Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore artma001

artma001

Published by Phrapradaeng District Public Library, 2019-05-14 10:21:16

Description: artma001

Search

Read the Text Version

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ สาระการเรียนร้ ู ศลิ ปะ ระดบั มธั ยมศกึ ษา กลุ่มพฒั นากระบวนการเรยี นร้ ู สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ๒๕๕๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ ระดบั มัธยมศกึ ษา สงวนลิขสทิ ธ์ ิ กลุ่มพฒั นากระบวนการเรียนรู้ สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒ ๒๕๕๕ จำนวนพิมพ ์ ๔,๐๐๐ เล่ม ผู้จัดพมิ พ ์ กลุ่มพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พมิ พท์ ่ี โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั ๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสวุ รรณ ผพู้ มิ พ์ผูโ้ ฆษณา

คำนำ ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรดังกล่าว ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนา ผู้เรียนทางด้านการคิดและกำหนดไว้เป็นสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน ด้วยถือว่าเป็นทักษะ ท่ีจะนำไปสู่การสร้างความรู้และการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงมีนโยบายส่งเสริมให้มีการนำทักษะการคิดลงสู่การปฏิบัต ิ ในห้องเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการจัดทำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะ การคดิ บรู ณาการใน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สอดคลอ้ งตามตวั ชวี้ ดั และธรรมชาตขิ องแตล่ ะกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำหรับเป็นแนวทาง ให้ครูผู้สอนนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการจัดทำเอกสารได้แยกเป็นรายกลุ่มสาระ การเรียนรู้ แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทำเป็น ๒ เล่ม คือ ระดับชั้นประถมศึกษา ๑ เล่ม และ ระดับช้ันมัธยมศึกษา ๑ เล่ม รวมเอกสารแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ทั้งชุดมี ๑๖ เล่ม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารแนวทาง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา ครู อาจารย์ และผู้ท่ีสนใจนำไปใช้ในการ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการคิด อีกทั้งขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารน ้ี ให้สำเร็จลลุ ่วงดว้ ยด ี (นายชินภัทร ภูมิรตั น) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน



คำช้แี จง แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ี มจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ เสนอแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดซ่ึงเป็นสมรรถนะหลักสมรรถนะหนึ่งตามหลักสูตรแกนกลางฯ ท่ีสอดคลอ้ ง ตามตัวชี้วัดและธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ สำหรับครูผู้สอนเลือกนำไปใช้ในการจัด การเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ งและเกดิ ทกั ษะทางดา้ นการคดิ สำหรับเอกสารน้ีใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกลุ่มสาระ การเรียนรศู้ ิลปะ ระดบั มัธยมศกึ ษา สาระสำคัญในแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดฯ ประกอบดว้ ย ๓ ส่วน ดังน้ ี ๑. การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ดั สู่การพฒั นาทักษะการคดิ มีองคป์ ระกอบดงั น ้ี ๑.๑ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนด ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑.๒ ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได้ เป็นการวิเคราะห์จากตัวช้ีวัดให้เห็นว่า ในแตล่ ะตัวชี้วัดผเู้ รียนควรจะมคี วามรู้อะไรบ้าง และสามารถปฏิบตั สิ ่ิงใดไดบ้ า้ ง ๑.๓ ทักษะการคิด เป็นการวิเคราะห์ทักษะการคิดที่สัมพันธ์กับตัวชี้วัด ในแต่ละตัวซ่ึงเป็นกระบวนการสำคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการคิดไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน ได้สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั ๑.๔ ชน้ิ งาน/ภาระงาน เปน็ การวเิ คราะหช์ นิ้ งาน/ภาระงานทสี่ ะทอ้ นความสามารถ ของผู้เรยี นจากการใช้ความรู้ และทกั ษะการคดิ ทก่ี ำหนดไวซ้ ึง่ สอดคล้องตามตัวชว้ี ดั ๑.๕ แนวการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด เป็นการระบุกระบวนการ ของการคดิ ทจี่ ะนำไปจดั การเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ทกั ษะการคดิ ตามทวี่ เิ คราะห์ไดจ้ ากตวั ชว้ี ดั ๒. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ มอี งค์ประกอบดังน้ี ๒.๑ ตัวชี้วัด เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์/เช่ือมโยงของแต่ละชี้วัด ที่สามารถนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ในแต่ละช้ันปี/ภาคเรียน ซึ่งอาจมาจากกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกันหรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดบางตัวอาจต้องฝึกซ้ำ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับ การพฒั นาด้านทกั ษะการคดิ ใหส้ อดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ดั

๒.๒ ความคิดรวบยอด เป็นการวิเคราะห์แก่นความรู้แต่ละตัวช้ีวัดที่ผู้เรียน จะได้รับจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามตวั ชี้วดั ใน ขอ้ ๒.๑ ๒.๓ สาระการเรยี นรู้ เปน็ สาระการเรยี นรทู้ นี่ ำมาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามตัวช้ีวัด ๒.๔ ทักษะการคิด เป็นทักษะการคิดที่นำมาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้อง ตามมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด ทีว่ ิเคราะห์ไวต้ ามขอ้ ๒.๑ ๒.๕ ชนิ้ งาน/ภาระงาน เปน็ ชนิ้ งาน/ภาระงานทสี่ ะทอ้ นความสามารถของผเู้ รยี น และทกั ษะการคิดตามตวั ชีว้ ดั ที่นำมาจัดกิจกรรมรวมกัน ๒.๖ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เปน็ เทคนคิ /วธิ กี ารสอนทจี่ ะใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี น และนำไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน และสอดแทรกด้วยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิด ที่กำหนดไว้ใหค้ รบถ้วนตามข้อ ๒.๔ อนง่ึ การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ/์ เชอื่ มโยงของแตล่ ะตวั ชว้ี ดั เพอื่ จดั กลมุ่ สำหรบั นำมา จดั กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ตามขอ้ ๒ เปน็ การเสนอเพอ่ื เปน็ ตวั อยา่ ง ในทางปฏบิ ตั คิ รผู สู้ อนสามารถ ปรับเปล่ียน หรือพัฒนาเพ่ิมเติมได้ตามความเหมาะสม ท้ังน้ีเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ในการพฒั นาทกั ษะการคิด ๓. ตัวอย่างการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ เป็นการนำผลการวิเคราะห์การจัดกิจกรรม การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ข้อ ๒.๑-๒.๖ สู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยวิธีการคิด แบบยอ้ นกลับ (Backward Design) ใน ๓ ขน้ั ตอน ดังนี้ l การกำหนดเป้าหมายการเรียนร ู้ l การกำหนดหลกั ฐานการเรียนรู้ l การจดั กิจกรรมการเรียนรู ้

สารบญั หนา้ คำนำ คำชีแ้ จง สารบัญ สรปุ ทักษะการคดิ จากการวเิ คราะห์ตามตัวชวี้ ัดท่นี ำมาใช้ในการพัฒนาผูเ้ รยี นในแต่ละระดบั ชัน้ กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑ การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัดสู่การพัฒนาทกั ษะการคดิ ๓ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาทักษะการคดิ ๑๕ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๓๑ การวเิ คราะหต์ ัวช้ีวัดสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการคดิ ๓๓ การจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ๔๕ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๕๙ การวเิ คราะห์ตวั ชี้วดั ส่กู ารพฒั นาทกั ษะการคดิ ๖๑ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาทกั ษะการคิด ๗๕ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๔-๖ ๙๕ การวเิ คราะหต์ ัวชีว้ ดั สูก่ ารพัฒนาทกั ษะการคดิ ๙๗ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ๑๑๕ ตัวอยา่ งหน่วยการเรยี นร ู้ ๑๓๕ ภาคผนวก ๑๔๕ คณะทำงาน ๑๕๒

สรุปทกั ษะการคดิ จากการวิเคราะห์ตามตัวชี้วดั ทีน่ ำมาใช้ในการพฒั นาผเู้ รียนในแต่ละระดับช้นั กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ทกั ษะการเปรยี บเทียบ ทกั ษะการจดั กลุ่ม ทักษะการคดั แยก ทกั ษะการเช่ือมโยง ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ม.๔-๖ ทกั ษะการจำแนกประเภท ทักษะการต้งั เกณฑ์ ทักษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะการประเมิน ทกั ษะการระบุ ทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ *ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค ์ ทกั ษะการสำรวจ ทักษะการระบุ ทักษะการรวบรวมข้อมลู ทักษะการคัดแยก ทกั ษะการแปลความ ทักษะการตคี วาม ม.๓ ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะการเปรียบเทียบ ทกั ษะการประเมิน ทักษะการให้เหตผุ ล ทกั ษะการสรปุ อ้างอิง ทกั ษะการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ *ทกั ษะกระบวนการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ *ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ทกั ษะการเปรยี บเทียบ ทกั ษะการจัดกลุม่ ทักษะการระบุ ทกั ษะการเชือ่ มโยง ม.๒ ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทกั ษะการวิเคราะห์ ทกั ษะการประเมนิ ทักษะกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการสงั เคราะห์ *ทกั ษะการสงั เคราะห์ *ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะการเปรยี บเทยี บ ทักษะการเช่ือมโยง ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ม.๑ ทักษะการรวบรวมข้อมูล ทักษะการจำแนกประเภท ทกั ษะการจัดกล่มุ *ทกั ษะการวิเคราะห์ ทักษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทักษะการประเมนิ ทกั ษะกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็ *ทักษะกระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ *ทักษะการคิดทเ่ี ปน็ จดุ เน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

™ันÈ ¡ั∏¬¡ศ°÷ …าปทï ี่ ๑ ✦ °าร«‡ิ §ราะÀåต«ั ™ีÈ«ัดสŸ่°ารæ≤ั นาทั°…ะ°าร§ิด ✦ °าร®ัด°ิ®°รร¡°าร‡ร¬ี นร⇟ æอ◊่ æ≤ั นาท°ั …ะ°าร§ดิ



✦ °าร«‡ิ §ราะÀåตั«™Èี«ดั ส่°Ÿ ารæั≤นาทั°…ะ°าร§ดิ การวิเคราะห์ตัวช้ีวัดสู่การพัฒนาทักษะการคิดเป็นการนำตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ช้นั มัธยมศึกษาปทï ี่ ๑ จาก ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน จำนวน ๒๗ ตวั ชวี้ ดั มาวเิ คราะหร์ ายตวั ชวี้ ดั ใน ๔ ประเดน็ คอื ตวั ชวี้ ดั แตล่ ะตวั ผู้เรียนควรมีความรู้อะไรและทำอะไรได ้ ทักษะการคิด ช้ินงาน/ภาระงาน และแนวการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ในแต่ละประเด็นจะม ี ความสมั พันธเ์ ช่อื มโยงกันและสะท้อนคณุ ภาพผูเ้ รียนตามตวั ชีว้ ัด

สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ปต์ ามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ตัวชวี้ ดั ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทกั ษะการคดิ ชิ้นงาน/ แนวการจัดการเรียนรู้ ภาระงาน เพือ่ พฒั นาทักษะการคดิ ๑. บรรยาย ผูเ้ รียนรอู้ ะไร ๑. ทักษะ บรรยาย ๑. ทบทวนความรู้เรื่องทศั นธาตุ ความแตกตา่ ง ความแตกต่างและความ การวิเคราะห์ ความแตกต่างและ ๒. กำหนดความสมั พันธแ์ ละ และความ คลา้ ยคลงึ กันของทศั นธาตุ ๒. ทักษะ ความคลา้ ยคลงึ ความแตกตา่ งของงานทัศนศลิ ป์ คลา้ ยคลงึ กัน ในงานทัศนศลิ ป์และ การจำแนก กันของงาน และส่งิ แวดล้อม ของงาน สง่ิ แวดลอ้ ม ประเภท ทัศนศลิ ป์และ ๓. อภิปรายเกย่ี วกบั ความ ทัศนศิลป์ และ ผเู้ รียนทำอะไรได ้ สิง่ แวดล้อม สัมพนั ธแ์ ละความแตกต่างของ ส่ิงแวดลอ้ ม บรรยายความแตกตา่ ง โดยใช้ความรู้ งานทศั นศิลปแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม โดยใชค้ วามรู้ และความคล้ายคลึงกนั เรือ่ งทัศนธาต ุ ๔. บรรยายและสรปุ ความแตกตา่ ง เร่อื งทัศนธาต ุ ของงานทัศนศลิ ป์ และ และความคลา้ ยคลงึ กนั ของ ส่งิ แวดลอ้ มโดยใชค้ วามร ู้ งานทัศนศิลปแ์ ละส่ิงแวดล้อม เรือ่ งทศั นธาตุเป็นสอื่ ได ้ โดยใชค้ วามรู้เร่ืองทัศนธาตุ ๒. ระบุ และ ผู้เรียนรู้อะไร ทักษะ วาดภาพ ๑. กำหนดผลงานทัศนศิลป ์ บรรยาย หลกั การออกแบบ การเปรียบเทียบ แสดงทศั นียภาพ ท่จี ะเปรยี บเทยี บ หลกั การ งานทัศนศลิ ป์ โดยเน้นความ ๒. นำงานทศั นศลิ ป์ ออกแบบ เปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน มาเปรยี บเทียบ งานทัศนศิลป ์ และความสมดุล ๓. บอกสงิ่ ทีต่ ้องการนำมาเน้น โดยเน้น ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ ความเป็น ระบแุ ละบรรยายหลักการ ในงาน เช่น เอกภาพ/ ความกลมกลนื /ความสมดลุ / เอกภาพ ออกแบบงานทศั นศิลป์ จดุ สนใจ ความกลมกลนื โดยเน้นความเปน็ เอกภาพ และความ ความกลมกลืน และ ๔. ระบุและบรรยายหลกั การ ออกแบบงานทัศนศิลป ์ สมดุล ความสมดลุ ๕. วาดภาพแสดงทศั นียภาพ ๓. วาดภาพ ผเู้ รยี นร้อู ะไร ทกั ษะ วาดภาพ ๑. ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ทศั นียภาพ หลักการวาดภาพทัศนียภาพ การนำความรู ้ ทัศนยี ภาพ หลักการวาดภาพ ๓ มติ ิ แสดงใหเ้ ห็น แสดงใหเ้ ห็นระยะไกลใกล ้ ไปใช้ ใหเ้ ปน็ ๓ มิติ ๒. มองเห็นความเปน็ ระยะใกล้ ระยะไกลใกล ้ เปน็ ๓ มิต ิ ไกลเป็น ๓ มติ ิในภาพวาด เปน็ ๓ มติ ิ ผู้เรยี นทำอะไรได ้ ๓. วาดภาพทัศนยี ภาพ วาดภาพทศั นยี ภาพแสดง แสดงให้เห็นระยะใกล้ไกล ให้เหน็ ระยะไกลใกลเ้ ปน็ ๓ มิต ิ เปน็ ๓ มติ ิ โดยใชค้ วามรแู้ ละ ประสบการณท์ ่ีไดร้ บั  แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตัวชีว้ ัด ผู้เรียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได้ ทกั ษะการคดิ ชิน้ งาน/ แนวการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ ๔. รวบรวมงานปัน้ ผู้เรยี นรูอ้ ะไร ทกั ษะ วาดภาพ ๑. เช่ือมโยงทกั ษะ/ประสบการณ ์ หรือส่ือผสม การรวบรวมงานปน้ั หรอื งาน กระบวนการคิด เปน็ เร่อื งราว สรา้ งงานปัน้ /ส่อื ผสม มาสรา้ งเป็น ส่ือผสม มาสรา้ งเป็นเร่ืองราว สรา้ งสรรค์ ๓ มิติ โดยเน้น ๒. จดั กลมุ่ ปฏิบตั ิงาน เรื่องราว ๓ มิติ ๓ มิติ โดยเน้นความเปน็ ความเปน็ เอกภาพ โดยสรา้ งเรือ่ งราวตามความสนใจ โดยเน้น เอกภาพ ความกลมกลนื ความกลมกลนื มา ๑ เรือ่ ง ความเป็น และการสื่อถงึ เรอื่ งราวของงาน ของเรือ่ งราว ๓. รว่ มกนั ออกแบบ โดยนำงานปนั้ เอกภาพ ผเู้ รียนทำอะไรได ้ ในงานป้นั หรอื หรอื สอ่ื ผสมท่ีรวบรวมได ้ ความกลมกลืน รวบรวมงานปนั้ หรอื ส่อื ผสม งานส่ือผสม มาวาดภาพเป็นเร่อื งราว ๓ มิติ และการส่อื มาสร้างเป็นเร่ืองราว ๓ มิติ โดยเนน้ ความเป็นเอกภาพ ถึงเร่อื งราว โดยเน้นความเปน็ เอกภาพ ความกลมกลนื ของเรอ่ื งราว ของงาน ความกลมกลืนและการสอ่ื ถงึ ในงานป้ันหรืองานสอื่ ผสม เรื่องราวของงาน ๔. นำเสนอผลงาน ๕. ออกแบบ ผ้เู รยี นรูอ้ ะไร ทักษะ ออกแบบ ๑. อภิปรายซกั ถามความร้ ู รูปภาพ การออกแบบ รูปภาพ กระบวนการคิด รปู ภาพ/สัญลกั ษณ ์ เกีย่ วกบั รปู ภาพ สญั ลกั ษณ์ สัญลกั ษณ์ สัญลักษณ์ หรอื งานกราฟิก สร้างสรรค ์ หรือกราฟกิ หรืองานกราฟกิ ตา่ ง ๆ หรือกราฟกิ ในการนำเสนอความคดิ ๒. เชือ่ มโยงทกั ษะ/ประสบการณ์ อืน่ ๆ ในการ และข้อมูล สร้างงานออกแบบ นำเสนอ ผเู้ รียนทำอะไรได ้ ๓. สรา้ งสรรค์งานอยา่ งมีเหตผุ ล ความคดิ ออกแบบรปู ภาพ สมจริงตามหลกั การขั้นตอน และข้อมลู สญั ลักษณ์ หรอื กราฟิกอ่นื ๆ การออกแบบ ในการนำเสนอความคดิ ๔. ออกแบบรูปภาพ/สญั ลกั ษณ์ และขอ้ มูลได้ หรอื กราฟกิ ๕. นำเสนอผลงานท่สี รา้ งข้ึน ๖. ประเมินงาน ผู้เรียนรู้อะไร ทกั ษะ ผลการประเมนิ ๑. ศึกษาและทำความเข้าใจ ทศั นศิลป์และ การประเมนิ งานทัศนศลิ ป์ การประเมนิ งานทัศนศลิ ป ์ เกณฑก์ ารประเมนิ งาน บรรยายถึง และวธิ ีการปรับปรุงงาน ท่ีกำหนดให้ วิธกี ารปรบั ปรงุ ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ งานของตนเอง ประเมนิ งานทศั นศิลป์ และ ๒. ร่วมกนั กำหนดข้ันตอน การประเมินงาน และผู้อื่นโดย บรรยายถึงวธิ กี ารปรบั ปรุงงาน ๓. ประเมินงานของตนเอง ใชเ้ กณฑ ์ ของตนเองและผอู้ ืน่ โดยใช ้ ทีก่ ำหนดให ้ หลักเกณฑท์ ่ีกำหนดให้ และผู้อน่ื ตามเกณฑ์ที่กำหนด ๔. ระบุและอธิบายผล การประเมนิ งานตามเกณฑ ์ ๕. บรรยายและสรุปวิธีการ ปรับปรงุ งานของตนเองและผู้อ่นื แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด ระดับมัธยมศึกษา  กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

สาระที่ ๑ ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ตวั ชว้ี ดั ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทกั ษะการคิด ชน้ิ งาน/ แนวการจดั การเรยี นร้ ู ภาระงาน เพือ่ พฒั นาทักษะการคิด ๑ . ระบุ และ ผู้เรยี นรูอ้ ะไร ๑. ทักษะ ระบแุ ละ ๑. รวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกับ บรรยาย ลกั ษณะ รปู แบบ การจัดกลุ่ม บรรยายเก่ียวกบั ลกั ษณะรูปแบบงานทัศนศิลป ์ เกี่ยวกับ งานทัศนศิลป์ของชาติ ๒. ทกั ษะ ลกั ษณะรปู แบบ ของชาตแิ ละของทอ้ งถ่ิน ลกั ษณะ และของท้องถิ่น การรวบรวม งานทัศนศลิ ป์ ๒. กำหนดเกณฑ์เพ่อื แยก รปู แบบ ผ้เู รียนทำอะไรได ้ ข้อมูล ของชาตแิ ละ ลกั ษณะรปู แบบงานทศั นศลิ ป์ งานทัศนศิลป์ ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับ ของท้องถน่ิ ตนเอง ของชาตแิ ละทอ้ งถนิ่ ของชาติและ ลกั ษณะ รปู แบบงานทัศนศิลป์ จากอดตี จนถงึ ๓. จัดกลุ่มงานทัศนศิลปข์ องชาติ ของทอ้ งถน่ิ ของชาติและของทอ้ งถนิ่ ตนเอง ปจั จบุ ัน และของท้องถ่นิ โดยแยกเปน็ ตนเองจากอดีต จากอดตี ถงึ ปัจจุบนั ลักษณะรูปแบบงานในอดีต จนถึงปจั จุบนั และปจั จุบัน ๔. ระบุและบรรยายลักษณะ รปู แบบงานทศั นศลิ ปข์ องชาตแิ ละ ของท้องถ่นิ จากอดตี ถึงปัจจุบัน ๒. ระบุ และ ผเู้ รียนรู้อะไร ทักษะ สมดุ สะสมภาพ ๑. กำหนดงานท่ตี อ้ งนำมา เปรียบเทยี บ งานทศั นศิลปข์ อง การเปรยี บเทยี บ งานทัศนศลิ ปข์ อง เปรยี บเทียบในกลมุ่ งานทศั นศิลป ์ ภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย ภาคต่าง ๆ ๒. เปรยี บเทยี บงานศลิ ปะ ของภาคต่าง ๆ ผ้เู รยี นทำอะไรได ้ ในประเทศไทย ภาคต่าง ๆ ในเกณฑเ์ ดยี วกัน ในประเทศไทย ระบแุ ละเปรยี บเทียบ ๓. บอกความเหมือน ความต่าง งานทัศนศิลปข์ องภาคต่าง ๆ ทีต่ ้องการในกล่มุ เดยี วกนั ในประเทศไทย ๔. รวบรวมงานทำเป็น สมุดสะสมภาพ ๓. เปรียบเทยี บ ผูเ้ รียนรอู้ ะไร ทักษะ เปรียบเทยี บ ๑. กำหนดจดุ ประสงคท์ ี่ต้องการ ความแตกตา่ ง ความแตกตา่ งของ การเปรยี บเทยี บ ความแตกต่าง เปรยี บเทยี บงานศลิ ปะ ของจุดประสงค ์ งานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย ของงานทศั นศิลป์ ในวฒั นธรรมเดยี วกัน ในการ และสากล ในวฒั นธรรมไทย และตา่ งวฒั นธรรม สร้างสรรค ์ ผเู้ รียนทำอะไรได ้ และสากล ๒. เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง งานทัศนศิลป์ เปรยี บเทยี บความแตกต่าง ของจุดประสงค์ในการสรา้ งสรรค์ ของวัฒนธรรม ของจุดประสงค ์ งานทศั นศลิ ป์ของวัฒนธรรมไทย ไทยและสากล ในการสรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์ และสากล ในวัฒนธรรมไทยและสากล ๓. สรปุ และอภิปรายผล ความแตกตา่ งงานศลิ ปะ ของวัฒนธรรมไทยและสากล  แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และ ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน ตัวชี้วดั ผเู้ รยี นร้อู ะไร/ทำอะไรได้ ทักษะการคดิ ช้นิ งาน/ แนวการจดั การเรยี นรู ้ ภาระงาน เพ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ๑. อา่ น เขยี น ผู้เรยี นรอู้ ะไร ๑. ทกั ษะ อา่ น เขียน ๑. ทบทวนความรู้เดมิ เรือ่ ง รอ้ งโน้ตไทย เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ ์ การนำความรู้ และร้อง โน้ตไทย ความหมาย และสัญลักษณ์ และโน้ตสากล ทางดนตรี ไดแ้ ก่ โนต้ บทเพลงไทย ไปใช้ และโน้ตสากล ของดนตรี อตั ราจังหวะสองชั้น และ ๒. ทกั ษะการ ๒. เช่อื มโยงความรู้เดิมกบั โนต้ สากลในกุญแจซอลและฟา เชอ่ื มโยง ความรู้ใหม่ให้เห็นถงึ ในบันไดเสียง C Major ความเหมอื นกัน ผ้เู รยี นทำอะไรได ้ ๓. อธิบายความรู้ใหม ่ อา่ น เขยี น และร้อง ๔. นำความรู้ไปใช้อ่าน เขยี น โนต้ ไทยและโน้ตสากลได้ รอ้ ง โนต้ ไทย และโน้ตสากล ตามหลกั การทางดนตร ี ๒. เปรยี บเทียบ ผเู้ รียนรู้อะไร ทักษะ ๑. แบบบันทกึ ๑. ฟงั บทเพลงไทยและบทเพลง เสยี งร้องและ เสียงรอ้ งและเสยี งของ การเปรียบเทยี บ การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ที่มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ เสียงของ เครอ่ื งดนตรีที่มาจากวฒั นธรรม ๒. แบบประเมิน ๒. รว่ มกันอภปิ รายวิธีการขบั รอ้ ง เคร่ืองดนตร ี ต่าง ๆ ได้แก่ วิธีการขบั รอ้ ง การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และเสยี งของเคร่อื งดนตร ี ทม่ี าจาก และเครอ่ื งดนตรที ี่ใช้ ๓. เปรียบเทียบเสยี งรอ้ ง วัฒนธรรม ผู้เรียนทำอะไรได ้ และเสยี งของเคร่ืองดนตร ี ที่ตา่ งกัน เปรียบเทียบเสยี งรอ้ ง ในบทเพลงไทยและบทเพลง และเสียงของเครอ่ื งดนตรี จากวฒั นธรรมอน่ื ที่มาจากวฒั นธรรมท่ตี า่ งกัน ๔. ทำแบบบันทกึ และแบบ ประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรม ๓. ร้องเพลงและ ผ้เู รียนรอู้ ะไร ทกั ษะ รอ้ งเพลง ๑. ทบทวนความรู้เดมิ เกี่ยวกบั ใชเ้ ครือ่ งดนตร ี การร้องและการบรรเลง การนำความร้ ู โดยใชเ้ ครอ่ื ง การรอ้ งเพลงและใชเ้ คร่ืองดนตรี บรรเลง เครอ่ื งดนตรีประกอบการรอ้ ง ไปใช ้ ดนตรบี รรเลง ประกอบ ประกอบ ผเู้ รียนทำอะไรได ้ ประกอบ ๒. ฝึกร้องเพลงโดยใช ้ การร้องเพลง รอ้ งเพลงและใช้เครื่อง เคร่อื งดนตรบี รรเลงประกอบ ดว้ ยบทเพลง ดนตรี บรรเลงประกอบ การร้องเพลงด้วยบทเพลง ทีห่ ลากหลาย การรอ้ งเพลงด้วยบทเพลง ทหี่ ลากหลายรูปแบบ รปู แบบ ทหี่ ลากหลายรูปแบบ ๓. ปรับปรงุ แก้ไขขอ้ บกพรอ่ ง ๔. ชื่นชมผลงาน แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดับมธั ยมศกึ ษา  กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ตวั ชว้ี ดั ผู้เรียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได ้ ทกั ษะการคดิ ชน้ิ งาน/ แนวการจดั การเรียนรู้ ภาระงาน เพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ๔. จัดประเภทของ ผ้เู รียนรอู้ ะไร ๑. ทกั ษะ จดั ประเภทของ ๑. สังเกตภาพรวมสง่ิ ทเ่ี หมอื น วงดนตรีไทย ประเภทของวงดนตรีไทย การเปรียบเทียบ วงดนตรีไทยและ และต่างกนั ของวงดนตร ี และวงดนตรี และวงดนตรที ่ีมาจาก ๒. ทักษะ วงดนตรีที่มาจาก ประเภทตา่ ง ๆ ทม่ี าจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ เชน่ การจำแนก วัฒนธรรมตา่ ง ๆ ๒. ร่วมกันอภิปรายและกำหนด วฒั นธรรม วงดนตรีไทย/สากล และ ประเภท เกณฑ์ท่ีไดร้ บั การยอมรับทาง ตา่ ง ๆ วงดนตรพี ื้นเมอื ง วิชาการ หรือยอมรบั โดยท่ัวไป ผเู้ รียนทำอะไรได ้ ในการแยกเสียงร้องและเสยี ง จดั ประเภทของวงดนตรีไทย ของเคร่ืองดนตรีและประเภท และวงดนตรที ม่ี าจาก ของวงดนตรีไทยและวงดนตรี วัฒนธรรมต่าง ๆ ทมี่ าจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ๓. เปรยี บเทียบและจดั ประเภท ของวงดนตรีไทยและวงดนตรี ทมี่ าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ๔. อธิบายผลการเปรยี บเทยี บ และจำแนกประเภทวงดนตรี อยา่ งมีกฎเกณฑ์ ๑. ทกั ษะการ แบบบนั ทกึ ๑. ศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู ๕. แสดงความ ผูเ้ รียนร้อู ะไร คิดเหน็ ท่มี ี การถ่ายทอดอารมณข์ อง รวบรวมขอ้ มลู แสดงความคดิ เกย่ี วกบั อารมณ์ของบทเพลง ตอ่ อารมณ ์ บทเพลงเก่ียวกับจงั หวะกับ ๒. ทกั ษะการ เหน็ ทมี่ ีตอ่ อารมณ ์ ทแี่ ตกต่างกนั ของบทเพลง อารมณ์เพลง ความดงั -เบา เปรียบเทียบ ของบทเพลง ๒. คน้ หาสาเหตุที่ก่อให้เกิด ท่ีมคี วามเรว็ กบั อารมณเ์ พลงและ ที่มีความเร็ว อารมณ์ของบทเพลง ของจังหวะ ความแตกต่างของอารมณเ์ พลง ของจงั หวะและ ๓. อธิบายแสดงความคิดเห็น และความ ผู้เรยี นทำอะไรได ้ ความดงั -เบา ๔. เปรียบเทยี บสิง่ ทเ่ี หมอื น ดงั -เบา แสดงความคิดเหน็ ทมี่ ตี ่อ แตกต่างกนั และต่างกันของอารมณ์ความรู้สึก แตกต่างกนั อารมณ์ของบทเพลงที่มี ในการฟงั ดนตรแี ละบทเพลง ความเร็วของจังหวะและ ความดัง-เบาแตกต่างกัน แต่ละประเภท ๕. สรปุ รวบรวมลงในแบบบันทึก ๖. เปรยี บเทยี บ ผเู้ รียนรู้อะไร ๑. ทกั ษะ บันทึกการ ๑. รวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั อารมณ ์ อารมณ์และความรู้สึก การรวบรวม แสดงความคดิ เหน็ อารมณค์ วามรู้สกึ ในการฟังดนตรี ความรู้สึก ในการฟงั ดนตรแี ตล่ ะประเภท ข้อมูล ในการเปรยี บเทยี บ แต่ละประเภท ในการฟังดนตร ี ผู้เรียนทำอะไรได ้ ๒. ทักษะ อารมณ์ความรสู้ กึ ๒. ค้นหาสาเหตทุ ก่ี อ่ ใหเ้ กิด แต่ละประเภท เปรยี บเทยี บอารมณ์ การเปรียบเทียบ ในการฟงั ดนตรี อารมณ์ และความร้สู ึก ความรสู้ ึกในการฟงั ดนตร ี แตล่ ะประเภท ๓. อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ แตล่ ะประเภทได ้ ในการเปรียบเทยี บอารมณ ์ ความรสู้ กึ ในการฟงั ดนตรี ประเภทตา่ ง ๆ  แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั มัธยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

ตัวชีว้ ดั ผู้เรยี นรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทักษะการคิด ชนิ้ งาน/ แนวการจดั การเรียนรู้ ภาระงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ๔. สรุปการเปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สกึ ในการฟงั ดนตรี แตล่ ะประเภทลงในแบบบันทกึ การปฏิบัติกจิ กรรม ๗. นำเสนอ ผู้เรียนรอู้ ะไร ทักษะ ๑. ทบทวนความร้แู ละซกั ถาม ตวั อยา่ งเพลง ลกั ษณะเดน่ ของบทเพลง การนำความรู ้ ร้องเพลง เกย่ี วกับบทเพลง ท่ีตนเอง ที่ทำให้งานน้ันนา่ ชน่ื ชม ไปใช ้ ๒. กำหนดเพลงทช่ี ื่นชอบ ชืน่ ชอบ การนำเสนอบทเพลงทีต่ นสนใจ ๓. บอกเพลงทช่ี ่ืนชอบ มี และอภปิ ราย ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ ลักษณะเด่นอยา่ งไรจงึ ชอบ ลักษณะเด่น นำเสนอตัวอยา่ งเพลง ๔. ร้องเพลงท่ชี อบและอธบิ าย ทีท่ ำให้งานน้ัน ท่ตี นเองชนื่ ชอบและอภปิ ราย ลกั ษณะเด่นทท่ี ำให ้ น่าช่ืนชม ลักษณะเดน่ ทท่ี ำให้งานน้นั งานนัน้ น่าชน่ื ชม น่าชื่นชม ๘. ใชเ้ กณฑ์ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ทักษะ การประเมนิ ๑. ศกึ ษาขอ้ มลู งานดนตรหี รอื สำหรับประเมิน การประเมนิ คุณภาพของ การประเมนิ คณุ ภาพของ เพลงทฟี่ ัง คุณภาพ บทเพลง ได้แก่ คณุ ภาพ บทเพลง ๒. นำข้อมลู ที่ได้มาสรา้ งเกณฑ์ งานดนตรีหรือ ด้านเนือ้ หา เสยี ง และ สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรี เพลงท่ฟี ัง องคป์ ระกอบทางดนตรี หรอื เพลงทฟี่ งั ผู้เรียนทำอะไรได ้ ๓. บนั ทกึ ผลการประเมิน ใช้เกณฑส์ ำหรบั ประเมิน ทักษะ ๔. แสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเตมิ คุณภาพงานดนตรีหรือ การนำความร ู้ โดยอธิบายเหตุผลประกอบ เพลงทฟ่ี ัง ไปใช ้ ๙. ใช้และ ผ้เู รยี นรูอ้ ะไร รายงานการใช้ ๑. ทบทวนความรู้เก่ียวกบั บำรุง บำรุงรกั ษา การใชแ้ ละบำรุงรักษา และบำรุงรกั ษา รักษาและใชเ้ ครอื่ งดนตรี เคร่อื งดนตร ี เคร่ืองดนตรีอย่างระมัดระวัง เครอ่ื งดนตรี ๒. สร้างความตระหนกั ในคุณคา่ อยา่ งระมดั ระวงั และรับผดิ ชอบ เคร่อื งดนตร ี และรบั ผดิ ชอบ ผูเ้ รยี นทำอะไรได ้ ๓. ฝกึ ปฏิบตั ิใชแ้ ละบำรุงรกั ษา ใช้และบำรงุ รักษา เครอื่ งดนตรี ๔. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เครอื่ งดนตรีอยา่ งระมดั ระวงั ๕. ใช้และบำรุงรักษาเครอ่ื งดนตรี และรับผดิ ชอบ ดว้ ยความรับผดิ ชอบอย่าง ถูกต้องเหมาะสมจนเกิดลักษณะ นสิ ยั ท่ดี ี ๖. เขียนรายงานการใชแ้ ละ บำรงุ รักษาเคร่อื งดนตรี แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาทักษะการคิด ระดับมธั ยมศึกษา  กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

สาระที่ ๒ ดนตร ี มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล ตวั ชว้ี ดั ผ้เู รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทักษะการคดิ ชนิ้ งาน/ แนวการจดั การเรียนร ู้ ภาระงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะการคิด ๑. อธิบายบทบาท ผูเ้ รยี นรูอ้ ะไร ๑. ทกั ษะ ผังมโนทัศน์ ๑. กำหนดประเด็นเก่ยี วกับ ความสัมพันธ์ บทบาทความสัมพันธ์ การรวบรวม ความสมั พนั ธแ์ ละ ความสัมพนั ธแ์ ละอทิ ธิพล และอทิ ธพิ ล และอทิ ธพิ ลของดนตร ี ขอ้ มลู อิทธพิ ลของดนตรี ของดนตรีที่มีต่อสงั คมไทย ของดนตรที ่มี ี ทม่ี ีตอ่ สังคมไทย ๒. ทักษะ ท่มี ตี อ่ สงั คมไทย ๒. รวบรวมขอ้ มลู ต่อสังคมไทย ผู้เรียนทำอะไรได ้ การเชอ่ื มโยง อธบิ ายบทบาท ๓. คน้ หาความหมายบทบาท/ ความสัมพันธ์ ความสมั พันธแ์ ละอิทธิพล และอทิ ธพิ ลของดนตรี ของดนตรีทม่ี ตี ่อสังคมไทย ทม่ี ีตอ่ สงั คมไทย ๔. เช่อื มโยงความรู้ และ ประสบการณ์เดมิ กับขอ้ มลู ที่ได้มาอยา่ งมเี หตุผล ๕. อภปิ รายหาขอ้ สรปุ รว่ มกัน ๖. อธิบายบทบาทและจดั ทำ ผงั มโนทัศน์ความสมั พันธแ์ ละ อทิ ธพิ ลของดนตรที ม่ี ตี อ่ สงั คมไทย และระบุความหลากหลายของ องค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรม ๒. ระบุความ ผ้เู รียนร้อู ะไร ๑. ทกั ษะ ตา่ งกนั หลากหลาย ความหลากหลาย การรวบรวม ระบุความ ๑. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ขององค์ ขององค์ประกอบดนตรี ขอ้ มูล หลากหลายของ องค์ประกอบของดนตร ี ประกอบดนตร ี ในแตล่ ะวฒั นธรรม ๒. ทกั ษะ องคป์ ระกอบ ในวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ในวฒั นธรรม ผเู้ รยี นทำอะไรได้ การเชอื่ มโยง ดนตรีในแตล่ ะ ๒. ค้นหาความหลากหลาย ต่างกัน ระบุความหลากหลาย วฒั นธรรม ขององคป์ ระกอบดนตรี ขององคป์ ระกอบดนตรที ี่มี ๓. เช่อื มโยงความรูห้ รือ ความหลากหลายในวัฒนธรรม ประสบการณเ์ ดมิ กับข้อมูล ทแ่ี ตกตา่ งกนั ได ้ ที่ได้มาอยา่ งมเี หตุผล ๔. ระบคุ วามหลากหลายของ องคป์ ระกอบดนตรีในแต่ละ วฒั นธรรม ๕. อภิปรายหาข้อสรุป 10 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ช่ืนชม และ ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน ตัวชี้วัด ผเู้ รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทักษะการคดิ ชน้ิ งาน/ แนวการจดั การเรียนรู้ ภาระงาน เพอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ๑. อธบิ ายอทิ ธพิ ล ผู้เรยี นรอู้ ะไร ทักษะ อธิบายอิทธพิ ล ๑. ระบุประเด็นใหค้ ดิ จากการ ของนักแสดง อิทธิพลของนักแสดงชอ่ื ดัง กระบวนการคิด ของนกั แสดงชอ่ื ดงั ชมการแสดงและเลือกนักแสดง ชื่อดงั ท่ีมผี ล ที่มผี ลต่อพฤตกิ รรมของผชู้ ม อย่างมี ทีม่ ีผลตอ่ การ ทช่ี ่ืนชอบ ตอ่ การโนม้ นา้ ว รวมทั้งประวัตนิ กั แสดง วจิ ารณญาณ โน้มนา้ วอารมณ์ ๒. ประมวลข้อมลู อทิ ธพิ ลของ อารมณ์หรอื ที่ช่นื ชอบและการพฒั นา หรือความคิด นกั แสดงทีช่ ่นื ชอบโดยพิจารณา ความคิด รูปแบบของการแสดง ของผชู้ ม รอบดา้ นอยา่ งกวา้ งไกล ลึกซึง้ ของผู้ชม ผู้เรียนทำอะไรได ้ อย่างละเอยี ด อธิบายอทิ ธพิ ลของนักแสดง ๓. วเิ คราะห์ขอ้ มูล ทางนาฏศิลปช์ ่ือดังทีส่ ามารถ - ประวัตนิ ักแสดง โนม้ น้าวอารมณ์หรือความคิด - การพฒั นารปู แบบการแสดง ของผชู้ ม - อทิ ธิพลของนกั แสดงที่มผี ล ตอ่ การโนม้ น้าวอารมณห์ รอื ความคดิ ของผ้ชู ม ๔. พจิ ารณาข้อมลู โดยใช ้ หลักเหตุผลและระบทุ างเลือก ท่ีหลากหลาย ๕. ลงความเห็นและตัดสินใจ โดยประเมนิ อทิ ธพิ ลของนกั แสดง ชอื่ ดังทมี่ ีผลต่อการโนม้ น้าว อารมณ์หรอื ความคิดของผู้ชม ๖. อธิบายอิทธพิ ลของนกั แสดง ชอื่ ดังท่ีมผี ลตอ่ การโน้มน้าว อารมณ์หรอื ความคิดของผ้ชู ม ๒. ใชน้ าฏยศัพท ์ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ทักษะ ๑. แสดง ๑. ทบทวนความร้เู ดมิ เกยี่ วกับ หรอื ศัพท ์ การใชน้ าฏยศพั ทห์ รือศพั ท์ การนำความรู้ เบ็ดเตลด็ ๑ ชดุ นาฏยศัพท์ ทางการละคร ทางการละครในการแสดง ไปใช ้ ๒. แสดงรำวง ๒. เชื่อมโยงความรู้ ทักษะ ในการแสดง การใช้ภาษาทา่ และการตีบท มาตรฐาน ๑ ชุด ประสบการณ์การใชน้ าฏยศพั ท์ รวมทั้งทา่ ทางเคล่ือนไหว ๓. แสดงละคร ๑ ศพั ท์ทางการละครในการแสดง ทแ่ี สดงสอ่ื อารมณ์ เรือ่ งที่ส่อื อารมณ ์ ๓. เช่อื มโยงในเกณฑเ์ หตุผล ผู้เรยี นทำอะไรได ้ ทถี่ กู ต้อง แสดงนาฏยศัพทห์ รอื ศัพท ์ ๔. สร้างงานนาฏศิลปโ์ ดยอธบิ าย ทางการละครในการแสดง ขน้ั ตอนกระบวนการแสดงไดค้ รบ ๕. รว่ มกนั วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ ปรบั ปรงุ แก้ไขผลงาน แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั มธั ยมศกึ ษา 11 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

ตัวช้วี ัด ผเู้ รียนร้อู ะไร/ทำอะไรได้ ทกั ษะการคดิ ชิ้นงาน/ แนวการจัดการเรียนรู้ ภาระงาน เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ๓. แสดงนาฏศิลป์ ผ้เู รียนรู้อะไร ทกั ษะ ๑. การแสดง ๑. ทบทวนความรู้ในการแสดง และละคร รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ การนำความรู้ นาฏศิลปพ์ ืน้ เมอื ง นาฏศลิ ปแ์ ละละคร ในรปู แบบ นาฏศลิ ป์พืน้ บ้าน และ ไปใช้ ๑ ชดุ ๒. ฝกึ การแสดงทางนาฏศลิ ป์ งา่ ย ๆ นาฏศิลป์นานาชาติ ๒. การแสดง และการละครในรปู แบบงา่ ย ๆ นาฏศลิ ปน์ านาชาติ ใหส้ ือ่ ได้ในระดับปานกลาง ผ้เู รยี นทำอะไรได ้ ๑ ชุด ๓. การฝึกนำทักษะทางนาฏศลิ ป์ แสดงนาฏศลิ ป์และละคร ไปใชร้ ่วมงานแสดงละคร ในรปู แบบงา่ ย ๆ ๔. รว่ มกนั วิพากษ์วิจารณ์ เพื่อปรับปรุงและแก้ไข ๔. ใชท้ กั ษะ ผเู้ รยี นรู้อะไร ทักษะ ๑. จดั การแสดง ๑. ใช้เทคนิคกระต้นุ เรา้ การทำงาน บทบาทและหนา้ ทข่ี อง กระบวนการคิด ตามความสนใจ เรยี กความสนใจโดยให ้ เป็นกลุ่ม ฝา่ ยต่าง ๆ ในการจัดการแสดง สร้างสรรค์ ๑ ชุด โดยใช้ เล่นเกม “ลมเพ ลมพัด” ในกระบวน รวมทัง้ การสร้างสรรค์กิจกรรม ทกั ษะการทำงาน ๒. ดงึ ศกั ยภาพของผเู้ รียน การผลติ การแสดงท่สี นใจ โดยแบ่งฝา่ ย เป็นกลมุ่ โดยแบง่ โดยร่วมกันอภิปรายถึง การแสดง และหน้าท่ีให้ชดั เจน ฝ่ายและหนา้ ท ี่ ความเหมาะสมที่จะร่วมกัน ใหช้ ดั เจน สร้างสรรค์งานการแสดง ผู้เรียนทำอะไรได ้ ๒. จดั ทำแผ่นพบั ให้ประสบผลสำเร็จ ใช้ทักษะการทำงานเป็นกล่มุ ในกระบวนการผลติ การแสดง เผยแพร่ผลงาน ๓. ให้โจทยก์ ารแสดงงานใด งานหนึง่ ลงมอื ปฏิบัตงิ านโดยใช้ ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม มกี าร แบ่งฝ่ายและหนา้ ที่ให้ชัดเจน ๔. เมอ่ื ผ่านกระบวนการเรยี นรู้ ก่อนนำเสนอเปดิ โอกาส ให้รว่ มกนั วพิ ากษ์วจิ ารณ์ แสดงความคิดเหน็ รจู้ ัก การยอมรับมีเหตุผลนำไป ประยกุ ต์ใช ้ ๕. กำหนดหัวข้อ ตง้ั เกณฑ์ ประเมนิ เองบนพืน้ ฐานของ คุณธรรม ปญั ญาธรรม และ คารวะธรรม ๖. นำผลงานไปเผยแพร่ในรปู แบบต่าง ๆ เพอื่ ให้ผู้ปกครอง ชมุ ชนไดช้ ่นื ชมผลงานและ จดั ทำแผน่ พบั เผยแพร ่ 12 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ

ตัวชีว้ ัด ผเู้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้ ทกั ษะการคดิ ชิ้นงาน/ แนวการจดั การเรียนร ู้ ภาระงาน เพ่อื พัฒนาทกั ษะการคิด ๕. ใชเ้ กณฑง์ ่าย ๆ ผูเ้ รียนรู้อะไร ๑. ทกั ษะ เกณฑ์การ ๑. ศึกษาขอ้ มลู และแบง่ กลมุ่ ทีก่ ำหนดให้ หลักในการชมการแสดง การวเิ คราะห์ ประเมินคณุ ภาพ แสดงบทบาทสมมุต ิ ในการพจิ ารณา ผู้เรียนทำอะไรได ้ ๒. ทกั ษะ กลมุ่ ท่ี ๑ แสดงบนเวท ี คุณภาพ ใช้เกณฑ์งา่ ย ๆ ทีก่ ำหนดให้ การสรุป การแสดง กลมุ่ ท่ี ๒ กลมุ่ ทแี่ สดงเปน็ การแสดง ในการพจิ ารณาคณุ ภาพ ลงความเห็น ผู้ชมที่ดี ทชี่ มโดยเนน้ การแสดงทชี่ ม โดยเนน้ เรื่อง ๓. ทักษะ กลุ่มที่ ๓ กลมุ่ ท่ีแสดงเป็น เร่ืองการ การใช้เสียง การแสดงทา่ การประเมนิ ผชู้ มที่ไม่ดี ใช้เสียง และการเคลือ่ นไหว ๒. ตง้ั วัตถุประสงค์ในการ การแสดงทา่ วเิ คราะหข์ อ้ มูล นักแสดงทีด่ ี และ ผู้ชมทีด่ ี ผูช้ มท่ีไม่ดเี ป็นอย่างไร การเคลอ่ื นไหว ๓. กำหนดเกณฑท์ ่ีจะจำแนก โดยใหร้ ว่ มกันวางเกณฑ์ ๔. แยกแยะขอ้ มูลตามเกณฑ ์ ท่กี ำหนดเพอื่ ใหเ้ ห็นองคป์ ระกอบ ของสิง่ ท่ีวิเคราะห์ ๕. หาความสมั พันธ์ระหว่าง องค์ประกอบ ต่าง ๆ และ ความสัมพนั ธ์ของข้อมลู ในแต่ละองค์ประกอบ (การใช้เสยี ง+การแสดงท่าทาง+ การเคลื่อนไหว) (ผู้แสดง+ผู้ชม) บนั ทึกข้อมูล สรปุ ยอ่ เขียน เป็นแผนภมู ิ ๖. นำเสนอผลการวเิ คราะห ์ จากแผนภูม ิ ๗. นำผลการวเิ คราะห์มาสรปุ ต้งั เป็นคำถามตามวตั ถปุ ระสงค์ ๘. ประเมนิ ผลงานตามเกณฑ ์ การประเมนิ - นำการแสดงท่ีชมโดยเนน้ เรื่องการใชเ้ สียง การแสดงทา่ ทาง และการเคล่ือนไหวมาใช้ ในการประเมินเพอ่ื กำหนดระดับ คุณภาพหรือคุณค่าท่ีไดร้ บั - นำผลท่ีได้จากการวดั มาเทียบกบั ระดับคุณภาพ - ระบรุ ะดบั คณุ ภาพของสงิ่ นนั้ แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา 13 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ (ตอ่ ) มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ตัวชี้วดั ผ้เู รียนรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทักษะการคดิ ชน้ิ งาน/ แนวการจัดการเรยี นรู้ ภาระงาน เพ่อื พฒั นาทักษะการคิด ๑. ระบุปจั จัย ผู้เรียนรู้อะไร ทกั ษะ รายงานปัจจัย ๑. กำหนดมติ ิทีจ่ ะเปรยี บเทียบ ท่ีมีผลตอ่ การ ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการ การเปรยี บเทยี บ การเปลีย่ นแปลง ความเหมือน ความตา่ งละครไทย เปลีย่ นแปลง เปลยี่ นแปลงของนาฏศิลป์ ของนาฏศิลป ์ ละครพนื้ บา้ น นาฏศิลป์ไทย ของนาฏศลิ ป ์ นาฏศิลปพ์ ื้นบ้าน ละครไทย นาฏศิลปพ์ น้ื บา้ น นาฏศลิ ป์พน้ื บา้ น นาฏศิลป์ และละครพืน้ บ้าน ละครไทยและ ๒. จดั การแสดงทเี่ ปรยี บเทียบ พน้ื บา้ น ผู้เรยี นทำอะไรได ้ ละครพื้นบ้าน ให้อยบู่ นฐานเดียวกันตามเกณฑ์ ละครไทยและ ระบุปจั จัยทม่ี ผี ลต่อการ ที่กำหนดและบันทกึ ข้อมูล ละครพื้นบ้าน เปลยี่ นแปลงของนาฏศิลป์ การเปรยี บเทียบ นาฏศิลป์พนื้ บ้าน ละครไทย ๓. บอกความเหมอื นหรือ และละครพ้ืนบา้ น ความต่างของนาฏศลิ ป์และ ละครท่ีเปรียบเทียบ ๔. ระบปุ ัจจยั ทมี่ ีผลต่อการ เปลย่ี นแปลงของนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ปพ์ น้ื บ้าน ละครไทย ๒. บรรยาย ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร และละครพน้ื บา้ น ประเภท ประเภทของละครไทย ๕. เขียนรายงานปัจจยั การ ของละครไทย ในแตล่ ะยุคสมัย เปล่ยี นแปลงของนาฏศลิ ป์ ในแต่ละ ผ้เู รยี นทำอะไรได ้ นาฏศิลป์พน้ื บ้าน ละครไทย ยคุ สมยั บรรยายประเภทของ และละครพืน้ บ้าน ทกั ษะ บรรยายและ ๑. สำรวจประเภทของละครไทย ละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย การประยุกต์ จดั ทำรายงาน ในแตล่ ะยุคสมยั ใชค้ วามรู ้ ประเภทของ ๒. ทบทวนความรเู้ ดมิ เกี่ยวกับ ละครไทย ละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย ในแต่ละยุคสมยั ๓. ตรวจสอบข้อมลู เพือ่ ร่วมกัน อภิปรายลกั ษณะเดน่ ของละคร แตล่ ะยคุ สมยั เพอื่ นำขอ้ มลู ความรู้ มาปรบั ใช้ในสถานการณ์ปจั จบุ นั อย่างเหมาะสม ๔. บรรยายและจดั ทำรายงาน ประเภทของละครไทยในแต่ละ ยุคสมยั 14 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ระดับมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

✦ °าร®ดั °®ิ °รร¡°าร‡ร¬ี นรŸâ‡æอ◊่ æ≤ั นาท°ั …ะ°าร§ดิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พ่อื พัฒนาทกั ษะการคดิ เป็นการวิเคราะห์ ต่อเน่ืองจากการวิเคราะห์ตัวช้ีวัด โดยวิเคราะห์ใน ๖ ประเด็น คือ ความสัมพันธ์/ความเช่ือมโยงของตัวช้ีวัดแต่ละตัวที่จะนำมาจัดกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกันได ้ ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ ทักษะการคิด ช้ินงาน/ภาระงาน และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน ตวั ช้ีวัด ความคิด สาระ ทกั ษะการคดิ ช้นิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรียนรู ้ ภาระงาน กิจกรรมการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ การวาดภาพ ๑. ความแตกต่าง ๑. ทกั ษะ ๑. วาดภาพ ๑. ทบทวนความรู้ ทัศนศิลป ์ แสดงทศั นยี ภาพ และความคล้ายคลึง การวิเคราะห ์ ระบายสธี รรมชาติ เก่ยี วกับงานทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ โดยใช้ความรู ้ กนั ของทศั นธาต ุ ๒. ทกั ษะ และส่ิงแวดล้อม และสิ่งแวดลอ้ ม ๑. บรรยายความ เร่ืองทัศนธาต ุ ในงานทัศนศิลป์ การนำความรู้ไปใช ้ พรอ้ มเขียน ๒. ศกึ ษาค้นควา้ แตกต่างและ สามารถบรรยาย และสิง่ แวดลอ้ ม ๓. ทกั ษะ บรรยายใตภ้ าพ หาความหมายของ ความคล้ายคลึง ความแตกตา่ งและ ๒. หลักการ การจำแนก ๒. วาดภาพ ทัศนธาตุ ทัศนศลิ ป์ กนั ของงาน ความคล้ายคลึงกัน วาดภาพแสดง ประเภท ระบายสี และสิง่ แวดลอ้ ม ทศั นศลิ ป์และ ของงานทัศนศิลป์ ทศั นยี ภาพ แสดง ๓ มิต ิ ๓. กำหนดเกณฑ์และ สิ่งแวดล้อม และส่ิงแวดล้อม ระยะใกล้ไกล แยกขอ้ มลู ของทศั นธาตุ โดยใชค้ วามรู้ เปน็ ๓ มิติ ทนี่ ำไปใชใ้ นงานทศั นศลิ ป์ เรื่อง ทศั นธาต ุ และสิง่ แวดล้อม ๓. วาดภาพ ๔. บรรยายและสรปุ ทัศนียภาพ ความแตกต่างและ แสดงใหเ้ หน็ ความคลา้ ยคลงึ กนั ระยะไกลใกล้ ของงานทศั นศิลป์และ เป็น ๓ มิติ ส่ิงแวดลอ้ มท่เี ป็น ธรรมชาตหิ รอื สง่ิ แวดลอ้ ม ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ โดยใช้ ความร้เู ร่อื งทศั นธาต ุ ๕. นำเสนอผลการ วิเคราะห์และสรปุ ความร้รู ่วมกัน ๖. ศกึ ษาเกยี่ วกับ ภาพวาดชนิดต่าง ๆ โดยให้สังเกตสิ่งท่ี เหมอื นกนั และตา่ งกนั ๗. กำหนดเกณฑ์ เกยี่ วกบั การจำแนกภาพ ตามลักษณะ/รปู แบบ ของงานทศั นศลิ ป ์ เป็นประเภทของภาพ การใช้สี ภาพมีมติ ิและ ไมม่ มี ิติ ภาพทมี่ ี ส่วนประกอบทาง ทัศนธาตุทเ่ี หมาะสม 16 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ตัวช้วี ดั ความคดิ สาระ ทกั ษะการคิด ช้นิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรียนร ู้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรียนรู้ หรือไม่เหมาะสม ๘. คดั แยกภาพวาด ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด จดั กลมุ่ เดยี วกนั ไวด้ ว้ ยกนั ๙. อธบิ ายเหตุผล การจำแนกและเชอื่ มโยง ความรู้/ประสบการณ์ ถ่ายทอดเป็นผลงาน การวาดภาพระบายสี แสดง ๓ มติ ิ ระยะ ใกล-้ ไกลเป็น ๓ มติ ิ ๑๐. ดภู าพวาด และ ภาพ ๓ มติ ิ สงั เกต ความแตกต่างและ ความคลา้ ยกนั ๑๑. เขียนอธบิ ายและ เปรยี บเทียบจำแนก เกยี่ วกบั การนำทศั นธาต ุ มาใช้กับภาพวาดทัว่ ไป ๑๒. สรปุ องคค์ วามรู้ รว่ มกนั ๑๓. วาดภาพธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม เป็นภาพ ๓ มิติ ๑๔. นำเสนอผลงาน ของตนเอง มาตรฐาน ศ ๑.๑ การนำ ๑. ความเป็น ๑. ทกั ษะ ๑. วาดภาพแสดง ๑. กำหนดผลงาน ๒. ระบแุ ละ หลกั การออกแบบ เอกภาพ การเปรียบเทยี บ ทศั นียภาพ นาฏศลิ ปท์ ่จี ะ บรรยาย งานทัศนศิลป์ ความกลมกลืน ๒. ทักษะ ๒. งานปนั้ หรือส่อื เปรยี บเทียบ หลกั การ โดยเน้นความ ความสมดลุ กระบวนการคิด ผสมมาสร้างเป็น ๒. เปรยี บเทียบงาน ออกแบบงาน กลมกลืนและ ๒. เอกภาพ สร้างสรรค์ เรื่องราว ๓ มติ ิ นาฏศิลป์ตามที่กำหนด ทัศนศลิ ป์ โดย ความสมดลุ ความกลมกลืน ๓. จัดบอร์ดหรอื โดยบอกสงิ่ ทีต่ อ้ งการ เนน้ ความเป็น สามารถสร้างงาน ของเร่อื งราว นิทรรศการ เน้น เช่น ความเป็น เอกภาพความ ปนั้ หรือส่ือผสม ในงานปั้นหรอื งาน เอกภาพ/ความกลมกลนื / กลมกลืน และ มาสรา้ งเป็น สื่อผสม ความสมดลุ และจดุ สนใจ ความสมดุล เรอื่ งราว ๓ มิติ ๓. ระบุและบรรยาย ๔. รวบรวมงานปนั้ หลกั การออกแบบงาน หรอื สอ่ื ผสม ทัศนศลิ ป์ มาสร้างเปน็ ๔. วาดภาพแสดง เรอื่ งราว ๓ มิต ิ ทัศนียภาพ แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พ่อื พ ัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ 17

ตัวชวี้ ัด ความคดิ สาระ ทกั ษะการคิด ช้นิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรยี นรู้ ภาระงาน กิจกรรมการเรียนร ู้ โดยเนน้ ความ ๕. สรา้ งความตระหนกั เป็นเอกภาพ โดยการเลา่ นิทาน ความกลมกลืน ๖. แบง่ กลมุ่ การทำงาน และการส่ือถึง เพ่ือระดมความคิด เรือ่ งราว ในการออกแบบงานปน้ั ของงาน หรอื งานสื่อผสม โดย เน้นความเป็นเอกภาพ ๑. ทักษะ ความกลมกลนื และ กระบวนการคิด ความสมดลุ สรา้ งสรรค ์ ๗. สร้างสรรคง์ านปนั้ ๒. ทักษะ หรอื ส่อื ผสม การประเมนิ เปน็ เรอ่ื งราว ๓ มิติ ตามท่ีได้ออกแบบไว ้ ๘. ประเมินผลโดยใช้ เครอ่ื งมอื ทห่ี ลากหลาย ๙. เผยแพร่ผลงาน โดยการจดั นทิ รรศการ ให้เพอ่ื น ผูป้ กครอง ชมุ ชนไดช้ นื่ ชมผลงาน มาตรฐาน ศ ๑.๑ การออกแบบ ๑. การออกแบบ ๑. ออกแบบ ๑. ทบทวนความรู้ ๕. ออกแบบ รปู ภาพ รูปภาพ รูปภาพ สัญลกั ษณ์ เกย่ี วกบั การออกแบบ รปู ภาพ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์หรือ หรอื กราฟกิ รูปภาพ สญั ลักษณ์ สัญลกั ษณ์หรอื หรอื งานกราฟกิ งานกราฟกิ ๒. เกณฑ ์ หรอื กราฟิก กราฟกิ อ่นื ๆ ทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม ๒. การประเมิน การประเมนิ งาน ๒. แบ่งกลมุ่ รว่ มกนั ในการนำเสนอ ตามเกณฑ ์ งานทศั นศิลป์ ทศั นศลิ ป์ วเิ คราะหข์ ้อมูลจาก ความคดิ การประเมิน สื่อตา่ ง ๆ ว่าภาพใด และข้อมลู เปน็ การปรับปรงุ เป็นการออกแบบ ๖. ประเมนิ งาน งานไดอ้ ยา่ งมี สญั ลกั ษณห์ รอื กราฟกิ ทศั นศิลป์และ คุณภาพ ๓. ออกแบบ บรรยายถงึ สัญลักษณโ์ ดยใช้ วิธีการปรับปรุง ข้อมูลในท้องถ่ิน งานของตนเอง ของตนเอง และผอู้ ่ืน ๔. ร่วมกันกำหนด โดยใชเ้ กณฑ์ เกณฑข์ ัน้ ตอนการ ท่กี ำหนดให้ ประเมินงาน ๕. นำเสนอ และ ประเมินผลงาน ของตนเอง และ ผ้อู น่ื ตามเกณฑ ์ ท่กี ำหนด 18 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

สาระที่ ๑ ทศั นศลิ ป ์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล ตวั ช้วี ดั ความคดิ สาระ ทกั ษะการคิด ชน้ิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรยี นรู้ ภาระงาน กิจกรรมการเรียนร ู้ สาระที่ ๑ ลกั ษณะรปู แบบ ๑. ลักษณะ ๑. ทกั ษะ ๑. สมุดสะสมภาพ ๑. กำหนดปญั หา ทศั นศลิ ป ์ งานทัศนศลิ ป ์ รูปแบบงาน การจัดกลุม่ ๒. รายงานเรือ่ ง ใหผ้ ู้เรยี นค้นหา มาตรฐาน ศ ๑.๒ ของชาตแิ ละ ทัศนศิลปข์ องชาติ ๒. ทักษะ งานทัศนศิลป์ จากหนังสอื หรอื ๑. ระบุและ ของทอ้ งถิ่น และท้องถ่ิน การเปรยี บเทียบ ในประเทศไทย จากแหลง่ ขอ้ มูลอื่น ๆ บรรยาย จากอดตี ถึงปจั จุบัน ๒. งานทัศนศลิ ป์ ๓. ทกั ษะ เกย่ี วกบั ลกั ษณะรปู แบบ เก่ยี วกบั มีความแตกต่างกัน ภาคต่าง ๆ การรวบรวมข้อมูล และจุดประสงค ์ ลักษณะ ตามวฒั นธรรม ในประเทศไทย ในการสรา้ งสรรค์ รปู แบบ และตามจดุ ประสงค์ ๓ . ความแตกตา่ ง งานทศั นศิลปข์ องชาติ งานทัศนศิลป ์ ของการ ของงานทศั นศิลป์ ของท้องถิ่นและ ของชาตแิ ละ สร้างสรรค์งาน ในวฒั นธรรมไทย ของสากล ของท้องถนิ่ และสากล ๒. วิเคราะห์งาน ตนเองจากอดีต ทัศนศิลปท์ ค่ี ้นพบแล้ว จนถงึ ปัจจุบัน แยกแยะติดภาพลงใน ๒. ระบแุ ละ สมดุ สะสมภาพตาม เปรยี บเทียบ กลุ่มงานท่กี ำหนดไว้ งานทศั นศิลป์ ๓. เปรียบเทยี บ ของภาคตา่ ง ๆ ความเหมอื น ในประเทศไทย ความแตกตา่ งและ ๓. เปรียบเทียบ คุณค่างานทัศนศิลป์ ความแตกตา่ ง ของชาติ ของทอ้ งถิน่ ของจดุ ประสงค์ และศลิ ปะสากล ในการสรา้ งสรรค ์ ๔. สรปุ นำเสนอ งานทศั นศิลป ์ ๕. เขียนรายงาน ของวัฒนธรรม เรื่องงานทศั นศลิ ป ์ ไทยและสากล ในประเทศไทย แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศึกษา 19 กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ

สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชมและ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตัวชว้ี ดั ความคิด สาระ ทกั ษะการคดิ ช้นิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรยี นรู ้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรยี นร ู้ สาระท่ี ๒ การอ่าน เขียน เครือ่ งหมาย ๑. ทกั ษะ การอา่ น เขยี น ๑. ทบทวนความรู้ ดนตรี รอ้ งโนต้ ไทย และสญั ลกั ษณ์ การนำความรู้ไปใช้ รอ้ งโนต้ ไทยและ เร่ืองเคร่ืองหมายและ มาตรฐาน ศ ๒.๑ และโนต้ สากล ทางดนตร ี ๒. ทักษะ โน้ตสากล สญั ลักษณ์ของดนตรี ๑. อา่ น เขยี น เปน็ พน้ื ฐาน ๑. โน้ตบทเพลง การเช่อื มโยง ๒. เชือ่ มโยงความรู้ ร้องโนต้ ไทย ในการสรา้ งสรรค ์ ไทย อตั ราจังหวะ เดิมกับความรู้ใหม่ และโนต้ สากล งานดนตร ี สองชั้น ให้เหน็ ถึงความ ๒. โนต้ สากล เหมอื นกนั และตา่ งกนั ในกุญแจซอล ๓. อธบิ ายความรู้ใหม่ และฟาในบนั ได ๔. นำความรู้ไปใช้อ่าน เสียง C Major เขยี น ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลตาม หลกั การทางดนตร ี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เสียงร้องและ ๑. เสียงร้อง ๑. ทักษะ ๑. ผงั มโนทัศน์ ๑. สงั เกตภาพรวม ๒. เปรยี บเทยี บ เสยี งของดนตร ี และเสยี งของ การเปรียบเทยี บ เสียงร้องและ สง่ิ ทเ่ี หมอื นและตา่ งกนั เสียงรอ้ งและ มีความแตกต่างกัน เครอ่ื งดนตรี ๒. ทักษะ เสียงเครือ่ งดนตรี ๒. รว่ มกนั อภิปราย เสียงของ ตามวัฒนธรรม ในบทเพลงจาก การจำแนก วงดนตรพี ืน้ เมือง และกำหนดเกณฑ์ เคร่ืองดนตรี ซ่งึ เราสามารถ วัฒนธรรมต่าง ๆ ประเภท วงดนตรีไทย ที่ไดร้ บั การยอมรบั ที่มาจาก ใชจ้ ดั ประเภท - วิธีการขบั ร้อง วงดนตรสี ากล ทางวชิ าการ หรอื วฒั นธรรม ของวงดนตรีได้ - เคร่อื งดนตรี ๒. จดั ประเภทของ ยอมรับโดยท่วั ไป ที่ตา่ งกนั ท่ีใช ้ วงดนตรีไทยและ ในการแยกเสยี งร้อง ๔. จัดประเภทของ ๒. วงดนตร ี วงดนตรีท่ีมาจาก และเสยี งของเครือ่ ง วงดนตรีไทย พืน้ เมือง วฒั นธรรมต่าง ๆ ดนตรี และประเภท และวงดนตร ี ๓. วงดนตรีไทย ของวงดนตรีไทย ทม่ี าจาก ๔. วงดนตรีสากล และวงดนตรที ่มี าจาก วัฒนธรรม วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ต่าง ๆ ๓. เปรียบเทียบและ จัดประเภทของ วงดนตรีไทยและ วงดนตรีทมี่ าจาก วัฒนธรรมท่ีต่างกนั ๔. อธบิ ายผล การเปรียบเทียบและ จำแนกประเภท อย่างมหี ลักเกณฑ์ ๕. ทำผังมโนทศั น ์ 20 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ

ตวั ชีว้ ดั ความคิด สาระ ทักษะการคดิ ชน้ิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรยี นร ู้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรยี นรู ้ มาตรฐาน ศ ๒.๑ การร้องและ การร้องและ ทกั ษะ ร้องเพลง ๑. ทบทวนความรเู้ ดิม ๓. ร้องเพลงและ การบรรเลง การบรรเลง การนำความร ู้ โดยใช้เครอ่ื งดนตรี เก่ยี วกับการร้องเพลง ใช้เครอื่ งดนตรี เครอื่ งดนตรี เครอื่ งดนตรี ไปใช้ บรรเลงประกอบ และใชเ้ ครื่องดนตรี บรรเลง ประกอบการรอ้ ง ประกอบการร้อง ประกอบ ประกอบ เพลงมีหลากหลาย - บทเพลง ๒. ฝกึ ปฏิบตั ิร้องเพลง การรอ้ งเพลง รปู แบบ พื้นบา้ น โดยใชเ้ ครอ่ื งดนตร ี ด้วยบทเพลง บทเพลงปลุกใจ บรรเลงประกอบ ท่หี ลากหลาย - บทเพลง การร้องเพลงดว้ ย รปู แบบ ไทยเดมิ บทเพลงท่หี ลากหลาย - บทเพลง รูปแบบ ตามหลัก ประสานเสยี ง การทางดนตรี ๒ แนว ๓. ปรับปรงุ แก้ไข - บทเพลง ข้อบกพร่อง รูปแบบ ABA ๔. ช่นื ชมผลงาน - บทเพลง ประกอบ การเตน้ รำ มาตรฐาน ศ ๒.๑ บทเพลงท่มี ี การถา่ ยทอด ๑. ทกั ษะ แบบบันทึก ๑. รวบรวมข้อมลู ๕. แสดงความ ความเรว็ ของ อารมณ์ของ การเปรียบเทยี บ แสดงความคดิ เห็น เกย่ี วกบั อารมณ์ คดิ เห็นที่มีต่อ จังหวะและ บทเพลง ๒. ทักษะ ทม่ี ตี ่ออารมณ ์ ของบทเพลง อารมณข์ อง ความดงั -เบา - จงั หวะกับ การรวบรวมข้อมลู ของบทเพลง ทแี่ ตกตา่ งกนั บทเพลงท่มี ี แตกต่างกัน อารมณเ์ พลง และเปรียบเทยี บ ๒. คน้ หาสาเหต ุ ความเร็วของ มผี ลต่ออารมณ์ - ความดัง-เบา อารมณ์ ความร้สู กึ ท่กี อ่ ให้เกิดอารมณ์ จงั หวะ และ ความรูส้ กึ กับอารมณ์ ในการฟังดนตรี ของบทเพลง ความดงั -เบา ในการฟังดนตรี เพลง แต่ละประเภท ๓. อธิบายแสดง แตกต่างกัน และบทเพลง - ความแตกตา่ ง ความคิดเหน็ ๖. เปรยี บเทียบ ของอารมณ ์ ๔. เปรียบเทยี บ อารมณ์ เพลง สิ่งที่เหมอื นและ ความรสู้ ึก ต่างกันของอารมณ์ ในการฟงั ดนตร ี ความรสู้ ึกในการฟัง แตล่ ะประเภท ดนตรแี ละบทเพลง แต่ละประเภท ๕. สรปุ รวมลงในแบบ บันทกึ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ พือ่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดับมัธยมศึกษา 21 กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

ตัวช้วี ัด ความคิด สาระ ทกั ษะการคิด ชนิ้ งาน/ แนวการจัด รวบยอด การเรียนร ู้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ ๒.๑ บทเพลง การนำเสนอ ทักษะ รอ้ งเพลง ๑. กำหนดเพลง ๗. นำเสนอ ทม่ี ีลักษณะเดน่ บทเพลงท่ีตนสนใจ การนำความร ู้ ทตี่ นชื่นชอบ ตัวอย่างเพลง ทำใหน้ า่ ฟงั ไปใช ้ ๒. อธิบายสิง่ ท่ีไดฟ้ งั ทต่ี นเอง และชื่นชอบได ้ จากเพลงมีลกั ษณะ ช่ืนชอบ และ เดน่ อยา่ งไรจึงชอบ อภปิ ราย ๓. นำเสนอเพลง ลักษณะเดน่ ท่ีชืน่ ชอบและอธบิ าย ทท่ี ำให้งานน้นั ลกั ษณะเด่นที่ทำให้ นา่ ช่นื ชม เพลงนัน้ น่าชน่ื ชม มาตรฐาน ศ ๒.๑ งานดนตรหี รือ การประเมนิ ทักษะ แบบประเมิน ๑. ศึกษาขอ้ มลู งาน ๘. ใชเ้ กณฑส์ ำหรับ เพลงท่ฟี ังสามารถ คณุ ภาพของ การประเมิน คุณภาพของ ดนตรหี รอื เพลงที่ฟัง ประเมนิ สร้างเกณฑ์ บทเพลง บทเพลง ๒. นำข้อมูลท่ีไดม้ า คุณภาพ ในการประเมนิ - คุณภาพ สร้างเกณฑ์ สำหรับ งานดนตรหี รือ คณุ ภาพได้ ดา้ นเนอ้ื หา ประเมินคณุ ภาพงาน เพลงท่ีฟงั - คณุ ภาพ ดนตรีหรอื เพลงทฟี่ ัง ด้านเสยี ง ๓. บันทกึ ผลการ - คุณภาพด้าน ประเมนิ องคป์ ระกอบ ๔. แสดงความคดิ เหน็ ดนตร ี เพมิ่ เตมิ โดยอธบิ าย เหตผุ ลประกอบ มาตรฐาน ศ ๒.๑ การใชแ้ ละบำรุง การใชแ้ ละ ทกั ษะ รายงานการใช้ ๑. ทบทวนความรู ้ ๙. ใช้และ รักษาเคร่อื งดนตร ี บำรงุ รกั ษาเครือ่ ง การนำความรู้ และบำรงุ รักษา เกย่ี วกับการใช้และ บำรุงรกั ษา อย่างถูกตอ้ ง ดนตรขี องตน ไปใช ้ เคร่อื งดนตร ี บำรงุ รักษาเครื่องดนตร ี เครอ่ื งดนตรี เหมาะสม ๒. สร้างความตระหนัก อยา่ งระมัดระวัง ทำใหเ้ กิดลกั ษณะ ใหเ้ ห็นคณุ คา่ และรบั ผดิ ชอบ นิสยั ทด่ี ีของผู้ใช้ เคร่อื งดนตร ี ๓. ฝึกปฏบิ ตั ิใชแ้ ละ บำรงุ รักษาเครือ่ งดนตร ี ๔. ปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพรอ่ ง ๕. ใช้และบำรงุ รักษา เครอ่ื งดนตรดี ้วย ความรบั ผิดชอบ อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม จนเกดิ ลกั ษณะนสิ ยั ทด่ี ี ๖. เขยี นสรปุ การใช้ และบำรงุ รกั ษา เครอื่ งดนตร ี 22 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ระดับมธั ยมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล ตวั ชวี้ ัด ความคดิ สาระ ทกั ษะการคิด ช้ินงาน/ แนวการจัด รวบยอด การเรียนรู ้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรยี นร้ ู สาระที่ ๒ ความสมั พันธ ์ ๑. บทบาทและ ๑. ทกั ษะ ๑. ผงั มโนทัศน์ ๑. ศึกษาและรวบรวม ดนตร ี และอทิ ธิพล อทิ ธพิ ลของดนตร ี การรวบรวมขอ้ มลู ความสัมพนั ธ์และ ข้อมูลเก่ยี วกับบทบาท มาตรฐาน ศ ๒.๒ ของดนตรี - บทบาทดนตรี ๒. ทักษะ อิทธพิ ลของดนตรี ความสมั พันธ์และ ๑. อธิบายบทบาท เปน็ องค์ประกอบ ในสังคม การเชอื่ มโยง ท่ีมีตอ่ สังคมไทย อิทธิพลของดนตรี ความสัมพันธ์ ของดนตรีในแต่ละ - อทิ ธพิ ลของ ๓. ทักษะการสรุป ๒. ระบุความ ท่มี ตี ่อสงั คมไทย และอทิ ธพิ ล วฒั นธรรม ดนตรีในสังคม ลงความเห็น หลากหลายของ ๒. คน้ หาความหมาย ของดนตรที ี่มี ๒. องค์ประกอบ องค์ประกอบของ บทบาทความสมั พันธ์ ต่อสงั คมไทย ๒. ระบคุ วาม ของดนตรีในแต่ละ ดนตรีในแต่ละ และอทิ ธิพลของดนตรี วฒั นธรรม วัฒนธรรม ทม่ี ตี อ่ สังคมไทยและ หลากหลายของ องคป์ ระกอบดนตรี องค์ประกอบ ดนตรีใน ในวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ๓. เชื่อมโยงความรู้ วฒั นธรรม หรอื ประสบการณเ์ ดมิ ตา่ งกนั กับข้อมลู ท่ีไดม้ า อยา่ งมเี หตผุ ล ๔. เขยี นผงั มโนทศั น์ ความสมั พนั ธแ์ ละ อทิ ธพิ ลของดนตร ี ทม่ี ตี อ่ สงั คมไทย ๕. อธบิ ายความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกับ บทบาทความสัมพันธ์ และอทิ ธพิ ลของดนตร ี ที่มตี ่อสังคมไทย ๖. ระบุความ หลากหลายของ องค์ประกอบดนตรี ในวฒั นธรรมต่างกนั แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา 23 กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยกุ ต ์ ใช้ในชีวติ ประจำวนั ตวั ชว้ี ัด ความคดิ สาระ ทกั ษะการคิด ช้นิ งาน/ แนวการจัด รวบยอด การเรียนรู้ ภาระงาน กิจกรรมการเรยี นรู้ สาระที่ ๓ นักแสดง ๑. การปฏิบัติ ทักษะ อธิบายอิทธิพล ๑. ระบุประเดน็ ให้คิด นาฏศลิ ป ์ มอี ทิ ธพิ ลต่อการ ของผู้แสดง กระบวนการคดิ ของนักแสดงช่อื ดงั จากการชมการแสดง มาตรฐาน ศ ๓.๑ โน้มน้าวอารมณ์ และผูช้ ม อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ท่ีมผี ลต่อการ และเลือกนักแสดง ๑. อธิบายอิทธิพล ของผู้ชม นักแสดง ๒. ประวตั ิ โนม้ น้าวอารมณ์ ท่ีชนื่ ชอบ ของนักแสดง ที่ดีจึงต้องรู้จกั นักแสดงที่ช่นื ชอบ หรือความคิด ๒. ประมวลข้อมูล ชอ่ื ดงั ทม่ี ีผล พฒั นารปู แบบ ๓. การพฒั นา ของผู้ชม อทิ ธิพลของนกั แสดง ต่อการโนม้ น้าว การแสดง และ รูปแบบของ ท่ีชื่นชอบโดยพจิ ารณา อารมณ์ หรอื เป็นตัวอยา่ งท่ีด ี การแสดง รอบดา้ นอยา่ งกวา้ งไกล ความคิดของ ทกุ ๆ ด้าน ๔. อทิ ธพิ ล ลึกซง้ึ อยา่ งละเอยี ด ผชู้ ม ของนักแสดงท่มี ี ๓. วเิ คราะห์ขอ้ มูล ผลตอ่ พฤตกิ รรม - ประวัตินกั แสดง ของผชู้ ม - การพฒั นารปู แบบ การแสดง - อทิ ธิพลของ นกั แสดงท่มี ผี ลตอ่ การ โน้มน้าวอารมณห์ รอื ความคิดของผชู้ ม ๔. พิจารณาข้อมูล โดยใชห้ ลกั เหตุผล และระบทุ างเลือก ที่หลากหลาย ๕. ลงความเห็นและ ตัดสินใจ โดยประเมิน อิทธิพลของนกั แสดง ชือ่ ดงั ท่ีมผี ลตอ่ การ โน้มนา้ วอารมณ์หรือ ความคิดของผู้ชม ๖. อธิบายอิทธพิ ลของ นกั แสดงชอ่ื ดังทีม่ ีผล ตอ่ การโน้มนา้ วอารมณ์ หรือความคดิ ของผ้ชู ม 24 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ พอื่ พฒั นาทักษะการคิด ระดบั มัธยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ตวั ชี้วัด ความคดิ สาระ ทักษะการคดิ ชนิ้ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรียนร ู้ ภาระงาน กิจกรรมการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ ๓.๑ การแสดงละคร ๑. นาฏยศพั ท์หรอื ๑. ทกั ษะ ๑. แสดงเบ็ดเตล็ด ๑. ดูวีซีดี การตีบท ๒. ใช้นาฏยศพั ท ์ และนาฏศลิ ป์ไทย ศัพท์ทางการละคร กระบวนการคิด ๑ ชดุ ประกอบเพลง หรือศพั ท ์ รปู แบบตา่ ง ๆ ในการแสดง สร้างสรรค์ ๒. แสดงรำวง เพื่อใหเ้ กิดจินตนาการ ทางการละคร จำเปน็ ต้องรู้ และ ๒. ภาษาท่าและ ๒. ทักษะ มาตรฐาน ๑ ชดุ ๒. ระดมความคดิ ในการแสดง ใชน้ าฏยศพั ท์ การตบี ท การนำความรู้ไปใช้ ๓. แสดงละคร เพ่ือดงึ ศักยภาพของ ๓. แสดงนาฏศลิ ป ์ ภาษาท่ารำ หรอื ๓. ท่าทาง เร่ืองท่สี ่ืออารมณ ์ ผ้เู รยี น โดยร่วมแสดง และละคร ศพั ทท์ างการละคร เคลอ่ื นไหวที่แสดง ๑ เร่อื ง ความคิดเหน็ การตบี ท ในรูปแบบ ทถี่ กู ต้องเพือ่ ส่ือทางอารมณ์ ๔. นาฏศลิ ป์ จากการดวู ีซีดี ผแู้ สดง งา่ ย ๆ การสอ่ื สารทาง ๔. ระบำเบด็ เตล็ด พ้ืนเมือง ๑ ชุด และผู้ชมตอ้ งรู ้ อารมณท์ ต่ี รงกัน ๕. รำวงมาตรฐาน ๕. นาฏศิลป์ และนำพ้นื ฐาน ของผแู้ สดง ๖. รูปแบบ นานาชาติ ๑ ชดุ นาฏศิลป์ดา้ นใด และผ้ชู ม การแสดงนาฏศลิ ป์ มาใชบ้ า้ ง มีการ - นาฏศลิ ป์ เช่อื มโยงกนั อยา่ งไร พน้ื บา้ น ๓. เมอ่ื คดิ หาคำตอบ - นาฏศลิ ป์ ได้แลว้ ใหแ้ บง่ กลุ่ม นานาชาต ิ คัดเลือกเพลง ประดิษฐ์ท่ารำ ตามจนิ ตนาการ ประกอบเพลง ๔. แสดงเบด็ เตลด็ ๑ ชดุ รำวงมาตรฐาน ๑ ชดุ ละครสอื่ อารมณ์ ๑ เรื่อง นาฏศิลป์พ้ืนเมือง ๑ ชดุ นาฏศลิ ป์นานาชนดิ ๑ ชดุ ๕. ร่วมกนั วิพากษ์ วจิ ารณ์ ปรบั ปรุงแก้ไข ผลงาน ก่อนนำเสนอ และเมือ่ นำเสนอเสร็จ แลว้ เปิดโอกาส ใหต้ า่ งกลุ่มวพิ ากษ์ วิจารณ ์ แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนร้เู พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ระดับมธั ยมศึกษา 25 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ตัวชวี้ ัด ความคดิ สาระ ทักษะการคิด ช้ินงาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรียนรู ้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ ๓.๑ การผลติ ๑. บทบาทและ ทกั ษะ จดั การแสดง ๑. ใชเ้ ทคนคิ ๔. ใช้ทกั ษะ การแสดง หรอื หนา้ ท่ขี องฝา่ ย กระบวนการคดิ ตามความสนใจ กระตุ้นเร้า เรยี กความ การทำงาน การสร้างสรรค์ ต่าง ๆ ในการจัด สร้างสรรค ์ ๑ ชดุ โดยใช้ทักษะ สนใจของผู้เรียน เปน็ กลุ่ม กจิ กรรมการแสดง การแสดง การทำงานเป็นกลุม่ โดยใหเ้ ล่นเกม ในกระบวนการ ต้องใช้กระบวนการ ๒. การสร้างสรรค์ โดยแบ่งฝ่ายและ “ลมเพ ลมพดั ” ผลติ การแสดง กล่มุ คำนึงถึง กจิ กรรมการแสดง หนา้ ที่ใหช้ ัดเจน ๒. ดงึ ศกั ยภาพของ ความสามารถ ทส่ี นใจ โดยแบ่ง ผูเ้ รียน โดยร่วมกนั การตดั สนิ ใจและ ฝา่ ยและหนา้ ที่ อภิปรายถงึ การแบง่ งาน ใหช้ ัดเจน ความเหมาะสม รบั ผิดชอบ ท่ีจะร่วมกันสรา้ งสรรค์ งานการแสดงให้ ประสบผลสำเร็จ ๓. ใหโ้ จทย์การแสดง งานใดงานหนงึ่ ลงมือ ปฏบิ ตั งิ านโดยใชท้ กั ษะ การทำงานเปน็ กลมุ่ มีการแบง่ ฝา่ ยและ หนา้ ท่ีใหช้ ดั เจน ๔. เมอื่ ผา่ นกระบวนการ เรยี นรู้ กอ่ นนำเสนอ เปิดโอกาสให้ร่วมกนั วิพากษว์ ิจารณ์ แสดง ความคดิ เหน็ รู้จัก การยอมรบั มีเหตุผล นำไปประยุกต์ใช ้ ๕. กำหนดหัวข้อ ต้ังเกณฑป์ ระเมนิ เอง บนพ้ืนฐานของ คณุ ธรรม ปัญญาธรรม และคารวะธรรม ๖. นำผลงานไปเผย แพร่ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ผู้ปกครอง ชมุ ชน ได้ช่ืนชม ผลงาน 26 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

ตวั ชวี้ ดั ความคิด สาระ ทักษะการคิด ชน้ิ งาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรยี นร้ ู ภาระงาน กิจกรรมการเรยี นร ู้ ๑. ศกึ ษาข้อมลู และ มาตรฐาน ศ ๓.๑ การชมการ หลักในการชม ๑. ทกั ษะ เกณฑ์การ แบง่ กลุม่ ๓ กลุ่ม ๕. ใชเ้ กณฑง์ ่าย ๆ แสดงแต่ละอยา่ งมี การแสดง การวเิ คราะห ์ ประเมนิ คณุ ภาพ แสดงบทบาทสมมุต ิ ท่ีกำหนดให ้ ความแตกตา่ งกัน ๒. ทกั ษะ การแสดง กลมุ่ ที่ ๑ แสดงบนเวท ี ในการพิจารณา ผู้ชมควรมีหลกั การประเมิน กลุ่มที่ ๒ กลุ่มท่ีแสดง คุณภาพการ และมีมารยาท ๓. ทกั ษะ เป็นผ้ชู มทด่ี ี แสดงที่ชมโดย ในการชม จะทำให้ การสรุป กลมุ่ ที่ ๓ กลมุ่ ทแ่ี สดง เนน้ เร่ืองการใช ้ สามารถรับร ู้ ลงความเห็น เป็นผูช้ มที่ไม่ด ี เสียง การแสดง เรื่องราวต่าง ๆ ๒. ตัง้ วัตถปุ ระสงค์ ท่าทาง และการ มีความสขุ และ ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล เคล่อื นไหว ถา่ ยทอดให้ผู้อ่นื นักแสดงท่ีดี ผชู้ มทด่ี ี ได้เป็นอย่างด ี ผู้ชมท่ีไม่ดีเป็นอยา่ งไร ๓. กำหนดเกณฑ์ที่จะ จำแนก โดยรว่ มกนั วางเกณฑ์ ๔. ประเมินผลงาน ตามเกณฑ์การประเมนิ ๕. หาความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งองคป์ ระกอบ ต่าง ๆ และความ สัมพันธ์ของขอ้ มูล ในแตล่ ะองคป์ ระกอบ (การใชเ้ สยี ง+ การแสดงท่าทาง+ การเคลือ่ นไหว) (ผแู้ สดง+ผชู้ ม) บนั ทกึ ข้อมูล เปน็ รายบุคคล พร้อมสรุปย่อ เป็นของตนเอง แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาทักษะการคิด ระดับมธั ยมศกึ ษา 27 กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตัวชีว้ ัด ความคิด สาระ ทกั ษะการคดิ ช้ินงาน/ แนวการจดั รวบยอด การเรียนร ู้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรียนร ู้ ๖. นำเสนอผล การวเิ คราะห ์ ๗. นำผลการวเิ คราะห์ มาสรปุ ตัง้ เปน็ คำถาม ตามวัตถปุ ระสงค์ ๘. ประเมนิ ผลงาน ตามเกณฑก์ ารประเมนิ - นำประเด็นการ ประเมินมากำหนด ระดบั คณุ ภาพ - นำผลงานมา เปรียบเทียบกับระดบั คุณภาพ - ระบุระดบั คุณภาพ - ชืน่ ชมผลงาน 28 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พือ่ พัฒนาทักษะการคิด ระดับมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ตวั ชว้ี ัด ความคิด สาระ ทกั ษะการคิด ชิน้ งาน/ แนวการจัด รวบยอด การเรยี นร ู้ ภาระงาน กจิ กรรมการเรียนร้ ู สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ไทย ๑. ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ ๑. ทกั ษะ ๑. เขียนรายงาน ๑. กำหนดมติ ิ นาฏศิลป์ นาฏศลิ ปพ์ ื้นบ้าน การเปลยี่ นแปลง การเปรยี บเทียบ ระบุปจั จัยทีม่ ผี ล ท่จี ะเปรียบเทียบ มาตรฐาน ศ ๓.๒ ละครไทย และ ของนาฏศลิ ป์ ๒. ทกั ษะ ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ความเหมือน ๑. ระบปุ ัจจยั ละครพื้นบ้าน นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบา้ น การประยกุ ต ์ ของนาฏศิลปพ์ ้ืน ความแตกต่าง ทมี่ ีผลต่อการ แตล่ ะประเภท ละครไทย และ ใช้ความร ู้ บา้ น ละครไทย ละครไทย-ละครพน้ื บา้ น เปลยี่ นแปลง มปี จั จยั ที่สง่ ผลตอ่ ละครพ้นื บ้าน และละครพนื้ บา้ น นาฏศลิ ป์ไทย- ของนาฏศิลป ์ การเปลย่ี นแปลง ๒. ประเภทของ ๒. บรรยาย นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น นาฏศลิ ป์ ท่ีแตกต่างกนั ละครไทยในแตล่ ะ ประเภทของ นาฏศลิ ปแ์ ต่ละสมยั พ้ืนบ้าน ตามยคุ ตามสมัย ยคุ สมยั ละครไทยในแต่ละ นาฏศิลปแ์ ตล่ ะทอ้ งถนิ่ ละครไทยและ ยุคสมยั ๒. จดั การแสดงที่ ละครพื้นบา้ น ๓. ผงั มโนทัศน์ เปรยี บเทยี บให้อยูบ่ น ๒. บรรยาย แสดงการ ฐานเดยี วกนั ตามเกณฑ์ ประเภทของ เปรียบเทยี บ ทก่ี ำหนดและบันทึก ละครไทยใน การแสดงนาฏศลิ ป์ ขอ้ มลู การเปรียบเทยี บ แต่ละยคุ สมัย ๓. บอกความเหมอื น หรือความแตกต่างของ นาฏศลิ ปแ์ ละละคร ทเ่ี ปรยี บเทยี บ โดยการ นำเสนอตามแผนภูมิ เพอื่ สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม การรูจ้ ักยอมรับ การมเี หตุผล การประยุกต์ เพ่ือนำไปใช ้ ๔. จัดทำผงั มโนทัศน์ เปรียบเทียบและ นำเสนอผลงาน เปรยี บเทียบ แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาทักษะการคิด ระดับมัธยมศึกษา 29 กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตัวชี้วัด ความคดิ สาระ ทกั ษะการคดิ ชน้ิ งาน/ แนวการจัด รวบยอด การเรียนร้ ู ภาระงาน กิจกรรมการเรยี นร ู้ ๕. เขยี นรายงานระบุ ปจั จัยที่มีผลตอ่ การ เปลีย่ นแปลงของ นาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์พนื้ บ้าน ละครไทย และ ละครพืน้ บ้าน ๖. บรรยายประเภท ของละครไทย ในแตล่ ะยคุ สมยั 30 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

™ัÈน¡ั∏¬¡ศ÷°…าปทï ี่ ๒ ✦ °าร«ิ‡§ราะÀåตั«™ี«È ดั ส°àŸ ารæั≤นาท°ั …ะ°าร§ดิ ✦ °าร®ัด°ิ®°รร¡°าร‡ร¬ี นร‡Ÿâ æ◊Õ่ æ≤ั นาท°ั …ะ°าร§ดิ



✦ °าร«ิ‡§ราะÀåต«ั ™ี«È ัดสŸ°à ารæั≤นาทั°…ะ°าร§ดิ การวิเคราะห์ตัวช้ีวัดสู่การพัฒนาทักษะการคิดเป็นการนำตัวชี้วัด กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปทï ี่ ๒ จาก ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน จำนวน ๒๖ ตวั ชวี้ ดั มาวเิ คราะหร์ ายตวั ชวี้ ดั ใน ๔ ประเดน็ คอื ตวั ชว้ี ดั แตล่ ะตวั ผู้เรียนควรมีความรู้อะไรและทำอะไรได ้ ทักษะการคิด ช้ินงาน/ภาระงาน และแนวการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ในแต่ละประเด็นจะมี ความสมั พนั ธเ์ ชื่อมโยงกันและสะท้อนคณุ ภาพผเู้ รียนตามตัวชวี้ ดั

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อ งานศลิ ปะอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน ตวั ชีว้ ดั ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ แนวการจัดการเรยี นร ู้ ภาระงาน เพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ๑. สังเกตรปู แบบและแนวคิด ๑. อภิปราย ผู้เรียนรอู้ ะไร ทักษะ อภิปราย ของสว่ นประกอบศิลปะกับการ เกี่ยวกบั รปู แบบของทัศนธาต ุ การจดั กลุ่ม รปู แบบและ จัดวางองคป์ ระกอบ ทศั นธาตุ และแนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ แนวคิดของ ๒. กำหนดเกณฑ์ในการแยกกลมุ่ ในด้านรูปแบบ ผู้เรียนทำอะไรได ้ งานทศั นศลิ ป์ การจดั วางองค์ประกอบศลิ ป์ และแนวคิด อภิปรายรปู แบบและแนวคิด ๓. จัดกล่มุ ทีม่ ีลกั ษณะเหมอื นกัน ของงาน ในการใชท้ ัศนธาตสุ ร้างสรรค์ ไว้ด้วยกนั และแยกสิง่ ต่าง ๆ ทศั นศลิ ป ์ งานทัศนศลิ ป ์ ออกจากกนั ตามเกณฑ์ ทเ่ี ลือกมา ๔. อภิปรายเกย่ี วกับรปู แบบ และแนวคดิ ของงานทัศนศิลป์ ทเี่ ลือกมาวิพากษว์ จิ ารณ ์ ๑. สงั เกตรูปแบบการใช้วสั ดุ ๒. บรรยาย ผเู้ รียนรู้อะไร ทักษะ ๑. บรรยายงาน อปุ กรณส์ รา้ งงานทศั นศลิ ป์ เกี่ยวกับความ ความเหมือนและ การเปรยี บเทยี บ ทศั นศลิ ป ์ ๒. กำหนดเกณฑ ์ เหมือนและ ความแตกต่างของรูปแบบ ของศลิ ปนิ การเปรียบเทียบงานทศั นศลิ ป ์ ความแตกต่าง การใช้วสั ดุ อปุ กรณ ์ ๒. วาดภาพ ทเ่ี กดิ จากวสั ดุ อปุ กรณ์ ของรปู แบบ ในงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ ระบายสี ที่แตกต่างกัน การใชว้ สั ด ุ ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ ๓. รว่ มกนั สรปุ และบรรยายเกย่ี วกบั อปุ กรณ์ บรรยายเก่ยี วกบั ความ ความเหมอื น ความตา่ งในรปู แบบ ใน งาน เหมอื น และความแตกต่างของ การใช้วัสดุ อปุ กรณ์สร้างงาน ทศั นศิลป ์ รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ ์ ๔. วาดภาพระบายส ี ของศิลปิน ในงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปิน ๑. ทบทวนความรู้เกย่ี วกับ ๓. วาดภาพ ผู้เรียนรู้อะไร ทักษะ วาดภาพ ประสบการณ์ในการวาดภาพ ด้วยเทคนคิ เทคนคิ ในการวาดภาพ การนำความร ู้ ดว้ ยเทคนิค ๒. อภิปรายการใช้เทคนิค ท่หี ลากหลาย ส่อื ความหมาย ไปใช ้ ท่ีหลากหลาย ในการวาดภาพที่หลากหลาย ในการสือ่ ผูเ้ รยี นทำอะไรได้ ๓. นำความร้ทู ี่มีไปใช้วาดภาพ ความหมาย วาดภาพด้วยเทคนิค ดว้ ยเทคนิคตา่ ง ๆ และเรอ่ื งราว ทีห่ ลากหลายในการส่ือ ๔. นำเสนอและอธิบาย วิพากษ์ ตา่ ง ๆ วจิ ารณผ์ ลงาน 34 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมัธยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตัวชี้วดั ผู้เรยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้ ทกั ษะการคิด ช้นิ งาน/ แนวการจดั การเรียนร ู้ ภาระงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ๔. สรา้ งเกณฑ์ ความหมายเปน็ เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ๑. ทกั ษะ เกณฑ ์ ๑. ทบทวนความรู้ในการสร้างงาน ในการ ผูเ้ รียนรอู้ ะไร การวเิ คราะห ์ การประเมนิ ผล ทศั นศิลป์ในลักษณะตา่ ง ๆ ประเมิน การประเมินและวจิ ารณ์ ๒. ทักษะ งานทัศนศลิ ป ์ ๒. เลอื กผลงานทัศนศลิ ป ์ และวิจารณ์ งานทัศนศิลป์ การประเมนิ เพอ่ื วิเคราะห์และจัดกล่มุ งานทศั นศิลป์ ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ ๓. อภิปรายรูปแบบแนวคดิ และ สร้างเกณฑ์การประเมนิ วิจารณ์ผลงานทศั นศิลป์ทเ่ี ลือก และวิจารณ์งานทศั นศิลป์ได้ ๔. ร่วมกำหนดแนวทาง การให้คะแนน ๕. สร้างเกณฑก์ ารประเมินและ วิจารณง์ านทัศนศลิ ป์ ๖. นำเสนอเกณฑ์การประเมนิ และวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ๕. นำผล ผเู้ รยี นรู้อะไร ทักษะ ทำแฟ้มสะสม ๑. ทบทวนความร้เู กีย่ วกับงาน การวจิ ารณ์ การพฒั นางานทัศนศิลป์ การนำความร ู้ งานทัศนศิลป ์ ทัศนศลิ ป์ และสงั เกตผลงาน ไปปรบั ปรุง และการทำแฟ้มสะสมงาน ไปใช ้ ๒. อภิปรายแสดงความคดิ เห็น แก้ไขและ ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ เกี่ยวกบั ผลงาน พฒั นางาน นำผลการวจิ ารณไ์ ปปรบั ปรงุ ๓. นำผลการวจิ ารณม์ าปรบั ปรงุ แก้ไขและพฒั นางานทศั นศลิ ป ์ แก้ไขและพฒั นางาน ๔. รวบรวมงานทัศนศิลป์ จัดทำเป็นแฟม้ สะสมงาน ๖. วาดภาพ ผเู้ รียนรู้อะไร ๑. ทักษะ วาดภาพ ๑. ทบทวนความรู้เดมิ เกย่ี วกับ แสดงบุคลกิ วาดภาพถ่ายทอดบคุ ลิก การนำความรู้ ประกอบ งานทศั นศิลป์ ลักษณะของ ลักษณะของตัวละคร ไปใช ้ คำบรรยายภาพ ๒. เชื่อมโยงความรู้และ ตวั ละคร ผู้เรียนทำอะไรได ้ ๒. ทักษะ ประสบการณ์เดิมเกยี่ วกับ วาดภาพแสดงบุคลิก กระบวนการ การวาดภาพแสดงบคุ ลิก ลกั ษณะของตวั ละคร คิดสรา้ งสรรค์ ลักษณะของตัวละคร ๓. อภปิ รายซกั ถามเกีย่ วกับ บุคลกิ ลกั ษณะของตวั ละคร ๔. วาดภาพพร้อมกับเขียน คำบรรยายประกอบภาพ ๗. บรรยายวิธ ี ผู้เรยี นรู้อะไร ทกั ษะ เขียนบรรยาย ๑. ทบทวนความรูเ้ ดิมเก่ียวกบั การใช้งาน งานทัศนศิลป์ การนำความรู ้ วิธีการใช้งาน การใชง้ านทศั นศลิ ป์ในการโฆษณา ทศั นศลิ ป์ ในการโฆษณา ไปใช ้ ทัศนศลิ ป์ในการ ๒. เปรยี บเทียบผลงานทัศนศลิ ป์ ในการโฆษณา ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ โฆษณาเพือ่ ในมติ ติ า่ ง ๆ เพอ่ื โนม้ นา้ วใจ บรรยายวิธกี ารใช ้ โนม้ น้าวใจ และ ๓. นำความรูแ้ ละประสบการณ์ และนำเสนอ งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา นำเสนอตวั อย่าง เกยี่ วกบั งานทศั นศิลป์ในการ ตัวอย่าง เพอ่ื โนม้ นา้ วใจและนำเสนอ ประกอบ โฆษณามาเขยี นบรรยายวิธกี ารใช้ ประกอบ ตัวอยา่ งประกอบ งานทศั นศิลป์ในการโฆษณา เพอ่ื โน้มน้าวใจและนำเสนอ ตวั อยา่ งประกอบ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศึกษา 35 กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทยและสากล ตัวชีว้ ัด ผู้เรยี นร้อู ะไร/ทำอะไรได้ ทกั ษะการคดิ ช้ินงาน/ แนวการจดั การเรียนรู้ ภาระงาน เพอื่ พัฒนาทักษะการคิด ๑. ระบุ และ ผเู้ รียนรู้อะไร ทักษะ ระบแุ ละ ๑. ซักถามเกย่ี วกบั วฒั นธรรม บรรยาย วัฒนธรรมต่าง ๆ ทส่ี ะทอ้ น การวิเคราะห์ บรรยายเกยี่ วกบั ตา่ ง ๆ ทส่ี ะท้อนถงึ งานทัศนศลิ ป ์ เกยี่ วกับ ถงึ งานทศั นศิลป์ในปัจจบุ ัน วัฒนธรรม ๒. วเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทยี บ วฒั นธรรม ผู้เรยี นทำอะไรได้ ทส่ี ะทอ้ น วัฒนธรรมตา่ ง ๆ ที่สะท้อนถงึ ต่าง ๆ ท ่ี ระบุและบรรยายเกยี่ วกับ งานทศั นศิลป ์ งานทศั นศิลป์ในอดีตและปจั จุบนั สะท้อนถึง วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ที่สะท้อน ๓. ระบแุ ละบรรยายเก่ยี วกบั งานทัศนศิลป ์ ถึงงานทัศนศลิ ป์ในปัจจุบนั วฒั นธรรมต่าง ๆ ทีส่ ะท้อนถงึ ในปัจจุบนั งานทศั นศลิ ป์ ๒. บรรยายถึงการ ผ้เู รยี นรูอ้ ะไร ทักษะ รายงานเรื่อง ๑. ทบทวนความรู้เดมิ เกี่ยวกบั เปลีย่ นแปลง งานทศั นศลิ ปข์ องไทย การนำความรู้ งานทศั นศลิ ป์ งานทศั นศลิ ปข์ องไทย ของงาน ในแต่ละยคุ สมยั ไปใช้ ของไทยในแตล่ ะ ในแต่ละยุคสมัย ทศั นศิลปข์ อง ผู้เรียนทำอะไรได้ ยคุ สมยั ๒. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมขอ้ มลู ไทยในแตล่ ะ บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลง จากแหล่งเรียนร ู้ ยคุ สมยั โดย ของงานทศั นศลิ ป์ของไทย ๓. เขียนรายงานและบรรยาย เนน้ ถงึ แนวคดิ ในแต่ละยุคสมยั โดยเนน้ ถงึ เกีย่ วกบั งานทศั นศิลปข์ องไทย และเน้อื หา แนวคิดและเนอ้ื หาของงาน ในแตล่ ะยคุ สมัย ของงาน ๓. เปรยี บเทียบ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ทักษะ รายงานเรื่อง ๑. สังเกตและทบทวนความรู้ แนวคดิ ในการ การออกแบบงานทศั นศิลป ์ การเปรยี บเทยี บ การออกแบบ เกยี่ วกับการออกแบบ ออกแบบงาน ในวัฒนธรรมไทยและสากล งานทศั นศิลป ์ งานทศั นศลิ ป์ ทศั นศิลป์ท่มี า ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ ท่ีมาจากวฒั นธรรม ๒. รวบรวมข้อมูลงานทศั นศิลป์ จากวัฒนธรรม เปรยี บเทยี บแนวคิด ไทยและสากล ที่มาจากวฒั นธรรมไทยและสากล ไทยและสากล ในการออกแบบงานทศั นศลิ ป์ ๓. เปรียบเทยี บแนวคดิ ทม่ี าจากวัฒนธรรมไทย จากการค้นควา้ ข้อมูล และสากล จากแหล่งเรียนรู้ ๔. อธบิ ายความเหมอื นและ ความตา่ งของการออกแบบ งานทัศนศิลป์ ๕. สรุปเขียนเปน็ รายงานเก่ยี วกบั งานทศั นศิลป์ของวัฒนธรรมไทย และสากล 36 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ระดับมัธยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน ตัวช้วี ัด ผเู้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได ้ ทกั ษะการคิด ชิน้ งาน/ แนวการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน เพอ่ื พัฒนาทักษะการคดิ ๑. เปรียบเทียบ ผ้เู รยี นรู้อะไร ทักษะ ผงั มโนทัศน ์ ๑. สงั เกตภาพรวมสิ่งทีเ่ หมอื น การใช้ องคป์ ระกอบของดนตร ี การเปรียบเทยี บ องค์ประกอบ และต่างกันขององค์ประกอบ องค์ประกอบ จากแหลง่ วัฒนธรรมต่าง ๆ ของดนตรจี าก ดนตรี ดนตรที ่ีมาจาก ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ วัฒนธรรมต่าง ๆ ๒. ร่วมกนั อภปิ รายและกำหนด วฒั นธรรม เปรยี บเทียบหลักการใช้ เกณฑ์ท่ีได้รับการยอมรับทาง ต่างกนั องคป์ ระกอบดนตรีท่มี าจาก วชิ าการ หรือยอมรบั โดยทัว่ ไป วัฒนธรรมต่างกนั ได้ ในการแยกเสยี งรอ้ งและเสยี ง ของเคร่อื งดนตรแี ละประเภท ของวงดนตรีไทยและวงดนตรี ทีม่ าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ๓. เปรยี บเทียบและจัดกลุ่ม ขององคป์ ระกอบดนตรที ี่มี ลักษณะเหมอื นกนั ไวด้ ้วยกัน ๔. เขียนผังมโนทัศน ์ องค์ประกอบของดนตรจี าก วฒั นธรรมต่าง ๆ ๕. อธบิ ายผลการเปรยี บเทยี บ และจำแนกประเภทอยา่ งมี กฎเกณฑ ์ ๒. อา่ น เขียนร้อง ผเู้ รียนร้อู ะไร ๑. ทักษะ ผงั มโนทัศน์ ๑. ทบทวนความรูเ้ ดิมเกีย่ วกบั โนต้ ไทย และ เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ การนำความร ู้ การอ่าน เครอื่ งหมายและสัญลักษณ์ โน้ตสากล ทางดนตรี ได้แก่ โน้ตเพลงไทย ไปใช้ การเขยี น ทางดนตรี ที่มีเครอ่ื งหมาย อตั ราจงั หวะสองชัน้ และ ๒. ทักษะ การร้อง ๒. เชือ่ มโยงความรู้ในการอ่าน แปลงเสยี ง โนต้ สากล การเชอื่ มโยง โนต้ ไทยและ เขียน ร้องโน้ตเพลงกบั ผเู้ รยี นทำอะไรได ้ โน้ตสากล ความรู้ใหม่ใหม้ ีความสัมพันธก์ ัน อ่าน เขียน ร้องตามโนต้ ไทย ๓. อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และโน้ตสากลทมี่ ีเครอ่ื งหมาย ๔. นำความรู้ที่ได้ไปใชอ้ ่าน เขยี น แปลงเสยี งได ้ ร้องโนต้ ไทยและโน้ตสากลท่มี ี เครือ่ งหมายและสัญลกั ษณ์ ทางดนตร ี แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศกึ ษา 37 กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

ตวั ช้ีวดั ผ้เู รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได้ ทักษะการคิด ชน้ิ งาน/ แนวการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ ๕. เขยี นผงั มโนทศั น์ โน้ตดนตรี ไทยและโน้ตดนตรีสากล ๓. ระบปุ ัจจัย ผเู้ รียนรอู้ ะไร ๑. ทักษะ ระบุปจั จยั ๑. ทบทวนความรูแ้ ละรวบรวม สำคญั ทมี่ ี ปัจจยั ในการสรา้ งสรรค์ การนำความร ู้ สำคญั ในการ ขอ้ มูลของปัจจยั ท่มี ีอทิ ธิพล อทิ ธิพลต่อ บทเพลง ได้แก่ จินตนาการ ไปใช้ สรา้ งสรรค์ ตอ่ การสรา้ งสรรคง์ านดนตรี การสร้างสรรค ์ ในการสร้างสรรค์บทเพลง ๒. ทกั ษะการ บทเพลง ๒. ศกึ ษาวเิ คราะหข์ ้อมลู งานดนตรี และการถ่ายทอดเรอื่ งราว สังเคราะห์ ที่เกย่ี วขอ้ ง ความคดิ ในบทเพลง ๓. สังเคราะห์ข้อมลู เพื่อเชอื่ มโยง ผเู้ รียนทำอะไรได ้ ความรู้และประสบการณ์ ระบปุ ัจจยั สำคัญท่มี ีอทิ ธพิ ล ๔. นำขอ้ มลู มาทำกรอบแนวคดิ ตอ่ การสร้างสรรคง์ านดนตร ี สำหรับสร้างสรรคง์ านดนตรี ๕. อภิปรายสรุประบปุ จั จัยสำคญั ที่มอี ทิ ธพิ ลต่อการสรา้ งสรรค์ งานดนตรี ๔. ร้องเพลง ผูเ้ รียนร้อู ะไร ทักษะ ๑. ร้องเพลง ๑. ทบทวนความรเู้ กย่ี วกับ และเล่นดนตรี เทคนิคในการรอ้ ง การนำความร ู้ ๒. เล่นดนตรี การสร้างสรรค์งานดนตรี เดยี่ ว และ และบรรเลงดนตร ี ไปใช ้ เดี่ยวและรวมวง ๒. ฝึกปฏบิ ัตริ ้องเพลง รวมวง แบบเดีย่ วและเป็นวง และเลน่ ดนตรีเดย่ี วและรวมวง ผเู้ รียนทำอะไรได ้ ตามหลกั การทางดนตรี ขบั รอ้ งเพลงและ ๓. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพรอ่ ง เลน่ ดนตรปี ระกอบเพลง ๔. ชนื่ ชมผลงาน ทัง้ แบบเด่ยี วและรวมวง ๕. บรรยาย ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ทกั ษะ เขียนบรรยาย ๑. ทบทวนความรู้และ อารมณ ์ อารมณข์ องเพลง และ การนำความร ู้ อารมณข์ องเพลง ประสบการณเ์ กยี่ วกบั ของเพลงและ ความรู้สกึ ที่มตี อ่ บทเพลง ไปใช ้ และความรสู้ ึก การฟังเพลงแต่ละประเภท ความรู้สึกที่ม ี ผู้เรียนทำอะไรได ้ ท่ีมีต่อบทเพลง ๒. รับร้แู ละรวบรวมข้อมูล ต่อบทเพลง บรรยายอารมณข์ องเพลง ที่ฟงั เกย่ี วกบั อารมณ์ของบทเพลงท่ีฟัง ทฟี่ งั และความรสู้ กึ ที่มตี อ่ บทเพลง ๓. คน้ หาสาเหตทุ ก่ี ่อให้เกดิ ที่ฟัง อารมณ์ของบทเพลง ๔. เขยี นบรรยายอารมณ ์ ของบทเพลงและความรู้สกึ ท่ีมตี ่อบทเพลงทฟี่ ัง 38 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ตัวชวี้ ดั ผเู้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ แนวการจดั การเรยี นร้ ู ภาระงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะการคิด ๖. ประเมิน ผเู้ รยี นรู้อะไร ๑. ทักษะ แบบประเมนิ ๑. นำทักษะทางดนตรี พัฒนา การประเมนิ ความสามารถ การประเมนิ ความสามารถ มากำหนดระดับคณุ ภาพ การทกั ษะ ทางดนตรี เชน่ ความถูกต้อง ๒. ทักษะ ทางดนตร ี หรอื คุณคา่ ทย่ี อมรับได้ ทางดนตร ี ในการบรรเลง ความแมน่ ยำ การประยุกต ์ ๒. นำผลจากการวดั ของตนเอง ในการอ่านเครอ่ื งหมาย และ ใช้ความรู้ มาเทยี บระดบั คุณภาพ หลังจากการ สญั ลกั ษณแ์ ละการควบคมุ ๓. ระบรุ ะดับคุณภาพ ฝกึ ปฏบิ ัต ิ คณุ ภาพเสียงในการร้อง ของทักษะทางดนตรีของตนเอง และบรรเลง หลงั จากการฝึกปฏบิ ตั ิ ผ้เู รียนทำอะไรได ้ ๔. ประเมนิ ความสามารถ ประเมินพฒั นาการ ทางดนตรี เพ่ือดูความถกู ตอ้ ง ทกั ษะทางดนตรขี องตนเอง ในการบรรเลงความแม่นยำ หลงั จากการฝกึ ปฏิบตั ิ ในการอ่านเครอ่ื งหมายและ สัญลักษณ์ และการควบคุม คุณภาพเสยี งในการรอ้ งและ บรรเลง ๕. อภปิ รายหาข้อสรปุ รว่ มกนั ๖. นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั หลงั การปรับปรงุ ผลงานการปฏบิ ัติดนตรี ๗. ระบุงานอาชพี ผู้เรยี นรู้อะไร ๑. ทักษะ รายงาน ๑. กำหนดประเด็นและรวบรวม ต่าง ๆ ที่ อาชีพทางด้านดนตรแี ละ การรวบรวม เร่ืองอาชพี ข้อมลู อาชพี ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ดนตร ี เก่ียวข้อง บทบาทของดนตรีในธรุ กิจ ขอ้ มลู ทางดา้ นดนตร ี ๒. เชือ่ มโยงความรู้หรือ กับดนตรี บนั เทิง ๒. ทักษะ และบทบาท ผู้เรียนทำอะไรได ้ การระบุ ประสบการณ์เดมิ กบั ขอ้ มูล ของดนตรี ระบงุ านอาชีพต่าง ๆ ท่มี ี ที่ไดม้ าอยา่ งมเี หตผุ ล ในธุรกิจบันเทงิ ความเก่ียวขอ้ งกบั งานดนตรี ๓. อภิปรายหาขอ้ สรปุ ประเภท และในบทบาทของดนตรี ของอาชีพต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง ในธรุ กิจบันเทิง กบั ดนตรี ๔. ระบงุ านอาชีพตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้องกับดนตรีและบทบาท ของดนตรีในธุรกจิ บันเทิง ๕. เขียนรายงานผลการศึกษางาน อาชพี ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกับดนตร ี แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา 39 กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ

สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ตัวชีว้ ดั ผเู้ รียนรูอ้ ะไร/ทำอะไรได้ ทักษะการคิด ชน้ิ งาน/ แนวการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน เพือ่ พฒั นาทักษะการคิด ๑. บรรยาย ผู้เรยี นรู้อะไร ๑. ทักษะการ เขยี นบรรยาย ๑. กำหนดประเด็นและรวบรวม บทบาท และ บทบาทและอทิ ธิพล รวบรวมข้อมลู บทบาทและ ข้อมลู เกี่ยวกบั บทบาทและ อิทธพิ ล ของดนตรีในวฒั นธรรม ๒. ทักษะ อทิ ธิพลของดนตรี อิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรม ของดนตรี ของประเทศต่าง ๆ การนำความรู ้ ในวฒั นธรรม ของประเทศต่าง ๆ ในวัฒนธรรม ผ้เู รยี นทำอะไรได ้ ไปใช ้ ประเทศตา่ ง ๆ ๒. คน้ หาความหมายบทบาทและ ของประเทศ บรรยายบทบาทและอทิ ธพิ ล อิทธพิ ลของดนตรีในวฒั นธรรม ต่าง ๆ ของดนตรีในวฒั นธรรม ของประเทศต่าง ๆ ของประเทศตา่ ง ๆ ๓. เชอื่ มโยงความรูห้ รือ ประสบการณเ์ ดิมกับข้อมลู ที่ไดม้ าอย่างมเี หตุผล ๔. อภิปรายหาขอ้ สรุปรว่ มกัน ๕. เขียนบรรยายบทบาทและ อทิ ธิพลของดนตรีในวฒั นธรรม ของประเทศตา่ ง ๆ ๒. บรรยาย ผูเ้ รียนรอู้ ะไร ๑. ทกั ษะ ผงั มโนทศั น์ ๑. กำหนดประเดน็ และรวบรวม อิทธิพลของ อทิ ธิพลของวัฒนธรรม การรวบรวม ดนตรีไทยใน ขอ้ มลู เก่ยี วกับอิทธพิ ลของ วัฒนธรรมและ และเหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ ขอ้ มลู ประวัตศิ าสตร ์ วฒั นธรรมและเหตกุ ารณ ์ เหตุการณ์ใน ทีม่ ตี อ่ รปู แบบของดนตร ี ๒. ทักษะการ ในประวัติศาสตร ์ ประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย เช่อื มโยง ๒. ศึกษาอิทธพิ ลของวฒั นธรรม ทมี่ ีตอ่ รปู แบบ ผูเ้ รียนทำอะไรได ้ และเหตกุ ารณ์ในประวัตศิ าสตร ์ ของดนตรี บรรยายอิทธพิ ลของ ที่มีต่อรูปแบบของดนตร ี ในประเทศไทย วัฒนธรรมและเหตกุ ารณ ์ ในประเทศไทย ในประวัติศาสตร์ทมี่ ตี อ่ รูปแบบ ๓. เช่ือมโยงความรู้หรือ ของดนตรีในประเทศไทยได้ ประสบการณ์เดิมกับขอ้ มูล ที่ได้มาอย่างมีเหตุผล ๔. อภิปรายหาข้อสรปุ รว่ มกนั ๕. บรรยายอิทธพิ ลของ วัฒนธรรมและเหตกุ ารณ ์ ในประวัตศิ าสตร์ทม่ี ตี ่อรปู แบบ ของดนตรีในประเทศไทย ๖. สรุปเขียนเปน็ ผงั มโนทัศน์ 40 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระช่นื ชมและประยกุ ต์ใช ้ ในชีวิตประจำวัน ตัวชีว้ ดั ผเู้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได้ ทกั ษะการคดิ ช้ินงาน/ แนวการจดั การเรยี นร ู้ ภาระงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ ๑. อธบิ าย ผู้เรยี นรอู้ ะไร ทักษะ เขียน ๑. ทบทวนความร้เู ดมิ เก่ยี วกับ การบรู ณาการ การบูรณาการศลิ ปะ การนำความรู้ ผงั มโนทศั น์ การแสดงนาฏศลิ ป์ ศิลปะแขนง แขนงอ่ืน ๆ กับการแสดง ไปใช ้ อธิบายการ ๒. ร่วมกนั วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ อ่นื ๆ กบั ไดแ้ ก่ แสง สี เสยี ง ฉาก บรู ณาการศลิ ปะ ของการแสดงนาฏศิลป์ไทย การแสดง อุปกรณ์และเครอื่ งแตง่ กาย แขนงอ่ืน ๆ - การแสดงนาฏศลิ ปพ์ น้ื บ้าน ผ้เู รียนทำอะไรได ้ กับการแสดง - การแสดงละครพ้ืนบ้าน อธบิ ายการบูรณาการศิลปะ - การแสดงละครไทย แขนงอื่น ๆ กบั การแสดง ๓. เขียนผงั มโนทัศนแ์ สดงการ เชอ่ื มโยงการบรู ณาการระหวา่ ง การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละคร กบั ศิลปะแขนงอื่น ๆ ๒. สร้างสรรค ์ ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร ทักษะ เขียนผงั ๑. ทบทวนความรเู้ ดิมเกย่ี วกบั การแสดง หลักและวิธีการสรา้ งสรรค์ การนำความรู้ มโนทัศน์ องค์ประกอบนาฏศิลป ์ โดยใช้ การแสดง โดยใช้องค์ประกอบ ไปใช ้ ของการแสดง และการละคร องคป์ ระกอบ นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร ทีม่ อี งคป์ ระกอบ ๒. เชื่อมโยงความรู้ ทักษะ นาฏศลิ ปแ์ ละ ผเู้ รียนทำอะไรได้ ของนาฏศิลป ์ ประสบการณ์ทางนาฏศิลป ์ การละคร สร้างสรรค์การแสดง และการละคร และการละครโดยใช้ โดยใช้องค์ประกอบนาฏศลิ ป์ องคป์ ระกอบสำคัญมาสร้างงาน และการละคร อย่างมีเหตุผล ๓. เขยี นผังมโนทศั น์ ของการแสดงโดยใช ้ องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ และการละคร แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา 41 กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook