดานการยอมสีผาจากสี ในการนาํ มาเปนวัตถุดิบหลักในการยอมสีผา ธรรมชาติและการผลิตอาหารสัตวจากใบไชยา คือ กาบมะพรา ว โดยทกุ หนวยงานภาคีเครอื เพ่ือใหชมุ ชนเปนผูขับเคลือ่ นตอไป ขายจะผนึกกําลังเพื่อใหชุมชนสามารถ ดํารง อยูไดดวยตนเอง และมีการใชทรัพยากรของ ˹Ҍ ·Õè 131

สรุปผลการดําเนินงาน นวัตกรรมกระบวนการ 3s Model อยไู ดอ ยา งพอเพียง นอกจากน้ียงั เปนการผลิต ผานกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนกับ ผลิตภัณฑที่ตอบสนองความตองการของสังคม มหาวิทยาลัยฯ ไดแก ในปจ จบุ นั ทม่ี งุ เนน กระแสการเลอื กใชผ ลติ ภณั ฑ 1. Shift การยกระดบั คุณภาพชวี ติ โดย ท่ีเปนมิตรตอตัวเองและส่ิงแวดลอมและการ เขา ใจ เขาถึง เพ่ิมศักยภาพ และพัฒนาไปสู อนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ ม นวัตกรรมตามสภาพปญหาหรือความตองการ 3. Social สถานะในสงั คมและเครือขา ย ของชุมชน ดว ยกจิ กรรมการฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิ ที่ประสานรวมมือ การประสานความรวมมือ การการยอมสีผาจากกาบมะพราว ซึ่งเปน กับเครือขายประชารัฐหรือหนวยงานอ่ืนที่ กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม เก่ยี วของไดแก องคการบริหารสวนตาํ บลคลอง เปาหมายของตําบลคลองนํา้ ใส วทิ ยากร และ น้าํ ใส สาํ นกั งานเกษตรจงั หวดั และเกษตรอาํ เภอ คณะผูวิจัย องคความรูที่เกิดขึ้นสามารถนําไป และกลุมผูนําชุมชนทั้ง 12 หมูบาน เกิดการ ตอยอดและสรางประโยชนใหกับคนใน แลกเปลี่ยนเรียนรู มองเห็นทิศทางและภาพ ชุมชน นวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกจิ กรรมครัง้ นี้ คอื กระบวนการพัฒนาชุมชนตําบลคลองน้ําใส การสกัดสีจากกาบมะพราวและนํามายอมผา ชัดเจนตรงตามเปาหมาย ยอมเสน ดา ย หรือผา ไหม เกิดเปนองคค วามรูท ี่ ชุมชนสามารถนาํ ไปสูการผลิตเพื่อจําหนาย เปนสินคาและผลติ ภณั ฑชมุ ชน สรา งรายไดใ ห เกิดกบั ชุมชน 2. Sustainable ความพอเพียงดาน ความเปนอยูและเศรษฐกจิ สรา งรายไดเสรมิ ให กบั กลมุ เปา หมาย ดว ยการใหค วามรผู า นกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการการแปรรูปผายอมสี จากกาบมะพรา ว ดว ยการเปลี่ยนกระบวนการ คิดใหกับกลมุ เปา หมาย และฝกทกั ษะในการทาํ ทส่ี ามารถจาํ หนา ยมรี ายไดเ พม่ิ เปน ผลติ ภณั ฑใ หม ทเี่ ปนสนิ คาชมุ ชน ไดแก เสื้อ มัดยอ ม กระเปา ผา ถงุ ใสแ กว กาแฟ และแมส เพอ่ื สรา งความยง่ั ยนื ˹Ҍ ·èÕ 132

ผลผลติ จากการดาํ เนนิ โครงการ มดี งั น้ี ในการประกอบอาชพี ของกลมุ เปา หมายในชมุ ชน การยอ มสผี า จากกาบมะพรา ว ผลผลติ ท่ี ตาํ บลคลองนา้ํ ใส เกดิ ขน้ึ คอื เกดิ เปน นวตั กรรมสยี อ มผา จากกาบ จากการจัดต้งั กลมุ อาชีพและจดทะเบียน มะพรา วและผลติ ภณั ฑช มุ ชน ซง่ึ เปน สง่ิ ทช่ี มุ ชน วสิ าหกจิ ชมุ ชนขน้ึ มา ทาํ ใหเ กดิ กระบวนการ ไมเ คยมมี ากอ น สามารถสรา งคณุ คา และเพม่ิ มลู คา ดาํ เนนิ กจิ กรรมของศนู ยก ารเรยี นรู เพอ่ื ขบั เคลอ่ื น ของผลติ ภณั ฑต า ง ๆ ไดม ากขน้ึ และยงั ตอบโจทย กิจกรรมของกลมุ ผายอมสีจากกาบมะพราวข้นึ ความตองการของสังคมปจจุบันท่ใี หความสนใจ เกดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรดู า นสมั มาชพี ทง้ั การ ในเรอ่ื งของสง่ิ แวดลอ มและสนิ คา ทเ่ี ปน มติ รตอ สง่ิ ยอ มสผี า การทอผา และการทาํ อาหารไกจ ากผกั แวดลอ ม เพราะสยี อ มผา จากกาบมะพรา วทส่ี กดั ไชยา ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ ออกมา เปน สที ไ่ี ดจ ากธรรมชาติ 100% ไมเ ตมิ สาร ชุมชนเล็งเห็นถึงความสาํ คัญและคุณคาแหงการ ทเ่ี ปน เคมลี งไปในกระบวนการผลติ ทาํ ให เรยี นรแู ละถา ยทอดองคค วามรตู า ง ๆ เหลา นน้ั ปลอดภยั ตอ ผบู รโิ ภค และชาวบานก็เห็นวาการมีศูนยกลางหรือแหลง การแปรรปู ผลติ ภณั ฑผ า ผลผลติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เรยี นรทู ส่ี ามารถรวบรวมองคค วามรตู า ง ๆ ของ คอื ผลติ ภณั ฑท เ่ี ปน สนิ คา ชมุ ชน โดยมเี อกลกั ษณ การประกอบอาชพี ของกลมุ หรอื สมั มาชพี อน่ื ๆ ไว เปน ของชุมชน คอื เปน ผลติ ภัณฑท ี่ไดจาก นา จะเกดิ ประโยชนต อ ชมุ ชนเปน อยา งยง่ิ จงึ ได ธรรมชาติ มสี สี นั ทส่ี วยงาม แปลกตา และความ ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นภ ายในศนู ยท อผา ทต่ี ง้ั อยใู นพน้ื ท่ี ปลอดภัยจากการไมมีสารเคมีเปนสวนผสมใน หมู 6 เพอ่ื ใหเ ปน แหลง สาํ หรบั การเรยี นรอู งคค วาม กระบวนการผลติ ซง่ึ การแปรรปู เปน ผลติ ภณั ฑท ่ี รแู ละภมู ปิ ญ ญาของชมุ ชน เชน การเลย้ี งไกพ น้ื กลมุ เปา หมายไดฝ ก ปฏบิ ตั จิ รงิ ไดแ ก เสอ้ื ยดื มดั บา น การเลย้ี งกบ เปน ตน รวมถงึ เปน แหลง ยอ ม กระเปา ผา ถงุ ใสแ กว กาแฟ และแมส รวบรวมสนิ คา ชมุ ชนเพอ่ื จาํ หนา ยและใหน กั ทอ ง ผลผลติ จากการดาํ เนนิ โครงการในกจิ กรรม เทย่ี วหรอื ผทู ส่ี นใจเขา มาเยย่ี มชมได นีท้ ี่เกดิ ขึ้นอีก คอื มีการเสนอการจดั ต้งั กลุม สมั มาชพี เพอ่ื ขอจดทะเบยี นวสิ าหกจิ ชมุ ชน 1 กลมุ ชอ่ื วา “วสิ าหกจิ ชมุ ชนผา มดั ยอ มสกี าบมะพรา ว และการทาํ อาหารไกจ ากผกั ไชยา” ซง่ึ เปน เครอื ขายอาชีพท่ีสามารถพ่ึงพาตนเองไดตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกดิ รายไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง และมคี วามยง่ั ยนื เนอ่ื งจากการรวมกลมุ สมั มาชพี ทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน เสมอื นสง่ิ ทแ่ี สดงถงึ ความมน่ั คง ยง่ั ยนื ˹Ҍ ·èÕ 133

ผลลัพธจากการดําเนิน โครงการ การดําเนินกิจกรรมโดยการมีสวนรวม สรา งเปน อาชพี และขายเพอ่ื เพม่ิ รายไดใ หก บั ตวั เอง ของกลุมเปาหมายในชุมชนตามโจทยใน ได โดยผา น Application Line Officialและเฟสบคุ การพัฒนาตําบลคลองนํ้าใส พบวา สวนตัวของกลุมเปาหมายซึ่งเปนการแนะนํา 1. ชุมชนเกิดองคความรูดานการสกัด ชอ งทาง การตลาดสาํ หรบั ขายสนิ คา ใหก บั ชมุ ชน สีและยอมสีผาจากกาบมะพราว ซึ่งเปนการ และกลมุ เปา หมายดว ยซง่ึ ผลติ ภณั ฑต วั อยา งทก่ี ลมุ นําเอาสิ่งเหลือใชในชุมชน คือ กาบมะพราว เปา หมายไดร บั การฝก อบรมและปฏบิ ตั จิ รงิ มาสกดั สแี ลว นาํ มาใชย อ มผา ใหเ กดิ ความสวยงาม 3. เกิดรายไดใหชุมชน ผลิตภัณฑจาก สามารถสรางมูลคาเพ่ิมใหกับผลิตภัณฑชุมชน ผายอมสีจากกาบมะพราว กลุมเปาหมายที่ และกลายเปนเอกลักษณของสินคาชุมชน ไดรับการฝกอบรมและไดลงมือปฏิบัติใน ตําบลคลองนํ้าใสที่เปนผลิตภัณฑที่ไดจาก กิจกรรม ไดทําการขายสินคาผานโซเชียลใน ธรรมชาติ ปลอดภัยตอผูใชและผูผลิต และ รูปแบบไลนและเฟสบุค โดยราคาสินคาที่ขาย ตอสิ่งแวดลอม ซึ่งองคความรูการสกัดสีจาก ในขณะนี้จากการคิดราคาตนทุน คือ เสื้อยืด กาบมะพราวนี้ ถือไดวาเปนนวัตกรรมใหม มัดยอมไซส S-M ราคา 159 บาท ไซส L-XL ของชุมชนตําบลคลองนํ้าใส เพราะยังไมมี ราคา 189 บาท (ซึ่งถาไมใชผาคอตตอนแท การทําหรือการศึกษามากอน ราคาขายก็จะถูกลง) กระเปาผา ราคาใบละ 2. เกิดอาชีพในชุมชน จากปญหาความ 99 บาท ถุงใสแกวกาแฟ ราคาชิ้นละ 69 บาท ยากจน มีรายไดนอย ไมเพียงพอสําหรับ และแมส ราคา 29 บาทซึ่งสามารถสรางราย ใชจายในครัวเรือน เมื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ ไดเสริมใหชาวบานได วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ โดย คณะผูวิจัยเขามาดําเนินกิจกรรมการสราง อาชีพและการสงเสริมการรวมกลุมอาชีพ รวมทั้งการจัดทําเว็บไซต ชื่อ www.klong- numsai.bt-nt.com ซึ่งเปนเว็บไซตของ ชุมชนตําบลคลองนํ้าใส เพื่อประชาสัมพันธ ใหคนทั่วไปรูจักผายอมสีกาบมะพราวของ ตําบลคลองนํ้าใส และผลิตภัณฑที่ชุมชน แปรรูปเปนสินคาใหกลุมเปาหมายสามารถ ˹Ҍ ·Õè 134

จากการเก็บขอมูลรายไดเฉลี่ยท่ีเกิดขึ้น 4. สามารถขยายผลสชู มุ ชนอน่ื เมอ่ื ชมุ ชน จากการขายผลิตภัณฑจากผายอมสีกาบ ตาํ บลคลองนา้ํ ใสสามารถดําเนินการสราง มะพรา ว ตง้ั แตวันที่ 20 กรกฎาคม - 10 อาชีพการยอมสีผาจากกาบมะพราวและ สิงหาคม 2564 จากกลมุ เปา หมายที่เริ่มขาย สามารถสรางผลิตภัณฑจากผายอมสีกาบ สนิ คา ไดคือเดิมมรี ายไดประมาณ 150 - 200 มะพราวจนสามารถเพ่ิมรายไดใหกับครอบครัว บาท/วัน/คน รายไดทเี่ กิดหลงั หกั ตน ทนุ แลว ตัวเองได มีคุณภาพชีวติ ท่ดี ีขึ้น จนกลายเปนตน จากการขายผลิตภัณฑผายอมสีกาบมะพราว แบบชุมชนการผลิตผายอมสีจากธรรมชาติแท เกดิ รายไดเ ฉลีย่ วันละ 126 - 140 บาท/วนั /คน 100%ไดกส็ ามารถถา ยทอดความรแู ละนวตั กรรม และสินคา ทีค่ นใหความสนใจมากในขณะนีค้ ือ ของชมุ ชนในเร่ืองการสกัดสี การยอ มสี และ แมส เนื่องจากเปนของใชท่มี ีความจาํ เปนกบั การแปรรูปผลิตภัณฑผายอมสีไปสูชมุ ชนอน่ื ได สถานการณการแพรระบาดของโรคโควิดซ่ึงถึง โดยใชป ระสบการณจ ากการเรยี นรู การลองผดิ แมจ ะราคาสงู กวา แมสผาทวั่ ๆ ไป แตเ นอ่ื งจาก ลองถกู การพฒั นาฝม อื จนเกดิ ความชาํ นาญและ เร่ืองเลาที่เปนการใชสีจากกาบมะพราวและ เกิดทักษะโดยขยายผลที่เปนชุมชนตนแบบการ เปน สธี รรมชาติ มคี วามปลอดภัย แลว กย็ งั มี สรางนวัตกรรมใหมใหกับชุมชนใกลเคียงดวย ความสวยงาม กระบวนการมสี ว นรวมของคนในชุมชน ˹Ҍ ·Õè 135

ผลตอบรับจากการดําเนิน โครงการ กลุมเปาหมายมีความพึงพอใจตอ วิสาหกิจชุมชนใหกับชุมชน โอกาสและ กิจกรรมที่ไดรับการฝกอบรมและให ความเปนไปไดในการประกอบอาชีพการ ความรู แสดงใหเห็นถึงการมีสวนรวม ยอมสีผาจากกาบมะพราวและแปรรูป ในกระบวนการดําเนินกิจกรรมตั้งแต ผลิตภัณฑเปนสินคารูปแบบตาง ๆ จะมี การศึกษาปญหาและความตองการของ ความตอเนื่องแลเกิดความยั่งยืน โดยตอไป ชุมชน การคืนขอมูลชุมชน การเตรียม กลุมเปาหมายจะไดชวยกันออกแบบสินคา ความพรอมสําหรับการพัฒนา แกไขปญหา และผลิตภัณฑใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น การสรางอาชีพและสงเสริมการรวมกลุม ดวย นอกจากนี้ ผลจากการดาํ เนินโครงการฯ อาชพี ที่เปนสัมมาชีพในชุมชน กลมุ เปา หมาย ยังทําใหผูสูงอายุในชุมชนมีงานทํา มีรายได มีความพึงพอใจตอผลิตภัณฑผายอมสีจาก สําหรับตัวเอง และเปนการใชเวลาวางให กาบมะพราว และเห็นถึงความเปนไปไดวา เกิดประโยชนไดอีกดวย สงผลใหผูสูงอายุลด สินคาสามารถขายได และนํามาซึ่งรายได ความเครียดจากการอยูบานโดยไมมีอะไรทํา เสริมที่เพิ่มขึ้น และเมื่อมีการสงเสริม ความเครียดความกังวลจากสถานการณ การรวมกลุมอาชีพโดยการจดทะเบียน การแพรระบาดของโรคโควิดในขณะนเ้ี ปน การ สง เสริมสุขภาพจิตใหแกผ ูสูงอายุ ใหด าํ เนนิ ชีวติ อยางมีความสุขดว ย ˹ŒÒ·èÕ 136

เสยี งสะทอ นจากชมุ ชน ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ชมุ ชน การดาํ เนินโครงการจากมหาวิทยาลัย หลงั จากดาํ เนนิ การพฒั นาราชกัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ชุมชนตาํ บลคลองนาํ้ ใสพัฒนาผลิตภัณฑท่ี นับต้งั แตโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน เปนมิตรตอ ส่ิงแวดลอ ม และทอ งถน่ิ (โครงการระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2) ในปง บประมาณ 2563 เปน ตน มา จนถงึ โครงการ จากการดําเนินโครงการฯ กิจกรรม ยกระดบั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายได การยอมสีผาดวยกาบมะพราวและการแปรรูป ใหก ับชุมชนฐานราก ปงบประมาณ 2564 ผายอมสีกาบมะพรา วเปนผลิตภณั ฑต า ง ๆ เปน ประชาชนในชมุ ชนทไ่ี ดร บั เลอื กเปน กลมุ เปา หมาย นวัตกรรมใหมที่เกิดขึ้นของชุมชนตําบล ในการรว มกจิ กรรมเพอ่ื การพฒั นา แกไ ขปญ หา คลองน้ําใส ซึง่ เปนนวัตกรรมการใชส ีที่ไดจ าก มคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ ซง่ึ ความมงุ หวงั ของชมุ ชน ธรรมชาติ คือ กาบมะพราวทเี่ ปน วัสดุเหลือทิ้ง ไมไดตองการอาชีพท่ตี องสรา งรายไดเ ปน จาํ นวน ในชมุ ชน นาํ มาใชใ หเ กดิ ประโยชน ดว ยการสกดั สี มากมาย หรือเกิดกําไรสูงสุด แตชุมชนมีความ แลว นาํ มายอมผา ดา ยสาํ หรบั ทอผา ผาไหม ตอ งการใหม คี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ มอี าชพี ทส่ี ามารถ หรอื เส้ือผาสําเร็จรูปได และเมือ่ นําผา ที่ยอมสี สรา งรายไดใ หเ พยี งพอกบั รายจา ยในครอบครวั และ จากกาบมะพราวไปแปรรูปเปนผลิตภัณฑที่ มีความปรารถนาท่จี ะดาํ เนินชีวิตอยางพอเพียง เปนสินคาตาง ๆ ที่มีความนาสนใจและมี ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะอยา งยงิ่ เอกลักษณที่เปนสินคาชุมชนที่เปนมิตรตอ ในสถานการณการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 สิ่งแวดลอม ไมเกิดความเสียหายตอผูใชและ ชมุ ชนเหน็ วา การมอี าชพี เสรมิ รองรบั ในปจ จบุ นั นา ผูผลิตดว ย จะเปน สง่ิ ทช่ี ว ยใหป ระชาชนสามารถพง่ึ พาตวั เอง เปน ชมุ ชนนวตั กรรม (Innovative Community) ฝก ทกั ษะอาชพี ทส่ี ามารถสรา งรายไดใ หค รอบครวั การดาํ เนนิ โครงการฯ ครง้ั น้ี เปน การระดม การสรางภูมิคมุ กันท่ดี ีเพ่อื ใหสามารถรับมือกับ สถานการณต าง ๆ ทเ่ี ปลีย่ นแปลงได พรอ มมี ทง้ั ทรพั ยากรและขดี ความสามารถของสมาชกิ ใน แนวทางในการแกไ ขปญหาท่จี ะเกดิ ข้นึ ไดดว ย ชมุ ชน เพอ่ื สรา งนวตั กรรมทเ่ี ปน ประโยชนต อ ชมุ ชน ˹ŒÒ·Õè 137

โดยมเี ปา หมายเพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของ และระยะเวลาในการตม เปน ตวั กาํ หนดความเขม ชมุ ชน การแกไ ขปญ หาความยากจน ชมุ ชนไดใ ห ของสี ทาํ ใหก ระบวนการสกดั เอาสอี อกมา และนาํ ความสาํ คญั กบั องคค วามรู การแลกเปลย่ี นขอ มลู มายอมผา หรือดายสําหรับทอผาแลวไมเปน และการทํางานเปนทีม ทําใหชุมชนตําบล อนั ตรายตอ ผวิ หนงั หรือรา งกายของผูใ ช ทาํ ให คลองนํ้าใสเกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม คือ ผูบริโภคม่นั ใจไดวาสินคาชุมชนของตาํ บลคลอง มีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้น ปจจัยที่เอื้อในการ นํ้าใสนั้น มีความปลอดภัยดานสุขภาพอยาง กอ เกดิ เปน ชมุ ชนนวัตกรรม ไดแก กิจกรรมที่ แนนอน และผลิตภัณฑจากผายอมสีดวยกาบ เปด โอกาสใหม กี ารเรยี นรสู ง่ิ อาํ นวยความสะดวก มะพราว ก็เปนสินคาที่ตอบโจทยของกลุม ท่ีเออ้ื ใหเ กดิ กระบวนการใชการมีสวนรวม ผนู ํา ผูบริโภคทน่ี ยิ มกระแสอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ และผบู รหิ ารการเปลย่ี นแปลง (Change agent) และเปนมิตรตอ สง่ิ แวดลอมไดเปนอยางดี ซง่ึ อาจเปน ผนู าํ ชมุ ชน ตวั แทนชมุ ชน หรอื สมาชกิ ในชมุ ชนกไ็ ด ผบู ริโภคไดรับความปลอดภัยดานสุขภาพจาก การใชส นิ คา ชมุ ชนทเ่ี ปน สารจากธรรมชาติ การดาํ เนินโครงการฯ โดยกิจกรรมการ ยอ มสีผาจากกาบมะพรา ว เปน กจิ กรรมทสี่ ราง มลู คา ของวสั ดเุ หลอื ใชจ ากชมุ ชน โดยนาํ มาสกดั เปน สใี ชย อ มผา ซง่ึ ในกระบวนการของการสกดั สี กาบมะพราวนั้น ชุมชนไมไดใชสารเคมีใด ๆ เปน การประยกุ ตใ ชภ มู ปิ ญ ญาและองคค วามรขู อง ชุมชนเขามาในกระบวนการผลิต คือการเติม นํ้าดาง (ซึ่งไดจากการแชขี้เถาและกรองเอา นํา้ ใส ๆ มาใช) เพ่ือใหด งึ สอี อกจากกาบมะพรา ว ไดม ากขึน้ และใชเรื่องของปริมาณกาบมะพราว ˹Ҍ ·Õè 138

ขอ เสนอแนะ แนวทางท่ีจะดําเนนิ การพัฒนาและตอยอดใน วทิ ยาศาสตรส าํ หรบั การยอ มผา จากสธี รรมชาตใิ น อนาคต: มิติดานการพฒั นาชุมชนและสงั คม สตี า ง ๆ ทห่ี ลากหลาย และสามารถใหช ุมชน การดาํ เนินงานในอนาคตจะตองเขาสู ประยกุ ตแ ละลงมอื ปฏบิ ตั ไิ ดด ว ยตนเอง องคค วามรู กระบวนการศึกษาบริบทชุมชนอีกครั้ง เพื่อ ดา นการจดั การโดยมงุ เนน ใหช มุ ชนตาํ บลคลองนา้ํ ใส คนหาประเด็นความตองการและสภาพปญหา สามารถบริหารจัดการกลมุ ท่มี ีขนาดใหญข้นึ ได ของชมุ ชน เพอ่ื กาํ หนดเปน ขอ เสนอและกจิ กรรม อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ องคค วามรดู า นเทคโนโลยที ่ี ในการพัฒนาตําบลคลองนํ้าใส เพ่อื ใหก ิจกรรม จะทาํ ใหช มุ ชนสามารถพฒั นาและสรา งผลติ ภณั ฑ สามารถตอบโจทยแ ละความตอ งการของชมุ ชน ใหม คี วามหลากหลายและรวดเรว็ อยา งมคี ณุ ภาพ โดยแทจ รงิ อกี ทง้ั ในอนาคตจะตอ งมกี ารตดิ ตาม เพ่ือนาํ สูการสรางรายไดใหชุมชนอยางเปนรูป ประเมินผลการดาํ เนนิ กิจกรรม เพอ่ื ใหไ ดม าซง่ึ ธรรม รวมถงึ จะมงุ ผลติ ผลงานวจิ ยั เพอ่ื รบั ใชส งั คม ปญหาและอุปสรรคของชุมชน อันจะนําไปสู อยา งเปน ระบบ โดยอาศยั การวจิ ยั แบบมสี ว นรว ม การแกไขและหาทางออกใหกับชุมชนอีกคร้ัง ดา นการแปรรปู ผา และการยอ มผา ดว ยสธี รรมชาติ เพ่ือใหชุมชนสามารถอยูไดดวยตนเองอยาง เพอ่ื นาํ ไปสกู ารถา ยทอดองคค วามรจู ากการตพี มิ พ มน่ั คงและเกดิ ความยง่ั ยนื ผลงานวจิ ยั ในรปู แบบตา ง ๆ ซง่ึ ถอื เปน การขยายผล แนวทางท่จี ะดาํ เนินการพัฒนาและตอยอดใน และทาํ ใหช มุ ชนเปน ทร่ี จู กั ในระดบั ประเทศตอ ไป อนาคต: มติ ดิ า นเชงิ วชิ าการ การพฒั นาการดาํ เนนิ กจิ กรรม จะมงุ เนน การบรู ณาการขา มศาสตรส าขาวชิ า เพอ่ื ใหช มุ ชน ไดร บั องคค วามรทู ส่ี มบรู ณ เชน องคค วามรดู า น ˹ŒÒ·èÕ 139

แนวทางที่จะดําเนินการพัฒนาและตอยอดใน กลาวคือ การสงเสริมการแปรรูปผาจากการ อนาคต: มิติดานเชงิ นโยบาย ยอมสีธรมชาติ ตลอดจนการแปรรูปอาหาร การดําเนินกิจกรรมเพ่ือตอยอดจะสงตอ สัตวจากใบไชยา เพื่อใหการดําเนินงานของ ความสําเร็จใหกับหนวยงานภาครัฐที่จะเปน ชุมชนกาวเดินไปขางหนาไดอยางมั่นคง หนว ยงาน ทส่ี ามารถชว ยเหลอื และตดิ ตามความ อันจะนําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิต กาวหนา รวมถึงการสงเสริมใหชุมชนตําบล ชุมชนและทองถิ่นอยางยั่งยืน คลองนํ้าใส ไดมพี ี่เลย้ี งคอยดแู ล เชน พัฒนา ชมุ ชนจงั หวดั สระแกว ทจ่ี ะเปน หนว ยงานสาํ คญั ในการรว มพฒั นากบั ทางมหาวทิ ยาลยั ตลอดจน ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลคลองนา้ํ ใสทส่ี นบั สนนุ ขอมูลและอาํ นวยความสะดวกใหกับทาง มหาวทิ ยาลยั ในการดาํ เนนิ ทห่ี ลากหลายรปู แบบ อาจารย ดร.นภาพร สิงหนวล ผจู ดั การพนื้ ที่ โดยอนาคตจะสงตอความสําเร็จใหกับหนวย อาจารย ดร.พรนภา เตียสุธิกุล กรรมการ งานตาง ๆ เพือ่ กาํ หนดเปน นโยบายเชงิ พัฒนาที่ อาจารย ดร.ปรีชา คํามาดี กรรมการ มีความสอดคลอ งกับชมุ ชนตาํ บลคลองนาํ้ ใส อาจารยพัชราภรณ จันทรฆาฏ กรรมการ อาจารยเฉลิมพงษ จันทรสุขา กรรมการ และผูประสานงาน ˹Ҍ ·Õè 140

“·‹§Ø ÁËÒà¨ÃÞÔ âÁà´Å” »ÃѺà»ÅÕÂè ¹ ÊÙ‹à¡ÉµÃ»ÅÍ´ÀÑ·ÕÂè è§Ñ Â×¹º¹ÇÔ¶ãÕ ËÁ‹ µÓºÅ·Ø§‹ ÁËÒà¨ÃÔÞ ÍÓàÀÍÇѧ¹íÒé àÂ¹ç ¨Ñ§ËÇÑ´ÊÃÐá¡ŒÇ บทนาํ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ สามารถดํารงอยูไดอ ยางยงั่ ยนื ซึง่ ยุทธศาสตร ในพระบรมราชปู ถัมภ เปนสถาบันอุดมศึกษา ดังกลาวไดสอดคลองกับนโยบายของภาครัฐท่ี เพื่อการพัฒนาทองถิ่นเสริมพลังปญญาของ ใหค วามสาํ คญั ในการพัฒนาชุมชน และทอ งถิ่น แผน ดนิ โดยมหาวทิ ยาลยั ไดก าํ หนดแผนยทุ ธศาสตร เชื่อมโยงเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ เพ่ือยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏ สหประชาชาติเขากับแผนยุทธศาสตรชาติ สูคุณภาพเปนเลิศ โดยมุงเนนการพัฒนา 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ของประเทศไทย คุณภาพบัณฑิตสูนักปฏิบัติอยางมืออาชีพ และยทุ ธศาสตรเ กษตรและสหกรณ ระยะ 20 ป การยกคณุ ภาพมาตรฐานชวี ติ ของชมุ ชน ทอ งถน่ิ (พ.ศ. 2560 – 2579) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ และพื้นที่ใหมีความเขมแข็งและยั่งยืน โดยใน วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถัมภ จงึ ไดท าํ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรที่ 3 การพัฒนางานพันธกจิ โครงการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนและทอ งถน่ิ สัมพันธ และถายทอด เผยแพรโครงการ ในพื้นที่ตําบลทุงมหาเจริญ อําเภอวังนํ้าเย็น อันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ โดยมีกลยุทธใ น จังหวัดสระแกว โดยเรม่ิ ดําเนนิ โครงการระยะ การสรางเครือขายชุมชนนักปฏิบัติจากภายใน ที่ 1 ตั้งแตปพุทธศักราช 2562 เปนตนมา และภายนอก เพื่อรวมกันศึกษาแกไขปญหา จนถึงปจ จุบนั ของชมุ ชนทอ งถน่ิ และเสรมิ พลงั ใหช มุ ชนทอ งถน่ิ ˹ŒÒ·èÕ 141

โดยในโครงการระยะท่ี 1 พทุ ธศกั ราช โครงการระยะที่ 1 จึงทําการสํารวจและ 2562 คณะผูดําเนินงานไดทําการสํารวจและ วิเคราะหสภาพปญหาจากผลการดําเนินงาน วเิ คราะหส ภาพปญ หาในชมุ ชน พบวา ประชาชน ทผ่ี า นมา พบวา ปญ หาของเกษตรกรในพน้ื ทข่ี าด ในพน้ื ทต่ี าํ บลทุงมหาเจริญ สวนใหญประกอบ ความรูในการลดตนทุนการผลิตผักปลอดภัย อาชีพเกษตรกรรม และรบั จา งทว่ั ไป มกี ารเพาะ เกษตรกรตองการเพิ่มพูนองคความรู ปลกู พชื ที่สําคัญ คือ ขาว มันสําปะหลัง ออย เรอ่ื งการจดั การนาํ เศษวสั ดเุ หลอื ใชท างการเกษตร และสวนผลไม เปน ตน ประชาชนในพน้ื ทม่ี นี ยิ ม มาจัดการตองการสรางเครือขายของกลุม ปลกู พชื เชิงเดี่ยว การเก็บเกี่ยวผลลิตไดปละ 1 เกษตรกรใหม คี วามเขม แขง็ ยง่ิ ขน้ึ คณะผดู าํ เนนิ งาน ครั้งประชาชนมีรายไดตํ่า คณะผูดําเนินงาน จงึ ไดเ ขา ไปสง เสรมิ ใหค วามรดู งั กลา ว ไดม กี ารสราง จึงไดเขาไปสงเสริมประชาชนในพ้ืนท่ีปลูกผัก ยุวเกษตรกรและศูนยการเรียนรูเกษตร ปลอดภัย เพื่อเปนแหลงเพิ่มรายไดใหแก ปลอดภยั เพ่อื ใชเปนตัวอยางใหกับประชาชนใน เกษตรกร ผลการดําเนินงานทําใหเกษตรกรมี พ้นื ท่ที ี่ตองการทําการเกษตรแบบปลอดภัย รายไดเ พม่ิ ขน้ึ จากเดมิ ทม่ี รี ายไดจ ากการปลกู พชื หลังเสร็จสิ้นการดาํ เนนิ งานประชมุ ปฏบิ ตั กิ าร เชงิ เดย่ี วปล ะ 1 ครง้ั เพม่ิ มาเปน การมรี ายได ทําใหไดยุวเกษตรกรที่มีความเขาใจสามรถ ทกุ วนั จากจาํ หนา ยผลผลติ ผกั ปลอดภยั สามารถ ปลูกผักสวนครัวในแปลงปลูกโดยไมใชสารเคมี ชวยยกระดับคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน และเกษตรสามารถปรงุ ดนิ จากเศษวัสดุเหลือใช ทอ งถน่ิ มคี ณุ ภาพทด่ี ขี น้ึ ตามลาํ ดบั ทางการเกษตร รวมไปถงึ สามารถทาํ สารชวี ภณั ฑ โครงการระยะท่ี 2 พทุ ธศกั ราช 2563 อยา งงา ย (ฮอรโ มนไข) ใชเ องไดเ ปน การลดรายจา ย คณะผูดาํ เนินงานไดดาํ เนินการตอยอดจาก เพม่ิ รายไดอ กี ทางหนง่ึ ˹Ҍ ·èÕ 142


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook