Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัย-สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจำวันฯ - อ.ทศพล

รายงานวิจัย-สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจำวันฯ - อ.ทศพล

Published by E-books, 2021-03-02 07:08:37

Description: รายงานวิจัย-สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจำวันฯ-ทศพล

Search

Read the Text Version

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เร่ือง สภาพปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจาํ วันของประชาชน และแนวทางการใชห้ ลักกฎหมายเบ้ืองต้น ในการแก้ไขปญั หา โดย ทศพล ทรรศนกุลพนั ธ์ เมษายน 2554 สนับสนนุ ทนุ วิจัยโดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

สภาพปญั หาทางกฎหมายในชวี ติ ประจาํ วนั ของประชาชน และแนวทางการใชห้ ลกั กฎหมายเบอื้ งต้นในการแกไ้ ขปญั หา ทศพล ทรรศนกลุ พนั ธ์

คาํ นํา หากมองย้อนกลับไปสํารวจงานวิชาการเก่ียวกับความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมาย จะ พบความกว้างและครอบคลุมของเนื้อหาในการอธิบายลักษณะท่ัวไปของเน้ือหาเพ่ือเป็น ประโยชน์ต่อผู้ศึกษากฎหมาย หรือผู้ท่ตี ้องศึกษากฎหมายเพ่ือเป็นฐานความรู้ในการสร้างความ เข้าใจศาสตร์อื่นๆที่เก่ียวกับสังคม แต่งานส่วนใหญ่ในวงการยังขาดมิติในเชิงลึกในแง่ของการ พยายามทําความเข้าใจร่วมกับผู้อ่าน หรือการสํารวจถึงความจําเป็นของผู้ท่ีต้องการศึกษา กฎหมายเพ่ือตอบปัญหาทางกฎหมายท่ีเกิดข้ึน หรืออาจเกิดข้ึนกับชีวิตของประชาชน ท่ัวไป งานวิจัยฉบับนี้จึงมุ่งสํารวจความจําเป็นและความต้องการของประชาชนในการนํา ความรู้เบ้ืองต้นทางกฎหมายไปใช้เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมายที่เกิดข้ึนกับชีวิตประจําวันของ ประชาชน ซงึ่ วีการวิจัยได้ทาํ บนพื้นฐานงานวิจัยเชิงคุณภาพที่เจาะลึกเข้าไปถึงสภาพปัญหาทาง กฎหมายทเี่ กิดข้ึนกับบคุ คลจากกรณีศึกษากว่า 2,197 เร่ือง นอกจากน้ียังมีการสรุปภาพรวมในเชิงสถิติให้เห็นถึงปัญหาทางกฎหมายหลักๆที่มัก เกิดข้ึนกับประชาชน โดยกระบวนการศึกษาท้ังหลายได้คล่ีคลายมาสู่การแสวงหาแนวทางใน การสร้างความรู้พื้นฐานทางกฎหมายท่ีสําคัญๆเพื่อนํามาตอบกหรือแก้ไขปัญหาทางกฎหมาย เหล่าน้ันได้โดยท่ีไม่จําเป็นต้องศึกษากฎหมายท้ังระบบเสียก่อน งานวิจัยฉบับน้ีจึงมี วัตถุประสงค์อยู่ท่ีการสร้างแนวทางในการแก้ไขปัญหาชีวิตประจําวันให้กับประชาชน และอาจ นําไปสู่แนวทางการจัดหลักสูตรความรู้เพื่อการอบรมหรือสอนเป็น วิชาทางกฎหมายเบ้ืองต้น สํ า ห รั บ บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป ท่ี ส น ใ จ นํ า ค ว า ม รู้ เ บ้ื อ ง ต้ น ท า ง ก ฎ ห ม า ย ไ ป แ ก้ ปั ญ ห า ใ น ชีวิตประจําวัน งา น วิ จั ย ฉ บั บ นี้ ไ ด้ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น ทุน ดํ า เ นิ น ก า ร จ า ก ค ณ ะ นิ ติ ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทศพล ทรรศนกุลพนั ธ์ เมษายน 2554

สารบัญ เรอื่ ง หน้า 1 บทนํา ทม่ี าและลกั ษณะของงานวิจัย 1 2 สภาพปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจําวนั ของประชาชน 1. สถิติปญั หาทางกฎหมายท่ปี ระชาชนพบจากการรวบรวมความเรียงของ นกั ศึกษา 8 2. สถิติปัญหาทางกฎหมายท่เี ข้าสู่กระบวนการทางกฎหมาย 10 2.1) ศาลปกครอง 11 2.2) ศาลยตุ ิธรรม 12 2.3) สถานีตาํ รวจ 15 3 วิเคราะห์การเรียนการสอน และ เอกสารเกย่ี วกบั หลักกฎหมายเบ้อื งตน้ ในการแก้ไขปญั หา 1. สภาพปญั หาทางกฎหมายทอ่ี าจารย์ผู้สอนวิชาความรู้กฎหมายเบื้องต้นตระหนกั 18 2. สภาพปัญหาทางกฎหมายท่วี รรณกรรมความรู้กฎหมายเบื้องต้นตระหนกั ถึง 23 4 การวิเคราะหก์ รณีศึกษาทางกฎหมายทป่ี รากฏในชีวิตประจาํ วันของประชาชน 1. กรณีศึกษาปญั หาด้านกระบวนการทางกฎหมาย 27 1.1) ปญั หาในกระบวนการทางกฎหมายมหาชนและปกครอง 27 1.2) ปญั หาในกระบวนการทางอาญา 30 1.3) ปญั หาในกระบวนการทางแพ่งและพาณิชย์ 37 1.4) ปญั หาในกระบวนการแพ่งเกย่ี วเน่อื งอาญา 39 2. กรณีศึกษาปญั หาด้านกฎหมายมหาชน 41 2.1) สัญญาทางปกครอง 41 2.2) คาํ ส่งั ทางปกครอง 42 2.3) การกระทาํ ทางปกครอง 44 2.4) ปญั หาเกย่ี วกบั รฐั และการใช้สิทธิพลเมืองและการเมือง 47

สารบัญ (ตอ่ ) 52 3. กรณีศึกษาปัญหาด้านกฎหมายอาญา 52 56 3.1) เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่โี ดยมิชอบ 57 3.2) ความผิดต่อความมนั่ คงและความสงบเรียบร้อย 59 3.3) ความผิดต่อชีวิต 64 3.4) ความผิดต่อเน้ือตวั ร่างกาย 66 3.5) ความผิดต่อเพศ 68 3.6) ความผิดต่อเสรีภาพและชอื่ เสียงเกียรติยศ 76 3.7) ความผิดต่อทรัพย์ 79 3.8) ความผิดต่อเอกสาร 81 3.9) ความผิดลหโุ ทษ 81 4. กรณีศึกษาปญั หาด้านกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 83 4.1) บุคคล 85 4.2) ครอบครัว 88 4.3) หุ้นส่วน บริษทั 97 4.4) นิติกรรมสัญญา 104 4.5) หนี้ 113 4.6) ทรัพย์สิน ทรพั ย์สินทางปญั ญา 119 4.7) นิติเหตุ – ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ 120 4.8) เอกสาร ต๋ัวเงิน เชค็ บตั รเครดิต 123 4.9) มรดก พินยั กรรม 125 4.10) การใช้สิทธิ บงั คบั ตามสิทธิ และปัดป้องสิทธิ ทั่วไป 125 5. กรณีศึกษาปญั หาด้านกฎหมายเฉพาะทม่ี ักพบ 133 5.1) จราจรทางบก 140 5.2) คดีผู้บรโิ ภค 5.3) คดีแรงงาน

สารบญั (ต่อ) 5 การสงั เคราะห์แนวทางการใชห้ ลักกฎหมายเบอ้ื งต้นเพอ่ื แก้ไขปญั หาในชีวิตประจาํ วัน 1. แนวทางการแบ่งแยกลักษณะแห่งคดี 143 2. การนาํ หลกั กฎหมายเบื้องต้นมาใช้กับข้อเท็จจริง 143 3. วิธีการใช้สิทธิ 144 4. การบังคับตามสิทธใิ นช่องทางท่กี ฎหมายรบั รอง 144 5. ข้อสงั เกต บทเรียน และการบรู ณาการองค์ความรู้ทางกฎหมาย 145 6. บรู ณาการองค์ความรู้และหลกั กฎหมายท่จี ําเปน็ ต่อการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจําวนั 146 6.1) กฎหมายจราจรกับชีวิตประจาํ วนั ของเรา 146 6.2) ความไม่เป็นธรรมทเ่ี กิดข้ึนได้กับชีวิตของทุกคน 146 6.3) สิทธิของเราถ้ามีคนอ่นื มาเอาไปจะทํายงั ไง 146 6.4) บางคนมีหน้าทต่ี ้องทาํ แตไ่ ม่ทําจนเสียหาย จะทําไง 147 6.5) กิจการได้ประโยชน์จากเราไปแล้วต้องมีหน้าทใ่ี ดอีก 147 6.6) ถ้าความโชคร้ายมาเยือนเราจะพ้นความผิดได้อย่างไร 147 6.7) หากสัญญาไม่เป็นสัญญา คู่กรณไี ม่มาตามนดั 148 6.8) คนจากไป ปัญหากลบั เกิดข้ึนกบั คนท่อี ยู่ข้างหลงั 148 6.9) การกระทําทางแพ่งถ้าไม่สจุ ริตจะมีผลอย่างไร 148 6.10) ความไวใ้ จในเรอ่ื งทรพั ย์สินเงินทองไม่ควรมีกบั เพ่ือน 149 6.11) ทรัพย์สินเปล่ยี นมือ เราต้องรบั ผิดจากทรพั ย์สินอีก? 149 6.12) เกิดความเสียหายจะชดใช้กนั อย่างไร 149 6.13) ความเสียหายทเ่ี กิดข้ึนจากความประมาท 150 6.14) การอ้างสิทธิ ใช้สิทธิ และบงั คับตามสิทธิ 150 6.15) ความทกุ ข์ร้อนท่เี กิดข้ึนจะแกไ้ ด้อย่างไร 150 6 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 152 7 บรรณานกุ รม 163 8 ภาคผนวก

สารบัญ กรณีศึกษา เรื่อง หน้า 1. กรณีศึกษาปัญหาด้านกระบวนการทางกฎหมาย 1.1) ปญั หาในกระบวนการทางกฎหมายมหาชนและปกครอง 1.1.1) โรงแรมทําเหตขุ ยะ, เสียง, แจ้งผู้ตรวจ ……………………………………………………………………. 27 1.1.2) การทาํ งานในระบบการศึกษา …………………………………………………………………………………. 28 1.1.3) เสียเวลา …………………………………………………………………………………………………………………… 29 1.2) ปญั หาในกระบวนการทางอาญา 1.2.1) ถูกจบั โดยไม่ได้แจ้งสิทธิ ………………………………………………………………………………………….. 30 1.2.2) ตาํ รวจค้นบ้าน , พบของผิดกฎหมายไม่ตรงกับหมายศาล ……………………………………… 30 1.2.3) ตาํ รวจปรกั ปรําตัวการรว่ มค้ายาบ้า , ทนายฉ้อโกง , ติดคุก …………………………………. 31 1.2.4) ตํารวจค้นโดยมิชอบ , แรงงาน , รีดทรัพย์ …………………………………………………………….. 32 1.2.5) แจ้งข้อกลา่ วหาผิด…………………………………………………………………………………………………. 33 1.2.6) ฆาตกรรมอําพราง , ทาํ ลายหลักฐาน…………………………………………………………………….. 33 1.2.7) คดีฆาตกรรมเจ้าหน้าทีไ่ มด่ ําเนินคดี………………………………………………………………………… 34 1.2.8) ทะเลาะวิวาท เจ้าพนักงานมิชอบ……………………………………………………………………………. 34 1.2.9) ทําดีแล้วไม่ได้ดี………………………………………………………………………………………………………. 35 1.2.10) ลา่ ช้า……………………………………………………………………………………………………………………. 36 1.2.11) เลือกปฏิบตั ิ…………………………………………………………………………………………………………… 36 1.3) ปัญหาในกระบวนการทางแพ่งและพาณิชย์ 1.3.1) รถชน , ละเมิด , ไมไ่ ด้ Punitive Damage ………………………………………………………………. 37 1.3.2) สญั ญาคํ้าประกนั ซื้อรถ , เจ้าพนกั งานรบั สินบน, ทนายขม่ ขู่ …………………………………. 38 1.3.3) ทาํ ร้ายสัตว์ …………………………………………………………………………………………………………… 38

1.4) ปญั หาในกระบวนการแพง่ เกย่ี วเน่อื งอาญา 39 1.4.1) รถชนอีกฝ่ายเมา , เจ้าพนักงานปฏิบัติมิชอบ…………………………………………………………… 40 1.4.2) ชนแล้วหนี…………………………………………………………………………………………………………….. 41 1.4.3) เพลิงไหม้ , โดยประมาท, ละเมิด.………………………………………………………………………… 41 2. กรณีศึกษาปญั หาด้านกฎหมายมหาชน 2.1) สัญญาทางปกครอง 42 43 2.1.1) น้าํ ประปา……………………………………………………………………………………………………………….. 44 2.2) คาํ สั่งทางปกครอง 44 2.2.1) อยากมีใบขบั ขี่ ………………………………………………………………………………………………………. 45 2.2.2) ทีส่ าธารณะ, ทําให้เสียทรพั ย์, เดือดร้อนรําคาญ……………………………………………………. 46 2.2.3) สิทธิพิเศษของบุตรราชการสญั ญาบัตร …………………………………………………………………. 46 2.3) การกระทาํ ทางปกครอง 2.3.1) การเพิกเฉยขององค์การบริหารสว่ นตาํ บล……………………………………………………………… 47 2.3.2) คนชราไมไ่ ด้รบั สิทธิในสวสั ดิการของรัฐ ………………………………………………………………… 48 2.3.3) อาจารย์ เลือกปฏิบัติ ……………………………………………………………………………………………. 48 2.3.4) โรงงานเสียงดงั เดือดร้อนราํ คาญ ………………………………………………………………………… 49 2.4) ปญั หาเก่ียวกบั รัฐ และการใช้สิทธิพลเมืองและการเมือง 50 2.4.1) สิทธิชุมชน , ประกอบอาชีพภาษีสรรพสามิตสรุ า……………………………………………………. 50 2.4.2) สิทธิทางการแพทย์ ……………………………………………………………………………………………….. 51 2.4.3) สิทธิในการรักษาพยาบาลไม่เทา่ เทียมกนั ………………………………………………………………. 51 2.4.4) เทศบาลสญั ญาจะทําถนน แต่ชํารดุ ………………………………………………………………………. 2.4.5) เหยียดสีผิว................................................................................................... 2.4.6) ถูกข่มขู่ …………………………………………………………………………………………………………….. 2.4.7) ปิดถนน ………………………………………………………………………………………………………………….. 2.4.8) ไม่มีเส้นสาย…………………………………………………………………………………………………………….

3. กรณีศึกษาปญั หาด้านกฎหมายอาญา 52 3.1) เจ้าพนักงานปฏิบัติหนา้ ทีโ่ ดยมิชอบ 53 53 3.1.1) อัยการเรียกรับเงิน………………………………………………………………………………………………….. 53 3.1.2) ดา่ นลอย , เจ้าพนกั งานประพฤติมิชอบ , ทาํ ร้าย …………………………………………………… 54 3.1.3) ต้ังดา่ นผิดกฎหมาย ………………………………………………………………………………………………. 54 3.1.4) เจ้าพนกั งานปฏิบตั ิมิชอบ……………………………………………………………………………………….. 3.1.5) วิ่งราว, เจ้าหน้าทีเ่ พิกเฉย……………………………………………………………………………………….. 56 3.1.6) เจ้าหน้าทีป่ ฏิบัติหน้าทีม่ ิชอบ ................................................................................. 57 3.2) ความผิดต่อความมัน่ คงและความสงบเรียบร้อย 57 3.2.1) รัฐอายัดเงินตาม กม ฟอกเงิน ในสถานการณ์ฉุกเฉิน……………………………………………… 58 3.3) ความผิดตอ่ ชีวิต 3.3.1) ถกู ยิง , ยกครอบครวั หนี, คดีไม่คืบหน้า ………………………………………………………………… 59 3.3.2) ลอบฆ่า ……………………………………………………………………………………………………………….. 59 3.3.3) ฆ่า, อิทธิพล, ทีด่ ิน, สิทธิชมุ ชน……………………………………………………………………………….. 60 3.4) ความผิดต่อเนือ้ ตวั รา่ งกาย 61 3.4.1) ความรนุ แรงในครอบครวั ……………………………………………………….……………………………… 62 3.4.2) ถกู ทาํ ร้าย …………………………………………………………………………………………………………….. 3.4.3) ทะเลาะวิวาท ชลุ มุน อ้างทาํ ร้าย และ ป้องกนั เกินสมควร …………………………………….. 63 3.4.4) ทําร้ายรา่ งกาย , เจ้าพนักงานประพฤติมิชอบ, วิ.อาญา ความปลอดภัยพยาน……… 64 3.4.5) ป้องกนั , บกุ รุก , ทําร้าย , สญั ญา , กู้ยืม , ดอกเบ้ีย ………………………………………….. 64 3.5) ความผิดตอ่ เพศ 65 3.5.1) ข่มขืนอนาจาร เจ้าพนกั งานปฏิบัติหน้าทีโ่ ดยมิชอบ ทนายผิดจริยธรรม ………………… 3.5.2) บังคับให้แต่งงาน …………………………………………………………………………………………………. 3.5.3) พยายามข่มขืน , ล้มคดีเงิน (เจ้าทกุ ข์ยินยอม)………………………………………………………. 3.5.4) พยายามขม่ ขืน, ล้มคดี …………………………………………………………………………………………

3.6) ความผิดตอ่ เสรีภาพและชือ่ เสียงเกียรติยศ 66 3.6.1) สิทธิในชื่อเสียงเกียรติยศ ข่มขู่ , ขม่ ขืน………………………………………………………………….. 66 3.6.2) ขู่ฆ่า………………………………………………………………………………………………………………………. 67 3.6.3) พรากผู้เยาว์และล่อล่วง………………………………………………………………………………………… 68 3.7) ความผิดตอ่ ทรพั ย์ 68 3.7.1) ทีด่ ิน ผิดตอ่ ทรพั ย์………………………………………………………………………………………………….. 69 3.7.2) รถหาย …………………………………………………………………………………………………………….….. 70 3.7.3) ยกั ยอกเงิน , ปรักปรํา , พักงาน , เลิกจ้าง ………………………………………………………….. 71 3.7.4) ทาํ ร้าย , ขโมยรถ , ซ้ือต่อของโจร ………………………………………………………………………. 71 3.7.5) ชิงทรัพย์ ……………………………………………………………………………………………………………… 72 3.7.6) ฉ้อโกง …………………………………………………………………………………………………………………. 73 3.7.7) โกงข้าว………………………………………………………………………………………………………………….. 73 3.7.8) ของหายในห้างสรรพสินค้า…………………………………………………………………………………… 74 3.7.9) ลกั ทรพั ย์ ทาํ ร้ายรา่ งกายเจ้าพนกั งานไมเ่ ปน็ ธรรม……………………………………………….. 75 3.7.10) รับซ้ือของโจรโดยไม่รู้……………………………………………………………………………………….... 3.7.11) ลกั บัตรเครดิตไปรดู เงิน , เจ้าพนกั งานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ…………………………….. 76 76 3.8) ความผิดตอ่ เอกสาร 77 3.8.1) เชค็ เด้ง…………………………………………………………………………………………………………………… 78 3.8.2) ปลอมเอกสาร , ฉ้อโกง, ยักยอก, เชค็ เด้ง , ขู่ฆา่ ……………………………………………….. 79 3.8.3) หนี้จํานอง , ปลอมลายน้ิวมือ, ฉ้อฉล , เซ็น ………………………………………………………… 3.8.4) ฉ้อโกง ………………………………………………………………………..……………………………………….. 79 3.8.5) โดนแอบอ้าง ……………………………………..……………………………………..………………………… 80 3.9) ความผิดลหโุ ทษ 3.9.1) เมายา , เดือดร้อน,เจ้าพนกั งานไกลเ่ กลีย่ ……………………………………..……………………… 3.9.2) ฉีกบตั รเลือกตั้ง ……………………………………..……………………………………..…………………….

4. กรณีศึกษาปญั หาดา้ นกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 81 4.1) บคุ คล 81 81 4.1.1) นาง ,นางสาว……………………………………..……………………………………..…………………………… 82 4.1.2) บคุ คลที่ถูกลืม ……………………………………..……………………………………………………………….. 82 4.1.3) ท้องแล้วไมร่ ับผิดชอบ ……………………………………..…………………………………………………… 83 4.2) ครอบครวั 83 4.2.1) ชีวิตสมรส ……………………………………..……………………………………………………………………… 84 4.2.2) ฟ้องหยา่ ……………………………………..……………………………………………………………………….. 84 4.2.3) หย่าร้าง , สินสมรส , ทรพั ย์ทีด่ ิน , อสงั หาริมทรัพย์ ………………………………………….. 85 4.2.4) รบั ภาระหนี้แทนสามี ……………………………………..……………………………………………………… 85 4.3) หุ้นสว่ น บริษัท 86 4.3.1) หุ้นฯ , กู้ยืม, ทะเลาะและทําร้าย , บุกรุก................................................................ 87 4.3.2) โกงกันได้ ……………………………………..……………………………………………………………………….. 88 4.3.3) หุ้นส่วน ฉ้อโกง . ……………………………………..…………………………………………………………… 88 4.4) นิติกรรมสญั ญา 88 4.4.1) ประกันโกง , สิทธิในการแตง่ กาย …………………………………………………………………………. 89 4.4.2) สญั ญาหอพกั ไม่ชดั , เปลีย่ นเงือ่ นไขโดยไมบ่ อกก่อน , ไม่คืนประกนั …………………….. 90 4.4.3) สญั ญาลมปาก ……………………………………………………………………..………………………………… 90 4.4.4) พืชผลการเกษตร ……………………………………..………………………………………………………….. 91 4.4.5) ฉ้อโกง ……………………………………..………………………………………………………………………….. 91 4.4.6) เช่าทําร้าน , ลูกเจ้าของอยู่ต่อใช้นํ้าและไฟเกิน, บอกเลิกสัญญา กะทันหัน,ไม่ให้ ถอดอปุ กรณ์ 92 4.4.7) หลอกให้มาเข้ากลุ่มขายตรงโกงคา่ สมคั ร กกั ขังหนว่ งเหนีย่ ว.................................. 94 4.4.8) ข้อขดั แย้ง ,สัญญาซื้อขาย ……………………………………..…………………………………………….. 94 4.4.9) สัญญาซื้อขาย , ยักยอก , ฉ้อโกง . ……………………………………..………………………………. 95 4.4.10) สญั ญาซื้อขายสินค้าผิดกฎหมาย , ยักยอก , ฉ้อโกง……………………………………………

4.4.11) แมว……………………………………..………………………………………………………………………………. 96 4.4.12) หมอดฉู ้อโกง ……………………………………..………………………………………………………………. 96 4.5) หนี้ 97 4.5.1) ยืมเงิน , ทาํ ร้าย , ข่มขู่ ……………………………………..…………………………………………………. 97 4.5.2) หน้ีเงินกู้นอกระบบ ……………………………………..……………………………………………………….. 98 4.5.3) เชค็ เด้ง , หน้ีสญู , ประนอมหน้ี …………………………………………………………………………… 98 4.5.4) ฉ้อโกง……………………………………..……………………………………………………………………………. 99 4.5.5) หนีหน้ี ฉ้อโกง หลอกลวง……………………………………..………………………………………………… 99 4.5.6) กู้เงิน , สญั ญา, ระงับข้อพิพาท ……………………………………..…………………………………… 99 4.5.7) สญั ญาคํ้าประกัน , สามีผู้ซ้ือขโมยรถหนี , เจ้าพนกั งานไม่รบั แจ้งความรถหาย…. 101 4.5.8) รับซอ่ ม , เอารถไปชน ……………………………………..………………………………………………….. 102 4.5.9) สญั ญา คํ้าประกนั ฉ้อโกง……………………………………..………………………………………………… 103 4.6) ทรพั ยส์ ิน และ ทรัพยส์ ินทางปัญญา 104 4.6.1) ต้นไม้เปน็ เหตุ……………………………………..…………………………………………………………………. 104 4.6.2) ภาระจํายอมในที่ดิน……………………………………..………………………………………………………. 104 4.6.3) ซ้ือขายสังหาริมทรัพย์, ทะเบียน …………………………………………………………………………. 105 4.6.4) แย่งที่ดิน ……………………………………..………………………………………………………………………. 106 4.6.5) ภาระจํายอมในมรดก ……………………………………..…………………………………………………… 107 4.6.6) สังหาริมทรัพย์ในที่ดิน ……………………………………..…………………………………………………. 108 4.6.7) วัดและการจัดการทรัพย์สิน ……………………………………..…………………………………………. 108 4.6.8) ละเมิดลิขสิทธิ์ ……………………………………..………………………………………………………………. 109 4.6.9) ละเมิดทรพั ย์สินทางปัญญา ……………………………………..…………………………………………. 110 4.6.10) ซ้ือขาย , รับของโจร , ละเมิดไลเ่ บ้ีย ……………………………………..…………………………… 110 4.6.11) กลฉ้อฉลชิงทีด่ ิน, อายุความแพง่ ……………………………………..………………………………….. 111 4.6.12) สิทธิในที่ดินเอกชน-เอกชน , รัฐ-เอกชน ……………………………………..…………………….. 112 4.6.13) บกุ รกุ ทีด่ ินป่าสงวนแต่ขายไปแล้ว……………………………………………………………………….. 113

4.7) นิติเหตุ – ละเมิด จัดการงานนอกส่งั ลาภมิควรได้ 113 4.7.1)หมอมาช้า พยาบาลไม่ทาํ อะไร ญาติเลยตาย……………………………………………………….. 113 4.7.2) ความเสียหายจากการบริการทางการแพทย์ ………………………………………………………. 114 4.7.3) สุนัขตัดหน้า ………………………………………………………………………………………………………….. 115 4.7.4) รบั จ้างขนของ ………………………………………………………………………………………………………. 115 4.7.5) รบั ผิดไปด้วย……………………………………………………………………………………………………………. 116 4.7.6) สัญชาติ , รถชนเพราะเอาทรายมากอง…………………………………………………………………. 117 4.7.7) ชนแล้วไมร่ ับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………… 118 119 4.8) เอกสาร ตวั๋ เงิน เชค็ บัตรเครดิต 119 4.8.1) โกงผู้บริโภคบัตรเครดิต โกงประกัน ……………………………………………………………………. 119 4.8.2) ไมร่ ับเงินเหรียญ 50 สตางค์ ……….………………………………………………………………………. 120 120 4.9) มรดก พินยั กรรม 121 4.9.1) มรดกและพินัยกรรมปากเปลา่ , แบง่ ไมเ่ ป็นธรรม ………………………………………………. 121 4.9.2) มรดกปากเปลา่ , นามสกลุ แมไ่ มต่ รง , มรดกไมแ่ บ่งตาม , อายุในการรบั …………… 122 4.9.3) มรดกปากเปลา่ ,อีกฝ่ายเป็นผู้จัดการแต่แบง่ มิชอบ………………………………………………. 123 4.9.4) ถูกบกุ รกุ บ้าน ……………………………………………………………………………………………………….. 123 123 4.10) การใช้สิทธิ บังคบั ตามสิทธิ และปัดป้องสิทธิ ทว่ั ไป 124 4.10.1) กู้ดอกเบี้ยสงู สง่ คนมากรรโชกทรัพย์ ………………………………………………..................... 125 4.10.2) ผิดสัญญา …………………………………………………………………………………………………………… 125 4.10.3) ลัดคิว ………………………………………………………………………………………………………………….. 125 126 5. กรณีศึกษาปญั หาดา้ นกฎหมายเฉพาะท่มี ักพบ 127 5.1) จราจรทางบก 128 5.1.1) ละเมิดรถชน , เจ้าพนักงาน , กระบวนยตุ ิธรรม …………………………………………………… 5.1.2) รถชน………………………………………………………………………………………………………………………… 5.1.3) ชนแล้วไมร่ ับผิด ……………………………………………………………………………………………………. 5.1.4) เมาแล้วขับ , เจ้าพนักงานเลือกปฎิบตั ิ …………………………………………………………………..

5.1.5) ผิดด้วยหรือ ………………………………………………………………………………………………………….. 128 5.1.6) จราจร , แก้ข้อเท็จจริง ………………………………………………………………………………………… 129 5.1.7) ตั้งด่านจราจรไม่ชอบด้วยกฎหมาย……………………………………………….......................... 130 5.1.8) รถตู้ตดั หน้า ………………………………………………………………………………………………………….. 130 5.1.9) รถชน , เจ้าพนกั งานล่าช้า ……………………………………………………………………………………. 131 5.1.10) ละเมิดจราจร ,เจ้าพนักงานมิชอบ………………………………………………………………………. 131 5.1.11) ละเมิดรถชน, เจ้าพนกั งานปฏิบัติมิชอบ …………………………………………………………….. 132 5.2) คดีผู้บริโภค 133 5.2.1) สญั ญาประกนั ……………………………………..………………………………………………………………. 133 5.2.2) สัญญาไม่เปน็ ธรรม ……………………………………………………………………………………………… 133 5.2.3) อู่ซอ่ มรถหลอกเอาเงิน …………………………………………………………………………………………. 134 5.2.4) ซิมส์โทรศัพท์ฟรี ………………………………………………………………………………………………….. 135 5.2.5) ผู้บริโภคถูกสวมสิทธิ……………………………………………………………………………………………… 135 5.2.6) ถูกโกงค่าไฟหอพัก ……………………………………………………………………………………………….. 135 5.2.7) การให้บริการอินเตอร์เน็ท ……………………………………………………………………………………… 137 5.2.8) การบริการขนสง่ สาธารณะ …………………………………………………………………………………… 137 5.2.9) ค้ากาํ ไรเกินควร ……………………………………………………………………………………………………. 138 5.2.10) การบริการไม่เป็นธรรม ……………………………………………………………………………………… 138 5.2.11) โรงเรียนกวดวิชาหลอก ……………………………………………………………………………………… 139 5.3) คดีแรงงาน 140 5.3.1) สญั ญาแรงงาน ……………………………………..…………………………………………………………….. 140 5.3.2) กดกันให้ออกเอง ……………………………………..………………………………………………………….. 141

บทท่ี 1 บทนาํ ทีม่ าและลกั ษณะของงานวิจยั 1. ชอ่ื โครงการ (ไทย) สภาพปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน และแนวทางการใช้ หลักกฎหมายเบื้องต้นในการแกไ้ ขปัญหา (องั กฤษ) The problems of day-life legal suffering experience from people and the guideline to resolve problems by basic legal principle. 2. ผู้วิจยั นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ช่อื หัวหน้าโครงการ 089-7715710 หน่วยงาน - โทรศัพท์ [email protected] โทรสาร E-mail 3. ความสาํ คญั และทม่ี าของปัญหาที่ทาํ การวิจัย เดิมการเรียนการสอนในวิชาความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมาย (176101) สําหรับ นักศึกษาจากคณะอ่ืนๆ ท่ีมิใช่นักศึกษากฎหมายในคณะนิติศาสตร์ นั้นมักข้ึนอยู่กับตัวผู้สอน หรือแบบเรียนความรู้เบ้ืองต้นด้านกฎหมายท่ีมีอยู่ทั่วไปในท้องตลาดว่าจะกําหนดขอบเขตของ เน้ือหาอย่างไร ซ่ึงอาจไม่ตรงกับความสนใจหรือความต้องการของผู้เรียน ผู้วิจัยพบว่าจาก ความเรียงของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาน้ีกบั ข้าพเจ้านับพันชิ้น ในหัวข้อ “ประสบการณ์ท่ี เกี่ยวกบั กฎหมาย” มักมีสภาพปญั หาท่ไี ม่สอดคล้องกบั เนื้อหาตามโคร่งร่างของวิชาน้ีที่มีอยู่เดิม รวมถึงเนื้อหาในแบบเรียนในวิชาน้ีท่ีมีอยู่ท่ัวไป ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงเน้ือหาโดยสํารวจ ประสบการณ์ของผู้เรียนเพ่ือประมวลเอาความรู้ด้านหลักกฎหมายพ้ืนฐานท่ีจําเป็นในการ แก้ปัญหามาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน และ

2 ยังสามารถนํามาเป็นแนวทางปรับปรุงโครงร่างการสอนในวิชาน้ี หรือสร้างหลักสูตรวิชา กฎหมายสําหรับบุคคลท่ัวไปท่ีอาจนําความรู้ทางกฎหมายเบื้องต้นไปใช้แก้ไขปัญหาทาง กฎหมายในชีวิตประจําวันต่อไปได้อีก 4. วตั ถุประสงค์ของโครงการ การสํารวจสภาพปัญหาด้านกฎหมายของบุคคลทั่วไปเพื่อสร้างฐานข้อมูลในการ วิเคราะห์สภาพปัญหาด้านกฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชน เพื่อที่จะนําไปสู่การ ประมวลเอาความรู้ด้านกฎหมายพ้ืนฐานท่ีจําเป็นในการแก้ปัญหามาสร้างเป็นแนวทางในการ แกไ้ ขปัญหาเหล่านั้น และยังสามารถนําผลการวิจัยมาปรับปรุงโครงร่างการสอนในวิชาความรู้ เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมาย (176101) หรือสร้างหลักสูตรวิชากฎหมายสําหรับบุคคลท่ัวไปที่อาจ นําความรู้ทางกฎหมายเบ้ืองต้นไปใช้แกไ้ ขปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจาํ วนั ต่อไป 5. ผลงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง (Literature review) และเอกสารอ้างอิง การวิจยั เร่ืองน้ีต้องทําการทบทวนวรรณกรรมใน 4 ส่วนด้วยกนั คือ 1) เอกสารสภาพปัญหาด้านกฎหมายในชีวิตประจําวัน รวบรวมจากงานความเรียง ประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมายท่ีนักศึกษาได้นําเสนอไว้ในความเรียงเร่ือง “กฎหมายใน ทัศนคติของข้าพเจ้า” หัวข้อ “ประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมายท่ีเคยพานพบมา” จํานวน 2,197 ชุด ซ่ึงมีประเด็นปัญหาทางกฎหมายท่ีปรากฏออกมาถึง 3,228 ประเด็น อันเป็น ฐานข้อมูลหลักในการวิจยั เชิงปริมาณ และคณุ ภาพ 2) การรวบรวมสถิติปัญหาทางกฎหมายของประชาชนจากสถิติคดีท่ีฟ้องร้องในศาลยุติธรรม และศาลปกครองช้ันต้นเท่าที่สามารถเข้าถึงได้ทางอินเตอร์เน็ต เพ่ือเป็นการตรวจสอบความถี่ ของคดีว่ามีความสอดคล้องกับสถิติท่เี กิดจากการเก็บข้อมลู จากความเรียงหรือไม่ 3) เอกสารเค้าโครงการสอนวิชาความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกับกฎหมายทั่วไปของอาจารย์ผู้สอนคณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซ่ึงสามารถ เข้าถึงได้ทางอินเตอร์เนต็ 4) เอกสารความรู้พื้นฐานทางกฎหมายได้จากการทบทวน เอกสารที่เก่ียวกับแบบเรียนวิชา ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับกฎหมายท่ีมีอยู่ในท้องตลาดปัจจุบัน ซ่ึงเป็นเอกสารท่ีเป็นกรอบสําคัญ ในการสร้างหลักสูตรวิชาความรู้เบื้องต้นกฎหมายท่ัวไปในทุกมหาวิทยาลัย เพ่ือทําการสํารวจ ว่าสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนคนทัว่ ไปแล้วหรือยงั

3 จากการทบทวนวรรณกรรมท้ังสามส่วนแรกจะปรากฏอยู่ในบทท่ี 2 อยู่แล้ว ดังนั้นการ ทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องจะเน้นท่สี ่วนท่ี 4 ซึง่ ได้ข้อค้นพบ ดงั น้ี ส่วนท่ี 4 จากการทบทวนวรรณกรรมความรู้เบ้ืองต้นเก่ยี วกบั กฎหมาย ปรากฏผลดังน้ี 5.4.1) ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั กฎหมายทว่ั ไป / หยุด แสงอุทยั หนังสือฉบับนี้จะว่าด้วยหลักการพ้ืนฐานทางนิติศาสตร์ทั้งระบบ เหมาะแก่การศึกษา เป็นความรู้พ้ืนฐานทางนิติศาสตร์เพอ่ื ศึกษาวิชากฎหมายอ่ืนๆต่อไปในอนาคต เนื้อหาในแต่ละ หัวข้อมีความกระชับและแสดงถึงความคิดรวบยอดทางกฎหมายในแต่ละประเด็น หากผู้ที่ไม่ เคยเรียนวิชากฎหมายมาก่อนหรือมิได้ต้องการจะศึกษาในสาขาวิชานิติศาสตร์อย่างจริงจังก็จะ ไม่สามารถเข้าใจและนาํ เนื้อหาในหนังสือฉบบั นไ้ี ปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มท่ี 5.4.2) ความร้ทู ่วั ไปเกยี่ วกบั กฎหมาย / จิตติ ติงศภทั ิย์ หนังสือฉบับนี้ได้อธิบายถึงความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายโดยมีเนื้อหาครอบคลุมเร่ือง สถาบันทางสังคม : จากครอบครัวสู่รัฐ -- บ่อเกิดของกฎหมาย -- การแบ่งประเภทของ กฎหมาย -- ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย -- การตีความกฎหมาย -- ธรรมเนียมปฎิบัติทาง กฎหมายของซีวิลลอร์และคอมมอนลอว์ -- ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายแพ่ง -- ความรู้ ท่ัวไปเกีย่ วกบั กฎหมายรัฐธรรมนูญ -- กฎหมายขัดกัน – กฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งไม่ลง ในรายละเอียดหรือมีตวั อย่างกรณีศึกษาทส่ี อดคล้องกบั ชีวิตประจาํ วันมากนกั 5.4.3) ความรทู้ ั่วไปเกยี่ วกับกฎหมาย / ประสิทธ์ิ ปิวาวัฒนพานิช หนังสือฉบับนี้อาศัยโครงร่างเนื้อหาจากหนังสือช่ือเดียวกันของ ศ.จิตติ ท่ีได้กล่าวแล้ว ข้างต้นโดยมีเน้ือหาเกี่ยวกับ สถาบันทางสังคม: จากครอบครัวสู่รัฐ -- บ่อเกิดของกฎหมาย -- บ่อเกิดของกฎหมายท่ีบัญญัติข้ึน -- การแบ่งประเภทของกฎหมาย -- ขอบเขตการบังคับ ใช้กฎหมาย -- การตีความกฎหมาย -- ธรรมเนียมปฏิบัติทางกฎหมายของซีวิลลอว์และคอม มอนลอว์ -- ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกับกฎหมายแพ่ง -- ความรู้ทัว่ ไปเก่ียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- กฎหมายขัดกัน – กฎหมายระหว่างประเทศ จะมีรายละเอียดมากแต่อาจจะมากเกินไป สําหรับบคุ คลท่ัวไป 5.4.4) ความรพู้ ืน้ ฐานเกีย่ วกับกฎหมาย / มานิตย์ จมุ ปา, บรรณาธิการ หนังสือฉบับน้ีมุ่งให้ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการศึกษากฎหมายโดยกําหนดเน้ือหา ครอบคลุมเร่ืองสังคมและกฎเกณฑ์ความประพฤติ -- ลักษณะของกฎหมาย -- ท่ีมาของ กฎหมาย -- ศักด์ิของกฎหมาย -- ขอบเขตการใช้กฎหมาย -- การตีความและการอุด

4 ช่องว่างของกฎหมาย -- ประเภทของกฎหมาย -- ความหมายและลักษณะของสิทธิ -- ประเภทของสิทธิ -- ผู้ทรงสิทธิ -- เน้ือหาและวัตถุแห่งสิทธิ -- การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ -- การใช้สิทธิและข้อจํากัดการใช้สิทธิ – การบังคับตามสิทธิ เนื้อหาท่ีได้จากหนังสือฉบับน้ีมี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ซึ่ ง ผู้ ศึ ก ษ า อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ นํ า ไ ป ป รั บ ใ ช้ กั บ ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ริ ง ใ น ชีวิตประจาํ วนั 5.4.5) เอกสารการสอนชุดวิชา 40101 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายทั่วไป, สํานกั พิมพม์ หาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช เอกสารชุดน้ีมุ่งสร้างพ้ืนฐานในการศึกษาวิชานิติศาสตร์ในข้ันสูงต่อไปโดยเน้ือหา ครอบคลุมเร่ือง: ความหมาย ลักษณะและโครงร่างกฎหมาย -- วิวัฒนาการของกฎหมาย -- ที่มา ประเภท และศักด์ิของกฎหมาย -- สาระสําคัญของประมวลกฎหมายอาญา --: สาระสําคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- กฎหมายเก่ียวกับสังคม -- กฎหมาย เก่ียวกับเศรษฐกิจ -- ความรู้เก่ียวกับกระบวนการยุติธรรม -- ความสัมพันธ์ระหว่าง นิติศาสตร์กับศาสตร์อื่นท่ีเกี่ยวข้อง -- การประกอบวิชาชีพกฎหมายและจรรยาบรรณของนัก กฎหมาย เอกสารชุดน้ีมีลักษณะเป็นหลักการทฤษฎีมากกว่าการปรับใช้กับปัญหาใน ชีวิตประจาํ วัน 5.4.6) ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ียวกบั กฎหมาย / ดิเรก ควรสมาคม หนงั สือฉบับนี้เปน็ การให้ความรู้กฎหมายทวั่ ไปว่า มีกฎหมายเรอ่ื งใดบ้างท่ีใช้ในประเทศ ไทย อาทิความรู้และความสําคัญของกฎหมาย -- ลักษณะของกฎหมายและวิวัฒนาการของ กฎหมายในระบบต่างๆ -- ที่มาของกฎหมาย ประเภทและศักด์ิของกฎหมาย สิทธิและหน้าที่ - - บุคคล -- นิติกรรมสัญญา -- ครอบครัว -- ละเมิด -- กฎหมายอาญา -- กฎหมาย ลักษณะทรัพย์และทรัพย์สิน – ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกระบวนการยุติธรรม แม้จะพยายาม จดั เน้ือหาให้ตอบกบั ปัญหาทางกฎหมายทม่ี ักพบในชีวิตประจําวัน แต่กรณีศึกษายังมิได้สะท้อน สภาพปัญหาที่มกั พบในชีวิตประจาํ วนั 5.4.7) การศึกษาแนวใหม่ ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายท่ัวไป / โกเมศ ขวัญเมือง, สิทธิกร ศักด์ิแสง หนังสือฉบับนี้มุ่งให้ความรู้ด้านกฎหมายอย่างรอบด้านท่ีใช้บังคับและเก่ียวข้องกับ กระบวนการทางกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมเพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับระบบกฎหมาย ไทยอย่างรอบด้าน อาทิความหมายและลักษณะของกฎหมาย -- วิวัฒนาการของกฎหมาย -- แหล่งท่ีมาของกฎหมายและลําดับศักด์ิของกฎหมาย -- หลักการใช้กฎหมาย -- การตีความ กฎหมาย -- การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย -- การยกเลิกกฎหมาย -- การแบ่งประเภทของ

5 กฎหมาย -- ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับกฎหมาย ปกครอง -- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายอาญา -- ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายแพ่งและ กฎหมายพาณิชย์ -- ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกับกฎหมายระหว่างประเทศ -- สิทธิตามกฎหมาย -- หน้าท่ีตามกฎหมาย -- กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง -- กระบวนยุติธรรมทางอาญา -- กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง – กระบวนการยุติธรรมทางรัฐธรรมนูญ แม้กฎหมายท่ี นาํ มาจะมีความครอบคลุมท้ังในแง่สารบัญญัติ และวิธีสบญั ญัติ แต่ยังขาดกรณีศึกษาท่ีสะท้อน ความเปน็ จริงในชีวิตประจําวนั 5.4.8) มมุ กฎหมาย : มุมพนื้ ฐานความรู้กฎหมายทั่วไป / ชัยศกั ด์ิ อ่อนประดิษฐ์ หนังสือฉบับน้ีจะดึงเอาประเด็นกฎหมายท่ีมักพบได้ในชีวิตประจําวันมานําเสนอแก่ ผู้อ่าน เช่น นิติกรรมอําพราง -- การจับ -- อายุความ -- ลิขสิทธ์ิ -- สิทธิบัตร -- เคร่ืองหมายการค้า (Trademark) -- สัญญาร่วมลงทุน (Joint venture) -- ซื้อท่ีดินโดยไม่ต้อง โอนกรรมสิทธิ์ -- ราชกิจจานุเบกษา -- การร้ือฟ้ืนคดีอาญา -- เช่าทรัพย์ -- ข้อมูลข่าวสาร -- ซื้อขายเงินดาวน์ -- ทรัพย์สินของพระภิกษุ -- เชค็ มายากล -- บิลปลอม -- การขายตรง -- ผู้ประสบภัยจากรถ -- ทรัพย์สินหาย -- จ้างแรงงาน และจ้างทําของ -- ภัยจากการเช่า ซ้ือรถ -- โทรศพั ท์มือถือ -- การสมรสซ้อน -- มรดก กงสี แม้จะมีประเด็นท่ีสอดคล้องกับ สภาพปัญหาในชีวิตประจําวัน แต่ไม่มีการวางพื้นฐานด้านกฎหมายให้เห็นเหตุผลและตรรกะ ทางกฎหมายอย่างเป็นระบบ 5.4.9) กฎหมายใกล้ตวั : กฎหมายนา่ รฉู้ บับ \"สารพนั -บนั เทิง\" / ธงทอง จนั ทรางศุ หนังสือฉบับนี้มีความพยายามในการนําเสนอความรู้พ้ืนฐานด้านกฎหมายควบคู่ไปกับนํา ประเด็นกฎหมายท่ีมักพบในชีวิตประจําวัน โดยเนื้อหาครอบคลุมเร่ือง ความรู้เบ้ืองต้น เกี่ยวกับกฎหมาย -- การสมรส -- ครอบครัว -- กฎหมายท่ีดิน -- กฎหมายเลือกต้ัง – กฎหมายท่ัวไป แต่ยังขาดกรณีศึกษาท่ีหลากหลายอันสะท้อนถึงความเป็นจริงในชีวิตของ ประชาชน 6. สมมตุ ฐิ าน หรือ คาํ ถามการวิจยั (Research Questions) การเรียนการสอนในวิชาความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมาย (176101) แต่เดิมน้ันมัก ข้ึนอยู่กับตัวผู้สอนหรือแบบเรียนความรู้เบื้องต้นด้านกฎหมายว่าจะกําหนดขอบเขตของเน้ือหา อย่างไร ซงึ่ อาจไม่ตรงกับความจําเป็นในการประยุกต์ใช้ความรู้เพ่ือแก้ไขปัญหาทางกฎหมาย ในชีวิตประจําวันของผู้เรียนหรือประชาชาน ดังน้ันจึงต้องมีการสํารวจสถิติปัญหาทาง กฎหมายท่ีฟ้องร้องในชั้นศาลและทบทวนเอกสารประสบการณ์ของผู้เรียนว่าเคยประสบกับ

6 ปัญหาด้านกฎหมายอย่างไรบ้าง รวมถึงเพ่ือนํามาสังเคราะห์เป็นฐานข้อมูลสภาพปัญหา เพ่ือ ทําการประมวลเอาความรู้ด้านกฎหมายพื้นฐานท่ีจําเป็นในการแก้ไขปัญหา และสามารถนํา ผลการวิจัยทั้งสองส่วนมาปรบั ปรุงโครงร่างการสอนในวิชาน้ีต่อไป 7. กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) การสื่อสารหรือให้ความรู้ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ผู้ส่งสารหรือผู้สอนจะต้องสํารวจความ จําเป็นหรือความสนใจของผู้รับสารหรือผู้เรียน เพ่ือทําให้การเรียนการสอนในเรื่องน้ันได้ ผลสัมฤทธิส์ ูงสุดท้ังในแง่ประโยชนใ์ นการนําความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้แก้ปญั หาในชีวิตจริง และในแง่การ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนจึงจําเป็นต้องมีการสํารวจข้อมูลท่ีเป็นสภาพปัญหาด้าน กฎหมาย เพ่ือแสวงหาหลักกฎหมายพื้นฐานท่ีจําเป็นในการนําไปแก้ไขปัญหาเหล่าน้ันได้อย่าง ครอบคลุมและตรงประเดน็ 8. ระเบียบวิธีวิจยั การวิจัยเร่ืองนี้ใช้วิธีการวิจัยท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิจัยในเชิงปริมาณจะ ทําการเก็บสถิติสภาพปัญหาทางกฎหมายจากสถิติการฟ้องร้องคดีในศาลยุติธรรมและศาล ปกครองชั้นต้น และสถิติท่ีเกิดจากการทบทวนเอกสารความเรียงประสบการณ์ทางกฎหมาย ของนักศึกษาจํานวน 2,197 ชิ้น และจะทําการวิจัยเชิงคุณภาพเพ่ือเสริมความสมบูรณ์ใน รายละเอียดโดยจะทําการทบทวนความเรียงประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมายที่กลุ่ม ตัวอย่างเขียนมา แล้วทําการสัมภาษณ์เจาะลึกเป้าหมายท่ีมีประสบการณ์น่าสนใจเพ่ือ ตรวจสอบข้อเท็จจริงและสอบถามข้อมูลรายละเอียดเพ่ิมเติม ก่อนจะนําประสบการณ์ปัญหา เหล่านั้นมาสงั เคราะห์เพ่ือสร้างความรู้ด้านกฎหมายเข้าสอดรบั กับปญั หาท่ีสังเคราะห์มาข้างต้น และทบทวนจากโครงร่างการสอนวิชาน้ีของอาจารย์ผู้สอนซึ่งมีประสบการณ์ในการสอนวิชา ความรู้เบ้ืองต้นกฎหมายท่ัวไป 176101 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงโครงร่างวิชาน้ี หรือ สร้างหลกั สตู รวิชากฎหมายสาํ หรับบคุ คลทั่วไปท่อี าจนาํ ความรู้ทางกฎหมายเบื้องต้นไปใช้แก้ไข ปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจาํ วันต่อไป 9. ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยจะใชฐ้ านข้อมลู ท่ไี ด้จากความเรียงเรอ่ื ง “กฎหมายในทัศนคติของข้าพเจ้า” ซ่ึง มีหัวข้อหนง่ึ เกย่ี วกับประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมาย โดยงานฉบับดังกล่าวได้มาจากการ ให้งานเพอ่ื ประกอบการประเมินผลการศึกษาในวิชาความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมาย (176101)

7 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่จากคณะต่างๆ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาน้ี เป็นจํานวน 2,197 ชุด โดยความรู้ทางกฎหมายท่ีจะประมวลมาน้ีจะมีลักษณะเป็นหลักกฎหมายท่ัวไปที่ เหมาะแก่การนําไปใช้สอนแก่นักศึกษาท่ีไม่ได้เรียนอยู่ในคณะนิติศาสตร์ หรือประชาชนท่ัวไปที่ ไม่ได้เรียนกฎหมายโดยตรง นอกจากน้ีจะทําการรวบรวมสถิติการฟ้องร้องในศาลยุติธรรม และปกครองชั้นต้น โครงร่างวิชาความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมาย ของอาจารย์ผู้สอนวิชาน้ี เพอ่ื เสริมความสมบูรณ์ทั้งฐานข้อมูลสภาพปัญหา และแนวทางการสังเคราะห์ความรู้กฎหมาย เบื้องต้นเพ่อื แก้ปญั หา 10. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั การรับรู้สภาพปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนในประเด็นกฎหมายเพ่ือสร้าง ความรู้ด้านกฎหมายที่เหมาะสม และหาคําตอบแก่ปัญหากฎหมายท่ีเกิดขึ้นในชีวิตจริงให้แก่ ประชาชนได้ และสามารถนําไปเป็นแนวทางในการจัดโครงร่างวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมายหรือสร้างหลักสูตรวิชากฎหมายสําหรับบุคคลทั่วไปท่ีอาจนําความรู้ทางกฎหมาย เบื้องต้นไปใช้แก้ไขปัญหาทางกฎหมายในชีวิตประจําวัน หรือวิชากฎหมายอ่ืนเพ่ือตอบสนองต่อ ปัญหาทแี่ ท้จริงของประชาชนในอนาคต

บทท่ี 2 สภาพปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจําวนั ของประชาชน 1. สถิติปัญหาทางกฎหมายท่ีประชาชนพบจากการรวบรวมความเรียงของ นักศึกษา งานวิจัยได้ใช้ความเรียงของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาความรู้เบื้องต้นกฎหมาย ท่ัวไป เรื่อง “กฎหมายในทัศนคติของข้าพเจ้า” หัวข้อ “ประสบการณ์สะเทือนใจด้านกฎหมาย ที่เคยพานพบมา” จํานวน 2,197 เรื่อง พบประเด็นปัญหาทางกฎหมายทั้งส้ิน 3,228 ประเด็น (ในความเรียง 1 เรื่องของนักศึกษาอาจมีประเด็นปัญหาทางกฎหมายมากกว่า 1 ประเด็น) ซ่ึง จะใช้ฐานประเด็นทางกฎหมายเป็นสัดส่วนท้ังหมดทางสถิติ (3,228 ประเด็น คิดเป็น 100%) โดยการจัดว่าสภาพปัญหาของนักศึกษาอยู่ในประเภทใด จะพิจารณาจากข้อพิพาทหลักของ เรอ่ื งว่าเก่ยี วเนื่องกบั ประเด็นทางกฎหมายด้านใด ซงึ่ สามารถจาํ แนกออกได้เป็นประเภทต่างๆดังต่อไปน้ี ประเดน็ กระบวนการทางกฎหมาย1 - ปญั หากระบวนการทางปกครอง 35 ประเดน็ คิดเปน็ 1.08 % - ปัญหากระบวนการทางอาญา 157 ประเด็น คิดเป็น 4.86 % - ปัญหากระบวนการทางแพ่ง 41 ประเด็น คิดเปน็ 1.27 % - ปญั หากระบวนการแพ่งเกย่ี วเนอื่ งอาญา 31 ประเดน็ คิดเป็น 0.95 % ประเดน็ กฎหมายมหาชน/ปกครอง คิดเป็น 1.14 % - ปญั หาสญั ญาทางปกครอง 37 ประเด็น คิดเปน็ 1.64 % - ปัญหาคําสั่งทางปกครอง 53 ประเดน็ 1 จํานวนประเด็นท่ีอยู่ในประเภทกระบวนการทางกฎหมายอาจจะดนู ้อย แตแ่ ทบทกุ เรอ่ื งจะมีความเกย่ี วเนอ่ื งกบั ประเด็น กระบวนการทางกฎหมายวิธีพิจารณาความฯ สาเหตมุ าจากผู้วิจยั ต้องการเน้นเฉพาะประเด็นหลักของเร่อื ง แต่สภาพปญั หา เกีย่ วกบั กระบวนการทางกฎหมายมกั มีควบคไู่ ปกบั ปญั หาเชิงสาระทางกฎหมายของข้อพิพาทเสมอ

9 - ปัญหาเจ้าพนักงานกระทาํ ทางปกครอง 61 ประเด็น คิดเปน็ 1.88 % - ปัญหาอน่ื ๆท่เี ก่ียวกับรัฐ รฐั ธรรมนญู การใช้สิทธิพลเมือง คิดเปน็ 2.94 % และการเมือง 95 ประเดน็ ประเด็นกฎหมายอาญา คิดเปน็ 6.53 % - เจ้าพนกั งานปฏิบัติหน้าทโ่ี ดยมิชอบ 211 ประเดน็ คิดเปน็ 0.52 % - ความผิดต่อความมน่ั คง ความสงบเรียบร้อย 17 ประเด็น คิดเป็น 2.23 % - ความผิดต่อชีวิต 72 ประเดน็ คิดเป็น 4.61 % - ความผิดต่อร่างกาย 149 ประเดน็ คิดเปน็ 1.51 % - ความผิดต่อเพศ 49 ประเด็น คิดเปน็ 1.88 % - ความผิดต่อเสรีภาพ ชื่อเสียง 61 ประเดน็ คิดเปน็ 10.06 % - ความผิดต่อทรัพย์/ฉ้อโกง 325 ประเดน็ คิดเป็น 0.52 % - ความผิดต่อเอกสาร 17 ประเดน็ คิดเป็น 1.82 % - ความผิดลหโุ ทษ 59 ประเดน็ ประเดน็ ทางกฎหมายแพ่ง คิดเป็น 2.23 % - บุคคล 72 ประเด็น คิดเป็น 1.33 % - ครอบครวั 43 ประเด็น คิดเปน็ 1.14 % - หุ้นส่วน,บริษทั 37 ประเด็น คิดเปน็ 10.19 % - นิติกรรมสญั ญา 329 ประเด็น คิดเป็น 4.83 % - หนี้ 156 ประเดน็ คิดเปน็ 7.46 % - ทรัพย์/ทรัพย์สินทางปัญญา 241 ประเดน็ คิดเป็น 5.17 % - ละเมิด/จัดการงานนอกส่งั /ลาภมิควรได้ 167 ประเดน็ คิดเปน็ 1.88 % - เอกสาร/ต๋ัว/เชค็ 61 ประเดน็ คิดเปน็ 1.33 % - มรดก 43 ประเด็น

10 - ปญั หาการใช้สิทธิทั่วไป 118 ประเด็น คิดเปน็ 3.65 % ประเด็นกฎหมายเฉพาะอน่ื ๆท่ีมีความถ่สี งู คิดเปน็ 8.58 % - คดีจราจรทางบก 277 ประเดน็ คิดเปน็ 5.60 % - คดีผู้บรโิ ภค 181 ประเดน็ คิดเป็น 1.02 % - คดีแรงงาน 33 ประเด็น โดยประเดน็ ทมี่ ีความถ่สี ูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ คิดเป็น 10.19 % 1. นิติกรรมสญั ญา 329 ประเด็น คิดเปน็ 10.06 % 2. ความผิดต่อทรพั ย์/ฉ้อโกง 325 ประเดน็ คิดเปน็ 8.58 % 3. คดีจราจรทางบก 277 ประเด็น คิดเปน็ 7.46 % 4. ทรัพย์/ทรัพย์สินทางปัญญา 241 ประเดน็ คิดเป็น 6.53 % 5. เจ้าพนกั งานปฏิบตั ิหน้าทโ่ี ดยมิชอบ 211 ประเด็น คิดเป็น 5.60 % 6. คดีผู้บริโภค 181 ประเด็น คิดเปน็ 5.17 % 7. ละเมิด/จัดการงานนอกสงั่ /ลาภมิควรได้ 167 ประเดน็ คิดเป็น 4.86 % 8. ปญั หากระบวนการทางอาญา 157 ประเด็น คิดเป็น 4.83 % 9. หนี้ 156 ประเดน็ คิดเป็น 4.61 % 10. ความผิดต่อร่างกาย 149 ประเดน็ 2. สถิติปัญหาทางกฎหมายท่เี ข้าสูก่ ระบวนการทางกฎหมาย การเก็บข้อมูลเชิงสถิติซ่ึงเป็นการวิจัยเชิงปริมาณที่ต้ังอยู่บนฐานข้อมูลของนักศึกษาที่ ลงเรียนในวิชาความรู้เบ้ืองต้นกฎหมายท่ัวไป อาจยังไม่เพียงพอต่อการนํามาเป็นตัวแทน ประชากรในการกล่าวอ้างว่าเป็น ประชาชนผไู้ ด้เผชิญสภาพปญั หาทางกฎหมายท่ัวประเทศไทย ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้ลองนําข้อมูลเชิงสถิติเก่ียวกับคดีความทางกฎหมายท่ีเข้าสู่กระบวนการของ ศาลปกครอง ศาลยตุ ิธรรม และการแจ้งความต่อสถานีตาํ รวจมาเป็นตัวเสริมให้เห็นถึงแนวโน้ม

11 และสัดส่วนของสภาพปัญหาทางกฎหมายท่ีเกดข้ึนกับประชาชนให้สมบูรณ์ย่ิงข้ึน โดยจะ แสดงให้เหน็ ดังต่อไปนี้ 2.1 ศาลปกครอง2 ข้อมลู คดีความทเ่ี ข้าสู่กระบวนการพิจารณาของศาลปกครองปรากฏอยู่ในเอกสารข่าว ของศาลปกครองที่เกิดข้ึนงานครบรอบ 9 ปีของศาลปกครอง ซ่ึงประธานศาลปกครองได้นํา ตัวเลขการทาํ งานของศาลปกครองมานําเสนอดังต่อไปน้ี3 ข่าวศาลปกครอง ศาลปกครอง แถลงผลการดําเนินงานเน่ืองในโอกาสครบรอบ ๙ ปี ของการเปิดทําการมุ่งสร้างความเช่ือม่ันให้กับประชาชนในกระบวนการยุติธรรม ทางปกครอง ปริมาณคดีท่ีรับเข้าสู่การพิจารณาตั้งแต่เปิดทําการ ถึงวันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ มี จํานวนท้ังส้ิน ๕๖,๓๘๐ คดี ศาลปกครองได้พิจารณาแล้วเสร็จ ๔๓,๕๙๓ คดี คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๓๒ ของคดีรับเข้า แม้ว่าศาลปกครองจะได้ดําเนินการพิจารณาพิพากษาคดีแล้วเสร็จได้มากเพียงใดก็ตาม แต่จาํ นวนคดีท่ีพิจารณาแล้วเสรจ็ แต่ละปียงั มีปริมาณน้อยกว่าคดีรับเข้าในปีนั้นๆ ส่งผลให้มีคดี ทีอ่ ยู่ระหว่างการพิจารณาสะสมจํานวนหน่งึ โดยปัจจุบัน (ณ วนั ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓) มีจํานวน คดีทอ่ี ยู่ระหว่างการพิจารณาทั้งส้ิน ๑๒,๗๘๗ คดี คิดเปน็ ร้อยละ ๒๒.๖๘ ของคดีรบั เข้า สถิติคดีรบั เขา้ และคดีทพ่ี ิจารณาแล้วเสรจ็ ของศาลปกครองในภาพรวม ตั้งแตเ่ ปิดทําการ - ถึงวนั ท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ท้ังนี้ ประธานศาลปกครองสูงสุด กล่าวว่า หากพิจารณาเรื่องท่ีฟ้องคดีปกครองต่อ ศาลปกครองช้ันต้น ต้ังแต่เปิดทําการถึงวันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ พบว่า เร่ืองท่ีฟ้องมากท่ีสุดคือ คดีเรื่องที่เก่ียวกับการบริหารงานบุคคล มีจํานวน ๑๔,๒๔๐ คดี รองลงมา คือคดีเร่ืองที่ เกี่ยวกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ จํานวน ๑๐,๗๗๓ คดี และคดีเร่ืองท่ีเก่ียวกับการพัสดุ สัญญาทางปกครองฯ จํานวน ๘,๑๒๘ คดี เม่ือพิจารณาคดีเรื่องท่ีเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลฯ ซ่ึงเป็นกลุ่มเร่ืองท่ีมีการฟ้อง มากทีส่ ดุ ดงั กล่าวจําแนกรายเร่อื งพบว่า เรอื่ งการบริหารงานบุคคลเป็นคดีท่ีฟ้องมากท่ีสุด โดย 2 ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ สาํ นกั งานศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/ 3 ข้อมลู สถิตขิ ้อพิพาทในศาลปกครองอย่างละเอียดปรากฏอยใู่ นบทท่ี 4 ของงานวิจัยเรือ่ ง กระบวนการคุ้มครองสิทธิประชาชน กรณีหน่วยงานของรัฐกระทาํ การอนั ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

12 มีจํานวน๖,๒๔๙ คดี คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๘๘ รองลงมาคือเร่ืองวินัย จํานวน ๔,๔๗๒ คดี คิด เป็นร้อยละ ๓๑.๔๐และเร่ืองสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ จํานวน ๑,๖๕๖ คดี คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๖๓ ของคดีในกลุ่มเรื่องที่เก่ียวกับการบริหารงานบุคคลฯ ท้ังหมด สําหรับพ้ืนท่ีท่ีเกิดคดี ปกครอง เป็นปัจจัยหน่ึงที่สะท้อนให้เห็นความเดือดร้อนของประชาชนของ แต่ละภูมิภาค โดย เม่อื พิจารณาคดีที่ฟ้องต่อศาลปกครองช้ันต้น จําแนกตามพื้นท่ีมูลคดีเกิด ต้ังแต่เปิด ทําการถึง วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ พบว่า เกือบคร่ึงหน่ึงหรือร้อยละ ๔๗.๔๔ เป็นคดีท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่ ภาคกลาง รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๖ ภาคเหนือ คิดเป็น ร้อยละ ๑๓.๕๗ ภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙๓ และภาคตะวันออก คิดเป็นร้อยละ ๕.๖๐ สรุป จํานวนคดีท่ีอยู่ระหว่างพิจารณา ๑๒,๗๘๗ คดี (๒๒.๖๘ %) สรุปจํานวนคดีท่ีคดีแล้วเสร็จ ๔๓,๕๙๓ คดี (๗๗.๓๒ %) จากรายงานข่าวข้างต้นจะเห็นว่าคดีส่วนใหญ่ท่ีเข้าสู่กระบวนการของศาลปกครองมัก เป็นเรื่องท่ีมีการฟ้องร้องกันเองระหว่างหน่วยงานหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ ประชาชนภายนอกที่มีข้อพิพาทกับรัฐจะเป็นเร่ือง การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ก็คือ การออก คาํ สงั่ ทางปกครองให้มีการเวนคืนทด่ี ิน รองลงมาก็เป็นข้อพิพาทเกย่ี วกับ สญั ญาทางปกครอง 2.2 ศาลยุติธรรม ข้อมูลจากศาลปกครองอาจไม่ทําให้เห็นความชัดเจนเก่ียวกับสภาพปัญหาทาง กฎหมายในชีวิตประจําวันของประชาชนมากนักเน่ืองจากเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับนิติสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับรัฐ หรือรัฐกับประชาชน ซ่ึงมีประชาชนจํานวนไม่มากท่ีมีประสบการณ์เกี่ยวกับ เร่ืองน้ี แต่ปัญหาทางกฎหมายท่ีพบจากความเรียงจะเก่ียวข้องกับสภาพปัญหาในนิติสัมพันธ์ ตามกฎหมายเอกชนไม่ว่าจะเปน็ กฎหมายแพ่ง หรือกฎหมายอาญา และกระบวนการยุติธรรมที่ เก่ียวเนื่องเสียมาก ดังน้ันสถิติข้อมูลคดีท่ีข้ึนสู่ศาลยุติธรรมจะมีส่วนเติมเต็มภาพรวมของ ข้อมูลเชิงสถิติเก่ียวกับสภาพปัญหาทางกฎหมายท่ีมักเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของประชาชน ดังจะนาํ เสนอผ่านเอกสารชดุ ต่อไปน้ี

13 รายงานจํานวนคดีท่ีข้ึนสู่การพิจารณา 5 อันดับสูงสุดของศาลชั้นต้นท่ัวราชอาณาจักร (ขอ้ มูลจากสํานกั แผนงานและงบประมาณ สาํ นกั งานศาลยตุ ิธรรม4) ศาลช้ันต้นท่ัวราชอาณาจกั ร คดีแพง่ 1. ขอจัดการมรดก จํานวน 72,595 คดี 2. ละเมิด จํานวน 20,359 คดี 3. ยืม จํานวน 14,643 คดี 4. ซ้ือขาย จํานวน 6,657 คดี 5. ขบั ไล่ จํานวน 6,309 คดี คดีผ้บู รโิ ภค 1. สินเชอ่ื บุคคล / กู้ยืม / คํ้าประกนั จาํ นวน 148,414 คดี 2. บตั รเครดิต จาํ นวน 71,206 คดี 3. กองทนุ ให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา จาํ นวน 56,108 คดี 4. เช่าซ้ือ (รถยนต์) จํานวน 31,557 คดี 5. เช่าซื้อ (อนื่ ๆ) จาํ นวน 9,746 คดี คดีอาญา 1. พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ จํานวน 160,478 คดี 2. พ.ร.บ.จราจรทางบก จํานวน 106,679 คดี 3. พ.ร.บ.การพนัน จํานวน 63,228 คดี 4. พ.ร.บ.คนเข้าเมือง จาํ นวน 34,231 คดี 5. ความผิดฐานลกั ทรัพย์ จํานวน 31,739 คดี กลมุ่ ศาลแพง่ กรุงเทพฯ คดีแพ่ง 1. ขอจดั การมรดก จาํ นวน 2,898 คดี 2. ขอแสดงกรรมสิทธทิ์ ด่ี ิน จํานวน 2,230 คดี 4 ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ของ สํานกั แผนงานและงบประมาณ :; สํานกั งานศาลยตุ ิธรรม www.coj.go.th/oppb/info.php

14 3. ขับไล่ จํานวน 1,305 คดี 4. ซื้อขาย จํานวน 730 คดี 5. ละเมิด จํานวน 717 คดี คดีผบู้ รโิ ภค 1. สินเช่อื บุคคล / กู้ยืม / คา้ํ ประกนั จํานวน 3,005 คดี 2. เช่าซ้ือ (รถยนต์) จํานวน 1,517 คดี 3. บตั รเครดิต จํานวน 1,040 คดี 4. เช่าทรัพย์ (อาคารทรัพย์) จาํ นวน 159 คดี 5. จ้างทาํ ของ จาํ นวน 159 คดี กล่มุ ศาลอาญา กรงุ เทพฯ คดีอาญา จํานวน 12,829 คดี 1. พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ จาํ นวน 8,539 คดี 2. ลหโุ ทษ จํานวน 3,644 คดี 3. ความผิดฐานลกั ทรัพย์ จํานวน 1,970 คดี 4. ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม จาํ นวน 1,702 คดี 5. พ.ร.บ.คนเข้าเมือง จากข้อมูลสถิติคดีท่ีเข้าสู่ศาลยุติธรรมจะเห็นว่าคดีท่ีเข้าสู่สาระบบของศาลยุติธรรม เป็นจํานวนมาก ได้แก่ คดีผู้บริโภค มรดก นิติกรรมสัญญา ทรัพย์ ละเมิด ในทางแพ่ง และ คดียาเสพย์ติด ความผิดต่อทรัพย์ ลหุโทษ และความผิดต่อหน้าที่ของเจ้าพนักงาน เข้าเมืองผิด กฎหมาย ในทางอาญา ซ่ึงจะเหน็ แนวโน้มว่าค่อนข้างมีความสอดคล้องในระดับหน่ึงกับข้อมูล ท่ีได้จากความเรียงของนักศึกษา อย่างไรก็ดีจะเห็นว่ามีข้อมูลบางส่วนไม่ตรงกัน เช่น คดี ยาเสพย์ติด คนเข้าเมือง ท่ีแทบไม่ปรากฏเลยในงานความเรียงของนักศึกษา ก็เนื่องด้วย นักศึกษาไม่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับคดีเหล่าน้ีซ่ึงมักเกิดกับ ผู้เสพ/ค้ายาเสพย์ติด คนต่าง ด้าว ซ่ึงไม่ใช่คนกลุ่มเดียวกับนักศึกษา และคนส่วนใหญ่ในสังคม แต่เป็นคนกลุ่มเปราะบาง (Vulnerable Group) ท่ีกระบวนการของรัฐและกฎหมายมองว่าเป็นกลุ่มเส่ียงจึงมีมาตรการทาง

15 กฎหมายท่ีเข้มงวดจนเกิดคดีเข้าสู่กระบวนการมาก ซ่ึงคดีกลุ่มน้ีต้องใช้งานวิจัยเชิงคุณภาพที่ เจาะเข้าไปหากลุ่มเป้าหมายแบบเฉพาะเจาะจง คดีเหล่านี้จึงไม่อยู่ในขอบเขตของงานที่มุ่ง แสวงหาสภาพปญั หาทางกฎหมายท่ตี อบต่อชีวิตประจําวนั ของคนส่วนใหญ่ ดังน้ัน คดีทางแพ่งส่วนใหญ่จึงมีความสอดคล้องกับสถิติของความเรียง ส่วนคดีอาญา จะมีความสอดคล้องกันในภาพรวมแต่จะต่างในภาพเฉพาะคดียาเสพย์ติดและเข้าเมืองผิด กฎหมาย 2.3 สถานีตาํ รวจ ข้อมูลที่ได้จากคดีท่ีเกิดข้ึนในศาลอาญานั้นจะเห็นว่าแปลกแยกบางอย่างดังท่ีได้กล่าว ไปแล้ว ดังนั้นการจะหาสถิติคดีท่ีเป็นตัวแทนประชากรในการวิจัยได้นั้น ทางผู้วิจัยจึงได้นําเอา สถิติการแจ้งความต่อสถานีตํารวจในช่วงปี 2549-50 มาเป็นตัวตรวจสอบซํ้า ดังจะเห็นตาม ข้อมูลของ กองพัฒนาการป้องกันและควบคุมอาชญากรรม สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 5 5 ข้อมูลจากเวบ็ ไซต์ สํานกั งานตาํ รวจแห่งชาติ www.royalthaipolice.go.th

16 .

17 จากข้อมูลที่ได้จากสถิติการแจ้งความไปยังสถานีตํารวจจะพบว่า คดีท่ีมีจํานวนมาก ท่ีสุด คือ ความผิดต่อทรัพย์ ส่วนคดีท่ีเก่ียวกับความผิดต่อ ร่างกาย ชีวิต และเพศ จะ มีจํานวนลดหลั่นลงไป ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับสถิติท่ีได้จากความเรียง และไม่ ปรากฏคดีเกี่ยวกับยาเสพย์ติด กับคนเข้าเมืองเนื่องจากคดีทั้งสองเป็นเร่ืองมาตรการ ของรัฐในเชิงรุก ส่วนคดีท่ีมีการแจ้งความจะเป็นคดีเชิงรับ ซ่ึงเกิดจากประชาชนมี ปัญหาหรือข้อพิพาทแล้วจึงมาแจ้งความ ซ่ึงตรงกับแนวทางของงานวิจัยที่มุ่งแสวงหา ปญั หาท่เี กิดขึ้นในชีวิตของประชาชน เพอ่ื จะหาแนวทางแกไ้ ขได้อย่างเหมาะสมต่อไป

บทที่ 3 วิเคราะห์การเรียนการสอน และ เอกสารเก่ยี วกบั หลกั กฎหมายเบือ้ งตน้ ในการแก้ไขปญั หา 1. สภาพปัญหาทางกฎหมายท่ีอาจารย์ผู้สอนวิชาความรู้กฎหมายเบ้ืองต้น ตระหนัก ในหัวข้อนี้จะมุ่งแสวงหาแนวทางการเรียนการสอนวิชาความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับ กฎหมายว่าได้มีการพยายามจัดหลักสูตรท่ีต้องตรงกับสภาพปัญหาทางกฎหมายท่ีเกิดขึ้นใน ชีวิตประจาํ วนั ของประชาชนแล้วหรือไม่ ดังปรากฏตามเค้าโครงการสอนในวิชาความรู้เบ้ืองต้น เก่ียวกบั กฎหมายของ 3 สถาบนั ดังต่อไปน้ี 1. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ เค้าโครงการสอน วิชา น.269 ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั กฎหมายท่วั ไป ภาค 2/2546 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้สอน ผศ.ดร. สมเกียรติ วรปญั ญาอนนั ต์ , อ.ดร. มาดาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์ ภาคทัว่ ไป บทที่ 1 กาํ เนิดและวิวัฒนาการของกฎหมาย (3 พ.ย. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนนั ต์) บทท่ี 2 ลักษณะของกฎหมายและความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมาย กับกฎเกณฑ์อ่ืน ๆ ในสังคม (10 พ.ย.- ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์) บทที่ 3 สภาพบังคบั ของกฎหมาย (17 พ.ย. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์ ) บทที่ 4 บ่อเกิด (Sources) ลาํ ดบั ชั้น และขอบเขตของกฎหมาย (24 พ.ย. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนันต์) บทท่ี 5 บคุ คล (1ธ.ค. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์) บทท่ี 6 สิทธิและสิทธิมนษุ ยชน (8 ธ.ค.- อ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโตน์) บทที่ 7 สิทธิตามกฎหมายเอกชนและสิทธิตามกฎหมายมหาชน (15 ธ.ค.- ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนนั ต์)

19 (ในหัวข้อเก่ียวกับสิทธิตามกฎหมายเอกชน จะศึกษาถึงเร่ืองสิทธิเหนือบุคคลและสิทธิ เหนือทรัพย์ด้วย) บทท่ี 8 หลักท่วั ไปว่าด้วยการใช้สิทธิ (29 ธ.ค. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์) บทท่ี 9 กระบวนการยุติธรรมของไทย (5 ม.ค. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนันต์) บทท่ี 10 การจําแนกระบบและหมวดหมู่ของกฎหมาย (12 ม.ค - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนนั ต์) ภาคเฉพาะ บทที่ 1 กฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง (19 ม.ค.- ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนันต์) บทที่ 2 หลกั ท่ัวไปในกฎหมายอาญา (26 ม.ค. - อ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์) บทท่ี 3 ความผิดอาญาทค่ี วรรู้ (2 ก.พ. - อ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์) บทท่ี 4 หลักทั่วไปว่าด้วยนิติกรรมและสญั ญา – 1 (9 ก.พ.- ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนันต์) บทท่ี 5 หลกั ทัว่ ไปว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา – 2 (16 ก.พ. - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปญั ญาอนันต์) การวดั ผล การสอบปลายภาคอย่างเดียว รวมทัง้ สน้ิ 100 คะแนน แบ่งเปน็ - ผศ.ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์ ออกข้อสอบอัตนัย 4 ข้อ ๆ ละ 20 คะแนน รวม 80 คะแนน - อ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์ ออกข้อสอบปรนยั รวม 20 คะแนน เอกสารอ่านประกอบ เอกสารประกอบการศึกษา วิชา มธ.123 และ น.269 จํานวน 110 หน้า (ชุดท่ี1,2) ตลอดจนเอกสาร และหนงั สือ ทแ่ี นะนาํ ในเอกสารประกอบการศึกษาดงั กล่าว 2. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพ วิชาความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกับกฎหมาย LA 101 อาจารย์อรสิริ ปทั ม์วิชยั พร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ - ความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกับกฎหมายทัว่ ไป - กฎหมายอาญา - กฎหมายแพ่ง

20 o บคุ คล o ทรพั ย์ o นิติกรรม-สญั ญา o ครอบครวั o มรดก o หน้ี 3. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ โครงรา่ งวิชา ความรู้เบือ้ งต้นกฎหมายทั่วไป (Introduction to Law) 176101 (รับผิดชอบโดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์) หลักการและเหตุผล กฎหมายแม้มีรากเหง้ามาจากอารยธรรมกฎหมายแบบตะวันตก แต่ในอารยธรรมไทย ก็ปรากฏค่านิยม หรือกฎเกณฑ์บางส่วนส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนใน ประเทศไทย อย่างไรก็ดีสภาพปัญหาบางประการของสังคมไทยก็เป็นอุปสรรคต่อการ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอยู่เช่นกัน ดังน้ันการศึกษาถึงพัฒนาการของกฎหมาย ควบคู่ไปสภาพสังคมไทยจึงสามารถสะท้อนให้เห็นถึงหลักประกันสิทธิเสรีภาพท่ีเพ่ิมพูน หรือ ลดลงในแต่ละยุคสมัย นอกจากน้ีกฎหมายและกลไกเยียวยาสิทธิเสรีภาพรูปแบบต่างๆ ก็อาจ เป็นประโยชน์ต่อการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศไทยได้อีกด้วย ดังจะได้ เหน็ ในกรณีศึกษาต่างๆ ทีไ่ ด้ทําการเรียนการสอนกนั เนื้อหา การเรียนการสอนวิชาความรู้เบื้องต้นกฎหมายทั่วไปนี้ได้แบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ กล่าวคือ ส่วนที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกบั กฎหมายกับบทบาทในสังคม 3 ชั่วโมง 1. ความเข้าใจทว่ั ไปเกีย่ วกับกฎหมายกับสงั คมมนุษย์ 2. ประวตั ิศาสตร์กฎหมายสากล 3. ปรัชญากฎหมายสากล

21 ส่วนที่ 2 ความรู้เบ้ืองต้นเกยี่ วกบั กฎหมายไทย 3 ช่ัวโมง 1. ที่มา และแนวคิดกฎหมายสมยั ใหมใ่ นประเทศไทย 3 ชัว่ โมง - กฎหมายท่ีปรากฏในค่านิยม เกณฑ์คุณค่าของอารยธรรมไทย - กฎหมายในความสัมพนั ธ์ระหว่างชนชั้นปกครอง กับ ราษฎร - อิทธิพลของแนวคิดกฎหมายสากลต่อประเทศไทย 2. พฒั นาการกฎหมายในประเทศไทย - สมยั สโุ ขทัย - สมัยอยธุ ยา - สมยั ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น - สมัยรตั นโกสินทร์ช่วงปฏิรูปการปกครองหลงั สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง - สมัยหลงั การเปล่ยี นแปลงการปกครองเปน็ ระบอบประชาธิปไตย 3. กฎหมายมหาชน และกลไกการเยียวยาสิทธใิ นประเทศไทย 6 ช่วั โมง - รฐั ธรรมนูญ และกฎหมายเกย่ี วกับสิทธิมนษุ ยชน - องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ (คณะกรรมการสิทธิฯ ผู้ตรวจการฯ) - ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครอง - กฎหมายปกครอง 4. การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในกระบวนการยุติธรรมไทย 3 ช่วั โมง 5. กฎหมายระหว่างประเทศ 3 ช่ัวโมง 6. กฎหมายอาญาไทย 6 ชัว่ โมง 7. กฎหมายแพ่งและพาณิชยไ์ ทย 9 ชั่วโมง 8. กรณีศึกษาด้านกฎหมาย และถามตอบปัญหากฎหมายท่นี กั ศึกษาสนใจ 6 ช่วั โมง - การรฐั ประหาร และการจดั ทาํ รฐั ธรรมนญู - กฎหมายเก่ียวกบั ความมน่ั คง และสถานการณ์ฉุกเฉิน - ความรนุ แรงในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ การอุ้มหาย และกระแสก่อการร้ายสากล - การทาํ สงครามกบั ยาเสพติด และผู้มีอิทธิพลของรัฐบาล - กลุ่มเช้ือชาติ สญั ชาติ และบคุ คลไร้สญั ชาติ - สิทธิชมุ ชน และความขัดแย้งในการจัดสรรทรพั ยากรธรรมชาติ - กระแสโลกาภิวฒั น์ และบรรษทั ข้ามชาติ - การทําสนธิสัญญาระหว่างประเทศกับผลกระทบต่อประชาชนชาวไทย

22 9. บทเรียนในการคุ้มครองสิทธใิ นประเทศไทย 1.5 ช่วั โมง - วฒั นธรรมประชาธิปไตย - ค่านิยมการเคารพกฎหมาย และนิติรฐั - ความรนุ แรงในสงั คม กับ กระบวนการแกไ้ ขความขัดแย้ง - ระบบการศึกษา และภูมิปัญญาไทย 10. ลู่ทางในการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของประชาชน 1.5 ชัว่ โมง - การปรับปรงุ ระบบกฎหมาย การบังคบั ใช้สิทธใิ นชั้นศาล และการบงั คบั ใช้กฎหมาย - การเพมิ่ ความสามารถในการเข้าถึงกลไกเยียวยาสิทธิ - วฒั นธรรมประชาธิปไตย และเสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ - การพัฒนาระบบการเข้าถึงข้อมูล และการศึกษา - การส่งเสริมภาคประชาสังคม และภาคประชาชน การวัดและการประเมินผล 1. การสอบกลางภาค 30 คะแนน 2. การสอบปลายภาค 40 คะแนน 3. การเขียนความเรียงว่าด้วย “กฎหมายในทัศนคติของข้าพเจ้า” 30 คะแนน - บทนํา แรงบนั ดาลใจ - ความเข้าใจต่อกฎหมายก่อนจะได้รับการศึกษาในวิชาน้ี - ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับเร่ืองอ่ืนๆ เช่น การเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ฯลฯ - ประสบการณ์สะเทือนใจด้านสิทธิ หรือความไม่เป็นธรรมที่เคยประสบกับ ตนเอง - วิธีการแก้ไขปญั หาในสถานการณ์ดังกล่าวขณะน้ัน - หลังจากมีความรู้ด้านกฎหมายแล้ว หากประสบปัญหาเดิมจะแกไ้ ขอย่างไร - สร้างสังคมอุดมคติ โดยอธิบายลักษณะความสัมพันธ์ทั้งในระดับ ปัจเจกชน ชมุ ชน รัฐ โลก จากการสาํ รวจพบว่า หลักสูตรท่เี ขียนข้ึน มุ่งเน้นการสร้างฐานความรู้พ้ืนฐานเพ่ือนําไปสู่ การศึกษาวิชากฎหมายในระดับท่ีสูงข้ึน มากกว่าการมุ่งตอบปัญหาทางกฎหมายเฉาะเร่ือง อย่างไรก็ดีความรู้พื้นฐานทางกฎหมายในหลายเรื่องท่ีมีการสอนก็สามารถนํามาปรับใช้กับ

23 สภาพปญั หาทางกฎหมายในชีวิตประจาํ วนั ได้หลายเร่ืองท้ังเรื่องในทางแพ่ง อาญา หรือคดีทาง ปกครองบางเรอ่ื ง ทห่ี ลกั สตู รได้มีการกล่าวถึงไว้บ้าง แต่หากจะให้ตอบปัญหาเฉาะที่มักเกิด ในชีวิตประจาํ วัน เช่น การจราจรทางบก เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ หรือกระบวนการ ยุติธรรม อาจจะต้องมีการปรบั ปรงุ หลักสูตรให้เกิดการตอบวัตถุประสงค์เฉพาะเหล่าน้ัน โดย อาจจะทาํ ด้วยการปรบั ปรงุ เนื้อหาวิชาเดิม หรือการสร้างหลกั สูตรวิชาเฉพาะขึ้นมาใหม่ก็ได้ 2. สภาพปัญหาทางกฎหมายท่ีวรรณกรรมความรู้กฎหมายเบื้องต้นตระหนัก ถึง จากการทบทวนวรรณกรรมความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายซึ่งจะมีผลต่อการจัด หลักสูตร หรือ เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายไปสู่ประชาชน พบว่าวรรณกรรมเหล่าน้ันได้มี เน้ือหา ดังปรากฏต่อไปนี้ ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั กฎหมายทว่ั ไป / หยดุ แสงอทุ ัย ภาค 1; ข้อความเบื้องต้น ลักษณะทั่วไปของกฎหมาย บ่อเกิดและวิวัฒนาการของ กฎหมาย การใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย การอุดช่องว่างกฎหมาย การร่างกฎหมาย -- ภาค 2; ระบบกฎหมาย หมวด1 กฎหมายทั่วไป สํานักความคิดทางกฎหมาย หมวด 2 นิติวิธี ระบบ Civil Law ระบบ Common Law -- ภาค 3; สิทธิ ลักษณะท่ัวไปของสิทธิ การใช้สิทธิ ขอบเขตแห่งสิทธิ -- ภาค 4; การศึกษากฎหมาย หนังสือฉบับน้ีจะว่าด้วยหลักการพ้ืนฐาน ทางนิติศาสตร์ทั้งระบบ เหมาะแก่การศึกษาเป็นความรู้พ้ืนฐานทางนิติศาสตร์เพื่อศึกษาวิชา กฎหมายอ่ืนๆต่อไปในอนาคต เนื้อหาในแต่ละหัวข้อมีความกระชับและแสดงถึงความคิดรวบ ยอดทางกฎหมายในแต่ละประเด็น หากผู้ท่ีไม่เคยเรียนวิชากฎหมายมาก่อนหรือมิได้ต้องการ จะศึกษาในสาขาวิชานิติศาสตร์อย่างจริงจังกจ็ ะไม่สามารถเข้าใจและนําเน้ือหาในหนังสือฉบับนี้ ไปใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างเต็มที่ ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกบั กฎหมาย / จิตติ ติงศภทั ิย์ หนังสือฉบับน้ีได้อธิบายถึงความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายโดยมีเน้ือหาครอบคลุมเร่ือง สถาบันทางสังคม : จากครอบครัวสู่รัฐ -- บ่อเกิดของกฎหมาย -- การแบ่งประเภทของ กฎหมาย -- ขอบเขตการบังคบั ใช้กฎหมาย -- การตีความกฎหมาย -- ธรรมเนียมปฎิบัติทาง

24 กฎหมายของซีวิลลอร์และคอมมอนลอว์ -- ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมายแพ่ง -- ความรู้ ทั่วไปเก่ยี วกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- กฎหมายขัดกัน – กฎหมายระหว่างประเทศ ซ่ึงไม่ลง ในรายละเอียดหรือมีตวั อย่างกรณีศึกษาทส่ี อดคล้องกับชีวิตประจาํ วันมากนัก ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั กฎหมาย / ประสิทธ์ิ ปิวาวัฒนพานิช หนังสือฉบับน้ีอาศัยโครงร่างเน้ือหาจากหนังสือช่ือเดียวกันของ ศ.จิตติ ท่ีได้กล่าวแล้ว ข้างต้นโดยมีเนื้อหาเก่ียวกับ สถาบันทางสังคม: จากครอบครัวสู่รัฐ -- บ่อเกิดของกฎหมาย -- บ่อเกิดของกฎหมายที่บัญญัติข้ึน -- การแบ่งประเภทของกฎหมาย -- ขอบเขตการบังคับ ใช้กฎหมาย -- การตีความกฎหมาย -- ธรรมเนียมปฏิบัติทางกฎหมายของซีวิลลอว์และคอม มอนลอว์ -- ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับกฎหมายแพ่ง -- ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- กฎหมายขัดกัน – กฎหมายระหว่างประเทศ จะมีรายละเอียดมากแต่อาจจะมากเกินไป สาํ หรับบคุ คลท่ัวไป ความรู้พื้นฐานเกยี่ วกับกฎหมาย / มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ หนังสือฉบับน้ีมุ่งให้ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการศึกษากฎหมายโดยกําหนดเน้ือหา ครอบคลุมเรื่องสังคมและกฎเกณฑ์ความประพฤติ -- ลักษณะของกฎหมาย -- ท่ีมาของ กฎหมาย -- ศักด์ิของกฎหมาย -- ขอบเขตการใช้กฎหมาย -- การตีความและการอุด ช่องว่างของกฎหมาย -- ประเภทของกฎหมาย -- ความหมายและลักษณะของสิทธิ -- ประเภทของสิทธิ -- ผู้ทรงสิทธิ -- เน้ือหาและวัตถุแห่งสิทธิ -- การเคล่ือนไหวแห่งสิทธิ -- การใช้สิทธิและข้อจํากัดการใช้สิทธิ – การบังคับตามสิทธิ เนื้อหาท่ีได้จากหนังสือฉบับน้ีมี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ซ่ึ ง ผู้ ศึ ก ษ า อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ นํ า ไ ป ป รั บ ใ ช้ กั บ ปั ญ ห า ท่ี เ กิ ด ข้ึ น จ ริ ง ใ น ชีวิตประจาํ วัน เอกสารการสอนชุดวิชา 40101 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายท่ัวไป, สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช เอกสารชุดนี้มุ่งสร้างพื้นฐานในการศึกษาวิชานิติศาสตร์ในข้ันสูงต่อไปโดยเน้ือหา ครอบคลุมเรื่อง: ความหมาย ลักษณะและโครงร่างกฎหมาย -- วิวัฒนาการของกฎหมาย -- ที่มา ประเภท และศักด์ิของกฎหมาย -- สาระสําคัญของประมวลกฎหมายอาญา --: สาระสําคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- กฎหมายเก่ียวกับสังคม -- กฎหมาย

25 เก่ียวกับเศรษฐกิจ -- ความรู้เก่ียวกับกระบวนการยุติธรรม -- ความสัมพันธ์ระหว่าง นิติศาสตร์กับศาสตร์อื่นท่ีเกี่ยวข้อง -- การประกอบวิชาชีพกฎหมายและจรรยาบรรณของนัก กฎหมาย เอกสารชุดน้ีมีลักษณะเป็นหลักการทฤษฎีมากกว่าการปรับใช้กับปัญหาใน ชีวิตประจําวนั ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั กฎหมาย / ดิเรก ควรสมาคม หนังสือฉบับนี้เป็นการให้ความรู้กฎหมายท่วั ไปว่า มีกฎหมายเรอื่ งใดบ้างท่ีใช้ในประเทศ ไทย อาทิความรู้และความสําคัญของกฎหมาย -- ลักษณะของกฎหมายและวิวัฒนาการของ กฎหมายในระบบต่างๆ -- ที่มาของกฎหมาย ประเภทและศักด์ิของกฎหมาย สิทธิและหน้าที่ - - บุคคล -- นิติกรรมสัญญา -- ครอบครัว -- ละเมิด -- กฎหมายอาญา -- กฎหมาย ลักษณะทรัพย์และทรัพย์สิน – ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกระบวนการยุติธรรม แม้จะพยายาม จัดเนื้อหาให้ตอบกับปัญหาทางกฎหมายทม่ี กั พบในชีวิตประจําวัน แต่กรณีศึกษายังมิได้สะท้อน สภาพปญั หาท่มี ักพบในชีวิตประจาํ วนั การศึกษาแนวใหม่ ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายทั่วไป / โกเมศ ขวัญเมือง, สิทธิกร ศกั ด์ิแสง หนังสือฉบับน้ีมุ่งให้ความรู้ด้านกฎหมายอย่างรอบด้านท่ีใช้บังคับและเก่ียวข้องกับ กระบวนการทางกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมเพื่อให้มีความรู้เก่ียวกับระบบกฎหมาย ไทยอย่างรอบด้าน อาทิความหมายและลักษณะของกฎหมาย -- วิวัฒนาการของกฎหมาย -- แหล่งท่ีมาของกฎหมายและลําดับศักด์ิของกฎหมาย -- หลักการใช้กฎหมาย -- การตีความ กฎหมาย -- การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย -- การยกเลิกกฎหมาย -- การแบ่งประเภทของ กฎหมาย -- ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับกฎหมาย ปกครอง -- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายอาญา -- ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายแพ่งและ กฎหมายพาณิชย์ -- ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกับกฎหมายระหว่างประเทศ -- สิทธิตามกฎหมาย -- หน้าที่ตามกฎหมาย -- กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง -- กระบวนยุติธรรมทางอาญา -- กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง – กระบวนการยุติธรรมทางรัฐธรรมนูญ แม้กฎหมายท่ี นาํ มาจะมีความครอบคลุมทั้งในแง่สารบญั ญตั ิ และวิธีสบญั ญัติ แต่ยังขาดกรณีศึกษาท่ีสะท้อน ความเปน็ จริงในชีวิตประจําวนั

26 มมุ กฎหมาย : มุมพื้นฐานความรกู้ ฎหมายท่วั ไป / ชยั ศักด์ิ ออ่ นประดิษฐ์ หนังสือฉบับนี้จะดึงเอาประเด็นกฎหมายท่ีมักพบได้ในชีวิตประจําวันมานําเสนอแก่ ผู้อ่าน เช่น นิติกรรมอําพราง -- การจับ -- อายุความ -- ลิขสิทธ์ิ -- สิทธิบัตร -- เคร่ืองหมายการค้า (Trademark) -- สัญญาร่วมลงทุน (Joint venture) -- ซื้อท่ีดินโดยไม่ต้อง โอนกรรมสิทธ์ิ -- ราชกิจจานุเบกษา -- การรื้อฟ้ืนคดีอาญา -- เช่าทรัพย์ -- ข้อมูลข่าวสาร -- ซ้ือขายเงินดาวน์ -- ทรพั ย์สินของพระภิกษุ -- เชค็ มายากล -- บิลปลอม -- การขายตรง -- ผู้ประสบภัยจากรถ -- ทรัพย์สินหาย -- จ้างแรงงาน และจ้างทําของ -- ภัยจากการเช่า ซ้ือรถ -- โทรศพั ท์มือถือ -- การสมรสซ้อน -- มรดก กงสี แม้จะมีประเด็นท่ีสอดคล้องกับ สภาพปัญหาในชีวิตประจําวัน แต่ไม่มีการวางพ้ืนฐานด้านกฎหมายให้เห็นเหตุผลและตรรกะ ทางกฎหมายอย่างเปน็ ระบบ กฎหมายใกลต้ ัว : กฎหมายน่าร้ฉู บับ \"สารพนั -บนั เทิง\" / ธงทอง จันทรางศุ หนังสือฉบับนี้มีความพยายามในการนําเสนอความรู้พ้ืนฐานด้านกฎหมายควบคู่ไปกับ นําประเด็นกฎหมายที่มักพบในชีวิตประจําวัน โดยเน้ือหาครอบคลุมเร่ือง ความรู้เบ้ืองต้น เกี่ยวกับกฎหมาย -- การสมรส -- ครอบครัว -- กฎหมายท่ีดิน -- กฎหมายเลือกตั้ง – กฎหมายท่ัวไป แต่ยังขาดกรณีศึกษาท่ีหลากหลายอันสะท้อนถึงความเป็นจริงในชีวิตของ ประชาชน จากเน้ือหาท้ังหมดของการวิจัยในบทน้ีจะเห็นว่ายังมีความจําเป็นในการปรับปรุงชุด ความรู้ทางกฎหมายในการนําไปตอบปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันของประชาชนดังจะเห็น จากข้อมูลเชิงสถิติท่ีปรากฏอยู่ในหัวข้อท่ี 1 และ 2. ในบทท่ี 2 ส่วนการปรับปรุงอย่างไรให้มี รายละเอียดของชุดความรู้ทางกฎหมายท่ีสามารถตอบปัญหาทางกฎหมายได้อย่างเหมาะสม จะต้องมีการวิเคราะห์เชิงคุณภาพซง่ึ จะอยใู่ นบทถดั ไป

บทที่ 4 การวิเคราะหก์ รณีศึกษาทางกฎหมายที่ปรากฏในชีวิตประจําวันของประชาชน บทน้ีจะวิเคราะห์ในเชิงลึกเพื่อให้เกิดผลวิจัยเชิงคุณภาพว่า หากต้องเผชิญกับปัญหา ทางกฎหมายท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันของประชาชน แนวทางแก้ไขด้วยการใช้ความรู้เบ้ืองต้น ทางกฎหมายจะต้องอาศยั หลกั กฎหมายในเร่ืองใดบ้าง เพื่อนําไปสู่การประมวลหลักกฎหมายที่ จําเป็นต่อการแก่ปัญหาทั้งหลายมาสร้างเป็นชุดความรู้ในการแก้ปัญหาทางกฎหมายใน ชีวิตประจําวันของประชาชน ดังจะมีการวิเคราะห์ตามกรณีศึกษาท่ีปรากฏในงานความเรียง ของนักศึกษา ซงึ่ ในส่วนของ “แนวทางแกไ้ ข” จะเป็นเนื้อหาท่ผี ู้วิจัยได้วิเคราะห์เพ่ิมเติมหลังจาก ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาและวิธีการแก้ไขของตัวนักศึกษาแล้ว1 กรณีศึกษาต่างๆได้ถูกจัด ประเภทไว้ตามลักษณะของข้อพิพาททางกฎหมาย ดงั หัวข้อต่อไปน้ี 1. กรณีศึกษาปญั หาด้านกระบวนการทางกฎหมาย 1.1) ปญั หาในกระบวนการทางกฎหมายมหาชนและปกครอง 1.1.1) โรงแรมทาํ เหตขุ ยะ, เสียง, แจ้งผ้ตู รวจ รายละเอียด ( โดย นางสาว ณภัทร คุณธนะวัฒน์ ) ข้าพเจ้าได้ย้ายบ้านมาท่ีบ้านหลังเดิมข้างๆได้มีโรงแรมมาสร้างใหม่ ซ่ึงตัวบ้านของ ข้าพเจ้านั้นจะอยู่ติดกับห้องครัวโรงแรม โดยท่ีมีกําแพงกั้นไว้ พอโรงแรมเร่ิมเปิดให้บริการ ก็ เริ่มมีปัญหาตามมาคือ 1. มีการท้ิงเศษขยะข้ามมาในฝั่งกําแพงของข้าพเจ้าและบ้านข้างเคียง 2. เสียงของแอร์คอนดิชั่นท่ีเปิดน้ันดังมากตอนกลางคืน ในตอนแรกก็ได้ไปติดต่อกับทาง เจ้าของโรงแรม ปัญหาเร่ืองขยะจึงหายไปซักพักไม่นานก็กลับมาเป็นปัญหาเช่นเดิม บ้าน 1 กรณีศึกษาทีไ่ ม่ปรากฏช่อื เจ้าของเรื่องเกิดจากการไม่อนญุ าตให้เปิดเผยนาม ส่วนทีป่ รากฏช่ือเจ้าของเร่อื งเปน็ การ อนุญาตของนกั ศึกษา เน้ือหาส่วนปญั หาและวิธีแก้เกิดจากย่อความจากงานด้ังเดิมของนกั ศึกษา ส่วน “แนวทางแก้ไข” เปน็ ผลวิเคราะห์ของผู้วิจัย

28 ข้าพเจ้าจึงได้ติดต่อไปยังหน่วยงานท้องถ่ินหลายๆหน่วยงานซึ่งก็รับเร่ืองไว้พิจารณาแต่ก็เงียบ หายไป แจ้งไปหลายทีกย็ ังไม่มีการตอบรบั หรือการแกไ้ ขใดๆ วิธีแก้ปัญหาของบ้านข้าพเจ้า จึงไปแจ้งยังหน่วยงานผู้ตรวจการแผ่นดินอีกคร้ังหนึ่ง หลงั จากน้ันกม็ ีคนของท้ังหน่วยงานเดิมและผู้ตรวจการแผ่นดินมาตรวจทําให้ปัญหาขยะหมดไป และปญั หาเร่อื งแอร์เสียงดังก็ไม่เกิดเสียงดัง ปัญหาจึงได้รับการแก้ไขอย่างเรียบร้อย แนวทางแก้ไข ใช้ หลักการใช้สิทธิตอบขอบเขตไม่เกินส่วน และกระบวนการเยียวยาสิทธิผ่าน หน่วยงานทางปกครองทม่ี ีอํานาจหน้าท่ีและ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซ่ึงโรงแรมได้ใช้สิทธิ เกินส่วนทําให้เกิดการละเมิดสามารถบงั คับตามสิทธิได้ทั้งในทางแพ่งจนถึงการฟ้องในศาลแพ่ง หรืออาจร้องเรียนให้หน่วยงานของรัฐแก้ไขปัญหา ถ้าไม่มีความคืบหน้าสามารถร้องเรียนไปยัง หน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง และฟ้องศาลปกครอง 1.1.2) การทํางานในระบบการศึกษา รายละเอียด นักเรียนคนหน่ึงได้ยื่นคะแนนสอบแอดมิชช่ัน โดยท่ีมั่นใจว่าจะต้องสอบติดในอันดับที่ ตนได้เลือกได้อย่างแน่นอน แต่เมื่อผลคะแนนออก ปรากฏว่า นักเรียนคนน้ันสอบไม่ติด จึงได้ เข้าไปเปิดดคู ะแนนสูงตํา่ ทจ่ี ดั ไว้ ปรากฏว่า ตนเองน่าจะสอบติดคณะทเี่ ลือกไว้เป็นลําดับที่ 2 จึง กลับมาน่ังคิดว่าทําไมจึงไม่มีรายชื่อ เลยคิดว่าอาจเป็นเรื่องการสละสิทธิโควต้าของมหาลัยแม่ ฟ้าหลวงท่ีอาจไม่ทําการสละสิทธิของตนให้ จึงทําให้ถูกตัดสิทธิเมื่อมายื่นคะแนนแอคมิชช่ันอีก จึงได้ไปตรวจสอบพบว่ามีหลักฐานการส่งเอกสารว่า ได้แจ้งการสละสิทธิดังกล่าวไปแล้ว จากนั้นจึงไปแจ้งเร่ืองทางมหาลัยแม่ฟ้าหลวงปรากฏว่า มีการทํางานที่ผิดพลาดจึงทําให้ไม่ได้ การสละสิทธิดังกล่าว จึงต้องทําให้แจ้งเร่ืองไปยัง สกอ.ในการจัดการเร่ืองดังกล่าว สุดท้ายเด็ก นักเรียนคนดังกล่าวก็ได้เรียนคณะและมหาลยั ทต่ี นเองเลือกไว้ หากไม่ไปดําเนินการเองอาจจะ ได้เรียนในสิง่ ทีต่ นไม่ได้เลือกเอง แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ซ่ึงกรณีน้ีเมื่อเด็กได้ทําตามขั้นตอนท่ีกําหนดไว้ ในคําส่ังและระเบียบของมหาวิทยาลัย และ สกอ. ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐแล้ว ก็เป็นหน้าท่ี

29 ของหน่วยงานในการประกันสิทธิให้กับเด็กตามเงื่อนไขและผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตาม ขั้นตอน หากมีปัญหาก็ใช้วิธีการร้องเรียน หากไม่ประสบผล สามารถฟ้องต่อศาลปกครองให้ บงั คับได้ 1.1.3) เสียเวลา รายละเอียด หญิงคนหนึ่งได้ไปธนาคารเพ่ือท่ีจะเปิดบัญชีเงินฝาก แต่เน่ืองจากความผิดพลาดของ พนังงานที่นับเงินผิดจากลูกค้าคนก่อนเป็นจํานวนเงิน 1 แสนบาท จึงทําให้เข้าใจผิดว่าหญิงคน ดังกล่าวขโมยเงินไป เมื่อหญิงคนดังกล่าวทราบเร่ืองจึงขอไปตรวจสอบกับทางธนาคารพบว่า เป็นความผิดของพนังงานในการเผลอเลอในการทํางาน ผู้จัดการธนาคารจึงต้องมาขอโทษขอ โพยเป็นการใหญ่ ผู้เสียหายจึงไม่คิดท่ีจะเอาเรื่อง เวลาผ่านไปเกือบ 2 ปี หญิงคนดังกล่าวมี ความจําเป็นท่ีจะเดินทางไปต่างประเทศ เมื่อไปทําเอกสารจึงพบว่าตนเองมีคดีติดตัวข้อหาลัก ทรัพย์ จึงได้ติดตามเรอ่ื งพบว่าเจ้าหน้าทต่ี าํ รวจยืน่ ฟ้องตามท่ีธนาคารได้แจ้งความเอาไว้ เม่ือไป ตรวจสอบกับทางธนาคารกลับพบว่า ผู้จัดการธนาคารลืมไปถอนแจ้งความทําให้เจ้าหน้าที่ ตํารวจต้องฟ้องคดี เมอ่ื เหตกุ ารณ์เป็นเช่นนั้น สามีของผู้หญิงมีความรู้ด้านกฎหมายจึงทําเร่ือง ต่ออัยการจังหวัดดําเนินการร้ือคดีใหม่ เพราะภรรยามีความจําเป็นจะต้องเดินทางไปทําธุรกิจ อยู่ต่างประเทศบ่อยคร้ัง จึงต้องเสียเวลาและเสียเงินกับการจัดการเร่ืองดังกล่าว แต่ครอบครัว น้ีก็ไม่อยากจะเอาเร่ืองกับผู้จัดการธนาคาร เน่ืองจากไม่อยากให้ผู้จัดการต้องถูกไล่ออก ไม่มี งานทํา แนวทางแก้ไข ใช้หลักการได้รับความคุ้มครองสิทธิตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และไม่ถูกกระทําใน ฐานะนักโทษหากยังไม่มีคําพิพากษาถึงท่ีสุดของศาล ซ่ึงกรณีน้ีเป็นเพียงการแจ้งความแล้วไม่ มีการถอนฟ้อง ก็ให้ดําเนินการถอนฟ้อง หรือย่ืนให้พนักงานอัยการชะลอฟ้องหรือระงับฟ้อง เพ่อื ให้ภาระทางคดีหลุดพ้นตัว เพ่ือให้ผู้เสียหายสามารถใช้สิทธไิ ด้ตามปกติ

30 1.2) ปญั หาในกระบวนการทางอาญา 1.2.1) ถกู จบั โดยไม่ไดแ้ จง้ สิทธิ รายละเอียด นักศึกษากลุ่มหนึ่งได้ทําการซ้อมการแสดง ในงานท่ีจะมีข้ึนอีก 2 วันข้างหน้า ใน ระหว่างนั้นเป็นเวลา เท่ยี งคืน จึงทาํ ให้เสียงดงั มากเน่อื งจากเป็นเวลากลางคืน จึงทําให้ชาวบ้าน แถวนั้นเข้าใจผิด คิดว่าเป็นพวกม่ัวสุมกันจึงได้โทรแจ้งตํารวจ เมื่อตํารวจมาถึงท่ีเกิดเหตุก็เข้า มาจับกมุ โดยทไ่ี มไ่ ด้บอกกล่าวหรือแจ้งให้ทราบเก่ียวกับการจับแต่อย่างไร โดยนักศึกษาผู้ชาย ถูกให้ถอดเสื้อ และทุกคนต้องนอนควํ่าหน้า เหตุการณ์น้ีต้องไปชี้แจ้งต่อตํารวจอยู่นานกว่าจะ เข้าใจ พฤติกรรมการทํางานของตํารวจไม่เป็นไปตามหลักกฎหมายท่ีระบุไว้แต่อย่างไร สร้าง ความไม่เปน็ ธรรมแก่ผู้ถกู จบั กมุ แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซ่ึงในกรณีน้ีเจ้าพนักงานจะต้องแจ้งสิทธิข้ัน พื้นฐาน และบอกข้อกล่าวหนาท่ีชัดเจน และเปิดโอกาสให้ผู้ต้องหาใช้สิทธิในการติดต่อทนาย หรือญาติด้วย และสามารถฟ้องเรียกค่าเสียหายหากพบว่าการเข้าจับกุมน้ันไม่มีหมายศาล หรือเกิดความเสียหายจากการใช้กําลงั ทําร้ายต่อร่างกายหรือทรพั ย์สิน 1.2.2) ตาํ รวจค้นบ้าน , พบของผิดกฎหมายไมต่ รงกับหมายศาล รายละเอียด บ้านข้าพเจ้าเคยถูกหมายศาลมาค้นบ้านในเร่ืองเจ้ามือหวยและเร่ืองยาเสพติดแล้วก็ไม่ พบส่งิ เหล่าน้ี แตไ่ ปพบปืนเก่าท่ีใช้งานไมไ่ ด้แล้ว เป็นปืนยาวด้ามไม้ มีทะเบียนสลักหลังที่ปืนแล้ว แต่มีปญั หาคือปืนไมไ่ ด้ย้ายทะเบียนจากจังหวัดสระบุรีข้ึนมาที่ลําปาง ซ่ึงตอนหลังย้ายบ้านจาก สระบุรีมาท่ีลําปาง ตํารวจจึงเชิญตัวพ่อข้าพเจ้าไปโรงพัก พอตอนประกันตัวกลับไม่ มีตํารวจ คนไหนยอมเซน็ ให้ประกันตวั ซ่งึ หมายศาลมาอีกอย่างหนึ่งแต่กลับถูกตั้งข้อหาอีกอย่างหนึ่ง ซึ่ง เห็นว่าเขาเอาอะไรมาตัดสินว่าบ้านของเราเป็นเจ้ามือหวยใต้ดินค้ายาเสพติด ซึ่งที่บ้านไม่เคย ยุ่งเกย่ี วกับส่งิ ผิดกฎหมาย วิธีแก้ ในภายหลังมาทราบจากตํารวจว่ามีเพ่ือนบ้านเป็นคนมาแจ้ง มันเป็นการกล่ัน แกล้ง ถกู กล่าวหาว่ารํ่ารวยผิดปกติสุดท้ายเร่ืองจบท่ีศาล ในข้อหาปืนไม่ได้มีการโอนย้ายก็เสีย

31 ค่าปรับกันไป และอีกประเด็นคือ ทางศาลสงสัยว่ามีการขอหมายค้นอย่างหน่ึงแต่กลับมาเป็o อีกอย่างหน่ึงซ่ึงทางเราสามารถย่ืนฟ้องได้ แต่พ่อไม่อยากยืดเย้ือเวลา แต่เร่ืองน้ีก็ถือเป็น บทเรียนอย่างหนึ่ง แนวทางแก้ไข ใช้หลักการตรวจค้นและจับกุมตามหมายศาลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่ง กรณีน้ีเป็นการพบของผิดกฎหมายแต่อยู่นอกเหนือขอบเขตของคดีท่ีศาลอนุญาตตามหมาย ศาล การพบของผิดกฎหมายย่อมสามารถต้ังข้อกล่าวหาในลักษณะของการพบส่ิงผิด กฎหมายซึ่งหน้าได้ แต่การใช้กระบวนการท่ีไม่ตรงกับคําขอต่อศาลย่อมมีผลให้เป็นข้อต่อสู้ใน ประเด็นความชอบของกระบวนการตรวจค้น 1.2.3) ตาํ รวจปรกั ปรําตัวการร่วมคา้ ยาบ้า , ทนายฉ้อโกง , ติดคกุ รายละเอียด บ้านดิฉนั เปน็ ร้านขายอปุ กรณ์ก่อสร้างจึงมีลูกจ้างท้ังชายและหญิง พ่ีจงซ่ึงเป็นลูกจ้างท่ี ซ่ือสัตย์ขยันทํางาน อยู่มาวันหน่ึงเขาได้แต่งงานกับหญิงคนหน่ึงซึ่งเป็นความพลาดพลั้ง แต่มา ไม่กีเ่ ดือนเกิดเหตกุ ารณ์พจี่ งถกู จบข้อหาค้ายาบ้า โดยการล่อซ้ือจากตํารวจ ซ่ึงการสอบสวนมา นานแล้วว่าภรรยาพีจ่ งเคยลักลอบค้ายาบ้า และในวันถูกจับน้ันเองภรรยาพ่ีจงตํารวจได้ล่อซ้ือ และค้นพบทซี่ ูเปอร์มาร์เก็ตพบยาบ้าจํานวน 2 เม็ดอยู่กับภรรยาพ่ีจง และตามกฎหมายพี่จงจึง ถูกจับด้วยข้อหาสมรู้ร่วมคิด ซ่ึงตัวพ่ีจงเองไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่าภรรยาตัวเองลักลอบขาย ยาบ้า พ่ีจงจึงให้น้องสาวจดั การหาทนายมาต่อสู้คดีความ โดยทนายได้รับค่าจ้าง 25,000 บาท และได้เข้าร่วมว่าความแก่พ่ีจง แต่กลับบอกให้พ่ีจงยอมรับทุกข้อหาและนัดให้ศาลพิจารณาคดี ในปีหน้าเปน็ เวลา 11 เดือน หลงั จากนั้นทนายคนนั้นก็หายไปไม่มีการติดต่อใดๆกลับมาทําให้พี่ จงติดคกุ เป็นเวลา 2 เดือน จนหลังจากน้ีแม่ดิฉันจึงไปติดต่อทนายคนใหม่ให้มาช่วยว่าความแก่ พ่ีจงจนหลดุ พ้นคดีความออกมา เราควรจะเลือกทนายความท่ีมีความสามารถและไว้ใจได้ ไม่ประมาทในการเซ็น ยอมรบั เอกสารทุกข้อกล่าวหา หากแนใ่ จแล้วว่าเราไมไ่ ด้เป็นคนทํา

32 แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักตัวการร่วมในคดีอาญา ความผิดของผู้กระทําการละเมิดจรรยาวิชาชีพทนาย และหลักมารยาททนายความ ซ่ึงกรณีน้ีการพิสูจน์ว่า “ไม่รู้” จะทําให้พ้นจากการเป็นตัวการ ร่วม ซง่ึ ทนายความที่จ้างวานมามีหน้าทส่ี ู้คดใี ห้ลกู ความพ้นจากความผิด การกระทําของทนาย คนแรกจึงผิดท้ังกฎหมายและมารยาททนายเป็นเหตุให้นําไปสู่การฟ้องร้องให้รับผิดทางอาญา ชดเชยค่าสินไหมทดแทน และถอดถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทนาย 1.2.4) ตํารวจค้นโดยมิชอบ , แรงงาน , รีดทรัพย์ รายละเอียด บ่ายวันหนึ่งมีตํารวจพร้อมหมายศาลขอค้นท่ีพักอาศัยของคนงานที่ทํางาน โดยให้ เหตุผลว่ามี คนงานคนหน่ึงมียาเสพติดไว้ในครอบครอง ด้วยความท่ีพ่อแม่ข้าพเจ้าเช่ือใจในตัว คนงานมาก จึงปล่อยให้ตํารวจคนหน่ึงเข้าไปค้นห้องเพียงคนเดียว ตํารวจคนหน่ึงเดินออกมา พร้อมยาบ้าครึ่งเม็ด และขอจับกุมคนงานทุกคนตรวจปัสสาวะ ซึ่งผลออกมาก็ไม่มีผู้ใดที่บ่ง บอกว่าติดยา จึงปล่อยทุกคนกลบั บ้านและขอคมุ ตัวคนงานเจ้าของห้องที่พบยาบ้าไว้ก่อน ซึ่งใน ตอนแรกพ่อกับแม่ขอประกันตัวไว้แต่ก็ไม่ได้รับการยินยอม แล้วมีตํารวจชั้นผู้ใหญ่เดินออก มาแล้วกล่าวหาว่าแม่ขัดขวางการทํางานเจ้าพนักงานและพยายามปกปิดความผิดคนงาน นายตํารวจบอกให้แม่เอาเงินให้เขาจํานวน 50,000 บาทแล้วคดีก็จะส้ินสุดลง แต่แม่ไม่ยอมให้ นายตํารวจคนน้ันจึงขู่ว่าจะส่ังปิดกิจการทางบ้านและของอายัดทรัพย์ส้ินทั้งหมด ท้ังนี้ตํารวจ คนน้ันยังจับแมไ่ ว้และให้เหตผุ ลว่ากลัวแม่จะหนีความผิด ซ่ึงมองอย่างไรก็ดูเหมือนว่าตํารวจผู้นั้นต้องการแค่เงินของแม่ และเร่ืองที่เกิดขึ้นก็ยัง ทําให้ทางบ้านจําเป็นต้องหยดุ ชะงักลงอีกด้วย แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักการตรวจค้นและตั้งข้อหาตามกระบวนการทางอาญา ซ่ึงกรณีน้ีการตรวจค้น กระทําได้ตามหมายค้น แต่ยังมีข้อต่อสู้เร่ืองการพบยาเพียงครึ่งเม็ดแต่ไม่พบสารเสพติดใน ร่างกายของผใู้ ด ส่วนเรือ่ งการโต้เถียงเป็นการใช้สิทธิธรรมดาท่ีกระทําได้ไม่ถือเป็นการขัดขวาง การปฏิบตั ิหน้าท่ี การเรียกเงินถือเป็นความผิดทางอาญาของเจ้าพนักงานสามารถฟ้องต่อศาล

33 อาญาได้ โดยอาจร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ปปช. หรือแต่งทนายข้ึน สู้คดีเอง 1.2.5) แจ้งขอ้ กลา่ วหาผิด รายละเอียด ตํารวจนายหนง่ึ ได้ขบั รถตามรถจกั รยายคันหน่ึงและเรียนให้ผู้ขับข่ีให้หยุดรถ เม่ือคนขับ ได้หยุดรถตามที่สั่งแล้วเจ้าหน้าทไ่ี ด้แจ้งข้อกล่าวหาว่า ได้ขับรถฝ่าสัญญาณไฟจราจร ซ่ึงคนขับ หมั่นใจว่าตนได้ขับรถไม่ได้ฝ่าสัญญาณไฟอย่างแน่นอน จึงมีการโต้เถียงกันสักพัก ตํารวจจึง เขียนใบส่ังให้ไปเสียค่าปรับท่ีโรงพัก เมื่อไปเสียค่าปรับตามท่ีสั่งก็ต้องงงกับใบส่ังเน่ืองจากใน ใบสง่ั ได้ระบุข้อหาว่าได้ขับรถในลักษณะดัดแปลง เลยเข้าไปซักถาม จึงได้รับคําตอบว่าไม่ได้ฝ่า ไฟแดง แต่ขับรถดัดแปลง จึงสร้างความไม่พอใจกับบุคคลท่ีจ่ายค่าปรับ แต่ก็ยอมรับว่ารถคัน ดงั กล่าวมีลักษณะดัดแปลงจริง แนวทางแก้ไข ใช้หลักความรับผิดเดด็ ขาดตาม พระราชบัญญัติ จราจร และกระบวนการยุติธรรม ซึ่ง กรณีนี้เจ้าพนักงานต้องต้ังข้อกล่าวหาตามฐานความผิดท่ี พระราชบัญญัติจราจร กําหนดไว้ และต้องแจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ต้องหาท่ีขับรถทราบ เพ่ือนําไปสู่การเปรียบเทียบปรับตามระวาง โทษแห่งฐานความผิดนั้น และเป็นการให้สิทธใิ นการต่อสู้ข้อกล่าวหาแก่ผู้ต้องหาด้วย 1.2.6) ฆาตกรรมอาํ พราง , ทาํ ลายหลกั ฐาน รายละเอียด เพ่อื นบ้านของน้าข้าพเจ้า เธอมีผู้ชายมาติดพันมากมายแต่เธอก็ไม่ค่อยได้สนใจใคร อยู่ มาวนั หน่งึ เธอคบหาชายคนหนึง่ เป็นช่างรับเหมาก่อสร้าง ซง่ึ คบกันมาเร่อื ยๆเปน็ เวลานาน แต่มี อยู่คืนหนึ่งเพ่ือนบ้านได้บอกว่าเขาสองคนทะเลาะกันรุนแรงมาก มีปากเสียงกัน เม่ือเวลาผ่าน ไป 2-3 วันน้าสาวข้าพเจ้าจึงได้ทราบข่าวว่าเพ่ือนน้าสาวข้าพเจ้าคนนี้เสียชีวิต เม่ือไม่นานมานี้ ประมาณ 30 นาทไี ด้ น้าข้าพเจ้าก็ไดไ้ ปแอบดูท่ีบ้านเพ่ือนสาวคนน้ี แต่ก็ไม่เห็นร่องรอยของการ ตายเลย จึงได้เข้าไปดูที่โรงพยาบาล สอบถามกบั อัยการ จึงได้ทราบว่า ผู้หญิงคนนี้ได้ยิงตัวตาย ในบ้านของเธอเองร้อยเวรจึงรีบนําศพมาโรงพยาบาล แต่น้าสาวไม่เชื่อในส่ิงท่ีร้อยเวรพูด จึงไป ถามเพื่อนบ้านละแวกน้ัน ก็ได้คําตอบว่าได้ยินเสียงทะเลาะกันจากน้ันได้ยินเสียงปืน ไม่นานก็มี

34 รถตาํ รวจมาเก็บศพไป น้าข้าพเจ้าคิดว่าชายซ่ึงเป็นแฟนเขาได้จ่ายเงินกับร้อยเวรน้ันไป เพ่ือปิด คดี เพราะเน่ืองจากชายคนนี้ค่อนข้างมีอิทธิพลและอีกอย่างสาวคนน้ันก็เป็นคนต่างด้าวด้วย วิธีแก้เห็นว่า ควรแจ้งความไว้กับตาํ รวจเพื่อเปน็ หลกั ฐานในการสืบสวนคดีต่อไป แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักความผิดต่อชีวิตทางอาญา และกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งกรณีนี้ต้อง มีการร้องเรียนต่อผู้บังคับบัญชาหรือ ปปช. ให้ตรวจสอบการทําคดีให้เกิดความเป็นธรรม หรือญาติผู้เสียชีวิตอาจรวบรวมพยานหลักฐาน สํานวน หรือความเห็นของเจ้าพนักงาน ไปต้ัง ทนายเพอ่ื ฟ้องร้องต่อศาลอาญาเองก็ได้ 1.2.7) คดีฆาตกรรมเจ้าหนา้ ท่ีไมด่ ําเนินคดี รายละเอียด ลุงของนักศึกษาถูกยิงเสียชีวิตท่ีภายในร้านขายสุราและอาหารของตนเอง มีเพียง น้องชายของนักศึกษาอายุเพียงหกปีเท่านั้นท่ีอยู่ในเหตุการณ์ ตํารวจท่ีรับผิดชอบคดีบอกว่าลุง มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ในฐานะผู้ค้ารายย่อย และสรุปสาเหตุการถูกยิงว่าเกิดจากการ ขดั แย้งกันในหมู่ผู้ค้ายากลุ่มเดียวกนั ทางครอบครัวและญาติตัดสินใจไม่ฟ้องร้องดําเนินคดีต่อ เพราะ ไม่มีความรู้ทาง กฎหมายและไม่มีเงินเพียงพอต่อการฟ้องร้องดําเนินคดีต่อไป คดีจึงปิดไปไม่สามารถรู้ตัว คนร้าย แนวทางแกไ้ ข ใช้หลกั ความผิดต่อชีวิตทางอาญา และเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ ซึ่งกรณีนี้ เปน็ คดีฆาตกรรมต้องมีการดําเนินคดีนําผู้กระทําผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม หากไม่คืบหน้า สามารถร้องเรียนต่อผู้บงั คับบัญชา หรือร้องต่อ ปปช. ให้มีการดําเนินกระบวนการทางวินัยและ อาญาต่อเจ้าพนักงานที่ไม่ปฏิบัติหน้าท่ไี ด้ 1.2.8) ทะเลาะวิวาท เจ้าพนกั งานมิชอบ รายละเอียด นกั ศึกษาเคยมีเร่อื งชกต่อยกับเพอื่ นในชั้นเรียนโรงเรียนเดียวกันและได้รับบาดเจ็บ บิดา ของนกั ศึกษาไปแจ้งความท่ีโรงพักแต่ก็ไม่รับความเป็นธรรม เพราะผู้กํากับเป็นบิดาของคู่กรณี

35 เจ้าหน้าทต่ี ํารวจก็บอกว่าไม่มีหลักฐานว่าคู่กรณีเป็นคนทําร้ายร่างกายจริง ผู้กํากับซ่ึงเป็นบิดา ของคู่กรณีก็บอกให้นักศึกษากลับไปก่อน ท่านจะจัดการให้เอง แต่พอเวลาผ่านไป ก็ไม่มีอะไร เกิดขึ้นเลย ไปปรึกษาคุณครูสอนวิชากฎหมาย แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักกฎหมายความผิดต่อร่างกาย และกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซ่ึงกรณีนี้ ต้องพิสจู นใ์ ห้ได้ว่าใครเร่ิมความรุนแรงก่อน หากโดยทําร้ายก่อนจึงจะมีสิทธิป้องกันตัว หากไม่ จะเป็นการทะเลาวะวิวาทซ่ึงมีความผิดท้ังสองฝ่าย ส่วนการดําเนินคดีหากไม่ได้รับความเป็น ธรรมอาจร้องไปยังสาํ นักงานตํารวจระดับภาคหรือชาติ หรือร้องไปยงั ปปช. 1.2.9) ทําดีแล้วไมไ่ ด้ดี รายละเอียด ครอบครัวหน่งึ ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก กําลังขับรถกลับจากต่างอําเภอ ระหว่างทาง เจอผู้หญิงในลกั ษณะนอนจมและมีเลือดออก ผู้เป็นพ่อจึงได้ลงจากลงไปเพ่ือทจี่ ะช่วย โดยผู้เป็น แม่ก็ได้ทักท้วงว่าอาจเป็นโจร เม่ือพ่อลงเป็นช่วยก็ได้นําตัวไปส่งที่สถานีอนามัยใกล้ๆ ผู้ประสบ เหตุจึงได้ขอร้องให้ช่วยตามตํารวจ เม่ือตํารวจมาสอบสวนก็ออกมาพร้อมกับพูดว่า ดีแล้วครับ ท่ีชนแล้วไม่หนี อย่างนั้นจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่าทําขวัญให้แก่ผู้ได้รับบาดเจ็บด้วย จาก คําพูดดังกล่าวครอบครัวน้ันจึงได้บอกว่าไม่ได้ชนเป็นคนมาช่วย แต่เจ้าหน้าที่ไม่ยอมให้ไปคุยที่ โรงพัก สุดท้ายผู้ท่ีมาช่วยก็ต้องเสียเงินจํานวน 3 พัน กับการไม่อยากมีเรื่องทั้งๆท่ีตนได้เข้าไป ช่วยแท้ๆ แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักความผิดต่อร่างกาย และกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซ่ึงกรณีน้ีผู้ท่ีได้รับ ความเสียหายและตํารวจต้องปรักปรําให้ได้ว่าเราผิดจริง ส่วนเราเพียงแค่แก้ต่างว่าไม่มี ร่องรอยการชนท่จี ดุ ใดๆของรถกเ็ พียงพอเนื่องจาก หลักกฎหมายอาญาให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ถูกกล่าวหาเปน็ ผู้บริสทุ ธิ์จนกว่าจะมีการพิสจู นไ์ ด้จนปราศจากข้อสงสัย

36 1.2.10) ล่าช้า รายละเอียด มีเจ้าทุกข์สองราย ในข้อหาท่ีเหมือนกัน เจ้าทุกข์รายหน่ึงเป็นเพียงชาวบ้านธรรมดา ส่วนอีกรายเป็นกํานันในท้องท่ีดังกล่าว เจ้าทุกข์ท่ีเป็นชาวบ้านได้เข้าร้องทุกข์กับเจ้าพนักงาน ก่อนกํานัน แต่การดําเนินกระบวนการสืบสวนและสอบสวนของเจ้าพนักงานคดีทั้งสองต่างกัน มาก คดีของกํานันมีการคืบหน้าของคดีอย่างรวดเร็วและสามารถจับกุมผู้กระทําความผิดได้ใน เวลารวดเร็ว แต่คดีที่มีเจ้าทุกข์เป็นชาวบ้านธรรมดาและมีความเสียหายมากกว่าคดีกลับไม่มี ความคืบหน้า กว่าจะดําเนินการจับกุมตัวผู้กระทําความผิดได้ต้องใช้เวลาถึง 2 ปี ซ่ึงจาก เหตุการณ์ดังกล่าวจึงทําให้เกิดข้อสงสัยของเจ้าทุกข์ท่ีเป็นชาวบ้านว่า ฐานะเจ้าทุกข์ต่างกันจึง ต้องทาํ ให้พนักงานตํารวจทาํ งานต่างกันหรือไหม แนวทางแกไ้ ข ใช้หลักกฎหมายคุ้มครองสิทธิอย่างเสมอภาค ซ่ึงการลัดคิว ดําเนินการล่าช้าเป็น พฤติกรรมท่ีหน่วยงานผู้ให้บริการจําเป็นต้องควบคุมมิให้เกิดข้ึนเน่ืองจากเป็นการละเมิดสิทธิ ของผู้อื่นอย่างไม่เป็นธรรม โดยสามารถร้องเรียนต่อผู้บริหารของหน่วยงานน้ันให้ทราบถึง พฤติกรรมเช่นว่า และอาจร้องเรียนต่อองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เช่น ปปช. คณะกรรมการ สิทธิฯ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 1.2.11) เลือกปฏิบัติ รายละเอียด ส่วนใหญ่เรามักจะเห็นตํารวจจราจรต้ังด่านตรวจผู้ท่ีขับข่ีรถตามท้องถนน บางด่านมี การต้ังถูกต้องตามหลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายกําหนด บางด่านตรวจก็ตั้งเรียกไถ่เงินชาวบ้านเฉยๆ ซ่ึงในการต้ังด่านในแต่ละคร้ัง เจ้าพนักงานก็มักจะเลือกท่ีจะเปรียบเทียบกับผู้ขับขี่ท่ีทําผิดกฎ จราจรบางคน ส่วนใหญ่ท่ีจะหลุดรอดไม่เรียนเปรียบเทียบมักเป็นผู้หญิงวัยสาวหน้าตาดี จึงทํา ให้เด็กผู้ชายบางคนเห็นว่าไม่ยุติธรรมสําหรับตน เนื่องจากกระทําผิดเหมือนกันก็ย่อมต้องรับ โทษแบบเดียวกัน