Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Published by learnoffice, 2022-03-09 07:46:32

Description: หนังสือ Success Story 2021 (รวมไฟล์ )_compressed

Search

Read the Text Version

˹Ҍ ·èÕ 43

ผลการดาํ เนนิ งาน กจิ กรรมที่ 1 ประโยชนตอการศึกษาเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น การสรา งศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญบา นงว้ิ วัฒนธรรมมอญ และสงเสริมการทองเที่ยวใน และการสงเสริมการทองเท่ยี วชมุ ชนบานงิว้ ชุมชนบานง้ิวใหเปนท่ีรูจักตอสาธารณชนทั่วไป บานงิ้วมีวัฒนธรรมมอญที่โดดเดน มี โดยมกี ระบวนการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ เอกลักษณเฉพาะที่ส่ือถึงวิถีชีวิตของชุมชนมอญ 1. การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการสืบสาน ไมว า จะเปนสถาปต ยกรรม การแตง กาย อาหาร วัฒนธรรมชุมชนบานง้ิวและการจัดการกลุมผู อกี ทง้ั มแี หลง ทอ งเทย่ี วทางวฒั นธรรม ทม่ี รี อ งรอย ปกสไบมอญตําบลบานง้ิว เรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรท น่ี า สนใจและสะทอ น 2. การประชาสมั พนั ธและการสรางการ วิถีการดําเนินชีวิตของชุมชนไดอยางโดดเดน รับรศู นู ยเรียนรูวัฒนธรรมมอญบา นงิว้ และการ โดยเฉพาะวัดซึ่งเปนแหลงที่มีปูชนียสถานและ ทองเที่ยวชุมชนบานงิ้ว ปูชนยี วัตถทุ สี่ ําคัญ ๆ ทคี่ วรแกการศึกษาเรยี นรู 3. การพัฒนาบรรจุภณั ฑสไบมอญ/สินคา และมีสถาปตยกรรมท่ีสะทอนภูมิปญญา ชุมชนสาํ หรับจัดทําเปนของฝาก วัฒนธรรมชุมชนไดอยางเปนเอกลักษณดังน้ัน 4. การพัฒนาศนู ยเรยี นรูวัฒนธรรมมอญ การสรางศูนยเรียนรูวัฒนธรรมมอญบานง้ิวและ บา นงว้ิ และการสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วชมุ ชนบา นงว้ิ การสงเสรมิ การทองเที่ยวชุมชนบา นงว้ิ จึงเปน ˹Ҍ ·Õè 44

กิจกรรมท่ี 2 ภาคีเครือขา ยที่เก่ยี วขอ งการสรางนวัตกรรมการเกษตรและศนู ยเ รียนรู ภาคีเครือขายภาครัฐ ไดแก สํานักงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี รวมเปนเครือขาย คณะกรรมการดําเนินโครงการ ไดด ําเนิน ดานการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีมอญ การแตงกาย อาหาร สถาปตยกรรม และ การพัฒนาสงเสริมการเกษตรชุมชนโดยการ ศลิ ปะการแสดง เปน ตน สาํ นกั งานพฒั นาชมุ ชน เสริมสรางนวัตกรรมการเกษตรที่สามารถ อาํ เภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี ในการเปน เครอื ขา ย ประยกุ ตใชไดท างการเกษตร โดยมีกระบวนการ ความรว มมอื ในการจัดต้ังศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอ และข้ันตอนการดําเนนิ การดงั น้ี เพยี งตาํ บลบา นงว้ิ อาํ เภอสามโคกจงั หวดั ปทมุ ธานี 1. การประชมุ ชาวชมุ ชนบา นงว้ิ เพอ่ื ทบทวน มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ แผนการดาํ เนินงาน/แตงต้ังคณะกรรมการ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี ได ศูนยเ รียนรตู ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตอบสนองนโยบายภาครฐั โดยอาจารย ศริ ิขวัญ บญุ ธรรม และคณะจาํ นวนทงั้ หมด 5 คน ดาํ เนนิ 2. การดาํ เนนิ การออกแบบและสรา งนวตั กรรม โครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยก การเกษตรโรงเรือนเพาะเห็ดอัจฉริยะขนาด โรงเรือนประมาณ 4 x 7 ตารางเมตร ระดบั รายไดใ หก บั ชุมชนฐานราก ตาํ บลบานงิว้ อําเภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลบา นงว้ิ ไดอ นเุ คราะห ใหใชหองประชุมอาคารเอนกประสงคใน การประชุมอบรมปรึกษาการทาํ โครงการโดยมี บคุ คลากร ทุกภาคสว นท่ีเกีย่ วขอ ง เชน กาํ นัน ตําบลบานงิ้ว นายสมพร เรืองเพ็ชร และผูใหญ บา นของหมู 1-5 ผชู ว ยผใู หญบา น กรรมการ หมบู าน กลมุ วสิ าหกจิ ชมุ ชน มารว มเปน เครอื ขา ย ในการจัดทําโครงการตางๆ กับทีมอาจารยจาก มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั วไลยอลงกรณ ในพระบรม ราชูปถัมภ โรงเรียนสามโคกเปนโรงเรียนระดับ มธั ยมศกึ ษาประจาํ อาํ เภอสามโคกมนี กั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 1 ถงึ 6 มอี าคารหอชมเมอื ง สามโคก เปนสถานทีท่ อ งเที่ยวโดดเดนแหง หนง่ึ ของอําเภอสามโคก ˹Ҍ ·Õè 45

ภาคีเครือขา ยภาคเอกชน รานอาหารซึ่งเปนอีกแหลงหนึ่งของ การทอ งเทย่ี วชมวฒั นธรรมวถิ มี อญทม่ี อี าหารมอญ เชน หมี่กรอบ แกงสมมะตาด เปนตน และ ครัวเรือนท่ีประกอบการคาภายในชุมชนรานคา ที่โครงการไดซื้อวัสดุอุปกรณตางๆมาดําเนิน โครงการในบริเวณชุมชน และใกลเคยี งชุมชน เชนอุปกรณในการทําโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ อันประกอบดวย เหล็ก ตับจาก ทอนํ้าพีวีซี แผงโซลาเซลล เปน ตน ˹Ҍ ·Õè 46

ภาคเี ครือขายภาคประชาชน 5) วดั สองพน่ี อ ง ตง้ั อยใู นพน้ื ทห่ี มทู ่ี 2 และ หมบู า นในตาํ บลบา นงว้ิ มที ง้ั หมด 5 หมบู า น วดั สวนมะมว ง ตง้ั อยใู นพน้ื ทห่ี มทู ่ี 4 อนเุ คราะห แตละหมูบานจะมีจุดเดนที่แตกตางกันออกไป สถานทใ่ี นการประชมุ ปรกึ ษาและทาํ กจิ กรรมของ แตละหมูบานไดเขามาเปนเครือขายรวมคิด โครงการ และเขา มาใหห ลกั ธรรมคาํ ชแ้ี นะในการ พูดคุยเพ่ือรวมสรางเสริมสิ่งที่มีหรือตอยอดให ดาํ เนนิ ชวี ติ บนฐานของความถกู ตอ งซอ้ื สตั ยส จุ รติ ทวยี ิ่งขึ้น และสรางสิง่ ใหมใหกอเกิดเปน รายได มกี ศุ ลจติ ในการประกอบอาชพี รวมทั้งพัฒนาคุณภาพของชีวิตซึ่งประกอบดวย 6) โรงเรยี นวดั ปา งว้ิ และโรงเรยี นวดั สองพน่ี อ ง กลุม ตาง ๆ ดังน้ี เครือขายรวมสืบสานอนุรักษการปกผาสไบมอญ 1) กลุมวิสาหกิจชุมชน หมูที่ 3 บานงิ้ว โดยนักเรียนไดเรียนรกู ารปกสไบมอญและลงมือ 2) กลุมปกสไบมอญ หมูที่ 2 บานกลาง ทาํ ดว ยตนเองในหนว ยการเรยี นรภู มู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ เปนกลุมหัตถกรรมสไบมอญที่ปกลวดลายผา เครือขายชุมชนหลักทั้ง 3 คือบาน วัด โรงเรียน สไบมอญดวยมือเรียกวากลุมทํามือ และหมู (บวร)ยังคงมีความสัมพันธกันในการอนุรักษ ที่ 4 เปนกลุมอุตสาหกรรมสไบมอญ สงเสริมสรางสรรคผลิตนวัตกรรม เปนความ 3) กลมุ เกษตรพอเพยี ง หมทู ่ี 5 บา นคลองคู เขม แข็งของ 3 หนวยงานที่ประสานเปนหนึ่ง 4) กลมุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนบา นคลองคหู มทู ่ี 5 ใน รักษาไวซึ่งประเพณีมอญในชุมชน การพฒั นาผลติ ภณั ฑแ ละแปรรปู สนิ คา ชมุ ชนจาก ผลติ ผลทางการเกษตร ˹Ҍ ·Õè 47

สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน 1) นวัตกรรมการสรางสรรคศิลปะการแสดง 2) ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อชุมชน ชุด รําวงมอญบานงิ้ว (โรงเรือนเพาะเห็ดอัจฉริยะ) การสรางสรรคศิลปะการแสดงเพื่อชุมชน ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุดรําวงมอญบานงิ้ว ไดประพันธบทขับรอง (โรงเรือนเพาะเห็ดอัจฉริยะ) นับเปนการสราง ประกอบการแสดงขนึ้ โดย ดร.ธาํ มรงค บุญราช นวัตกรรมและเทคโนโลยีของแหลงเรียนรู ขาราชการสงั กัดสํานักการสังคีต กรมศิลปากร ตนแบบชมุ ชนดานเศรษฐกิจพอเพียง โดยคณะ ซ่ึงไดประพันธบทขับรองประกอบการแสดงข้ึน ทํางานฯ ไดถ า ยทอดนวตั กรรม เทคโนโลยี และ จากขอมูลและองคความรูที่คณะทํางานฯ ได องคค วามรสู ูชุมชน เกย่ี วกบั การสรา งศนู ยเ รยี นรู เก็บรวบรวมขอมูลดานเอกสาร และการเก็บ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น รวมท้งั แลก ขอมลู ภาคสนาม โดยมงุ เนนความตองการของ เปล่ียนและระดมความคิดและสรรพกาํ ลังจาก คนในชมุ ชนฐานรากเปน หลกั ซง่ึ มคี วามประสงค การมสี ว นรว มของคนในชมุ ชน เพอ่ื สรา งพลงั งาน จะสะทอนใหเห็นถึงความเปนมาของชุมชน ทดแทนแสงอาทิตยและระบบการใหนํา้ เห็ดใน วิถชี วี ิตของชมุ ชน อัตลักษณข องชุมชน และทนุ โรงเรือนเพาะเห็นแบบอัตโนมัติ นอกจากจะ ทางวัฒนธรรมของชมุ ชน เปนการเผยแพรองคความรูทางดานนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการเกษตรสูชุมชนแลว ชุมชนยังสามารถนาํ ผลผลิตท่ีไดไปตอยอดใน ทางเศรษฐกจิ ซึ่งเปนการสง เสรมิ และสนับสนุน เศรษฐกจิ ในครวั เรอื นของชมุ ชนใหเ กดิ รายไดเ สรมิ การสรางงานสรางอาชีพ ที่นอกเหนือนอกจาก การทํานาเปนหลกั ˹Ҍ ·Õè 48

3) ศนู ยเรยี นรูว ฒั นธรรมมอญบานงวิ้ ผลิตภัณฑท่สี รางความเช่อื มโยงในการทองเท่ยี ว ศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญบา นงว้ิ เปน แหลง เชิงวฒั นธรรม และสรา งความยง่ั ยนื ใหก บั ชมุ ชน เรยี นรวู ฒั นธรรมทเ่ี กดิ จากความตอ งการของชมุ ชน ไดต อ ไป โดยเช่อื มโยงกับวิถีการดาํ เนินชีวิตของชาวมอญ 5) วีดิโอสง เสริมการทอ งเทยี่ วบานงว้ิ และเพจ บา นงว้ิ โดยเฉพาะจดุ เดน ทแ่ี สดงใหเ หน็ ถงึ อตั ลกั ษณ ขอมูลสื่อออนไลนเพื่อการประชาสัมพันธการ ทส่ี าํ คญั ของชนชาตพิ นั ธุมอญ คอื สไบมอญ ทองเที่ยวชุมชนบา นงิว้ ในเว็บไซต “สไบมอญ” จากมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม การใชน วตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื เผยแพร ทม่ี ีมาแตอดีต สเู ศรษฐกิจสรางสรรคในปจ จบุ นั องคความรู และสงเสริมการทองเที่ยวชุมชน จากฝม อื คนไทยเชอ้ื สายมอญ ทม่ี กี ารสบื ทอดผา นมา ในรูปแบบของวีดิโอสงเสริมการทองเท่ยี วบานง้วิ จากรนุ สรู นุ นบั เปน ผลติ ภณั ฑท ส่ี รา งชอ่ื เสยี งใหก บั และเพจขอ มลู สอ่ื ออนไลนเ พอ่ื การประชาสมั พนั ธ ชาวไทยเชอ้ื สายมอญในตาํ บลบา นงว้ิ อาํ เภอสามโคก การทอ งเทย่ี วชุมชนบานง้วิ ในเวบ็ ไซต โดยระดม จงั หวัดปทุมธานี ที่สะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญา ความคดิ และสรรพกาํ ลงั รว มกนั ในการบรู ณาการ ทางวฒั นธรรมดง่ั เดมิ ทม่ี มี าแตอ ดตี และอตั ลกั ษณ องคความรูดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของชาวมอญท่ีถกู ถายทอดผานการแตง กาย ดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ และนเิ ทศศาสตร เพอ่ื 4) การพัฒนาบรรจภุ ณั ฑสินคา ชมุ ชน ผลิตวีดโิ อสง เสริมการทอ งเทีย่ วบานง้วิ และเพจ การออกแบบบรรจภุ ณั ฑส นิ คา ชมุ ชน จาก ขอ มลู สอ่ื ออนไลนเ พอ่ื การประชาสมั พนั ธก ารทอ ง โครงการยกระดบั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั เทย่ี วชมุ ชนบา นงว้ิ ในเวบ็ ไซตน ข้ี น้ึ และมงุ พฒั นาให รายไดใ หก บั คนในชุมชนฐานราก ตาํ บลบา นง้ิว เปน กลยทุ ธใ นการสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วชมุ ชนใหม ี อําเภอสามโคก จังหวัดปทมุ ธานี เปนนวัตกรรม การพฒั นาอยา งยง่ั ยนื และทนั สมยั ตลอดจนการได และเทคโนโลยใี นการสรา งสรรคบ รรจภุ ณั ฑส นิ คา เพอ่ื รับความรวมมือจากหนวยงานท้ังภายในและ ชมุ ชน ตามความตอ งการของชมุ ชน โดยเกดิ จากการ ภายนอก ทใ่ี หก ารสนบั สนนุ ชมุ ชนและคณะทาํ งาน ศกึ ษาวถิ วี ฒั นธรรมของชมุ ชน เพอ่ื คน หาอตั ลกั ษณท ่ี ในการเผยแพรวิดีโอและประชาสัมพันธผาน โดดเดน จนสามารถนาํ มาพฒั นาและเพม่ิ มลู คา ใหก บั สอ่ื ออนไลนตาง ๆ ซึ่งชุมชนและคณะทํางาน สนิ คา ของชมุ ชนไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ นํามาสกู าร มีความคาดหวังอยางยิ่งวา วีดิโอสงเสริม พฒั นาบรรจภุ ณั ฑแ ละตราสนิ คา อาทิ สไบมอญตาํ บล การทอ งเทีย่ วบา นงิว้ และเพจขอมูลสือ่ ออนไลน บา นงว้ิ นา้ํ พรกิ และหมก่ี รอบ เปน ตน เพอ่ื ใหเ ปน เพ่ือการประชาสัมพนั ธก ารทองเทย่ี วชมุ ชนบานงว้ิ ผลติ ภณั ฑว สิ าหกจิ ชมุ ชนทม่ี คี ณุ ภาพและสรา งแรง ในเวบ็ ไซตด งั กลา ว จะเครอ่ื งมอื สาํ คญั อนั เกดิ จาก จงู ใจในการตดั สนิ ใจซอ้ื ตลอดจนชว ยเพม่ิ มลู คา และ ศกั ยภาพและความตองการของชุมชน ที่ชวย สะทอ นถงึ อตั ลกั ษณท โ่ี ดดเดน ของทอ งถน่ิ โดย สง เสรมิ การตลาดและการทองเที่ยวใหบังเกิดผล การมีสวนรวมของชุมชน รวมถึงสามารถเปน เปนรูปธรรมตอ ไปในอนาคต ˹Ҍ ·Õè 49

˹Ҍ ·èÕ 50

ผลผลติ และผลลพั ธจ ากการ ดําเนนิ โครงการ โครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายไดใหกับคนในชุมชนฐานราก ตาํ บลบา นงิ้ว อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ไดดําเนินการเสร็จสิ้นตลอดโครงการมีผลผลิต จากการดําเนินงาน ทจ่ี ะเกดิ ผลลัพธส รุปไดด ังน้ี 1) บทเพลงรําวงนาฏศิลปวัฒนธรรม มอญบานงิ้ว เปบบทเพลงที่แสดงหรือสื่อ ใหเห็นถึงวัฒนธรรมที่สะทอนวิถีชีวิตชาว มอญบานงิ้ว ทั้งอาหารการกิน การแตงกาย การสืบทอดวัฒนธรรมตั้งแตบรรพบุรุษ 2) ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงเปนแหลงเรียนรูตนแบบชุมชนดาน 5) วีดโิ อสง เสริมการทองเทย่ี วชมุ ชนบาน เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรือนเพาะเห็ดอัจฉริยะ ง้ิวเปนสื่อประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวทาง ใชพลังงานทดแทนแสงอาทิตยและระบบการ วฒั นธรรมทเ่ี กีย่ วของกบั ชมุ ชนบา นงว้ิ ไมวาจะ ใหนํ้าเห็ดแบบอัตโนมัติ เปนวัด สถาปต ยกรรมทีส่ ําคญั ๆ อาหารการกนิ 3) ศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญบา นงว้ิ เปน ทสี่ ะทอ นความเปนอยขู องชมุ ชน และแหลงทาง แหลงเรียนรูวัฒนธรรมท่ีเช่ือมโยงกับวิถีการ วฒั นธรรมทส่ี ่ือถึงเรือ่ งราวทางประวัติศาสตร ดาํ เนนิ ชวี ติ ชาวมอญบา นงว้ิ เชน การแตง กายดว ย 6) การประชาสัมพันธบานงิ้วในเว็บเพจ สไบมอญ รปู ลกั ษณล วดลายของสไบมอญ เปน ตน เปนชองทางสื่อเพื่อการประชาสัมพันธแหลง 4) บรรจุภัณฑสินคาชุมชน/สไบมอญ ทางวัฒนธรรมของชุมชนบานงิ้ว เปนการเสนอ เปนการสงเสริมการใชบรรจุภัณฑกับสินคา เนื้อหาที่เชื่อมโยงวิถีการดําเนินชีวิตของชุมชน ชุมชน ไดแก หมี่กรอบของกลุมสตรีบานงิ้ว แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม แหลง เรยี นรปู รชั ญา นํ้าพริกเผาไขเค็ม เพื่อเปนการสงเสริมการขาย ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสรางแรงจูงใจในการเลือกซื้อสินคาของ ผูบริโภค ˹Ҍ ·èÕ 51

ผลตอบรับจากการดําเนิน โครงการ 1) บทเพลงรําวงนาฏศิลปวัฒนธรรม 2) ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจ มอญบานงิ้ว หนว ยงานวฒั นธรรมจงั หวัด หรอื พอเพียง ชาวชุมชนบานงิ้วหรือชุมชนอื่น ๆ โรงเรียนวดั ปา ง้วิ โรงเรยี นสามโคก สามารถนํา หนวยงานรัฐ หนวยงานราชการ หนวยงาน ไปประยุกตและถายทอดวัฒนธรรมชุมชนมอญ พัฒนาชุมชนในพื้นที่หรืออื่น ๆ สามารถเขา บา นงว้ิ ดว ยการขบั รอ งหรอื การแสดงนาฏยศลิ ป มาศึกษาเรียนรูการดําเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน หมู 5 ตําบลบานงิ้วไดแก โรงเรือนเพาะเห็ด อัจฉริยะ ใชพลังงานธรรมชาติแสงอาทิตย (โซลาเซลล) แบบตั้งเวลาเปดปดนํ้าอัตโนมัติ 3) ศูนยเรียนรูวัฒนธรรมมอญบานงิ้ว ห น ว ย ง า น ท้ั ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ส า ม า ร ถ เขาศึกษาเรียนรูศูนยวัฒนธรรมมอญบานง้ิว ณ วดั สองพ่ีนอ ง โดยเฉพาะการปกสไบมอญ ที่มี การสรางสรรคลวดลายเปนผืนผาท่ีดาษดา ไปดวยดอกไม ของกลมุ สตรผี ูป ก สไบมอญ ˹ŒÒ·Õè 52

4) บรรจุภัณฑสินคาชุมชน /สไบมอญ กลุมสตรีอาชีพในชุมชนสามารถใชบรรจุภัณฑ ที่เหมาะกับสินคาเพื่อคาขาย สรางแรงจูงใจ ผูบริโภคตัดสินใจซื้อสินคาได 5) วีดิโอสําหรบั การสง เสรมิ การทอ งเทยี่ ว ชมุ ชนบานงว้ิ หนว ยงานภาครฐั หรือเอกชนดาน การทองเท่ียวหรือวัฒนธรรมสามารถใชเปนสื่อ รวมประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวท่ีโดดเดนใน ชุมชน ซง่ึ ขอ มลู ดังกลา วไดถกู อัพโหลดขนึ้ ไวใน ยูทูป (YOUTUBE) หรือระบบออนไลนซึ่ง ประชาชนทัว่ ไปสามารถเขาถงึ แหลงขอ มูลได 6) เวบ็ ไซตเ พอ่ื การประชาสมั พนั ธว ฒั นธรรม ชมุ ชนบา นงว้ิ ในเวบ็ เพจ ซง่ึ ประชาชนทว่ั ไปสามารถ สบื คน ขอ มลู วฒั นธรรมชมุ ชนบา นงว้ิ ไดท างระบบ ออนไลน (เวบ็ ไซต) เพอ่ื ศกึ ษาเรยี นรวู ถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ของชมุ ชน ˹Ҍ ·Õè 53

เสียงสะทอนจากชุมชน ˹Ҍ ·Õè 54 นายสมพร เรืองเพ็ชร กํานัน หมู 4 ตําบลบานงิ้ว อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี กาํ นันไดใหความชวยเหลือประสานงานกับ หนว ยงานหรอื หมบู า นตา ง ๆ ในชมุ ชน เพอ่ื ใหก าร ดาํ เนินการโครงการเปนไปดวยความเรียบรอย จากการพดู คยุ กาํ นนั สมพร ไดแ สดงความคิดเห็น ตอการดาํ เนินโครงการโดยเบอ้ื งตน ไดแ สดงความ ขอบคุณทางคณะอาจารยจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ที่นําโครงการดี ๆ มาลงสูตําบลบานงิ้ว เชน โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื สง เสรมิ ใหค วามรู และการปฏบิ ัติตอชุมชนตําบลบานงิ้วประชาชน ไดรับประโยชนอยางมากและนาํ ไปใชใ นการดาํ รง ชีวิตชวงเศรษฐกิจไมคอยดี และมีโรคระบาด โ ค วิ ด - 1 9 เกิดข้ึนอีกในชวงน้ีและหวังวาทาง มหาวทิ ยาลยั และคณะอาจารยแ ละนกั ศกึ ษาจะนาํ โครงการอืน่ ๆมาสตู าํ บลบานง้ิวอกี นางสมหมาย ไทรยอย ผใู หญ หมู 4 ตาํ บลบา นง้วิ อาํ เภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มี สวนสาํ คัญในการประสานความรวมมือของ คนในชุมชนในการดําเนินกิจกรรมใหลุลวงไปได ดว ยดี จากการพูดคุย ผใู หญไ ดม ีความคิดเห็นวา “โครงการท่ีมหาวิทยาลัยจัดทาํ นั้น มีประโยชน ตอชุมชน ถงึ แมว าทางชมุ ชนจะมีงบของชุมชน อยูบ างแลว แตก ็จะไดน าํ งบการเงินของชมุ ชนท่ี ไดรับการอดุ หนุนจากภาครัฐบางสว น มาดาํ เนนิ การผสมผสานไปกับโครงการทางมหาวิทยาลัย เพื่อชวยเสริมหนุนกิจกรรมบางสวนก่ีเกี่ยวของ กับโครงการทางมหาวิทยาลัย ใหเกิดการสาน ตอ ตามความเหมาะสม”

ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ชุมชนหลังจากการดําเนิน การพฒั นา 1. ผลกระทบจากศนู ยเรยี นรูดา นปรขั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงของชมุ ชน ไดแก 1) ชมุ ชนใชพ น้ื ทข่ี องตนเองสรา งประโยชน เพม่ิ มากขน้ึ 2) ชมุ ชนมรี ายไดห มนุ เวยี นจากการจาํ หนา ย ผลผลติ จากเกษตรพอเพยี ง 3) สรางงาน มกี ิจกรรม ลดรายจาย มีราย ไดใหก ับครัวเรือน 4) มผี กั ปลอดภยั ไขไ ก รทู ม่ี าทไ่ี ปใหช มุ ชน ไดบ รโิ ภคโดยไมผานพอคา คนกลาง และ 5) เปนเศรษฐกิจหมนุ เวียนภายในชมุ ชน ˹Ҍ ·èÕ 55

2. ผลกระทบกลมุ ปก ผา สไบมอญ ทเี่ กดิ ขน้ึ เมอื่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรม ราชปู ภมั ถ เขา ไปชว ยสนบั สนนุ และสง เสรมิ ไดแ ก 1) เพิ่มความสัมพันธก ันของบุคคลตา งวัย ในครอบครวั และชมุ ชน 2) อนุชนรุนเยาวเห็นความสําคัญของผา สไบมอญ รวมเรียนรูสืบสานตอยอดการปกผา สไบมอญ 3) ชวยใหเกิดรายไดเพิ่มมากขึ้นกับกลุม ปกผาสไบมอญ 4) ลดการวางงานของบุคคลในชมุ ชน 5) ผา สไบมอญบา นงว้ิ เปน ทร่ี จู กั มากยง่ิ ขน้ึ 6) สง เสรมิ การขายดว ยการออกบธู งานอเี วน ท และออนไลน 7) สไบมอญ เปน การลดชอ งวา ง สรา งสมั พนั ธ มกี จิ กรรม และเสรมิ รายได สดุ ทา ยมคี วามสขุ 3. ผลกระทบทเี่ กดิ กบั ผลติ ภณั ฑข องวสิ าหกจิ ชมุ ชนบา นงวิ้ ไดแ ก ความสวยงามของบรรจุภัณฑ ดึงดูด ความสนใจของผูบริโภคมากขึ้น สามารถซือ้ ไป เปนของฝากได ฉลากสินคา คิวอารโคดทําให ผู บ ริ โ ภ ค มี ค ว า ม มั่ น ใ จ เ รื่ อ ง ค ว า ม ส ะ อ า ด ปลอดภยั ในตัวสินคา ผลิตภัณฑ ไดมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของผูบริโภคมากขึ้น ขนาดและ ปรมิ าณ เปนทางเลือกใหกับผูบรโิ ภคตามความ ตองการของแตล ะบุคคล ผบู รโิ ภคมีความม่นั ใจ ในตัวสินคาและบรรจุภัณฑมีชองทางการ จําหนา ยเพ่ิมข้ึน และจาํ หนา ยไดในวงกวาง ˹Ҍ ·Õè 56

4. เสน ทางการทองเท่ียวของชมุ ชนบานงิว้ ขอ เสนอแนะดวยสถานการณของเชื้อไวรัสโคโรนา 1) นวตั กรรมการสรา งสรรคศ ลิ ปะการแสดงเพอ่ื 2019 ทก่ี าํ ลงั ระบาดในสงั คมทุกภูมิภาคของโลก ชมุ ชน จากการสรา งสรรคศ ลิ ปะการแสดงเพอ่ื ชมุ ชน และประเทศไทย บุคคลงดการออกจากบาน ชดุ ราํ วงมอญบา นงว้ิ นบั เปน ตน แบบของนวตั กรรม โดยไมจําเปน สงผลกระทบตอการทองเที่ยว การสรา งสรรคศ ลิ ปะการแสดงเพอ่ื ชมุ ชน ทม่ี กี าร ของชุมชนบานงิ้ว ตามสถานการณของสังคม ตอ ยอดองคค วามรจู ากฐานขอ มลู ของโครงการยกระดบั ผลกระทบในเชิงบวกของตําบลบานงิ้ว ไดแก พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายไดใ หก บั คนใน มแี ผนที่การทองเที่ยว มีเสนทางการทอ งเท่ยี ว ชมุ ชนฐานราก ตาํ บลบา นงว้ิ อาํ เภอสามโคก จงั หวดั มีสถานที่ทอ งเท่ยี วชม ชมิ ชอ ป ท่ีชัดเจน มีสิง่ ท่ีปทมุ ธานี ทาํ ใหเ กดิ นวตั กรรมการสรา งสรรคศ ลิ ปะ นาสนใจในแตล ะสถานท่ีของการทองเท่ียวทัง้ 5 การแสดงเพอ่ื ชมุ ชนชดุ ใหม ๆ ขน้ึ อกี มากมาย ทส่ี าํ คญั หมบู า น บคุ คลทม่ี าทอ งเทย่ี วมคี วามสะดวกสบาย คอื “ศลิ ปะการแสดง” นน้ั นบั เปน เครอ่ื งมอื อยา งหนง่ึ ในการวางแผนเที่ยวภายในตําบลบานงิ้ว ท่ี จ ะ ช ว ย ส ง เ ส ริ ม ก ล ยุ ท ธ ใ น ก า ร เ ผ ย แ พ ร ชุมชนบานงิ้วสวนหนึ่งมีการดําเนินชีวิตตาม องคความรูของชุมชนไปไดอยางแพรหลาย ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดว ยการใชพน้ื ที่ รวมทง้ั เปน กลยทุ ธก ารสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วชมุ ชน ของตนเองใหเกิดประโยชนมากขนึ้ สรางอาหาร อกี ดว ย และจะเปน การดยี ง่ิ หากมกี ารศกึ ษาขอ มลู ในครัวเรอื นและชุมชน ผลติ ภัณฑภายในชมุ ชน ทง้ั เชงิ พื้นฐานหรอื เชิงลึก อาทิ มรดกภูมิปญญา เชน สไบมอญ พริกแกงและผลิตภัณฑอื่นๆ ทางวัฒนธรรม ทุนทางวัฒนธรรม สังคมและ มีการจําหนายทางออนไลน มีรายไดเพิ่มขึ้น วฒั นธรรม เปน ตน ตลอดจนการศกึ ษาประเด็น การทองเที่ยวชุมชนตาํ บลบานง้ิวมีแผนท่ีเสน ที่มีความเกย่ี วขอ งกบั ชมุ ชนในทกุ มติ แิ ลว นาํ ประเดน็ ทางสถานท่ีชมชอ ปชิมทีช่ ัดเจนเปน ระบบ ตา ง ๆ ทม่ี คี วามนา สนใจมาเปน แนวทางทจ่ี ะดาํ เนนิ การพฒั นาและตอ ยอดเปน นวตั กรรมการสรา งสรรค ศลิ ปะการแสดงเพอ่ื ชมุ ชนตอ ไปในอนาคต ˹ŒÒ·Õè 57

2) ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โรงเรือนเพาะเหด็ อจั ฉรยิ ะ) ปจ จบุ นั ศนู ยเ รยี นรู ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (โรงเรอื นเพาะเหด็ อจั ฉรยิ ะ) ไดเ กดิ ขน้ึ จากการสรา งนวตั กรรมและ เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทนแสงอาทติ ย และระบบ การใหน า้ํ เหด็ ในโรงเรอื นเพาะเหน็ แบบอตั โนมตั ิ ท่ี สามารถตง้ั คา เวลาของการใหน า้ํ ไดต ามความตอ งการ และเหมาะสม ซง่ึ นอกจากจะเปน ศนู ยก ารเรยี นรทู ม่ี ี การเผยแพรองคความรทู างดานนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการเกษตรสูชุมชนแลวยังตอยอด ในทางเศรษฐกิจดวยการสงเสริมและสนับสนุน เศรษฐกจิ ในครวั เรอื นของชมุ ชนใหเ กดิ รายไดเ สรมิ และเปน การสรา งงานสรา งอาชพี ใหก บั ชมุ ชน รวมทง้ั สรา งความตระหนกั ใหช มุ ชนรจู กั การบรหิ ารจดั การ ทรพั ยากรทม่ี อี ยใู นพน้ื ถน่ิ ใหเ กดิ ประโยชนอ ยา งคมุ คา และยง่ั ยนื ˹Ҍ ·èÕ 58

ทง้ั นี้ ในการดําเนินงานของศูนยเรียนรู 3) ศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญบา นงว้ิ เปน แหลง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โรงเรือนเพาะ เรยี นรวู ฒั นธรรมทเ่ี กดิ จากความตอ งการของชมุ ชน เหด็ อัจฉรยิ ะ) ในปจ จบุ นั ไดก อ ตง้ั ขน้ึ บนพน้ื ทห่ี มู 5 โดยเช่อื มโยงกับวิถีการดาํ เนินชีวิตของชาวมอญ ตาํ บลบา นงว้ิ อาํ เภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี บา นงว้ิ โดยเฉพาะจดุ เดนทีแ่ สดงใหเห็นถึงอัต โดยความรว มมอื ของชาวชมุ ชนบา นงว้ิ และคณะทาํ งาน ลกั ษณท ส่ี าํ คญั ของชนชาตพิ นั ธมุ อญ คอื สไบมอญ โครงการยกระดบั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั ปจ จบุ นั ศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญบา นงว้ิ ได รายไดใหกับคนในชุมชนฐานราก ตําบลบานงิ้ว ใหบริการวิชาการแกชุมชนหนวยงานภายใน อาํ เภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี จาํ นวน 1 โรงเรอื น และภายนอก ในการเผยแพรอ งคค วามรวู ฒั นธรรม ซ่งึ อาจไมเพียงพอตอความตองการของชุมชน มอญบา นงว้ิ แตก ย็ งั ไมเ ปน ทร่ี จู กั อยา งแพรห ลาย และไมสามารถเพ่มิ กาํ ลังผลิตเห็ดใหเพียงพอตอ เทา ใดนกั ชมุ ชนจงึ มคี วามตอ งการทจ่ี ะไดร บั ความ ความตอ งการของตลาดดวยเชน กัน ดังน้ันชมุ ชน รว มมอื ชมุ ชนอน่ื ๆ หนว ยงานรฐั หนว ยงานเอกชน และคณะทาํ งานจงึ เลง็ เหน็ ถงึ แนวทางทจ่ี ะดาํ เนนิ หนว ยงานพฒั นาชมุ ชนในพน้ื ทแ่ี ละภายนอก ใหเขา มา การพัฒนาและตอยอดในอนาคต ดวยการเพิ่ม มสี ว นรว มในการเขา มาศกึ ษาเรยี นรวู ฒั นธรรมมอญ จาํ นวนโรงเรอื นเพาะเหด็ อจั ฉรยิ ะขน้ึ อกี 1 โรงเรอื น บา นงว้ิ ณ ศนู ยเ รยี นรวู ฒั นธรรมมอญบา นงว้ิ แหง น้ี เพือ่ ใหเพียงพอตอ กาํ ลงั ผลติ และเพียงตอ ความ และเพอ่ื รว มแลกเปลย่ี นองคค วามรใู หม ๆ รว มกนั ตอ งการของตลาด ตลอดจนการพฒั นาองคค วามรู เชน การออกแบบลายปก ผา สไบมอญ การออกแบบ ในการเพาะเหด็ ไดห ลากหลายสายพนั ธุ รวมทง้ั ชมุ ชน ผลติ ภณั ฑข องทร่ี ะลกึ ของชมุ ชน และอาหารชาวมอญ ยังมีความตองการท่ีจะไดรับความรวมมือจาก เปน ตน ซง่ึ จะเปน ประโยชนต อ การพฒั นาศนู ยเ รยี นรู ชมุ ชนอน่ื ๆ หนว ยงานภาครฐั หนว ยงานภาคเอกชน วัฒนธรรมมอญบานง้วิ แกชุมชนใหสอดคลองกับ หนวยงานพัฒนาชุมชนในพื้นที่และภายนอก ความตอ งการของสงั คมในปจ จบุ นั ตอ ไป ใหเขามามีสวนรวมในการเขามาศึกษาเรียนรู นอกจากน้ชี ุมชนยังมีความตองการดาน การดาํ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การตลาด ในการสง เสรมิ การตลาดของการจาํ หนา ย ณ ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผาสไบมอญใหเปนท่รี จู ักอยางแพรหลายมากข้นึ (โรงเรอื นเพาะเห็ดอัจฉรยิ ะ) แหงนี้ และเพอ่ื รว ม เพอ่ื เปน การสรา งโอกาสและสรา งรายไดแ กช มุ ชน แลกเปลย่ี นองคค วามรใู หม ๆ ทางการเกษตรรว มกนั สู “เศรษฐกจิ สรางสรรค” ซ่งึ นับเปน นวตั กรรม ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการพฒั นาศูนยเรียนรู ทใ่ี ชช มุ ชนเปน ฐานทส่ี ามารถสรา งงานสรา งรายได ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (โรงเรอื นเพาะเหด็ ใหแกช ุมชนตอ ไปไดอ ยางย่งั ยืน อจั ฉรยิ ะ) แกชุมชนใหมีความกา วหนา ทนั สมยั และยัง่ ยนื ตอ ไป ˹Ҍ ·Õè 59

4) บรรจุภณั ฑส นิ คาชมุ ชน ปจจุบัน ชมุ ชนและ ของชมุ ชน ทีม่ คี วามตอ งการในการสง เสรมิ การตลาด คณะทาํ งานโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพ และการทองเทย่ี วใหบังเกิดผลอยางเปนรูปธรรม ชีวิตและยกระดับรายไดใหกับคนในชุมชน ท้ังน้ีชุมชนและคณะทาํ งานยังมีความตองการท่ี ฐานราก ตาํ บลบา นงว้ิ อาํ เภอสามโคก จังหวดั จะไดรับความรวมมือจากหนวยงานท้ังภายใน ปทุมธานี ไดร ะดมความคดิ และสรรพกาํ ลงั ในการ และภายนอก ในการสนบั สนนุ ชมุ ชนและคณะทาํ งาน ออกแบบบรรจุภัณฑสินคาชุมชน อาทิ บรรจุ เพ่อื จัดทาํ และพัฒนาวีดิโอสงเสริมการทองเท่ยี ว ภัณฑผาสไบมอญ บรรจุภัณฑหมี่กรอบ และ บานง้ิวและเพจขอมูลสื่อออนไลนเพื่อการ บรรจุภัณฑนํ้าพริก เปนตน นํามาสูการพัฒนา ประชาสัมพันธก ารทองเท่ียวชุมชนบานง้ิวใน บรรจุภัณฑและตราสินคาของชุมชนใหมีความ เวบ็ ไซตเ พม่ิ เตมิ ตอ ไป โดยมงุ เนน ความทนั สมยั ของ ทนั สมัยและสรา งแรงจงู ใจตอผซู อื้ สามารถ ขอ มูล และความกาวหนาของนวัตกรรมและ เพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑ รวมถึงสามารถ เทคโนโลยีที่หลากหลาย สําหรับการผลิตวิดีโอ เปนผลิตภัณฑเพ่ือสรางใหเกิดความเชื่อมโยง และการประชาสมั พนั ธผ า นสอ่ื ออนไลนต า ง ๆ ใน ในการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และสรา ง อนาคต ซง่ึ ชมุ ชนและคณะทาํ งานมคี วามคาดหวงั ความยง่ั ยนื ใหก บั ชมุ ชนไดต อ ไป ดงั ทไ่ี ดก ลา วมาใน อยางยิ่งวา วีดิโอสงเสริมการทองเที่ยวบานงิ้ว ขางตนนัน้ ทัง้ น้ี ชมุ ชนยังมีความตอ งการในการ และเพจขอ มลู สอ่ื ออนไลนเ พอ่ื การประชาสมั พนั ธ พฒั นาบรรจภุ ณั ฑส นิ คา ชมุ ชนตอ ไปเพอ่ื รองรบั การทอ งเทย่ี วชมุ ชนบา นงว้ิ ในเวบ็ ไซต จะเครอ่ื งมอื ผลติ ภณั ฑข องชมุ ชนประเภทอน่ื ๆ เพม่ิ เตมิ ข้ึนอีก สาํ คญั อนั เกดิ จากศกั ยภาพและความตอ งการของ ในอนาคต โดยตอบสนองความตองการ ของ ชมุ ชน ทีจ่ ะนํามาชวยสง เสริมการตลาดและการ ตลาด และสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพของชมุ ชนทม่ี ี ทองเท่ียวชุมชนใหบังเกิดผลเปนรูปธรรมตอไป ความหลากหลาย นาํ ไปสกู ารสรา งงานสรา งอาชพี ให อยา งยง่ั ยนื แกช มุ ชนอยา งม่ังคั่งและย่งั ยืนตอไป 5) วีดิโอสงเสริมการทอ งเท่ียวบานง้ิว และเพจ ขอมูลสื่อออนไลนเพื่อการประชาสัมพันธการ ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ ทองเท่ียวชมุ ชนบานงิว้ ในเวบ็ ไซต ปจจบุ นั การ ใชน วตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื เผยแพรอ งคค วาม อาจารยศิรขิ วัญ บุญธรรม รแู ละสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วชมุ ชน ในรปู แบบของ ผูชวยศาสตราจารยจ ริ ะศกั ด์ิ สังเมฆ วดี โิ อสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วบา นงว้ิ และเพจขอ มลู ผชู วยศาสตราจารยประกาศติ ประกอบผล สื่อออนไลนเพ่ือการประชาสัมพันธการทอง อาจารยดร.ลักขณา แสงแดง เทย่ี วชมุ ชนบา นงว้ิ ในเวบ็ ไซตน น้ั นบั เปน เครอ่ื งมอื อาจารยรวิธร ฐานัสสกุล สําคัญอันเกิดจากศักยภาพและความตองการ ˹Ҍ ·Õè 60

บทนาํ ตามท่ีภาครัฐไดเช่ือมโยงเปาหมายการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สคู ณุ ภาพเปน เลศิ โดยมงุ เนน พัฒนาท่ีย่ังยืนของสหประชาชาติเขากับแผน การพฒั นาคณุ ภาพบณั ฑติ สนู กั ปฏบิ ตั อิ ยา งมอื อาชพี ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป ของประเทศไทย และ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชนทองถ่นิ ยุทธศาสตรเกษตรและสหกรณ 20 ป ระหวา งป และพื้นที่ใหมีความเขมแข็งและยั่งยืนพรอ มทง้ั 2560 ถงึ ป 2579 โดยนอ มนาํ เอาหลกั ปรชั ญาของ สอดคลองกับยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ เศรษฐกิจพอเพียงที่เนนการพัฒนาแบบยั่งยืน วไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถมั ภ ในประเด็น โดยคาํ นงึ ถงึ สง่ิ แวดลอ มทอ่ี ยู และใชห ลกั การทรงงาน ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การพฒั นางานพนั ธกจิ สมั พนั ธ และ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล ถายทอดเผยแพรโครงการอันเนื่องมาจาก อดุลยเดชบรมนาถบพติ ร มาเปนแนวทางในการ พระราชดาํ ริโดยมีกลยุทธในการสรางเครือขาย ดําเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั จิ ากภายในและภายนอก เพอ่ื รว มกนั ยกระดับรายไดของประชาชนแกไขปญหา ศกึ ษาแกไ ขปญ หาของชมุ ชนทอ งถน่ิ และเสรมิ พลงั เชิงโครงสรางการผลิตภาคเกษตรเสริมสราง ใหช มุ ชนทอ งถน่ิ สามารถดํารงอยูไดอยางยั่งยืน ความมั่นคงทางอาหาร พฒั นาโภชนาการและ ใหความสําคัญในการพฒั นาชมุ ชน และทอ งถน่ิ ความปลอดภยั ดา นอาหารเพอ่ื นาํ ไปสคู วามมน่ั คง ตําบลหนาไม อําเภอลาดหลุมแกว มง่ั คัง่ และย่งั ยืนของประชาชนและประเทศชาติ จงั หวดั ปทมุ ธานี เปน หนง่ึ ในตาํ บลทม่ี หาวทิ ยาลยั ซึ่งสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมี มีบทบาทในการขับเคล่ือนการพัฒนาชุมชน พระปณิธานแนวแนท่จี ะสานตอโครงการในพระ ในมิติตาง ๆ ที่สอดคลองกับแนวทางของ ราชดาํ รขิ องพระราชบดิ าเพอ่ื ชว ยเหลอื ประชาชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ยั ใหม ีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีขึ้น และนวัตกรรมที่มีหลักงาน 16 เปาหมาย ให มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ชมุ ชนพน จากความยากจน เกดิ เปน ชมุ ชนทอ งถน่ิ ในพระบรมราชปู ถมั ภ เปน มหาวทิ ยาลยั ทพ่ี ระราชา ทม่ี ีความเขมแขง็ ระดับตําบลใน 3 ลักษณะ ไดแ ก ประสงคใหเปนมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนา ตาํ บลพน ความยากลาํ บาก ตาํ บลมงุ สคู วามพอเพยี ง ทอ งถน่ิ ตามพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั ราชภฎั และตําบลมุงสูความยั่งยืน โดยมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ทร่ี ะบใุ หม หาวทิ ยาลยั จะใชองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมที่มีอยู เปนสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาทองถิ่น ประสานและรวมงานกับองคกรปกครองสวน เสริมพลังปญญาของแผนดิน ซึ่งสอดคลองกับ ทอ งถิ่นและหนวยงานอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวขอ งเพ่ือให แผนยุทธศาสตรเพื่อยกคุณภาพมาตรฐาน เกดิ การบรู ณาการ ยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คม ˹Ҍ ·èÕ 61

ªÁØ ª¹à¡ÉµÃ»ÅÍ´ÀÂÑ Â¡ÃдºÑ Ê¹Ô ¤ÒŒ µÒÁ Áҵðҹ GAP ÊÃÒŒ §Ç¶Ô ÕãËÁ‹ã¹¡ÒÃ¼ÅµÔ Ê¹Ô ¤ÒŒ µÓºÅ˹Ҍ äÁ Œ ÍÓàÀÍÅÒ´ËÅÁØ á¡ÇŒ ¨§Ñ ËÇ´Ñ »·ÁØ ¸Ò¹Õ จากประเด็นปญหาความตองการของ โดยมีเปาหมายเพื่อใหคนในชุมชนสามารถ ชุมชนที่ตองการยกระดับรายไดของตนเอง บริหารจัดการชีวิตตนเองไดอยางสมดุลและ ผานทุนทางสังคมที่ทางตําบลหนาไมมีอยูแลว มีความเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตตามหลัก ในการดําเนินการสําหรับปพ.ศ. 2564 นี้ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รว มกบั การสง เสรมิ ประกอบดวยการยกระดับการผลิตสินคาเกษตร ภูมิปญญา ทองถิ่น เพิ่มคุณคาและมูลคา ของชุมชนใหผานมาตรฐานใบรับรองแหลงผลิต เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากในชมุ ชนใหม คี วาม เขม แขง็ GAP พืช การพัฒนาระบบการผลิต แปรรูป มั่นคง นําไปสูการพึ่งพาตนเองและชวยเหลือ สรา งอตั ลกั ษณส นิ คา และบรรจภุ ณั ฑส นิ คา ชมุ ชน เกื้อกูลกัน ในชุมชนไดอยางยั่งยืน สงผลให ทก่ี อใหเ กิดรายได ดังน้นั คณะวิทยาศาสตรและ ชมุ ชนหมูบ า นมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จึงไดจัดทําโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่นในพื้นท่ี ตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี ˹Ҍ ·èÕ 62

วตั ถปุ ระสงค กลุมเปาหมาย/ผเู ขา รว มโครงการ 1. เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ ประชาชนในพืน้ ท่ชี มุ ชนหมทู ี่ 1 ถงึ หมูท่ี 11 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได ตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี ใหกับคนในชุมชนฐานรากตําบลหนาไม ระยะเวลาดําเนินโครงการ อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี วนั ท่ีเริม่ ตน โครงการ เดือนมีนาคม 2564 ถึง 2. เพอ่ื ยกระดบั การผลติ สนิ คา เกษตรของ เดอื นมถิ ุนายน 2564 ชุมชนใหเปนสินคาเกษตรปลอดภัยและได ตวั ช้วี ัดความสาํ เรจ็ และเปา หมาย มาตรฐาน GAP (Good Agricultural Practices) 1. เชงิ ปริมาณ 3. เพื่อดําเนินงานตามรูปแบบชุมชน -กลุมเปาหมายในชุมชนสามารถสรางรายได นวัตกรรมประเด็นชุมชนวิสาหกิจเขมแข็ง เพมิ่ ขึ้นไมน อ ยกวา รอยละ 10 โดยการพัฒนาระบบการผลิต แปรรูป สราง -จาํ นวนเครอื ขา ยชมุ ชน และประชารฐั 4 เครอื ขา ย อัตลักษณสินคา บรรจุภัณฑสินคาชุมชน สํานักพัฒนาชุมชน สํานักงานเกษตรอําเภอ ใหเกิดรายได องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลหนา ไม และผใู หญบ า น 4. เพื่อสรางความรวมมือกับเครือขาย 2. เชงิ คณุ ภาพ ประชารัฐและหนวยงานอื่นในพื้นที่ที่มี -สามารถสรางเกษตรกรที่มีความรูความเขาใจ สวนเกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถปลูกผกั ปลอดภัยได ตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี -สามารถสรางวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกร 5. เพื่อใหชุมชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ท่ีปลกู ผักปลอดภัยได มรี ายไดเพิ่มไมนอยกวารอยละ 10 -มีตนแบบแหลงเรียนรูมาตรฐานสินคาเกษตร ปลอดภัย -เกิดผูนําชุมชนที่เปนแกนนาํ ในการพัฒนา ชุมชน -ประชาชนมีความรูและสามารถนําทักษะไป ปฏิบัตไิ ดในเร่ืองของการพัฒนาสินคา ชุมชน ˹Ҍ ·èÕ 63

ผลการดาํ เนนิ งาน องคประกอบของรูปแบบกระบวนการ กระบวนการในการดําเนินโครงการ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและ พัฒนาชมุ ชนมีดังนี้ ทอ งถน่ิ ในพน้ื ทต่ี าํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว กระบวนการสรางผนู ําพอเพยี ง ประกอบ จงั หวัดปทุมธานี มีกระบวนการและกิจกรรม ดวยการสรา งแรงบนั ดาลใจ การวางแผนชมุ ชน ในการดาํ เนินโครงการ โดยอาศัยความรวมมือ และการนําการเปลยี่ นแปลง ระหวางมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ สรางครัวเรือนพอเพียง ประกอบดวย ในพระบรมราชปู ถมั ภ เครอื ขา ยประชาชนในชมุ ชน การเพิ่มรายได บุคคลตนแบบ และการเรียนรู บาน วัด โรงเรียนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ตามวิถีพอเพียง ทง้ั ภาครัฐและเอกชน โดยมีจุดมุงหมายในการ สืบสานวัฒนธรรมชุมชน ประกอบดวย ดําเนินกิจกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิต ถอดความรปู ราชญชาวบาน ของคนในชุมชนตาํ บลใหมีรายไดเพ่ิมข้ึนและ สง เสริมเกษตรปลอดภัย ประกอบดวย คุณภาพชีวิตดีข้นึ ผานรูปแบบกระบวนการสราง ศูนยเรียนรูเกษตรปลอดภัย และอบรมเกษตร ผูนําพอเพียงสรางครัวเรือนพอเพียง สบื สาน ปลอดภัย วฒั นธรรมชมุ ชนสง เสรมิ เกษตรปลอดภยั เพม่ิ การ เพิ่มการมีสวนรวมพัฒนา ประกอบดวย มสี ว นรว มพฒั นา และเสรมิ สรา งวสิ าหกจิ ชมุ ชน รวมใจแกไขปญหา จิตอาสาแนะนําผูสนใจ เขม แข็ง ทําเกษตรปลอดภยั ชมุ ชนปลอดภัย เสรมิ สรา ง วิสาหกิจชุมชนเขมแข็ง ประกอบดวยกิจกรรม พฒั นากลุมอาชพี พฒั นาผลิตภัณฑ บรรจภุ ัณฑ ตราสินคา และการสงเสริมการตลาด ˹ŒÒ·Õè 64

กิจกรรมทีด่ ําเนนิ การในการดําเนินโครงการ ถูกตอ งและปลอดภัย ฝก ปฏิบัติ กิจกรรมท่ี 1 ทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ 3)การสงเสริมศูนยการเรียนรูการ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ ผลิตพืชผักปลอดภัยตามเกณฑมาตรฐาน คนในชุมชนฐานราก ตําบลหนาไม อําเภอ GAP เพื่อเปนแหลง เรียนรูแกเ กษตรกรในตาํ บล ลาดหลมุ แกว จังหวดั ปทุมธานี ที่ตองการขอรับการรับรองมาตรฐานผัก GAP โดยการลงพื้นที่สํารวจบริบทพื้นที่ พูด รวมถึงผูที่สนใจมาเรียนรูข้ันตอนการผลิตผัก คุยกับตวั แทนขององคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล ผนู าํ GAP ชมุ ชน จัดการประชุมกลมุ ยอย (Focus group) และใชการดําเนนิ การทบทวนจดุ แขง็ จุดออ น กจิ กรรมที่ 3 การพัฒนาระบบการผลิต แปรรปู โอกาสและอปุ สรรคดว ยเทคนคิ SWOT สรางอตั ลกั ษณสินคา ดําเนินการโดยเชิญวิทยากรมาประชุม กิจกรรมท่ี 2 กจิ กรรมการสง เสรมิ การผลติ สนิ คา เชงิ ปฏิบัตกิ าร ประกอบดวย เกษตรปลอดภัยตามเกณฑมาตรฐาน GAP 1)การประชุมเชิงปฏิบัติการออกแบบ โดยเชิญวิทยากรจากศูนยวิจัยและ บรรจุภัณฑที่เหมาะสมกับผัก และออกแบบ พัฒนาการเกษตรปทุมธานีมาอบรมเชิงปฏิบัติ ตราสนิ คา เรอ่ื ง แนวคดิ ในการออกแบบตราสนิ คา การแกเกษตรกร ท้ังในสว นการใหค วามรูและ แนวคิดในการออกแบบบรรจุภัณฑและการ กจิ กรรมภาคปฏิบตั ิ ประกอบดวย พัฒนาตราสินคาและบรรจุภัณฑที่เหมาะกับ 1)การอบรมเชิงปฏิบัติการข้ันตอนการ สนิ คา ของชุมชน ผลิตผกั ตามเกณฑมาตรฐาน GAP เร่ือง ความ 2)การสงเสริมการตลาดเพ่ิมชองทางจัด สําคัญของการผลิตพืชตามระบบการจัดการ จาํ หนา ยผกั GAP ดวยการถายภาพนิง่ วีดีโอเพือ่ คณุ ภาพ มาตรฐาน GAP พืชการผลิตตามแผน จัดทําคลิปโฆษณาสนิ คา ของตําบลหนาไม ควบคุมคุณภาพ ระเบียบปฏิบัติ GAP ขอ กําหนดวิธีปฏบิ ัติ เกณฑที่-- กําหนดและวิธี การ กจิ กรรมท่ี 4 กจิ กรรมสรุปผลโครงการ และถอด ตรวจประเมนิ 8 ขอ การจดบันทกึ การปฏิบตั ิ บทเรยี นความสาํ เร็จ งานในแปลงและฝกการปฏิบัติการจดบันทึก กิจกรรมสรุปผลโครงการและถอดบท แบง กลุม ฝกปฏิบตั ิ เรียนความสําเร็จดาํ เนินการโดยจัดประชุมกลุม 2)การอบรมเชิงปฏิบัติการการสงงเสริม ยอย (Focus group) เพื่อรับฟงความสําเร็จ การผลิตสินคาเกษตรปลอดภัยดวยสารชีวภัณฑ ของชมุ ชนทเ่ี ขา รว มโครงการ รวมถงึ รบั ฟง ปญ หา ประกอบดว ยความรเู ร่ืองปุย เคมี ปุย อินทรยี  ปยุ ขอเสนอแนะและความคิดเห็นของชุมชนเพ่ือ ชีวภาพในการผลติ พชื การปอ งกันกําจดั ศตั รพู ืช แนวทางท่ีจะดาํ เนินการพัฒนาและตอยอดใน โดยวิธีผสมผสาน วิธีการใชเลือกใชชีวภัณฑที่ อนาคต ˹Ҍ ·Õè 65

ภาคีเครือขา ยทีเ่ กยี่ วขอ ง การดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการ 1. เกษตรกร เกษตรกรในพน้ื ทต่ี าํ บลหนา ไม อาํ เภอ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่นในพ้ืนท่ี ลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี เปน กลมุ เปา หมาย ตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี ในการดาํ เนนิ กจิ กรรมในครง้ั นเ้ี นอ่ื งจากการลงพน้ื ท่ี ในป พ.ศ. 2564 นด้ี าํ เนนิ การภายใตค วามรว มมอื ของผจู ัดการพ้นื ท่แี ละคณะกรรมการของคณะ ของเครอื ขา ยทั้งเกษตรกร ผใู หญบาน องคการ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บริหารสวนตําบลหนาไม ศูนยวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถมั ภ ผา นการเรยี น การเกษตรปทุมธานี คณะวิทยาศาสตรและ รจู ากประสบการณจ รงิ ในพน้ื ท่ี (Action Learning) เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ และการประชมุ กลมุ ยอ ย (Focus group) พบวา ในพระบรมราชปู ถมั ภ และหนว ยงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ ง ปญหารายไดท่ีไมเพียงพอของเกษตรกรเปน โดยแตละหนวยงานมีบทบาทในการขับเคล่ือน ประเด็นปญหาท่ีตองการไดรับความชวยเหลือ โครงการดังน้ี เกษตรกรตองการยกระดับรายไดของตนเอง เกษตรกรกลมุ ทป่ี ลกู ผกั จงึ สนใจเขา รว มกจิ กรรมใน โครงการ ˹Ҍ ·Õè 66

2. ผูใหญบา น ผใู หญบ า นหมูที่ 5 นายอุดม 3. องคการบริหารสวนตําบลหนาไม ขนุนกอน เปนผูที่มีบทบาทหลักในการทําให อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี เกิดการรวมกลุมของเกษตรกรปลูกผัก มบี ทบาทในการตดิ ตอ ประสานงาน ใหค าํ แนะนาํ ในตําบลหนาไม และเปนผูนําที่ชวยสราง ชีบ้ งประเด็นที่เปนปญหาของพื้นที่ ติดตอ แรงบันดาลใจใหเกษตรกรปลูกผักเห็นถึง ประสานงานกับผูนาํ ชุมชนในการขอเขาพ้ืนที่ ความสําคัญของการทําเกษตรที่ปลอดภัย ขอดี เพื่อดาํ เนินกิจกรรมพรอมท้ังใหความชวยเหลือ ของการปลูกผักท่ีไดรับการรับรองตามเกณฑ ในการขอขอ มลู ทเี่ กี่ยวกับบริบทของตําบล มาตรฐาน GAP รวมกับผูจัดการพื้นที่และ คณะกรรมการของคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภในการประสานงาน ติดตามผลงาน ประชุมหารือ ใหขอแนะนํา เกย่ี วกบั กจิ กรรมในการดําเนินโครงการ นอกจาก น้ี ผู ใ ห ญ บ า น ยั ง เ ป น ตั ว อ ย า ง ใ น ก า ร ข อ รั บ การรับรองผักตามเกณฑมาตรฐานผัก GAP ใ ห กั บเก ษ ตรกรราย ใหม ท่ี ไม เค ย ข อรั บ การรบั รอง ˹Ҍ ·èÕ 67

4. ศูนยวจิ ยั และพัฒนาการเกษตรปทมุ ธานี 5 คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยา เจา หนา ทก่ี ารเกษตรของศนู ยว จิ ยั และพฒั นาการ ลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถมั ภ เกษตรปทุมธานีมีบทบาทในการใหความรูแก มีบทบาทในการดําเนินการคนหาปญหารวมกับ เกษตรกรในเรื่องของการขอรับรองการผลิตผัก ชมุ ชน วางแผนในการดาํ เนนิ การ จัดกิจกรรมที่ ตามเกณฑมาตรฐานของ GAP ท้ังในรปู แบบ สอดคลองกับปญหาและความตองการของ ของภาคทฤษฎแี ละรูปแบบปฏิบตั ิการ โดยเลอื ก ชุมชน ผลกั ดนั สบนับสนนุ ใหช มุ ชนมสี วนรวม หัวขอในการอบรมท่ีเปนประเด็นปญหาในพื้นท่ี ในการดําเนินกิจกรรมตลอดโครงการ และที่ มาเนนยํา้ ใหเ กษตรกรเขา ใจในเร่อื ง GAP การใช สาํ คัญผูจัดการพื้นที่และคณะกรรมการดาํ เนิน สารเคมีในการทําเกษตรที่ถูกตองสอนใหเกษตร งานใชองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมที่มีอยู ลงมือทําสมดุ บนั ทึก แนะนาํ แนวทางการตรวจ ถายทอดผานกิจกรรม ประสานและรวมงานกับ ประเมินและรับรองระบบการผลิตพืชตาม องคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ และหนวยงานอ่ืน ๆ มาตรฐานสินคาเกษตรและรวมออกแบบพัฒนา ท่เี กี่ยวของเพื่อใหเกิดการบูรณาการ ยกระดับ บรรจุภัณฑและตราสินคาท่ีเหมาะสมกับผัก เศรษฐกิจและสังคมแกชนุ ตาํ บลหนาไม GAP ของตําบลหนาไม ˹Ҍ ·èÕ 68

สรปุ ผลการดําเนนิ งาน 1 นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคความรูท ่ี นาํ ไปใชกบั ชมุ ชน กิจกรรมท่ี 1 ทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ เพ่ือสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกอบรม พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ ของเกษตรกรและแบบทดสอบวัดความรู คนในชมุ ชม ความเขาใจสาํ หรบั การอบรม เคร่ืองมือที่ใชในการดาํ เนินการทบทวนแผน กิจกรรมที่ 3 การพฒั นาระบบการผลติ แปรรปู ปฏิบัติการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยก สรา งอตั ลกั ษณส นิ คา ระดับรายไดใหกับคนในชุมชม ประกอบดวย เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการดาํ เนนิ การการพฒั นา แบบสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ระบบการผลิต แปรรูป สรางอัตลักษณสินคา เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู ของชมุ ชน และการวเิ คราะห ประกอบดว ย แบบสัมภาษณเ ชิงลึก (In-depth ชุมชนโดยใชเทคนิค SWOT เพื่อวิเคราะห Interview) เพ่อื รวบรวมขอ มูลที่ชุมชนตองการ จุดแขง็ จุดออน โอกาส อุปสรรคของชมุ ชน พฒั นา กระบวนการมสี ว นรว ม (Participation) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการสงเสริมการผลิต ในการออกแบบออกแบบบรรจุภัณฑท เ่ี หมาะสม สนิ คาเกษตรปลอดภยั ตามเกณฑม าตรฐาน GAP กบั ผกั และออกแบบตราสนิ คา กลอ งถา ยรปู องคความรูนวัตกรรมและเทคโนโลยี สาํ หรบั บนั ทกึ ภาพกระบวนการผลติ ผกั ปลอดภยั ที่ใชในกิจกรรมที่ 2 ถูกนํามาใชในการอบรม GAP เพือ่ จัดทําภาพนิง่ และวดี ีโอสาํ หรับจัดทาํ กระบวนการดาํ เนนิ การการปฏบิ ตั ทิ างการเกษตร คลปิ โฆษณาสนิ คา ของตาํ บลหนา ไม ที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) กิจกรรมที่ 4 กจิ กรรมสรปุ ผลโครงการ และถอด การใชส ารชวี ภัณฑในการปลกู พืช บทเรียนความสําเร็จ สาํ หรับการสงเสริมศูนยการเรียนรู เคร่ืองมือที่ใชในการดําเนินการกิจกรรม การผลิตพืชผักปลอดภัยใชจะใชกระบวนการมี สรุปผลโครงการ และถอดบทเรยี นความสําเรจ็ สว นรว ม(Participation) ในการคดั เลอื กตวั แทน ประกอบดวยการจัดประชุมกลุมยอย (Focus ของปลมุ เกษตรปลอดภยั ในการตง้ั คณะกรรมการ group) เพื่อรับฟงความสําเร็จของชุมชนที่เขา ดําเนินงาน และรวมกับกลุมเกษตรกรในการ รวมโครงการ รวมถึงรับฟง ปญ หา ขอ เสนอแนะ กาํ หนดบทบาทหนา ท่ี และความคิดเห็นของชุมชนเพ่ือแนวทางที่ เครื่องมือที่ใชในการดําเนินการกิจกรรม จะดาํ เนนิ การ และแบบประเมินความพึงพอใจ การสงเสริมการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัยตาม ในการจัดกิจกรรม เกณฑม าตรฐาน GAP ประกอบดวยแบบสงั เกต ˹Ҍ ·èÕ 69

˹Ҍ ·èÕ 70

ผลผลติ และผลลพั ธจ ากการ ดําเนนิ โครงการ กิจกรรมการสงเสริมการผลิตสินคา ผลผลิต จากของโครงการยกระดับพัฒนา เกษตรปลอดภัยตามเกณฑมาตรฐาน GAP คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับคน เกษตรกรปลูกผักรวมดําเนินกิจกรรมทั้ง 3 ในชุมชมตําบลหนาไม อําเภอลาดหลุมแกว กิจกรรม เมื่อประเมินผลจากแบบสังเกตพบวา จังหวัดปทุมธานี ตามวัตถุประสงคมีดังนี้ เกษตรกรมีความสนใจในการจัดกิจกรรม 1. การทบทวนแผนปฏิบัติการยกระดับ มีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรม ตอบโต พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับ ซักถามกับวิทยากร ใหขอคิดเห็นถึงการทํา คนในชุมชม การทบทวนแผนปฏิบัติการ เกษตรที่ผานมาในอดีต และลงมือปฏิบัติ ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกรายไดให กิจกรรมตามที่กําหนดไว หลังจากที่เกษตรกร กบั คนในชมุ ชมตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว ไดรับการอบรมเชิงปฏิบัติการพบวา มีคะแนน จังหวัดปทุมธานี เกี่ยวกับจุดแข็ง จุดออน ความรูความเขาใจในการผลิตสินคาเกษตร โอกาสและอุปสรรค ปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP สูงขึ้น 2. การยกระดับการผลิตสินคาเกษตร ของชุมชนใหเปนสินคาเกษตรปลอดภัยและ ไดมาตรฐาน GAP (Good Agricultural Practices) ˹Ҍ ·èÕ 71

เกษตรกรสามารถรวมกลุมกันจัดตั้งศูนย เรียนรูการผลิตพืชผักปลอดภัย GAP เพื่อ เปนแหลงเรียนรูขั้นตอน กระบวนการในการ ผลิตผักปลอดภัยสําหรับเกษตรกรที่ไมเคย ขอรับการรับรอง ผูที่สนใจหรือผูที่มีการ ขอรับรอง GAP แลวมาแลกเปลี่ยนขอมูล กันโดยมกี ารแตงตง้ั คณะกรรมการจํานวน 9 คน เพื่อเปนแกนนําในการขับเคลื่อนกลุมผัก ปลอดภัย GAP ตอไป จากการดําเนินกิจกรรมการสงเสริม การผลิตสินคาเกษตรของชุมชนใหเปน สินคาปลอดภัยและไดมาตรฐาน GAP พบวา เกษตรกร 6 ราย และผักจํานวน 11 ชนิด ผานการรับการรับรองตามมาตรฐาน GAP ˹Ҍ ·Õè 72

3. การดําเนินงานตามรูปแบบชุมชน นวัตกรรมประเด็นชุมชนวิสาหกิจเขมแข็ง โดยการพัฒนาระบบการผลิต แปรรูป สราง อัตลกั ษณส ินคา บรรจุภัณฑสินคาชุมชนใหเกิด รายได เกษตรกรไดรวมกันออกแบบตราสินคา ที่จะนําไปติดบนบรรจุภัณฑเพื่อจัดจําหนาย รู ป แ บ บ ข อ ง ต ร า สิ น ค า แ ล ะ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ นอกจากนี้ยังมีการถายภาพนิ่ง คลิปวิดีโอ สําหรับจัดทําโฆษณาสินคาผักปลอดภัย GAP ของตําบลหนาไม ผานชองทางออนไลนโดย นําไปแสดงในเพจตลาดผัก ผลไม ออนไลน ราคาสง-ปลีก และของอรอยเมืองปทุม 4. การสรางความรวมมือกับเครือขาย ประชารัฐและหนวยงานอ่ืนในพ้ืนที่ท่ีมีสวน เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตตําบลหนา ไม อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทมุ ธานี การดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท อ ง ถิ่ น ในพื้นที่ตําบลหนาไม อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี ในป พ.ศ. 2564 นี้ ดําเนิน การภายใตความรวมมือของเครือขายทั้ง เกษตรกร ผูใหญบาน องคการบริหารสวน ตาํ บลหนา ไมศ นู ยว จิ ยั และพฒั นาการเกษตรปทมุ ธานี คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของโดยแตละหนวย งานมีบทบาทในการขับเคลื่อนโครงการ ˹Ҍ ·Õè 73

5. ชุมชนมีคุณภาพชวี ิตดีข้ึน มีรายไดเพ่มิ ไมน อยกวารอ ยละ 10 จากการดําเนินกิจกรรมเพ่ือขอรับการ รั บ ร อ ง ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค า เ ก ษ ต ร ป ล อ ด ภั ย ไ ด มาตรฐาน GAP ของเกษตรกรตําบลหนาไม อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี พบวา เกษตรกรมีชองทางในการจัดจําหนา ยสนิ คาท่ีได รับการรับรองเพิ่มข้ึนจากการทําคลิปโฆษณาไป เผยแพรในสื่อออนไลน และสามารถนําผักบุงที่ ไดร บั การรบั รองมาตรฐาน GAP เปน ผกั นาํ รอ ง ไปวางขายในตลาดรวมใจของตลาดไท ตําบล คลองหน่ึง อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี ซึ่งเปนแหลงรองรับการซ้ือขายผักปลอดภัยที่ ไดมาตรฐาน หลังจากการติดตามผลโดยการ ประชุมกลุมผานกิจกรรมที่ 4 โดยการสมั ภาษณ เกษตรกรพบวา เกษตรกรมรี ายไดเ ฉลีย่ เพิ่มข้นึ รอ ยละ 18 ˹Ҍ ·èÕ 74

ผลตอบรับจากการดาํ เนิน โครงการ เกษตรกรเปาหมายเขารวม โครงการ 50 คน จากฐานรายชื่อเกษตรกร ปลูกผัก 60 คนที่รวบรวมโดยองคการบริหาร สวนตําบลหนาไม คิดเปนรอยละ 83 นอกจาก น้ีการขับเคลื่อนกิจกรรมในโครงการยังไดรับ ผลลพั ธ จากการดําเนินของโครงการ ความรว มมือจากสาํ นักงานเกษตรอําเภอ สํานัก ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ พัฒนาชมุ ชน องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลหนา ไม ร า ย ไ ด ใ ห กั บ ค น ใ น ชุ ม ช ม ตาํ บ ล ห น า ไ ม โรงเรียนชุมชนวัดหนาไม ผูใหญบานและ อาํ เภอลาดหลมุ แกว จังหวดั ปทมุ ธานี ทมี่ าจาก คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมทั้งสิ้น เปาหมายหลังเสร็จสิ้นการดําเนินโครงการ 6 เครือขายที่รวมขับเคลื่อนโครงการจนบรรลุ พบวา สามารถดําเนินการบรรลุเปาหมายทต่ี ้ังไว วัตถุประสงค ไดท ้ังเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ ˹Ҍ ·èÕ 75

เสยี งสะทอ นจากชุมชน จากการดําเนนิ การกจิ กรรมที่ 4 กิจกรรม สรุปผลโครงการและถอดบทเรียนความสําเร็จ ไดจัดการประชุมกลุมยอย ตัวแทนเกษตรได กลา วขอบคณุ แกผ จู ดั การพน้ื ท่ี และคณะกรรมการ ในการขับเคล่ือนกิจกรรมผานโครงการยกระดับ คุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่นในพื้นที่ตําบล หนาไม อําเภอลาดหลุมแกว จงั หวัดปทมุ ธานี เกษตรกรรูสึกขอบคุณทางมหาวิทยาลัยเปน อยา งยง่ิ ทใ่ี หค วามสาํ คญั กบั การใหก ารสนบั สนนุ องคค วามรเู พอ่ื สง เสรมิ ใหเ กษตรกรสามารถเขา สู การรบั รองมาตรฐาน GAP โดยมกี ารใหก ารชว ยเหลอื กับเกษตรกรใหมีความรูและสามารถตอยอด องคความรูในการพัฒนาผลิตผลทางการเกษตร ใหมีคุณภาพดีไดมาตรฐานปลอดภัยทั้งผูผลิต และผูบริโภค และมสี นิ คา ตรงตามความตอ งการ ของตลาด รวมทั้งมีโฆษณาประชาสมั พันธส ินคา ทางการเกษตรผา นชอ งทางตา ง ๆ ทาํ ใหเ ปน การ เพิ่มชองทางทางการตลาดและนําไปสูการมี รายไดที่เพิ่มมากข้ึนของเกษตรกรและชุมชน เกษตรกรมีงานทาํ และมีรายไดสามารถเลี้ยงดู ครอบครัวได ˹Ҍ ·Õè 76

ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ กิ ด ข้ึ น กั บ ชุมชนหลังจากการดําเนิน การพัฒนา รายไดครัวเรือน จากการดําเนินกิจกรรมเพื่อ ประธานและคณะกรรมการไดย่ืนแบบ ขอรับการรับรองการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย คาํ ขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือขาย ไดม าตรฐาน GAP ของเกษตรกรตําบลหนาไม วิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติสงเสริม อาํ เภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี พบวา วิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 (แบบ สวช. 01) เกษตรกรมีรายไดเฉลี่ยเพิ่มขึ้นรอยละ 18 ทส่ี ํานักงานเกษตรอําเภอลาดหลุมแกว จังหวัด การขอรับรองผัก GAP นอกจากนี้ยังสง ผลให ปทมุ ธานี เพือ่ จัดต้ังกลมุ ผกั ปลอดภยั GAP ตาํ บล มีเกษตรกรรายใหมสนใจเขารวมรับการรับรอง หนา ไม การผลติ พชื ผกั ปลอดภยั เพม่ิ อกี 3 ราย โดยยน่ื ขอ ขอ ดขี องการรวมกลมุ จดั ตง้ั วสิ าหกจิ ชมุ ชน ผักจํานวน 8 ชนิด ขณะนี้อยูระหวางยื่นขอรับ นค้ี อื สามารถขอการรบั และสง เสรมิ สนบั สนนุ การรบั รองจากกรมวชิ าการเกษตร การพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชนจากคณะ การรวมกลมุ ขอขน้ึ ทะเบยี นวสิ าหกจิ ชมุ ชน กรรมการสง เสรมิ วสิ าหกจิ ชมุ ชนตามทก่ี าํ หนดใน หลังจากท่ไี ดแตงต้งั คณะกรรมการของศูนยการ พระราชบัญญัติสงเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. เรยี นรพู ชื ผกั ปลอดภยั ซง่ึ มคี ณะกรรมการ 9 คน 2548 ได ประกอบดว ยคณะกรรมการดาํ เนนิ งานดงั น้ี นายอุดม ขนุนกอน ประธาน นายสมรัฐ ธัญทรงธรรม กรรมการ นายสมคิด พานทอง กรรมการ นายณัฐสิฐิ วัฒนจรสโรจน กรรมการ นายสุภกฤต กฤตเจริญนนท กรรมการ นางรงุ ไพลิน ฐิตวิ ฒุ พิ งค กรรมการ นายสนทิ รอชัยกลุ กรรมการ นายทองสุข กาญจนานนท กรรมการ นายอาคม วัฒนจรูญโรจน กรรมการ และเลขานุการ ˹Ҍ ·èÕ 77

ศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โรงเรือนเพาะเห็ดอัจฉริยะ) ปจจุบันศูนย เรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โรงเรือน เพาะเหด็ อัจฉริยะ) ไดเกิดขึ้นจากการสราง น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น แสงอาทติ ย และระบบการใหน ํา้ เหด็ ในโรงเรอื น เพาะเหด็ แบบอัตโนมตั ิ ทีส่ ามารถตั้งคาเวลาของ การใหนา้ํ ไดตามความตองการและเหมาะสม ซ่งึ นอกจากจะเปนศูนยการเรียนรทู ่มี ีการเผยแพร องคค วามรทู างดา นนวตั กรรมและเทคโนโลยที าง การเกษตรสชู มุ ชนแลว ยงั ตอ ยอดในทางเศรษฐกจิ ดว ยการสง เสรมิ และสนบั สนนุ เศรษฐกจิ ในครวั เรอื น ของชมุ ชนใหเ กดิ รายไดเ สรมิ และเปน การสรา งงาน สรา งอาชพี ใหก บั ชมุ ชน รวมทง้ั สรา งความตระหนกั ให ชุมชนรูจักการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู ในพนื้ ถนิ่ ใหเกิดประโยชนอ ยางคุมคาและยง่ั ยนื ˹ŒÒ·èÕ 88

ขอ เสนอแนะ แนวทางท่ีจะดาํ เนินการในอนาคตของ โครงการโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ ร า ย ไ ด ใ ห กั บ ชุ ม ช น ฐ า น ร า ก ตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี 1. การยดื อายุสินคา ผักปลอดภัย GAP ที่ เกษตรกรผลติ ไดอ าจตอ งหาวธิ กี ารในการคงความ สดใหมของสนิ คา จากตน ทางไปสูปลายทาง ดวย สถานการณการแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 น้ี ทาํ ใหค วามตอ งการสง่ั ซอ้ื ผกั ผา นชอ งทาง ออนไลนมีมากขึ้น จึงอาจตองหาวิธีในการคง ความสดของผัก เชน การพัฒนาบรรจุภัณฑที่ สามารถเก็บความเย็น หรือควบคุมอุณหภูมิ ได เปนตน 2. พฒั นาผลติ ภณั ฑก ารแปรรปู ผกั เพม่ิ มลู คา การเพม่ิ มลู คา ผกั ปลอดภยั GAP นอกจากการขาย สนิ คา ทเ่ี ปนผักสดแลว อาจทําการเพ่ิมมลู คา ใน รปู แบบอน่ื ๆ เชน การทาํ ผกั อบกรอบ การทาํ กมิ จิ การพฒั นาสตู รผกั ดอง เปน ตน 3. สง เสรมิ เกษตรทต่ี อ งการขอรบั รอง GAP ในพชื ผกั ชนดิ อน่ื ๆการขอการรบั รองGAPสามารถ ดาํ เนนิ การในขน้ั ตอนและกระบวนการทค่ี ลา ยคลงึ กันของทง้ั พืชผล ปศุสัตว และสตั วน้าํ ดวยพื้นท่ี ตาํ บลหนา ไม อาํ เภอลาดหลมุ แกว จงั หวดั ปทมุ ธานี มกี ารปลกู กลว ยคอ นขา งมากอาจผลกั ดนั สง เสรมิ ใหกลุมเกษตรกรปลูกกลวยขอรับการรับรอง มาตรฐาน GAP ˹Ҍ ·èÕ 79

4. เพิ่มชองทางการติดตอระหวางผูซื้อ กับกลุมเกษตรกร เนื่องจากตอนนี้มีเพียงการ ติดตอซื้อขายผานทางโทรศัพทอยางเดียว อาจเพิ่มชองทางไลน เพจ Facebook และ ในตราสินคาอาจเพิ่ม QR Code แปะคลิป โฆษณา บอกเลาความเปนมาของผักปลอดภัย GAP เพิ่มเรื่องราว ความนาสนใจใหกับสินคา 5. การทองเที่ยวชุมชมผักปลอดภัย GAP กลุมลูกคาจะตองการผักที่สดเพื่อนําไป บริโภค การซื้อขายในรูปของการสั่งสินคา แลวสงไปดวยรถขนสงหรือไปรษณียอาจ ทําใหผักเสียหายกอนไปถึงมือลูกคา ดังนั้น การดึงดูดลูกคาใหเขามาในพื้นที่ดวยการ สรางแหลงทองเที่ยวเชิงชุมชน โดยใชผัก ปลอดภัย GAP เปนจุดดึงดูดใหลูกคาเขามา เลอื กผกั ตดั ผกั ดว ยตนเองในพน้ื ท่ี สรา งเรอ่ื งราว บอกเลาความเปนมาของการเปนผักปลอดภัย GAP จึงอาจเปนแนวทางในการแกปญหา เรื่องการขนสงผักและเปนชองทางหนึ่งใน การเพิ่มรายไดใหกับชุมชน ชอ่ื ทมี ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ 1. อาจารย ดร.วัชราภรณ วงศสกุลกาญจน 2. อาจารยอรวรรณ ชํานาญพุดซา 3. อาจารยขวญั แข หนนุ ภักดี 4. อาจารยพชรกมลกลนั่ บุศย 5. อาจารยปรียาภา เมืองนก 6. อาจารยว รรณนสิ า หนูชว ย ˹Ҍ ·èÕ 80

Ê׺ÊÒ¹ÀÙÁÔ»Þ˜ ÞÒ§Ò¹¨Ñ¡ÊÒ¹àÁÍ× §ä¼‹ µÓºÅàÁ×ͧ伋 ÍÓàÀÍÍÃÞÑ »ÃÐà·È ¨§Ñ ËÇ´Ñ ÊÃÐá¡ÇŒ บทนํา ตามท่ีภาครัฐไดเช่ือมโยงเปาหมาย ตอโครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา การพัฒนาท่ียั่งยืนของสหประชาชาติเขากับ เพือ่ ชวยเหลอื ประชาชนใหมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดีขนึ้ แผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป ของประเทศไทย จังหวัดสระแกว เปนจังหวัดที่ 74 ของ และยทุ ธศาสตรเ กษตรและสหกรณ 20 ปร ะหวา ง ประเทศไทย ในป พ.ศ. 2536 ไดมปี ระกาศ ป 2560 ถงึ ป 2579 โดยนอ มนาํ เอาหลกั ปรชั ญา ในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั พิเศษ เลมที่ 110 ของเศรษฐกิจพอเพียงที่เนนการพัฒนาแบบ ตอนที่ 125 ลงวนั ที่ 2 กันยายน 2536 มผี ลให ยง่ั ยนื โดยคาํ นงึ ถงึ สง่ิ แวดลอ มทอ่ี ยแู ละใชห ลกั การ “จังหวัดสระแกว ” จงึ สงผลใหจงั หวัดสระแกว ทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร แยกออกจากการปกครองของจังหวัดปราจีนบุรี มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร อยา งเปน ทางการ นบั ตง้ั แตว นั ท่ี 1 ธนั วาคม 2536 รชั กาลท่ี 9 มาเปน แนวทางในการดาํ เนนิ นโยบาย เขตการปกครองประกอบดว ย 9 อาํ เภอ 59 ตาํ บล เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และยกระดบั รายไดของ 731 หมูบาน 1 องคการบริหารสวนจังหวัด ประชาชนแกไขปญหาเชิงโครงสราง การผลิต 16 เทศบาล (3 เทศบาลเมือง 13 เทศบาล ภาคเกษตรเสริมสรางความม่ันคงทางอาหาร ตาํ บล) และ 49 องคการบรหิ ารสว นตาํ บล พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยดาน ( แผนพัฒนาจังหวัดสระแกว 5 ป (พ.ศ. 2561 อาหาร เพื่อนําไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง - 2565) ฉบับทบทวนป 2564, 2564) ซึง่ และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ 1 ใน 9 อาํ เภอน้ันคอื อาํ เภออรญั ประเทศ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ที่ต้งั อยูส ุดแดนสยามบูรพา ยา นการคาอินโดจนี ศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ชนทองถิ่นหา ชาติ พระสยามเทวธริ าชศักดสิ์ ิทธิ์ รชั กาลท่ี 10 ทรงมีพระปณธิ านแนวแนท จ่ี ะสาน แหลงผลิตผาทอมือ เลอื่ งชอ่ื แตงแคนตาลปู ˹Ҍ ·Õè 81

ตาํ บลเมอื งไผ อาํ เภออรญั ประเทศ จงั หวดั จังหวัดสระแกว อยูภายใตการบรหิ ารงานของ สระแกว เคยเปนเมืองโบราณสําคัญอีกแหงใน องคการบริหารสว นตาํ บลเมอื งไผ ภาคตะวนั ออกทม่ี พี ฒั นาการทางดา นประวตั ศิ าสตร สภาพปญหาของชุมชนโดยสวนใหญทํา อยา งตอเนือ่ ง โดยเปน เมืองโบราณในวัฒนธรรม อาชีพเกษตรกรรม เชน ทาํ นา ปลกู ขาว พืชไร ทวารวดีและมีพัฒนาการตอเน่ืองมาจนถึงใน พืชสวนเลย้ี งสัตว รบั จา ง ฯลฯ จากการลงพ้ืนท่ี สมัยที่วัฒนธรรมเขมรโบราณเขามามีบทบาท สาํ รวจขอ มลู ตาํ บลเมอื งไผ ซง่ึ มจี าํ นวน 8 หมูบ าน อยูในดินแดนแถบนี้ ซึ่งมีอายุอยูในราวพุทธ ทําใหพบปญหาของการประกอบอาชีพของ ศตวรรษที่ 12 – 18 อีกทั้งจากผลการสํารวจ เกษตรกรในเรื่องแหลงนําสําหรับทําการเกษตร ในปจ จุบัน เมืองไผ ยังถอื ไดว าเปนเมืองโบราณ เกษตรกรตองรอฝนตกตามฤดูกาลและในบาง ในวัฒนธรรมทวารวดีที่ต้ังอยูชายขอบสุดของ ชวงเกิดภาวะความแหงแลงจากฝนทิ้งชวงทําให ภาคตะวนั ออกอีกดว ย ไดผลผลิตนอยและในชวงเวลาที่รอฤดูการทํานา เมืองไผ ตั้งอยูที่ บานเมืองไผ หมูที่ 1 จะเห็นวามีบางครอบครัวปลูกพืชผัก เพื่อใช ตาํ บลเมอื งไผ อาํ เภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแกว บริโภคและนําไปขายในตลาดชุมชน ลกั ษณะผงั เมอื งของเมอื งไผ มลี กั ษณะเปน รปู วงรี อยางไรก็ตามจากการลงพ้ืนที่เก็บขอมูล คลายรูปไขมีขนาดความกวางประมาณ 1,000 และสัมภาษณคนในชุมชนตําบลเมืองไผ เมตร ยาวประมาณ 1,300 เมตร มคี ูเมืองและ ทางคณะผูรับผิดชอบโครงการไดทราบถึงความ กาํ แพงเมืองลอมรอบ โดยคูเมืองมีขนาดความ ตองการในการพัฒนาอาชีพเพื่อเปนการ กวางประมาณ 40 เมตร กําแพงเมืองกวาง เสริมสรางรายไดในชวงวางจากการทํานา ประมาณ 15 เมตร และสูงประมาณ 2–3 เมตร จึงไดวางแผนการดําเนินกิจกรรมเพื่อเปน ตัวเมืองแบงออกเปน 2 สวน ซึ่งสันนิษฐานวา ชองทางในการสรางรายไดใหกับชุมชนตาม สวนแรกเปนที่ต้ังเมืองและอีกสวนหน่ึงมีหวย วัตถุประสงคของโครงการยกระดับพัฒนา ไผไ หลผา นกลางอาจใชเ ปน พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมทาํ ให คุณภาพชีวิตและยกระดับรายไดใหกับชุมชน ตาํ บลเมอื งไผ ไดมีการเปลี่ยนแปลงชื่อหมูบาน ฐานราก ตําบลเมืองไผ อําเภออรัญประเทศ และกําหนดเขตการปกครองใหม ในปจจุบัน จังหวัดสระแกว เหลือเพยี งจาํ นวน 8 หมบู า น ไดแ ก หมทู ่ี 1 บาน เมืองไผ, หมทู ่ี 2 บา นเนนิ สะอาด, หมทู ่ี 3 บา นดง ยาง, หมทู ี่ 4 บานสขุ เกษม, หมูที่ 5 บา นวิจิตร คาม, หมูที่ 6 บา นเปรมกมล, หมทู ่ี 7 บา นสม ประสงค และหมทู ี่ 8 บา นใหมส ขุ ประเสริฐ ปจจุบันตําบลเมืองไผ อําเภออรัญประเทศ ˹Ҍ ·Õè 82

ผลการดาํ เนินงาน ทางทีมงานมีการเตรียมความพรอมใน การดําเนินโครงการ โดยมีการประชุมทีม เพ่ือกําหนดวันเวลาในการลงพ้ืนท่ีและเขียน โครงการเสนอตามขั้นตอน เม่อื ไดรบั การอนุมตั ิ จึงประสานหนวยงานทางอําเภออรัญประเทศ เพ่อื ลงพ้นื ท่สี ํารวจบริบทชุมชนและสํารวจความ ตอ งการของคนในชมุ ชนและมกี ารประชาคมรว ม กบั ผนู าํ ตัวแทนชมุ ชน เพือ่ วางแผนการทาํ งาน รว มกัน โดยการดําเนินกิจกรรมในโครงการได แบง เปน 4 กจิ กรรม ดงั นี้ กจิ กรรมท่ี 1 ระยะเวลาดําเนินการ (3 วัน) เปนการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสรางการรับรูและเรียนรูรวมกันในการสราง กระบวนการกลมุ อาชพี และการวางแผนการผลติ อยา งเปน ระบบ เพอ่ื เปน พนื้ ฐานความรคู วามเขา ใจ ใหกับผูเขารวมโครงการ และการจัดอบรม เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับความรูพื้นฐานการเตรียม วตั ถุดิบสําหรับทําจักสาน และการทําจักสาน ตนแบบ (โคมไฟ ตะกรา ชะลอม) เพื่อให ผเู ขา รว มโครงการไดเ ขาใจเรอ่ื งวัตถุดบิ และวัสดุ อปุ กรณที่ตองใชในการจักสาน รวมทั้งความรู พื้นฐานเก่ียวกับการเตรียมวัตถุดิบสําหรับ การนาํ มาทําจักสาน ˹Ҍ ·Õè 83

กิจกรรมที่ 2 ระยะเวลาดําเนินการ และบรรจภุ ณั ฑ เพอ่ื เปน สญั ลกั ษณใ นการนาํ เสนอ (3 วนั ) เปน การจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรอ่ื งการให ผลติ ภณั ฑข องกลมุ จกั สานเมอื งไผ และออกแบบ ความรูเกี่ยวกับการคํานวณตนทุนผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑสําหรับการจัดสงสินคาใหกับลูกคา และการใหความรูเรื่องการจัดจําหนายและ นอกจากกิจกรรมในการสรางอาชีพแลว ยังได การตลาดสินคา จกั สาน เพอ่ื สง เสรมิ ใหผ เู ขา รว ม จดั กจิ กรรมสง เสรมิ สขุ ภาพ (Healthcare) สาํ หรบั โครงการไดคิดคํานวณราคาขายและหาชอง ผสู งู อายุ เรอ่ื งการใชเ สน ยางยดื เพอ่ื การผอ นคลาย ทางการตลาดได และความรูเกย่ี วกับการพฒั นา และการใชต วั บบี มอื เพอ่ื การผอ นคลาย ใหผ เู ขา รว ม ผลติ ภณั ฑจ กั สาน การออกแบบผลติ ภณั ฑจ กั สาน โครงการไดพ กั บรหิ ารกายในระหวา งการทาํ กจิ กรรม เพ่ือใหผูเขารวมโครงการไดเห็นถึงวิธีการและ จักสาน ใหส ามารถหาของใชภายในครวั เรอื นมา กระบวนการออกแบบใหหลากหลายโดยใหผู ประดิษฐและใช ในการออกกําลังกายไดเอง เขาอบรมนําเสนอแนวคิดและรวมกันสรางสรรค อยา งงา ยและไมต อ งสน้ิ เปลอื งคา ใชจ า ย แบบของเคร่อื งจักสานของชมุ ชน กจิ กรรมท่ี 4 ระยะเวลาดาํ เนนิ การ (3 วนั ) กจิ กรรมท่ี 3 ระยะเวลาดาํ เนนิ การ (3 วนั ) เปนกิจกรรมติดตามผลการดําเนินกจิ กรรมของ เปน การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารรว มกนั จดั ทาํ แผนการ ผเู ขา รว มโครงการอยา งตอเน่อื ง เพื่อใหท ราบถงึ ดําเนินงานของกลุมอาชีพจักสานเมืองไผ การพฒั นาฝม อื ความถนดั ปญ หาและอปุ สรรคของผู อาํ เภออรญั ประเทศจังหวดั สระแกวเพ่อื กาํ หนด เขา รว มโครงการแตล ะรายในการทาํ เครอ่ื งจกั สานซึ่ง แนวทาง ในการจดั ตง้ั กลมุ อาชพี และโครงสรา ง ไดมีการรวมตัวกันเปนกลุมอาชีพภายใตชื่อ กลุมจักสานเมืองไผ ใหความรูเรื่องตราสินคา “กลุมจักสานเมืองไผ” ˹Ҍ ·Õè 84

การติดตามการดําเนินงานของกลุม อ า ชี พ จั ก ส า น เ มื อ ง ไ ผ ห ลั ง จ า ก ก า ร ดํ า เ นิ น กิจกรรมเสร็จส้ินตามระยะเวลาท่ีวางแผนไว แลวทางคณะผูดําเนินโครงการไดมีการติดตาม สอบถามความตอเน่อื งในการนําความรเู ก่ยี วกับ การทําจักสาน รวมถึงการพัฒนาฝมือการฝก ความชํานาญปญหาและอุปสรรคและให คาํ ปรกึ ษา โดยการสอ่ื สารดว ยชอ งทางออนไลน เชน Application Line การตดิ ตามทางโทรศพั ท เปน ระยะ ๆ ˹Ҍ ·èÕ 85

ผลที่คาดวาจะไดรับจากการดําเนิน โครงการพบวาชุมชนไดเขารวมกิจกรรมตาม เปา หมาย ผเู ขา รว มโครงการไดร บั ความรเู กย่ี วกบั ผลิตภัณฑใหมจากทุนชุมชน จํานวน 3 ชิ้น งาน ซ่ึงกอ ใหเกิดรายไดเ พิม่ ขนึ้ รัอยละ 10 และ ยงั สามารถรวมตวั กนั เปน กลมุ อาชพี ไดอ กี 1 กลมุ ˹ŒÒ·èÕ 86

ภาคีเครือขา ยที่เกี่ยวขอ ง 1. ท่ีวา การอาํ เภออรญั ประเทศ นายอําเภออรัญประเทศ ไดอนุญาตและ ใหความอนุเคราะหอํานวยความสะดวกในการ เขาพ้ืนท่ีเพ่ือดําเนินการจัดกิจกรรมในโครงการ ซง่ึ มขี อ จาํ กดั เรอ่ื งจาํ นวนคนทม่ี ารว มกจิ กรรม ใน ชว งเดือนมถิ นุ ายน 2564 ไมเกินจํานวน 30 คน สว นในชว งเดอื นกรกฎาคม 2564 ไมเ กนิ จาํ นวน 150 คน และใหคณะผูดําเนินงานโครงการ ปฏิบัติตามกฎระเบียบในการเขาพ้ืนท่ีและการ ดาํ เนนิ กจิ กรรมอยา งเครง ครดั ซง่ึ การจดั กจิ กรรม ไดรับความรวมมือจากกลุมเปาหมายและมี การระมัดระวังปองกันการแพรระบาดของโรค เปน อยา งดี ˹ŒÒ·èÕ 87

2. สาํ นักงานพฒั นาชุมชนอําเภออรญั ประเทศ ทางทีมงานไดประสานงานไปยังพัฒนาการ อาํ เภออรญั ประเทศ ใหไดรับทราบถึงรูปแบบและรายละเอียด กิจกรรมในโครงการโดยมี คุณ ศิราภรณ วเิ ศษดอนหวาย (นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ตั กิ าร) สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภออรัญประเทศ ไดเขามารวมกิจกรรมพิธีเปดการอบรมทําใหเห็น ความตั้งใจในการพัฒนาอาชีพของกลุมเปาหมาย วามีความเปนไปไดในการรวมเปนกลุมอาชีพ (จักสานเมืองไผ) และไดใหคําแนะนําเกี่ยวกับ การพัฒนาตอยอดใหกลุมอาชีพเปนกลุมที่มี การจดั ทะเบียนตอ ไปในอนาคต ˹ŒÒ·èÕ 88

3. องคการบรหิ ารสว นตําบลเมืองไผ ทางทมี งานไดป ระสานงานกบั องคก ารบริหาร สวนตําบลเมืองไผ ไดรับความอนุเคราะหจาก นายสมพศิ พพู วก นายกองคก ารบรหิ ารสวน ตําบลเมอื งไผ ไดใ หความรวมมอื ในการใหข อ มลู เบอ้ื งตน ของตาํ บลเมอื งไผแ ละอาํ นวยความสะดวกใน การประสานงานกบั ผนู าํ ชมุ ชนและตวั แทนชาวบา น รวมท้งั ใหความอนุเคราะหใชหองประชุมในการ จดั กจิ กรรม รวมถงึ เจา หนา ทใ่ี นหนว ยงานขององคก าร บรหิ ารสว นตาํ บลทไ่ี ดช ว ยเหลอื ในดา นการประสาน งานและอาํ นวยการความสะดวกดา นสถานทด่ี ว ยดี เสมอมา ˹Ҍ ·èÕ 89

4. นกั พฒั นาชมุ ชนปฏบิ ตั กิ าร องคก ารบรหิ าร สว นตาํ บลเมอื งไผ ในการลงพ้ืนท่ีพบผูนําชุมชนของแตละ หมบู า น ทางทมี งานไดร บั ขอ มลู เบอ้ื งตน เกย่ี วกบั การ ประกอบอาชพี ของแตล ะหมบู า นจากคณุ รกั ชนก แสวงผล นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ อบต.เมืองไผ ซึ่งได ใหค วามอนเุ คราะหป ระสานงานในการจดั กจิ กรรม กบั กลมุ เปา หมาย และอาํ นวยความสะดวกในการ จดั กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั ฯ อยา งตอ เนอ่ื ง ˹ŒÒ·èÕ 90

สรุปผลการดําเนินงาน ดานนวัตกรรมที่นําไปใชกับชุมชน จากการลงพน้ื ทพ่ี บประชาชนทง้ั 8หมบู า น เชี่ยวชาญ และผูเขารวมกิจกรรมมีความสนใจ และประชุมหาแนวทางในการพัฒนาอาชีพ ตั้งใจที่จะเรียนรูและสามารถฝกฝมือจน พบวาดั้งเดิมในอดีตตําบลเมืองไผ เคยมีการ สามารถสานออกมาเปนชิ้นงานที่สวยงามได ทําเครื่องใช ที่เปนงานจักสาน สําหรับไวใช นวัตกรรมของการจักสาน เปนการแปรรูป ในครัวเรือน แตเมื่อเวลาผานมาถึงปจจุบัน ผลิตภัณฑจาก “ตนไผ” และยังเปนการ งานฝมือเหลานี้ก็เลือนหายไปเพราะไมมี “สบื สานภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน” สําหรบั การจกั สาน การสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น ทางทีมงาน ของกลุมเปาหมายไดมีการคิดและประยุกต จึงไดรวมหารือและวางแนวทางรวมกับผูนํา ใชวัตถุดิบในทองถิ่นมาเปนสวนประกอบรวม ชุมชนและตัวแทนชุมชนที่ใหความสนใจที่จะ กับไผ คือ การนําเอากะลามะพราว และทาง ไดรวมกันฟนภูมิปญญาในเรื่องงานจักสาน มะพราวมาเปนสวนประกอบในการสานโคมไฟ โดยใช “ตนไผ” ซึ่งเปนวัตถุดิบที่มีมากใน เพ่ือใหเกิดความสวยงามและไดใชวัสดุที่มีอยูใน ตําบลเมืองไผมาสรางเปนผลิตภัณฑใหมให ทองถิ่นมาผสมผสานใหเปนช้ินงานที่สวยงามมี เปนเอกลักษณของ “ตําบลเมืองไผ” ซึ่งเริ่ม ความละเอียดและประณีตดูเปนธรรมชาติและมี ตนดวยการทําผลิตภัณฑจาก ตนไผ 3 ชิ้นงาน เอกลักษณข องตวั เอง ไดแก โคมไฟ ตะกรา ชะลอม ชิ้นงานแตละ งานจักสานของตําบลเมืองไผถือไดวา ชิ้นไดรับการถายทอดจากวิทยากรที่มีความ เปนการฟนฟู อนุรักษและสืบสานภูมิปญญา ˹Ҍ ·Õè 91

ของไทยซึ่งสามารถตอยอดผลิตภัณฑใหมี ความหลากหลายนําไปสูการสรางงานสราง อาชีพและสรา งรายได ดา นเทคโนโลยที ่นี ําไปใชกบั ชุมชน จากการดําเนินกิจกรรมในโครงการพบวา กลุมเปาหมายมีทั้งวัยรุน วัยทํางาน ผูสูงอายุ ซง่ึ ใหค วามสนใจมารว มกจิ กรรม การตดิ ตอ สอ่ื สาร ระหวา งทมี งานและกลมุ เปา หมายไดใ ชก ารสอ่ื สาร แบบออนไลนใ นการแลกเปลยี่ นคดิ เหน็ ความรู และการติดตามงานของกลุมเปาหมาย เชน การถา ยรปู และสง ภาพ ˹Ҍ ·Õè 92


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook