Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Published by learnoffice, 2022-03-09 07:46:32

Description: หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Search

Read the Text Version

ผลการดําเนินงาน ผลการดาํ เนนิ งานโครงการระยะท่ี 1 และ เปา หมายเพอ่ื สง เสรมิ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ เพม่ิ คณุ คา โครงการระยะที่ 2 สามารถชวยยกระดับ และมลู คา เสรมิ สรา งเศรษฐกจิ ฐานรากในชมุ ชน คุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ทองถิ่น และพัฒนาสิ่งแวดลอมชุมชน สรางผูนําชุมชน มคี ณุ ภาพทด่ี ขี น้ึ ตามลาํ ดบั ดงั นน้ั ในปพ ทุ ธศกั ราช และปลกู ฝง จติ อาสาใหก บั ประชาชน เพอ่ื ให 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ชมุ ชนมคี วามเขม แขง็ มน่ั คง นาํ ไปสกู ารพง่ึ พา ในพระบรมราชูถัมภ จึงไดจัดทําโครงการ ตนเอง และชว ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ในชมุ ชนไดอ ยา ง ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่น ยง่ั ยนื ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ( โครงการระยะที่ 3 ) เพื่อพัฒนาโครงการ ใ ห ต อ เ น่ื อ ง จ า ก โ ค ร ง ก า ร เ ดิ ม ใ ห มี คุ ณ ภ า พ และความเขม แขง็ ยง่ิ ขน้ึ ภายใตก จิ กรรมโครงการ สรา งการเรยี นรู พฒั นาอาชพี ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ ของชมุ ชน วสิ าหกจิ ชมุ ชนทอ งถน่ิ (OTOP) โดยมี ˹Ҍ ·Õè 143

ผลการดาํ เนนิ งานของโครงการระยะท่ี 3 กจิ กรรมที่ 1 การพัฒนาศูนยการเรียนรู มีกิจกรรมการเสริมสรางกิจกรรมดานการ เกษตรปลอดภยั (GAP)เพื่อเปน สถานท่ีตนแบบ พัฒนาศูนยการเรียนรูเกษตรปลอดภัย (GAP) แหงการเรียนรูแกช มุ ชน ประกอบดวย การจดั เพื่อเปนสถานที่ตนแบบแหงการเรียนรู ทําโรงเรือนตนแบบเกษตรปลอดภัย(GAP) แกชุมชนแบบครบวงจร การสรางผูนํา ภายในโรงเรียน บานแกงสะเดา และการ ยุวเกษตรกร และเกษตรกร ในการผลิต ประชุมเชิงปฏิบัติการสรางผูนาํ ยุวเกษตรกร พืชเพ่ือการขอใบรับรองแหลงผลติ GAP พชื และเกษตรกร ในการผลติ พชื เพ่ือการขอใบ การพัฒนาดานเศรษฐกิจใหเกิดการหมุนเวียน รับรองแหลงผลติ GAP พืช ในชุมชน การสรางความเขมแข็งของกลุม เ ค รื อ ข า ย เ ก ษ ต ร ก ร สู ก า ร จั ด ตั้ ง วิ ส า ห กิ จ ประกอบดวย 3 กจิ กรรมหลกั ดงั น้ี ˹Ҍ ·Õè 144

กิจกรรมที่ 2 การสรา งตราสัญลักษณ กจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมสรุปผลโครงการ สินคา การจดั ตง้ั กลุมวสิ าหกิจชุมชนและ การ และถอดบทเรียนความสําเร็จ สรา งตลาดจาํ หนายสินคาเกษตรปลอดภัยของ เปน กระบวนการถอดบทเรยี นความสาํ เรจ็ ชุมชน ประกอบดวย การพฒั นาพื้นทส่ี รา ง ของชุมชน แบบมีสวนรวมของคนในชุมชน ตลาดจาํ หนายสินคาเกษตรปลอดภัยของชมุ ชน และหลักการ “บวร” ตามหลักปรัชญาของ บานแกงสะเดา การประชุมเชิงปฏิบัติการ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนําไปสูการพัฒนา สรา งผนู าํ ยวุ เกษตรกร และเกษตรกรในการสรา ง อยา งยง่ั ยนื ตราสัญลักษณสินคาการบริหารจัดการวิสาหกิจ ชมุ ชน การบรหิ ารตลาดเกษตรกร ˹Ҍ ·Õè 145

ภาคเี ครือขา ยที่เกย่ี วของ ภาคีเครือขายภาครัฐ ในการดําเนินงานโครงการยกระดับ องคการบรหิ ารสว นตําบล ผบู ริหาร ขาราชการ คุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่น (โครงการ และสมาชิกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ระยะที่ 3) เปนชวงเวลาที่อยูในสถานการณ กํานัน ผูใหญบาน และองคกรภาคเอกชน แพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดงั ตอไปนี้ (COVID-19)อยา งรนุ แรงในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สระแกว จากวิกฤติของสถานการณดังกลาวผูรับผิดชอบ โครงการไดมองเห็นโอกาสในวิกฤติที่เกิดขึ้น ในการสรางภาคเี ครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ท่ีเก่ยี วของ เพอื่ ดาํ เนนิ งาน โครงการใหบรรลุวัตถุประสงค จึงไดขอความ รว มมอื จากหนว ยงานทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน โดยมีเครือขายที่รวมมือกันในการพัฒนาชุมชน เชน กรมวชิ าการเกษตร กรมสง เสริมการเกษตร สํานกั งานพัฒนาชุมชนอําเภอ สํานักงานเกษตร อาํ เภอ โรงเรยี น วดั องคก ารบรหิ ารสว นจังหวดั ˹ŒÒ·èÕ 146

1. องคการบริหารสวนจังหวัดสระแกว 2. ที่วาการอําเภอวังนํ้าเย็น 3. ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี กรมวิชาการเกษตร 4. สํานักงานเกษตรอําเภอวังนํ้าเย็นสํานักงาน เกษตรจงั หวดั สระแกว กรมสง เสรมิ การเกษตร 5. องคก ารบริหารสว นตําบลทุง มหาเจริญ 6. โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลทงุ มหาเจรญิ 7. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอวังนํ้าเย็น สาํ นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระแกวกรมการ พฒั นาชุมชน 8. โรงเรียนบานแกงสะเดา สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแกวเขต1 กระทรวงศึกษาธิการ ˹Ҍ ·èÕ 147

สรุปผลการดําเนินงาน โครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนและทอ งถน่ิ (โครงการระยะท่ี 3) พ้นื ที่ ตาํ บลทุงมหาเจริญ เปนการพัฒนาโครงการ ใหตอเนื่องจากโครงการเดิม ใหมีคุณภาพ และความเขม แขง็ ย่งิ ขึ้น มีขัน้ ตอนการศึกษา และแผนการดาํ เนินโครงการโดยมีการนาํ หลัก แนวทางการวเิ คราะหขอ มูล 16 เปาหมายตาม แนวทางกระทรวงการอุดมศึกษาฯ หลกั การ พัฒนาที่ย่ังยืน หลกั การพัฒนาชุมชน และหลกั การ “บวร” มาออกแบบกิจกรรมเพื่อการ พัฒนาพ้ืนที่อยางถูกตองและเหมาะสมกับ บรบิ ทของ โดยมีกิจกรรมโครงการท่ตี อ งดาํ เนิน การ 3 กิจกรรม ไดแก ˹Ҍ ·èÕ 148

กจิ กรรมท่ี 1 การพัฒนาศูนยก ารเรียนรู เกษตรปลอดภยั (GAP) เพอ่ื เปน สถานท่ี ตน แบบแหง การเรยี นรู แกช มุ ชน ประกอบดว ย การจดั ทาํ โรงเรอื นตน แบบ เกษตรปลอดภยั (GAP) ภายในโรงเรยี นบา นแกง สะเดา และการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรา งผนู าํ ยุวเกษตรกร และเกษตรกร ในการผลิตพืช เพอ่ื การขอใบรบั รองแหลง ผลติ GAP พชื นวตั กรรมทน่ี าํ ไปใชก บั ชมุ ชน : โรงเรอื น ตน แบบเกษตรปลอดภยั (GAP) องคค วามรทู น่ี าํ ไปใชก บั ชมุ ชน : การนาํ การ ปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทด่ี ี (GAP = Good Agricul- tural Practice) และขอ มลู เกย่ี วกบั มาตรฐานการ ผลติ สนิ คา เกษตรปลอดภยั ถา ยทอด องคค วามรู ใหก บั สภายวุ เกษตรกรและเกษตรกรในพน้ื ท่ี ˹Ҍ ·èÕ 149

กิจกรรมที่ 2 การสรางตราสัญลักษณ สินคาการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน และการสรางตลาดจําหนายสินคา เกษตรปลอดภัยของชุมชน ประกอบดวย การพัฒนาพื้นที่สราง ต ล า ด จํา ห น า ย สิ น ค า เ ก ษ ต ร ป ล อ ด ภั ย ของชุมชน บานแกงสะเดา การประชุมเชิง ปฏบิ ัตกิ ารสรา งผูนํายวุ เกษตรกร และเกษตรกร ในการสราง ตราสัญลักษณสนิ คา การบรหิ าร จัดการวิสาหกิจชุมชน การบริหารตลาด เกษตรกร นวัตกรรมที่นําไปใชกับชุมชน : ตราสัญลักษณสินคาเกษตรปลอดภัยและ ตลาดจาํ หนา ยสนิ คา เกษตรปลอดภยั ของชมุ ชน องคความรูที่นําไปใชกับชุมชน : การออกแบบตราสัญลักษณสินคา การจัดตั้ง กลุมวิสาหกิจชุมชนและแนวทางการสราง ตลาดจําหนายสินคาเกษตรปลอดภัยของ ชมุ ชนใหแกเกษตรกรในพื้นท่ี ˹Ҍ ·Õ 150

กจิ กรรมท่ี 3 กจิ กรรมสรปุ ผลโครงการ ผลผลิตจากการดําเนิน ขอ มลู และถอดบทเรยี นความสาํ เรจ็ โครงการ องคความรูที่นําไปใชกับชุมชน : กระบวนการการถอดบทเรียนความสําเร็จ จากการดําเนินงานโครงการในพื้นที่ ของชุมชน แบบมีสวนรวมของคนในชุมชน ตําบลทุงมหาเจริญ อําเภอวังนํ้าเย็น จังหวัด และหลักการ “บวร” ตามหลักปรัชญาของ สระแกว สามารถสรุปผลผลผลิตจากการ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนําไปสูการพัฒนา ดําเนินโครงการไดดังนี้ อยางยั่งยืน การพัฒนาศูนยการเรียนรูเกษตร ปลอดภัย (GAP) เพื่อเปนสถานที่ตนแบบ แหงการเรียนรูแกชุมชน โดยไดดําเนินการ จัดทําโรงเรือนตนแบบเกษตรปลอดภัย (GAP) ในพื้นที่โรงเรียนบานแกงสะเดา หมูที่ 4 ตําบลทุงมหาเจริญ อําเภอวังนํ้าเย็น จังหวัดสระแกว รวมไปถึงการประชุม เชิงปฏิบัติการสรางผูนํายุวเกษตรกรและ เกษตรกร ในการผลิตพืช เพื่อการขอใบ รับรองแหลงผลิต GAP พืช ซึ่งพัฒนาตอ เนื่องจากโครงการระยะที่ 2 ที่ไดดําเนินการ โรงเรือนปลูกผักสวนครัวปลอดภัยตนแบบ และการจัดตั้งสภายุวเกษตรกร ไปเปนที่ เรียบรอยแลวนั้น ˹Ҍ ·èÕ 151

การสรา งตราสัญลกั ษณส ินคา การจัดตง้ั ผลลัพธจากการดําเนิน กลุมวิสาหกิจชุมชนและการสรางตลาด โครงการ จําหนายสินคาเกษตรปลอดภัยของชุมชน โดยไดดําเนินการจัดทําตราสัญลักษณสินคา 1. ประชาชนในพน้ื ทตี่ ําบลทุง มหาเจรญิ และจัดทําซุมตลาดจําหนายสินคาเกษตร เขารวมโครงการ จํานวน 40 ครัวเรือน ปลอดภัยตนแบบของชุมชนใหแกบานแกง 2. นักเรียนโรงเรียนบานแกงสะเดา สะเดา หมูที่ 4 ตําบลทุงมหาเจริญ อําเภอ (สภายวุ เกษตรกร) เขา รว มโครงการ จาํ นวน 40 คน วังนํ้าเย็น จังหวัดสระแกว รวมไปถึงการให 3. มีเกษตรกรเขารวมกลุมผลิตผัก เกษตรกรในพื้นที่ตําบลทุงมหาเจริญรวมตัว ปลอดภยั แกงสะเดา จากเดิมมสี มาชกิ ของกลุม กันการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน พรอมทั้ง จํานวน 25 คน เพิ่มเปน 30 คน คดิ เพ่มิ เปน ไดดําเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการสราง รอ ยละ 20 พ้นื ท่ปี ลูกผักปลอดภยั จากพ้ืนท่ีเดิม ผูนํายุวเกษตรกร และเกษตรกรในการสราง มีจํานวน 10 ไร เพิ่มเปน 15 ไร คิดเพิ่มเปน ตราสัญลักษณสินคา การบริหารจัดการ รอ ยละ 50 จากรายไดการจําหนายสินคา วิสาหกิจชุมชน การบริหารตลาดเกษตรกร เกษตรจากเดมิ มีรายไดประมาณวนั ละ 1,000 บาท เพิ่มมาเปนวนั ละ 1,500 บาท คดิ เพ่ิมเปน รอยละ 50 การเปดตลาดเกษตรกรในพื้นท่ี หนาวดั บานแกงสะเดา เปนตลาดที่สรา งข้นึ มา ใหมโดยเกิดการรวมกลุมของคนในชุมชนใน การบรหิ ารจดั การตลาดเกษตรกร ที่ตองการ นําสินคาทางการเกษตรมาจําหนายใหกับคนใน ชุมชน มซี มุ จาํ หนา ยสนิ คา จํานวน 8 ซมุ คิด เฉลย่ี รายไดว นั ละ 300 บาทตอ วนั คดิ เปน รายได ตอ ป 365 วนั เกิดการหมุนเวียนเงนิ ในชมุ ชน คิดเปนเงิน 876,000 บาทตอ ป คิดเปน อัตรา เงนิ หมนุ เวยี นทเ่ี พิ่มขึน้ ในชมุ ชนรอ ยละ 100 4 ภาคีเครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จํานวน 9 เครือขาย ˹ŒÒ·èÕ 152

ผลตอบรับจากการดาํ เนิน โครงการ การดาํ เนนิ โครงการระยะทผ่ี า นมา ไดผ ล ตอบรับจากประชาชนในพ้ืนที่อยางนัยสําคัญ ประชาชนในพื้นที่มากกวารอยละ 90 ให ความสนใจในการเขารวมกิจกรรมโดยวัดจาก ตวั ชว้ี ดั ผเู ขา รว มโครงการทก่ี าํ หนดไวเ กนิ รอ ยละ ที่กําหนดไว ประชาชนเกิดการมีสวนรวม แลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อแกไขปญหาของชุมชน รวมแรงรวมใจในการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งหนว ยงาน องคกรตาง ๆ ภายในพ้ืนท่ี ของชุมชนไดเขามารวมมือกับมหาวิทยาลัย อยางเต็มทใ่ี นการพฒั นาชมุ ชน เชน โรงเรียน วดั โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บล องคก าร บรหิ ารสว นตาํ บล และองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั เปน ตน ˹ŒÒ·Õè 153

