Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore artma001

artma001

Published by Phrapradaeng District Public Library, 2019-05-14 10:21:16

Description: artma001

Search

Read the Text Version

เกณฑ์การประเมนิ ๑) เกณฑ์การใหค้ ะแนน การเขยี นตอบสั้น ๆ เก่ยี วกับความหมายของทศั นธาตุ ทัศนศิลป์ และสิง่ แวดล้อม ประเดน็ ๔ ระดบั คะแนน ๑ น้ำหนัก การประเมิน ๓ ๒ ๑ การเขยี นตอบส้ัน ๆ เขยี นอธิบายความ เขยี นอธิบาย เขยี นอธิบาย เขียนอธบิ าย หมายของทศั นธาตุ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ ทศั นศิลป์ และ ทัศนธาตุ ทศั นศิลป์ ทัศนธาตุ ทัศนศิลป ์ ทศั นธาตุ ทัศนศลิ ป์ สิ่งแวดล้อมได้ชดั เจน และสงิ่ แวดลอ้ ม และสง่ิ แวดล้อมได ้ และส่ิงแวดล้อมได้น้อย ถูกต้องครบถ้วนทง้ั หมด ไดช้ ัดเจนผิดพลาด แต่มีขอ้ ผดิ พลาด แตม่ ขี ้อผิดพลาดมาก ๑ เลก็ นอ้ ย เปน็ สว่ นมาก การใชภ้ าษา ภาษาที่ใช้ในการ ภาษาที่ใช ้ ภาษาท่ีใช้ ภาษาท่ีใช ้ เขียนชดั เจน อ่านเข้าใจ ในการเขียนชดั เจน ในการเขยี น ไม่ชัดเจน ในการเขียนไมช่ ดั เจน ง่ายถกู ตอ้ งตามหลกั อา่ นเข้าใจงา่ ยถกู ต้อง ไม่ถกู ตอ้ งตามหลัก มีขอ้ ผดิ พลาดมาก ภาษาทงั้ หมด ตามหลักภาษา ภาษา ไมถ่ ูกตอ้ ง มผี ิดพลาดเล็กน้อย ตามหลกั ภาษา เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน ๗ - ๘ หมายถึง ดมี าก คะแนน ๕ - ๖ หมายถงึ ด ี คะแนน ๓ - ๔ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑ - ๒ หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน ตงั้ แต่ระดับดขี ้ึนไป 142 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

๒) เกณฑ์การให้คะแนน การพูดนำเสนอเกี่ยวกับความแตกต่างและความคล้ายคลึงกัน ของงานทัศนศิลป์ ประเด็น ๔ ระดบั คะแนน ๑ น้ำหนัก การประเมิน อธิบาย ๓ ๒ ๑ การพดู ความแตกตา่ งและ ความคลา้ ยคลึงกัน อธบิ าย อธบิ าย อธิบาย ของทศั นธาต ุ ความแตกต่างและ ความแตกตา่ งและ ความแตกตา่ งและ ในงานทัศนศิลป์ ความคลา้ ยคลงึ กัน ความคล้ายคลึงกัน ความคล้ายคลึงกัน และสิง่ แวดลอ้ ม ของทัศนธาตุ ของทัศนธาต ุ ของทศั นธาตุ ถูกตอ้ งท้งั หมด ในงานทัศนศลิ ป์ ในงานทัศนศลิ ป ์ ในงานทัศนศลิ ป ์ เสยี งดัง ชัดเจน และส่ิงแวดลอ้ ม และสงิ่ แวดล้อม และสง่ิ แวดล้อม ๑ บคุ ลกิ ทา่ ทาง และมคี วามเชอื่ ม่นั ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งเป็นสว่ นนอ้ ย ไมถ่ กู ต้อง ในตนเอง เสียงดัง แต่ทา่ ทาง เสียงเบา และไม่มี เสียงเบา ไม่ชดั เจน ยงั ไม่มั่นใจในตนเอง ความเช่ือมน่ั ในตนเอง และไมม่ ีความเช่อื ม่นั ในตนเอง เกณฑก์ ารตัดสิน คะแนน ๗ - ๘ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๕ - ๖ หมายถงึ ด ี คะแนน ๓ - ๔ หมายถงึ พอใช ้ คะแนน ๑ - ๒ หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑ์การผา่ น ตั้งแต่ระดบั ดีข้ึนไป ๓) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน การวาดภาพ ๓ มิติ เก่ยี วกับธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ๔ คะแนน อธิบายเกี่ยวกับการวาดภาพ ๓ มิติได้ชัดเจน โดยทัศนธาตุมาใช้เหมาะสม ภาพสวยงาม ทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ตามเวลาที่กำหนด ๓ คะแนน อธบิ ายเกยี่ วกับการวาดภาพ ๓ มิตไิ ดค้ อ่ นข้างชดั เจน โดยนำทศั นธาตมุ าใช ้ เหมาะสม ภาพสวยงาม ทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามท่ีกำหนด ๒ คะแนน อธิบายเก่ียวกบั การวาดภาพ ๓ มิตไิ ด้ไม่ชัดเจน โดยนำทัศนธาตุมาใช้เหมาะสม ภาพสวยงาม ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสรจ็ ตามที่กำหนด ๑ คะแนน อธิบายเก่ียวกับการวาดภาพ ๓ มิติไม่ถูกต้อง โดยนำทัศนธาตุมาใช ้ ยังไม่เหมาะสม ทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายไมเ่ สร็จตามเวลาทกี่ ำหนด ๔) เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถใช้เกณฑ์จากเอกสารแนวทาง การวดั และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นแนวทางได้ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศึกษา 143 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ



ภาคผนวก ทักษะการคดิ ทนี่ ำมาใช้ในการพฒั นาผูเ้ รียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑



ทักษะการคดิ ท่นี ำมาใช้ในการพฒั นาผู้เรยี น ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ทักษะการคิดที่นำมาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้ใชก้ รอบด้านกระบวนการในการคดิ ประกอบดว้ ย ๑. ทักษะการคิดข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นทักษะท่ีสำคัญและจำเป็นต่อการคิดท่ัว ๆ ไปใน ชีวิตประจำวัน และเป็นทักษะท่ีเป็นพื้นฐานของการคิดขั้นสูงที่ซับซ้อนขึ้น ทักษะการคิดข้ันพ้ืนฐาน จัดเป็น ๒ กล่มุ ได้แก่ กลมุ่ ทักษะการคดิ ที่ใช้ในการส่อื สาร และกลุ่มทักษะการคิดทีเ่ ปน็ แกน ๒. ทักษะการคิดขั้นสูง จัดเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ทักษะการคิดท่ีซับซ้อน ทักษะพัฒนา ทักษะการคดิ และทกั ษะกระบวนการคดิ สำหรับแนวทางการพัฒนาทักษะการคิด มุ่งเน้นการนำกระบวนการที่ใช้ในการคิดบูรณาการ เข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และเพอื่ ใหค้ รผู สู้ อนไดม้ คี วามชดั เจน ต่อการนำทักษะการคิดสู่การปฏิบัติ ได้นำเสนอความหมายของทักษะการคิดที่นำมาใช้ในการพัฒนา ผู้เรยี นไว้ดังนี ้ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศกึ ษา 147 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ทกั ษะการคิดข้ันพนื้ ฐาน ทกั ษะการคดิ ท่ีใช้ในการสอ่ื สาร ทกั ษะการคดิ ความหมาย ๑. การฟัง การรับร้คู วามหมายจากเสยี งที่ได้ยิน การไดย้ ินเปน็ ความสามารถ ทีจ่ ะได้รับรู ้ สิ่งท่ีไดย้ นิ ตีความ และจับใจความสิ่งทรี่ บั รู้น้ันเข้าใจและจดจำไว้ ๒. การพูด การใชถ้ ้อยคำ นำ้ เสยี ง รวมทงั้ กริ ยิ าอาการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด และความรู้สึกของผู้พดู ให้ผูฟ้ งั ไดร้ บั รู้และเกิดการตอบสนอง ๓. การอ่าน การรับรขู้ อ้ ความในการเขียนของตนเองหรือของผูอ้ น่ื รวมถงึ การรบั รู้ ความหมายจากเครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ เช่น สญั ลกั ษณ์จราจร ๔. การเขยี น การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความร้สู กึ และความต้องการของบุคคล ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือสอ่ื ความหมายใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ ทักษะการคดิ ที่เป็นแกน ทักษะการคิด ความหมาย ๑. การสงั เกต การรับรู้และรวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั สิง่ ใดสิ่งหน่งึ โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ทั้งหา้ เพ่ือให้ไดร้ ายละเอยี ดเกี่ยวกับส่งิ นัน้ ๆ ซง่ึ เป็นขอ้ มูลเชิงประจักษ์ ที่ไมม่ กี ารใช้ประสบการณ์ และความคดิ เห็นของผสู้ งั เกตในการเสนอข้อมลู ขอ้ มูลจากการสงั เกต มีท้ังข้อมลู เชงิ คณุ ภาพและข้อมลู เชิงปรมิ าณ ๒. การสำรวจ การพจิ ารณาตรวจสอบส่ิงที่สงั เกตอยา่ งมีจุดมุ่งหมายเพ่อื ให้ไดข้ ้อเท็จจรงิ และความคดิ เหน็ เก่ียวกบั สงิ่ น้ัน ๓. การสำรวจคน้ หา การคน้ หาสงิ่ ใดสิ่งหนง่ึ ทีย่ ังไมร่ ู้หรือรนู้ ้อยมากอยา่ งมจี ุดหมายด้วยวิธีการต่าง ๆ เพอ่ื ให้ได้ข้อมูลมากทสี่ ุด ๔. การตัง้ คำถาม การพดู หรอื การเขยี นสง่ิ ที่สงสยั หรือสิง่ ที่ตอ้ งการรู้ ๕. การระบุ การบง่ ช้สี ่ิงตา่ ง ๆ หรอื บอกสว่ นตา่ ง ๆ ทเี่ ป็นองค์ประกอบหรอื ลกั ษณะของสิ่งท่ศี ึกษา ๖. การรวบรวมขอ้ มลู การใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ เก็บขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการรู้ ๗. การเปรยี บเทยี บ การจำแนกระบสุ ิง่ ของหรอื เหตุการณ์่ต่าง ๆ ในสิง่ ที่เหมือนกันและส่ิงทต่ี า่ งกนั ๘. การคัดแยก การแยกสิ่งทมี่ ลี กั ษณะตา่ งกนั ตั้งแต่ ๑ อย่างข้นึ ไปออกจากกนั ๙. การจัดกลุ่ม การนำสง่ิ ตา่ ง ๆ ทม่ี คี ณุ สมบตั เิ หมอื นกนั ตามเกณฑม์ าจดั เปน็ กลมุ่ โดยแตล่ ะกลมุ่ มีเกณฑ์ต่างกนั ๑๐. การจำแนกประเภท การนำสงิ่ ตา่ ง ๆ มาแยกเป็นกลุ่มตามเกณฑ์ที่ไดร้ ับการยอมรับทางวชิ าการ หรอื ยอมรบั โดยท่ัวไป 148 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

ทกั ษะการคิด ความหมาย ๑๑. การเรียงลำดับ การนำสง่ิ ตา่ ง ๆ มาจดั เรยี งไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยใชเ้ กณฑก์ ารจดั เกณฑ์ใดเกณฑห์ นงึ่ ๑๒. การแปลความ การเรียบเรียงและถ่ายทอดขอ้ มูลในรูปแบบ/วธิ ีการใหม่ท่แี ตกต่างไปจากเดมิ แตย่ ังคงสาระเดมิ ๑๓. การตคี วาม การบอกความหมายหรือความสมั พันธข์ องขอ้ มลู หรอื สาระทีแ่ ฝงอยู่ไมป่ รากฏ ใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน โดยการเช่อื มโยงกบั บริบทความรู/้ ประสบการณ์เดมิ หรอื ข้อมูลอื่น ๆ ๑๔. การเช่ือมโยง การบอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งข้อมูลอยา่ งมคี วามหมาย ๑๕. การสรุปย่อ การจบั เฉพาะใจความสำคญั ของเรอ่ื งทต่ี อ้ งการสรปุ และนำมาเรยี บเรยี งใหก้ ระชบั ๑๖. การสรุปอ้างองิ การนำความรู้หรอื ประสบการณเ์ ดิมมาใช้ในการสรปุ ลงความเห็นเกีย่ วกับข้อมูล ๑๗. การใหเ้ หตผุ ล การอธิบายเหตุการณห์ รือการกระทำตา่ ง ๆ โดยเชือ่ มโยงใหเ้ หน็ ถงึ สาเหตุและผล ทเี่ กดิ ข้นึ ในเหตุการณห์ รือการกระทำนัน้ ๆ ๑๘. การนำความร้ไู ปใช ้ การนำความร้ทู เี่ กิดจากความเขา้ ใจไปใชเ้ พอื่ ใหเ้ กดิ ความชำนาญ ทักษะการคดิ ข้ันสูง ทักษะการคิดซับซอ้ น ทกั ษะการคดิ ความหมาย ๑. การทำใหก้ ระจา่ ง การให้รายละเอียดหรือคำอธิบายเพ่มิ เติมเกย่ี วกับสง่ิ ท่ีสงสยั หรือคลมุ เครอื เพอ่ื ใหเ้ กิดความชดั เจน ๒. การสรปุ ลงความเหน็ การให้ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับขอ้ มูล/เร่อื งทศ่ี ึกษา โดยการเชอ่ื มโยง และอา้ งอิงจากความร้ ู หรือประสบการณเ์ ดิม หรือจากขอ้ มูลอ่ืน ๆ รวมท้ังเหตุผล ๓. การใหค้ ำกำจดั ความ การระบลุ กั ษณะเฉพาะทส่ี ำคัญของส่ิงใดส่ิงหนึง่ ทตี่ ้องการนยิ าม ๔. การวิเคราะห ์ การจำแนกแยกแยะสง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ /เรื่องใดเร่ืองหนึ่ง เพ่ือค้นหาองค์ประกอบ และความสมั พันธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบเหลา่ นนั้ เพื่อช่วยให้เกิดความเขา้ ใจในเร่ืองนั้น ๕. การสงั เคราะห์ การนำความร้ทู ผ่ี า่ นการวิเคราะห์มาผสมผสานสรา้ งสงิ่ ใหมท่ ี่มลี กั ษณะตา่ งจากเดิม ๖. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามร ู้ การนำความรู้ทม่ี ีไปใช้ในสถานการณ์ใหมท่ ี่มลี ักษณะแตกต่างไปจากเดมิ ๗. การจดั ระเบียบ การนำขอ้ มูลหรือสิง่ ตา่ ง ๆ มาจดั ให้เป็นระเบียบในลักษณะใดลกั ษณะหนง่ึ เพอ่ื ใหส้ ะดวกแกก่ ารดำเนนิ การ ๘. การสรา้ งความรู้ การสรา้ งความรขู้ องตนเองจากการทำความเขา้ ใจเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ใหมก่ บั ขอ้ มลู เดมิ ๙. การจดั โครงสรา้ ง การนำความรมู้ าจกั ให้เป้นโครงสร้างทีแ่ สดงความสัมพันธข์ องขอ้ มูล/ข้อความร ู้ ซงึ่ เปน็ องค์ประกอบของโครงสรา้ งน้นั ๆ แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พ่ือพฒั นาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา 149 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

ทักษะการคิด ความหมาย ๑๐. การปรับโครงสร้าง การนำขอ้ มูลมาปรับ/เปลี่ยน/ขยายโครงสรา้ งความรู้เดิม ๑๑. การหาแบบแผน การหาชดุ ความสัมพนั ธ์ของลักษณะหรือองค์ประกอบในส่ิงใดส่งิ หน่ึง ๑๒. การพยากรณ ์ การคาดคะเนส่งิ ท่ีจะเกิดขึน้ ลว่ งหนา้ โดยอาศัยการสังเกต ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ขึน้ ซ้ำ ๆ หรือ ใช้ความร้ทู เี่ ปน็ หลกั าร กฎ หรอื ทฤษฎี ในเรือ่ งนนั้ มาชว่ ยในการทำนาย ๑๓. การหาความเชือ่ การใช้หลักเหตุผลค้นหาความเชือ่ ที่กำหนดการกระทำของบุคคลนั้น พ้นื ฐาน ๑๔. การต้ังสมมตฐิ าน การคาดคะเนคำตอบที่ยังไม่ได้พิสจู น์ บนฐานขอ้ มลู จากการสงั เกตปรากฏการณ ์ ความรู้ และประสบการณ์เดิม ๑๕. การพสิ จู นค์ วามจรงิ การหาข้อมูลทเ่ี ชอื่ ถอื ไดม้ าสนบั สนนุ ข้อสรุปหรือคำตอบว่าเป็นจรงิ ๑๖. การทดสอบ การหาข้อมลู ท่เี ป็นความร้เู ชงิ ประจกั ษเ์ พอ่ื ใชส้ นับสนนุ หรือคดั ค้านคำตอบล่วงหน้า สมมตฐิ าน ที่คาดคะเนไว้ หรอื เพ่อื ยอมรับหรอื ปฏเิ สธคำตอบท่ีคาดคะเนไว้ ๑๗. การตัง้ เกณฑ์ การบอกประเดน็ /หวั ข้อท่ีใชเ้ ป็นแนวทางในการประเมนิ ๑๘. การประเมนิ การตัดสนิ คณุ ค่าหรอื คณุ ภาพของส่งิ ใดสิง่ หนึ่งโดยการนำผลจากการวัดไปเทยี บกับระดับ คุณภาพทีก่ ำหนด ทกั ษะพัฒนาลกั ษณะการคิด ความหมาย ลักษณะการคดิ ๑. คดิ คล่อง การให้ได้ข้อมลู จำนวนมากอยา่ งรวดเรว็ ๒. คดิ หลากหลาย การให้ไดข้ ้อมูลหลายประเภท ๓. คิดละเอยี ด การให้ได้ขอ้ มลู ที่เปน็ รายละเอยี ดของสง่ิ ท่ตี ้องการคิด ๔. คิดชดั เจน การคดิ ทผ่ี ู้คดิ ร้วู า่ ตนรู้แต่ไมร่ ู้อะไร เข้าใจและไม่เขา้ ใจอะไร และสงสยั อะไรในเร่ืองทีค่ ิด ๕. คดิ อย่างมเี หตผุ ล การใชห้ ลกั เหตผุ ลในการคดิ พิจารณาเรือ่ งใดเรือ่ งหน่ึง ๖. คิดถกู ทาง การคดิ ทท่ี ำให้ได้ความคิดทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อสว่ นรวมและเปน็ ประโยชน์ระยะยาว ๗. คดิ กวา้ ง การคดิ พจิ ารณาถึงองคป์ ระกอบ/แงม่ ุมต่าง ๆ ของเรื่องทีค่ ิดอย่างครอบคลมุ ๘. คดิ ไกล การคิดท่ที ำให้สามารถอธิบายเหตุการณ์ในอนาคตได้ ๙. คดิ ลึกซงึ้ การคิดท่ีทำให้เขา้ ใจความซับซ้อนของโครงสร้างและระบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ในโครงสร้างของเรอ่ื งท่คี ิด 150 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มัธยมศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

ทกั ษะกระบวนการคิด ทกั ษะกระบวนการคดิ ความหมาย ๑. กระบวนการคิด การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณเปน็ กระบวนการคิดเพือ่ ให้ไดค้ วามคดิ ท่รี อบคอบ อย่างมวี ิจารณญาณ สาเหตทุ จ่ี ะเช่ือหรอื จะทำโดยผา่ นการพิจารณาปัจจยั รอบดา้ นอย่างกว้างไกล ลึกซง้ึ และผา่ น การพจิ ารณากล่นั กรอง ไตรต่ รอง ทง้ั ทางดา้ นคณุ -โทษ และคุณค่าท่ีแท้จรงิ ของส่งิ น้ันมาแลว้ ๒. การะบวนการคดิ การตดั สินใจเปน็ กระบวนการที่ใช้ในการพจิ ารณาเลอื กตัวเลอื กท่ีมตี ัง้ แต ่ ตัดสนิ ใจ ๒ ตวั เลอื กขึน้ ไป ทางเลอื กน้ันอาจจะเปน็ วัตถสุ ง่ิ ของ หรือแนวปฏบิ ัติตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการแกป้ ญั หา หรือดำเนนิ การเพื่อใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ท่ตี ั้งไว ้ ๓. กระบวนการคิด กระบวนการแกป้ ัญหาท่ัวไป แก้ปัญหา การแก้ปัญหาเป็นขน้ั ตอน การเผชญิ ฝ่าฟนั อุปสรรค และแก้ไขสถานการณ ์ เพือ่ ให้ปัญหานั้นหมดไป กระบวนการแก้ปัญหา (เฉพาะโจทยป์ ญั หาตวั เลข) การแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ หมายถงึ ขั้นตอนในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา ๔. กระบวนการวจิ ยั การวจิ ยั หมายถงึ ขน้ั ตอนที่ใชห้ าคำตอบของปญั หาเปน็ ผลใหพ้ บองคค์ วามรู้ใหม ่ ขน้ั ตอนท่ีใชแ้ กป้ ญั หานนั้ มคี วามเปน็ ลำดบั ขน้ั ตอนอยา่ งเปน็ ระบบ ๕. กระบวนการคดิ ความคดิ ทีแ่ ปลกใหม่ที่จะนำไปสูส่ ่ิงตา่ ง ๆ ผลผลิตใหม่ ๆ ทางเทคโนโลย ี สรา้ งสรรค ์ และความสามารถในการประดิษฐค์ ดิ ค้นส่งิ แปลกใหม่ ๖. กระบวนการคดิ การคดิ ค้นหาปญั หาอยา่ งแท้จริง ชดั เจน เปิดรบั ขอ้ มลู ความคิด พิสจู น์ แยกแยะ แกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค ์ ให้ได้ความคิดเหน็ ที่ดีท่ีสดุ และแปลงความคดิ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติอยา่ งสร้างสรรรค ์ ท่มี าของข้อมลู เอกสาร ทศิ นา แขมมณี และคณะ ๒๕๔๙ : การนำเสนอรปู แบบเสรมิ สรา้ งทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู ของนสิ ติ นกั ศกึ ษา คร ู ระดับปริญาตรีสำหรับหลักสูตรครุศึกษา : รายงานวิจัย. คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . (เอกสารเย็บเลม่ ) เวบ็ ไซต ์ http://th.wikipedia.org/wiki http://www.wangnoi-nfe/index.file/Page1181.html http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical-Reading_meaning/htm http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/1001/chapter31.htm แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา 151 กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ

ท่ปี รกึ ษา คณะทำงาน ๑. นายชนิ ภทั ร ภมู ิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๒. นางเบญจลกั ษณ์ นำ้ ฟ้า รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๓. นางสาววีณา อัครธรรม ผอู้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๑. รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณ ี ๒. ดร.เพญ็ นี เหลา่ วฒั นพงษา ผูก้ ำหนดกรอบแนวคิด ๑. นางเบญจลักษณ์ นำ้ ฟา้ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ๒. นางสาวกัญนกิ า พราหมณพ์ ทิ กั ษ์ รองผูอ้ ำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ กลุม่ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ๑. นางสาวกัญนกิ า พราหมณพ์ ิทักษ์ รองผู้อำนวยการสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๒. นางสาวศรนิ ทร เศรษฐการณุ ย ์ นกั วิชาการศกึ ษา ๓. นางสาววรณนั ขุนศร ี นกั วิชาการศึกษา ๔. นางผาณิต ทวศี ักดิ์ นักวชิ าการศึกษา ๕. นางบุษรนิ ประเสริฐรัตน ์ นกั วชิ าการศกึ ษา ๖. นางสาวเปรมวดี ศรีธนพล นกั วชิ าการศกึ ษา ๗. นางสาวภทั รา สุวรรณบตั ร นกั วชิ าการศึกษา ๘. นางสาวจรญู ศรี แจบไธสง นกั วชิ าการศึกษา 152 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พอ่ื พัฒนาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

คณะทำงาน ครงั้ ท่ี ๑ การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ัดสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการคิด ๑. นายสทุ ธิ ร้กู ารนา สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ๒. นายมงคล จันทร์งาม สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๓ ๓. นางนิตยา กนษิ ฐ์ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๕ ๔. นางสาวนภา สุขพิทกั ษ์ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต ๒ ๕. นางปรัชญา พรหมวงษ ์ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต ๑ ๖. นายวริ ัตน์ คุ้มคำ โรงเรยี นวัดสสี ุก เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร ๗. นายจรี พันธ์ สมประสงค์ โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุง สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ ๘. นายธำรงศกั ดิ์ ธำรงเลศิ ฤทธ ิ์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๙. นางสาวกิ่งกาญจน์ สิรสคุ นธ ์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ๑๐. นางจติ รา สริ ิภูบาล สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑๑. นางบษุ ริน ประเสริฐรัตน ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทำงาน ครงั้ ที่ ๒ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ๑. นายสุทธิ รู้การนา สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ๒. นายมงคล จนั ทร์งาม สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๓ ๓. นางปรชั ญา พรหมวงษ์ สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต ๑ ๔. นายวริ ตั น์ ค้มุ คำ โรงเรยี นวดั สสี กุ เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร ๕. นายจีรพันธ์ สมประสงค์ โรงเรยี นคณะราษฎร์บำรุง สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ ๖. นายวิจติ ร ชชู ว่ ย โรงเรยี นประภสั สรรงั สติ สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต ๑ ๗. นายชื่นใจ นวลยงั โรงเรียนอนบุ าลควนขนุน สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต ๑ แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พอ่ื พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มัธยมศึกษา 153 กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

๘. นางสภุ าพ โอภธิ ากรณ ์ โรงเรียนวดั ดอนศาลา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต ๑ ๙. นางพรรษา บวั มะลิ โรงเรียนบ้านลองเหนือ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ๑๐. นายจเร จนั ทร์เปรม โรงเรียนบา้ นทรงธรรม สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต ๑ ๑๑. นางอมร พนั ชนะ โรงเรียนสำโรงทาบวทิ ยาคม สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๑ ๑๒. นางณชั ตา ธรรมธนาคม โรงเรียนศูนยร์ วมนำ้ ใจ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ๑๓. นายธำรงศักดิ์ ธำรงเลิศฤทธิ์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑๔. นางบษุ รนิ ประเสรฐิ รัตน์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา คณะทำงาน คร้งั ที่ ๓ การบรรณาธกิ ารการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะการคดิ ๑. นางนิตยา กนษิ ฐ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๕ ๒. นายมงคล จนั ทรง์ าม สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๓ ๓. นายจรี พนั ธ์ สมประสงค ์ โรงเรยี นคณะราษฎรบ์ ำรุง สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ ๔. นางอมร พันชนะ โรงเรยี นสำโรงทาบวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๑ ๕. นางศมาพร เจนจบ โรงเรยี นเกศกาศร สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต ๑ ๖. นางพรรษา บัวมะล ิ โรงเรยี นบ้านลองเหนอื สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ๗. นางสุภาพ โอภิธากรณ์ โรงเรียนวดั ดอนศาลา สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต ๑ ๘. นายพพิ ฒั น์ กรแก้วสกลุ เดช โรงเรียนศนู ย์รวมน้ำใจ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ๙. นางณัชตา ธรรมธนาคม โรงเรียนศนู ย์รวมน้ำใจ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ๑๐. นางบษุ ริน ประเสรฐิ รตั น์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 154 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

คณะทำงาน คร้ังท่ี ๔ บรรณาธิการเอกสารการแนวทางจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ๑. นายสุทธิ ร้กู ารนา สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ๒. นายมงคล จนั ทร์งาม สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๓ ๓. นางนติ ยา กนษิ ฐ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๕ ๔. นายพพิ ัฒน์ กรแกว้ สกลุ เดช โรงเรียนศูนยร์ วมนำ้ ใจ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ๕. นางณัชตา ธรรมธนาคม โรงเรยี นศนู ยร์ วมน้ำใจ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ๖. นายประเทศ สขุ สถิตย์ ข้าราชการบำนาญ ๗. นางบษุ รนิ ประเสริฐรัตน์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา คณะทำงาน ครง้ั ท่ี ๕ บรรณาธกิ ารหลงั การทดลองใชเ้ อกสารการแนวทางจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ ๑. นายสทุ ธิ รกู้ ารนา สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ๒. นางนิตยา กนิษฐ สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต ๕ ๓. นายมงคล จันทร์งาม สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๓ ๔. นายปญั ญา แกล้วกล้า สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง ๕. นางรัตนาพร จุทานันท ์ สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๔ ๖. นางปารชิ าติ เข่งแก้ว สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต ๓ ๗. นายไพบูลย์ อมรประภา โรงเรียนพทุ ธชนิ ราชพทิ ยา จ.พิษณุโลก ๘. นางณชั ตา ธรรมธนาคม โรงเรียนศูนยร์ วมน้ำใจ กรงุ เทพมหานคร ๙. นายนคิ ม นนั ทโช โรงเรียนพชิ ัยรัตนาคาร จ.ระนอง ๑๐. นายสมชัย สุวรรณไตร โรงเรียนบา้ นดงุ วิทยา จ.อุดรธาน ี ๑๑. นางเกวลนิ มธุรสาทสิ โรงเรียนวดั แม่แก้ดน้อย จ.เชียงใหม่ ๑๒. นางพรรษา บัวมะล ิ ขา้ ราชการบำนาญ ๑๓. นางบษุ รนิ ประเสริฐรัตน์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดับมัธยมศึกษา 155 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

ผเู้ รียบเรียง และจัดทำฉบับสมบูรณ์ นกั วิชาการศึกษา กลมุ่ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ นางบุษริน ประเสรฐิ รัตน ์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ผอู้ ำนวยการสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ผู้บรรณาธกิ ารข้ันสุดทา้ ย รองผอู้ ำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ๑. นางสาววณี า อคั รธรรม ๒. นางสาวกญั นิกา พราหมณ์พิทักษ ์ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสระบุรี เขต ๑ โรงเรียนเฉลิมขวญั สตรี จ.พิษณุโลก ผอู้ อกแบบปกและรูปเลม่ ๑. นายดุสติ จนั ทรศ์ รี ๒. นายวิเชียร เซ่ียงว่อง 156 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook