Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัย-สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจำวันฯ - อ.ทศพล

รายงานวิจัย-สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจำวันฯ - อ.ทศพล

Published by E-books, 2021-03-02 07:08:37

Description: รายงานวิจัย-สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจำวันฯ-ทศพล

Search

Read the Text Version

137 5.2.7) การใหบ้ ริการอินเตอรเ์ น็ท รายละเอียด ผู้ขอใช้บริการอินเตอร์เน็ทได้ขอเปิดใช้บริการต่อบริษัทผู้ให้บริการ โดยได้มีข้อความใน สญั ญาข้อหน่งึ ระบไุ ว้ว่า การเปิดใช้บริการผู้ขอเปิดบริหารจะต้องผูกพันการใช้บริการอย่างน้อย 12 เดือน หากมีการยกเลิกสัญญาก่อนกําหนด จะเสียค่าปรับ 2500 บาท หลังจากน้ันผู้ขอใช้ บริการได้ติดต้ังอุปกรณ์การใช้อินเตอร์ตามคําแนะนําของผู้ให้บริการ เม่ือติดต้ังเสร็จแล้ว กลับ พบว่า ไม่สามารถใช้อินเตอร์เน็ทได้ ผู้ขอให้บริการจึงติดไปยังผู้ให้บริการ ซ่ึงทางผู้ให้บริการ ได้รบั ปากว่าจะส่งช่างไปตรวจสอบให้ เม่ือเวลาผ่านไป ช่างก็ยงั ไม่มาจัดการซ่อม ผู้ให้บริการจึง ติดต่อไปยังผู้ให้บริการอีกคร้ัง พนังงานก็รับปากว่าจะประสานเรื่องให้จนเวลาล่วงเลยนานนับ เดือนช่างก็ไม่ได้เข้ามาซ่อม แถมยังมีใบแจ้งหน้ีจากผู้ให้บริการตลอด 6 เดือนท่ีไม่สามารถใช้ บริการเลย ผู้ขอใช้บริการ จึงไปยกเลิกการใช้บริการดังกล่าวแต่ถูกบริษัทปฏิเสธ โดยแจ้งว่า จะต้องชาํ ระค่าบริการที่ค้างชาํ ระและต้องเสียค่าปรับตามที่ระบุไว้ในสัญญา จึงจะยกเลิกการใช้ บริการได้ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงสร้างความไม่เป็นธรรมแก่ผู้ขอใช้บริการเป็นอย่างมาก เพราะ การไมไ่ ดใ้ ช้บริการแล้วยังจะต้องเสียค่าบริการแบบฟรีๆ แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักสัญญาและการปฏิบัติตามสัญญาโดยสุจริต และการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ซึ่งผใู้ ห้บริการมีหน้าท่ใี นการให้บริการตามข้อสญั ญาท่ีตกลงกันไว้เนื่องจากมีการเสียค่าบริการ หากไม่สําเร็จอาจนําเร่ืองเข้าสู่การบงั คบั คดใี นศาลแพ่ง โดยอาจฟ้องเปน็ คดีผู้บริโภคได้ 5.2.8) การบริการขนส่งสาธารณะ รายละเอียด รถประจําทางเส้นทางจากจังหวัดฉะเชิงเทราไปยังจังหวัดระยอง มีพนักงานขับรถและ กระเป๋ารถได้ปฏิบัติงานอย่างไม่ถูกต้องกล่าวคือ คนขับรถจะแอบรับผู้โดยสารระหว่างทางที่จะ มุ่งหน้าไปยังระยอง ตลอดทางโดยไม่สนใจว่าคนในรถจะมีแน่ขนาดไหน และกระเป๋ารถก็เรียก เก็บค่าโดยสารเต็มอัตราเท่ากับผู้โดยสารท่ีออกมาจากต้นสถานี อีกทั้งไม่มีการให้ต๋ัวรถ เพียงแต่เรียกเก็บเงินจากผูโ้ ดยสารเท่าน้ัน

138 ในเรื่องน้ีควรร้องเรียนต่อกรมการขนส่งในการเข้ามาจัดการเพื่อคุณภาพที่ดีของ ผ้โู ดยสารไม่ควรปล่อยให้พวกท่ีใช้หน้าท่ขี องตนหาประโยชน์เข้าตนเอง แนวทางแกไ้ ข ใช้หลกั สัญญาบริการท่ีเปน็ ธรรม การคุ้มครองผู้บริโภค และการให้บริการสาธารณะที่ ดี และโปร่งใสไม่ทุจริต โดยต้องร้องเรียนต่อหน่วยงานรัฐที่ควบคุมคือ กรมการขนส่งเพ่ือให้มี การตรวจสอบคุณภาพ และตรวจสอบการทุจริต โดยผู้โดยสารสามารถเรียกตั๋วโดยสารและ ฟ้องคดีผู้บริโภคได้ทศี่ าลแพ่ง 5.2.9) คา้ กําไรเกินควร รายละเอียด ร้านอาหารตามสั่งแห่งหน่ึงในต่างจังหวัดในรายการอาหารไม่ได้กํากับราคาอาหาร เอาไวใ้ ห้ลูกค้าทราบ ว่าอาหารแต่ละอย่างมีราคาเท่าไร ด้วยความไม่รอบคอบของลูกค้าจึงได้มี การสั่งอาหารรับประทานตามปกติโดยท่ีไม่ได้สอบถามเรื่องราคาอาหารแต่อย่างใด เม่ือทาน เสร็จได้มีการคิดราคาอาหารซ่ึงค่าอาหารมีราคาท่ีแพงเกินกว่าปกติอย่างมาก เมื่อลูกค้าไป ทักท้วงแก่เจ้าของร้านก็ได้รับคําตอบว่าราคาอาหารปกติ ไม่สอบถามราคาต้ังแต่แรก เม่ือ เหตกุ ารณ์เป็นเช่นนั้นลกู ค้าดงั กล่าวจึงจาํ ใจทจ่ี ่ายค่าอาหารทแ่ี พงมากเมอื่ เทียบกับอาหารท่ีสงั่ ในเรื่องน้ีควรที่จะจําช่ือร้านและท่ีต้ังของร้านแล้วนําไปร้องเรียนต่อหน่วยงานที่คุ้ม ครอบผู้บรโิ ภคเข้ามาตรวจสอบร้านอาหารประเภทดงั กล่าว แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนของกฎหมายการค้าภายใน โดยร้านค้าต้อง กําหนดราคาสินค้าเพื่อผู้บริโภครับรู้ล่วงหน้าก่อนตัดสินใจ ทั้งนี้อาจแจ้งให้กรมการค้าภายใน หรือสคบ. รบั ไปดาํ เนินการต่อไป หรือ 5.2.10) การบริการไมเ่ ปน็ ธรรม รายละเอียด บริษทั เดินรถถาวรฟาร์ม ไมไ่ ด้จัดระบบการบริการในการเดินรถให้มีประสิทธิภาพ เช่น ต๋ัวรถไม่มีการระบุที่นั่งบางครั้งทําให้ผู้โดยสารมีจํานวนมากกว่าท่ีน่ังในรถ จึงต้องมีผู้โดยสาร บางส่วนต้องยนื่ โดยสาร บางคร้ังผโู้ ดยสารเบียดจนไม่มีที่จะยืน อีกท้ังไม่มีการกําหนดจุดจอด-

139 รับ ผู้โดยสารท่ีแน่นอน และพนังงานของบริษัทยังไม่ได้ให้ข้อมูลเก่ียวกับการบริการเลย จึงทํา ให้ผู้โดยสารไม่สามารถท่ีจะตัดสินใจเลือกใช้บริการได้เลย ท่ังๆๆที่เป็นสิทธิของผู้ใช้บริการที่จะ เข้าถึงข้อมลู ดงั กล่าว การแกไ้ ขปญั หาในเร่อื งน้ี ควรร้องเรียนสถานีผโู้ ดยสาร และคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค แนวทางแกไ้ ข ใช้หลกั สัญญาบริการที่เป็นธรรม และการให้บริการสาธารณะท่ีดี และโปร่งใสไม่ทุจริต โดยต้องร้องเรียนต่อหน่วยงานรัฐท่ีควบคุมคือ กรมการขนส่งเพ่ือให้มีการตรวจสอบคุณภาพ และตรวจสอบการทุจริต โดยผู้โดยสารสามารถเรียกตั๋วโดยสารและฟ้องคดีผู้บริโภคได้ที่ศาล แพ่ง 5.2.11) โรงเรียนกวดวิชาหลอก รายละเอียด ข้าพเจ้าสมัครเรียนพิเศษภาษาอังกฤษท่ีสถาบันแห่งหน่ึง ท่ีมีค่าสมัครเรียนแพงกว่า คอร์สทเี่ รียนกบั ดีวีดี มาวนั หนึ่งซ่งึ กเ็ ป็นวันท่ีข้าพเจ้ามาเรียนตามปกติ แต่เมื่อมาถึงกลับพบว่า มีเพื่อนนักเรียนคนหน่ึงมาน่ังเรียนท่ีนั่งของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจึงไปแจ้งกับพนักงาน พนักงานจึง บอกให้ข้าพเจ้าไปเรียนอีกห้องหนง่ึ แทนซง่ึ เป็นห้องถ่ายทอดสด จึงเปน็ เหตุผลท่ีทําให้ข้าพเจ้าไม่ เข้าใจ และคิดว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการสมคั รเรียนคร้ังน้ี เพราะข้าพเจ้าได้สมัครเรียนใน คอร์สทมี่ ีอาจารย์สอนสด แต่กลับมาน่ังเรียนในห้องท่มี ีการถ่ายทอดการเรียนการสอนทางทีวีที่ ถ่ายทอดสดแทน ในเหตุการณ์ครั้งนั้นข้าพเจ้าได้แต่ทําตามท่ีพนักงานบอกหากไม่ทําตามจะเกิดความ วุ่นวาย ต้องเคล่ือนย้ายท่ี อาจทําให้ส่งผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่รวมถึงอาจารย์ที่สอนด้วย ข้าพเจ้ามองเหน็ ถึงปญั หาน้ีจึงได้เสียสละประโยชน์ท่ขี ้าพเจ้าควรได้รับ แนวทางแก้ไข ใช้หลักนิติกรรมสัญญา และข้อสัญญาไม่เป็นธรรม สิทธิผู้บริโภค หากเราได้เรียนตาม เง่ือนไขที่กําหนดก็เป็นการได้รับสิทธิตามสัญญา แต่การท่ีเพื่อนจ่ายน้อยกว่าแต่ได้เรียนใน สภาพเดียวกันย่อมเป็นการใช้สิทธิเกินส่วนซ่ึงโรงเรียนกวดวิชามีหน้าที่กวดขันให้เป็นไปตาม

140 เงื่อนไข อาจร้องต่อ กระทรวงศึกษาธิการ และสคบ.ให้ตรวจการให้บริการของโรงเรียนกวด วิชา 5.3) คดีแรงงาน 5.3.1) สัญญาแรงงาน รายละเอียด ข้าพเจ้าได้ทํางานหนึง่ ซึง่ เปน็ งานบริการหรือพนักงานเสิร์ฟร้านหนึ่งทําตังแต่ 5 โมงเย็น ถึงตี 1 ทุกวัน ซ่ึงก็มีพนักงานคนอ่ืนทําอยู่ด้วยซ่ึงมาล่วงเวลา ซ่ึงข้าพเจ้าเห็นว่าคงยังเป็น ช่วงเวลาหนึ่งถึงสองวันแรกในการทํางานใหม่ แต่พอหลังจากนั้น 4-5 วันเห็นว่าข้าพเจ้าต้อง ทาํ งานเอง ต้ังแต่ 5 โมง-1 ทุ่มคนเดียวซ่ึงเป็นงานขนโต๊ะ จัดโต๊ะเข้าร้าน ซ่ึงไม่มีใครมาช่วยเลย ช่วงหลังๆข้าพเจ้ามาช้ากว่าปกติ 30-40 นาที ซ่ึงผมก็จัดโต๊ะคนเดียวทุกวันท่ีทํา และเจ้าของ ร้านก็มาต่อว่าข้าพเจ้ามาช้ามาก ส่วนคนอื่นเจ้าของร้านก็ไม่ดุด่า ทั้งที่ข้าพเจ้ามาก่อนเป็นคน แรก เงินเดือนก็ได้ไม่เท่ากันซ่ึงก็ได้ทํางานครบ 1 เดือน ซ่ึงเจ้าของก็ยังไม่จ่ายเงินเดือนให้สักที ทั้งที่เงินน้ันไมไ่ ด้มากซกั เท่าไหร่ ซ่ึงส่งิ ทีได้มาจากเจ้าของร้านบอกว่าข้าพเจ้าต้องทํางานให้ครบ 30 วนั ถึงจะได้เงินเดือน ซง่ึ นั้นเปน็ ความไม่เปน็ ธรรมสําหรับข้าพเจ้า วิธีแก้ 1. น่าจะปล่อยวางกับส่ิงทีเกิดขันท่ีเราจะได้ไม่ต้องมีปัญหา ที่เป็นบ่อเกิดให้เราไม่มี ความสุขในการทาํ งาน 2. น่าจะเป็นการปรบั ความเข้าใจกบั เพอื่ นร่วมงาน และบอกเพือ่ นร่วมงานคนอ่ืนทํางาน ให้ตรงเวลา 3. ถ้ามีคนมาสายควรน่าจะแจ้งให้เจ้าของร้าน 4. ควรถามเร่ืองเงินเดือนจากผู้จ้างเพราะเปน็ สิทธ์เิ รา เพ่ือความเป็นธรรมในความตรง เวลา ท่ีลกู จ้างควรได้รับ 5. หางานใหมใ่ ห้เรามีความสุขกว่างานท่ีทําน้ันๆ เพ่ือจะได้พบปะผู้คนใหม่ๆมากขั้นเพ่ือ ปรบั ใช้ประยุกต์กบั ธรุ กิจเราในวนั ข้างหน้า

141 แนวทางแก้ไข ใช้หลกั กฎหมายนิติกรรมสัญญาจ้างแรงงาน และกฎหมายแรงงานส่วนสวัสดิการ ซึ่ง กรณีนี้จะต้องมีการจ่ายค่าล่วงเวลา และค่าจ้างปกติ การควบคุมสภาพการทํางานให้ตรงกับข้อ สัญญาท่ีตกลงกนั ไว้ โดยลกู จ้างอาจร้องเรียนต่อกรมแรงงาน และฟ้องต่อศาลแรงงานจังหวดั 5.3.2) กดกันให้ออกเอง รายละเอียด ในช่วงทเี่ ศรษฐกิจตกตา่ํ มโี รงงานแห่งหนง่ึ ได้ลดสวัสดิการของพนักงานลง พยายามคัด พนงั งานท่ไี ม่จําเป็นออก อีกทั้งยังใช้มาตรการลดเงินเดือนของพนังงานลงด้วย เม่ือมีมาตรการ ดงั กล่าวออกมาจึงเปน็ เหตทุ าํ ให้มีนักงานบางส่วนทยอยลาออกจากโรงงาน ซ่ึงการลาออกของ พนังงานจะทําให้นายจ้างไม่ต้องจ่ายเงินค่าชดเชย เวลาผ่านไป 1 เดือนมีพนังงานลาออกจาก โรงงานเหลือพนังงาน สามส่วนส่ีจากพนังงานเดิม จึงเป็นเหตุทําให้พนังงานที่เหลือจะต้อง ทํางานหนักมากขึ้น อีกทั้งยังไม่มีการเพ่ิมเงินเดือนให้อีก ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นเหตุให้พนักงานโรงง งานคนหนึง่ ท่ที าํ งานในแรงงานดังกล่าวเป็นเวลา 5 ปีทนไม่ไหวจึงต้องลาออกจากงานเดิม ทั่งที ไม่มีงานใหม่มารองรับ แต่ตนเองก็ทนรับภาระงานท่ีต้องทําต่อไป โดยการลาออกดังกล่าวก็ ไม่ได้รบั เงินชดเชยใดๆ นอกจากเงินเดือนเดือนสุดท้าย แนวทางแก้ไข ใช้หลักกฎหมายสัญญาจ้างแรงงานและกฎหมายสวัสดิการสังคมของแรงงาน ซึ่งกรณี นี้แม้นายจ้างอาจเลิกจ้างด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจก็ต้องมีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และจ่าย ค่าชดเชยให้กับคนงาน รวมถึงช่วงว่างงานก็สามารถได้รับเงินจากกองทุนสวัสดิการสังคมท่ี เคยจ่ายสมทบไว้ จากการกรณีศึกษาทั้งหมดจะเห็นว่าการใช้เพียงหลักกฎหมายเบื้องต้นก็พอที่จะเห็น แนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน และสามารถนํา หลักการท้ังหลายประมวลเข้าเป็นชุดความรู้ทางกฎหมายที่จําเป็นต่อการแก้ปัญหาอย่าง เหมาะสม โดยไม่ลงลึกในหลักกฎหมายเฉพาะมากเกินไป อันจะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลท่ัวไปที่

142 สนใจความรู้ทางกฎหมาย หรือผู้ท่ีต้องการเรียนรู้กฎหมายง่ายๆในระยะเวลาสั้นๆเพ่ือนําไป ปรับใช้ในชีวิตประจาํ วันซง่ึ เต็มไปด้วยปญั หาท่เี กย่ี วข้องกบั กฎหมาย นานบั ประการ

บทท่ี 5 การสงั เคราะห์แนวทางการใช้หลกั กฎหมายเบอ้ื งตน้ เพือ่ แก้ไขปญั หา ในชีวิตประจําวนั จากการวิเคราะห์กรณีศึกษาในบทท่ีแล้ว สามารถถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ ความรู้ทางกฎหมายที่จาํ เป็นต่อการแกไ้ ขปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชนได้ โดย การสร้างกระบวนการคิดและและแกไ้ ขปัญหาตามท่จี ะได้นาํ เสนอดังต่อไปน้ี 1. แนวทางการแบ่งแยกลกั ษณะแห่งคดี หลกั การวินิจฉัยช้ขี าดอํานาจหน้าทร่ี ะหวา่ งศาล 1.1) ให้ลกั ษณะข้อเท็จจริงแห่งคดี– คู่พิพาท ประเด็นข้อพิพาท ข้อกฎหมาย 1.2) พิจารณาว่าคดีควรอยใู่ นเขตอาํ นาจศาลใด 1.3) การดขู อบเขตอํานาจศาลตามรฐั ธรรมนูญ 1.4) ดขู อบเขตอาํ นาจศาลตามพระราชบัญญตั ิจัดต้ังศาล,พระธรรมนญู ศาล 1.5) ใช้คู่มือการวินิจฉัยช้ีขาดอํานาจหน้าทร่ี ะหว่างศาล 1.6) ดแู นวบรรทดั ฐานของคณะกรรมการวินิจฉัยช้ีขาดอาํ นาจระหว่างศาล 1.7) ข้อสงั เกต มกั ยึดหลักว่า คดีนั้นข้อพิพาทต้องนํากฎหมายฉบับใดมาใช้ ก็จะให้ศาล ทใี่ ช้กฎหมายฉบับดังกล่าวรบั เอาไปวินิจฉัย 2. การนําหลักกฎหมายเบือ้ งต้นมาใชก้ ับขอ้ เทจ็ จริง เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเราเป็นฝ่ายถูกหรือฝ่ายผิด?ใครเร่ิมการกระทําผิดหรือความ เสียหายท่เี กิดขึน้ อยใู่ นหน้าท่ีของใคร 2.1) เรากระทําด้วยเจตนาประสงค์ต่อผล เลง็ เห็นผล พลาด หรือ พยายาม หรือ ? 2.2) สงิ่ ทีเ่ ราทาํ ไปมีกฎหมายยกเว้นโทษหรือยกเว้นความผิดหรือไม่ 2.3) หากมีความเสียหายทต่ี ้องชดใช้ต้องดูว่าเราจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่อ ? 2.4) หากต่างฝ่ายไม่จงใจ ก็ต้องมาดูว่าใครประมาทมากกว่ากัน 2.5) ใครมีหน้าท่ีธรรมดาในการระมัดระวัง หรือป้องกันความเสียหาย

144 2.6) เรอ่ื งน้ันมีกฎหมายกําหนดความรบั ผิดเดด็ ขาดหรือเปล่า 2.7) เจ้าพนกั งานจะต้องตดั สินผิดถูกโดยยึดหลักกฎหมายเสมอ 3. วิธีการใชส้ ิทธิ ปัญหาทีเ่ กิดข้ึนต้องเยียวยาด้วยวิธีการใด 3.1) ปญั หาความผิดทางอาญาต้องแจ้งความเจ้าหน้าท่ปี กครองหรือตาํ รวจ 3.2) ตํารวจจะสืบสวนสอบสวนแล้วทาํ สาํ นวนให้อยั การส่งฟ้องศาล 3.3) ปญั หาทางแพ่งเก่ียวเนอ่ื งกับอาญาให้เราขอตาํ รวจอัยการกําหนดสินไหม 3.4) ปัญหาแพ่งล้วนๆ เราต้องเรียกร้องใช้สิทธิเองก่อนในฐานะเจ้าหน้ี 3.5) หากไม่สําเรจ็ ให้แต่งทนายหรือฟ้องเองไปยงั ศาลแพ่งเพ่ือบงั คับชดใช้หน้ี 3.6) ปัญหากบั เจ้าพนกั งานให้แจ้งไปยงั ผู้บงั คับบัญชา หน่วยงานต้นสงั กดั 3.7) หากไม่คืบหน้าให้แจ้งไปยงั คณะกรรมการสิทธิฯ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3.8) อาจฟ้องศาลปกครองได้ถ้าเป็นคดีเกย่ี วกบั รฐั มิชอบฟ้องศาลอาญาได้ 4. การบงั คบั ตามสิทธิในช่องทางท่ีกฎหมายรับรอง 4.1) ศาลรฐั ธรรมนูญ – เรือ่ งทล่ี ะเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนญู 4.2) ศาลปกครอง - เร่อื งทเ่ี จ้าหน้าทข่ี องรัฐละเมิด 4.3) ศาลยุติธรรม – ตาํ รวจ นกั การเมือง ละเมิดสิทธิ 4.4) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน – ทุกเรอ่ื งท่ลี ะเมิดสิทธิของประชาชน 4.5) ผู้ตรวจการแผน่ ดิน – เรอื่ งทเ่ี จ้าหน้าที่ของรัฐละเมิด 4.6) ปปช. – คดีเจ้าพนักงานรฐั ทุจริต ประพฤติมิชอบ 4.7) อัยการ – ขอความเป็นธรรมในคดีอาญา 4.8) ฝา่ ยบริหาร – กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม 4.9) ฝา่ ยนิติบัญญตั ิ – คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนและกิจการยตุ ิธรรม 4.10) องคก์ รรบั เรือ่ งราวร้องเรียนภายในองคก์ รตา่ งๆ – กตร. กฤษฎีกา 4.11) สภาทนายความ - ทกุ เรอ่ื งเก่ยี วกบั กฎหมาย

145 5. ข้อสงั เกต บทเรียน และการบรู ณาการองค์ความรทู้ างกฎหมาย เพ่อื แก้ปญั หาในชีวิต สภาพปญั หาท่มี กั เจอในชีวิตของประชาชน 5.1) ข้อพิพาทเกีย่ วกับการจราจรทางบก 5.2) การหลอกลวงฉ้อโกงของกลุ่มมิจฉาทฐิ ิ คนใกล้ชิด ญาติพน่ี ้อง 5.3) การใช้สิทธิเกินส่วนของบคุ คลอืน่ กบั สิทธิความเป็นส่วนตัว 5.4) ข้อพิพาทเกี่ยวกบั มรดก และความไม่ชัดเจนของพินัยกรรม 5.5) ความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดทางแพ่ง 5.6) ความเสียหายจากกระทําความผิดทางอาญา 5.7) การไมไ่ ด้รับการเยียวยาจากกระบวนการยุติธรรม 5.8) เจ้าพนกั งานเมินเฉย ละเลย ไมใ่ สใ่ จ ใช้อํานาจโดยมิชอบ

146 บรู ณาการองคค์ วามรแู้ ละหลักกฎหมายทจี่ ําเปน็ ตอ่ การแกไ้ ขปัญหา ในชีวิตประจําวัน 1. กฎหมายจราจรกบั ชีวิตประจําวันของเรา 1.1) กฎหมายจราจรเปน็ กฎหมายเทคนิค รับผิดอย่างเดด็ ขาด 1.2) เจ้าพนักงานใช้ดุลยพินิจภายใต้กรอบของกฎหมายอย่างเคร่งครัด 1.3) มอเตอร์ไซค์ขับชิดซ้าย เปิดไฟ ใส่หมวก ดูทางเอก เส้นแบ่งทึบ/ประ ให้ทางรถอีก ช่องก่อนเปลย่ี นเลนส์/แซง รถหลงั ต้องระวงั ห้ามดืม่ 1.4) หากมีนิติเหตุ เจ้าพนักงานต้องดู พ.ร.บ.จราจร ก่อนจะไกล่เกล่ยี /ตัดสิน 1.5) ความเสียหายอาจฟ้องได้สองส่วนคือ ความผิดอาญา(ตาม พ.ร.บ.จราจร) และ ความรับผิดทางแพ่งฯซ่งึ ในคดีอาจฟ้องรวมกนั ไปเลยอาญาควบแพ่ง 1.6) เราสามารถโต้แย้งการใช้ดุลยพินิจของเจ้าพนกั งานได้รวมถึงในช้ันศาล 2. ความไม่เป็นธรรมท่เี กิดขนึ้ ได้กบั ชีวิตของทุกคน 2.1) ไปเรียน/ทํางานต่างประเทศกลับถูกเลือกประติบัติด้วยเหตุท่ีเป็นคนเอเชีย ผิว เหลือง 2.2) ความเปน็ ธรรมเกิดจากใครร้องเรียนผู้บงั คับบญั ชาในกรณีนั้น 2.3) การใช้ดุลยพินิจของอาจารย์ในลักษณะท่ีเป็นคุณเป็นโทษอย่างเลือกประติบัติ ทํา ให้บางคนบางกลุ่มเสียโอกาสโดยมิชอบ 2.4) ร้องเรียนผู้อํานวยการโรงเรียน เขตการศึกษา เจ้าของทุน คณะกรรมการสิทธิฯ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. สิทธิของเราถ้ามีคนอ่ืนมาเอาไปจะทาํ ยงั ไง 3.1) เราผลิตงานประพันธ์หรืองานประดิษฐ์อะไรข้ึนมา แล้วมีคนนําไปเผยแพร่ ใช้ หา ประโยชนโ์ ดยที่เราไมไ่ ด้อนญุ าต 3.2) เก็บหลักฐานงานของเรา พิสูจน์ให้ได้ว่าใครเป็นคนละเมิดสิทธิเรา แจ้งเจ้าหน้าที่ ตาํ รวจให้จับกุม และเรียกค่าเสียหายได้ 3.3) หลอกว่าจะมีงานให้ทํารายได้ดี พอไปกลายเป็นดาวนไ์ ลนไ์ ดเรค็ เซลส์

147 3.4) การทํานิติกรรมดังกล่าวเป็นเจตนาลวง ซ่อนเร้น เราบอกเลิกช่ิง ได้ทันที ถ้ามี ลักษณะกลฉ้อฉล เราอาจเรียกร้องค่าเสียหายเพม่ิ เติมได้ 4. บางคนมีหนา้ ทีต่ อ้ งทาํ แต่ไมท่ ําจนเสียหาย จะทําไง 4.1) ญาติเราเข้าโรงพยาบาลหมอไม่รักษาให้ เก่ียงกัน พยาบาลไม่ดูแล อ้างเหตุไม่ อยากทาํ เพราะกลัวความรบั ผิด 4.2) อาจฟ้องอาญาได้ถ้าประมาท หรือฟ้องละเมิดอาญาถ้าคนน้ันมีหน้าท่ีจะต้อง กระทํา เช่น เจ้าของไข้ เจ้าของเวร ผู้ท่ดี ูแลโดยตรง 4.3) เราเอารถเข้าซ่อมทอ่ี ู่ อู่เอารถเราไปชนเสียหาย หรือทําให้ของเราหายไป 4.4) ผู้ที่มีหน้าท่ีต้องใช้ความระมัดระวัง ย่ิงถ้าเป็นกิจการเก็บค่าบริการยิ่งต้องใช้ความ ระมดั ระวงั เปน็ พิเศษตามลักษณะของวิชาชีพ 5. กิจการได้ประโยชน์จากเราไปแล้วต้องมีหนา้ ทีใ่ ดอีก 5.1) หน้าที่สถาบันการเงินท่ีออกบัตรต่างๆให้เราใช้บริการแล้วเก็บค่าใช้จ่ายและเป็น เจ้าของเทคโนโลยี ข้อมูล รวมถึงเครือข่าย ถ้าเกิดการขโมย/ฉ้อโกง 5.2) สถาบันต้องให้ข้อมูล ร่วมมือกับเจ้าพนักงาน หากจําเป็นต้องให้เจ้าหน้าท่ีร่วมหา ผู้กระทาํ ความผิด เปน็ พยาน ฟ้องเรียกร้องแทนเราได้ 5.3) เราเข้าไปในห้างร้านต่างๆ แล้วมีการฝากทรพั ย์ ลืมของ ทาํ ของหาย 5.4) ห้างฯ มีหน้าท่ีตามธรรมดาเพราะเราเข้าไปใช้บริการโดยเชื่อในความปลอดภัย หากเกิดความเสียหายห้างฯมีหน้าทช่ี ดใช้ฟ้องได้ทั้งอาญา/แพ่ง 6. ถ้าความโชครา้ ยมาเยือนเราจะพ้นความผิดไดอ้ ยา่ งไร 6.1) เรามิกิจการรบั ซื้อของ มีการกล่าวหาว่าของทเ่ี รารับมาเป็นของขโมย 6.2) การอ้างเร่ืองรบั ซื้อของโจร ต้องพิสจู น์ว่าเราประกอบอาชีพเป็นธรรมดาไม่มีเหตุที่ เราจะรู้ได้ว่าของนี้ขโมยมา 6.3) เราซื้อของอะไรบางอย่างมาจากร้านท่ีขายของน้ันเป็นประจํา ภายหลังเราถูก กล่าวหาว่ารับซ้ือของโจรมา และรถถกู ยึดเงินสญู ไปกับคนขาย 6.4) กรณีนี้พิสูจน์ว่าร้านนั้นขายของน้ันเป็นธรรมดา เรารับโอนโดยสุจริตและเสีย ค่าตอบแทนเราจะได้รับการคุ้มครองสิทธใิ นของ หรือไล่เบี้ยได้

148 7. หากสญั ญาไมเ่ ป็นสัญญา ค่กู รณไี ม่มาตามนัด 7.1) ตอนทําสญั ญาหนงั สือเขียนไม่ชดั เจน เง่อื นไขคลมุ เครือ เปลี่ยนข้อสัญญาโดยที่เรา ไม่รับรู้ หรือเพิ่มภาระให้เรา 7.2) ข้อสัญญาต้องบังคับกันเฉพาะเท่าท่ีแสดงเจตนาเข้าร่วม ฝ่ายใดเปลี่ยนเองไม่ได้ หากคลมุ เครือให้ตีความเปน็ คณุ กับฝ่ายท่รี ับภาระ 7.3) ข้อสัญญาตกลงไว้ค่อนข้างชัดเจน แต่ในทางปฏิบัติกลับเกิดการละเมิด ผิดนัด หรือเกิดเหตกุ ารณ์ทีเ่ กินกว่าคาดเดาไดใ้ นเบ้ืองต้น 7.4) ฝ่ายท่ีละเมิด ผิดนัด ผิดสัญญาต้องชดใช้ค่าเสียหายบวกดอกเบ้ียนับแต่วันน้ัน หรือทาํ ให้เกิดการฟนื้ ฟูความเสียหายให้กลบั คืนเดิม 8. คนจากไป ปญั หากลบั เกิดขน้ึ กับคนทีอ่ ย่ขู า้ งหลงั 8.1) เม่ือมีบุพพการี คู่สมรส ญาติเสียชีวิตจะต้องมีการรวบรวมกองทรัพย์สินของคน คนนั้นเพอ่ื นาํ มาแบ่งมรดกแก่ทายาทโดยธรรม/พินัยกรรม 8.2) ถ้าไม่มีพินัยกรรมเขียนไว้ต้องแบ่งกันตามกฎหมาย คู่สมรสได้คร่ึงหนึ่งก่อน ทายาทท่ีอยู่ลําดับใกล้ชิดทีส่ ดุ แบ่งเท่าๆกนั หากใครหายตกทายาท 8.3) บุคคลสามารถรบั มรดกได้ต้ังแต่เกิด แต่ทาํ พินัยกรรมได้เม่ืออายุ 15 ปี 8.4) พินยั กรรมอาจทําด้วยปากเปล่า(พยานนาํ สืบ) หนังสือลายมือ แบบ 8.5) หากมีปัญหาต้องร้องให้ศาลต้ังผู้จัดการมรดกเพ่ือจัดการกองมรดกตาม พินัยกรรม/ผลของกฎหมาย ห้ามทาํ ตามอาํ เภอใจมีความรับผิด/ตัดสิทธิ 9. การกระทําทางแพง่ ถา้ ไมส่ จุ ริตจะมีผลอยา่ งไร 9.1) การสําคัญผิด ข่มขู่ ซ่อนเร้น ลวง หรือใช้กลฉ้อฉล เพื่อให้ได้มาซ่ึงสิทธิหรือ ประโยชน์ ฝ่ายทีเ่ สียหาย เสียประโยชน์จะทํายังไงได้บ้าง 9.2) บอกล้างนิติกรรมเหล่าน้ันด้วยเหตุแห่งโมฆะ โมฆียะ น้ัน แล้วเรียกให้มีการคืน ผลประโยชน์แบบลาภมิควรได้/ฟืน้ ฟูกลบั สู่สภาพก่อนนิติกรรม 9.3) ท้ังน้ีการใช้สิทธิต่างๆ ต้องอยู่ภายในอายุความ1ปี 10ปี นบั จากเหตุ 9.4) ดอกเบี้ยเกินถือเปน็ ความสงบฯทาํ ให้ดอกเบ้ียเสียไปทั้งหมด เหลือทนุ 9.5) การใช้สิทธิโดยไม่สุจริต บังคับให้ใช้หน้ีโดยเหตุอันมิชอบด้วยกฎหมายทําให้นิติ กรรมเสียไป และมีความผิดทางอาญาได้ ฟ้องได้ทั้งอาญา/แพ่ง

149 10. ความไว้ใจในเร่อื งทรัพยส์ ินเงินทองไมค่ วรมีกบั เพอ่ื น 10.1) เข้าเป็นนายประกันให้กับบุคคลใกล้ชิดท้ังเพื่อน ญาติ แล้วทรัพย์สินหายไป คนที่ เราไปประกันหนีไป เจ้าหนี้มาไล่บ้ีเอากับเรา 10.2) สัญญาคํ้าประกันตามติดเราเสมือนเราเป็นลูกหน้ีเอง ต้องชดใช้จนล้มละลาย หากไม่แน่ใจใคร ไม่อยากเสียเพื่อน อย่าเปน็ นายประกัน 10.3) ถ้าหุ้นกบั ใคร หรือใครยืมเงินไปดาํ เนินกิจการ แล้วผิดข้อสญั ญากัน? 10.4) ทางแพ่ง เอกสารถือเป็นหลักฐานในการเรียกร้อง/บังคับใช้สิทธิ ไม่ว่าทําอะไร ต้องมีการร่างเอกสารมีลายมือชือ่ ฝ่ายรับผิดเสมอ 10.5) การเรียกร้องทางแพ่งต้องใช้ศาล การใช้กําลงั ทะเลาะวิวาทนําไปสู่อาญา 11. ทรพั ยส์ ินเปลยี่ นมือ เราตอ้ งรับผิดจากทรัพย์สินอีก? 11.1) เราขายที่ดินไปแล้ว ขายรถไปแล้ว ปรากฏว่ามีความเสียหายหรือการละเมิด กฎหมายท่เี กี่ยวเนอ่ื งกบั ทรพั ย์สินน้ัน เราต้องรับผิดอีกหรือไม่ 11.2) ถ้าพิสูจน์ว่าโอนขาด สุจริต ไม่รู้เห็นเป็นใจ เราไม่ต้องรับผิดอันเก่ียวเน่ืองกับ ทรพั ย์สินน้ันอีก เนอ่ื งจากทรัพยสิทธิเก่ยี วเน่ืองแก่เจ้าของ 11.3) ถ้าที่น้ันบุกรุกป่ามาก่อน เราต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าใครอนุญาตให้ออกเอกสารสิทธิ ใครได้ประโยชน์ ก็มีแนวโน้มว่าเปน็ ผใู้ ช้ สนับสนนุ 11.4) เอกสาร หลักฐาน พยานทั้งหลายท่มี ีต้องนาํ มาใช้ท้ังหมด 11.5) การรวมกลุ่มเพือ่ เรียกร้องสิทธิลักษณะชุมชนมักได้รับการสนใจจากรฐั 12. เกิดความเสียหายจะชดใชก้ นั อย่างไร 12.1) ถ้ามีการผิดสัญญา ผิดนัด ขาดนัด ก็ริบค่าประกัน คิดค่าปรับตามสัญญาฟ้อง เรียกร้องค่าเสียหายกนั ทางแพ่งฯ รวมถึงเรียกดอกเบ้ียเพ่มิ ได้ 12.2) ถ้ามีความเสียหายท่ีเก่ียวเน่ืองกับคดีอาญา เช่น การฆ่า การทําร้ายร่างกาย ทําลายทรพั ย์สิน และมีความเสียหายทางแพ่งเกย่ี วกนั ไปด้วย 12.3) ควรร้องให้ตํารวจอัยการทาํ สาํ นวนฟ้องความผิดทางอาญาเกี่ยวเนื่องแพ่ง คือตั้ง ข้อหาและขอให้มีการกาํ หนดการชดใช้ค่าเสียหายทางแพ่งให้เรา 12.4) หากเกิดความเสียหายข้ึน ในเบ้ืองต้นถ้าเราเป็นฝ่ายถูกทางอาญาจะสะดวกกว่า เพราะจะมีตาํ รวจและอัยการทําสํานวนให้ อีกฝั่งจ้างทนาย

150 13. ความเสียหายที่เกิดขึน้ จากความประมาท 13.1) ในคดีแพ่งหรืออาญากแ็ ล้วแต่ ถ้าพิสูจนไ์ มไ่ ด้ว่าฝ่ายไหนเจตนา หรือจงใจ ก็ต้องดู ว่าฝ่ายไหนประมาทกว่า ก็จะอยู่ฝ่ายท่ถี ูกกล่าวหา 13.2) การเมาสุรา ยาเสพย์ติด จึงเปน็ ข้อสันนิษฐานทช่ี ัดแจ้ง 13.3) หากเราไม่ประมาทต้องพยายามดูว่าฝ่ายไหนประมาท หรือมีหน้าที่ต้อง ระมดั ระวัง ประกอบไปด้วยแล้วแต่ข้อเทจ็ จริงแห่งคดี 13.4) รถ/กองทรายเทศบาลจอขวางทางถนน เทศบาลต้องระมัดระวัง เกิดเหตุความ เสียหายเราก็พยายามอธิบายกบั เจ้าหน้าท่ีว่าเราไมใ่ ช่ฝ่ายผิด 13.5) ข้อพึงระวังอย่าลงลายมือชอ่ื ในคําสารภาพ/สํานวน ราชการใดๆท้ังส้ิน 14. การอา้ งสิทธิ ใชส้ ิทธิ และบังคบั ตามสิทธิ 14.1) การขอสัญชาติ เราสามารถขอตามหลักใดก็ได้ท่ีเป็นประโยชน์กับเรามากที่สุด เช่น หลักดินแดนท่กี ฎหมายเพง่ิ ออก คู่สมรส 14.2) การพิสูจน์สิทธิสําคญั กว่า หลักฐานการเกิด หมอตาํ แย รวมกลุ่มกนั ขอ 14.3) การใช้สิทธิในลักษณะการป้องกันอันตราย ต้องมีเหตุท่ีมิชอบด้วยกฎหมายจะ เกิดขึ้น เช่น อีกฝ่ายจะทาํ ร้าย จึงจะป้องกันได้ 14.4) หากเราเข้าร่วมเสย่ี งภยั บางอย่างจะอ้างป้องกันไมไ่ ด้ เช่น วิวาท ชลุ มุน 14.5) การบาดเจบ็ อาจนําไปพิสูจนไ์ ด้ว่าฝ่ายไหนกระทาํ เกินกว่าเหตปุ ้องกัน 14.6) หลกั ฐานหายาก เพราะฉะน้ันควรหลีกเล่ยี งสถานท่ี “อโคจร” ทั้งหลาย 15. ความทกุ ขร์ ้อนที่เกิดข้ึนจะแก้ได้อยา่ งไร 15.1) เหตุร้ายแรง แจ้งตํารวจ เจ้าหน้าทป่ี กครอง ในพ้ืนท่กี ่อน 15.2) ถ้าไม่คืบหน้าให้ร้องทกุ ขไ์ ปยงั หน่วยงานระดบั รฐั ท่เี กย่ี วข้อง 15.3) องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ทําเรือ่ งชุมชน/ส่งิ แวดล้อม/สาธารณสุขฯลฯ 15.4) หน่วยงานระดับชาติ เช่น สตช. สาํ นักนายกฯ กรมคุ้มครองสิทธิ 15.5) บางกรณีสามารถร้องเรียนต่ออยั การ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง 15.6) หากมีปัญหาในการเดินเร่ืองให้ร้องไปยังองค์กรอิสระ เช่น คณะกรรมการสิทธิฯ ผู้ตรวจการฯ ปปช. ปปง. สาํ นกั งานตรวจเงินฯ 15.7) บางกรณีต้องใช้การรวมกลุ่มเพื่อเรียกร้องสิทธโิ ดยตรง ชุมนุมโดยสงบ

151 ห ลั ง จ า ก ไ ด้ นํ า เ ส น อ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง ก ฎ ห ม า ย ใ น ชีวิตประจําวันของประชาชนไปแล้วจะเห็นได้ว่า แท้ท่ีจริงแล้วการศึกษากฎหมายในประเด็น สําคัญโดยเน้นไปที่หลกั สาํ คญั สามารถประหยัดเวลาและหน่วยความจําในสมองได้โดยการจัด กลุ่มปัญหาทางกฎหมายให้ชัดเจน แล้วนําหลักกฎหมายสําคัญที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ท้ังในเชิง “สาระ” ของข้อพิพาท และ “กระบวนการทางกฎหมาย” ในการระงับข้อพิพาท เพ่ือจะได้ แนวทางในการต่อสู้เพ่ือรกั ษาสิทธิและแสวงหาทางเลือกในการระงบั ข้อพิพาทอย่างสันติ

บทที่ 6 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาวิจัยทั้งหมดสามารถนําเสนอบทสรุปการวิจัย และข้อเสนอแนะเชิง นโยบายในการแสวงหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวนั ของประชาชน ดังนี้ บทสรุป เดิมการเรียนการสอนในวิชาความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมาย (176101) สําหรับ นักศึกษาจากคณะอ่ืนๆ ที่มิใช่นักศึกษากฎหมายในคณะนิติศาสตร์ น้ันมักข้ึนอยู่กับตัวผู้สอน หรือแบบเรียนความรู้เบ้ืองต้นด้านกฎหมายท่ีมีอยู่ทั่วไปในท้องตลาดว่าจะกําหนดขอบเขตของ เนื้อหาอย่างไร ซ่ึงอาจไม่ตรงกับความสนใจหรือความต้องการของผู้เรียน ผู้วิจัยพบว่าจาก ความเรียงของนักศึกษาทล่ี งทะเบียนเรียนวิชาน้ีกับข้าพเจ้านับพันช้ิน ในหัวข้อ “ประสบการณ์ท่ี เกี่ยวกับกฎหมาย” มักมีสภาพปญั หาทไ่ี ม่สอดคล้องกบั เนื้อหาตามโคร่งร่างของวิชาน้ีท่ีมีอยู่เดิม รวมถึงเนื้อหาในแบบเรียนในวิชาน้ีท่ีมีอยู่ทั่วไป ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงเนื้อหาโดยสํารวจ ประสบการณ์ของผู้เรียนเพ่ือประมวลเอาความรู้ด้านหลักกฎหมายพื้นฐานที่จําเป็นในการ แก้ปัญหามาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน และ ยังสามารถนํามาเป็นแนวทางปรับปรุงโครงร่างการสอนในวิชานี้ หรือสร้างหลักสูตรวิชา กฎหมายสําหรับบุคคลทั่วไปท่ีอาจนําความรู้ทางกฎหมายเบ้ืองต้นไปใช้แก้ไขปัญหาทาง กฎหมายในชีวิตประจาํ วัน การสํารวจสถิติปัญหาทางกฎหมายท่ีฟ้องร้องในช้ันศาลและทบทวนเอกสาร ประสบการณ์ของผู้เรียนว่าเคยประสบกับปัญหาด้านกฎหมายอย่างไรบ้าง รวมถึงเพ่ือนํามา สังเคราะห์เป็นฐานข้อมูลสภาพปัญหา เพ่ือทําการประมวลเอาความรู้ด้านกฎหมายพื้นฐานท่ี จาํ เป็นในการแกไ้ ขปญั หา อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาการสื่อสารหรือให้ความรู้ในเร่ือง ใดเร่ืองหนึ่ง ผู้ส่งสารหรือผู้สอนจะต้องสํารวจความจําเป็นหรือความสนใจของผู้รับสารหรือ ผู้เรียน เพ่ือทําให้การเรียนการสอนในเรื่องน้ันได้ผลสัมฤทธ์ิสูงสุดท้ังในแง่ประโยชน์ในการนํา

153 ความรู้ที่ได้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง และในแง่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนจึง จําเป็นต้องมีการสํารวจข้อมูลท่ีเป็นสภาพปัญหาด้านกฎหมาย เพื่อแสวงหาหลักกฎหมาย พื้นฐานที่จําเป็นในการนําไปแกไ้ ขปญั หาเหล่านั้นได้อย่างครอบคลุมและตรงประเดน็ การวิจัยเรื่องน้ีใช้วิธีการวิจัยท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิจัยในเชิงปริมาณจะ ทําการเก็บสถิติสภาพปัญหาทางกฎหมายจากสถิติการฟ้องร้องคดีในศาลยุติธรรมและศาล ปกครองช้ันต้น และสถิติที่เกิดจากการทบทวนเอกสารความเรียงประสบการณ์ทางกฎหมาย ของนักศึกษาจํานวน 2,197 ชิ้น และจะทําการวิจัยเชิงคุณภาพเพ่ือเสริมความสมบูรณ์ใน รายละเอียดโดยจะทําการทบทวนความเรียงประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมายที่กลุ่ม ตัวอย่างเขียนมา แล้วทําการสัมภาษณ์เจาะลึกเป้าหมายที่มีประสบการณ์น่าสนใจเพ่ือ ตรวจสอบข้อเทจ็ จริงและสอบถามข้อมูลรายละเอียดเพ่ิมเติม ก่อนจะนําประสบการณ์ปัญหา เหล่าน้ันมาสังเคราะห์เพ่อื สร้างความรู้ด้านกฎหมายเข้าสอดรบั กบั ปญั หาทส่ี ังเคราะห์มาข้างต้น และทบทวนจากโครงร่างการสอนวิชาน้ีของอาจารย์ผู้สอนซึ่งมีประสบการณ์ในการสอนวิชา ความรู้เบื้องต้นกฎหมายทั่วไป 176101 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงโครงร่างวิชาน้ี หรือ สร้างหลักสตู รวิชากฎหมายสาํ หรับบคุ คลทว่ั ไปท่อี าจนาํ ความรู้ทางกฎหมายเบ้ืองต้นไปใช้แก้ไข ปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจาํ วัน งานวิจัยได้ใช้ความเรียงของนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาความรู้เบื้องต้นกฎหมาย ท่วั ไป เรอื่ ง “กฎหมายในทัศนคติของข้าพเจ้า” หัวข้อ “ประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมาย ที่เคยพานพบมา” จาํ นวน 2,197 เรอื่ ง พบประเด็นปัญหาทางกฎหมายทั้งส้ิน 3,228 ประเด็น (ในความเรียง 1 เร่ืองของนักศึกษาอาจมีประเด็นปัญหาทางกฎหมายมากกว่า 1 ประเด็น) ซึ่ง จะใช้ฐานประเด็นทางกฎหมายเป็นสัดส่วนท้ังหมดทางสถิติ (3,228 ประเด็น คิดเป็น 100%) โดยการจัดว่าสภาพปัญหาของนักศึกษาอยู่ในประเภทใด จะพิจารณาจากข้อพิพาทหลักของ เรอ่ื งว่าเกีย่ วเนอ่ื งกับประเด็นทางกฎหมายด้านใด ซงึ่ สามารถจาํ แนกออกได้เปน็ ประเภทต่างๆดังต่อไปน้ี

154 ประเด็นกระบวนการทางกฎหมาย1 คิดเป็น 1.08% - ปัญหากระบวนการทางปกครอง 35 ประเดน็ คิดเป็น 4.86% - ปัญหากระบวนการทางอาญา 157 ประเด็น คิดเปน็ 1.27% - ปัญหากระบวนการทางแพ่ง 41 ประเดน็ คิดเปน็ 0.95% - ปัญหากระบวนการแพ่งเกย่ี วเนอื่ งอาญา 31 ประเด็น คิดเปน็ 1.14% ประเดน็ กฎหมายมหาชน/ปกครอง คิดเป็น 1.64% - ปัญหาสญั ญาทางปกครอง 37 ประเดน็ คิดเป็น 1.88% - ปัญหาคําส่ังทางปกครอง 53 ประเด็น - ปัญหาเจ้าพนกั งานกระทาํ ทางปกครอง 61 ประเด็น คิดเป็น 2.94% - ปญั หาอ่นื ๆท่ีเกี่ยวกบั รัฐ รัฐธรรมนญู การใช้สิทธิพลเมืองและการเมือง 95 ประเด็น คิดเป็น 6.53% คิดเป็น 0.52% ประเด็นกฎหมายอาญา คิดเปน็ 2.23% - เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ 211 ประเดน็ คิดเปน็ 4.61% - ความผิดต่อความมน่ั คง ความสงบเรียบร้อย 17 ประเดน็ คิดเป็น 1.51% - ความผิดต่อชีวิต 72 ประเด็น คิดเปน็ 1.88% - ความผิดต่อร่างกาย 149 ประเดน็ คิดเป็น 10.06% - ความผิดต่อเพศ 49 ประเดน็ คิดเป็น 0.52% - ความผิดต่อเสรีภาพ ช่ือเสียง 61 ประเดน็ คิดเป็น 1.82% - ความผิดต่อทรพั ย์/ฉ้อโกง 325 ประเด็น - ความผิดต่อเอกสาร 17 ประเดน็ - ความผิดลหโุ ทษ 59 ประเดน็ ประเด็นทางกฎหมายแพ่ง 1 จาํ นวนประเดน็ ทีอ่ ยูใ่ นประเภทกระบวนการทางกฎหมายอาจจะดูน้อย แตแ่ ทบทกุ เรอื่ งจะมีความเกยี่ วเนอ่ื งกับประเดน็ กระบวนการทางกฎหมายวิธีพิจารณาความฯ สาเหตุมาจากผู้วิจยั ต้องการเน้นเฉพาะประเดน็ หลักของเร่อื ง แต่สภาพปญั หา เก่ียวกบั กระบวนการทางกฎหมายมักมีควบคไู่ ปกับปญั หาเชิงสาระทางกฎหมายของข้อพิพาทเสมอ

155 - บคุ คล 72 ประเด็น คิดเป็น 2.23% - ครอบครวั 43 ประเดน็ คิดเป็น 1.33% - หุ้นส่วน,บริษทั 37 ประเดน็ คิดเป็น 1.14% - นิติกรรมสญั ญา 329 ประเด็น คิดเปน็ 10.19% - หนี้ 156 ประเด็น คิดเปน็ 4.83% - ทรพั ย์/ทรพั ย์สินทางปัญญา 241 ประเด็น คิดเปน็ 7.46% - ละเมิด/จัดการงานนอกสง่ั /ลาภมิควรได้ 167 ประเด็น คิดเป็น 5.17% - เอกสาร/ต๋ัว/เชค็ 61 ประเด็น คิดเป็น 1.88% - มรดก 43 ประเดน็ คิดเปน็ 1.33% - ปญั หาการใช้สิทธิท่วั ไป 118 ประเดน็ คิดเป็น 3.65% ประเดน็ กฎหมายเฉพาะอืน่ ๆท่ีมีความถ่สี ูง - คดีจราจรทางบก 277 ประเด็น คิดเป็น 8.58% - คดีผู้บรโิ ภค 181 ประเด็น คิดเป็น 5.60% - คดีแรงงาน 33 ประเด็น คิดเป็น 1.02% โดยประเดน็ ท่มี ีความถส่ี งู สดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ 1. นิติกรรมสัญญา 329 ประเดน็ คิดเป็น 10.19% 2. ความผิดต่อทรพั ย์/ฉ้อโกง 325 ประเดน็ คิดเปน็ 10.06% 3. คดีจราจรทางบก 277 ประเดน็ คิดเป็น 8.58% 4. ทรัพย์/ทรัพย์สินทางปญั ญา 241 ประเด็น คิดเปน็ 7.46% 5. เจ้าพนกั งานปฏิบตั ิหน้าท่โี ดยมิชอบ 211 ประเด็น คิดเป็น 6.53% 6. คดีผู้บริโภค 181 ประเดน็ คิดเปน็ 5.60% 7. ละเมิด/จัดการงานนอกสง่ั /ลาภมิควรได้ 167 ประเด็น คิดเป็น 5.17% 8. ปญั หากระบวนการทางอาญา 157 ประเด็น คิดเป็น 4.86% 9. หนี้ 156 ประเด็น คิดเป็น 4.83% 10. ความผิดต่อร่างกาย 149 ประเดน็ คิดเป็น 4.61%

156 การเก็บข้อมูลเชิงสถิติซ่ึงเป็นการวิจัยเชิงปริมาณท่ีตั้งอยู่บนฐานข้อมูลของนักศึกษาที่ ลงเรียนในวิชาความรู้เบ้ืองต้นกฎหมายท่ัวไป อาจยังไม่เพียงพอต่อการนํามาเป็นตัวแทน ประชากรในการกล่าวอ้างว่าเป็น ประชาชนผไู้ ด้เผชิญสภาพปญั หาทางกฎหมายทั่วประเทศไทย ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ลองนําข้อมูลเชิงสถิติเก่ียวกับคดีความทางกฎหมายท่ีเข้าสู่กระบวนการของ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม และการแจ้งความต่อสถานีตํารวจมาเปน็ ตัวเสริมให้เห็นถึงแนวโน้ม และสัดส่วนของสภาพปญั หาทางกฎหมายทเ่ี กดข้ึนกบั ประชาชนให้สมบรู ณ์ยง่ิ ข้ึน โดยแสดงให้ เห็นผลการวิจยั ว่า หากพิจารณาเร่อื งท่ฟี ้องคดีปกครองต่อศาลปกครองชั้นต้น ต้ังแต่เปิดทําการถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ พบว่า เร่ืองที่ฟ้องมากท่ีสุดคือ คดีเร่ืองท่ีเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล มี จํานวน ๑๔,๒๔๐ คดี รองลงมา คือ คดีเร่ืองทเ่ี ก่ยี วกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯจํานวน ๑๐,๗๗๓ คดี และ คดีเรื่องท่ีเก่ียวกับการพัสดุ สัญญาทางปกครอง และ อ่ืนๆ จํานวน ๘,๑๒๘ คดี จะเห็นว่าคดีส่วนใหญ่ท่ีเข้าสู่กระบวนการของศาลปกครองมักเป็นเรื่องที่มีการ ฟ้องร้องกันเองระหว่างหน่วยงานหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ส่วนท่ีเก่ียวข้องกับประชาชนภายนอก ท่มี ีข้อพิพาทกับรฐั จะเป็นเรอื่ ง การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ก็คือ การออกคําส่ังทางปกครองให้ มีการเวนคืนทีด่ ิน รองลงมากเ็ ป็นข้อพิพาทเกย่ี วกบั สญั ญาทางปกครอง ข้อมูลจากศาลปกครองอาจไม่ทําให้เห็นความชัดเจนเก่ียวกับสภาพปัญหาทาง กฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชนมากนักเน่ืองจากเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับนิติสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับรัฐ หรือรัฐกับประชาชน ซ่ึงมีประชาชนจํานวนไม่มากท่ีมีประสบการณ์เกี่ยวกับ เรื่องนี้ แต่ปัญหาทางกฎหมายท่ีพบจากความเรียงจะเก่ียวข้องกับสภาพปัญหาในนิติสัมพันธ์ ตามกฎหมายเอกชนไม่ว่าจะเปน็ กฎหมายแพ่ง หรือกฎหมายอาญา และกระบวนการยุติธรรมท่ี เกี่ยวเน่ืองเสียมาก ดังน้ันสถิติข้อมูลคดีท่ีข้ึนสู่ศาลยุติธรรมจะมีส่วนเติมเต็มภาพรวมของ ข้อมูลเชิงสถิติเกีย่ วกับสภาพปญั หาทางกฎหมายทม่ี ักเกิดข้ึนในชีวิตประจาํ วันของประชาชน รายงานจํานวนคดีท่ีขึ้นสู่การพิจารณา 5 อันดับสูงสุดของศาลชั้นต้นทั่วราชอาณาจักร (ข้อมูลจากสาํ นกั แผนงานและงบประมาณ สํานกั งานศาลยุติธรรม2) ศาลชนั้ ต้นท่ัวราชอาณาจกั ร 2 ข้อมลู จากเว็บไซต์ของ สํานกั แผนงานและงบประมาณ :; สํานักงานศาลยตุ ิธรรม www.coj.go.th/oppb/info.php

157 1.คดีแพง่ 1.1) ขอจัดการมรดก จาํ นวน 72,595 คดี 1.2) ละเมิด จาํ นวน 20,359 คดี 1.3) ยืม จํานวน 14,643 คดี 1.4) ซ้ือขาย จํานวน 6,657 คดี 1.5) ขบั ไล่ จํานวน 6,309 คดี 2. คดีผบู้ ริโภค 2.1) สินเชือ่ บุคคล / กู้ยืม / คาํ้ ประกนั จาํ นวน 148,414 คดี 2.2) บตั รเครดิต จํานวน 71,206 คดี 2.3) กองทนุ ให้กู้ยืมเพือ่ การศึกษา จาํ นวน 56,108 คดี 2.4) เช่าซ้ือ (รถยนต์) จาํ นวน 31,557 คดี 2.5) เช่าซ้ือ (อ่นื ๆ) จํานวน 9,746 คดี 3. คดีอาญา 3.1) พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ จํานวน 160,478 คดี 3.2) พ.ร.บ.จราจรทางบก จาํ นวน 106,679 คดี 3.3) พ.ร.บ.การพนัน จาํ นวน 63,228 คดี 3.4) พ.ร.บ.คนเข้าเมือง จํานวน 34,231 คดี 3.5) ความผิดฐานลกั ทรพั ย์ จาํ นวน 31,739 คดี จากข้อมูลสถิติคดีท่ีเข้าสู่ศาลยุติธรรมจะเห็นว่าคดีที่เข้าสู่สาระบบของศาลยุติธรรม เป็นจํานวนมาก ได้แก่ คดีผู้บริโภค มรดก นิติกรรมสัญญา ทรัพย์ ละเมิด ในทางแพ่ง และ คดียาเสพย์ติด ความผิดต่อทรัพย์ ลหุโทษ และความผิดต่อหน้าท่ีของเจ้าพนักงาน เข้าเมืองผิด กฎหมาย ในทางอาญา ซึ่งจะเห็นแนวโน้มว่าค่อนข้างมีความสอดคล้องในระดับหนึ่งกับ ข้อมูลท่ีได้จากความเรียงของนักศึกษา อย่างไรก็ดีจะเห็นว่ามีข้อมูลบางส่วนไม่ตรงกัน เช่น คดียาเสพย์ติด คนเข้าเมือง ท่ีแทบไม่ปรากฏเลยในงานความเรียงของนักศึกษา ก็เน่ืองด้วย นักศึกษาไม่มีประสบการณ์เก่ียวข้องกับคดีเหล่าน้ีซ่ึงมักเกิดกับ ผู้เสพ/ค้ายาเสพย์ติด คนต่าง

158 ด้าว ซ่ึงไม่ใช่คนกลุ่มเดียวกับนักศึกษา และคนส่วนใหญ่ในสังคม แต่เป็นคนกลุ่มเปราะบาง (Vulnerable Group) ที่กระบวนการของรัฐและกฎหมายมองว่าเป็นกลุ่มเส่ียงจึงมีมาตรการทาง กฎหมายที่เข้มงวดจนเกิดคดีเข้าสู่กระบวนการมาก ซ่ึงคดีกลุ่มนี้ต้องใช้งานวิจัยเชิงคุณภาพท่ี เจาะเข้าไปหากลุ่มเป้าหมายแบบเฉพาะเจาะจง คดีเหล่านี้จึงไม่อยู่ในขอบเขตของงานที่มุ่ง แสวงหาสภาพปญั หาทางกฎหมายท่ตี อบต่อชีวิตประจาํ วนั ของคนส่วนใหญ่ ดังน้ัน คดีทางแพ่งส่วนใหญ่จึงมีความสอดคล้องกับสถิติของความเรียง ส่วนคดีอาญา จะมีความสอดคล้องกันในภาพรวมแต่จะต่างในภาพเฉพาะคดียาเสพย์ติดและเข้าเมืองผิด กฎหมาย จากข้อมูลที่ได้จากสถิติการแจ้งความไปยังสถานีตํารวจจะพบว่า คดีท่ีมีจํานวนมาก ทส่ี ดุ คือ ความผิดต่อทรัพย์ ส่วนคดีทเ่ี ก่ยี วกบั ความผิดต่อ ร่างกาย ชีวิต และเพศ จะมีจํานวน ลดหลั่นลงไป ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับสถิติท่ีได้จากความเรียง และไม่ปรากฏคดีเก่ียวกับ ยาเสพย์ติด กับคนเข้าเมืองเนื่องจากคดีท้ังสองเป็นเร่ืองมาตรการของรัฐในเชิงรุก ส่วนคดีที่มี การแจ้งความจะเป็นคดีเชิงรับ ซ่ึงเกิดจากประชาชนมีปัญหาหรือข้อพิพาทแล้วจึงมาแจ้งความ ซ่งึ ตรงกบั แนวทางของงานวิจัยทม่ี ุ่งแสวงหาปัญหาท่เี กิดข้ึนในชีวิตของประชาชน จากวิเคราะหใ์ นเชิงลึกตามเนื้อหาในบทท่ี 3 เพ่ือให้เกิดผลวิจัยเชิงคุณภาพว่า หากต้อง เผชิญกับปัญหาทางกฎหมายที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวันของประชาชน แนวทางแก้ไขด้วยการใช้ ความรู้เบื้องต้นทางกฎหมายจะต้องอาศัยหลักกฎหมายในเร่ืองใดบ้าง เพื่อนําไปสู่การประมวล หลักกฎหมายที่จําเป็นต่อการแก่ปัญหาทั้งหลายมาสร้างเป็นชุดความรู้ในการแก้ปัญหาทาง กฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน โดยมีการวิเคราะห์ตามกรณีศึกษาที่ปรากฏในงาน ความเรียงของนักศึกษา ซ่ึงในส่วนของ “แนวทางแก้ไข” จะเป็นเน้ือหาท่ีผู้วิจัยได้วิเคราะห์ เพ่ิมเติมหลังจากได้วิเคราะห์สภาพปัญหาและวิธีการแก้ไขของตัวนักศึกษาแล้วน้ันได้ทําให้เห็น แนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน และสามารถนํา หลักการท้ังหลายประมวลเข้าเป็นชุดความรู้ทางกฎหมายที่จําเป็นต่อการแก้ปัญหาอย่าง เหมาะสม โดยไม่ลงลึกในหลักกฎหมายเฉพาะมากเกินไป อันจะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลทั่วไปที่ สนใจความรู้ทางกฎหมาย หรือผู้ท่ีต้องการเรียนรู้กฎหมายง่ายๆในระยะเวลาสั้นๆเพ่ือนําไป

159 ปรับใช้ในชีวิตประจําวันซ่ึงเต็มไปด้วยปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับกฎหมายนานับประการ โดยจะเห็น กระบวนการดงั ต่อไปนี้ 1. แนวทางการแบ่งแยกลกั ษณะแห่งคดี 2. การนําหลักกฎหมายเบ้ืองต้นมาใช้กับข้อเทจ็ จริง 3. วิธีการใช้สิทธิ 4. การบังคับตามสิทธใิ นช่องทางทก่ี ฎหมายรับรอง 5. ข้อสังเกต บทเรียน และการบูรณาการองค์ความรู้ทางกฎหมายเพ่ือแก้ปัญหาใน ชีวิต จะเห็นได้ว่า แท้ทีจ่ ริงแล้วการศึกษากฎหมายในประเด็นสําคัญโดยเน้นไปท่ีหลักสําคัญ สามารถประหยัดเวลาและหน่วยความจําในสมองได้โดยการจัดกลุ่มปัญหาทางกฎหมายให้ ชัดเจน แล้วนําหลักกฎหมายสําคัญท่ีเก่ียวข้องมาปรับใช้ทั้งในเชิง “สาระ” ของข้อพิพาท และ “กระบวนการทางกฎหมาย” ในการระงับข้อพิพาท เพ่ือจะได้แนวทางในการต่อสู้เพ่ือรักษา สิทธิและแสวงหาทางเลือกในการระงบั ข้อพิพาทอย่างสนั ติ ข้อเสนอแนะ การสังเคราะห์ผลงานวิจัยได้นาํ เสนอแนวทางในการสร้างชดุ ความรู้ท่ีจะเป็นแนวทางใน การแกไ้ ขปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจาํ วันของประชาชนดังต่อไปน้ี ชุดความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกบั กฎหมายทั่วไปนีไ้ ด้แบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ กล่าวคือ สว่ นท่ี 1 สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน 1.1) นิติกรรมสัญญา 1.2) ความผิดต่อทรัพย์/ฉ้อโกง 1.3) คดีจราจรทางบก 1.4) ทรพั ย์/ทรพั ย์สินทางปัญญา 1.5) เจ้าพนกั งานปฏิบัติหน้าทโ่ี ดยมิชอบ 1.6) คดีผู้บริโภค

160 1.7) ละเมิด/จัดการงานนอกสงั่ /ลาภมิควรได้ 1.8) ปัญหากระบวนการทางอาญา 1.9) หนี้ 1.10) ความผิดต่อร่างกาย ส่วนที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมายท่ีจําเป็นต่อการแก้ปัญหาทางกฎหมายใน ชีวิตประจําวนั 2.1) แนวทางการแบ่งแยกลกั ษณะแห่งคดี 2.2) การนาํ หลกั กฎหมายเบื้องต้นมาใช้กบั ข้อเทจ็ จริง 2.3) วิธีการใช้สิทธิ 2.4) การบังคับตามสิทธใิ นช่องทางทก่ี ฎหมายรับรอง 2.5) การบูรณาการองค์ความรู้ทางกฎหมายเพือ่ แก้ปญั หาในชีวิต 2.5.1) กฎหมายมหาชน และกลไกการเยียวยาสิทธใิ นประเทศไทย 2.5.1.1) รฐั ธรรมนูญ และกฎหมายเกย่ี วกบั สิทธิมนษุ ยชน 2.5.1.2) องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน หรือ ผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งรฐั สภา) 2.5.1.3) ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครอง 2.5.1.4) กฎหมายปกครอง 2.5.2) การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในกระบวนการยุติธรรมไทย 2.5.3) กฎหมายอาญาไทย 2.5.4) กฎหมายแพ่งและพาณิชยไ์ ทย 2.5.5) กรณีศึกษาด้านกฎหมาย และถามตอบปัญหากฎหมายทน่ี กั ศึกษาสนใจ 2.5.6) บทเรียนในการคุ้มครองสิทธใิ นประเทศไทย 2.5.7) ลู่ทางในการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของประชาชนแบบบูรณาการ

161 การวิเคราะหก์ รณีศึกษาทางกฎหมายทีป่ รากฏในชีวิตประจาํ วันของประชาชน 1. กรณีศึกษาปญั หาด้านกระบวนการทางกฎหมาย 1.1) ปัญหาในกระบวนการทางกฎหมายมหาชนและปกครอง 1.2) ปญั หาในกระบวนการทางอาญา 1.3) ปญั หาในกระบวนการทางแพ่งและพาณิชย์ 1.4) ปญั หาในกระบวนการแพ่งเกย่ี วเนอื่ งอาญา 2. กรณีศึกษาปัญหาด้านกฎหมายมหาชน 2.1) สญั ญาทางปกครอง 2.2) คาํ สั่งทางปกครอง 2.3) การกระทาํ ทางปกครอง 2.4) ปญั หาเกีย่ วกับรฐั และการใช้สิทธิพลเมืองและการเมือง 3. กรณีศึกษาปญั หาด้านกฎหมายอาญา 3.1) เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่โี ดยมิชอบ 3.2) ความผิดต่อความมัน่ คงและความสงบเรียบร้อย 3.3) ความผิดต่อชีวิต 3.4) ความผิดต่อเนื้อตัวร่างกาย 3.5) ความผิดต่อเพศ 3.6) ความผิดต่อเสรีภาพและช่ือเสียงเกียรติยศ 3.7) ความผิดต่อทรพั ย์ 3.8) ความผิดต่อเอกสาร 3.9) ความผิดลหุโทษ

162 4. กรณีศึกษาปัญหาด้านกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 4.1) บุคคล 4.2) ครอบครวั 4.3) หุ้นส่วน บริษทั 4.4) นิติกรรมสัญญา 4.5) หนี้ 4.6) ทรัพย์สิน ทรัพย์สินทางปัญญา 4.7) นิติเหตุ – ละเมิด จดั การงานนอกสงั่ ลาภมิควรได้ 4.8) เอกสาร ต๋ัวเงิน เชค็ บตั รเครดิต 4.9) มรดก พินยั กรรม 4.10) การใช้สิทธิ บังคับตามสิทธิ และปัดป้องสิทธิ ทั่วไป 5. กรณีศึกษาปัญหาด้านกฎหมายเฉพาะท่มี กั พบ 5.1) จราจรทางบก 5.2) คดีผู้บรโิ ภค 5.3) คดีแรงงาน

รายงานจํานวนคดที ่ขี ึน้ ส่กู ารพจิ ารณา 5 อันดบั สงู สุดของศาลชั้นตน้ ทั่วราชอาณาจกั ร เดอื นมกราคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2553 สว่ นแพง่ ส่วนอาญา คดแี พง่ กล่มุ ศาลแพง่ 1. ขอจัดการมรดก จํานวน 2,898 คดี 2. ขอแสดงกรรมสทิ ธิท์ ดี่ ิน จาํ นวน 2,230 คดี 3. ขับไล่ จํานวน 1,305 คดี 4. ซอ้ื ขาย จาํ นวน 730 คดี 5. ละเมิด จํานวน 717 คดี คดีผบู้ รโิ ภค 1. สนิ เช่ือบคุ คล / กู้ยืม / ค้ําประกัน จํานวน 3,005 คดี 2. เช่าซื้อ (รถยนต)์ จํานวน 1,517 คดี 3. บตั รเครดิต จาํ นวน 1,040 คดี 4. เช่าทรัพย์ (อาคารทรพั ย)์ จํานวน 159 คดี 5. จา้ งทาํ ของ จํานวน 159 คดี กลุม่ ศาลอาญา คดอี าญา 1. พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ให้โทษ จํานวน 12,829 คดี 2. ลหุโทษ จํานวน 8,539 คดี 3. ความผิดฐานลกั ทรพั ย์ จาํ นวน 3,644 คดี 4. ความผดิ ตอ่ เจ้าพนกั งานในการยตุ ิธรรม จํานวน 1,970 คดี 5. พ.ร.บ.คนเขา้ เมือง จํานวน 1,702 คดี

รายงานจํานวนคดที ีข่ น้ึ สูก่ ารพิจารณา 5 อันดับสงู สุดของศาลชั้นตน้ ทั่วราชอาณาจักร เดือนมกราคม - ธันวาคม พ.ศ. 2553 ส่วนแพง่ ส่วนอาญา กล่มุ ศาลจังหวดั คดีแพง่ 1. ขอจัดการมรดก จํานวน 69,691 คดี คดอี าญา 2. ละเมิด จาํ นวน 11,205 คดี 1. พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ จํานวน 126,566 คดี 3. ยมื จาํ นวน 8,685 คดี 2. พ.ร.บ.จราจรทางบก จํานวน 50,866 คดี 4. ขบั ไล่ จํานวน 4,765 คดี 3. พ.ร.บ.การพนนั จํานวน 34,936 คดี 5. ซอ้ื ชาย จาํ นวน 3,693 คดี 4. พ.ร.บ.คนเข้าเมอื ง จาํ นวน 25,062 คดี 5. พ.ร.บ.อาวธุ ปืน เคร่อื งกระสุนปืน ฯลฯ จาํ นวน คดผี ูบ้ ริโภค 1. สนิ เช่ือบุคคล / กยู้ มื / คา้ํ ประกัน 22388 คดี จาํ นวน 101,605 คดี กลมุ่ ศาลแขวง 2. กองทุนให้กยู้ ืมเพื่อการศึกษา คดอี าญา 1. พ.ร.บ.จราจรทางบก จาํ นวน 51,850 คดี จาํ นวน 39,717 คดี 2. พ.ร.บ.การพนัน จํานวน 27,824 คดี 3. บตั รเครดิต จํานวน 30,696 คดี 3. พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ จาํ นวน 9,110 คดี 4. เช่าซ้อื (รถยนต)์ จํานวน 22,545 คดี 4. พ.ร.บ.ว่าด้วยความผดิ อันเกดิ จากการใชเ้ ช็ค 5. เช่าซ้ือ (อนื่ ๆ) จํานวน 4,023 คดี จํานวน 7,227 คดี คดแี พง่ 1. ละเมดิ จาํ นวน 8,437 คดี 2. ยมื จาํ นวน 5,396 คดี 3. รบั ชว่ งสทิ ธิ์ จาํ นวน 2,514 คดี 4. ตั๋วเงนิ จํานวน 2,378 คดี 5. ซอ้ื ขาย จํานวน 2,234 คดี

คดผี ู้บรโิ ภค 5. พ.ร.บ.คนเขา้ เมือง จํานวน 6,864 คดี 1. สินเชอื่ บุคคล / กยู้ มื / ค้ําประกนั จาํ นวน 43,804 คดี 2. บตั รเครดติ จํานวน 39,470 คดี 3. กองทุนให้กยู้ ืมเพือ่ การศกึ ษา จํานวน 16,242 คดี 4. เชา่ ซอื้ (รถยนต)์ จํานวน 7,495 คดี 5. เช่าซ้ือ (อื่นๆ) จํานวน 5,681 คดี กลมุ่ ศาลเยาวชนและครอบครัว เยาวชนฯแพง่ เยาวชนฯอาญา 1. ฟอ้ งหยา่ จํานวน 5,316 คดี 1. พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ จาํ นวน 11,973 คดี 2. ร้องขอตอ่ ศาลให้มีคําสั่งใหผ้ ู้รอ้ งขอจด 2. ความผิดฐานลกั ทรพั ย์ จํานวน 5,163 คดี ทะเบียนรับเดก็ เป็นบตุ ร จาํ นวน 2,232 3. พ.ร.บ.อาวุธปืน เครื่องกระสนุ ปนื ฯลฯ จํานวน คดี 3,360 คดี 3. ฟ้องขอใหศ้ าลพิพากษาวา่ อาํ นาจ 4. พ.ร.บ.จราจรทางบก จาํ นวน 3,263 คดี ปกครองบตุ รซ่ึงยงั ไม่บรรละนิติภาวะอยู่ 5. ความผดิ ฐานรับของโจร จํานวน 2,095 คดี กับบดิ าหรอื มารดา จาํ นวน 1,117 คดี 4. ขอให้สง่ั เรอ่ื งอํานาจปกครองบตุ ร จํานวน 1,095 คดี 5. ฟอ้ งขอแบง่ สนิ สมรส จาํ นวน 773 คดี กลมุ่ ศาลแรงงาน 1. ขอให้คดิ คา่ ชดเชย จาํ นวน 6,414 คดี 2. ขอให้จ่ายคา่ จา้ งให้ถูกต้องและตามกาํ หนดเวลา จาํ นวน 5,706 คดี 3. ขอให้จ่ายสินจา้ งแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ จํานวน 5,417 คดี 4. ขอให้รับกลบั เขา้ ทํางานและหรอื ให้จ่ายค่าเสยี หายกรณีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม จาํ นวน 2,057 คดี 5. ขอใหป้ ฏบิ ตั ติ ามสัญญาจา้ ง จํานวน 1,376 คดี

รายงานจาํ นวนคดีท่ขี นึ้ สกู่ ารพิจารณา 5 อันดบั สูงสดุ ของศาลชนั้ ต้นทว่ั ราชอาณาจักร เดอื นมกราคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2553 สว่ นแพ่ง สว่ นอาญา ศาลภาษีอากร 1. ภาษมี ูลค่าเพิ่ม จาํ นวน 100 คดี 2. ภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา จํานวน 40 คดี 3. พ.ร.บ.ศลุ กากร จํานวน 34 คดี 4. ภาษเี งนิ ได้นิติบคุ คล จํานวน 28 คดี 5. พ.ร.บ.ภาษีโรงเรอื นและทดี่ ิน จาํ นวน 17 คดี ศาลทรพั ย์สนิ ทางปัญญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศกลาง ทรพั ย์สินแพง่ ทรพั ย์สนิ อาญา 1. การขนสง่ รหวา่ งประเทศทางอ่ืน 1. นาํ เข้า จําหนา่ ยและมไี วเ้ พอื่ จาํ หน่ายซ่ึงสินค้า จาํ นวน 163 คดี จาํ นวน 3,279 คดี 2. สญั ญาทรัสตร์ ซี ีท สัญญาเลต็ เตอรอ์ อฟ 2. จาํ หน่าย มไี ว้เพื่อจําหน่ายงานละเมดิ ลิขสิทธิ์ เครดิต จาํ วน 111 คดี จํานวน 1,531 คดี 3. รับขนทางทะเล จํานวน 106 คดี 3. ความผิดเกี่ยวกบั การคา้ จาํ นวน 186 คดี 4. สัญญาซ้ือขายระหวา่ งประเทศ 4. ขาย มไี วเ้ พอ่ื ขาย นาํ เข้ามาซ่งึ ผลิตภณั ฑ์ตามสิทธิ จํานวน 58 คดี บตั รหรืออนสุ ิทธบิ ตั รโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต 5. เพิกถอนคาํ วินจิ ฉัยคณะกรรมการ จาํ นวน 177 คดี เครอื่ งหมายการค้า จํานวน 34 คดี 5. ปลอมแปลงเครอื่ งหมายการค้า จาํ นวน 122 คดี

รายงานจํานวนคดีทีข่ ึ้นสกู่ ารพจิ ารณา 5 อนั ดับสูงสดุ ของศาลชั้นต้นทว่ั ราชอาณาจกั ร เดือนมกราคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2553 ส่วนแพง่ ส่วนอาญา ศาลล้มละลายกลาง คาํ สัง่ ในคดลี ้มละลาย 1. คาํ สั่งพทิ กั ทรพั ย์เด็ดขาด คาํ ส่งั ในคดีลม้ ละลาย (อาญา) 1. คําสั่งออกหมายจับหรอื ขังบุคคลทฝ่ี า่ ฝนื คาํ ส่งั จํานวน 12,309 คดี 2. คําพิพากษาให้ล้มละลาย ตาม ม.90/39 วรรคสาม จาํ นวน 10,698 คดี จํานวน 9,398 คดี คดลี ้มละลาย(คดอี าญา) 3. คาํ สง่ั ปิดคดี จาํ นวน 7,235 คดี 1. รับสนิ เชอื่ จากผู้อื่นมี่จํานวนตงั้ แต่หนง่ึ ร้อยบาทข้นึ ไป 4. คําสงั่ ยกเลิกการลม้ ละลาย (ม.35) โดยมไิ ดแ้ จ้งให้ผ้อู ่ืนทราบวา่ คนถกู พทิ ักษท์ รัพย์ จํานวน 1,017 คดี เด็ดขาด จาํ นวน 12 คดี 5. คําพิพากษายกฟอ้ ง จาํ นวน 435 คดี 2. ความผิดวา่ ด้วยกระบวนพจิ ารณาเกีย่ วกบั การฟน้ื ฟู กิจการของลูกหน้ี จํานวน 1 คดี คาํ สงั่ ในคดฟี ้นื ฟกู จิ การ พ.ร.บ.ลม้ ละลาย พ.ศ. 2483 ม.90/81 , ม.90/88 1. คาํ สงั่ ฟน้ื ฟูกจิ การ และตั้งผ้ทู ําแผนหรือ ม.90/89 จาํ นวน 1 คดี ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 , 86 , 91 , 350 ผ้ทู ําแผนช่ัวคราว (ถ้าม)ี /ยาํ คาํ รอ้ ง จาํ นวน 1 คดี จํานวน 22 คดี และคาํ สัง่ ยกคํารอ้ งขอ จํานวน 22 คดี 2. คําส่งั เห็นชอบด้วยแผน จาํ นวน 20 คดี 3. คาํ สง่ั ยกเลกิ การฟนื้ ฟูกจิ การ (ม.90/17) จํานวน 17 คดี 4. คาํ ส่งั ไมเ่ ห็นชอบด้วยแผน จํานวน 3 คดี

รายงานจาํ นวนคดที ่ขี ึน้ สู่การพิจารณา 5 อนั ดับสูงสุดของศาลช้นั ตน้ ทั่วราชอาณาจกั ร เดือนมกราคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2553 สว่ นแพ่ง สว่ นอาญา ศาลช้ันต้นทัว่ ราชอาณาจักร คดแี พง่ 1. ขอจัดการมรดก จาํ นวน 72,595 คดี คดีอาญา 2. ละเมิด จาํ นวน 20,359 คดี 1. พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ จํานวน 160,478 คดี 3. ยืม จาํ นวน 14,643 คดี 2. พ.ร.บ.จราจรทางบก จํานวน 106,679 คดี 4. ซอื้ ขาย จํานวน 6,657 คดี 3. พ.ร.บ.การพนนั จํานวน 63,228 คดี 5. ขบั ไล่ จาํ นวน 6,309 คดี 4. พ.ร.บ.คนเข้าเมือง จาํ นวน 34,231 คดี คดผี บู้ รโิ ภค 5. ความผิดฐานลกั ทรัพย์ จาํ นวน 31,739 คดี 1. สินเชื่อบุคคล / กู้ยืม / คํา้ ประกัน จํานวน 148,414 คดี 2. บัตรเครดติ จาํ นวน 71,206 คดี 3. กองทนุ ใหก้ ูย้ ืมเพือ่ การศกึ ษา จํานวน 56,108 คดี 4. เชา่ ซื้อ (รถยนต์) จาํ นวน 31,557 คดี 5. เช่าซอ้ื (อ่ืนๆ) จํานวน 9,746 คดี

รายงานจาํ นวนคดีท่ีขึ้นสกู่ ารพจิ ารณา 5 อันดบั สูงสุดของศาลอทุ ธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค 1 - 9 สว่ นแพง่ สว่ นอาญา แผนกคดแี พ่ง 1. ละเมดิ จํานวน 1,458 คดี 2. ยืม จาํ นวน 1,246 คดี 3. ขับไล่ จํานวน 1,136 คดี 4. ทด่ี ิน จาํ นวน 783 คดี 5. ค้ําประกัน 710 คดี แผนกคดอี าญา 1. พ.ร.บ.อาวธุ ปนื เครอ่ื งกระสนุ ปืน ฯลฯ จํานวน 4,296 คดี 2. ความผดิ ฐานลกั ทรัพย์ จํานวน 3,662 คดี 3. ลหโุ ทษ จํานวน 3,527 คดี 4. ความผิดตอ่ ชีวิต จํานวน 3,424 คดี 5. ความผิดตอ่ ร่างกาย จาํ นวน 1,784 คดี แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ 1. ฟอ้ งหยา่ จาํ นวน 88 คดี 1. ความผิดต่อชวี ิต จาํ นวน 355 คดี 2. ฟ้องขอแบ่งสนิ สมรส จํานวน 2. พ.ร.บ.อาวธุ ปนื เครือ่ งกระสุนปนื ฯลฯ จํานวน 262 คดี 53 คดี 3. ลหุโทษ จาํ นวน 259 คดี 3. ขอใหส้ ่งั เรือ่ งอํานาจปกครองบตุ ร 4. พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ จํานวน 158 คดี จํานวน 18 คดี 5. ความผิดตอ่ เสรีภาพ จํานวน 121 คดี 4. ขออนญุ าตทํานิติกรรมเกย่ี วกบั ทรัพยส์ นิ บางชนิดของผเู้ ยาว์ จาํ นวน 14 คดี 5. ฟอ้ งเรียกคา่ อปุ การะเลย้ี งดู ระหว่างบิดามารดาและบตุ ร จาํ นวน 12 คดี

รายงานจาํ นวนคดที ีข่ ้ึนสูก่ ารพิจารณา 5 อันดับสูงสดุ ของศาลอุทธรณ์และศาลอทุ ธรณภ์ าค 1 - 9 สว่ นแพ่ง สว่ นอาญา แผนกคดผี บู้ รโิ ภค 1. สินเชื่อบคุ คล / กยู้ ืม / คาํ้ ประกัน 1. พ.ร.บ.ควบคมุ กิจการเทปและวสั ดุโทรทศั น์ จาํ นวน 1,853 คดี จาํ นวน 4 คดี 2. เชา่ ซือ้ (รถยนต)์ จาํ นวน 980 คดี 2. พ.ร.บ.ห้ามเรยี กดอกเบย้ี เกนิ อัตรา จํานวน 3 คดี 3. บตั รเครดิต จาํ นวน 194 คดี 3. พ.ร.บ.ควบคมุ อาคาร จํานวน 2 คดี 4. เชา่ ซ้ือ (อืน่ ๆ) จาํ นวน 181 คดี พ.ร.บ.ยาจํานวน 2 คดี 5. ประกันวินาศภยั จํานวน 163 คดี แผนกคดีส่งิ แวดลอ้ ม 1. พ.ร.บ.ส่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพ 1. พ.ร.บ.ป่าไม้ จาํ นวน 700 คดี สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จาํ นวน 2. พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ จํานวน 331 คดี 6 คดี 3. พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสตั ว์ป่า จาํ นวน 127 คดี 4. พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ จํานวน 106 คดี 5. พ.ร.บ.การประมง จาํ นวน 65 คดี 1. พ.ร.บ.การเลือกตัง้ สมาชกิ สภา แผนกคดีเลอื กตั้ง ทอ้ งถิ่นหรือผ้บู ริหารท้องถ่นิ 1. พ.ร.บ.การเลือกตง้ั สมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ หรอื ผ้บู ริหาร พ.ศ. 2545 จํานวน 157 คดี ทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2545 จาํ นวน 14 คดี 2. ขอใหเ้ พิกถอนการเลอื กตัง้ และจัด ใหม้ ีการเลือกตง้ั ใหม่ จํานวน 25 คดี 3. ขอให้เพกิ ถอนการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาท้องถ่ินและจดั ใหม้ กี ารเลือก ตัง้ ใหม่ จาํ นวน 20 คดี

รายงานจํานวนคดที ี่ข้นึ ส่กู ารพิจารณา 5 อนั ดบั สูงสดุ ของศาลอทุ ธรณแ์ ละศาลอทุ ธรณภ์ าค 1 - 9 สว่ นแพง่ ส่วนอาญา แผนกคดียาเสพติด 1. เมทแอมเฟตามีน จาํ นวน 12,805 คดี 2. กญั ชา จํานวน 722 คดี 3. พชื กระท่อม จาํ นวน 276 คดี 4. เฮโรอนี จํานวน 90 คดี 5. ฝนิ่ จํานวน 33 คดี รายงานจาํ นวนคดที ี่ขึน้ ส่กู ารพจิ ารณา 5 อันดับสงู สุด ของศาลฎกี า สว่ นแพ่ง สว่ นอาญา แผนกคดีแพ่ง 1. ท่ีดิน จาํ นวน 716 คดี 2. ยืม จาํ นวน 620 คดี 3. ขับไล่ จาํ นวน 556 คดี 4. ละเมิด จํานวน 540 คดี 5. ซือ้ ขาย จํานวน 289 คดี แผนกคดอี าญา 1. พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ให้โทษ จาํ นวน 2,523 คดี 2. ความผดิ ตอ่ ชีวิต จาํ นวน 2,265 คดี 3. ลหโุ ทษ จํานวน 2,033 คดี 4. พ.ร.บ.อาวธุ ปนื เคร่ืองกระสุนปืน ฯลฯ จํานวน 1,907 คดี 5. ความผิดฐานลกั ทรัพย์ จาํ นวน 892 คดี

รายงานจาํ นวนคดีท่ขี ึน้ สกู่ ารพจิ ารณา 5 อนั ดบั สงู สุด ของศาลฎกี า ส่วนแพง่ ส่วนอาญา แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว 1. ฟอ้ งหยา่ จาํ นวน 45 คดี 1. ความผิดตอ่ ชวี ติ จํานวน 85 คดี 2. ฟ้องขอแบง่ สินสมรส จาํ นวน 24 คดี 2. ลหโุ ทษ จาํ นวน 80 คดี 3. ขอใหส้ ่ังเรือ่ งอาํ นาจปกครองบุตร 3. พ.ร.บ.อาวธุ ปืน เครื่องกระสุนปนื ฯลฯ จาํ นวน 15 คดี จํานวน 68 คดี 4. ฟอ้ งเรยี กคา่ อปุ การะเลี้ยงดูระหว่างบิดา 4. พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ จาํ นวน 27 คดี มารดาและบุตร จํานวน 8 คดี 5. ความผดิ ต่อเสรภี าพ จาํ นวน 26 คดี 5. ฟ้องเรียกค่าอปุ การะเลย้ี งดรู ะหว่างสามี ภริยา จาํ นวน 7 คดี แผนกคดีลม้ ละลาย 1. คําส่ังพิทกั ษ์ทรพั ยเ์ ด็ดขาด จํานวน 562 คดี 2. คําพพิ ากษายกฟอ้ ง จาํ นวน 278 คดี 3. คาํ พพิ ากษาใหล้ ้มละลาย จํานวน 29 คดี แผนกคดีล้มละลาย (ฟ้นื ฟู) 1. คาํ สง่ั ฟ้ืนฟูกจิ การ และต้งั ผทู้ าํ แผน หรือ ผูท้ าํ แผนชว่ั คราว (ถ้ามี)/ยกคาํ รอ้ ง จํานวน 1 คดี 2. คาํ สัง่ ยกคําร้องขอ จํานวน 4 คดี

รายงานจาํ นวนคดีทีข่ ึ้นส่กู ารพจิ ารณา 5 อนั ดบั สงู สุด ของศาลฎกี า สว่ นแพง่ ส่วนอาญา แผนกคดที รัพยส์ ินทางปัญญาฯ 1. เพกิ ถอนคาํ วินจิ ฉยั คณะกรรมการเครื่องหมาย 1. ขาย มีไว้เพื่อขาย นําเขา้ มาซ่งึ ผลิตภณั ฑ์ การค้า จาํ นวน 58 คดี ตามสิทธบิ ัตรหรืออนุสิทธิบตั รโดยไม่ไดร้ ับ 2. รบั ขนทางทะเล จํานวน 32 คดี อนญุ าต จาํ นวน 108 คดี 3. คดีการคา้ ระหวา่ งประเทศอน่ื ๆ 2. ละเมิดงานลขิ สิทธภ์ิ าพยนตร์ สงิ่ บันทึกเสยี ง จาํ นวน 30 คดี จํานวน 93 คดี 4. การขนส่งระหวา่ งประเทศทางอืน่ 3. ละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์งานโสตทัศน์วัสดุ จํานวน 26 คดี จาํ นวน 48 คดี 5. สญั ญาทรสั ต์รีซีท สญั ญาเลต็ เตอรอ์ อฟเครดิต 4. ปลอมแปลงเครอื่ งหมายการค้า จาํ นวน 22 คดี จาํ นวน 13 คดี 5. พ.ร.บ.ควบคุมกจิ การเทปและวัสดโุ ทรทศั น์ จํานวน 9 คดี จาํ หน่าย และมีไว้เพอ่ื จาํ หนา่ ยงานละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ จาํ นวน 9 คดี แผนกคดภี าษีอากร 1. ภาษมี ูลค่าเพม่ิ จาํ นวน 25 คดี 2. พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จาํ นวน 24 คดี 3. ภาษเี งินได้นิติบคุ คล จาํ นวน 13 คดี 4. ภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา จาํ นวน 11 คดี 5. ภาษธี ุรกิจเฉพาะ จาํ นวน 4 คดี พ.ร.บ.ศลุ กากร จํานวน 4 คดี

รายงานจาํ นวนคดที ขี่ ึ้นสู่การพิจารณา 5 อนั ดับสงู สดุ ของศาลฎีกา ส่วนแพ่ง สว่ นอาญา แผนกคดแี รงงาน 1. ขอให้รบั กลบั เข้าทาํ งานและหรอื ให้จา่ ยค่าเสยี หายกรณเี ลกิ จ้างไมเ่ ป็นธรรม จํานวน 844 คดี 2. ขอใหจ้ า่ ยคา่ เสียหายกรณีผดิ สัญญาจา้ ง จาํ นวน 810 คดี 3. ขอให้คดิ คา่ ชดเชย จาํ นวน 669 คดี 4. ขอให้จ่ายสินจา้ งแทนการบอกกลา่ วลว่ งหน้า จาํ นวน 350 คดี 5. ขอให้จา่ ยคา่ จา้ งให้ถกู ต้องและตามกําหนดเวลา จาํ นวน 320 คดี แผนกคดีพาณิชย์ 1. ประกันวินาศภยั , ประกนั ภัยคาํ้ จุน จาํ นวน 151 คดี 2. เชา่ ซอ้ื จาํ นวน 92 คดี 3. บญั ชเี ดนิ สะพัด จํานวน 77 คดี 4. หุ้นสว่ น จํานวน 20 คดี 5. บรษิ ทั จาํ นวน 13 คดี แผนกคดีสิง่ แวดลอ้ ม 1. ละเมดิ จาํ นวน 6 คดี 1. พ.ร.บ.ป่าไม้ จํานวน 279 คดี 2. พ.ร.บ.ส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม 2. พ.ร.บ.ปา่ สงวนแหง่ ชาติ จํานวน 161 คดี แหง่ ชาติ จํานวน 1 คดี 3. พ.ร.บ.อทุ ยานแหง่ ชาติ จํานวน 34 คดี 4. พ.ร.บ.สงวนและคมุ้ ครองสัตวป์ า่ จํานวน 29 คดี 5. พ.ร.บ.การเดนิ เรอื ในนา่ นนาํ้ ไทย จาํ นวน 11 คดี

รายงานจาํ นวนคดีท่ขี ึ้นสู่การพิจารณา 5 อนั ดับสงู สดุ ของศาลฎกี า สว่ นแพ่ง ส่วนอาญา แผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง 1. ขอให้แตง่ ตั้งผู้ไตส่ วนอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ม.275 และ ม.276 จาํ นวน 4 คดี 2. ความผิดทางอาญา จาํ นวน 2 คดี จงใจไมย่ ื่นบญั ชแี สดงรายการทรพั ยส์ ินและ หนสี้ นิ และเอกสารประกอบหรือจงใจยน่ื บัญชีแสดงรายการทรพั ยส์ ินและหน้สี ินและ เอกสารประกอบดว้ ยขอ้ ความอนั เปน็ เทจ็ หรือปกปิดขอ้ เทจ็ จริงทค่ี วรแจ้งให้ทราบ จํานวน 2 คดี 3. ความผดิ ฐานจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการ ทรพั ย์สินและหน้ีสนิ และเอกสารประกอบ ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ม.263 และ พ.ร.บ.วา่ ดว้ ยการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 จํานวน 1 คดี

รายงานจาํ นวนคดที ี่ขึน้ สู่การพิจารณา 5 อนั ดบั สงู สดุ ของศาลฎีกา ส่วนแพ่ง ส่วนอาญา แผนกคดผี ู้บรโิ ภค 1. สนิ เช่อื บคุ คล / กูย้ มื / ค้าํ ประกัน จาํ นวน 29 คดี 2. นติ บิ คุ คลอาคารชดุ จํานวน 14 คดี 3. เชา่ ซ้อื (อ่ืนๆ) จํานวน 10 คดี 4. เชา่ ซื้อ (รถยนต์) จํานวน 7 คดี 5. บตั รเครดิต จาํ นวน 2 คดี ประกันวินาศภยั จํานวน 2 คดี ซอ้ื ขาย (ทีด่ ินเปล่า) จาํ นวน 2 คดี ซอื้ ขาย (อืน่ ๆ) จาํ นวน 2 คดี

ขาวศาลปกครอง Administrative Court News ครง้ั ที่ ๑๐ /๒๕๕๓ ศาลปกครอง แถลงผลการดําเนนิ งาน เนอ่ื งในโอกาสครบรอบ ๙ ป ของการเปดทาํ การ มงุ สรา งความเช่ือมั่นใหกับประชาชนในกระบวนการยุตธิ รรมทางปกครอง เนื่องในโอกาสวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓ เปนวันครบรอบ ๙ ป ของการเปดทําการศาลปกครอง สํานักงานศาลปกครอง จึงจัดใหมีการแถลงขาวตอส่ือมวลชน เพ่ือนําเสนอผลการดําเนินงานของ ศาลปกครองในดานตางๆ ในรอบ ๙ ป ที่ผานมา เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ อาคารศาลปกครอง ถนนแจง วฒั นะ โอกาสนี้ ศ.ดร.อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด ไดเปดเผยผลการดําเนินงาน ของศาลปกครองตอส่ือมวลชน ในประเด็นตา งๆ ดงั นี้ ภาพรวมสถติ ิคดีปกครอง ตั้งแตเ ปดทําการ (๙ มนี าคม ๒๕๔๔) จนถึงปจ จบุ ัน (๑ มีนาคม ๒๕๕๓) ศ.ดร.อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด ไดแถลงผลการดําเนินงานของ ศาลปกครองในดานการพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง ดังน้ีวา นับจากวันเปดทําการคร้ังแรกเมื่อวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๔๔ ศาลปกครอง มีปริมาณคดีที่รับเขาสูการพิจารณาของศาลปกครองในปริมาณมาก อยางตอเน่ือง ซึ่งมีจํานวนอยูระหวาง ๕,๐๐๐ - ๗,๐๐๐ คดีตอป ศาลปกครองสามารถพิจารณา พิพากษาคดีแลวเสร็จไดในอัตราท่ีคอนขางสูง โดยแตละป (ไมรวมปแรกของการเปดทําการ) สามารถ พิจารณาคดแี ลว เสรจ็ อยรู ะหวา งรอ ยละ ๗๕ ถงึ รอ ยละ ๙๓ ของปริมาณคดีรับเขาแตละป หรือมีคาเฉล่ีย เทา กับรอยละ ๗๗.๕๑ ของปรมิ าณคดีในความรบั ผดิ ชอบท้งั หมด ปริมาณคดีท่ีรับเขาสูการพิจารณาต้ังแตเปดทําการ ถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ มีจํานวนทั้งส้ิน ๕๖,๓๘๐ คดี ศาลปกครองไดพิจารณาแลวเสร็จ ๔๓,๕๙๓ คดี คิดเปนรอยละ ๗๗.๓๒ ของคดีรับเขา แมวาศาลปกครองจะไดดําเนินการพิจารณาพิพากษาคดีแลวเสร็จไดมากเพียงใดก็ตาม แตจํานวนคดีท่ี

-๒- พิจารณาแลวเสร็จแตละปยังมีปริมาณนอยกวาคดีรับเขาในปนั้นๆ สงผลใหมีคดีที่อยูระหวางการ พิจารณาสะสมจํานวนหนึ่ง โดยปจจุบัน (ณ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓) มีจํานวนคดีที่อยูระหวางการ พิจารณาท้งั สิ้น ๑๒,๗๘๗ คดี คดิ เปนรอ ยละ ๒๒.๖๘ ของคดีรับเขา สถิตคิ ดีรบั เขา และคดที ี่พจิ ารณาแลวเสร็จของศาลปกครองในภาพรวม ต้ังแตเปด ทาํ การ - ถงึ วันท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๓ คดีแลว เสรจ็ ๔๓,๕๙๓ คดี (๗๗.๓๒ %) ระหวา ง พิจารณา ๑๒,๗๘๗ คดี (๒๒.๖๘ %) ท้ังน้ี ประธานศาลปกครองสูงสุด กลาววา หากพิจารณาเร่ืองท่ีฟองคดีปกครองตอศาลปกครอง ชน้ั ตน ตัง้ แตเ ปดทาํ การถงึ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ พบวา เรือ่ งที่ฟอ งมากที่สุดคือคดีเร่ืองที่เก่ียวกับการ บริหารงานบุคคล มีจํานวน ๑๔,๒๔๐ คดี รองลงมา คือคดีเรื่องที่เก่ียวกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพยฯ จาํ นวน ๑๐,๗๗๓ คดี และคดีเรื่องทเ่ี ก่ยี วกบั การพสั ดุ สญั ญาทางปกครองฯ จาํ นวน ๘,๑๒๘ คดี เม่ือพิจารณาคดีเร่ืองท่ีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลฯ ซึ่งเปนกลุมเรื่องท่ีมีการฟองมากท่ีสุด ดังกลาวจําแนกรายเรื่องพบวา เร่ืองการบริหารงานบุคคลเปนคดีท่ีฟองมากที่สุด โดยมีจํานวน ๖,๒๔๙ คดี คิดเปนรอยละ ๔๓.๘๘ รองลงมาคือเรื่องวินัย จํานวน ๔,๔๗๒ คดี คิดเปนรอยละ ๓๑.๔๐ และเร่ืองสิทธิประโยชนและสวัสดิการ จํานวน ๑,๖๕๖ คดี คิดเปนรอยละ ๑๑.๖๓ ของคดีในกลุมเร่ืองที่ เกย่ี วกบั การบริหารงานบคุ คลฯ ท้งั หมด สาํ หรับพ้ืนทที่ ่ีเกิดคดปี กครอง เปนปจจัยหนึง่ ท่ีสะทอนใหเหน็ ความเดือดรอ นของประชาชนของ แตละภูมิภาค โดยเมื่อพิจารณาคดีที่ฟองตอศาลปกครองช้ันตน จําแนกตามพื้นท่ีมูลคดีเกิด ต้ังแตเปด ทําการถึงวันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ พบวา เกือบครึ่งหนึ่งหรือรอยละ ๔๗.๔๔ เปนคดีที่เกิดข้ึนในพ้ืนที่ ภาคกลาง รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คิดเปนรอยละ ๒๑.๔๖ ภาคเหนือ คิดเปนรอยละ ๑๓.๕๗ ภาคใต คดิ เปนรอยละ ๑๑.๙๓ และภาคตะวันออก คิดเปนรอยละ ๕.๖๐

-๓- สถิตกิ ารฟองคดปี กครองตอ ศาลปกครองช้ันตน จําแนกตามภาคทม่ี ลู คดเี กิด ตงั้ แตเปดทาํ การ - วนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๓ เมื่อพิจารณาเวลาในการพิจารณาคดีแลวเสร็จจําแนกรายหัวเรื่องพบวา คดีเรื่องการเวนคืน อสังหาริมทรัพย ใชเวลาในการพิจารณาคดีแลวเสร็จเฉลี่ยมากท่ีสุด คือจํานวน ๒๑.๕๘ เดือน (หรือ ประมาณ ๑ ป ๘ เดือน) รองลงมาคือคดีเรื่องความรับผิดอยางอื่น จํานวน ๑๘.๘๒ เดือน และคดีเรื่อง วนิ ยั ๑๗.๓๙ เดอื น นอกจากนี้มีคดีเรือ่ งทน่ี า สนใจอ่ืนๆ เชน คดีเร่ืองการบริหารงานบุคคล ใชเวลาเฉลี่ย ๑๑.๕๒ เดือน คดีเร่ืองสัญญากับทางราชการ ๑๓.๑๘ เดือน คดีเร่ืองการปกครองและการบริหาร ราชการแผนดิน ๑๑.๖๑ เดือน คดีเรื่องการควบคุมอาคารและผังเมือง ๑๒.๕๐ เดือน และคดีเร่ือง ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม ๑๔.๐๘ เดอื น

-๔- ระยะเวลาในการพิจารณาคดปี กครองในภาพรวมแลวเสรจ็ เฉลีย่ จาํ แนกตามลกั ษณะเร่ืองทฟ่ี อ ง ตั้งแตเ ปด ทําการ - วนั ท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ หนว ย : เดือน ๒๕ ๒๐ ๑๕ ๑๐ ๕ ๐ กจิ กรรมการจัดงาน “๙ ป ศาลปกครองแหงความเชอ่ื มัน่ ” ในสวนของการจัดกิจกรรมเน่ืองในโอกาสครบรอบ ๙ ป การเปดทําการศาลปกครอง ในวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓ น้ัน ศ.ดร.อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด กลาววา จะมีการจัด กิจกรรมตา งๆ อาทิ ๑. การจัดแสดงนิทรรศการ “๙ ป ศาลปกครองแหงความเชื่อมั่น” โดยจะเปนการแสดง ผลงานและองคความรูตางๆ เก่ียวกับศาลปกครอง อาทิ ประวัติความเปนมาในการจัดต้ังศาลปกครอง ตัง้ แตอ ดตี – ปจ จุบัน และผลการดําเนนิ งานของศาลปกครองในดานตางๆ ไดแก ดานวิชาการ ดานการ บริหารจดั การองคกรเพือ่ ตอบสนองใหก ารอํานวยความยุติธรรมทางปกครองแกประชาชนเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเปนธรรม ตลอดจนการดําเนินงานดานการพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง กระบวนวิธีพิจารณาคดีปกครอง แนวคําวินิจฉัยของศาลปกครองท่ีเปนหลักในการปฏิบัติราชการ ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยกําหนดจัดแสดงนิทรรศการ ในระหวางวันที่ ๒ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ อาคารศาลปกครอง ชัน้ ๑ – ๓ การเวนค ืควานมอ ัรัสงบหผิาด ิรอม ยทางัร ื่อพนย วินัย กากรารปรปะกที่กคทิอดร ัรกนบอาพง:ิกรยแจคา่ีทลวกกะสาบรกการกาธุาคธาแรรรรมาลสรครคบะอามเมัสิวราธกณชาหคนาหาญสาารมราตาุมรตเิญรัรคบณาแรืแดบิัรบมาัุกสลลอติอหผแิะชะขบดงาขลดกก่ิแสรรทคะอาางทงลอางกรกราาแะงรนาแแงผัวรอนํวรริผงลผาาดนเขบุชะชนนลาเคามนืคกาิิอดีดมชัมิสคอานมนงญยงลรดพ การ ึศกษา การศ ิสาสทธินาปร ัสะงงโาคกยนามชรทนะสแเแาลบีธละะาวัยรสนฒวกัณู(านส ่ืรอปธิดโ ันรพกรภสาๆ)มรุคด ่ีท ิดน : ท่ีราช ัพส ุด การพาทณิ ัรกชาพยร ยลกิสงานรทุทุอนาตงกสปาารหเญ ิงกญรนารแ ขมลกอะากมูรกาาลคร ิกเรัลขจงคกาากวษบํรแาสตาะรลเาโระหรหแทกวขลนร็าาอะรงจคงธสรมปบํานหรานะาชก่ือนาเรคกาคนทาามณรรญๆศ ภา ีษอากรและ คากธารรรเมืลเอนีกยตั้มง

-๕- ๒. การประชุมทางวิชาการ เรื่อง “หลักการสําคัญของกฎหมายสิ่งแวดลอม และมาตรการ คุมครองทางสิ่งแวดลอม” (The Status of Environmental Law and Measures of Environmental Protection) จัดโดย ศาลปกครอง รวมกับ มูลนิธิคอนราด อาเดนาวร ประเทศไทย ในวันพฤหัสบดีท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ หองสัมมนา ชั้น ๑๑ อาคารศาลปกครอง ถนนแจงวัฒนะ โดยมีวิทยากรผูทรงคุณวุฒิประกอบดวยตุลาการศาลปกครองสูงสุด คณาจารย และนักวิชาการผูเชี่ยวชาญ ดา นกฎหมายส่ิงแวดลอมจากประเทศตา งๆ ใหเกียรตมิ าบรรยายพิเศษ และรวมอภิปรายเปน หมคู ณะ ไดแ ก ๑. Mr. Clauspeter HILL ผูแทนมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร ประจําภูมิภาค ใหเกียรติ กลาวปาฐกถานํา ในนามมลู นธิ ิคอนราด อาเดนาวร ๒. Prof. Dr. Hans D. JARASS, LL.M. ผูอ ํานวยการสถาบันสงิ่ แวดลอ มและกฎหมาย ผังเมือง มหาวิทยาลัย Münster (เยอรมนี) ใหเกียรติบรรยายพิเศษ เรื่อง “Environmental Law in Germany: Substance and Actors” ๓. Prof. Dr. Wybe Th. DOUMA หัวหนาแผนกกฎหมายยุโรป T.M.C. Asser Institute (เนเธอรแลนด) ใหเกียรติบรรยายพิเศษ เรื่อง “European Environmental Law and Its Influence on the Netherlands” ๔. การอภิปรายเปนคณะ เรื่อง “หลักการสําคัญของกฎหมายสิ่งแวดลอม และ มาตรการคุมครองทางส่ิงแวดลอมในเอเชีย” โดยมีวิทยากรนําเสนอประเด็นการอภิปรายในหัวขอ ตางๆ ประกอบดว ย ๏ “The Status of Chinese Environmental Law and Measures of Environmental Protection”โดย Prof. Dr. Jiwen CHANG ศาสตราจารย และผูอํานวยการฝายบริหาร ประจําแผนกการวจิ ัยกฎหมายสังคม สถาบนั กฎหมาย Chinese Academy of Social Sciences (จีน) ๏ “Paradigm Change of Environmental Law toward Low Carbon Green Growth: Status and Development of Environmental Law in Korea” โดย Prof. Dr. iur. Joon Hyung HONG ศาสตราจารยป ระจาํ บัณฑติ วทิ ยาลัยแหง การบริหารรัฐกิจ มหาวทิ ยาลยั แหง ชาติโซล (เกาหลี) ๏“The Development of Environmental Litigation and the Role of NonGovernmental Sector in Japan” โดย Prof. Dr. Noriko OKUBO ศาสตราจารยประจําบัณฑิต วทิ ยาลัยดา นกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลยั โอซากา (ญ่ีปนุ ) ๏“Community Right and Administrative Justice in Thai Environmental Protection” โดย นายสชุ าติ มงคลเลิศลพ ตุลาการศาลปกครองสงู สดุ (ไทย) ทั้งน้ี ประธานศาลปกครองสูงสุด เปดเผยวา การจัดใหมีการประชุมทางวิชาการในคร้ังน้ี สืบเน่ืองมาจากการที่ศาลปกครองเปนองคกรท่ีใชอํานาจตุลาการในการวินิจฉัยคดีพิพาทระหวาง หนวยงานทางปกครอง หรือเจาหนาท่ีของรัฐกับเอกชน ซ่ึงเปนขอพิพาทอันเนื่องมาจากการใชอํานาจ ทางปกครองตามกฎหมาย หรือเน่ืองมาจากการดําเนินกิจการทางปกครอง รวมท้ังมีอํานาจพิจารณา พิพากษาเร่ืองท่ีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของศาลปกครอง ท้ังน้ี ตามบทบัญญัติ

-๖- มาตรา ๒๒๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และโดยท่ีปจจุบันไดมีการ ฟองคดีปกครองเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมตอศาลปกครองมากกวา ๔,๐๐๐ คดี ซึ่งศาลไดมีคําพิพากษาและ คําสั่งในคดีที่สําคัญๆ ไปแลวหลายคดี เชน คดีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด คดีเก่ียวกับมลพิษทาง อากาศจากโรงไฟฟาถานหินแมเมาะ คดีเกี่ยวกับโรงแตงแรตะก่ัวที่ลําหวยคลิตี้ และคดีเก่ียวกับกาก กมั มันตรังสโี คบอลท ๖๐ เปน ตน ซ่งึ ปญ หาเชนวา นไ้ี ดเ กิดขน้ึ ในประเทศตางๆ ทั่วโลก ดังนั้น เพ่ือใหเกิด ความรว มมอื ทางวชิ าการในการคมุ ครองและแกไ ขปญหาสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ ในโอกาสครบรอบ ๙ ป การเปดทําการของศาลปกครอง และครบรอบ ๒๙ ป มูลนิธิคอนราด อาเดนาวร ประเทศไทย ในป ๒๕๕๓ ศาลปกครองและมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร จึงไดรวมมือกันจัดการประชุมทางวิชาการระหวาง ประเทศ ภายใตห วั ขอ “หลักการสาํ คัญของกฎหมายส่ิงแวดลอ ม และมาตรการคมุ ครองทางส่ิงแวดลอ ม” ข้นึ สําหรับผูเขารวมการประชุมทางวิชาการ จะประกอบดวยทูตานุทูต และผูแทนหนวยงาน ตางประเทศในประเทศไทย ตุลาการศาลปกครอง ผูบริหารหนวยงานภาครัฐและเอกชน นักวิชาการ นักกฎหมาย และส่ือมวลชน ประมาณ ๔๐๐ คน ซ่ึงองคความรูตางๆ ที่ไดรับจากการประชุมในครั้งนี้ จะมีรวบรวมและประมวลผลเพื่อเผยแพรตอสาธารณชนตอ ไป นวัตกรรมใหมใ นการบริหารงานของศาลปกครอง : ปฏิบตั กิ ารทางการบรหิ าร (Management Cockpit) ภายหลังจบการแถลงขา วตอ สื่อมวลชนในครงั้ นีแ้ ลว ศ.ดร.อักขราทร จุฬารัตน พรอมดวยคณะ ผูบริหารระดับสูง ขาราชการ และส่ือมวลชน ไดรวมกันประกอบพิธีเปดการใชงานหองปฏิบัติการ ทางการบริหาร หรือ Management Cockpit ของศาลปกครอง ซึ่งเปนนวัตกรรมอันทรงคุณคาอีก อยางหนึ่งท่ีศาลปกครองไดพัฒนาขึ้นในโอกาสวาระครบรอบ ๙ ป เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานของ ศาลปกครอง โดยแนวความคิดในการพัฒนาหองปฏิบัติการทางการบริหารดังกลาวเปนดําริของ ศาสตราจารย ดร.อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด ที่ไดเล็งเห็นความสําคัญของการนํา เทคโนโลยีและเครื่องมือทางการบริหารจัดการสมัยใหม มาประยุกตใชกับการบริหารยุทธศาสตรของ ศาลปกครองโดยเฉพาะการบรหิ ารจัดการคดใี หเกดิ ประโยชนสงู สุดแกป ระชาชน หองปฏิบัติการทางการบริหารของศาลปกครอง เปนหองประชุมเพื่อการตัดสินใจ (Decision Room) ของผูบริหารระดับสูงของศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครอง ตั้งอยูบริเวณ ชั้น ๕ อาคาร ศาลปกครอง ถนนแจงวัฒนะ กรุงเทพฯ ภายในหองปฏิบัติการไดรับการออกแบบใหเปนหองประชุม ในลักษณะ War Room มีขนาดกะทดั รดั พรอ มท้งั ไดจ ัดสภาพแวดลอมภายในหอ งประชุมใหเอื้ออํานวย ตอการรับรูขอมูล โดยมีขอมูลหลัก ๕ กลุมเรื่อง คือ ขอมูลดานนโยบายและ ขอราชการสําคัญของ ผูบริหารระดับสูง ขอมูลดานยุทธศาสตร แผนดําเนินงาน และขอตกลงการปฏิบัติราชการ ขอมูลดาน คดีปกครอง ขอมูลดานการบริหารจัดการองคกร และขอมูลดานสภาพแวดลอมภายนอกที่มีผลกระทบ ตอองคกร ประเด็นขอมูลที่ผูบริหารจะพิจารณาในการประชุมแตละวาระ จะถูกนําเสนอในรูปแบบกราฟ

-๗- หรือแผนภูมิตางๆ ในมุมมองอัจฉริยะ ผานจอ LCD ซ่ึงมีจํานวน ๑๒ จอภาพ และจอรับภาพ โปรเจคเตอรขนาด ๘๐ นิ้ว อีก ๑ จอภาพ โดยใชซอฟแวร Oracle Business Intelligence ในการจัดทํา คลงั ขอ มูล (Data Warehouse) และการนําเสนอขอ มูล ประโยชนสําคัญของหองปฏิบัติการทางการบริหาร นอกจากทําใหผูบริหารระดับสูงไดรับทราบ ขอมูลเพื่อการตัดสินใจท่ีมีความแมนยํา ชัดเจน และทันทวงที ชวยลดภาระดานเวลาของผูบริหาร ซึ่งเปนเปาหมายหลักของหองปฏิบัติการทางการบริหารแลว ยังเปนกลไกสําคัญในการสนับสนุน ขบั เคลื่อนและพัฒนามาตรฐานงานดานอ่นื ขององคก รของศาลปกครองอกี ดว ย มุมมองและวิสัยทศั นข องประธานศาลปกครองสงู สดุ ในโอกาสทศ่ี าลปกครองจะกาวสู “หน่งึ ทศวรรษ” ในอกี หน่งึ ปข างหนา ศ.ดร.อักขราทร จฬุ ารตั น ประธานศาลปกครองสงู สุด ไดกลา วถึงวิสัยทัศนใ นการทํางานตอสอื่ มวลชนดังนว้ี า ปพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓ เปนตนไป ศาลปกครองจะกาวสู “ทศวรรษใหมอ นั เปนทศวรรษแหง การพัฒนาเพื่อใหเกิดความเชื่อม่ันย่ิงข้ึน” โดยการทํางานของศาลปกครองจะยึดม่ันในนโยบายและ แนวทางหลัก ๕ ประการ เพ่ือใหกระบวนการยุติธรรมทางปกครองเปนท่ีเช่ือมั่นของประชาชนอยาง ยั่งยืน ดงั น้ี หนึ่ง ตุลาการศาลปกครองและเจาหนาท่ีที่เกี่ยวของกับงานคดีปกครอง จะไดรวมกันศึกษา ปญหาและแนวทางแกไขเพ่ือใหไดแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการคดีใหเปนไปดวยความรวดเร็ว และมปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ขึ้น สอง พัฒนาองคความรูดานกฎหมายมหาชนและดานวิชาการตางๆ และเสริมสรางความ สมั พนั ธแ ละเครอื ขายความรวมมือระหวางประเทศเพือ่ ประโยชนใ นการพัฒนางานดานวิชาการ สาม จัดตั้งศาลปกครองชั้นตนในภูมิภาคเพ่ิมขึ้น เพื่อใหประชาชนและหนวยงานของรัฐไดรับ การบริการดานความยุติธรรมทางปกครองอยางสะดวก รวดเร็ว และทั่วถึงมากขึ้น โดยคํานึงถึงจํานวน และลักษณะคดีปกครอง จํานวนประชากร และการคมนาคมของทองท่ีเพื่อใหเหมาะสมกับพ้ืนท่ีที่จะมี การจัดตง้ั ขน้ึ สี่ ยึดมั่นเจตจํานงอยางแนวแนในอันที่จะเสริมสรางความรูความเขาใจงานของกระบวนการ ยุติธรรมทางปกครองใหเปนท่ีรับรูและเขาใจอยางกวางขวางดวยวิถีทางตางๆ เพื่อใหประชาชนใชสิทธิ หรือเสรีภาพ หรือประโยชนอันชอบดวยกฎหมายของตนได และใหการบริหารราชการแผนดินอยู ภายใตหลักธรรมาภบิ าลที่ดี และหา ปรับปรุงกระบวนงานตา ง ๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีความคาดหวังและความพึง พอใจของประชาชนเปนเปาหมาย ตลอดจนการสํารวจรับฟงความคิดเห็นเก่ียวกับการทําหนาท่ีของ ตุลาการศาลปกครองในทุกดานอยางตอเน่ือง เพื่อใหศาลปกครองสามารถยืนหยัดในการปฏิบัติหนาท่ี ไดอ ยางถูกตองสมบรู ณ