เสยี งสะทอนจากชมุ ชน ประชาชน และหนวยงานตาง ๆ ในพ้ืนท่ี วสิ าหกจิ ชุมชน และการสรางตลาดจําหนาย ตาํ บลทงุ มหาเจรญิ ไดใ หก ารชน่ื ชมมหาวทิ ยาลยั สินคาเกษตรปลอดภัยชมุ ชน มีความเหมาะสม ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ และตรงตามความตองการของชุมชนรอยละ ทเ่ี ขา มาดาํ เนนิ การในพน้ื ทอ่ี ยา งตอ เนอ่ื ง ในโอกาส 89.47 ไมตรงตามความตองการรอ ยละ10.53 ตอ ไปตองการใหม หาวิทยาลัยฯ เขามาพัฒนา 2. ปญ หาของชมุ ชนทต่ี อ งการการพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ในเรอ่ื งการหาชอ งทางการจดั จาํ หนา ย ในดานการรวมกลุม ขาดความรวมมือของ สินคาเกษตรปลอดภัยใหมากขึ้น โดยใหมี สมาชกิ ในกลมุ ผูน าํ ไมเขม แข็ง และตอ งการให ภาคเอกชนรายใหญเขามารับซ้ือผลผลิตสินคา หนวยงานภายนอกมาติดตาม ตรวจสอบการ ทางการเกษตร เชน หา งสรรพสนิ คา ตลาดสง ออก ดําเนินงาน รายใหญ เปนตน 3. คนในชุมชนมีความตองการให จากการจัดกิจกรรมสรุปผลโครงการ มหาวิทยาลัยจัดการอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพ ขอมูล และถอดบทเรยี นความสําเรจ็ พบวา รอยละ 52.63 โดยตอ งการใหจ ัดอบรมในเรอ่ื ง 1. การดําเนินโครงการพัฒนาศูนยการ การตลาด และการสง ออก การปลกู ขมิ้นชนั ขงิ เรยี นรูเกษตรปลอดภัย (GAP) เพ่อื เปนตนแบบ กระชาย พรกิ กะเพรา มะเขือ จัดหาพันธุผ กั แหงการเรียนรูแกชุมชนและการจัดตั้งกลุม การแปรรูป เพ่อื การจําหนา ย นอกจากนยี้ ัง ตองการแหลงเงินทุน อุปกรณการเกษตร อุปกรณการแปรรูป และการรักษาผลิตภัณฑ ˹Ҍ ·èÕ 154

ผลกระทบดา นเศรษฐกจิ ผลจากการพัฒนาพื้นที่ การสราง จากผลการดําเนินงานที่ตอเนื่องของ ตลาดจําหนายสินคาเกษตรปลอดภัย โครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต ของชุมชนบานแกงสะเดา การสราง ชุมชน และทองถิ่น โครงการระยะที่ 1 ถึง ตราสัญลักษณสินคาภายใตสัญลักษณ โครงการระยะที่ 3 เกิดผลสะทอนถึงการ สินคา “ผักปลอดภัยแกงสะเดา” การบริหาร เปลี่ยนแปลงของสังคม ประชาชนในพื้นที่ จดั การวสิ าหกจิ ชมุ ชน การบรหิ ารตลาดเกษตรกร มากกวารอยละ 90 เกิดการตระหนักรู พบมีการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ ในการพัฒนาตนเองเพื่อกาวสูการพัฒนา เกิดการหมุนเวียนเศรษฐกิจในชุมชนโดย อาชีพและสรางรายไดใหกับตนเองและ มี เกษตรกรเขารวมกลุมผลิตผักปลอดภัย ชุมชน เกิดการมีสวนรวมแลกเปลี่ยนเรียน แกงสะเดา จากเดมิ มีสมาชกิ ของกลมุ จํานวน รูเพื่อแกไขปญหาของชุมชนเกิดการรวม 25 คน เพ่ิมเปน 30 คน คิดเพ่มิ เปนรอยละ 20 กลุมจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนเกิดการรวมกลุม พื้นที่ปลูกผักปลอดภัยจากพื้นที่เดิมมี จัดตั้งตลาดเกษตรกร ประชาชน มีความ จํานวน 10 ไร เพิ่มเปน 15 ไร คิดเพิ่มเปน สามัคคีรวมแรงรวมใจในการเขารวม รอยละ 50 จากรายไดการจําหนายสินคา กิจกรรมตาง ๆ เพื่อหวังใหชุมชนของตนเอง เกษตรจากเดิมมีรายไดประมาณวันละ พัฒนาในทิศทางที่ดีขึ้นรวมทั้งหนวยงาน 1,000 บาท เพิ่มมาเปนวันละ 1,500 บาท องคกรตาง ๆ ภายในพื้นที่ของชุมชน เกิดการ คิดเพิ่มเปนรอยละ 50 ตระหนักและตื่นตัวในการเขามารวมมือ การเปดตลาดเกษตรกรในพื้นที่หนาวัด พัฒนาชุมชน เชน โรงเรียน วัด โรงพยาบาล บานแกงสะเดา เปนตลาดที่สรางขึ้นมาใหม สงเสริมสุขภาพตําบล องคการบริหารสวน โดยเกิดการรวมกลุมของคนในชุมชน ตําบลและองคการบริหารสวนจังหวัด เปนตน ในการบริหารจัดการตลาดเกษตรกร ทต่ี อ งการ การรวมมือรวมใจ การมีสวนรวม นําสินคาทางการเกษตรมาจําหนายใหกับ ของคนในชุมชนและองคกรในชุมชน ถือเปน คนในชุมชน มีซุมจําหนายสินคาจํานวน เปาหมายที่สําคัญอยางหนึ่งในการพัฒนา 8 ซุม คิดเฉลี่ยรายไดวันละ 300 บาทตอวัน ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถ่ิน คิดเปนรายไดตอป 365 วัน เกิดการหมุนเวียน ใหเกิดความยั่งยืนก็ยังมีความสวยงาม เงินในชุมชนคิดเปนเงิน 876,000 บาทตอป คิดเปนอัตราเงินหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นในชุมชน รอยละ 100 ˹ŒÒ·Õè 155

˹ŒÒ·èÕ 156

ผลกระทบดานสังคม และ วัฒนธรรม จากผลการดําเนินงานที่ตอเนื่องของ เพื่อหวังใหชุมชนของตนเองพัฒนาในทิศทางที่ โครงการยกระดบั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชน และ ดีขึน้ รวมทัง้ หนว ยงานองคกรตาง ๆ ภายใน ทอ งถน่ิ โครงการระยะท่ี 1 – โครงการระยะท่ี 3 พ้ืนท่ีของชุมชนเกิดการตระหนักและตื่นตัวใน เกิดผลสะทอนถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคม การเขา มารว มมอื พัฒนาชมุ ชน เชน โรงเรียน ประชาชนในพื้นที่มากกวารอยละ 90 เกิด วดั โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบล องคการ การตระหนกั รู ในการพฒั นาตนเองเพอ่ื กาวสู บรหิ ารสวนตําบล และองคการบริหารสวน การพัฒนาอาชีพและสรางรายไดใหกับตนเอง จงั หวดั เปน ตน การรว มมอื รว มใจ การมสี ว นรว ม และชมุ ชน เกดิ การมสี ว นรว มแลกเปลย่ี นเรยี นรู ของคนในชุมชนและองคกรในชุมชนถือเปน เพื่อแกไขปญหาของชุมชน เกิดการรวมกลุม เปาหมายที่สําคัญอยางหนึ่งในการพัฒนา จัดตั้งวิสาหกิจชุมชน เกิดการรวมกลุมจัดตั้ง ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถ่ิน ตลาดเกษตรกร ประชาชน มีความสามัคคี ใหเ กิดความย่งั ยนื รว มแรงรว มใจในการเขา รว มกจิ กรรมตา ง ๆ ˹ŒÒ·èÕ 157

ผลกระทบดา นสง่ิ แวดลอ ม จากกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ สรา งผนู าํ ยวุ เกษตรกร และเกษตรกร ในการผลติ พชื เพอ่ื การขอใบรบั รองแหลง ผลติ GAP พชื และ การเรียนรปู ระสบการณจริงภายในศูนยตนแบบ การเรียนรูเกษตรปลอดภัย (GAP) รวมทั้ง การบรรยายจากคณะวิทยากรผตู รวจประเมิน การขอใบรบั รองแหลง ผลติ GAP พชื ทาํ ให เกษตรกรมีความเขาใจเก่ยี วกับการผลิตสินคา เกษตรปลอดภัยอยางลึกซึ้งเขาใจในการใช สารเคมีอยา งถกู ตอ งนาํ ไปสกู ารปฏบิ ตั อิ ยา งเปน รปู ธรรม เพ่อื รองรับการตรวจจากผปู ระเมนิ สง ผลภาพรวมใหเ กษตรกรใชส ารเคมตี ามมาตรฐาน และกฎหมายท่ีกาํ หนด เกษตรเริ่มลดการใชส าร เคมอี ยา งชดั เจนมกี ารเกบ็ สารเคมที ถ่ี กู ตอ งทง้ั กอ น และหลงั จากการใชท าํ ใหล ดมลพิษที่จะเกิดขึ้น กบั สง่ิ แวดลอ มลดลงผลรวมสขุ ภาพของเกษตรกร และคนในชมุ ชนมีแนวโนมในทิศทางที่ดีขึ้นตาม ลาํ ดบั ˹Ҍ ·Õè 158

ขอ เสนอแนะ ชมุ ชนบานแกง สะเดา มคี วามตองการให มหาวทิ ยาลัยจดั กจิ กรรมอยางตอ เนอื่ ง ในดาน การตลาด จัดหาพันธุผัก วิธีการปลูกผัก เพื่อสุขภาพ เชน ขม้ินชนั ขิง กระชาย เปนตน เพื่อการจําหนาย การเพิ่มมูลคาของสินคา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรนอกจากนี้ ยังตองการแหลงเงินทุนอุปกรณการเกษตร อปุ กรณก ารแปรรูป และการรักษาผลติ ภณั ฑ ˹ŒÒ·èÕ 159

ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ อาจารยธวัชชัย มูลตลาด อาจารยศิริวิมล ศรีมีทรัพย อาจารยวิเชียร พุทธศรี อาจารยวราวุฒิ คําพานุช ˹Ҍ ·Õè 160

ÊÁ¹Ø ä¾Ã àË´ç ¡Ãз͌ ¹ÍÔ¹·ÃՏá»Ãû٠ʋټÅÔµÀѳ± ¡ÃдºÑ ¤Ø³ÀÒ¾ªÇÕ µÔ ˹ͧµÐà¤ÂÕ ¹ºÍ¹ µÓºÅ˹ͧµÐà¤ÂÕ ¹ºÍ¹ ÍÓàÀÍÇ²Ñ ¹Ò¹¤Ã ¨Ñ§ËÇ´Ñ ÊÃÐá¡ÇŒ บทนํา ตาํ บลหนองตะเคยี นบอน อาํ เภอวฒั นานคร ในสิ่งแวดลอม เชน ในดนิ ในแหลงนํ้าธรรมชาติ จงั หวดั สระแกว มีเนือ้ ทที่ ั้งหมดประมาณ 103 ซ่ึงผนู ําชุมชนไดม ีการสงเสรมิ การทําเกษตร ตารางกิโลเมตร มีหมบู านในตาํ บลท้ังหมด 10 อินทรียเพ่ือลดปริมาณการใชสารเคมีทางการ หมูบา น พน้ื ท่ีตําบลหนองตะเคยี นบอนมปี ญหา เกษตร สง ผลทําใหเ กดิ ความรวมมอื ในการผลัก เร่อื งที่ดินทําการเกษตร สงผลใหมีการบุกรกุ ดันใหพื้นท่ีตําบลหนองตะเคียนบอนเปนพื้นท่ี พื้นท่ีปามากข้นึ ประกอบกับอุณหภมู ิของโลกท่ี ที่มกี ารทาํ เกษตรอนิ ทรยี  และเกดิ เปนผลิตภณั ฑ รอนขน้ึ สง ผลใหท กุ พน้ื ทป่ี ระสบกบั ปญ หาภยั แลง จดั จําหนายเพื่อสรางรายไดเสริม เชน ขา ว ขาดแคลนนํา้ เพ่ือใชในการเกษตรเน่ืองจากมี อนิ ทรีย ผักอินทรีย และกระทอนอินทรยี  ปริมาณน้าํ ฝนนอยทาํ ใหผลผลิตจากการเกษตร เปนตน มีการรวมกลุมของประชาชนในตาํ บล นอ ยลง เกษตรกรบางสวนเปล่ยี นแปลงรปู แบบ หนองตะเคียนบอนเพ่ือจัดต้ังเปนกลุมอาชีพ ของการเกษตรในพื้นที่จากการทํานาเพาะปลูก ตา ง ๆ ตามความสนใจไดแก กลุมวสิ าหกิจ พืชไรมาเปน การปลกู ตนยูคาลิปตสั เนอื่ งจาก ชมุ ชนบานวังรี ขาวกลองอินทรีย กลุมทอเสอื่ ดแู ลงายและใหผลตอบแทนทด่ี ี สงผลทําใหดนิ กลุมเพาะเหด็ นางฟา กลุม ทอผา ไหม เปน ตน มีความอุดมสมบูรณนอยลง ปญหาการใช ผลิตภัณฑที่ไดจากชุมชนนาํ ไปขายยังรานคา สารเคมที างเกษตรสง ผลทาํ ใหเ กดิ สารพษิ ตกคา ง OTOP ของอําเภอวัฒนานคร และการนํามา ˹ŒÒ·Õè 161

จัดจําหนายในงานแสดงสินคาท่ีจัดตามสถานท่ี ตา ง ๆ จากการสาํ รวจชุมชนในภาพรวมพบวา ตําบลหนองตะเคียนบอน อําเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแกว มีทรัพยากรธรรมชาติดาน สมุนไพร มกี ารรวมตวั กนั ปลกู กระทอ นแปลงใหญ มีทรัพยากรบุคคลที่มีความเปนผูนํา เสียสละ มีปราชญชาวบานดานสมุนไพร มีผูเชี่ยวชาญ ดานการเพาะเห็ด รวมท้งั มีกลุมทอผาไหม ซึ่ง จากการคนพบปญหาและความตองการของ ชมุ ชนพบวา ประชาชนตอ งการสรางผลิตภณั ฑ แปรรปู จากสง่ิ ทม่ี อี ยใู นชมุ ชน การเพม่ิ มลู คา จาก ผลผลติ พฒั นาบรรจภุ ณั ฑแ ละตราสนิ คา ทม่ี คี วาม เปน อตั ลักษณข องชุมชนและมรี ายไดเพ่ิมขึ้น ˹Ҍ ·Õè 162

ผลการดาํ เนินงาน 1. กิจกรรมทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได ใหกับคนในชุมชน การดาํ เนินโครงการยกระดับพัฒนา วัตถุประสงคในการดําเนินโครงการ รวมถึง คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับชุมชน การรวมกันกําหนดรูปแบบการจัดกิจกรรม ฐานรากในพน้ื ทต่ี าํ บลหนองตะเคยี นบอน อาํ เภอ โครงการเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและ วฒั นานคร จงั หวดั สระแกว เรม่ิ ตน จากการประชมุ การเพ่มิ รายไดใ หแกคนในชุมชน เพอ่ื ทบทวนผลการดาํ เนนิ โครงการในปท ผ่ี า นมา เพ่ือนาํ มาปรับปรุงแกไขการดาํ เนินงานคร้ังน้ี คณะดาํ เนินโครงการมีการช้ีแจงรายละเอียด โครงการ หลกั การและเหตผุ ล วตั ถปุ ระสงคก าร ดําเนินงานกับหนวยงานที่รับผิดชอบและ หนวยงานภาครัฐท่ีรวมดําเนินโครงการเพ่ือ ระดมความคิดเห็นจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ไปใชในการวางกรอบในการพัฒนารวมกัน ในการกําหนดทิศทางการดําเนินการ รวมถึง กําหนดกลุมเปาหมายในการพัฒนาซึ่ง คณะผูดาํ เนินโครงการไดรับเกียรติจากองคการ บริหารสวนตําบลหนองตะเคียนบอนในการ อนุเคราะหขอมูลศักยภาพในพ้ืนที่การแลก เปลี่ยนความคิดเห็นนําไปสูการกาํ หนด แนวทางการดําเนินโครงการรวมกัน รวมถึง การสนับสนุนการดาํ เนินโครงการในพ้ืนที่เพ่ือ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชนตําบล หนองตะเคียนบอนคณะผูดําเนินโครงการได เขา พบผูน าํ ชุมชน ผูน ํากลุมวิสาหกิจ กลุมอาชีพ ในตาํ บลหนองตะเคยี นบอนเพอ่ื ชแ้ี จงรายละเอยี ด ˹ŒÒ·Õè 163

2. การพฒั นากลมุ อาชพี เพาะเหด็ (เหด็ นางฟา คณะผูดาํ เนินโครงการไดพูดคุยหารือกับผูนาํ กลมุ อาชพี เพาะเหด็ เกย่ี วกบั แนวทางการสง เสรมิ และเหด็ หลนิ จอื ) กลุมอาชีพเพาะเห็ด ตั้งอยูที่หมู 5 บา น อาชีพเพาะเห็ดใหกับคนในชุมชน ผูนํากลุมมี กองแกวนพคุณ ในตําบลนองตะเคียนบอน แนวคิดท่ีอยากจะถายทอดองคความรูและ อาํ เภอวฒั นานคร จงั หวดั สระแกว โดยในอดตี มี ทกั ษะในการเพาะเลย้ี งเหด็ ใหก บั คนในชมุ ชนทม่ี ี กลมุ อาชีพเพาะเห็ดในหมูบาน มีการเพาะเห็ด รายไดน อ ยและผสู งู อายทุ ไ่ี มม อี าชพี หรอื ไมม รี าย นางฟา และเหด็ ขอน แตห ลงั จากนน้ั สมาชกิ ของ ได ใหห นั มารวมกลมุ กนั เพาะเลย้ี งเหด็ นางฟา ท่ี กลุมมีสวนรวมในอาชีพเพาะเห็ดนอยลงเหลือ สามารถสรา งรายไดป ระจาํ เนอ่ื งจากเหด็ นางฟา เพยี งผนู าํ กลมุ ทย่ี งั ยดึ อาชพี เพาะเหด็ นางฟา และ เปน เหด็ กนิ ดอก (เหด็ ทน่ี าํ ดอกเหด็ มารบั ประทาน) เหด็ ขอนจนถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้ยังไดศกึ ษา ทส่ี ามารถเก็บขายไดอยางตอเนื่อง และหากมี แนวทางการเพาะเล้ียงเห็ดหลินจือเพ่ิมเติมจน ทกั ษะเพม่ิ มากขน้ึ ในอนาคตกส็ ามารถเพาะเหด็ ปจจุบันผูนาํ กลุมเพาะเล้ียงเห็ดไดยึดการเพาะ หลนิ จอื ทเ่ี พาะเลย้ี งยากกวา ใชเ วลาในการเพาะ เลย้ี งเหด็ หลนิ จอื และเหด็ นางฟา สลบั กบั เหด็ ขอน เลย้ี งนานกวา แตม รี าคาคอ นขา งสงู รวมถงึ ผนู าํ จนสรา งรายไดอ ยา งมน่ั คง กลุมมีความตองการท่ีอยากจะสรางกลุมเพาะ เลย้ี งเหด็ ขน้ึ มาอกี ครง้ั ˹Ҍ ·èÕ 164

ผูนํากลุมอาชีพเพาะเลี้ยงเห็ด คือ นางนึง สําหรับการเพาะเลี้ยงเห็ดหลินจือไดดําเนินไป โพธ์จิ ันทร ไดพูดคุยเกี่ยวกับแนวคิดการสรา ง พรอมๆ กันและมี นางนึง โพธิ์จันทร เปนผู รายไดจากการเพาะเลี้ยงเห็ดกับคนในชุมชน ดูแลการเพาะเห็ดหลินจือเพื่อนําไปพัฒนา พบวา มผี สู นใจทจ่ี ะเขา รว มกจิ กรรม ซง่ึ สว นใหญ ตอยอดผลิตภัณฑเห็ดหลินจือที่มีมูลคาเพิ่มขึ้น เปน ผมู รี ายไดน อ ยทต่ี อ งการสรา งรายไดเ สรมิ และ ตอไป ผูสูงอายุที่ตองการสรางรายได กลุมผูสนใจ ในชุมชนจึงเขารวมกิจกรรมพัฒนากลุมอาชีพ เพาะเห็ดรวมกับคณะผูดําเนินโครงการ โดย เริ่มจากการเรียนรูการเพาะเห็ดนางฟา ซึ่งมี นางนึง โพธิ์จันทร เปนวิทยากรหลักในการ ถา ยทอดองคค วามรใู นการเพาะเลย้ี งเหด็ นางฟา ˹ŒÒ·Õè 165

ผูเขารวมกิจกรรมไดรับการถายทอด คณะผูดําเนินโครงการมีแนวทางที่จะนําเห็ด ความรูและทักษะในการเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟา หลินจือที่ไดจากกิจกรรมในครั้งนี้มาพัฒนา และเห็ดหลินจือตั้งแตกระบวนการเริ่มตน รูปแบบผลิตภัณฑท่ีมีมูลคาเพ่ิมข้ึนจากรูปแบบ จนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต เชน วงจรชีวิต ปจจุบันท่ีทําอยู เชน การพัฒนาเปนผลิตภัณฑ ของเหด็ การเตรียมกอ นเห็ด การหยอดเช้ือเห็ด ผงชาหลนิ จอื บรรจซุ องแคปซลู บรรจเุ หด็ หลนิ จอื การควบคมุ สภาพแวดลอ มในการเพาะเลย้ี งเหด็ หรอื เหด็ หลนิ จอื สกดั พรอ มดม่ื เปน ตน โดยแนวทาง การเก็บเกี่ยวเห็ด รวมถึงชองทางการขายเห็ด ที่กลาวมาจะเปนแนวทางในการดําเนินการใน ในพื้นที่ โดยกอนเชื้อเห็ดนางฟาที่ผูเขารวม ปงบประมาณถดั ไป กิจกรรมรว มกนั ทํา ไดถ กู แจกจา ยไปเพาะเลย้ี ง ทบ่ี า นของผรู ว มกจิ กรรมและมี นางนงึ โพธจ นั ทร เปน ผแู นะนาํ และใหค วามชว ยเหลอื ในการเตรยี ม โรงเรือนเพาะเห็ดที่บานของผูรวมกิจกรรม จนกระทั่งเห็ดนางฟาเริ่มออกดอกและถูก เก็บเกี่ยวนาํ ไปขายสรางรายไดใหกลุมผูเขารวม อยางตอเนื่อง สําหรับเห็ดหลินจือที่นางนึง โพธิ์จันทร เปนผูดูแลจะใชเวลาในการเพาะเลี้ยงนาน กวาเห็ดนางฟา และเมื่อสามารถเก็บเกี่ยวได เห็ดหลินจือจะถูกนํามาหั่นเปนชิ้นและทําให แหง โดยการอบดว ยความรอ น จากนน้ั จงึ นาํ มา บรรจซุ องขาย ซง่ึ สามารถเกบ็ ไวไ ดน านอยา งนอ ย 1 ป นาํ ไปบรโิ ภคโดยการนาํ เหด็ หลนิ จอื แหง ไปตม แลว นาํ นา้ํ ไปดม่ื เพอ่ื บาํ รงุ รา งกาย ˹Ҍ ·èÕ 166

3. การพัฒนาระบบการผลิต สรางอัตลักษณ การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ สินคา บรรจุภัณฑสินคาชุมชน และยกระดับ สบูสมุนไพรไพล สุขภาพจากไพลและขมิ้นชัน มาตรฐานสินคาชุมชน สบูรังไหม ในหมู 6 บานใหมไทยพัฒนา ในการดาํ เนินโครงการยกระดับคุณภาพ โดยจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ชีวิตในปงบประมาณที่ผานมา ทางคณะ กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑสบูสมุนไพร ผูดาํ เนินโครงการไดรวมพัฒนาผลิตภัณฑสบู ไพลแบบสบูกอนและสบูเหลว การตรวจสอบ สมุนไพรไพล สบูรังไหม ในพื้นที่หมู 6 คณุ สมบตั ทิ างกายภาพของสบู การทดสอบคณุ ภาพ บา นใหมไ ทยพัฒนา และในปนี้ไดมีการนําผล ผลิตภัณฑสบูและสบูรังไหมโดยการทดสอบ การดาํ เนนิ โครงการในปท ผ่ี า นมา นาํ มาปรบั ปรงุ การเกดิ ฟอง กลน่ิ สมนุ ไพร และความออ นโยน และแกไขในเรื่องของกระบวนการผลิตและ ตอผิวหลังจากการใชงาน มีการจัดกจิ กรรม บรรจุภัณฑสินคาเพื่อสรางมูลคาใหกับสินคา อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนากระบวนการผลิต มากขึ้น และผลติ ภณั ฑส บสู มนุ ไพรรงั ไหม มกี ารแลกเปลย่ี น รวมถงึ การพฒั นาสนิ คา จากผลติ ภณั ฑเ หด็ ความคิดเห็นเรื่องคุณภาพกระบวนการผลิต คณะผูดําเนินโครงการไดจัดอบรมเชิงปฏิบัติ ผลการจัดจาํ หนายผลิตภัณฑสบูในปท่ีผานมา ˹ŒÒ·Õè 167

โดยทางกลุมเปาหมายไดมีความเหน็ วา ควรทจ่ี ะ กระทอน โดยไดผลการดําเนินกิจกรรมเปน ปรบั เปลย่ี นสตู ร ในการทาํ สบูเพือ่ ใหค งคณุ ภาพ บรรจุภัณฑและโลโกสินคาที่เปนสัญลักษณของ สบูกอนสมุนไพร และปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ ทองถิ่นมีสีสันสวยงาม ดึงดูดความสนใจได ของสบูเหลวใหมีความนาสนใจ สวยงามและ อยางดี งายตอการใชงานยง่ิ ขึน้ คณะผูดาํ เนินโครงการไดจัดกิจกรรม การพฒั นาระบบการผลติ สรา งอตั ลกั ษณส นิ คา บรรจุภัณฑสินคาชุมชนและยกระดับมาตรฐาน สินคาชุมชน ณ ตําบลหนองตะเคียนบอน อาํ เภอวัฒนานคร จังหวัดสระแกว โดยจัด กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสรางอัตลักษณ สนิ คา และพฒั นาสนิ คา ชมุ ชน โดยกลมุ เปา หมาย ไดร ว มออกแบบสตกิ เกอร โลโก และบรรจภุ ณั ฑ สนิ คาไพล สบรู งั ไหม และบรรจภุ ัณฑผลิตภัณฑ ˹Ҍ ·Õè 168

4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการสงเสริม การตลาด ในการจัดจาํ หนายผลิตภัณฑสินคาของ ทางชมุ ชนในปทผี่ านมา จะมกี ารดาํ เนนิ การใน รปู แบบที่เปนการจําหนายทางหนาราน และ ทางโทรศัพทเพื่อสั่งซื้อผลิตภัณฑ ในปนีท้ าง คณะผูดําเนินโครงการไดจัดกิจกรรมอบรม เชงิ ปฏิบัตกิ ารสง เสริมการตลาด โดยการอบรม เชิงปฏิบัติการสงเสริมการตลาดแบบออฟไลน และออนไลน มีการฝกปฏิบัติการถายภาพ ผลติ ภณั ฑใ หนา สนใจ รวมถงึ การสรางกลุม ไลน และเฟสบุคเพื่อโพสขายผลิตภัณฑสินคาของ ทางชมุ ชน โดยใหตวั แทนของชมุ ชนมีบทบาท หนาท่ีในการรับผิดชอบในการโพสรูปถาย สนิ คา การตอบคาํ ถามของลกู คา การสง ขอ ความ การจดบันทึกการสั่งสินคาและการดาํ เนินการ จัดสง สินคา ใหแกลูกคา ˹ŒÒ·Õè 169

5. กจิ กรรมขน้ึ ทะเบยี นผลติ ภณั ฑเ ครอ่ื งสาํ อาง เปน สถานท่ีผลิตเครื่องสาํ อาง รายการเอกสาร ตามมาตรฐานการจดแจงเปนสถานท่ีผลิต สาํ หรับขอสถานที่ เอกสารแบบแปลนแผนผัง และขอขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเพื่อจําหนาย และการถายภาพสถานที่ เอกสารการผลิต แนวทางจัดทําแผนที่สถานที่ผลิต/ติดตอ/ ออกสูตลาด นําเขา/เก็บรักษา และแบบบันทึกการศกึ ษา ดว ยตนเอง คณะผูดาํ เนินการโครงการยกระดับ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ คณะผูดาํ เนินโครงการไดมีการจัดอบรม คนในชมุ ชนฐานราก ลงศึกษาพ้นื ทจ่ี ดั กิจกรรม เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารกฎหมาย หลกั เกณฑก ารพจิ ารณา การพัฒนาระบบการผลิต สรา งอัตลกั ษณสินคา วธิ ีการ และเงอ่ื นไขเกย่ี วกบั การจดแจง การออก บรรจุภัณฑสินคาชุมชนและยกระดับมาตรฐาน ใบรบั จดแจง การเพกิ ถอนใบรบั จดแจง กระบวนการ สินคาชุมชน ณ ตําบลหนองตะเคียนบอน ที่เกี่ยวกับกับการขอยื่นจดแจง การขน้ึ ทะเบยี น อาํ เภอวฒั นานคร จงั หวดั สระแกว โดยจดั กจิ กรรม ผลิตภัณฑเครื่องสาํ อาง และการฝกปฏิบตั กิ าร อบรมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพรอมเพื่อ ขอยน่ื จดแจงเปน สถานที่ผลิตเครอื่ งสาํ อาง การ จดั เตรยี มเอกสาร รับรองการผลิตและการจําหนายสินคาอยางถูก ตองตามกฎหมาย ขั้นตอนการยื่นขออนุญาต ผลิต/นําเขาเครื่องสําอาง รายการเอกสารที่ ใชในการย่ืนคําขอที่สํานักงานสาธารณสุข จังหวดั สระแกว และการจดั เตรียมเอกสารทใ่ี ช ในการย่ืนคาํ ขอท่ีสาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัด สระแกว มกี ารลงศกึ ษาพน้ื ทจ่ี ดั อบรมเชิงปฏิบตั ิ การการเตรียมความพรอมเพ่ือขอยื่นจดแจง ˹Ҍ ·Õ 170

6. การคืนขอมูลกิจกรรมปฏิบัติการ ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดบั รายไดใ หก บั คนในชมุ ชนฐานราก ตาํ บลหนองตะเคยี นบอน อาํ เภอวฒั นานคร จังหวัดสระแกว เมื่อการดาํ เนนิ โครงการสนิ้ สุดลง ทาง คณะผูจัดทําไดร วบรวมขอ มูล รายละเอยี ดการ พัฒนาสินคาและผลผลิตท่ีไดจากการดําเนิน งานเพื่อประชุมสรุปผลการดาํ เนินงานและนํา เสนอขอมูลเหลาน้ีใหแกกลุมเปาหมายและ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอ่ื ใหเ กดิ การแลกเปล่ยี น เรยี นรู การรวมกันวิเคราะหผลการดําเนิน โครงการเพ่ือนาํ ไปสูการพัฒนายกระดับพัฒนา คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับคนใน ชุมชนฐานราก ตําบลหนองตะเคียนบอนอยาง มีประสิทธิภาพในปต อไป ˹Ҍ ·Õè 171

ภาคเี ครอื ขา ยทเ่ี กย่ี วขอ ง มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ 1. องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลหนองตะเคยี นบอน ในพระบรมราชูปถมั ภ เปน หนว ยงานสถาบนั เปน หนว ยงานทอ งถน่ิ ทด่ี แู ลความเปน อยู การศึกษาท่ีมีหนาที่ในการสงเสริมพัฒนา ของประชาชนในพื้นที่ และไดสนับสนุนขอมลู คณุ ภาพชวี ติ ในแกป ระชาชน โดยการประสาน ศกั ยภาพของพื้นที่ กลุมคนในชุมชนที่มีความ ความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐในพื้นที่ เขมแข็งพรอมเปนผูนาํ ใหเกิดการเปล่ียนแปลง ไดแ ก องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลเกดิ ความรว มมอื อีกท้ังยังชวยสนับสนุนใหการดาํ เนินโครงการ ในพัฒนาชุมชนอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เปน ไปอยา งเรยี บรอ ยและมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะสาธารณสขุ ศาสตรไ ดร บั ความรว มมอื ในการ ดําเนินโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายไดใหกับคนในชุมชนฐานราก ตาํ บลหนองตะเคยี นบอน อาํ เภอวฒั นานคร จงั หวัด สระแกว จากภาครฐั 3 หนวยงาน ไดแก ˹ŒÒ·èÕ 172

2. สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั สระแกว สาํ นักงานวัฒนธรรมจังหวัดสระแกว เปนหนวยงานท่ีไดเขามามีสวนรวมในการ สนับสนุนภูมิปญญาทองถิ่นหรือภูมิปญญา ชาวบา นของประชาชนในพน้ื ท่ี โดยการอนรุ กั ษ ภมู ปิ ญ ญาไทยสมุนไพรพ้ืนบา น การใชป ระโยชน จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืช สมุนไพรในพ้ืนท่ีตําบลหนองตะเคียนบอนเพ่ือ ใหค งอยแู ละใชอ ยา งมคี ณุ คา ไดป ระโยชนส งู สดุ ˹Ҍ ·èÕ 173

3. สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สระแกว แนวทางจัดทําแผนที่สถานที่ผลิต/ติดตอ/ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแกว นาํ เขา/เก็บรักษา และแบบบันทึกการศึกษา เปนหนวยงานที่ชวยเหลือสนับสนุนเรื่องการ ดวยตนเอง เพอ่ื สนบั สนนุ ใหก ลมุ อาชพี ในชมุ ชน ข้ึนทะเบียนผลิตภัณฑเครื่องสําอางตาม ไดมีสถานที่ผลิตภัณฑที่มีมาตรฐานไดรับการ มาตรฐาน การจดแจงเปนสถานทผี่ ลิต และขอ ขน้ึ ทะเบยี น เปนผลติ ภัณฑท ่ีมีคณุ ภาพตอ ไป ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเพื่อจําหนายออกสูตลาด การเตรียมความพรอมเพื่อขอยื่นจดแจงเปน สถานทผี่ ลิตเครือ่ งสาํ อาง การรับรองการผลติ และการจาํ หนา ยสนิ คา อยา งถกู ตอ งตามกฎหมาย มีการสงเสริมความรใู หแกกลมุ เปาหมายเรื่อง การเตรียมความพรอมเพื่อขอยื่นจดแจงเปน สถานที่ผลิตเครื่องสําอาง รายการเอกสาร สําหรับขอสถานที่ เอกสารแบบแปลนแผนผัง และการถายภาพสถานที่ เอกสารการผลิต ˹Ҍ ·Õè 174

สรุปผลการดําเนินงาน ในพื้นท่ีตาํ บลหนองตะเคียนบอน มีการ ปลูกออยเปนพืชเศษฐกิจและจะเกิดเศษ ชานออ ยทเ่ี หลอื ทง้ิ จากกระบวนการผลติ ดงั นน้ั ทางผูดาํ เนินโครงการและกลุมเพาะเห็ดจึงได ทดลองนําเอาเศษชานออยมาใชเพาะเชื้อ เหด็ หลินจือและเห็ดนางฟา เพื่อลดตนทุนใน การซื้อขี้เลื่อย จากการเก็บขอมูลของกลุม อาชีพเพาะเห็ดเมื่อมีการเปด ดอก และทําการ เก็บเกี่ยวผลผลิตเห็ดนางฟาและเห็ดหลินจือ พบวา ผลผลิตของดอกเห็ดที่ไดจากกอนเชื้อ เศษชานออยเหลือทิ้งนั้นสามารถใหผลผลิต ไดรวดเร็วกวา แตลักษณะของดอกเห็ดจะมี ความแข็ง และเห็ดที่ไดจากกอนเชื้อเศษชาน ออยเหลือทิ้งนั้นจะออกดอกไดนอยครั้งกวา กอ นเหด็ เปน เชอ้ื ราไดง า ยกวา ซง่ึ มคี วามแตกตา ง จากการใชขี้เลื่อยเพียงอยางเดียว และทําให กลมุ อาชพี มคี วามสนใจและรว มแนวคดิ การพฒั นา วิจัยเก็บขอมูลการพัฒนาการใชเศษออย เหลือทิ้งนั้น ˹ŒÒ·Õè 175

ผลลัพธจากการดําเนิน โครงการ จากการดาํ เนินโครงการยกระดับพัฒนา กระทอ น เพม่ิ มลู คา ใหช มุ ชน ซง่ึ แยมกระทอ น คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ สามารถเกบ็ รกั ษาไดน าน 6 เดอื น – 1 ป และไม คนในชมุ ชนฐานราก หมบู า นทเ่ี ขา รว มโครงการ กระทบจากการจาํ หนายผลกระทอนท่ัวไป จาํ นวน 4 หมบู า น รวมทง้ั สน้ิ 60 ครวั เรอื น และ เนอ่ื งจากกระทอ นทน่ี าํ มาทาํ แยม คอื ผลกระทอ น เกดิ ผลลพั ธแ ละผลติ ภณั ฑ ดงั น้ี ทต่ี กเกรด ผลไมส วยงาม ไมเ ปน ทต่ี อ งการของตลาด 1. เกดิ กลมุ อาชพี เพาะเหด็ หลนิ จอื และเหด็ 4. บรรจุภัณฑและตราสินคาที่สวยงาม นางฟา บานกองแกวนพคุณ ทนั สมยั โดดเดน เปนอัตลักษณของชุมชน จากการจัดกิจกรรมพัฒนากลุมอาชีพ พรอมจัดจําหนาย คอื ผลติ ภณั ฑย าหมอ งไพล เพาะเห็ดหลินจือและเห็ดนางฟา สงผลใหเกดิ และนา้ํ มนั ไพล ตราคนเลย้ี งควาย ซง่ึ สะทอ น การรวมกลมุ ของประชาชนบา นกองแกว นพคณุ ความเปน อตั ลกั ษณ เอกลกั ษณข องประชาชนใน ตําบลหนองตะเคียนบอน อําเภอวัฒนานคร ตาํ บลหนองตะเคยี นบอน จังหวดั สระแกว จํานวน 10 ครวั เรอื น รวมกัน 5. มชี มุ ชนนวตั กรรม 1 ชมุ ชน มรี ายได เพาะเหด็ นางฟา และเหด็ หลนิ จอื เพอื่ จําหนาย เพม่ิ ขน้ึ เฉลย่ี รอ ยละ 10.05 จาํ แนกเปน เปน รายไดเ สรมิ และคน พบผนู าํ การเปลย่ี นแปลง รายไดจ ากผลติ ภณั ฑแ ปรรปู จากสมนุ ไพร คนใหม คอื นางนึง โพธิ์จนั ทร ไพล ขมน้ิ ขนั จาํ นวน 16,750 บาท/เดอื น จาํ นวน 2. ผลติ ภณั ฑส บเู หลวอาบนา้ํ ไพลและ 40 ครวั เรอื น คดิ เปน รอ ยละ 8.37 ขมน้ิ ชนั ซง่ึ เปน ผลติ ภณั ฑแ ปรรปู จากสมนุ ไพร รายไดจ ากการรวมกลมุ เพาะเหด็ หลนิ จอื ไพล ขมน้ิ ชนั ทม่ี ีในทองถิ่น ซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ และเหด็ นางฟา 8,400 บาท/เดอื น จาํ นวน 10 แปรรปู จากวตั ถดุ บิ ธรรมชาตทิ ม่ี ใี นชมุ ชนรวมถงึ ครวั เรอื น คดิ เปน รอ ยละ 16.80 ไดบรรจุภัณฑและตราสินคาที่เปนอัตลักษณ รายไดจ ากแยมกระทอ น 5,000 บาท/ ของชมุ ชน พรอ มจดั จาํ หนา ย เดอื น จาํ นวน 10 ครวั เรอื น คดิ เปน รอ ยละ 10.00 3. แยมกระทอ น ซง่ึ เปน ผลติ ภณั ฑใ หม เพ่ือแกไขปญหากระทอนลนตลาดในชุมชน เนอ่ื งจากสถานการณก ารแพรร ะบาดของโคโรนา ไวรสั 2019 (COVID-19) จงึ ทาํ ใหไ มส ามารถสง ออก จําหนายตางประเทศได ทางคณะดําเนินการ จึงไดเขาไปชวยสงเสริมความรูและผลิต แยมกระทอ น เพอ่ื ยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษาของ ˹ŒÒ·Õè 176

เสยี งสะทอ นจากชมุ ชน ผใู หญอนุชา ทุมสขุ ผใู หญบา นหมทู ี่ 6 เขาไปชวยพัฒนาผลิตภัณฑจากหมอนไหม บา นใหมไทยพัฒนา ตัวแทนกลุม สมุนไพรและ ไดแก สบูรังไหม รวมถึงการรวมออกแบบ นวดไทย มีความดใี จ และขอขอบคุณคณาจารย บรรจภุ ณั ฑและตราสินคา (กําลังดําเนินการ) ที่เขาไปสรางอาชีพและรายไดเสริมใหกับ ซึ่งทําใหกลุมมีรายไดเพิ่มขึ้น จากเดิมที่ ประชาชน ตั้งแตตนนํ้ากลางนํ้า และปลายนํ้า ทอผาไหมจําหนา ยเพยี งอยา งเดยี ว นั่นคือ ประชาชนมีการรวมกลุมใชพื้นที่สวน กลางของหมูบานในการปลูกวัตถุดิบ ไดแก นอกจากนี้กลมุ Young Smart Farmer ไพล และขม้ินชนั มกี ารรวมกลุมเพอ่ื แปรรปู มีความชื่นชมยินดี และดีใจเปนอยางยิ่งที่ ผลติ ภณั ฑย าหมอ งไพล นา้ํ มนั ไพล และสบเู หลว อาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ อาบนา้ํ จากไพลและขมน้ิ ชนั รวมถงึ การจดั จาํ หนา ย ในพระบรมราชปู ถมั ภ เขา มาดาํ เนนิ การในพน้ื ท่ี ทง้ั แบบออนไลนแ ละหนา รา น อยางตอเนอื่ ง กลุมเพาะเห็ดหลินจือและเห็ดนางฟา บา นกองแกว นพคุณ ไดม กี ารนํากอนเหด็ นางฟา ไปมอบเพอ่ื เปน การสนบั สนนุ ดา นอาหารกลางวนั นักเรียนและสงเสริมการเรียนรดู านการเกษตร จาํ นวน 2,000 กอ น - โรงเรยี นหนองตะเคยี นบอน - โรงเรยี นบานซับใหญ - โรงเรียนบานใหมไ ทยพัฒนา - ศูนยการเรียนรูดานการเกษตร มูลนธิ ิรัฐบรุ ษุ ซง่ึ ทกุ หนว ยงานไดท าํ หนงั สอื ขอบคณุ มายงั กลมุ ฯและทางมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถมั ภท เ่ี ขา ไปดาํ เนนิ กจิ กรรมครง้ั น้ี กลมุ ผลติ ภณั ฑห มอ นไหม นาํ โดยนางใจ รอดคาํ ทยุ (ปา ใจ) ดใี จและขอบคณุ ทท่ี างคณาจารย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ˹ŒÒ·Õè 177

ผ ล ก ร ะ ท บ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น กั บ ชุมชนหลังจากดําเนินการ พฒั นา ประชาชนในพน้ื ทต่ี าํ บลหนองตะเคยี นบอน อาํ เภอวัฒนานคร จังหวัดสระแกว เขารวม โครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ยกระดบั รายไดใ หก ับคนในชุมชนฐาน ถงึ แมว า ในปจจุบันจะมีสถานการณการแพรระบาดของ โคโรนา ไวรสั 2019 (COVID-19) แตประชาชน ก็ยังใหความรว มมอื ในการดาํ เนนิ กจิ กรรม โดย เลง็ เหน็ ถึงประโยชนและมองทิศทางการดําเนิน งานรว มกนั จึงทาํ ใหเ กิดกลุม อาชีพ และมผี ูน าํ การเปลย่ี นแปลง ไดแ ก กลมุ สมนุ ไพรและนวดไทย กลุมผลิตภัณฑหมอนไหมและกลุมเพาะเห็ด หลนิ จอื และเหด็ นางฟา บา นกองแกว นพคณุ ซ่งึ ผูน ําและสมาชิกกลุมมีความเสียสละ เชน กลุม สมนุ ไพรและนวดไทย มกี ารจดั สรรพน้ื ทส่ี ว นกลาง ของหมูบานเพื่อใชในการปลูกวัตถุดิบหลักของ ผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก ไพล และขมิ้นชัน มีการ เสียสละหองประชุมและหองจดั เก็บของ เพื่อ ปรับปรุงและยื่นจดแจงขอเปนสถานที่ผลิต เคร่ืองสําอางที่ไดมาตรฐานและถูกตองตาม กฎหมาย บริเวณศูนยการเรยี นรขู องหมู 6 บาน ใหมไทยพัฒนา ˹Ҍ ·Õè 178

ขอ เสนอแนะ 1. พัฒนาผลิตภัณฑจากการแปรรูปรังไหม 2. ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเครื่องสําอางตาม และเห็ดหลินจือ มาตรฐานการจดแจงเปนสถานที่ผลิตเพื่อ แนวทางการพัฒนาผลผลิตจากชุมชุมท่ี ยกระดับผลิตภัณฑและขยายฐานลูกคา สามารถดําเนินการตอยอดจากโครงการใน ชุมชนตําบลหนองตะเคยี นบอน อําเภอ ปจ จบุ นั ไดแก การตอ ยอดจากรังไหมและเห็ด วฒั นานคร จงั หวัดสระแกว มแี ผนท่ีจะจัดสราง หลินจือ โดยการใชสารสกัดจากรังไหมที่มี และขอรบั รองจดแจง เปน สถานทผ่ี ลติ ผลติ ภณั ฑ โปรตีนและกรดอะมิโนจําเปนตอการบํารุงผิว กลุมเครือ่ งสาํ อางใหสาํ เรจ็ การดําเนนิ โครงการ เพมิ่ ความนุมนวลและความชุมชื้น รวมถึงมี ในปง บประมาณ 2564 คณะทํางานและชมุ ชน ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ สารสกัดจากรังไหม ไดรวมกันพัฒนาและเตรียมการในการขอจด สามารถนํามาเปนองคประกอบสําคัญใน แจงสถานท่ีผลิตซึ่งมีความคืบหนาเปนอยาง การพฒั นาผลิตภัณฑในกลุมเครื่องสําอาง เชน มาก คาดวา ในตนปงบประมาณ 2565 จะ สบูครีม/โลช่ันบาํ รงุ ผิว เปนตน สาํ หรบั ผลผลติ สามารถจดแจงสถานท่ีผลิตผลิตภัณฑกลุม จากเห็ดหลินจือสามารถนํามาพัฒนาตอยอด เครือ่ งสาํ อางไดแ ลวเสรจ็ เพือ่ รองรับการขอจด รูปแบบผลิตภณั ฑ จากเดิมเปนเหด็ หลนิ จอื แหง แจงผลิตภัณฑที่เกิดจากการพัฒนาในชุมชน สําหรับตมดื่มเพื่อบํารุงสุขภาพ นําพัฒนา เชน สบรู งั ไหม และผลิตภัณฑสุขภาพในกลมุ รูปแบบเปนชาผงเห็ดหลินจือบรรจุซองท่ีงาย เครื่องสําอางอ่ืนๆที่จะไดรับการพัฒนาเพิ่มขึ้น ตอ การบริโภคและตอบสนองกลุมลูกคาใหม ดังนั้น คาดวาผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และท่ีจะเกิดขึน้ ในปงบประมาณ 2565 จะเปน ผลติ ภณั ฑท ไ่ี ดจ ดแจง เปน ผลติ ภณั ฑเ ครอ่ื งสาํ อางท่ี มีมาตรฐาน และเปนการยกระดับผลิตภัณฑ ของชุมชนท่ีสามารถขยายฐานลูกคากลุมใหม ไดม ากขึน้ ˹ŒÒ·Õè 179

3. การสงเสริมการตลาด ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ แนวทางการสงเสริมการตลาดสาํ หรับ ผลติ ภณั ฑช ุมชนในปงบประมาณ 2565 เปนการ พฒั นาชอ งทางการขายทส่ี อดคลอ งกบั ผลติ ภณั ฑ อาจารย ธธิธา เวียงปฏิ ท่มี ีมาตรฐานสูงขนึ้ จงึ สามารถเพ่มิ ชอ งทางการ ผชู วยศาสตราจารย นัชชา ยันติ ขายในกลุมลูกคาท่กี วางมากขึ้น เชน การขาย อาจารย จันทรรตั น จารกิ สกุลชยั ออนไลนบนแพลตฟอรมสากล และการขาย อาจารย ดร.รัฐพล ศลิ ปรัศมี ผลติ ภณั ฑท ไ่ี ดร บั การจดแจง ในรา นคา มาตรฐาน คณะสาธารณสุขศาสตร ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สระแกว ดงั นน้ั การสง เสรมิ การตลาด อาจารย เทอดเกียรติ แกวพวง จะเนนการนาํ เสนอคุณภาพของผลิตภัณฑและ อาจารยนักพัฒนาทองถิน่ มาตรฐานในการผลติ เปนสําคัญ ˹ŒÒ·Õè 180

--w61.61S.CIW• OO 1151811riJ ' Ll-6nlSU61 UlflJI181c\"iasllfiojlC181JChlnsru luws:u51JSl.l.llkiJii ~oom~P-~u~~ l lillll1 \"\"'20 l'liM'I1iliaJ ~ ~ ~ 13180


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook