Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Published by learnoffice, 2022-03-09 07:46:32

Description: หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Search

Read the Text Version

I • l::::ii lalCilJlUCiliS\\l • 11a:ans:6iuS1BI6llrfriU OOn:XaiJ•nuslu 61l]UO.. ODlf...i..J]USln



Success Story 2021 เรื่อ� งเล่่าความสำำ�เร็็จ โครงการยกระดัับคุุณภาพชีีวิติ และยกระดัับรายได้้ให้้กัับ คนในชุมุ ชนฐานราก จัังหวััดปทุุมธานีี จัังหวััดสระแก้้ว มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏวไลยอลงกรณ์์ ในพระบรมราชููปถัมั ภ์.์ สำำ�นัักส่ง่ เสริิมการเรีียนรู้แ�้ ละบริิการ วิิชาการ Success Story 2021 เรื่�องเล่่าความสำำ�เร็จ็ โครงการยกระดัับคุณุ ภาพชีีวิิตและยกระดัับรายได้้ให้้กัับ คนในชุมุ ชนฐานราก จัังหวััดปทุมุ ธานีี จัังหวััดสระแก้้ว, 2564. 250 หน้้า. 1. 2. 3. I. ISBN 978-974-337-274-2 สงวนลิิขสิทิ ธิ์์�ตามพระราชบััญญััติิ ห้้ามทำำ�การลอกเลีียนแบบไม่ว่ ่่าส่่วนใดส่ว่ นหนึ่�่งของหนัังสืือเล่ม่ นี้้� นอกจากจะได้้รัับอนุญุ าต พิิมพ์ค์ รั้้�งที่�่ 1 มกราคม 2565 บรรณาธิิการอำำ�นวยการ ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.สุุพจน์์ ทรายแก้้ว รองศาสตราจารย์์ ดร.นฤมล ธนานัันต์์ ผู้ช�้ ่ว่ ยศาสตราจารย์์ ปิิยะ สงวนสิิน บรรณาธิิการ ผู้�ช้ ่่วยศาสตราจารย์์เศกพร ตัันศรีีประภาศิิริิ คณะผู้จ้� ััดทำ�ำ อาจารย์์ ดร.วรีีรััตน์์ สััมพััทธ์์พงศ์์ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์อััจจิมิ า มั่่�นทน อาจารย์์ ดร.มััทนภรณ์์ ใหม่ค่ ามิิ อาจารย์ป์ รีียาภา เมืืองนก อาจารย์ร์ วิธิ ร ฐานััสสกุุล อาจารย์์วิิษชญะ ศิลิ าน้้อย อาจารย์ว์ ิิณากร ที่�่รััก อาจารย์ภ์ ััทรเวช ธาราเวชรัักษ์์ พิสิ ููจน์์อัักษร อาจารย์์ปรีียาภา เมืืองนก ประสานงานผลิติ อาจารย์์ปรีียาภา เมืืองนก จััดพิิมพ์์โดย สำำ�นัักส่่งเสริิมการเรีียนรู้�้และบริิการวิิชาการ มหาวิิทยาลััยราชภััฏวไลยอลงกรณ์์ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ เลขที่�่ 1 หมู่�ที่�่ 20 ถนนพหลโยธินิ ตำำ�บลคลองหนึ่่ง� อำำ�เภอคลองหลวง จัังหวััดปทุมุ ธานีี 13180 โทรศััพท์์ : 0-2909-3026 Email : [email protected]

คำ�ำ นำ�ำ การมีีความเหลื่อ� มล้ำำ��ทางสัังคมและเศรษฐกิิจ โดยเฉพาะการเข้้าถึึงแหล่ง่ ทุุน โอกาสในการเรีียนรู้้� การรู้�้ เรื่�องเทคโนโลยีีของประชาชนในท้้องถิ่�นและภููมิภิ าค เป็็นต้้นเหตุสุ ำำ�คััญให้้ประชาชนส่ว่ นใหญ่่ของประเทศไทย ติิดอยู่่�ในกัับดัักของวงจรการขาดความรู้้� ความสามารถในการแก้้ไขปัญั หาชีีวิิต การมีีรายได้้ที่ไ�่ ม่พ่ อเพีียง และ การมีีปัญั หาสุขุ ภาพ ที่ท�่ ำ�ำ ให้้คุณุ ภาพชีีวิติ ของประชาชนในชุมุ ชน ท้้องถิ่น� ต่า่ งๆ ด้้อยลง ไม่ส่ อดคล้้องกัับความจำ�ำ เป็็น ขั้น้� พื้้น� ฐานในการดำำ�เนินิ ชีีวิติ ไม่ส่ ามารถดููแลครอบครััวให้้อยู่่�ดีีมีีสุุขได้้อย่่างที่ค่� วรจะเป็็น มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏวไลยอลงกรณ์์ ในพระบรมราชููปถัมั ภ์์ จัังหวััดปทุมุ ธานีี ได้้น้้อมนำ�ำ พระบรมราโชบาย ของพระบาทสมเด็็จพระวชิิรเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััวที่่�พระราชทานแก่่อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยราชภััฏทั่่�วประเทศว่่า ขอให้้มหาวิิทยาลััยราชภััฏได้้ทำำ�หน้้าที่่�พััฒนายกระดัับคุุณภาพการศึึกษาและพััฒนาท้้องถิ่ �นที่่�เป็็นที่�่ตั้้�งของ ตนเอง ในการนี้้� มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏจึึงได้้ร่่วมมืือกัันกำำ�หนดยุทุ ธศาสตร์์การพััฒนาท้้องถิ่�นขึ้้�น เพื่่�อขัับเคลื่�อน งานตามพระบรมราโชบาย โดยมุ่�งเน้้นการพััฒนา แก้้ไขปััญหาด้้านเศรษฐกิิจ สัังคม สิ่ง� แวดล้้อม และคุณุ ภาพ การศึึกษา ในชุุมชนท้้องถิ่�นที่ม่� หาวิทิ ยาลััยราชภััฏแต่ล่ ะแห่ง่ รัับผิิดชอบ ในปีี 2564 มหาวิิทยาลััยราชภััฏวไลยอลงกรณ์์ ในพระบรมราชููปถัมั ภ์์ ได้้ขัับเคลื่�อนงานตามยุทุ ธศาสตร์์ การพััฒนาท้้องถิ่ �นในพื้้�นที่่�จัังหวััดปทุุมธานีีและจัังหวััดสระแก้้ว อัันเป็็นพื้้�นที่่�รัับผิิดชอบของมหาวิิทยาลััย ผ่า่ นโครงการยกระดัับคุณุ ภาพชีีวิติ และยกระดัับรายได้้ให้้กัับคนในชุมุ ชนฐานราก ปีี 2564 โดยรููปแบบการดำ�ำ เนินิ งาน มุ่�งเน้้นการร่่วมเรีียนรู้ก้� ัับแกนนำ�ำ ของชุมุ ชน/หมู่่�บ้้าน ในการวิิเคราะห์์ปััญหา กำำ�หนด ร่่วมมืือกัันจััดกิจิ กรรมเพื่่อ� แก้้ไขปัญั หายกระดัับคุณุ ภาพชีีวิติ ของครััวเรือื นเป้า้ หมาย และแก้้ไขปัญั หาในภาพรวมของชุมุ ชนท้้องถิ่น� ร่ว่ มกััน





สารบัญั จัั งหวัั ดปทุมุ ธานีี จัั งหวัั ดสระแก้้ว

1. “เติิมเต็ม็ ศัักยภาพชุมุ ชนคลองห้้า ด้้วยการท่่องเที่่�ยว สิินค้้าชุุมชน และสิ่�งแวดล้้อม สู่�มาตรฐานความพึึงพอใจสำ�ำ หรัับผู้้�บริิโภค” หน้้าที่่� 1 ตำ�ำ บลคลองห้้า อำ�ำ เภอคลองหลวง จัังหวัดั ปทุมุ ธานีี 2. โครงการยกระดัับพััฒนาคุณุ ภาพชีีวิิตและยกระดัับรายได้้ให้้กัับชุมุ ชนฐานราก หน้้าที่่� 21 ตำำ�บลคููบางหลวง อำำ�เภอลาดหลุุมแก้ว้ จัังหวััดปทุุมธานีี 3. บ้้านงิ้�ว ชุุมชนแห่่งการท่่องเที่่�ยววิิถีีชุมุ ชน สืืบสานวััฒนธรรมอย่่างยั่ง� ยืืน หน้้าที่่� 41 พััฒนาการเกษตรอััจฉริยิ ะ ชุุมชนและเศรษฐกิิจฐานรากอย่า่ งมีีคุณุ ภาพ ตำำ�บลบ้้านงิ้้ว� อำำ�เภอสามโคก จัังหวัดั ปทุุมธานีี 4. ชุุมชนเกษตรปลอดภััย ยกระดัับสินิ ค้้าตามมาตรฐาน GAP สร้้างวิิถีีใหม่่ หน้้าที่�่ 61 ในการผลิิตสินิ ค้้า ตำ�ำ บลหนาไม้ อำำ�เภอลาดหลุุมแกว จัังหวััดปทุุมธานีี 5. สืืบสานภููมิิปััญญางานจัักสานเมืืองไผ่่ หน้้าที่่� 81 ตำ�ำ บลเมืืองไผ่่ อำ�ำ เภออรัญั ประเทศ จังั หวัดั สระแก้้ว 6. ระบบผลิิตน้ำ��ำ ดื่่ม� ชุมุ ชนและยกระดัับสุขุ ภาพชุุมชน หน้้าที่�่ 101 ตำ�ำ บลคลองไก่เ่ ถื่่�อน อำ�ำ เภอคลองหาด จังั หวััดสระแก้้ว 7. นวััตกรรมผ้้ามััดย้้อม สีีกาบมะพร้้าว หน้้าที่่� 121 ตำ�ำ บลคลองน้ำำ�� ใส อำำ�เภออรัญั ประเทศ จังั หวััดสระแก้ว้ 8. “ทุ่�งมหาเจริิญโมเดล” ปรัับ-เปลี่ย่� น สู่�เกษตรปลอดภััยที่�่ยั่ง� ยืนื บนวิิถีีใหม่่ หน้้าที่่� 141 ตำ�ำ บลทุ่�งมหาเจริิญ อำำ�เภอวัังน้ำ��ำ เย็น็ จัังหวััดสระแก้ว้ 9. สมุุนไพร เห็ด็ กระท้้อนอินิ ทรีีย์แ์ ปรรููป สู่่�ผลิติ ภััณฑ์์ยกระดัับคุุณภาพชีีวิติ หนองตะเคีียนบอน หน้้าที่�่ 161 ตำำ�บลหนองตะเคียี นบอน อำำ�เภอวััฒนานคร จังั หวััดสระแก้ว้

“àµÁÔ àµçÁÈ¡Ñ ÂÀÒ¾ªÁØ ª¹¤ÅͧËÒŒ ´ÇŒ ¡Ò÷͋ §à·ÕèÂÇÊÔ¹¤ŒÒªÁØ ª¹áÅÐÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ ÊÙ‹Áҵðҹ¤ÇÒÁ¾§Ö ¾Í㨠ÊÓËÃѺ¼ºŒÙ ÃâÔ À¤” µÓºÅ¤ÅÍ§ËŒÒ ÍÓàÀͤÅͧËÅǧ ¨§Ñ ËÇÑ´»·ÁØ ¸Ò¹Õ บทนาํ จากการศึกษาวิเคราะหศักยภาพชุมชน ดังน้ันสาํ นักสงเสริมการเรียนรูและบริการ ตาํ บลคลองหา อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ที่มหาวิทยาลัยมีสวนรวมดําเนินการพัฒนา ในพระบรมราชูปถัมถ จึงไดจัดทําโครงการยก ตง้ั แต ป พ.ศ. 2556 ถงึ ป พ.ศ. 2563 การวเิ คราะห ระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดให ตามหลักงาน 16 เปาหมาย พบวา จัดเปน กบั คนในชมุ ชนฐานราก ตําบลคลองหา อําเภอ “ตําบลมุงสูความยง่ั ยนื ” ในการ ดาํ เนนิ การของ คลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี โดยดาํ เนนิ งาน มหาวิทยาลัยมุงเนนในการฟนฟูและยกระดับ ตามหลักงาน 16 เปาหมาย เพื่อใหคนใน เศรษฐกิจฐานรากและสังคมรายตําบลแบบ ชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได บูรณาการ การพัฒนาตําบลคลองหา เพื่อสรา ง อยา งสมดลุ และมคี วามเหมาะสมสามารถดํารง ความย่งั ยืนมากขึ้นตอ งดาํ เนินการ ดังน้ี ชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งรว ม 1. พัฒนากลุมอาชพี ใหมคี วามเขม แข็ง สินคา มี กบั การสง เสรมิ ภูมิปญญาทองถิ่น เพิ่มคุณคา คุณภาพ ไดมาตรฐาน สงเสริมใหเปนสินคา และมูลคาเสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน OTOP และพฒั นาระบบการตลาดในรปู แบบตา งๆ เสริมสรางและพฒั นาสิ่งแวดลอมชุมชน และ 2. สงเสริมกิจกรรมชุมชนที่กอใหเกิดรายได การจัดการชุมชนตามแนวทางการพัฒนาสังคม และลดรายจาย ไดแก การแปรรูปผลิตผล ในรูปแบบการรวมกลมุ ทางสังคม สรางผนู ํา ทางการเกษตร และการลดใชสารเคมีในการ ชมุ ชน และปลกู ฝงจติ อาสาใหก ับประชาชน เพอื่ ผลิตพืช ใหช มุ ชนมีความเขม แข็ง มน่ั คง นําไปสูการพึ่งพา 3. สงเสริมและยกระดับสินคาเกษตรในชุมชน ตนเองและชวยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนไดอยาง เพื่อใหไดมาตรฐาน GAP และอินทรีย ย่ังยืน ˹Ҍ ·èÕ 1

˹Ҍ ·èÕ 2

ผลการดําเนินงาน กจิ กรรมในการดําเนนิ โครงการ การดําเนนิ โครงการแบง ได 5 กจิ กรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 กจิ กรรมที่ 2 ทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับพัฒนา การพฒั นาระบบการผลติ สรา งตราผลติ ภณั ฑ คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับคนใน และบรรจุภัณฑส ินคา ชมุ ชน ชมุ ชนฐานราก ตาํ บลคลองหา อาํ เภอคลองหลวง วธิ กี ารดาํ เนินงานกิจกรรม จงั หวดั ปทมุ ธานี 1. อบรมเชิงปฏิบัติการการยืดระยะเวลา วธิ กี ารดาํ เนนิ งานกจิ กรรม การเก็บรักษาขนมอบ ประชุมเชิงปฏิบัติการการทบทวนแผน 2. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาตราผลติ ภณั ฑ ปฏิบัติการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยก และบรรจภุ ณั ฑส นิ คา ชมุ ชน ระดับรายไดใหกับคนในชุมชนฐานรากตาํ บล คลองหา อาํ เภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี ˹Ҍ ·Õè 3

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพตลาดชุมชน และการ กิจกรรมขึ้นทะเบียนสินคาพืชปลอดสาร ประชาสัมพันธการทองเที่ยวตลาดชุมชนวิถี ตามมาตรฐานสินคาเกษตรปลอดภัย (GAP) พอเพียงบานคลองหา และการรับรองมาตรฐานสินคา OTOP ระดับ วิธีการดําเนินงานกิจกรรม 1-3 ดาว 1. การพัฒนาศักยภาพตลาดชุมชนเพื่อ วิธีการดําเนินงานกิจกรรม การรองรับปริมาณนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้น 1. จัดอบรมใหความรูระบบการผลิตผัก 2. การประชาสัมพันธตลาดชุมชน เพื่อ ตามมาตรฐาน GAP และยื่นขอขึ้นทะเบียน ใหเกิดการจดจําตราสินคาอยางตอเนื่อง กับกรมวิชาการเกษตร 2. ใหความรูและวางแผนระบบมาตรฐาน อย. และ OTOP ระดับ 1-3 ดาว ˹ŒÒ·èÕ 4

กจิ กรรมที่ 5 จิตอาสาตาํ บลคลองหารวมทาํ ความ สะอาดคลองหาใหเปน “คลองสวยนํ้าใสไมมี ผกั ตบชวา” วธิ กี ารดําเนนิ งานกิจกรรม 1. อบรมเชิงปฏิบัติการปญหาของผัก ตบชวาและแนวทางการแกปญหา 2. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแนวทางการสรา ง จิตอาสาตาํ บลคลองหารวมทาํ ความสะอาด คลองหาใหเ ปน“คลองสวยนา้ํ ใสไมม ผี กั ตบชวา” ˹ŒÒ·Õè 5

˹Ҍ ·èÕ 6

ภาคเี ครือขา ยทเ่ี กยี่ วขอ ง 8. สาํ นักงานพฒั นาชมุ ชนอําเภอคลองหลวง 9. กศน.อาํ เภอคลองหลวง ภาคเี ครือขา ยภาครัฐ 10. องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลคลองหา 1. เกษตรและสหกรณจงั หวดั ปทุมธานี 11. กลมุ กาํ นนั ผูใหญบ า นตาํ บลคลองหา 16 หมบู า น 2. สาํ นกั งานเกษตรจงั หวดั ปทุมธานี 3. สาํ นกั งานประชาสัมพนั ธจ ังหวดั ปทมุ ธานี 4. ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรปทุมธานี กรมวิชาการเกษตร 5. สถานพี ฒั นาทด่ี ินปทมุ ธานี 6. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย (วว.) 7. สํานกั งานงานเกษตรอําเภอคลองหลวง ˹Ҍ ·èÕ 7

ภาคีเครือขา ยภาคเอกชน 7. วสิ าหกจิ ชมุ ชนเกษตรปลอดภยั ตาํ บลคลองหา ตลาดสี่มมุ เมอื ง 8. กลมุ ขนมอบคนคลองหา ภาคเี ครือขา ยภาคประชาชน 9. วสิ าหกจิ ชมุ ชนผูผ ลติ ไขเ คม็ หมหู ก 1. รา นยาํ คณุ ครู 10. วสิ าหกจิ ชมุ ชนผูผ ลติ ปลาคลองหก 2. กว ยเตยี๋ วเรอื คลองหา 11. วสิ าหกจิ ชมุ ชนสวนลงุ ผูใหญห มสู บิ สอง 3. กลมุ เบเกอรบี่ า นคลองหา 12. ประชาชนตาํ บลคลองหา 4. กระเปา ผา ปา จติ ร (OTOP 3 ดาว) 5. รา นขนมไทยผูช ว ยตุก ตา 6. รา นสม ตาํ ไกอ บโอง ˹ŒÒ·èÕ 8

สรปุ ผลการดาํ เนินงาน กจิ กรรมท่ี 2 การพฒั นาระบบการผลติ สรา งตราผลติ ถณั ฑ กจิ กรรมท่ี 1 ทบทวนแผนปฏิบตั กิ ารยกระดับพฒั นา และบรรจภุ ณั ฑส ินคา ชมุ ชน คณุ ภาพชีวิตและยกระดับรายได ใหก ับคนใน นวัตกรรมที่นําไปใชก บั ชุมชน : การยืด ชมุ ชนฐานราก ตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง อายุการเกบ็ รักษาขนนเปย ะ จงั หวดั ปทมุ ธานี เทคโนโลยที นี่ าํ ไปใชก บั ชมุ ชน : การแปรรปู องคค วามรทู น่ี ําไปใชก บั ชมุ ชน : การประยกุ ต และการถนอมอาหารกลุมขนมอบ ใชก ระบวนการบริหารจัดการชุมชนและการ องคค วามรทู นี่ ําไปใชก บั ชมุ ชน : การ ออกแบบกจิ กรรมเชงิ กระบวนการ เพอ่ื ใหไดแ ผนใน ออกแบบตราสินคา และบรรจุภณั ฑข นมทั่วไป การจดั การชมุ ชนอยา งยง่ั ยนื และขนมเปย ะ เพอื่ การเกบ็ รกั ษาทนี่ านมากขน้ึ ˹Ҍ ·èÕ 9

กจิ กรรมท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 4 พัฒนาศักยภาพตลาดชุมชน และการ กจิ กรรมขน้ึ ทะเบยี นสนิ คา พชื ปลอดสารตาม ประชาสัมพันธก ารทองเที่ยวตลาดชุมชนวิถี มาตรฐานสนิ คา เกษตรปลอดภยั (GAP) และการ พอเพยี งบา นคลองหา รบั รองมาตรฐานสนิ คา OTOP ระดบั 1-3 ดาว องคค วามรทู น่ี าํ ไปใชก บั ชมุ ชน : การออกแบบ องคค วามรทู นี่ ําไปใชก บั ชมุ ชน : การผลติ ตลาดชมุ ชนตามแนวทางตลาดวถิ ที อ งเทย่ี วและ บตั เตอรน ัทเพอ่ื การคา การขอรับรองมาตรฐาน การวางรปู แบบการประชาสมั พนั ธต ลาด GAP, อย. และ O-TOP ˹ŒÒ·Õè 10

˹Ҍ ·èÕ 11

กิจกรรมที่ 5 จิตอาสาตําบลคลองหารวมทําความสะอาด คลองหาใหเ ปน “คลองสวยนํ้าใสไมมีผักตบชวา” องคความรทู ี่นําไปใชกับชุมชน : การจัดการ นเิ วศวิทยาแหลง นํ้า วิธีการอนรุ กั ษด ินและน้าํ อยา ง ยัง่ ยนื และการกาํ จัดและการใชป ระโยชนผ กั ตบชวา ˹ŒÒ·èÕ 12

ผลผลติ จากการดาํ เนนิ โครงการ 1. ผลิตภณั ฑข นมเปยะคนคลองหา ทพี่ ฒั นาสูตรจน สามารถเก็บได 14 วัน ˹ŒÒ·èÕ 13

2. บตั เตอรน ทั ปลอดสารพษิ ทอ่ี ยรู ะหวา งการ ขอรบั รอง GAP 3. โรงเรอื นปลกู พชื แบบกางมงุ ระบบ Smart Farm 4. ผกั ปลอดสารพษิ ของวสิ าหกจิ ชมุ ชนสวนลงุ ผใู หญห มู 12 ทไี่ ดร บั มาตรฐาน GAP 5. ตน แบบไขเ คม็ ดอกไมส มนุ ไพร ˹ŒÒ·èÕ 14

ผลลัพธจากการดาํ เนิน โครงการ 1. ประชาชนเขารวมโครงการ 370 ครัวเรือน 2. รายไดเฉลีย่ ที่เพมิ่ ขนึ้ จากการดาํ เนิน โครงการในป 2564 เมือ่ เทียบกบั เร่ิมโครงการ ในป 2562 รอยละ 45.80 อธบิ ายไดด งั นี้ 1) รายไดจากตลาดชุมชนวิถีพอเพียง บานคลองหารอยละ -0.21 2) รายไดจากการผลิตบัตเตอรนัท รอยละ 28.00 3) รายไดจากกลุมขนมอบคนคลอง หารอยละ 99.70 4) รายไดจากวิสาหกิจชุมชนสวนลุง ผูใหญหมู 12 รอยละ 68.57 3. ภาคีเครอื ขา ยภาครฐั เอกชน และ ประชาชน 13 เครอื ขา ย ˹Ҍ ·èÕ 15

ผลตอบรับจากการดําเนิน โครงการ ก า ร ดํา เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ทํา ใ ห ห ล า ย ๆ หนวยงาน สนใจเขามารวมดําเนินกิจกรรม พัฒนาชุมชนในพ้ืนที่ตําบลคลองหามากขึ้น ประชาชนรูจากมหาวิทยาลัยมากขึ้น และให ความรวมมืออยางดีในการดําเนินกิจกรรมเชิง การพัฒนา และยังมีจิตอาสาใหการชวยเหลือ ทีมดําเนินงาน ถึงแมจะมีการระบาดของเช้ือ โควิด 19 ˹Ҍ ·èÕ 16

เสียงสะทอนจากชุมชน ประชาชนในชมุ ชนตอ งการใหม หาวทิ ยาลยั เขา มาฝก อาชพี ตา งๆทเี่ ปน การแปรรปู ผลผลติ ทว่ั ไป และผลผลติ ทางการเกษตรชว ยเพม่ิ ชอ งทางการ การจําหนา ยสนิ คา และสรา งตลาดชมุ ชนเพมิ่ เตมิ ในสถานทอ่ี นื่ ๆใหค วามชว ยเหลอื ประชาชนจาก สถานการณก ารระบาดของเชอ้ื โควดิ 19 และ ประชาชนอยากใหม หาวทิ ยาลยั ประสานเครอื ขา ย หนว ยงานภาครฐั เขา มาสง เสรมิ กจิ กรรมในชมุ ชน มากขนึ้ (นางสาวศรีนวล ทิพาพงษผกาพันธ กํานันตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี) ˹Ҍ ·Õè 17

ผลกระทบดา นเศรษฐกจิ การดาํ เนินกิจกรรมในมิติดานเศรษฐกิจ คณุ ภาพและมาตรฐานขนมอบ มผี เู ขา รว มทงั้ หมด ไดแ ก การดาํ เนนิ กจิ กรรมตลาดชมุ ชนวถิ พี อเพยี ง 15 ครวั เรอื น พบวา รายไดเ พม่ิ ขน้ึ รอ ยละ 99.70 จาก บา นคลองหา มผี เูขา รว มทง้ั ทางตรง 100 ครวั เรอื น การดาํ เนนิ กจิ กรรมในภาพรวมทง้ั ตาํ บลคลองหา พบ คอื การจาํ หนา ยสนิ คา ในตลาดชมุ ชน และทางออ ม วา การการดาํ เนนิ กจิ กรรมทาํ ใหป ระชาชนมรี ายได คอื ผจู ดั เตรยี มสนิ คา และผลติ สนิ คา เขา มาจาํ หนา ย เพมิ่ ขน้ึ เฉลย่ี รอ ยละ 45.80 ในตลาดชุมชน จํานวน 200 ครัวเรอื น สง ผลให ประชาชนทเี่ ขา รว มกจิ กรรมตลาดมรี ายไดล ดลงรอ ย ละ 0.21 เนอ่ื งจากผลกระทบจากการระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ 19 และกจิ กรรมการขอรบั รองมาตรฐาน สนิ คา GAP ในฟก ทองบตั เตอรน ทั มผี เูขา รว ม 25 ครวั เรอื น ซงึ่ เปน กจิ กรรมสบื เนอื่ งจากโครงการยก ระดบั คณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนประจาํ ป 2563 พบวา ราย ไดเ พม่ิ ขนึ้ รอ ยละ 28.00 และกจิ กรรมการพฒั นา ˹Ҍ ·Õè 18

ผลกระทบดานสังคมและ ผลกระทบดา นสง่ิ แวดลอ ม วัฒนธรรม การดาํ เนนิ กจิ กรรมผจู ดั โครงการใหค วามรู การดําเนินกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ดา นการจดั การทรพั ยากรทางนาํ้ และการบรหิ าร ทําใหประชาชนในตําบลมากกวารอยละ 80 จดั การพนื้ ทชี่ มุ ชนสว นรวม การจดั การระบบการ ของประชากรท้ังหมดต่ืนตัวรวมกิจกรรมให ผลติ แบบปลอดสารพษิ ในภาคการเกษตร สง ผล ความรว มมอื ในการดาํ เนนิ การทกุ ๆ ดา นทรี่ อ งขอ ใหค คู ลองสะอาดมากขน้ึ พน้ื ทช่ี มุ ชนเปน ระเบยี บ หนว ยงานภาครฐั ระดบั จงั หวดั อาํ เภอ และตาํ บล มากขน้ึ และประชาชนเรม่ิ ลดการใชส ารเคมมี ากขนึ้ ใหความสําคัญกับการพัฒนาชุมชนมากขึ้น และเกดิ ตวั อยา งการผลติ สนิ คา เกษตรแบบปลอด นักการเมืองทองถิ่นเร่ิมเขาใกลและสงเสริม สารตน แบบในชมุ ชน กจิ กรรมชมุ ชนมากขน้ึ โดยเฉพาะ สส.เขต 6 สจ. และ นายก อบต. ทําใหการดาํ เนินกิจกรรมทําได อยา งรวดเรว็ เกดิ วฒั นธรรมใหมใ นการทาํ กจิ กรรม ในยคุ สถานการณโ ควดิ ประชาชนมกี ารปรบั ตวั อยา ง รทู ันในการรวมกิจกรรมภาคในชุมชนโดยเฉพาะ กจิ กรรมจติ อาสา ˹Ҍ ·Õè 19

ขอเสนอแนะ ห า ก มี ก า ร ดํา เ นิ น ก า ร ต อ ย อ ด ก า ร พัฒนาตําบลคลองหา ควรเขาไปยกระดับ สินคาในตลาดชุมชนใหมีความหลากหลาย มากขึน้ ปรบั บรรจภุ ัณฑ ตราสินคา ใหด ูทันสมัย ควรสงเสริมใหเกิดตลาดนัดเพิ่มเติมชวงเย็น บริเวณตลาดชุมชน และจัดกิจกรรมใหเยาวชน และนักเรียนมีสวนรวมมากข้ึน ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ อาจารยวิณากร ที่รัก อาจารยภัทรเวช ธาราเวชรักษ อาจารยวิษชญะ ศิลานอย อาจารยรวิธร ฐานัสสกุล อาจารยปรียาภา เมืองนก ˹ŒÒ·èÕ 20

â¤Ã§¡ÒáÃдºÑ ¾²Ñ ¹Ò¤³Ø ÀÒ¾ªÇÕ µÔ áÅСÃдºÑ ÃÒÂä´ŒãËŒ¡ºÑ ªÁØ ª¹ °Ò¹ÃÒ¡ µÓºÅ¤ÙºÒ§ËÅǧ ÍÓàÀÍÅÒ´ËÅØÁá¡ŒÇ ¨§Ñ ËÇ´Ñ »·ÁØ ¸Ò¹Õ บทนํา จากการศกึ ษาปญ หาของชมุ ชน เปน รายดา น ขาดระบบการจดั การในกลุม โดยพบวามกี ลมุ ทั้งหมด 5 ดาน ไดแก ดานสขุ ภาพ ดา นความ สัมมาชีพและวิสาหกิจของชุมชนที่ยังคงดําเนิน เปนอยู ดา นการศกึ ษา ดานรายได และดานการ อยเู ปนรูปธรรมชดั เจนเพยี ง 1 กลุม คอื กลมุ เขา ถงึ บรกิ ารของรฐั เมอ่ื ไดป ญ หาและสภาพปญ หา กาละแมรวงขา ว อกี ดา นของเปา หมาย 16 ประการ ของชุมชน จึงดาํ เนินการจัดกิจกรรมเพอ่ื แกไข คอื ดา นการฝก อบรมดา นสงั คม พบวา มกี ารอบรม ปญหาของคนในชุมชนดังกลา ว จากการศึกษา พัฒนาทักษะทางอาชีพตางๆ แตยังขาดความ สภาพชุมชนและวิเคราะหปญหาของชุมชน ตอ เน่ือง และเมือ่ ประเด็นดงั กลาวสาํ รวจปญ หา ตาม 16 เปาหมาย ของกระทรวงการอุดมศกึ ษา และความตองการของประชาชนในการพัฒนา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม พบวา เปา หมาย ดังน้ี ดานสัมมาชีพเต็มพืน้ ที่ พบวา กลุมสัมมาชพี 1) กาละแมและขนมบางชนดิ ทก่ี ลมุ อาชพี ยงั ไมเ ต็มพืน้ ทแ่ี ละมีความเขมแข็งนอย ดา นการ ผลิตนัน้ จําหนา ยไดป ริมาณไมมากเนือ่ งจาก จัดการวสิ าหกิจ พบวา กลุมวิสาหกิจยังขาดหลกั กาละแมมอี ายสุ นั้ (กาละแมควรรบั ประทานประมาณ และแนวทางในการดาํ เนนิ งานที่ตอเนอ่ื ง รายได 7 วนั ) การจะจดั สง ขายชอ งทางออนไลนห รอื จากวิสาหกิจและกลมุ สัมมาชพี ยงั ไมเ พียงพอ ในชุมชนอื่นที่มีระยะเวลาในการจดั สง นานจงึ ทําใหข ายในชอ งทางดงั กลา วไดน อ ย ˹Ҍ ·Õè 21

2) ขาดความรูแ ละแนวทางในการผลิต ผลติ ภัณฑเพ่อื สรา งรายได กาละแมและสินคา อื่นๆ ในกลุมอาชีพดา น จากประเด็นปญ หาดังกลาว คณะทํางาน การยดื อายกุ าละแม จึงไดจัดกิจกรรมเพ่ือแกไขปญหาและสงเสริม 3) กาละแมและสินคา ในชมุ ชนยงั ไมได การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ดา นรายได เปน 3 กจิ กรรม รับการรับรองมาตรฐานจากอย. จงึ อาจจะไม ดังน้ี กจิ กรรมท่ี 1 การทบทวนแผนปฏิบตั กิ าร ไดร ับความนยิ มในการซอื้ หรอื บอกตอ ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได 4) กาละแมและสนิ คา ในชมุ ชนยงั ไมเ ปน ที่ ใหก ับคนในชมุ ชนฐานราก, กิจกรรมท่ี 2 การ รจู กั ของคนทวั่ ไปมากนกั เพิ่มคุณภาพการผลิตกาละแมมอญโบราณของ 5) กลุม นวดยงั ขาดความเขม แขง็ ในการ ชมุ ชน และกจิ กรรมท่ี 3 การเพมิ่ ทกั ษะดา นการ รวมกลมุ เนอื่ งจากบางคนในกลมุ ยงั ขาดความรู นวดเพื่อสุขภาพและการทําผลิตภัณฑจาก และทกั ษะการนวด สมนุ ไพรเพ่ือสุขภาพ 6) ขาดความรแู ละทกั ษะการจดั ทําสมนุ ไพร ใชในครวั เรอื นหรอื เพอื่ จําหนา ยในสถานบรกิ าร นวดของชมุ ชน 7) ตอ งการนาํ สมนุ ไพรในชมุ ชนมาจดั ทาํ เปน ˹Ҍ ·Õè 22

ผลการดาํ เนินงาน ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เรจ็ /คา เปา หมาย กิจกรรมท่ี 1 การทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ 1. จาํ นวนเครือขายชุมชน และประชารัฐ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ อยางนอย 4 เครือขาย ไดแก องคการบริหาร คนในชุมชนฐานราก สว นตาํ บลคบู างหลวง โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพ วัตถุประสงค เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติ ตําบลคูบางหลวง (หมู 1) โรงพยาบาลสงเสริม การยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ สุขภาพตําบลคบู างหลวง (หมู 6) และสว นชุมชน รายไดใ หก บั คนในชมุ ชนฐานราก ตาํ บลคบู างหลวง (กาํ นัน ผใู หญบ าน และประชาชน) อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี ใหส อดคลอ ง 2. ไดแผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ยกระดบั พฒั นา กับ 16 เปาหมาย ของกระทรวงการอุดมศึกษา คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับคนใน วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ชมุ ชนฐานราก ผลที่คาดวาจะไดร บั มีเครือขายความรวมมือจากหนวยงาน ภาครัฐหรือเอกชน ˹Ҍ ·èÕ 23

การดําเนินงาน วามีผลิตภัณฑสินคาในชุมชนจํานวนมากเปน 1. ทบทวนแผนปฏบิ ตั กิ ารรว มกบั องคก าร แหลงที่สามารถปลูกตนกระทอมได เสนอให บรหิ ารสว นตาํ บลคบู างหลวง หากจัดกิจกรรมในครั้งตอไปสามารถเสนอราง เพื่อใหเกิดเครือขายความรวมมือกับ แผนปฏิบัติเพื่อขอความอนุเคราะหในโครงการ ภาครัฐ (อบต.) ดําเนินการโดยนําแผนปฏิบัติ หรือกิจกรรมได การที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลนําเสนอตอ ระยะเวลาในการดําเนินงาน มีนาคม – องคการบริหารสวนตําบลคูบางหลวง ไดรับขอ พฤษภาคม 2564 เสนอแนะและประสานเครือขายที่เกี่ยวของ ไดแก โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลคบู างหลวง 2. ทบทวนแผนปฏิบัติการรวมกับชุมชน (หมู1) โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลคบู างหลวง เพื่อใหเกิดเครือขายความรวมมือภาค (หมู 6) และสว นชมุ ชน (กาํ นนั ผใู หญบ า น และ ประชาชน และวิเคราะหหาปญหาที่แทจริง ประชาชน) เพอ่ื ใหส ามารถดาํ เนนิ กจิ กรรมทต่ี ง้ั ไว ของประชาชนในชุมชน จากการวิเคราะห ใหส าํ เรจ็ ลลุ วงไปไดพ รอมทั้งไดพูดคุยประเด็น ระยะเวลาในการดําเนินงาน มีนาคม – ที่ทางอบต.คูบางหลวงกําลังสนใจตองการ พฤษภาคม 2564 พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายไดใหแก ประชาชนในตาํ บล โดยไดเ สนอจดุ แขง็ ของคนในตาํ บล ˹ŒÒ·Õè 24

˹Ҍ ·èÕ 25

˹Ҍ ·èÕ 26

˹Ҍ ·èÕ 27

˹Ҍ ·èÕ 28

กจิ กรรมท่ี 2 การดาํ เนนิ งาน การเพม่ิ คณุ ภาพการผลติ กาละแมมอญโบราณ 1. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแนวทางการขอ ของชุมชน ขน้ึ ทะเบยี นอย. (กาละแมมอญโบราญ) วตั ถปุ ระสงค เพอ่ื เพม่ิ คณุ ภาพการผลติ กาละแม ดาํ เนินการจดั อบรมเพอ่ื ใหก ลมุ เปา หมาย มอญโบราณของชมุ ชน ความรเู รอื่ งแนวทางการปฏิบตั ติ ามหลกั เกณฑ ผลทค่ี าดวา จะไดร บั กลมุ เปา หมายสามารถผลติ GMPกฏหมายฉบบั ใหมต ามประกาศกระทรวง กาละแมมอญโบราณทม่ี คี ณุ ภาพสามารถจาํ หนา ย สาธารณสุข พ.ศ. 2563 และเรือ่ งวธิ กี ารผลติ ไดม ากขน้ึ เครอื่ งมอื เครอื งใชในการผลติ และการเกบ็ รกั ษา ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เรจ็ /คา เปา หมาย อาหาร จนสามารถนําไปสกู ารผลติ กาละแมที่ได 1. กลมุ เปา หมายมรี ายไดเ พม่ิ ขน้ึ จากการขาย รบั การรบั รองตามมาตรฐานอย. กาละแมมอญโบราณ ไมน อ ยกวา รอ ยละ 10 ระยะเวลาในการดําเนินงาน วันที่ 19 2. กาละแมมอญโบราณ ไดรบั การรบั รอง มิถนุ ายน 2564 มาตรฐานจาก อย. 3. เกิดการรวมกลุมอาชีพผลิตกาละแม มอญโบราณ ˹Ҍ ·Õè 29

2. อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแนวทางการ 3. จัดทําการประชาสัมพันธกาละแม พฒั นารปู แบบการผลิตและบรรจุภณั ฑ มอญโบราณเพื่อใหเกิดการจดจําตราสินคา ดําเนนิ การจดั อบรมเพอื่ ใหก ลุม เปา หมาย อยางตอเนื่อง มคี วามรเู รอื่ งการออกแบบและเลอื กบรรจภุ ณั ฑ ดาํ เนินการประชาสัมพันธผานชองทาง ในการจดั เกบ็ กาละแมและสนิ คา อนื่ ๆใหส ามารถ facebook มากขึ้น นาํ เสนอรูปแบบการขาย ยดื อายุไดนานมากขึ้น มีรูปแบบบรรจุภัณฑที่ ผา นชองทางออนไลนใน Shopee มากข้นึ นํา หลากหลายมากขนึ้ สินคามาวางขายในพ้นื ทีช่ ุมชนอ่ืน จัดทําปา ย ระยะเวลาในการดําเนินงาน วันที่ 3 ประชาสมั พนั ธใ หม คี วามนา สนใจเพอ่ื ใหก าละแม กรกฎาคม 2564 มอญโบราณและสนิ คาอน่ื ๆ ในชมุ ชนเปนทร่ี จู ัก มากข้นึ มรี ายไดจากการขายมากขึน้ ระยะเวลาในการดาํ เนินงาน มถิ ุนายน - กรกฎาคม 2564 ˹Ҍ ·Õè 30

กิจกรรมที่ 3 การดําเนินงาน ก า ร เ พิ่ ม ทั ก ษ ะ ด า น ก า ร น ว ด เ พื่ อ 1. อบรมเชิงปฏิบัติดานการเพิ่มทักษะ สุขภาพและการทําผลิตภัณฑจากสมุนไพร การนวดเพื่อสุขภาพ เพื่อสุขภาพ ดําเนินการจัดอบรมเพื่อใหกลุมเปา วัตถุประสงค เพื่อเพิ่มทักษะดานการนวด หมายมีความรูเรื่องการนวด และเสริมทักษะ เพื่อสุขภาพและทักษะการทําผลิตภัณฑจาก และเทคนิคในการนวดเพื่อสุขภาพแกตนเอง สมนุ ไพรเพอื่ สุขภาพ และผูใหบริการนวด ผลที่คาดวาจะไดรับ ระยะเวลาในการดําเนินงาน วันที่ 24- 1) กลุมเปาหมายมีทักษะการนวดเพื่อ 27 มิถุนายน 2564 สุขภาพจนสามารถสรางกลุมอาชีพนวดเพื่อ 2. อบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการ สุขภาพและมีรายไดจากการนวดเพิ่มขึ้นไม สรางผลิตภัณฑจากสมุนไพร (ยาหมอง นอยกวารอยละ 10 สมุนไพรและนํ้ามันสมุนไพร) 2) กลุมเปาหมายสามารถทําผลิตภัณฑ ดําเนินการจัดอบรมเพื่อใหกลุมเปา จากสมุนไพรเพื่อสุขภาพและสามารถ หมายมีความรูและทักษะการทํายาหมอง จําหนายได สมุนไพรและนํ้ามันสมุนไพรสูตรตางๆ ได ตัวชี้วัดความสําเร็จ/คาเปาหมาย ระยะเวลาในการดําเนินงาน วันที่ 28 1) กลุมเปาหมายมีรายไดเพิ่มขึ้นจาก มิถุนายน 2564 การนวดไทยเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑจาก 3. อบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการ สมุนไพร (ยาหมอง ยาดม นํ้ามันสมุนไพร สรางผลิตภัณฑจากสมุนไพร (ลูกประคบ และลูกประคบ) ไมนอยกวารอยละ 10 สมุนไพรและยาดมสมุนไพร) 2) เกิดการรวมกลุมอาชีพนวดเพื่อ ดําเนินการจัดอบรมเพื่อใหกลุมเปา สุขภาพ หมายมีความรูและทักษะการลูกประคบ สมุนไพรและยาดมสมุนไพรรูปแบบตางๆ ได ระยะเวลาในการดําเนินงาน วันที่ 29 มิถุนายน 2564 ˹Ҍ ·èÕ 31

กิจกรรมที่4 ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของก ิ จ ก ร ร ม ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล แ ล ะ ส ร ุ ป ผ ล ภาคีเครือขายภาครัฐ การประเมินผลและสรุปผลดาํ เนินในระหวางท่ี ภ า คี เ ค รื อ ข า ย ภ า ค รั ฐ ที่ ไ ด ติ ด ต อ ดาํ เนินกิจกรรมและเม่ือส้ินสุดกิจกรรมโดยมีข้ึน ตอนดงั น้ี สื่อสารและใหความรวมมือในตาํ บลคูบางหลวง ไดแก เครือขายจากการปกครองทองถิ่น คือ 1) ประเมินผลจากเสียงสะทอนจาก องคก ารบรหิ ารสวนตําบลคบู างหลวง เครือขาย กลุมเปาหมายที่เขารวมกิจกรรม องคการ จากสมาชกิ อสม. หมู 3 นางปย ะรตั น มะหะหมดั , บริหารตําบลคูบางหลวง และตัวแทนจาก หมู 4 นางวาสนา มะหะหมดั , หมู 7 นางสมหมาย เครือขายที่ผูเกี่ยวของ นิลศรีนวล, หมู 9 นางเสาวลักษณ ลักษณะ ศรีและ หมู 11 นางสุวรรณา คงยืน สมาชิก 2) ดําเนินการรายงานผลการติดตาม อสม.ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ผลการประเมินโครงการโดยผูทรงคุณวุฒิ คูบางหลวง (หมู 1) และโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลคูบางหลวง (หมู 6) 3) นําผลจากการประเมินมาสรุปหา ภาคีเครือขายภาคประชาชน ปญหาและจัดทําเปนแนวทางการแกไขและ พัฒนาตอในอนาคต เครอื ขา ยจากสภาวฒั นธรรมตาํ บลคบู างหลวง นางสมหมาย นลิ ศรนี วล ประธานสภาวฒั นาธรรม เครือขายศูนยสงเสริมพัฒนาประชาธิปไตย และสภาองคชุมชน นางวาสนา มะหะหมัด กรรมการ และสภาองคกรชุมชน นางปยะรัตน มะหะหมัด กรรมการ ˹ŒÒ·èÕ 32

5) ความรเู รอ่ื งแนวทางการประชาสมั พนั ธ ผลิตภัณฑด านอาหาร การสรางเรอื่ งราวใหน า สนใจและนา ตดิ ตาม 6) นาํ วธิ กี ารใชเ ครอ่ื งสญุ ญากาศมาประยกุ ต ใชใ นการยดื อายกุ าละแม และอาหารอน่ื ๆใหม อี ายุ ในการรบั ประทานไดน านขน้ึ จากเดมิ โดยยงั คง คณุ คา ทางอาหาร คงความอรอ ย และไมใ ชส ารกนั บดู 7) นาํ วธิ กี ารลดตนทุนโดยใชการปมตรา ปมในถุงกระดาษเปนบรรจภุ ณั ฑเ พ่ือลดตน ทนุ 2. นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคค วามรดู า น การนวด ในการดําเนินงานไดนํานวัตกรรมและ เทคโนโลยีมาใชในชมุ ชน ดงั นี้ 1) นาํ วธิ กี ารใชเ ครอ่ื งสญู ญากาศมาประยกุ ต ใชในการเพิ่มมูลคาลูกประคบสมุนไพร โดยนํา สรุปผลการดําเนินงาน ลกู ประคบบรรจใุ นผลติ ภณั ฑถ งุ สญู ญากาศ ทาํ ให 1. นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดาน ลกู ประคบคงกลน่ิ ของสมนุ ไพรไวไ ดน านขน้ึ เกบ็ ได ผลิตอาหาร (กาละแม) นานขน้ึ ปอ งกนั ความชน้ื และแมลงมาทาํ ลาย ใ น ก า ร ดํา เ นิ น ง า น ไ ด นํา น วั ต ก ร ร ม 2) ความรูเรื่องการนวดเพื่อสุขภาพ 36 เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใชในชุมชน ดังนี้ ชั่วโมง 1) ความรเู รอ่ื งแนวทางการปฏบิ ตั ติ ามหลกั 3) ความรเู รอ่ื งการผลติ สนิ คา และผลติ ภณั ฑ เกณฑ GMP จากสมนุ ไพร ไดแ ก ยาหมอ งสมนุ ไพร, นา้ํ มนั สมนุ ไพร, ลกู ประคบสมนุ ไพรและยาดมสมนุ ไพร 2) ความรเู รื่องวิธกี ารผลติ การใชเครอื่ ง มอื ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร 3) ความรเู รอ่ื งแนวทางการพฒั นารปู แบบ การผลติ และบรรจภุ ณั ฑ 4) ความรเู รอ่ื งแนวทางการยดื อายอุ าหาร ˹Ҍ ·èÕ 33

ผลผลิตจากการดาํ เนิน ผลลัพธจากการดาํ เนิน โครงการ โครงการ 1. กาละแมมอญโบราณ กิจกรรมที่ 1 2. ผลิตภัณฑจากสมุนไพร การทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ คนในชุมชนฐานราก 1) มีกระบวนการทบทวนแผนปฏิบัติ การยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ รายไดใหกับคนในชุมชนฐานราก ตําบลคูบาง หลวง อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี สอดคลองกับ 16 เปาหมายของกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รวมกับชุมชน 2) มีเครือขายประชารัฐ 4 เครือขาย ไดแก เครือขายจากองคการบริหารสวนตําบล คูบางหลวง เครือขายจากอสม.หมู 3, หมู 4, หมู 7, หมู 9 และหมู 11 เครือขายจากสภา วัฒนธรรมตําบลคูบางหลวง และเครือขาย ศูนยสงเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและสภา องคชุมชน 3) ไดรา งแผนปฏิบตั กิ ารป 2565 รว มกับ อบต.คูบางหลวง ˹Ҍ ·èÕ 34

กิจกรรมที่ 2 การเพม่ิ คณุ ภาพการผลติ กาละแมมอญโบราณ ของชุมชน 1) สามารถยืดอายุกาละแมไดนานขึ้น 4 วนั 2) มีชองการในการขายกาละแมและ สนิ คา อื่นในชุมชนมากขึ้น 3) มีรายไดเพิม่ ข้ึน 8.6 (เดมิ 1,917 บาท/เดือน พบวามีรายไดเ พิ่มขึน้ 2,083) 4) มีการประชาสัมพันธกาละแมและ สินคา ในชุมชนในชอ งทางออนไลนมากขึ้น 5) ไดบรรจุภัณฑท่ีลดตนทุนทําให ขายในชมุ ชนไดมากขึ้น ˹Ҍ ·èÕ 35

กจิ กรรมที่ 3 ความสนใจในประเด็นการยืดอาหารและบรรจุ การเพิ่มทักษะดานการนวดเพ่ือสุขภาพ ภัณฑใหคงอัตลักษณของการเปนกาละแมมอญ และการทําผลติ ภณั ฑจากสมนุ ไพรเพอื่ สขุ ภาพ โบราณไว ไดร ว มฝกจดั ทําวธิ กี ารผลติ กาละแม 1) กลุมเปาหมายมีความรูและทักษะ แบบสญู ญากาศ การนวดเพิ่มขน้ึ กิจกรรมท่ี 4 การเพิม่ ทักษะดานการนวดเพ่อื 2) ไดผลิตผลิตภัณฑจากสมุนไพรได สุขภาพและการทาํ ผลิตภัณฑจากสมุนไพรเพ่ือ 4 ผลติ ภัณฑ ไดแก ลูกประคบสมนุ ไพร ยาดม สุขภาพ ยาหมอง น้ํามันสมุนไพร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ต อ บ รั บ จ า ก มี ผู เ ข า ร ว ม 3) เกิดการรวมกลุมนวดเพ่ือสุขภาพ มากกวารอ ยละ 80 จาํ นวน 20 คน พบวากลุม จํานวนสมาชิกมากขึน้ เปาหมายใหความสนใจในการเขารวมอยางตอ เนือ่ งทกุ วันในระยะเวลา 6 วัน โดยเฉลยี่ ทกุ วันมี ผลตอบรับจากการดําเนิน ผูเขา รวมโครงการมากกวา รอยละ 80 โครงการ กจิ กรรมท่ี1 การทบทวนแผนปฏบิ ัติการยกระดับ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ คนในชุมชนฐานราก ประเมินผลตอบรับจากการมีเครือขาย ภาครัฐและภาคประชาชน จาํ นวน 4 เครอื ขาย ใหความรวมมือในการเขารวมกิจกรรมสนับสนุน สถานทใี่ นการดําเนินกิจกรรม ใหข อมูลพืน้ ฐาน เพือ่ ใชป ระกอบในการวิเคราะหข อมูล กิจกรรมที่ 2 การเพมิ่ คุณภาพการผลติ กาละแม มอญโบราณของชุมชน ประเมินผลตอบรับจากมีผูเขารวมรอยละ 100 จํานวน 25 คน พบวา กลุมเปาหมายใน กิจกรรมนี้ใหความสนใจในการเขารวมอบรม โดยการซักถามวิทยากรในการอบรมเร่ืองการ ผลติ ขนมตามแนวทาง GMP ประเดน็ ในการขอ การรับรองจากอย.ของผลิตภัณฑกาละแม ให ˹Ҍ ·èÕ 36

เสียงสะทอนจากชุมชน นางสมหมาย นิลศรีนวล ประธานสภา วัฒนธรรมตําบลและอสม.หมู 7 “เปน โครงการทีด่ ี เปน ประโยชนแกค นในชมุ ชน จากเดิมท่ีมีกลุมผลิตกาละแมและขนมในชุมชน ทางคณะทําไดเขามาใหความรูเรื่องแนวทางการ ขอขนึ้ ทะเบียนรับรองจากอย. และสอนวิธีการ ยืดอายุกาละแม ทาํ ใหกาละแมมอี ายยุ าวมาก ขึ้น 3-4 วัน มีการคิดคนสินคาใหนาสนใจตอ ยอดจากเดมิ ผลิตเปนกาละแมเมด็ บวั ซึง่ เปน อตั ลักษณของจงั หวัดปทุมธานี เพ่ิมชอ งทางการ ขายดวยบรรจุภัณฑท่ีลดตนทุนลงและกลุมเรา มีรายไดเพ่ิมจากชวงสถานการณโรคระบาด โควิด-19 มีชองทางในการขายสินคาท้ังกาละแม และขนมของกลุมเราไดมากขึ้น ควรจะมาจัด กิจกรรมแบบนี้ใหชุมชนบอยๆ ” นางเสาวลกั ษณ ลกั ษณะศรี อสม.หมู 9 “ชอบกจิ กรรมอบรมเร่อื งนวด และทําผลติ ภณั ฑ จากสมนุ ไพร เดมิ เคยอบรมนวดกนั อยแู ลว แต ชว งโรคระบาดโควดิ -19 เมอ่ื ไมไ ดไ ปนวดนานกข็ าด ทกั ษะการนวดวทิ ยากรมาชว ยเสรมิ ทกั ษะการนวด ใหถ กู ตอ งตามหลกั การแพทยแ ผนไทย ตอนนข้ี าด รายไดจ ากการนวด การทม่ี กี จิ กรรมอบรมความรู เรอ่ื งการนวดชว ยทบทวนความรใู หแ ละยงั ไดค วามรู เร่อื งการทาํ ผลิตภัณฑสมุนไพรเพ่อื จะไดทาํ ไวขาย ในชว งทส่ี ามารถบรกิ ารนวดได แตอ ยากใหม กี าร จดั อบรมนวดทไ่ี ดใ บประกาศรบั รองนวดเพอ่ื สขุ ภาพ จะไดน าํ ไปประกอบอาชพี ในตา งประเทศได” ˹Ҍ ·èÕ 37

นางสวุ รรณา คงยนื อสม.หมู 11 “เขา รว มทกุ กจิ กรรมเพราะนา สนใจ ไดค วามรู ไดม า คยุ แลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นๆ ในชมุ ชน ไดม ารวมกลมุ ในการทําขนมขายอีกครั้ง ไดชองทางในการหา รายไดเพิ่ม และไดทําเรียนการนวดตัวเองและ นวดคนอื่น จะนําไปนวดคนในครอบครัว” นางวาสนา มะหะหมัด อสม.หมู 4 และกรรมการ ศนู ยส ง เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตยตาํ บลคบู างหลวง “ชอบกิจกรรมการเพ่มิ ทักษะดานการนวดเพ่อื สุขภาพและการทาํ ผลิตภัณฑจากสมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ ไดเ รยี นวธิ กี ารนวดจากวทิ ยากร ไดค วามรู เรอ่ื งการนวดการตรวจประเมนิ ผรู บั บรกิ ารตามหลกั การแพทย ไดรวู ิธีการนวดตนเองและคนอน่ื ได ความรแู ละวธิ กี ารทาํ สมนุ ไพรไวใ ชแ ละขาย” นางปย ะรตั น มะหะหมดั อสม.หมู 3 และกรรมการ สภาองคก รชมุ ชน “เขา รว มกจิ กรรมทกุ กจิ กรรมเพราะเปน กจิ กรรม ทม่ี าชว ยพฒั นาชุมชน โครงการนี้เปน ประโยชน ตอคนในชุมชนมาก ไดมีชอ งทางในการหาราย ไดและชองทางการประกอบอาชีพแบบรวมกลมุ อาชพี กบั คนอน่ื ๆ ในชมุ ชน แตบ างกจิ กรรมอาจจะ จดั กิจกรรมนานไป อยากใหล ดระยะเวลาในการ จดั อบรมลง” สรปุ เสยี งสะทอ นจากชมุ ชน พบวา โดยสวนใหญ ใหความสนใจและมองวากิจกรรมท่ไี ดดาํ เนินการ มีประโยชนต อคนในชมุ ชน และไดขอเสนอแนะ เรอ่ื งการจดั กจิ กรรมอบรมทน่ี านเกนิ ไป ˹ŒÒ·èÕ 38

ผ ล กร ะ ท บ ที่เ กิดขึ้น กับ ชมุ ชนหลังจากการดาํ เนิน การพัฒนา ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ของชมุ ชน จากการดําเนนิ กจิ กรรมการเพิม่ คณุ ภาพ เมือ่ มีการจดั กิจกรรมซึง่ เปน การรวมกลุมกัน การผลิตกาละแมมอญโบราณของชุมชนเกิด เพอื่ พฒั นาความรดู า นอาชพี และการเพิม่ ความรู ผลกระทบทางเศรษฐกิจคือ เมือ่ กลุมอาชีพที่ ดา นสขุ ภาพ ทําใหค นในชุมชนไดม าพดู คยุ ผลติ กาละแมมกี ารเพิม่ การผลติ มากขนึ้ ทําใหม ี แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น แลกเปลีย่ นปญ หา การเพิม่ การจา งคนในชมุ ชนใหม ากวนกาละแม และแนวทางในการชว ยเหลอื กนั ในชมุ ชน โดย ซึ่งการกวนกาละแมมอญแบบโบราณนั้น จะเห็นไดจ ากมีจํานวนสมาชิกสมัครเขา รวม เปน การกวนโดยใชจ ํานวนคนจํานวนมาก ใช กลุม นวดเพือ่ สขุ ภาพมากขนึ้ และมกี ารชกั ชวน ระยะเวลานานถงึ 7ชัว่ โมงมกี ารเพิม่ ซอื้ วตั ถดุ บิ คนในหมูบา นตา งๆ มาเขา รวมกลุมทําใหม ี ในชุมชนตําบลคบู างหลวงและตําบลคขู วาง ความครอบคลมุ ในระดบั ตําบลมากขนึ้ ซงึ่ เปน ชมุ ชนใกลเ คยี ง ไดแ ก ขา วเหนยี ว กะทิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ มีการจา งคนในกลุมเพื่อบรรจุกาละแมใส ในกิจกรรมการเพิ่มคุณภาพการผลิต บรรจภุ ณั ฑ พบวา ในกลุม ผลติ กาละแมมรี ายได กาละแมมอญโบราณของชุมชนและกิจกรรม เพิม่ ขนึ้ ทําใหร ายไดค รวั เรอื นของชมุ ชนเพิม่ ขนึ้ การเพิ่มทักษะดา นการนวดเพื่อสขุ ภาพและ ผลกระทบทางสงั คม การทําผลติ ภณั ฑจ ากสมนุ ไพรเพือ่ สขุ ภาพ ได จากสถานการณโรคระบาดโควิด-19 ใหค วามรูเ รื่องสขุ ลักษณะในการผลิตอาหาร ทําใหก ลุม สัมมาชีพและวสิ าหกจิ ในชมุ ชนขาด สขุ ลกั ษณะในการดแู ลสขุ ภาพเบอื้ งตน ความรู การรวมกลุม และขาดการติดตอสื่อสารกัน เรื่องการออกกําลังกายโดยทาษีดัดตน การประเมินสญั ญาชีพเบอื้ งตน การนวดวธิ กี าร นวดผอ นคลายตนเองและผอู ืน่ อาจจะนําไปสู การดแู ลสขุ ภาพของตนเองและคนในชุมชน และอาจนําไปสูก ารลดการเจบ็ ปว ยจากการสง เสริมสขุ ภาพดงั กลา ว ˹Ҍ ·èÕ 39

ขอเสนอแนะ 1) ดําเนินงานที่จะชวยผลักดันให 7) ตอยอดใหกาละแมมอญโบราณ กาละแมมอญโบราณไดรับการรับรองจากอย. ใหมีอัตลักษณะของสินคา เชน กาละแมเม็ด ซึ่งกําลังอยูในขึ้นตอนการขอรับรองจากอย. บัวบรรจุในบรรรจุภัณฑรูปดอกบัว เพื่อเปน 2) ควรมีการดําเนินงานเพื่อสงเสริม สัญลักษณของจังหวัดปทุมธานี ผลิตภัณฑและสินคาอื่นๆ ในชุมชนใหคลอบ 8) ตอยอดลูกประคบใหมีอัตลักษณ คลุมทุกกลุมอาชีพ โดยผลักดันใหไดรับการ มีจุดเดนมากขึ้น โดยการจัดทําการยอมผาลูก รับรองจากอย. เชนเดียวกันกับกาละแมมอญ ประคบและจัดทําลูกประคบสําหรับพรอมใช โบราณฯ 3) ควรมีการดาํ เนินงานตอ เร่อื งสง เสรมิ ทักษะการนวดแกกลุมเปาหมายใหสามารถ ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ มีใบรับรองจากหนวยงานภาครัฐใหกลุมนวด อาจารยสุทธิดา แกวมุงคุณ สามารถนําประกอบอาชีพได คณะสาธารณสุขศาสาตร 4) ควรมีการดําเนินงานตอเรื่องการ อาจารย ดร.นภัสรัญชน ฤกษเรืองฤทธิ์ พัฒนาผลิตภัณฑจากสมุนไพร คือ ลูกประคบ คณะสาธารณสุขศาสาตร นํ้ามันไพล ยาดม ยาหมอง ใหมีมาตรฐาน อาจารยศศิวิมล จันทรมาลี และเปนที่รูจักสามารถจําหนายได คณะสาธารณสุขศาสาตร 5) ควรมีการสอนการจัดทําบัญชีครัว อาจารยปณณทัต ตันธนปญญากร เรือน การคิดกําไร ตน ทุน การตลาดแกประชาชน คณะสาธารณสุขศาสาตร ในชุมชน อาจารยวิณากร ที่รัก 6) ควรนําองคความรูดานเทคโนโลยี อาจารยนักพัฒนา อาหารมาใชในยืดอายุและเพิ่มคุณคาทาง อาจารย วาที่รอยตรีปยะพงษ ยงเพชร อาหารแกกาละแม อาจารยนักพัฒนา ˹Ҍ ·Õè 40

ºÒŒ ¹§ÇéÔ ªÁØ ª¹á˧‹ ¡Ò÷͋ §à·ÂÕè ÇÇ¶Ô ªÕ ÁØ ª¹ Êº× ÊÒ¹Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁÍÂÒ‹ §Â§Ñè Â¹× ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃà¡ÉµÃꬄ ©ÃÂÔ Ð ªÁØ ª¹áÅÐàÈÃÉ°¡¨Ô °Ò¹ÃÒ¡ÍÂÒ‹ §Á¤Õ ³Ø ÀÒ¾ µÓºÅºÒŒ ¹§ÇÔé ÍÓàÀÍÊÒÁ⤡ ¨§Ñ ËÇ´Ñ »·ÁØ ¸Ò¹Õ บทนํา ตําบลบานงิ้ว เปนชื่อตําบลหนึ่งในเขต ดวยสถาปตยกรรมท่ีสื่อถึงวิถีชีวิตชุมชนมอญ พื้นที่อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ตั้งอยู มีจาํ นวน 5 วดั ไดแ ก (1) วดั สองพน่ี อ ง (2) วดั ปา งว้ิ ฝง ตะวนั ออกของแมน า้ํ เจา พระยาเนอ้ื ทป่ี ระมาณ (3) วัดสวนมะมวง (4) วัดอัมพุวราราม และ 3.39 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 2,118.75 ไร (5) วัดไผลอม ทั้งนี้แหลงวัฒนธรรมชุมชนมอญ มี 5 หมูบ าน ไดแก บานสมคั ร บา นกลาง บา นงิว้ บา นงว้ิ เปน แหลง ทม่ี รี อ งรอยเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร บานสวนมะมวงบน และบานสวนมะมว งลา ง ที่นาสนใจและสะทอนวิถีการดําเนินชีวิต ของ มีจํานวนประชากร 2,230 คน ภูมิประเทศ ชุมชนไดอยางโดดเดนวัดซึ่งเปนแหลงที่มี เปนที่ราบลุมริมแมนา้ํ เจาพระยาฝงตะวันออก ปูชนยี สถานและปชู นียวตั ถุทส่ี าํ คญั ๆ ที่ควรแก มีคลองตาง ๆ แยกจากแมนํ้าเจาพระยา แผ การศึกษาเรียนรู และมีสถาปต ยกรรมท่สี ะทอน ครอบคลมุ พน้ื ท่ี จงึ ทาํ ใหม นี า้ํ อดุ มสมบรู ณเ หมาะ ภมู ปิ ญ ญาวฒั นธรรมชมุ ชนไดอ ยา งเปน เอกลกั ษณ แกก ารเพาะปลกู ฝนตกตามฤดกู าลทาํ ใหม ปี รมิ าณ แตยังไมคอยเปนที่รูจักแกบุคคลภายนอกที่ชอบ นา้ํ ฝนเพยี งพอแกก ารเกษตรกรรม ทง้ั นช้ี าวชมุ ชน การทองเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรม ทาํ นาเปนอาชีพหลักโดยการเชาจากนายทุน จากการศึกษาวิเคราะหศักยภาพชุมชน เปน สวนมาก พึง่ พาการทาํ นาเปนหลักในการหา ตาํ บลบา นงว้ิ อาํ เภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี รายไดใ นครวั เรอื น (แผนพฒั นาตาํ บลบา นงว้ิ , 2563) ท่ีมหาวิทยาลัยมีสวนรวมดําเนินการพัฒนา แหลงทางวัฒนธรรมที่สําคัญในชุมชน ตอเนื่องมาตั้งแตปงบประมาณ 2563 ซง่ึ ใน บา นงว้ิ ไดแ ก วดั ซง่ึ เปน สถานทท่ี ม่ี คี วามโดดเดน การดาํ เนนิ การโครงการงบประมาณ 2563 นน้ั ไดมี ˹ŒÒ·Õè 41

การสงเสริมพัฒนาชุมชน 3 ดานหลัก ๆ ราชปู ถัมภ และคณะกรรมการดําเนนิ งาน จงึ ได ไดแก การพฒั นาผลติ ภัณฑช ุมชน การสง เสรมิ จัดทําโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต อนุรกั ษว ฒั นธรรมสไบมอญ และการสง เสรมิ การ และยกระดับรายไดใหก ับคนในชมุ ชน ฐานราก ปลูกผักปลอดสารในครัวเรือน เพื่อลดรายจาย ตาํ บลบา นง้วิ อาํ เภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี และเพม่ิ รายไดใ นครวั เรอื น ทง้ั นต้ี ามปง บประมาณ โดยดาํ เนนิ งานตามหลักงาน 16 เปา หมาย เพอ่ื การพฒั นา 2564 ไดม กี ารวเิ คราะห ตามหลกั งาน ใหคนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิต 16 เปาหมาย พบวา ตําบลบานงิ้ว จัดเปน ตนเองไดอยางสมดุลและมีความเหมาะสม “ตําบลมุงสูความพอเพียง” ในการดําเนนิ การ สามารถดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาของ ของมหาวทิ ยาลยั มงุ เนนในการฟนฟูและยกระดับ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหชุมชนมคี วามเขม แข็ง เศรษฐกจิ ฐานราก และสังคมรายตําบลแบบ มั่นคง นําไปสูการพึ่งพาตนเองและชวยเหลือ บูรณาการการพัฒนาตําบลบานง้ิวใหพัฒนา เกอ้ื กูลกนั ในชุมชนไดอ ยางยัง่ ยืน เปนตําบลมุงสูความพอเพียงอยางสมบูรณ และพัฒนาไปสูตาํ บลมุงสูความย่ังยืนในอนาคต จงึ ดาํ เนนิ การจดั ทาํ สรา งศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญ และศนู ยเ รยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง ตาํ บลบา นงว้ิ อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรม ˹ŒÒ·Õè 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook