Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ตัดสินฟุตบอล NO.1

คู่มือผู้ตัดสินฟุตบอล NO.1

Published by Phrapradaeng District Public Library, 2019-03-18 10:22:34

Description: คู่มือผู้ตัดสินฟุตบอล NO.1

Search

Read the Text Version

คำนำ

คู่มือผู้ตัดสินกีฬาฟุตบอล เล่มน้ี กรมพลศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ความร ู้ ดา้ นการตดั สนิ กฬี าฟตุ บอล ใหม้ คี วามถกู ตอ้ ง มมี าตรฐานสงู ขนึ้ สอดคลอ้ งกบั การจดั การแขง่ ขนั กีฬาฟุตบอลในปัจจุบัน และมอบให้แก่ผู้ตัดสินกีฬาฟุตบอล และผู้สนใจได้ใช้เป็นคู่มือ ในการตดั สนิ กฬี าฟตุ บอล การดำเนนิ การไดร้ บั ความรว่ มมอื จากสมาคมฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ และผู้เชี่ยวชาญด้านกฬี าฟุตบอลมาเป็นวทิ ยากรและร่วมจัดทำต้นฉบบั กรมพลศึกษาขอขอบคุณสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำคู่มือผู้ตัดสินกีฬาฟุตบอล จนสำเร็จลุล่วง เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ตัดสินกีฬาฟุตบอล และผู้ที่สนใจทั่วไปได้ศึกษา ค้นคว้า และนำไปใช้ในการพัฒนาการตัดสินกีฬาฟุตบอล ให้มมี าตรฐานสูงขึน้ สนองต่อนโยบายของรัฐบาลและแผนพฒั นาการกฬี าของชาติต่อไป กรมพลศึกษา สิงหาคม 2555



สารบัญ หน้า คำนำ 1 สารบญั 2 หลักสูตรการฝกึ อบรมผตู้ ดั สินกฬี าฟุตบอล 4 ตารางการฝกึ อบรมหลักสตู รผูต้ ดั สนิ กีฬาฟุตบอล 10 คณุ สมบตั ิและคณุ ลกั ษณะของผตู้ ัดสินกฬี าฟุตบอล 78 เงอ่ื นไขอ่ืนๆ ของกตกิ าการแขง่ ขนั การดำเนนิ การเพ่อื หาผู้ชนะในการแขง่ ขัน 90 (PROCEDURES TO DETERMINE THE WINNER OF A MATCH) 112 การตคี วามของกตกิ าและแนวทางการปฏบิ ัติของผตู้ ัดสิน ระเบยี บของคณะกรรมการสมาคมฟตุ บอลระหวา่ งประเทศ 130 (ปรบั ปรงุ โดยคณะกรรมการสมาคมฟตุ บอลระหวา่ งประเทศ กมุ ภาพนั ธ์ 1993) (RULES OF THE INTERNATIONAL FOOTBALL ASSOCIATION BOARD) แบบทดสอบผตู้ ดั สินกฬี าฟุตบอลกอ่ นการฝกึ อบรม



ป ระวัติกีฬาฟตุ บอล (FOOTBALL) ฟตุ บอล (Football) หรือซอคเก้อร์ (Soccer) เปน็ กีฬาท่มี ผี ู้สนใจท่จี ะชมการแข่งขนั และเข้าร่วมเลน่ มากท่ีสุดในโลก  ชนชาติใดเป็นผู้กำเนิดกฬี าชนดิ น้อี ย่างแท้จรงิ นัน้ ไม่อาจจะยืนยนั ได้แน่นอนเพราะแต่ละชนชาติต่างยืนยันว่าเกิดจากประเทศของตน  แต่ในประเทศฝรั่งเศส  และประเทศอิตาล ี ไดม้ ีการละเลน่ ชนิดหนึ่งท่ีเรียกว่า “ซูเลอ” (Soule) หรือจิโอโค เดล คาซโิ อ (Gioco Del Calcio)  มีลักษณะการเล่นที่คล้ายคลึงกับกีฬาฟุตบอลในปัจจุบัน  ท้ังสองประเทศ อาจจะถกเถียงกันว่ากีฬาฟุตบอลถือกำเนิดจากประเทศของตน  อันเป็นการหาข้อยุติไม่ได ้ เพราะขาดหลักฐานยนื ยนั อยา่ งแท้จริง  ดงั นน้ั ประวัติของกีฬาฟตุ บอลทีม่ หี ลกั ฐานที่แทจ้ รงิ สามารถจะอ้างอิงได้  เพราะการเล่น ที่มีกติกาการแข่งขันที่แน่นอน  คือประเทศอังกฤษเพราะประเทศอังกฤษต้ังสมาคมฟุตบอล   ในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชพี ของอังกฤษเกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2431 วิวัฒนาการด้านฟุตบอลจะเป็นไปพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ตลอดมา   ต้นกำเนิดกีฬาตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามครั้งสำคัญๆ เช่น สงครามพระเจ้า  อเล็กซานเดอร์มหาราช ได้นำเอา “แกลโล-โรมัน” (Gello-Roman)  พร้อมกีฬาต่างๆ เข้ามาสู่ เมืองกอล (Gaul) อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกีฬาฟุตบอลในอนาคต  และการเล่นฮาร์ปาสตัม (Harpastum) ได้ถกู ดัดแปลงมาเป็นกฬี าซูเลอ ในปี พ.ศ. 2400 สโมสรฟุตบอลได้ก่อต้ังเป็นคร้ังแรกที่เมืองเซนพัสด์ประเทศอังกฤษ และต่อมาในวันท่ี 26 ตุลาคม พ.ศ. 2406 สโมสรฟุตบอล 11 แห่งได้มารวมกันท่ีกรุงลอนดอน เพื่อก่อตั้งสมาคมฟุตบอลข้ึน  ซ่ึงถือเป็นรากฐานในการกำเนิดสมาคมแห่งชาติ ทำให้ผู้เล่นฟุตบอล ต้องเล่นตามกฎและกติกาของสมาคมฟุตบอล จนเวลาผ่านไปจากคำว่า Association ก็ย่อเป็น Assoc และกลายเปน็ Soccer ข้ึนในทส่ี ดุ  ซง่ึ นยิ มเรียกกันในประเทศอังกฤษ  สหพันธฟ์ ุตบอลนานาชาติ สหพนั ธฟ์ ตุ บอลนานาชาติ (Federation International Football Association FIFA)  ก่อต้ังขน้ึ ทก่ี รุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส เม่ือ พ.ศ. 2447 โดยสมาคมฟุตบอลแหง่ ประเทศ ฝรัง่ เศส  และประเทศทเี่ ขา้ ร่วมกอ่ ต้ัง 7 ประเทศคอื   ฝรง่ั เศส เบลเยียม เดนมารก์ เนเธอร์แลนด์ สเปน สวีเดนและสวิตเซอร์แลนด์ มีสำนกั งานใหญ่ตงั้ อยู่ที่ เมอื งซรู กิ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คูม่ อื ผ้ตู ดั สนิ กีฬาฟตุ บ ล 1

สมาพันธฟ์ ตุ บอลทีไ่ ด้รับการรบั รองจากสหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาติ 1. Africa (C.A.F.) เป็นเขตท่มี ีสมาชกิ มากทส่ี ดุ  ได้แก่ ประเทศแอลจีเรยี ตนู ิเซีย แซร์ ไนจีเรีย และซดู าน เป็นต้น 2. America-North and Central Caribbean (Concacaf)  ได้แก่ ประเทศ สหรัฐอเมรกิ า แคนาดา เมก็ ซิโก ควิ บา เอติ เอลซลั วาดอร์ กัวเตมาลา และฮอนดรู ัส เป็นตน้ 3. South America (Conmebol)  ได้แก่ ประเทศเปร ู บราซิล อุรุกวัย โบลิเวีย อาร์เจนตินา ชิลีเวเนซเุ อลา อีคิวเตอร์ และโคลัมเบยี  เปน็ ต้น 4. Asia (A.F.C.) เป็นเขตท่ีมีสมาชิกรองจากแอฟริกา  ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย เกาหลี ญี่ปุ่น ฮ่องกง เลบานอน อสิ ราเอล อิหร่าน จอรแ์ ดน และเนปาล เปน็ ตน้ 5. Europe (U.E.F.A.) เป็นเขตทม่ี กี ารพัฒนามากที่สุด ได้แก่ ประเทศองั กฤษ ฝร่งั เศส เยอรมนั  ฮงั การ ี อิตาลี สกอตแลนด์ รสั เซยี สวีเดน สเปน และเนเธอรแ์ ลนด์ เป็นต้น 6. Oceannir เป็นเขตท่มี สี มาชิกน้อยทีส่ ุดและเพง่ิ จะไดร้ ับการแบง่ แยก ไดแ้ ก่ ประเทศ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฟิจิ และปาปัวนิวกินี เป็นต้น ซ่ึงประเทศต่างๆ  ท่ีเป็นสมาชิก   ตอ้ งเสียค่าบำรงุ เป็นรายปๆี ละ 300 ฟรังสวสิ ส์ หรือประมาณ 2,400 บาท สหพันธฟ์ ุตบอลแห่งเอเชยี ในทวปี เอเชยี มกี ารจดั ตง้ั สหพนั ธฟ์ ตุ บอลแหง่ เอเอเชยี (A.F.C.) เพอื่ ดำเนนิ การดา้ นฟตุ บอล ดงั น  ้ี พ.ศ. 2495  มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เฮลซิงกิ  ประเทศฟินแลนด ์ โดยมีนักกีฬาและ เจ้าหน้าท่ีจากประเทศในเอเชียเข้ามาร่วมการแข่งขันด้วย  จึงได้ปรึกษาหารือกันในการจัดตั้ง สหพันธ์ฟตุ บอลเอเชยี ขึ้น พ.ศ. 2497  มีการแข่งขันเอเชียนเกมส์ท่ีกรุงมะนิลา  ประเทศฟิลิปปินส์ ก็ได้เริ่มต้ัง   คณะกรรมการจากชาติต่างๆ ที่เข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ 12 ประเทศ พ.ศ. 2501 มกี ารแขง่ ขนั กฬี าเอเชยี นเกมสท์ ป่ี ระเทศญป่ี นุ่  ไดม้ กี ารประชมุ เกยี่ วกบั เรอื่ งนอ้ี กี และมปี ระเทศเขา้ ร่วมเปน็ สมาชกิ รวมเป็น 35 ประเทศ พ.ศ. 2509 ฟีฟ่าได้มองเห็นความสำคญั ของ A.F.C. จงึ ได้กำหนดใหม้ เี ลขานุการประจำ ในเอเชยี โดยออกคา่ ใชจ้ า่ ยใหท้ งั้ หมด รวมทงั้ เงนิ เดอื น และคนแรกทไ่ี ดร้ บั ตำแหนง่ คอื Khow Eve Turk พ.ศ. 2517 ในการแข่งขันกฬี าเอเชยี นเกมสท์ ีเ่ ตหะราน ประเทศอิหร่านได้มีการประชมุ ประเทศสมาชิก A.F.C. และท่ีประชุมได้ลงมติขับไล่อิสราเอล ออกจากสมาชิก และให้จีนแดง  เขา้ เปน็ สมาชกิ แทน ทง้ั ๆ ทจ่ี นี แดงไมไ่ ดเ้ ปน็ สมาชกิ ของฟฟี า่  นบั วา่ เปน็ การสรา้ งเหตกุ ารณท์ ปี่ ระหลาดใจ  ใหก้ บั บคุ คลทวั่ ไปเปน็ อย่างมากท้ังน้ีเนอื่ งจากเหตุผลทางการเมือง พ.ศ. 2519  มีการประชุมกันท่ีประเทศมาเลเซีย  ปรากฏว่าประเทศสมาชิกได้ลงมติให้ ขับไล่ประเทศไต้หวนั ออกจากสมาชกิ  และใหร้ ับจีนแดงเข้ามาเปน็ สมาชิกแทน ทั้งๆ ท่ีไตห้ วันเป็น ประเทศทรี่ ว่ มกนั กอ่ ต้งั สหพันธ์ข้ึนมา 2 คูม่ ือผตู้ ัดสนิ กฬี าฟตุ บ ล

งานของสหพนั ธฟ์ ตุ บอลแห่งเอเชยี 1. ดำเนนิ การจดั การแขง่ ขันและควบคุม Asian Cup 2. ดำเนนิ การจัดการแขง่ ขันและควบคุม Asian Youth 3. ดำเนินการจดั การแข่งขันและควบคมุ ฟตุ บอลโลกรอบคัดเลือก 4. ดำเนินการจดั การแขง่ ขนั และควบคมุ Pre-Olympic 5. ดำเนินการจัดการแขง่ ขนั และควบคมุ World Youth 6. ควบคมุ การแขง่ ขัน Kings Cup, President Cup, Merdeka, Djakarta Cup นอกจากนี้ยงั ได้รับความรว่ มมือจากฟฟี า่ จดั สง่ วทิ ยากรมาช่วยดำเนนิ การ ประวัติกีฬาฟตุ บอลในประเทศไทย กฬี าฟตุ บอลในประเทศไทย ไดม้ กี ารเลน่ ตงั้ แตส่ มยั “พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ” รัชกาลที่ 5  แห่งกรุงรัตนโกสิทร์ เนื่องจากสมัยรัชกาลท่ี 5 พระองค์ได้ส่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าหลานยาเธอ  และข้าราชบริพารไปศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ท่ีประเทศอังกฤษ และ  ผู้ที่นำกีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็นคนแรกคือ”เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตร ี  (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)” หรือ ท่ีประชนชาวไทยมักเรียกชื่อส้ันๆว่า “ครูเทพ”  ซึ่งท่านได้   แต่งเพลงกราวกีฬาที่พร้อมไปด้วยเร่ืองน้ำใจนักกีฬาอย่างแท้จริง เชื่อกันว่าเพลงกราวกีฬา   ท่คี รเู ทพแต่งไวน้ ี้จะตอ้ งเปน็  “เพลงอมตะ” และจะตอ้ งคงอย่คู ู่ฟา้ ไทย  พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เสดจ็ นิวตั พิ ระนคร กฬี าฟตุ บอลไดร้ ับความสนใจมากข้ึนจาก บรรดาข้าราชการบรรดาครูอาจารย์ ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทยและผู้สนใจชาวไทย จำนวนมากขึ้นเป็นลำดับกอร์ปกับครูเทพท่านได้เพียรพยายามปลูกฝังการเล่นฟุตบอลในโรงเรียน อยา่ งจริงจงั และแพรห่ ลายมากในโอกาสต่อมา  พ.ศ. 2443 (รศ. 119)  การแข่งขันฟุตบอลเป็นทางการคร้ังแรกของไทยได้เกิดข้ึนเม่ือ วันเสารท์ ี่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซงึ่ เป็นสถานทอี่ อกกำลังกาย และ ประกอบงานพิธีต่างๆการแข่งขันฟุตบอลคู่ประวัติศาสตร์ของไทย ระหว่าง “ชุดบางกอก” กับ “ชุดกรมศึกษาธิการ” จากกระทรวงธรรมการหรือเรียกช่ือการแข่งขันคร้ังน้ีว่า “การแข่งขัน ฟุตบอลตามข้อบังคับของแอสโซซิเอชั่น” เพราะสมัยก่อนเรียกว่า “แอสโซซิเอชั่นฟุตบอล”  (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปัจจุบันอาจเรียกได้ว่า “การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม” หรือ “ฟุตบอลสมาคม” ผลการแขง่ ขันฟตุ บอลนดั พิเศษดังกลา่ วปรากฏว่า “ชุดกรมศกึ ษาธิการ” เสมอกับ “ชุดบางกอก” 2-2 ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 6 พระองคท์ รงมคี วามสนพระทยั   กีฬาฟุตบอลเป็นอย่างยิ่งถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงต้ังทีมฟุตบอลส่วนพระองค์เอง   คมู่ ือผ้ตู ัดสนิ กฬี าฟุตบ ล 3

ชื่อทีม “เสือป่า” และได้เสด็จพระราชดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟุตบอล   เป็นพระราชกิจวัตรเสมอมา โดยเฉพาะมวยไทยพระองค์ทรงเคยปลอมพระองค์เป็นสามัญชน   ข้ึนตอ่ ยมวยไทยจนไดฉ้ ายาวา่ “พระเจ้าเสอื ปา่ ” พระองค์ท่าทรงพระปรชี าสามารถมาก จนเปน็ ที่ ยกย่องของพสกนิกรท่ัวไป จนตราบเท่าทุกวันน้ี จากพระราชกิจวัตรของพระองค์รัชกาลที่ 6  ทางด้านฟุตบอลนับได้ว่าเป็นยุคทองของไทยอย่างแท้จริงอีกท้ังยังมีการเผยแพร่ข่าวสาร หนงั สอื พิมพ์ และบทความต่างๆ รัชกาลท่ี 6 ได้ทรงมวี ตั ถุประสงคข์ องการก่อต้ังสมาคมฟตุ บอลแหง่ สยามดงั นี้คอื 1. เพ่อื ให้ผู้เล่นฟตุ บอลมพี ลานามยั ทส่ี มบูรณ ์ 2. เพ่ือกอ่ ให้เกิดความสามัคคี 3. เพ่ือก่อใหเ้ กิดไหวพริบและเป็นกฬี าทป่ี ระหยัดด ี 4. เพอ่ื เป็นการศึกษากลยุทธ์ในการรุกและการรบั เช่นเดยี วกบั กองทัพทหารหาญ จากวตั ถปุ ระสงคด์ งั กล่าว นับเป็นสิ่งท่ีผลกั ดันให้สมาคมฟตุ บอลแห่งสยามดำเนินกจิ การ เจรญิ กา้ วหนา้ มาจนตราบถงึ ทกุ วนั นี้ ซงึ่ มกี ำลงั อยรู่ ะหวา่ งปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ดงั น ้ี พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134)  การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เม่ือวันอังคารท่ี 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458   ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบัน) ระหว่าง “ทีมชาติสยาม” กับ  “ทีมราชกรีฑาสโมสร” ต่อหน้าพระที่นั่ง และมี “มร.ดักลาส โรเบิร์ตสัน” เป็นผู้ตัดสิน   ซ่ึงผลการแข่งขันปรากฏว่าทีมชาติสยามชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2-1 ประตู (คร่ึงแรก 0-0)  และคร้ังท่ี 2 เม่ือวันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นการแข่งขันระหว่างชาตินัดท่ี 2   แบบเหย้าเยอื นต่า หน้าพระที่นง่ั ณ สนามเสอื ปา่ สวนดุสติ และผลปรากฏวา่ ทมี ชาติสยามเสมอ กับทมี ราชกรีฑา สโมสร หรอื ทีมรวมตา่ งชาติ 1-1 ประตู (คร่ึงแรก 0-0) สมาคมฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทย (THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND) มวี ิวัฒนาการตามลำดบั ต่อไปนี้ พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ   ตงั้ สมาคมฟุตบอลแหง่ สยามขึน้ เมอื่ วันท่ี 25 เมษายน พุทธศกั ราช 2459 และตราข้อบงั คบั ข้นึ ใช้ ในสนามฟตุ บอลแหง่ สยามดว้ ยซง่ึ มชี อ่ื ยอ่ วา่ ส.ฟ.ท. และเขยี นเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ “THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILANDUNDER THE PATRONAGE OF HIS MAJESTY THE KING”   ใชอ้ ักษรยอ่ วา่ F.A.T. และสมาคมฯ จดั การแข่งขนั ถว้ ยใหญ่และถว้ ยน้อยเป็นคร้งั แรกในปีนีด้ ้วย 4 คูม่ ือผูต้ ัดสินกีฬาฟตุ บ ล

พ.ศ. 2468 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลระหว่างชาติ เม่ือวันท่ี 23 มิถุนายน   พทุ ธศกั ราช 2468 พ.ศ. 2499 การแกไ้ ขเพมิ่ เติมข้อบงั คับ คร้งั ท่ี 3 และเรียกว่าขอ้ บังคับ ลักษณะปกครอง พ.ศ. 2499 สมาคมฟุตบอลฯ ได้สิทธิ์ส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน  “กีฬาโอลิมปิก” ครั้งท่ี 16 นับเป็นคร้ังแรกท่ีประเทศไทยมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน เมื่อวันที่ 26 พฤศจกิ ายน พุทธศักราช 2499 ณ นครเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2500 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ซึ่งมีช่ือย่อว่า เอเอฟซ ี และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า”ASIAN FOOTBALL CONFEDERATION” ใช้อักษรย่อว่า A.F.C. พ.ศ. 2501 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับลักษณะปกครอง คร้ังท่ี 4 พ.ศ. 2503 การแก้ไขเพ่ิมเติม  ข้อบังคับลกั ษณะปกครอง ครง้ั ที่ 5 พ.ศ. 2504-ปจั จุบนั สมาคมฟุตบอลฯได้จดั การแข่งขนั ฟุตบอล ถ้วยน้อย และถ้วยใหญ่ ซึ่งภายหลังได้จัดการแข่งขันแบบเดียวกันของสมาคมฟุตบอลอังกฤษ   คือจัดเป็นประเภทถ้วยพระราชทาน ก, ข, ค, และ ง และยังจัดการแข่งขันประเภทอื่นๆ อีก   เช่น ฟุตบอลนักเรียน ฟุตบอลเตรียมอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอลเยาวชนและอนุชน ฟุตบอล อุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟเอ คัพ ฟุตบอลควีส์ คัพ ฟุตบอลคิงส์คัพ เป็นต้น ฯลฯ  นอกจากน ้ี ยงั ได้จัดการแขง่ ขนั และสง่ ทมี เข้าร่วมกบั ทีมนานาชาตมิ ากมายจนถงึ ปจั จุบัน ค่มู ือผตู้ ัดสนิ กีฬาฟุตบ ล 5

ห ลกั สูตรการฝึกอบรมผู้ตดั สนิ กฬี าฟตุ บอล ระยะเวลาดำเนนิ การ : จำนวน 5 วัน (ไม่นอ้ ยกว่า 40 ชว่ั โมง) เนอื้ หาหลกั สตู ร : ลำดบั กจิ กรรม บสรารธยติาย อภิปราย ฝึกปฏบิ ัติ สอ่ื นวตั กรรม ทดสอบ จำนวน ท ี่ เนื้อหา เทคโนโลย ี ประเมนิ ผล ชวั่ โมง 1 คณุ สมบตั ิและคุณลักษณะของผู้ตดั สนิ กีฬา 1 - - - - 1 ฟตุ บอลท่ีดี 2 การเตรยี มตวั เปน็ ผูต้ ดั สนิ กีฬาฟุตบอลที่ด ี 45 - - - - .45 3 ทดสอบกอ่ นการอบรม - - - - 1.30 1.30 4 กติกาขอ้ 1-6 1 .45 - - - .45 5 ทดสอบสมรรถภาพทางกายเบอ้ื งตน้ - - 1.30 - - 1.30 6 กติกาข้อ 7-8-10-13-15-16-17 .30 .30 - .30 - 1.30 7 กตกิ าข้อ 11 .45 - - 1 - 1.45 8 ตำแหนง่ และทศิ ทางการควบคุมการแขง่ ขนั .30 - - 1 - 1.30 ของผู้ชว่ ยผตู้ ดั สนิ 9 ฝึกปฏิบตั ิ (การเคลือ่ นที่, การใช้สัญญาณธง) - - 1.45 - - 1.45 10 ฝกึ สมรรถภาพทางกาย - - 1.30 - - 1.30 11 กติกาข้อ 12 .30 - - 1 - 1.30 12 การคาดโทษและการไล่ออก .45 - - 1 - 1.45 13 ตำแหน่งและทิศทางการควบคุมการแขง่ ขัน .30 - - 1 - 1.30 ของผู้ตดั สิน 14 ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใช้สัญญาณนกหวีด มือ และท่าทาง - - 1.45 - - 1.45 15 ฝกึ ปฏบิ ตั ิการตัดสนิ - - 1.30 - - 1.30 16 ขบวนการและขนั้ ตอนการตดั สนิ กฬี าฟตุ บอล .30 - 1 - - 1.30 17 การสร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งผู้ตัดสนิ .45 - 1 - - 1.45 ผู้ชว่ ยผตู้ ดั สนิ ผชู้ ว่ ยผู้ตดั สินท่ี 1 ผู้ชว่ ยผู้ตัดสินที่ 2 และผู้ตัดสนิ ท่ี 4 18 กติกาขอ้ 14 การเตะโทษจากจดุ โทษ และการเตะโทษจากจุดโทษเพือ่ หาผลแพช้ นะ 19 การทดสอบการตดั สนิ กีฬาฟุตบอล - - .45 - - .45 20 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย - - 4.45 - - 4.45 21 ทดสอบภาคทฤษฎ ี - - - - 1.30 1.30 22 สรปุ อภปิ ราย ซกั ถาม - - - - 1.45 1.45 23 พิธีมอบวุฒิบัตร - 1.45 - - - 1.45 24 พธิ ีมอบวฒุ ิบัตร/พธิ ปี ิดการอบรม - - - - 1.30 1.30 6 ห มา ยเหตพุ ธิ เี ปดิ และปิดรวรมว มอยใู่ น 3 6.15 ช่ัวโ มง คูม่ อื ผู้ตดั สนิ กฬี าฟตุ3บ5 ล

คูม่ อื ผูต้ ดั สินกีฬาฟตุ บ ล ตารางการฝึกอบรมหลกั สูตรผู้ตัดสนิ กีฬาฟุตบอล เวลา 08.30 - 10.00 น. 10.15 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 - 14.30 น. 14.45 - 16.30 น. 16.45 - 18.15 น. วันท ่ี 13.00 น. คุณสมบัตแิ ละคุณลักษณะของ กติกาขอ้ 1-6 ทดสอบสมรรถภาพ 1 ลงทะเบียนพิธีเปิดและบรรยาย ผูต้ ดั สนิ กฬี าฟตุ บอลทีด่ ี ทดสอบกอ่ นการอบรม ทางกายเบื้องต้น พิเศษ - การเตรียมตัวเปน็ ผูต้ ัดสินกฬี า   ฝึกสมรรถภาพทางกาย ฟตุ บอลท่ดี ี กติกาขอ้ 7-8-10-13-15- กติกาขอ้ 11 ล้ำหนา้ VDO พกั รับประทานอาหาร ตำแหนง่ และทิศทาง ฝึกปฏิบัติ 2 16-17 การควบคมุ การแข่งขันของ - การเคลอื่ นท ี่ ผู้ช่วยผู้ตัดสนิ - การใชส้ ญั ญาณธง การคาดโทษและการไล่ออก ตำแหนง่ และทิศทาง ฝกึ ปฏบิ ัติการใช้ ฝกึ ปฏิบตั กิ ารตดั สนิ กตกิ าขอ้ 12 การเลน่ VDO การควบคมุ การแขง่ ขนั ของ สญั ญาณนกหวีด 3 ท่ีผิดกติกาและประพฤติผดิ ผชู้ ว่ ยผู้ตดั สิน ทา่ ทาง การใชม้ อื ขบวนการและขัน้ ตอน การสร้างความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง กติกาข้อ 14 การเตะลกู โทษ การทดสอบ การทดสอบ 4 การตัดสนิ ฟตุ บอล ผตู้ ัดสนิ และผูช้ ่วยผ้ตู ดั สิน ณ จุดเตะโทษและการเตะ ณ การตัดสนิ ฟุตบอล การตัดสนิ กีฬาฟตุ บอล จดุ เตะโทษเพอ่ื หาผลแพช้ นะ 5 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทดสอบภาคทฤษฎ ี ทดสอบการตดั สิน สรุป อภปิ ราย ซักถาม พธิ มี อบวุฒบิ ตั รพิธีปิด 7

คุ ณสมบัติและคุณลักษณะ ของผ้ตู ดั สินกฬี าฟตุ บอล 1. มีความรู้เร่ืองท่ัวไปเก่ียวกับกีฬาฟุตบอลเป็นอย่างดี มีความสนใจติดตามข่าวสารจากส่ือ ตา่ งๆ อยา่ งสมำ่ เสมอ สามารถสนทนาแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และประสบการณก์ บั บคุ คลทวั่ ไปได้ 2. มีความรู้เรื่องกติกาฟุตบอลเป็นอย่างดี สามารถวิเคราะห์ความหมายของกติกา   ได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปใช้ในการควบคุมการแข่งขันและทำให้เกิดความสนุกสนานได้ทั้งกับ   ผเู้ ลน่ และผู้ชม 3. บุคลิกภาพดี แต่งกายเรียบร้อยท้ังในการปฏิบัติหน้าที่ในสนามและนอกสนาม  กริ ิยามารยาทเรยี บรอ้ ย มสี ัมมาคารวะ ร้กู าลเทศะ มคี วามสมั พันธ์ท่ดี กี บั ทุกคน 4. สุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง มีการฝึกซ้อมออกกำลังกายและบริหารร่างกายเป็นประจำ มีสายตาดี ความจำดี รู้จกั สงั เกต สตปิ ัญญาและไหวพรบิ ดี รูจ้ กั พกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ 5. มคี วามยตุ ธิ รรม ทำหนา้ ทด่ี ว้ ยความบรสิ ทุ ธใิ์ จ วางตนไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณต์ า่ งๆ ไม่ นำปญั หาอื่นๆ มาเกี่ยวขอ้ งขณะทำหนา้ ที่ผู้ตดั สิน 6. มีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้อภัย ยินดีรับฟังความคิดเห็นหรือคำแนะนำจากบุคคลอ่ืน   ที่เกี่ยวข้องขณะทำหน้าท่ีผู้ตัดสิน โดยเฉพาะจากเพ่ือนผู้ตัดสินด้วยกัน ไม่วิจารณ์การตัดสินไปใน ทางทีไ่ ม่เป็นประโยชน์ 7. มีความขยันหม่ันเพียรในการฝึกซ้อมและการทำหน้าท่ีผู้ตัดสิน ศึกษาการแข่งขันการ ตัดสนิ ของบคุ คลอื่นท้งั ภายในและภายนอกประเทศ เพ่ือเปน็ แนวทางในการพฒั นาตนเอง จรรยาบรรณของผู้ตดั สินกฬี าฟตุ บอล 1. รกั และศรทั ธาสถาบนั ผตู้ ดั สนิ 2. ไมก่ ระทำการใดทีเ่ ปน็ การลบหลแู่ ละทำลายสถาบันผ้ตู ัดสนิ 3. อุทศิ ตนและสร้างสถาบันผู้ตดั สนิ ใหม้ คี วามก้าวหนา้ 4. ปฏิบตั ติ ามระเบยี บของการเป็นผ้นู ำ 5. ตรงตอ่ เวลา 6. มีความยุติธรรม 7. ศกึ ษาหาความรอู้ ยู่เสมอ 8. มีคารวะธรรมต่อสถาบัน ผมู้ ีพระคณุ และให้เกยี รติผตู้ ดั สนิ ด้วยกัน 9. ไมล่ ุ่มหลงในอบายมุขทั้งปวง 8 คมู่ อื ผูต้ ดั สนิ กฬี าฟตุ บ ล

10. มคี วามซอื่ สตั ย์ สจุ รติ 11. มีความรับผิดชอบ 12. ไมว่ ิจารณ์ให้ผูอ้ ื่นเสยี หาย 13. สร้างสรรค์และมนี ำ้ ใจเปน็ นกั กฬี า 14. เห็นประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน การเตรียมตัวสำหรับการเป็นผูต้ ัดสินกฬี าฟุตบอล การเตรยี มตวั สำหรบั การเปน็ ผตู้ ดั สนิ กฬี าฟตุ บอล มหี ลายปจั จยั ทตี่ อ้ งเชยี่ วชาญและคำนงึ ถงึ 1. ความรู้ดา้ นการตดั สิน ความรอบรู้กติกาเป็นสิ่งสำคัญ จะสร้างความมั่นใจในการตัดสินใจของผู้ตัดสิน  ทจ่ี ะไมท่ ำใหเ้ กิดปัญหา ในปจั จุบนั ความมน่ั ใจของผ้ตู ดั สินมคี วามสำคัญมากข้ึน 2. ความแขง็ แรงของรา่ งกาย สมรรถภาพทางกาย ความแข็งแรงของร่างกายสำหรับเกม 90 นาทีนั้นไม่เพียงพอ ยังมีแบบการฝึก   อีกหลายอย่าง แบบฝึกทางด้านร่างกายและจิตใจ การพัฒนาความทนทาน การฝึกแบบผันผวน พัฒนาร่างกายในวันตัดสิน ควรอบอุ่นร่างกายด้วยระยะเวลา 12-15 นาที และตามด้วย   การออกกำลงั กายเบาๆ 3. บุคลกิ ภาพ จิตวิทยา ภาษาทางกาย ควรทบทวนกฎกตกิ า จติ วทิ ยาในการควบคมุ การแขง่ ขนั ฝึกท่าทาง (ลองฝกึ ทา่ ทางและ ปรับปรุงทหี่ น้ากระจก) สมาธิเป็นส่ิงที่สำคัญมากเพ่อื เตรยี มความพรอ้ มเมื่อเกิดสถานการณค์ บั ขัน และพรอ้ มทจี่ ะจดั การกบั สง่ิ เหลา่ นนั้ ทา่ ทางในการตดั สนิ ควรฝกึ ใหค้ ลอ่ ง ยง่ิ มบี คุ ลกิ เปน็ ทนี่ า่ เกรงขาม มากเท่าไร ยง่ิ มีอำนาจในการควบคมุ เกมไดม้ ากเท่านน้ั 4. โภชนาการ การที่จะตัดสินได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดการแข่งขัน ผู้ตัดสินจะต้องมีความแข็งแรง และพลังงานที่เพียงพอ รวมไปถึงการมีสภาพร่างกายและจิตใจท่ีพร้อมด้วย ปัจจัยท่ีสำคัญ คือ การไดร้ บั สารอาหารท่เี พยี งพอ การควบคุมน้ำหนักเป็นส่ิงสำคัญและควรจะใสใ่ จในสิ่งตอ่ ไปน ี้ • ควรหลีกเลี่ยงอาหารทม่ี ีไขมัน • ควรหลกี เลี่ยงเครื่องดมื่ ท่ีมแี อลกอฮอลแ์ ละบหุ ร่ี และดืม่ นำ้ ใหเ้ พยี งพอ • เมื่อมีการเสยี เหงอ่ื ควรชดเชยดว้ ยน้ำหรอื เครอ่ื งดืม่ ท่ีมสี ่วนผสมของเกลอื แร่ • ควรบรโิ ภคอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตกอ่ นการแขง่ ขนั 2 ชวั่ โมง เพอ่ื สรา้ งพลงั งาน • กลูโคสมีประโยชน์ในการกระตุ้นกำลังมาก แต่ควรบริโภคในปริมาณท่ีน้อย มิฉะนั้น   จะกระหายน้ำ นำ้ ลายจะเหนยี ว และมีปญั หาเก่ียวกับท้อง ค่มู ือผตู้ ดั สินกีฬาฟตุ บ ล 9

5. แทคติก (Tactic) ผู้ตัดสินควรวางแทคติกในระหว่างขั้นตอนการเตรียมพร้อม ควรจะเตรียมพร้อม  กบั สภาพอากาศ สนาม รวมถงึ เม่อื มกี ารบาดเจ็บและการเปล่ียนตัว 6. ระบบการเล่นของทีมตา่ งๆ แต่ละทีมมีระบบการเล่นท่ีต่างกัน บางทีอาจใช้การดักล้ำหน้าหรือแทกติกอ่ืน  การส่อื สารกบั ผูช้ ว่ ยผูต้ ดั สินเปน็ สิง่ สำคัญมาก ตำแหนง่ ทย่ี ืน การใหส้ ัญญาณดว้ ยตาเปลา่ เป็นสว่ นหน่งึ ของระบบการส่ือสาร 7. พฤติกรรมของผูเ้ ลน่ ผู้เลน่ แตล่ ะคนจะมบี คุ ลกิ ทต่ี ่างกนั ผู้ตดั สินจึงควรเตรยี มพร้อมตอ่ การเผชิญหน้า 8. การวางแผนการเดนิ ทาง ผตู้ ัดสินควรจะวางแผนการเดินทางล่วงหน้า เพือ่ มาถึงสนามในเวลาทเ่ี หมาะสม 9. อุปกรณ์และเสอื้ ผา้ ควรเตรียมเส้ือผ้าให้พร้อมก่อนการตัดสินใจ หลังการตัดสินควรทำความสะอาด นกหวดี ใหเ้ รยี บรอ้ ย เสอ้ื ผา้ ของผตู้ ดั สนิ ควรเลอื กโดยดจู ากสที แ่ี ตกตา่ งจากผเู้ ลน่ ของทงั้ สองทมี ทตี่ ดั สนิ   10. การบรหิ ารจัดการ 11. การตั้งจุดม่งุ หมาย 12. การเตรียมพร้อมทางด้านจิตใจ การออกกำลังกายแบบผ่อนคลาย การฝึกแบบเข้มข้น การฝึกการหายใจ ฯลฯ  ผู้ตัดสินที่มีประสบการณ์มากจะรู้ว่าควรทำอย่างไรกับร่างกาย และร่างกายมีความพร้อมระดับไหน ความตึงเครียดหรอื ผอ่ นคลายจะถกู พัฒนามากข้ึน การเตรยี มความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกายสำหรบั ผตู้ ดั สนิ 1 เดอื นกอ่ นการแขง่ ขนั โปรแกรมการฝึกเริ่มจากศูนย์ สิบวันแรก • เร่ิมด้วยการว่ิง 2 เซ็ตๆ ละ 15 นาที โดยเมื่อว่ิงเซ็ตแรกแล้ว ให้พักจนหายเหนื่อย   แล้วจงึ วิ่งเซต็ ท่ี 2 • ควรจะวิ่งค่อนข้างช้า ปิดท้ายด้วยการยืดเหยียดกล้ามเน้ือ และออกกำลังแบบผ่อน คลายเป็นเวลา 10 นาท ี • ควรทำทุกวนั หลังจากปฏิบตั อิ ยา่ งตอ่ เน่อื ง 5 วัน พัก 1 วนั 10 คู่มือผ้ตู ดั สนิ กีฬาฟตุ บ ล

วันที่ 11-20 • เริ่มตน้ เหมือน 10 วนั แรก แตเ่ พ่มิ เปน็ 40 นาที วงิ่ 2 เซ็ตๆ ละ 20 นาที • ในแต่ละวัน ปิดท้ายด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อและออกกำลังแบบผ่อนคลาย  เปน็ เวลา 10 นาท ี • ควรทำทกุ วนั หลงั ปฏบิ ตั ิอย่างตอ่ เน่อื ง 5 วัน พกั 1 วนั สิบวนั สุดทา้ ย • เริม่ ดว้ ยการอบอ่นุ รา่ งกายเปน็ เวลา 15-20 นาที ควรเป็นสนามหญ้าโดยปฏิบัติ ดังน้ี อบอ่นุ ร่างกาย แขน ขา ลำตวั วงิ่ ความเรว็ คงที่ สลับเร็ว แลว้ จงึ วิ่งแบบความเร็วคงท ่ี กระโดด ว่ิงกลับตัว วงิ่ ถอยหลัง ฯลฯ • วิง่ เป็นแนวทแยงมุมและว่งิ ข้ามฟากสนาม ควรว่ิงดว้ ยความเรว็ 30% ตามแนวทแยงมุม แล้วจึงว่ิงข้ามฝากสนามด้วยความเร็ว 50% หลังจากการวิ่งทุกๆ 5 นาที พัก 1 นาที ใช้เวลา ทัง้ หมด 20 นาที การเตรียมรา่ งกายในช่วงการแขง่ ขนั หลงั จากเสรจ็ โปรแกรม 30 วนั ขา้ งตน้ แลว้ สมรรถภาพทางกายจะพรอ้ มรบั การฝกึ ทม่ี ากขนึ้ ด้วยระยะเวลาและการฝกึ ท่หี นกั ข้ึน การฝึก 2 ชนิดทีแ่ นะนำ 1. การฝกึ แบบตอ่ เนอ่ื ง : ความทนทาน 2. การฝึกแบบทำซำ้ : ความอดทน ความเร็ว การฝึกแบบตอ่ เน่ือง คอื การพฒั นาความแขง็ แรงและฝกึ ตามสถานฝี กึ หรอื ฝกึ เปน็ กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ ฝกึ ตามแบบฝกึ เฉพาะ ดังน ้ี 1. ความอดทน 5. ระบบกล้ามเน้อื 2. ความเรว็ 6. ความออ่ นตวั 3. เทคนคิ (Technique) 7. การผอ่ นคลาย 4. แทคติก (Tactic) คู่มอื ผตู้ ัดสนิ กีฬาฟตุ บ ล 11

ระยะเวลาในแตล่ ะการฝกึ 3-5 นาที การฝึกเริ่มต้นด้วยการอบอุ่นร่างกายและยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 20-30 นาทีอย่างช้า  และเปน็ จงั หวะ 1. การวิง่ ผา่ นสิง่ กีดขวาง 1X2 เทยี่ ว 2. วิ่ง น่ัง ลุกวิง่ ระยะทาง 25 เมตร 1X2 เที่ยว 3. วง่ิ อย่างรวดเร็วไปและกลับระยะทาง 25 เมตร 1X2 เทย่ี ว 4. วิง่ ด้วยความเร็วไมค่ งท่ี เลียนแบบการตัดสินจริง • วิ่งไปขา้ งหนา้ • วง่ิ ด้านข้าง • วง่ิ กลับหลงั • เปลยี่ นจังหวะก้าว จบการฝึกดว้ ยการบรหิ ารกล้ามเนอื้ หนา้ ท้อง การฝึกแบบทำซำ้ : คือ 1. อบอุ่นรา่ งกาย 25 นาที ตามแบบฝกึ ข้างต้น 2. วงิ่ ด้วยระยะทางท่ีต่างกัน (80%) 2.1 วิ่ง 80 เมตร จำนวน 4 เท่ียว 2.2 วิ่ง 60 เมตร จำนวน 4 เท่ยี ว ชพี จรเกิน 180 พกั ใหห้ ายเหน่อื ยในแตล่ ะชดุ 2.3 วง่ิ 30 เมตร จำนวน 4 เทีย่ ว 2.4 ว่ิง 10 เมตร จำนวน 4 เทย่ี ว 3. อบอุ่นรา่ งกาย • ยืดเหยียดกล้ามเนอ้ื • ผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือ การฝึกแบบน้ีเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อยข้ึนอยู่กับอุปกรณ์ท่ีมีอยู่ กลุ่มความสนใจเม่ือถึง ระดับทต่ี อ้ งการ ผตู้ ดั สนิ และผ้ชู ว่ ยผตู้ ัดสนิ กพ็ ัฒนาไปอีกขน้ั หน่งึ จนบรรลุวตั ถปุ ระสงคแ์ รก 12 คู่มอื ผตู้ ัดสินกีฬาฟุตบ ล

ก ตกิ าฟตุ บอลของสหพนั ธ ์ ฟตุ บอลนานาชาติ (FIFA) กติกาข้อ 1 สนามแขง่ ขนั (THE FIELD OF PLAY) พ้นื สนาม (Field Surface) การแข่งขันอาจทำการเล่นบนพื้นสนามหญ้าธรรมชาติหรือพื้นหญ้าเทียมก็ได้ ขึ้นอยู่กับ ระเบียบการแข่งขันกำหนดไว้ ในกรณีของพ้ืนหญ้าเทียมต้องเป็นสีเขียว พื้นผิวของสนามต้องเป็นไป ตามมาตรฐานท่กี ำหนด ขนาดสนาม (Dimensions) สนามแข่งขันต้องเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า โดยมีความยาวของเส้นข้าง (Touch Line)  ต้องยาวกว่าความยาวของเส้นประตู (Goal Line) ความยาว ตำ่ สุด 90 เมตร (100 หลา) สงู สุด 120 เมตร (130 หลา) ความกวา้ ง ต่ำสดุ 45 เมตร ( 50 หลา) สูงสดุ 90 เมตร (100 หลา) การแข่งขันระหวา่ งชาติ (International Matches) ความยาว ตำ่ สุด 100 เมตร (110 หลา) สูงสุด 110 เมตร (120 หลา) ความกวา้ ง ต่ำสุด 64 เมตร ( 70 หลา) สูงสดุ 75 เมตร ( 80 หลา) คมู่ อื ผตู้ ดั สินกฬี าฟุตบ ล 13

การทำเคร่อื งหมายตา่ งๆ ของสนาม (Field Markings) สนามแข่งขันทำด้วยเส้นต่างๆ ซึ่งเส้นต่างๆ เหล่าน้ีจะเป็นพ้ืนที่ของเขตนั้นๆ ด้วย   เส้นท่ีมีความยาวกว่า 2 เส้น เรียกว่า “เส้นข้าง” เส้นที่สั้นกว่า 2 เส้น เรียกว่า “เส้นประตู”   ทุกเสน้ ตอ้ งมคี วามกวา้ งไมเ่ กนิ 12 เซนติเมตร (5 น้วิ ) สนามแข่งขันถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่ากัน โดยเส้นแบ่งแดน (Halfway Line)  ท่ีก่ึงกลางของเส้นแบ่งแดนจะทำจุดก่ึงกลางสนาม (Center Mark) ไว้ และทำวงกลมรัศม ี 9.15 เมตร (10หลา) ล้อมรอบจดุ น้ี หนว่ ยวดั เปน็ เมตร ความกวา้ งสูงสุด 90 เมตร ต่ำสุด 45 เมตร ่ตำสุด 90 เมตร รัศมี 9.15 เมตร ความยาวสูง ุสด 120 เมตร 9.5 เมตร 11 เมตร1 6.55.เ5มตเมรต ร. 16.5 เมตร 7.32 เมตร 5.5 เมตร รศั มี 1 เมตร 9.5 เมตร เขตประตู (The Goal Area) เขตประตูจะถกู ทำไว้ตรงส่วนสุดทา้ ยของสนามแตล่ ะดา้ นดงั นี้ จากขอบเสาประตดู า้ นในแตล่ ะขา้ ง วดั ออกไปตามแนวเสน้ ประตดู า้ นละ 5.50 เมตร (6 หลา) และจากจุดนี้ทำเส้นเป็นแนวตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าไปในสนามแข่งขันเป็นระยะทาง 5.50 เมตร (6 หลา) เส้นทั้งสองเส้นน้ีจะเชื่อมต่อด้วยเส้นหน่ึงท่ีเขียนขนานกับเส้นประตู พื้นท่ีภายในเขต   ที่เสน้ เหลา่ นแ้ี ละเส้นประตูลอ้ มรอบเรยี กวา่ “เขตประตู” 14 คู่มือผตู้ ดั สินกฬี าฟุตบ ล

เขตโทษ (Penalty Area) เขตโทษจะถกู ทำไว้ตรงส่วนท้ายของสนามแตล่ ะดา้ น ดงั น้ี • จากขอบเสาประตดู า้ นในแต่ละขา้ ง วัดออกไปตามแนวเสน้ ประตดู ้านละ 16.50 เมตร (18 หลา) เส้นทั้งสองเส้นน้ีจะเช่ือมต่อด้วยเส้นหน่ึงท่ีเขียนขนานกับเส้นประตู พ้ืนท่ีภายในเขต   ทเ่ี ส้นเหล่าน้ีและเส้นประตูลอ้ มรอบ เรียกว่า “เขตโทษ” • ภายในเขตโทษแตล่ ะดา้ นทำจดุ โทษ (Penalty Mark) ไว้ โดยหา่ งจดุ กง่ึ กลางระหวา่ งเสาประตู เป็นระยะทาง 11 เมตร (12 หลา) และทำส่วนโค้งเขียนไวด้ ้านนอกเขตโทษ โดยมีรศั มีหา่ งจากจดุ โทษ แตล่ ะด้านเปน็ ระยะทาง 9.15 เมตร (10 หลา) 3.16 เมตร 6 เมตร 3 เมตร 15.16 เมตร เสาธง (Flagposts) เสาธงต้องสงู ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร (5 ฟตุ ) เมื่ออยบู่ นดิน ตอ้ งไมม่ ียอดแหลม และจะปกั ไว้ ท่ีมุมสนามแต่ละมุม อาจปักเสาธงไว้ท่ีปลายเส้นแบ่งแดนแต่ละด้านก็ได้ แต่ต้องห่างจากเส้นข้าง   ไม่นอ้ ยกวา่ 1 เมตร (1 หลา) ธงมมุ สนาม เสาธงสงู ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.5 เมตร เส้นขนาดกว้างไมเ่ กนิ 12 เซนติเมตร หรอื 5 ฟุต ตอ้ งไมม่ ียอดแหลม หรอื 5 น้ิว สว่ นโค้งที่มมุ สนาม ต้องมีธงมุมสนาม คู่มอื ผตู้ ัดสินกฬี าฟตุ บ ล 15

เขตมุม (The Corner Area) จากเสาธงมมุ สนามแต่ละดา้ นใหเ้ ขียน 1/4 ของสว่ นโคง้ ไว้ดา้ นในสนามแขง่ ขันโดยมรี ัศมี 1 เมตร (1 หลา) ประตู (Goals) ประตจู ะต้องตัง้ อยู่บนก่งึ กลางเส้นประตูแต่ละดา้ น ประกอบดว้ ยเสา 2 เสา ทปี่ กั ต้งั ฉากไว้ และห่างจากธงมุมสนามเป็นระยะทางเท่ากัน มีคานเชื่อมต่อในแนวนอน ระยะทางระหว่าง   เสาประตู 7.32 เมตร (8 หลา) และระยะทางจากสว่ นใต้คานถึงพื้นสนาม 2.44 เมตร (8 ฟุต) เสาและคานประตูท้ัง 2 ด้าน ต้องมีขนาดเท่ากัน มีความกว้างและหนาไม่เกิน   12 เซนติเมตร (5 น้ิว) เส้นประตูต้องมีความกว้างเท่ากับความกว้างของเสาและคานประต ู  อาจติดตาขา่ ยไวท้ ี่ประตแู ละพืน้ สนามดา้ นหลังประตู โดยตอ้ งแน่ใจว่าติดไว้อยา่ งเรยี บร้อยเหมาะสม และต้องไมร่ บกวนการเล่นของผ้รู กั ษาประตู เสาและคานประตูต้องเป็นสีขาวเทา่ น้ัน 2.44 m 7.32 m 9.15 m 12 cm ความปลอดภัย (Safety) ประตูต้องต้ังยึดติดไว้กับพื้นสนามเพ่ือความปลอดภัย อาจใช้ประตูท่ีเคล่ือนย้ายได้   ถา้ ทำตามความตอ้ งการนีจ้ นเปน็ ทพี่ อใจแลว้ 16 ค่มู อื ผตู้ ัดสินกฬี าฟตุ บ ล

ตำแหน่งของเสาประตตู อ้ งมคี วามสัมพนั ธก์ ับเส้นประตูเหมอื นดังรปู 7.32 m ถ้าเสาประตูเป็นรูปส่ีเหลี่ยม ขอบเสาต้องขนานกับเส้นประตู ขนาดของคานประตูต้องขนาน  หรอื ตง้ั ฉากกบั ระนาบสนาม 7.32 m ถ้าเสาประตูเป็นรูปไข่ ด้านที่ยาวกว่าต้องตั้งฉากกับเส้นประตู และคานประตูด้านที่ยาวกว่า  ตอ้ งขนานกับระนาบสนาม 7.32 m ถ้าเสาประตูเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า ด้านท่ียาวกว่าต้องต้ังฉากกับเส้นประตู และด้านที่ยาวกว่า   ของคานประตูต้องขนานกบั ระนาบสนาม 7.32 m ถ้าเสาประตูเป็นรปู ทรงกลม ขอบของเสาประตูตอ้ งมขี นาดเท่ากับเสน้ ประต ู คมู่ ือผตู้ ดั สินกีฬาฟตุ บ ล 17

สหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาติ 1. ถ้าคานประตูหลุดหรือหัก ต้องหยุดการเล่นจนกว่าจะมีการซ่อมให้เสร็จหรือเปลี่ยนใหม่ ถ้าไม่สามารถทำการซ่อมได้จะต้องยุติการแข่งขัน ไม่อนุญาตให้ใช้เชือกขึงแทนคานประต ู  การเริม่ เล่นใหม่ จะเร่ิมโดยการปลอ่ ยลูกบอล ณ จดุ ท่ลี กู บอลอยู่ในขณะทก่ี ารเล่นได้หยดุ ลง 2. เสาและคานประตูต้องทำด้วยไม้ โลหะ หรือวัสดุท่ีได้รับการรับรองแล้ว รูปทรง  อาจจะเปน็ สี่เหลี่ยมผนื ผ้า สีเ่ หลยี่ มจตั รุ สั ทรงกลม หรอื รปู ไข่ และต้องไมเ่ ปน็ อันตรายต่อผ้เู ลน่ 3. ไม่อนญุ าตให้โฆษณาสินค้าทกุ ชนดิ ไม่ว่าจะเป็นของจรงิ หรือตัวแทนบนสนามแขง่ ขัน และอุปกรณ์ของสนาม (รวมท้ังท่ีตาข่ายประตูและพ้ืนที่ภายในนั้น) นับต้ังแต่ทีมได้เข้าไปสู ่  สนามแข่งขันจนกระท่ังพักคร่ึงเวลา และจากเวลาท่ีทีมได้กลับเข้าสู่สนามแข่งขันอีกจนกระท่ัง   หมดเวลาของการแข่งขัน ต้องไม่มีการโฆษณาบนอุปกรณ์ทุกชนิดที่แสดงให้เห็น เช่น ประตู ตาข่าย เสาธง หรือบนผืนธง กลอ้ ง ไมโครโฟน ฯลฯ ต้องไม่มอี ปุ กรณต์ า่ งๆ จากภายนอกมาติดตัง้ ไว ้ 4. หา้ มมกี ารโฆษณาใดๆ ภายในรศั มี 1 เมตร จากขอบเสน้ ของสนามฟุตบอลบนพืน้ ดนิ และไม่อนุญาตให้ติดป้ายโฆษณาบริเวณระหว่างเสน้ ประตู และบริเวณหลังตาขา่ ยของประตูฟตุ บอล 5. ห้ามจำลองสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายใดๆ ไม่ว่าจะเป็นของจริงหรือตัวแทนของ สหพนั ธฟ์ ุตบอลนานาชาติ สหพันธ์สมาคมกีฬาแห่งชาติ สโมสร หรอื องค์กรอื่นๆ บนสนามแขง่ ขัน และอปุ กรณข์ องสนาม (รวมท้ังที่ตาข่ายประตูและพ้นื ท่ภี ายในน้นั ) 6. อาจทำเส้นต้ังฉากกับเส้นประตูไว้ด้านนอกสนามแข่งขัน โดยวัดห่างจากส่วนโค้ง   มุมสนามมาเป็นระยะทาง 9.15 เมตร (10 หลา) เพ่ือให้แน่ใจว่าในขณะมีการเตะจากมุม   ไดม้ ีการปฏบิ ตั ิให้ถกู ต้องตามระยะน้ ี 7. การใช้สนามพ้ืนหญ้าเทียมทำการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันระหว่างทีมที่เป็น สมาชิกสมาคมของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ หรือการแข่งขันทีมสโมสรระหว่างชาติก็ตาม  พ้ืนผิวของสนามหญ้าเทียมจะต้องเป็นไปตามความต้องการด้านคุณลักษณะของหญ้าเทียม   ตามสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติกำหนดไว้ (มาตรฐานของหญ้าเทียมระหว่างชาติ) นอกจากได้รับ การยกเวน้ จากสหพนั ธ์ฟุตบอลนานาชาติ 8. เขตเทคนิคต้องทำให้ได้มาตรฐาน ตามท่ีสภาฟุตบอลระหว่างประเทศกำหนด   ซง่ึ ไดบ้ รรจเุ น้อื หาไว้ในหนังสอื ฉบบั นี้แล้ว 18 คมู่ อื ผ้ตู ัดสนิ กฬี าฟตุ บ ล

กติกาขอ้ 2 ลกู บอล (THE BALL) คุณลกั ษณะและหน่วยการวดั (Qualities and Measurements) ลูกบอลต้อง 1. เป็นทรงกลม 2. ทำจากหนังหรือวสั ดุอื่น ๆ ทเ่ี หมาะสม 3. เสน้ รอบวงไมเ่ กิน 70 เซนตเิ มตร (28 นิ้ว) ไมน่ อ้ ยกว่า 68 เซนติเมตร (27 นิว้ ) 4. ขณะเรมิ่ การแขง่ ขนั นำ้ หนกั ไมเ่ กนิ 450 กรมั (16 ออนซ)์ และไมต่ ำ่ กวา่ 410 กรมั (14 ออนซ)์ 5. ความดนั ลมเมอื่ วดั ทรี่ ะดบั น้ำทะเล เทา่ กบั 0.6-1.1 (600-1,100 กรัม/ตารางเซนติเมตร) (8.5-15.6ปอนด์/ตารางนิ้ว) การเปลย่ี นลกู บอลท่ชี ำรุด (Replacement of a Defective Ball) ถา้ ลกู บอลแตกหรือชำรุด ระหวา่ งการแขง่ ขนั ผู้ตัดสินตอ้ ง: 1. สัง่ หยุดการเล่น 2. เรม่ิ เลน่ ใหมโ่ ดยการปลอ่ ยลกู บอล ณ จดุ ทล่ี กู บอลชำรดุ ยกเวน้ การเลน่ ไดห้ ยดุ ภายในเขตประตู ในกรณีนี้ผู้ตัดสินทำการปล่อยลูกบอลท่ีเปลี่ยนใหม่บนเส้นเขตประตูด้านที่ขนานกับเส้นประตู   ณ จดุ ทใี่ กลล้ ูกบอลมากทส่ี ดุ ในขณะการเล่นไดห้ ยุดลง ถ้าลูกบอลแตกหรือชำรุด ระหว่างการเตะโทษ ณ จุดโทษ หรือระหว่างการเตะ จากจดุ โทษในขณะทลี่ กู บอลกำลงั เคลอ่ื นทไี่ ปขา้ งหนา้ และกอ่ นทจี่ ะสมั ผสั ผเู้ ลน่ อนื่ ๆ หรอื คานประตู หรอื เสาประตู ต้องทำการเตะโทษ ณ จุดโทษใหม่ ถา้ ลกู บอลแตกหรอื ชำรดุ ในขณะทลี่ กู บอลอยนู่ อกการเลน่ เชน่ เมอ่ื เตะเรม่ิ เลน่ เตะจากประตู เตะจากมมุ เตะโทษ เตะโทษ ณ จดุ โทษ หรอื การท่มุ ต้องเร่ิมเลน่ ใหมต่ ามสถานการณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ ในขณะแข่งขันจะเปลยี่ นลกู บอลไมไ่ ด้ นอกจากจะได้รับอนุญาตจากผ้ตู ดั สิน FIFA Approved International Matchball Standard FIFA Inspected คมู่ ือผตู้ ดั สินกีฬาฟตุ บ ล 19

มติสหพนั ธฟ์ ุตบอลนานาชาติ 1. การแข่งขันจะอนุญาตให้ใช้ลูกบอลที่เป็นไปตามความต้องการทางเทคนิคตามท่ีระบุ ไวใ้ นกติกาขอ้ 2 เทา่ นนั้ 2. การแข่งขันต่างๆ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และการแข่งขันภายใต้ความดูแล   รับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอลต่างๆ การยอมรับเก่ียวกับลูกบอลท่ีใช้แข่งขัน จะต้องอยู่ภายใต้ เง่อื นไขของลูกบอล ข้อหน่ึงขอ้ ใดใน 3 ขอ้ ทรี่ ะบุไว้ คอื • มสี ัญลกั ษณ์ “FIFA Approved” • มีสญั ลกั ษณ์ “FIFA INSPECTED” • มีสัญลักษณ์ “INTERNATIONAL MATCHBALL STANDARD” แตล่ ะประการท่ีระบไุ ว้บนลูกบอล เป็นสง่ิ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ได้ผ่านการทดสอบความเหมาะสม และได้ทำตามความต้องการทางเทคนิคที่ระบุไว้ ตามความแตกต่างกันแต่ละประการแล้ว  และเป็นไปตามรายละเอียดต่างๆ ในขน้ั ตำ่ สดุ ตามที่ระบไุ วใ้ นกติกาข้อ 2 รายการต่างๆ ท่ีต้องการ ระบเุ พม่ิ เตมิ ในแตล่ ะประเภทตอ้ งไดร้ บั การรบั รองจากสหพนั ธฟ์ ตุ บอลนานาชาตกิ อ่ น สถาบนั ทค่ี วบคมุ การทดสอบเป็นไปตามความเหน็ ชอบของสหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาต ิ 3. การแข่งขันต่างๆ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และการแข่งขันภายใต้ความดูแล   รับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอลต่างๆ และสมาคมแห่งชาติ ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใดๆ บนลกู บอล ยกเวน้ ตราสญั ลกั ษณข์ องการแขง่ ขนั เครอ่ื งหมายการคา้ ของคณะกรรมการ และผมู้ อี ำนาจ ในการจัดการแขง่ ขนั ระเบยี บการแข่งขันอาจจำกัดขนาดและจำนวนของแตล่ ะเครอ่ื งหมายกไ็ ด ้ 20 คู่มอื ผตู้ ัดสินกฬี าฟุตบ ล

กตกิ าขอ้ 3 จำนวนผเู้ ล่น (THE NUMBER OF PLAYERS) จำนวนผู้เลน่ (Number of Players) การแข่งขันประกอบด้วยผู้เล่น 2 ทีม แต่ละทีมจะมีผู้เล่นไม่เกิน 11 คน ต้องมีคนหน่ึง เป็นผ้รู ักษาประตู ถา้ ทีมใดมีผ้เู ล่นน้อยกวา่ 7 คน จะไมอ่ นุญาตใหท้ ำการแข่งขนั การแขง่ ขันที่เป็นทางการ (Official Competition) การแข่งขันท่ีเป็นทางการภายใต้การดูแลรับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สหพันธ์หรอื สมาคมแห่งชาติ การเปลยี่ นตวั ผเู้ ล่นทำไดม้ ากท่ีสุดไม่เกิน 3 คน ระเบียบการแข่งขันจะกำหนดจำนวนผู้เล่นสำรองที่ต้องส่งชื่อ ว่าได้จำนวนเท่าใด  จาก 3 คน ถงึ มากท่สี ดุ 7 คน การแข่งขนั อ่นื ๆ (Other Matches) • ในการแขง่ ขันในนามทีมชาติ ใหม้ ีการเปลี่ยนตวั ผู้เล่นสำรองได้ ไม่เกนิ 6 คน • ในการแขง่ ขันอน่ื ๆ การเปล่ยี นตัวผู้เลน่ กำหนดไวภ้ ายใต้เงอ่ื นไข คือ 1. ทมี ทเี่ ขา้ รว่ มแข่งขนั ตกลงเห็นชอบในจำนวนการเปลยี่ นตัวท่มี ากท่สี ุด 2. ผตู้ ัดสนิ ตอ้ งได้รบั แจง้ ก่อนการแข่งขัน ถ้าผู้ตัดสินไม่ได้รับแจ้ง หรือไม่ได้รับความเห็นชอบตามข้อตกลงก่อนการแข่งขันจะเริ่ม จะอนุญาตให้เปลี่ยนตัวไดไ้ มเ่ กิน 3 คน 3. การแขง่ ขนั เพ่ือมติ รภาพ อนญุ าตใหแ้ ตล่ ะทีมเปลยี่ นตวั ผู้เลน่ ได้ ไม่เกิน 6 คน คู่มอื ผูต้ ดั สินกฬี าฟุตบ ล 21

การแขง่ ขันทกุ รายการ (All Matches) การแข่งขันทุกรายการ ต้องส่งบัญชีรายชื่อผู้เล่นสำรองให้ผู้ตัดสินก่อนที่การแข่งขัน  จะเริ่มข้ึน ผเู้ ล่นสำรองทไี่ ม่มชี ่ือในบญั ชีรายช่ือจะไม่สามารถเข้าร่วมการแขง่ ขนั ได้ ขัน้ ตอนการเปล่ยี นตัว (Substitution Procedure) เงอ่ื นไขต่อไปนี้ จะใชป้ ฏิบตั เิ มอ่ื มีการเปล่ียนตวั ผเู้ ล่นสำรองเขา้ เล่นแทน 1. กอ่ นทจ่ี ะทำการเปลีย่ นตวั ต้องแจ้งใหผ้ ้ตู ัดสินทราบกอ่ น 2. ผู้เล่นสำรองจะเข้าสนามแข่งขันได้เฉพาะบริเวณเส้นแบ่งแดนเท่าน้ัน และอยู่ใน ระหวา่ งการเลน่ ได้หยุดลง 3. การเปล่ียนตัวจะสมบูรณ์ เมื่อผู้เล่นท่ีถูกเปลี่ยนตัวออกได้ออกจากสนามแล้ว   และผูเ้ ลน่ สำรองไดเ้ ข้าไปในสนามแข่งขนั 4. ผู้เล่นสำรองท่ีเปลี่ยนตัวจะกลายเป็นผู้เล่นทันที และผู้เล่นที่ถูกเปลี่ยนออกจะส้ินสุด การเป็นผ้เู ล่น 5. ผูเ้ ลน่ ทถี่ ูกเปลีย่ นออกมาแล้ว จะไมส่ ามารถเขา้ ไปมีส่วนร่วมใดๆ ในการแขง่ ขันได้อกี 6. การเปลย่ี นตวั ทกุ ครง้ั อยใู่ นอำนาจและการตดั สนิ ใจของผตู้ ดั สนิ วา่ จะอนญุ าตใหเ้ ขา้ เลน่ ไดห้ รอื ไม  ่ 11 8 การเปลีย่ นหนา้ ท่ีกบั ผ้รู กั ษาประตู (Changing the Goalkeeper) ผูเ้ ลน่ คนอ่ืนๆ อาจเปลย่ี นหนา้ ท่กี ับผ้รู ักษาประตูได้ตามเง่อื นไข ดังน ี้ 1. แจ้งใหผ้ ตู้ ัดสนิ ทราบกอ่ นทำการเปลยี่ นหน้าท ี่ 2. ทำการเปล่ียนหน้าที่ในขณะการเล่นไดห้ ยดุ ลง 22 คมู่ อื ผู้ตดั สนิ กีฬาฟตุ บ ล

การกระทำผิด/การลงโทษ (Infringement/Sanctions) *ถ้าผู้เล่นสำรองหรือผู้เล่นท่ีถูกเปลี่ยนตัวออกแล้ว เข้าไปในสนามแข่งขันโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากผตู้ ัดสนิ ผู้ตดั สนิ จะต้อง 1. ส่ังหยุดการเล่น (จะไม่สั่งหยุดการเล่นทันที) ถ้าบุคคลภายนอกไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ การเลน่ 2. คาดโทษฐานประพฤติตนอยา่ งไม่มนี ้ำใจนกั กฬี า และใหอ้ อกจากสนามแขง่ ขัน 3. ถ้าผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่น การเล่นเร่ิมเล่นใหม่โดยฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม   ณ จุดทีล่ กู บอลอยู่ เมอื่ การเลน่ ได้หยุดลง * ถ้าผู้เล่นเปลยี่ นหนา้ ที่กับผู้รักษาประตู โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากผู้ตัดสิน 1. ให้การเลน่ ดำเนนิ ตอ่ ไป 2. ผ้เู ล่นท่เี กีย่ วขอ้ งตอ้ งถกู คาดโทษ เมือ่ ลูกบอลอยนู่ อกการเลน่ * สำหรบั การกระทำผดิ อน่ื ๆ ของกตกิ าข้อน้ ี 1. ผู้เล่นท่เี กี่ยวขอ้ งต้องถกู คาดโทษ 2. การเรม่ิ เลน่ ใหมโ่ ดยใหฝ้ า่ ยตรงขา้ มได้เตะโทษโดยออ้ ม ณ จดุ ทล่ี ูกบอลอยู่ ในขณะท่ี การเลน่ ไดห้ ยดุ ลง การไลผ่ เู้ ลน่ และผเู้ ลน่ สำรองออกจากการแขง่ ขนั (Players and Substitutes Sent Off) ผเู้ ลน่ คนใดถูกไล่ออกก่อนการเตะเร่ิมการแขง่ ขนั (Kick-Off) สามารถเปลยี่ นผเู้ ลน่ สำรอง ท่มี ีชอื่ อยใู่ นบัญชีรายช่อื เขา้ เล่นแทนได้ ผูเ้ ลน่ สำรองที่มชี ่ืออยใู่ นบัญชรี ายชื่อถกู ไลอ่ อก ท้ังก่อนการเตะเร่ิมการแข่งขันหรือภายหลัง ทก่ี ารแขง่ ขันไดเ้ รมิ่ ขน้ึ แลว้ จะเปล่ียนชื่อแทนกนั ไมไ่ ด้ มติสหพนั ธฟ์ ตุ บอลนานาชาติ 1. ตามเง่ือนไขท่รี ะบไุ วใ้ นกติกาขอ้ 3 จำนวนผเู้ ลน่ ตำ่ สดุ ในทีมหนง่ึ จะมเี ทา่ ไร ข้นึ อยู่กบั ดุลยพินิจของสมาคมฟุตบอลแห่งชาติ แต่อย่างไรก็ตามสมาคมฟุตบอลระหว่างประเทศเห็นว่า   การแข่งขนั ไม่ควรจะดำเนนิ ต่อไป ถ้าทีมหนึง่ ทีมใดมีผูเ้ ลน่ นอ้ ยกวา่ 7 คน 2. อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ทีม 1 คน สามารถสอนยุทธวิธีการเล่นให้กับผู้เล่นได้ในระหว่าง การแข่งขันกำลังดำเนินอยู่ และต้องกลับไปยังตำแหน่งเดิมขทันทีภายหลังทำการสอนเสร็จ  เจ้าหน้าท่ีทุกคนต้องอยู่ภายในเขตเทคนิคแต่ละเขตที่กำหนดไว้ และต้องรับผิดชอบเก่ียวกับ   การประพฤติตนใหเ้ หมาะสมในพืน้ ทนี่ น้ั ๆ ดว้ ย คูม่ ือผู้ตดั สนิ กฬี าฟตุ บ ล 23

กตกิ าข้อ 4 อปุ กรณข์ องผู้เล่น (PLAYER’S EQUIPMENT) ความปลอดภัย (Safety) ผู้เล่นต้องไม่ใช้อุปกรณ์การเล่น หรือสวมใส่ส่ิงต่างๆ ที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อตนเอง และผู้เล่นอน่ื (รวมทง้ั เครอื่ งประดบั ทกุ ชนดิ ) Please avoid injuries ! bblNeraaanectdcehksalelelaelrtoctsocew,r.see,raaudrrreib rnibngnsego,srt, อ ปุ กรณเ์ บ้อื งต้น (Basic Equipment) อุปกรณ์ของผู้เลน่ ทเ่ี ปน็ ขอ้ บังคบั เบอ้ื งตน้ คอื 1. เสอ้ื ยดื หรือเสื้อเช้ิต (Jersey of Shirt) ที่มแี ขนเส้ือ ถา้ ใสเ่ ส้ือด้านใน สีต้องเหมือนสหี ลัก ของแขนเสอ้ื 2. กางเกงขาสั้น (Shorts) ถ้าใส่กางเกงปรับอุณหภูมิ (Thermal) ไว้ภายใน สีของกางเกง  จะตอ้ งเปน็ สเี ดยี วกับสที ่เี ปน็ หลักของกางเกงชัน้ นอก 3. ถงุ เทา้ ยาว (Stocking) 4. สนบั แขง้ (Shinguards) 5. รองเท้า (Footwear) สนับแข้ง (Shinguards) 1. ต้องอยภู่ ายใต้ถุงเท้ายาว 2. ต้องทำจากวัสดทุ ่ีเหมาะสม (ยาง พลาสติก หรอื วสั ดุท่คี ลา้ ยๆ กนั ) 3. มคี วามเหมาะสมท่จี ะใชใ้ นการปอ้ งกนั ได้อย่างดี 24 ค่มู ือผู้ตดั สนิ กฬี าฟุตบ ล

ชุดแขง่ ขนั ผเู้ ล่นทัง้ สองทมี ตอ้ งสวมชดุ ทมี่ สี ีแตกต่างกนั รวมถึงผตู้ ดั สนิ และผชู้ ่วยผู้ตดั สนิ ผูร้ ักษาประตู (Goalkeepers) ผรู้ กั ษาประตแู ตล่ ะทมี ตอ้ งสวมชดุ ทม่ี สี แี ตกตา่ งจากผตู้ ดั สนิ ผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ และผเู้ ลน่ คนอน่ื ๆ การกระทำผดิ และการลงโทษ (Infringements and Sanctions) การกระทำผดิ ใดๆ ของกติกาขอ้ นี้ 1. ไม่จำเป็นต้องหยุดการเลน่ 2. ผู้เล่นท่ีกระทำผิดจะถูกแนะนำจากผู้ตัดสินให้ออกจากสนามแข่งขัน เพื่อทำการแก้ไข อปุ กรณข์ องตนเองใหถ้ ูกตอ้ ง 3. ผู้เล่นจะออกจากสนามแข่งขันเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น จนกว่าจะได้มีการแก้ไข อปุ กรณ์ให้ถูกตอ้ ง 4. ผเู้ ลน่ คนใดถกู ใหอ้ อกจากสนามแขง่ ขนั เพอื่ แกไ้ ขอปุ กรณใ์ หถ้ กู ตอ้ ง จะกลบั เขา้ มาเลน่ ใหมไ่ ด้ ตอ้ งได้รับอนญุ าตจากผ้ตู ดั สนิ 5. ผูต้ ัดสินตอ้ งตรวจดูวา่ อปุ กรณข์ องผเู้ ล่นไดแ้ ก้ไขถกู ต้อง ก่อนที่จะอนุญาตใหก้ ลับเข้ามาใน สนามแขง่ ขัน 6. จะอนญุ าตใหผ้ เู้ ลน่ กลบั เขา้ มาในสนามแขง่ ขนั ใหมไ่ ด้ ตอ่ เมอื่ ลกู บอลอยนู่ อกการเลน่ เทา่ นนั้   ผเู้ ลน่ ทถี่ กู ใหอ้ อกจากสนามแขง่ ขนั เนอื่ งจากการกระทำผดิ ตามกตกิ าขอ้ นี้ และไดเ้ ขา้ มาสมทบ (หรอื กลบั เขา้ มาสมทบ) ในสนามแขง่ ขนั โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากผตู้ ดั สนิ กอ่ นจะตอ้ งถกู คาดโทษ การเริม่ เลน่ ใหม่ (Restart of Play) ถ้าการเล่นได้หยุดลงโดยผู้ตัดสินเพ่ือทำการคาดโทษ การเล่นจะเร่ิมเล่นใหม่โดยให้ผู้เล่น ฝา่ ยตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ จดุ ทลี่ ูกบอลอยู่ ในขณะทีผ่ ู้ตัดสินส่ังหยุดการเลน่ มตสิ หพันธ์ฟตุ บอลนานาชาต ิ • ผเู้ ลน่ ต้องไม่เปดิ เผยแสดงใหเ้ หน็ เสื้อด้านใน ซงึ่ มีสโลแกนหรอื การโฆษณา • ผู้เล่นคนใดถอดเส้ือเพ่ือเปิดให้เห็นสโลแกนหรือโฆษณา จะต้องถูกลงโทษ   โดยคณะกรรมการจัดการแข่งขนั • เสือ้ ต้องมแี ขน คู่มือผูต้ ัดสนิ กฬี าฟุตบ ล 25

กตกิ าขอ้ 5 ผ้ตู ัดสนิ (THE REFEREES) อำนาจของผู้ตดั สนิ (The Authority of the Referee) ผู้ตัดสินต้องได้รับการแตง่ ต้งั เพอ่ื ควบคมุ และดแู ลการแข่งขันใหเ้ ป็นไปตามกตกิ า อำนาจและหนา้ ที่ (Power and Duties) 1. ปฏิบตั ติ ามกตกิ าการแข่งขัน 2. ควบคุมการแข่งขันโดยมีผู้ช่วยผู้ตัดสินและผู้ตัดสินท่ี 4 คอยให้ความร่วมมือช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม 3. แนใ่ จว่าลูกบอลทุกลูกทีใ่ ช้แข่งขนั ถูกต้องตามขอ้ กำหนดของกติกาขอ้ 2 4. แนใ่ จว่าอปุ กรณ์ของผเู้ ลน่ ถกู ต้องตามขอ้ กำหนดของกตกิ าขอ้ 4 5. ทำหน้าที่รกั ษาเวลาของการแข่งขันและเขียนรายการแขง่ ขนั 6. พิจารณาส่ังหยุดการเล่น หยุดการเล่นช่ัวคราว หรือยุติการแข่งขัน (Suspends or Teminate the Match) หากพบการกระทำผดิ กตกิ าการแข่งขัน 7. พจิ ารณาส่งั หยุดการเล่น หยุดการเลน่ ชว่ั คราวหรอื ยุติการแขง่ ขนั เนอื่ งจากมีส่ิงรบกวน จากภายนอกทำการรบกวนการแขง่ ขัน 8. สั่งหยุดการเล่นถ้าเห็นวา่ ผู้เล่นบาดเจ็บหนัก (Seriously Injured) และต้องแน่ใจวา่   ผู้เล่นน้ันได้ถูกเคลื่อนย้ายออกจากสนามแข่งขันไปแลว้ 9. อนญุ าตใหก้ ารเลน่ ดำเนนิ ตอ่ ไปจนกวา่ ลกู บอลจะอยนู่ อกการเลน่ ถา้ เหน็ วา่ ผเู้ ลน่ บาดเจบ็ เพียงเลก็ นอ้ ย 10. แนใ่ จวา่ ผเู้ ลน่ ทมี่ เี ลอื ดไหลออกจากบาดแผลไดอ้ อกจากสนามแขง่ ขนั ไปแลว้ และผเู้ ลน่ นน้ั จะกลับเข้าไปเล่นใหม่ได้เม่ือได้รับสัญญาณจากผู้ตัดสิน ซึ่งต้องพึงพอใจแล้วว่าเลือดท่ีไหลได้หยุดแล้ว  11. อนุญาตให้การเล่นดำเนินต่อไป เม่ือทีมที่ถูกกระทำผิดจะเกิดประโยชน์จากการ   ใหไ้ ดเ้ ปรยี บ (Advantage) และถา้ การคาดคะเนในการใหไ้ ดเ้ ปรยี บนนั้ ไมเ่ ปน็ ไปตามทค่ี าดไวใ้ นขณะนนั้ กส็ ามารถกลับมาลงโทษตามความผดิ ครัง้ แรกได ้ 12. ลงโทษความผิดทร่ี ้ายแรงกวา่ ในกรณีทผ่ี เู้ ล่นทำผิดมากกวา่ 1 อยา่ งภายในเวลาเดยี วกัน 13. ควบคุมระเบียบวินัยโดยแสดงการต่อต้านต่อผู้เล่นที่กระทำผิดต้องได้รับการคาดโทษ (Cautionable) และการให้ออก (Sending-off) จากการแข่งขัน ไม่ได้ถูกบังคับว่าต้องกระทำ  ในทันทีทนั ใด แต่ตอ้ งทำทนั ทีเมื่อลูกบอลได้อยูน่ อกการเล่นแล้ว 26 คมู่ ือผตู้ ัดสนิ กฬี าฟตุ บ ล

14. ทำหน้าที่แสดงการต่อต้านต่อเจ้าหน้าที่ทีมที่ขาดความรับผิดชอบในการควบคุม   การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเองทดี่ ี และอาจพิจารณาไลอ่ อกจากสนามแขง่ ขันและบรเิ วณแวดลอ้ มในทันที 15. ปฏิบัตติ ามการชว่ ยเหลือของผชู้ ่วยผตู้ ัดสนิ ตามเหตุการณท์ ตี่ นเองมองไม่เหน็ 16. แน่ใจว่าไมม่ บี ุคคลอ่นื ๆ ท่ไี มไ่ ดร้ ับอนญุ าตเข้าไปในสนามแขง่ ขนั 17. ทำการเร่มิ เล่นใหมเ่ ม่ือการเลน่ ได้หยุดลง 18. เขียนรายงานการแข่งขันเสนอต่อผู้มีอำนาจหน้าที่ที่แต่งตั้งไว้ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ การควบคุมระเบียบวินัยทุกอย่างท่ีกระทำต่อผู้เล่นและหรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์อื่นๆ   ทกุ กรณีท่เี กดิ ขน้ึ ก่อนการแข่งขัน ระหวา่ งการแข่งขนั หรอื ภายหลงั การแข่งขัน การพิจารณาตดั สนิ ใจของผตู้ ัดสนิ (Decisions of the Referee) การพิจารณาตัดสินใจของผู้ตัดสินท่ีเก่ียวข้องกับสภาพความเป็นจริงที่เกิดข้ึนในการแข่งขัน ถือเปน็ ข้อยตุ ิ ผ้ตู ัดสินอาจกลับคำตดั สินได้ ถ้าพิจารณาแล้วว่าสง่ิ ท่ีทำไปนน้ั ไมถ่ กู ตอ้ ง หรอื ได้พจิ ารณา ตามความช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสิน โดยมีเงื่อนไขว่าการเร่ิมเล่นใหม่นั้นยังไม่ได้เริ่มข้ึน  หรือยุติการแขง่ ขนั อุปกรณก์ ารตัดสนิ ค่มู ือผตู้ ดั สนิ กฬี าฟตุ บ ล 27

มตสิ หพนั ธ์ฟุตบอลนานาชาต ิ 1. ผูต้ ัดสนิ หรอื ปฏบิ ัติหน้าท่ผี ู้ชว่ ยผูต้ ดั สิน หรอื ผตู้ ัดสินท่ี 4 จะไม่มีหน้าทรี่ ับผิดชอบกรณี • การบาดเจ็บทกุ อยา่ งท่ผี ูเ้ ลน่ เจ้าหน้าที่ หรือผู้ชมไดร้ บั • ความเสียหายต่อทรัพยส์ นิ ทกุ ชนิด • ทกุ อยา่ งทไี่ ดร้ บั ความเสยี หายโดยบคุ คล สโมสร บรษิ ทั สมาคม หรอื ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยๆ กับจะเป็นโดยตรง หรือเน่ืองจากการตัดสินใจในขอบเขตของกติกาการแข่งขันหรือในการพิจารณา ดำเนนิ การชว่ ยเหลอื ตามปกติ ทัง้ ในการเลน่ และการควบคมุ การแข่งขันรวมท้งั สิน้ ดังน้ ี ก) ตัดสินใจว่าสภาพสนามแข่งขัน หรือบริเวณสภาพแวดล้อม หรือสภาพภูมิอากาศ เชน่ นัน้ จะอนญุ าตหรือไมอ่ นุญาตใหแ้ ข่งขัน เพอ่ื เลอ่ื นการแขง่ ขันออกไป ข) ตดั สนิ ใจละท้งิ การแขง่ ขันไมว่ ่าเหตุผลใดกต็ าม ค) ตัดสินใจเก่ียวกบั สภาพสงิ่ ของท่ีตดิ ต้ังหรืออุปกรณ์ต่างๆ ท่ถี ูกใชร้ ะหวา่ งการแข่งขัน รวมถงึ เสาประตู คานประตู เสาธงมุมสนาม และลูกบอล ง) ตัดสินใจหยุดหรือไม่ให้หยุดการแข่งขัน เนื่องจากผู้ชมเข้ามารบกวนหรือปัญหาอ่ืนๆ   ทเี่ ก่ียวกับผชู้ ม จ) ตดั สินใจหยดุ หรือไม่ใหห้ ยุดการแขง่ ขัน เพอื่ นำผู้เล่นท่ีบาดเจบ็ ออกจากสนามแขง่ ขัน เพอ่ื ทำการปฐมพยาบาล ฉ) ตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การรอ้ งขอหรอื เรยี กอา้ งวา่ ใหน้ ำผเู้ ลน่ ทบ่ี าดเจบ็ ออกจากการแขง่ ขนั เพอ่ื ทำการปฐมพยาบาล ช) ตัดสินใจอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ผู้เล่นสวมใส่เคร่ืองแต่งกาย เคร่ืองประดับ  หรืออุปกรณ์บางชนิด ซ) ตัดสินใจ (ในสิ่งต่อไปน้ีอาจเป็นหน้าท่ีรับผิดชอบด้วย) อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ บุคคลอ่ืนใด รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทีม หรือเจ้าหน้าที่สนาม เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยช่างภาพ หรือผบู้ รรยายส่อื มวลชนต่างๆ อยู่ในบรเิ วณใกลเ้ คยี งสนามแขง่ ขัน) ญ) ตัดสินใจอื่นๆ ทุกอย่าง ซ่ึงอาจนำไปใช้ให้สอดคล้องกับกติกาการแข่งขัน   หรือสอดคล้องกับหน้าท่ีของเขาตามเง่ือนไขของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สหพันธ์ สมาคม   หรอื กฎระเบยี บของการแข่งขัน หรอื กฎข้อบงั คบั ภายใต้การแข่งขนั ทก่ี ำลังเล่นอยู่ 2. ในการแข่งขันแบบทัวร์นาเมนท์ หรือการแข่งขันอื่นๆ ที่กำหนดผู้ตัดสินคนท่ี 4 ไว้ บทบาทและหน้าท่ีต้องสอดคล้องกับข้อแนะนำท่ีกำหนดไว้ โดยคณะกรรมการสหพันธ์ฟุตบอล นานาชาต ิ 28 คมู่ อื ผู้ตดั สินกฬี าฟตุ บ ล

3. ข้อเท็จจริงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการแข่งขันจะหมายรวมถึงการเป็นประต ู  หรอื ไมเ่ ป็นประตแู ละผลของการแขง่ ขัน สัญญาณโทษโดยออ้ ม สัญญาณการใหใ้ บเหลือง สญั ญาณการให้ใบแดง คู่มอื ผู้ตัดสินกีฬาฟุตบ ล 29

กติกาข้อ 6 ผชู้ ่วยผตู้ ดั สิน (THE ASSISTANT REFEREES) หน้าที่ (Duties) เป็นผชู้ แ้ี นะแสดงให้ผตู้ ดั สนิ ทราบสิ่งตา่ งๆ สว่ นการตัดสินใจเป็นหน้าทข่ี องผตู้ ัดสนิ 1. เมอ่ื ลูกบอลทง้ั ลกู ไดผ้ า่ นออกนอกสนามแขง่ ขนั 2. ฝา่ ยใดได้สทิ ธ์ิในการเตะจากมมุ เตะจากประตหู รอื ไม ่ 3. เมื่อผู้เลน่ ถกู ลงโทษฐานการอยูใ่ นตำแหนง่ ล้ำหน้า 4. เม่อื มีความตอ้ งการเปลยี่ นตวั ผูเ้ ล่น 5. เมื่อมีการกระทำผดิ หรอื มเี หตกุ ารณ์อน่ื ๆ เกิดขึ้นโดยท่ผี ตู้ ดั สนิ ไมเ่ ห็น 6. เมื่อมีผู้เล่นกระทำผิดกติกาเกิดข้ึนใกล้ผู้ช่วยผู้ตัดสินมากกว่าผู้ตัดสิน (รวมถึงเหตุการณ์ กระทำผิดกติกาภายในเขตโทษ) 7. เม่อื มีการเตะโทษ ณ จดุ เตะโทษ ผชู้ ่วยผตู้ ัดสินต้องดวู า่ ผ้รู ักษาประตเู คลอื่ นทอี่ อกมา ขา้ งหนา้ กอ่ นทลี่ กู บอลจะถกู เตะหรือไม่ และตอ้ งดลู กู บอลขา้ มเส้นประตหู รอื ไม่ การช่วยเหลือ (Assistant) ช่วยเหลือผู้ตัดสินควบคุมการแข่งขันให้ปฏิบัติตามกติกา และในกรณีพิเศษ ผู้ช่วยผู้ตัดสิน อาจเขา้ ไปในสนามได้ เพ่อื ชว่ ยควบคมุ การแข่งขนั การเตะในระยะ 9.15 เมตร (10 หลา) สญั ญาณของผชู้ ่วยผ้ตู ัดสิน การให้สญั ญาณการเปลีย่ นตัวผเู้ ลน่ 30 คมู่ อื ผตู้ ดั สนิ กีฬาฟุตบ ล

การให้สญั ญาณของผู้ชว่ ยผู้ตัดสินลำ้ หนา้ Offside - Near side Offside - Center Offside - Far side Corner kick ค่มู อื ผตู้ ดั สนิ กฬี าฟุตบ ล 31

กติกาขอ้ 7 ระยะเวลาของการแขง่ ขนั (THE DURATION OF THE MATCH) ชว่ งเวลาของการเลน่ (Periods of Play) การแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ครงึ่ ๆ ละ 45 นาทเี ทา่ กนั ยกเว้นไดม้ ีการพิจารณาตกลง รว่ มกนั ทงั้ 2 ฝา่ ย ระหวา่ งผู้ตดั สินกับทีมทเ่ี ขา้ รว่ มแข่งขนั ทั้ง 2 ทมี การตกลงต่างๆ ต้องทำการ แก้ไขกอ่ นเริม่ ทำการแขง่ ขันและต้องทำตามระเบยี บของการแขง่ ขนั ด้วย ตวั อยา่ งเช่น การลดเวลา การแข่งขันแต่ละครึ่งเวลาเหลือ 40 นาที เน่อื งจากแสงสว่างไมเ่ พียงพอ 0:45 0:15 0:45 ครึง่ เวลาแรก พักครึง่ เวลา ครง่ึ เวลาหลงั พกั ครึ่งเวลา (Half-time Interval) 1. ผเู้ ล่นทุกคนมสี ิทธไิ์ ดพ้ ักครึ่งเวลา 2. การพักครึง่ เวลาต้องไมเ่ กนิ 15 นาท ี 3. ระเบียบการแข่งขันต้องระบุไวใ้ ห้ชัดเจนว่าเวลาทใ่ี ชใ้ นการพักคร่ึงเวลาเทา่ ใด 4. เวลาในการพกั ครึง่ เวลาอาจเปลย่ี นแปลงแก้ไขได้ แต่ตอ้ งขนึ้ อย่กู ับความเห็นชอบของ ผ้ตู ดั สนิ เท่านั้น การชดเชยเวลาทเ่ี สยี ไป (Allowance for Time Lost) การชดเชยเวลาสามารถทำไดท้ ง้ั 2 ครง่ึ เวลาของการแขง่ ขนั สำหรบั เวลาทส่ี ญู เสยี ไปจาก 1. การเปลีย่ นตัวผู้เลน่ 2. การตรวจสอบผูเ้ ล่นที่บาดเจ็บ 3. การนำผู้เลน่ ทีบ่ าดเจบ็ ออกจากสนามแขง่ ขนั เพ่อื ทำการปฐมพยาบาล 4. การถว่ งเวลาการเล่น 5. สาเหตุอื่นๆ ที่เกิดข้ึนทกุ กรณี การชดเชยสำหรับเวลาทส่ี ูญเสยี ไปจะอยใู่ นดุลยพนิ ิจของผูต้ ัดสนิ 32 คูม่ ือผตู้ ัดสนิ กฬี าฟตุ บ ล

การเตะโทษ ณ จุดโทษ (Penalty Kick) อนุญาตให้เพ่ิมเวลาเพ่ือการเตะโทษ ณ จุดโทษ ในช่วงเวลาสุดท้ายของแต่ละครึ่งเวลา หรอื ในชว่ งเวลาสุดทา้ ยของการตอ่ เวลาพเิ ศษ การตอ่ เวลาพเิ ศษ (Extra Time) ระเบียบของการแข่งขันอาจระบุช่วงเวลาการเล่นไว้เป็น 2 คร่ึงเวลาเท่ากัน โดยปฏิบัติ ตามเงือ่ นไขของกติกาข้อ 8 การยกเลกิ การแขง่ ขัน (Abandoned Match) การยกเลิกการแข่งขันจะต้องทำการแข่งขันใหม่ ยกเว้นระเบียบการแข่งขันจะได้ระบุไว้ เป็นอยา่ งอ่ืน คูม่ ือผู้ตดั สนิ กฬี าฟตุ บ ล 33

กติกาข้อ 8 การเร่ิมการแข่งขันและการเริ่มเล่นใหม่ (THE START AND RESTART OF PLAY) การเตรยี มการเบ้อื งตน้ (Preliminaries) ทำการเสี่ยงเหรียญโดยทีมท่ีชนะการเส่ียงจะเป็นฝ่ายเลือกประตูที่จะทำการรุก  ในครง่ึ เวลาแรกของการแข่งขัน อีกทมี จะเปน็ ฝา่ ยไดเ้ ตะเรมิ่ เล่น (Kick off) เพ่อื เร่ิมตน้ การแข่งขัน ทีมที่ชนะการเส่ยี งจะทำการเตะเรมิ่ เล่น ในครึ่งเวลาหลงั ของการแขง่ ขัน ท้งั สองทีมจะเปลย่ี นแดนกนั ในครึ่งเวลาหลงั ของการแขง่ ขัน และทำการรกุ ประตตู รงขา้ ม การเตะเร่มิ เลน่ (Kick off) การเตะเร่ิมเลน่ เพอ่ื เริม่ ตน้ การแขง่ ขนั หรือเพอ่ื เร่มิ เลน่ ใหม่ 1. เม่ือเรมิ่ ตน้ การแขง่ ขนั 2. ภายหลังจากมีการทำประตไู ด ้ 3. เมอ่ื เรม่ิ ต้นการแขง่ ขันครึ่งเวลาหลงั 4. เม่อื เริ่มตน้ การแข่งขันแตล่ ะครึ่งเวลาของการตอ่ เวลาพิเศษทน่ี ำมาใช้ สามารถทำประตไู ดโ้ ดยตรงจากการเตะเริม่ เล่น 34 คมู่ อื ผู้ตดั สนิ กีฬาฟตุ บ ล

ขัน้ ตอนในการดำเนินการ (Procedure) กอ่ นการเตะเรมิ่ การแขง่ ขนั หรอื ตอ่ เวลาพิเศษ 1. ทมี ทชี่ นะการเสย่ี งเหรยี ญจะเปน็ ผเู้ ลอื กประตทู จี่ ะทำการรกุ ในครงึ่ เวลาแรกของการแขง่ ขนั 2. อกี ทีมจะเป็นฝา่ ยเตะเรมิ่ เล่น (kick off) 3. ทีมที่ชนะการเสยี่ งเหรยี ญจะเป็นผู้เตะเริม่ เล่นในคร่งึ เวลาหลัง 4. ในครง่ึ เวลาหลงั ท้งั สองทีมตอ้ งเปลยี่ นแดนกันและรกุ ทำประตฝู ่ังตรงข้าม การเตะเรมิ่ เล่น (kick - off) 1. หลังจากท่ีมีการทำประตูได้ การเริ่มเล่นทำโดยอีกฝา่ ย 2. ผเู้ ล่นทกุ คนต้องอยใู่ นแดนตนเองในสนามแขง่ ขัน 3. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้องอยู่ห่างจากลูกบอลอย่างน้อย 9.15 เมตร (10 หลา)  จนกว่าลูกบอลจะอยูใ่ นการเล่น 4. ลกู บอลต้องวางนง่ิ อยู่บนจุดกึง่ กลางสนาม 5. ผู้ตัดสนิ ให้สญั ญาณ 6. ลกู บอลอยใู่ นการเลน่ เมอ่ื ถูกเตะและเคลอ่ื นท่ีไปขา้ งหนา้ แล้ว 7. ผเู้ ตะไมส่ ามารถเลน่ ลกู บอลเปน็ ครงั้ ทสี่ องได้ จนกวา่ ลกู บอลจะถกู สมั ผสั โดยผเู้ ลน่ คนอนื่ ๆ การกระทำผดิ /การลงโทษ (Infringements/Sanction) ถา้ ผเู้ ตะไดส้ มั ผสั ลกู บอลเปน็ ครงั้ ทส่ี องกอ่ นทจ่ี ะถกู สมั ผสั โดยผเู้ ลน่ คนอน่ื ๆ จะใหฝ้ า่ ยตรงขา้ ม ไดเ้ ตะโทษโดยอ้อม ณ จุดท่กี ารกระทำผดิ เกดิ ขึ้น สำหรับการกระทำผิดอน่ื ๆ ทกุ กรณจี ากการเตะเร่ิมเล่นใหท้ ำการเตะเร่ิมเลน่ ใหม่ การปล่อยบอล (Dropped Ball) การปล่อยบอลเป็นวิธีหน่ึงของการเริ่มเล่นใหม่ของการแข่งขัน ภายหลังจากการเล่น  ได้หยุดช่ัวคราว ซ่ึงเป็นส่ิงสำคัญมากสำหรับกรณีที่ไม่มีระบุไว้ในกติกาการแข่งขัน และในขณะที่ ลกู บอลยงั อยใู่ นการเล่น คู่มือผตู้ ัดสนิ กีฬาฟุตบ ล 35

ขัน้ ตอนในการดำเนินการ (Procedure) ผู้ตัดสินปล่อยบอล ณ จุดท่ีลูกบอลอยู่ในขณะที่สั่งหยุดการเล่น ยกเว้นภายในเขตประตู จะตอ้ งทำบนเสน้ เขตประตทู ข่ี นานกบั เสน้ ประตู ณ จดุ ทใ่ี กลล้ กู บอลมากทสี่ ดุ ในขณะทก่ี ารเลน่ ไดห้ ยดุ ลง ท้ังน้ี ให้ปฏิบตั ติ ามสถานการณ์พเิ ศษที่กำหนดไว้ในกติกาข้อ 8 ด้วย ลูกบอลจะอยใู่ นการเล่นเม่อื สมั ผัสพนื้ สนาม การกระทำผิด/การลงโทษ (Infringements/Sanction) ต้องทำการปลอ่ ยลกู บอลใหม่ ถ้า 1. ลกู บอลถกู สัมผสั โดยผเู้ ล่นคนหน่ึงคนใดกอ่ นที่สัมผสั พน้ื สนาม 2. ลูกบอลออกจากสนามแข่งขันไปภายหลังจากสัมผัสพื้นสนามแล้ว แต่ไม่ถูกสัมผัส   โดยผเู้ ล่นคนหนง่ึ คนใดก่อน 36 คมู่ ือผู้ตดั สนิ กีฬาฟตุ บ ล

กตกิ าขอ้ 9 ลูกบอลอยใู่ นการเลน่ และนอกการเล่น (THE BALL IN AND OUT OF PLAY) ลกู บอลอยนู่ อกการเล่น (Ball Out of Play) ลูกบอลจะอยู่นอกการเลน่ เมือ่ : 1. ลกู บอลไดผ้ า่ นเสน้ ประตหู รอื เสน้ ขา้ งไมว่ า่ จะเปน็ บนพนื้ ดนิ หรอื ในอากาศออกไปทง้ั ลกู 2. ผูต้ ดั สนิ ส่ังหยดุ การเลน่ ลูกบอลอยู่ในการเลน่ (Ball in Play) ลกู บอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลารวมทง้ั ในขณะที ่ 1. กระดอนจากเสาประตู คานประตู หรือธงมุมสนามและเขา้ มาในสนามแขง่ ขัน 2. กระดอนจากท้งั ผู้ตัดสินและผชู้ ว่ ยผู้ตดั สินในขณะทอี่ ยู่ในสนามแขง่ ขนั บอลอยู่นอกการเลน่ บอลอยใู่ นการเล่น บอลอยูใ่ นการเล่น บอลอย่ใู นการเลน่ บอลอยู่ในการเลน่ บอลอยูใ่ นการเล่น บอลอยูน่ อกการเลน่ บอลอยู่ในการเล่น คูม่ ือผตู้ ดั สนิ กีฬาฟุตบ ล 37

กติกาข้อ 10 การนับประตู (THE METHOD OF SCORING) การทำประตู (Goal Scored) ถอื วา่ เปน็ ประตู เมอื่ ลกู บอลทงั้ ลกู ไดผ้ า่ นเสน้ ประตรู ะหวา่ งเสาประตแู ละภายใตค้ านประตู ภายใตเ้ งอ่ื นไขวา่ ตอ้ งไมม่ กี ารกระทำผดิ กตกิ าการแขง่ ขนั ของฝา่ ยรกุ เกดิ ขน้ึ กอ่ นทที่ มี นน้ั จะทำประตไู ด ้ ทีมชนะ (Winning Team) ทีมที่ทำประตูได้มากกว่าในระหว่างการแข่งขันจะเป็นฝ่ายชนะ ถ้าทั้งสองทีมทำประต ู ได้เทา่ กันหรอื ทำประตกู นั ไมไ่ ด้ การแข่งขนั ครัง้ นนั้ จะถือวา่ “เสมอกัน” (Drawn) ระเบียบการแขง่ ขนั (Competition Rule) ภายหลงั การแขง่ ขนั แบบแมทชเ์ ดยี วหรอื แบบเหยา้ เยอื น (MATCH OR HOME AND AWAY) ถา้ ระเบยี บการแขง่ ขนั ตอ้ งหาทมี ชนะ จะตอ้ งทำตามขน้ั ตอนทไี่ ดร้ บั รองจากสหพนั ธฟ์ ตุ บอลนานาชาติ ต่อจากนีเ้ ท่านน้ั คือ 1. การใช้กฎทำประตูได้เม่ือเปน็ ทีมเยือน (AWAY GOAL RULE) 2. การต่อเวลาพเิ ศษ (EXTRA TIME) 3. การเตะจากจดุ โทษเพ่ือหาผลแพ้ชนะ (KICK FROM THE PENALTY MARK) เปน็ ประตู เปน็ ประต ู ไม่เป็นประตู ไมเ่ ปน็ ประตู ไมเ่ ปน็ ประต ู เป็นประตู เปน็ ประตู ไมเ่ ป็นประต ู ไมเ่ ปน็ ประต ู ไม่เปน็ ประตู 38 คมู่ ือผ้ตู ดั สนิ กีฬาฟุตบ ล

กติกาข้อ 11 การลำ้ หน้า (OFFSIDE) จะไม่ถือวา่ เป็นการกระทำผดิ ถา้ เพยี งแตอ่ ยู่ในตำแหนง่ ลำ้ หน้าเท่าน้นั ผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้า ถ้าอยู่ใกล้เส้นประตูของฝ่ายตรงข้ามมากกว่าลูกบอล   และผูเ้ ลน่ คนทสี่ องของฝา่ ยตรงขา้ ม ยกเว้น 1. ผู้เล่นอย่ใู นแดนตนเองของสนามแขง่ ขัน 2. ผเู้ ล่นอยูใ่ นแนวเดยี วกันกับผเู้ ลน่ คนที่ 2 จากทา้ ยสดุ ของฝ่ายตรงขา้ ม 3. ผู้เล่นอย่ใู นแนวเดยี วกนั กบั ผู้เล่นทัง้ 2 คน จากท้ายสุดของฝา่ ยตรงขา้ ม การกระทำผดิ (Offence) ผู้เลน่ ทอ่ี ยใู่ นตำแหน่งล้ำหนา้ จะถูกลงโทษ ถ้าในขณะน้ันลกู บอลได้ถกู สัมผัสหรอื เลน่ โดย ผู้เลน่ คนหนง่ึ ในทมี และผตู้ ดั สนิ พจิ ารณาเหน็ ว่าผเู้ ลน่ เขา้ ไปมีสว่ นเก่ยี วขอ้ งในการเลน่ อยา่ งชดั แจง้ (Involved in Active Play) โดย 1. เก่ยี วขอ้ งกบั การเลน่ โดยถกู หรอื สัมผัสกบั ลูกบอล 2. เกี่ยวข้องกับผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม โดยเก่ียวข้องกับการมองเห็นหรือการป้องกันประตู ของผู้รักษาประตู 3. อาศยั ความได้เปรยี บจากการอยใู่ นตำแหนง่ ล้ำหน้าขณะน้ัน การกระทำท่ีไม่ผดิ (No Offence) ถา้ ผเู้ ล่นรบั ลูกบอลโดยตรงจากกรณีต่างๆ ตอ่ ไปน้ีจะไม่เปน็ การลำ้ หนา้ 1. การเตะจากประต ู 2. การทุม่ 3. การเตะจากมมุ การกระทำผดิ /การลงโทษ (Infringements/Sanctions) การกระทำผิดทุกอย่างของการล้ำหน้า ผู้ตัดสินจะลงโทษโดยให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม   ได้เตะโทษโดยอ้อมจากท่ีซ่ึงมีการกระทำผิดเกิดข้ึน ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามสถานการณ์พิเศษท่ีกำหนดไว้ ในกติกาขอ้ 13 ด้วย คู่มอื ผู้ตัดสินกฬี าฟตุ บ ล 39

การล้ำหน้า A2 B1 A1 อ ยใู่ กล้เสน้ลป้ำหระนตา้ ูขผอเู้งลฝน่ า่ ฝย่าตยรรงุกข้าAม2มารกบั กลวกู ่าบลอกู ลบจอาลกแผล้เู ะลผ่นเู้ ฝลา่น่ ยครนุกทAีส่ 1องกBาร1ลจำ้ าหกนทา้ า้นยับสตุดงั้ ขแอตง่ผฝ้เู า่ลยน่ รับB 1  A2 B1 B2 A1 เ พราะในขไมณ่ละ้ำทหี่ลนูก้าบอผลู้เถลูก่นเฝต่าะยสร่งุกมซาึ่งผรับู้เลล่นูกฝบ่าอยลรุกจอากยผู่ในู้เลแ่นนฝวเ่าดยียเดวกียันวกกันับหผู้เมลา่นยขเอลงขฝ่าAย1รับไมค่นล้ำทห่ีสนอ้าง จากทา้ ยสดุ 40 คู่มอื ผตู้ ดั สินกีฬาฟุตบ ล

A2 B1 A1 ผค ู้เนลท่น่ีสฝอ่างยจไเามดก่ลียทวำ้ ้ากหยันนสห้าุดม ผาู้เยลเน่ลฝขา่ ยAร1กุ หผู้มเลา่นยฝเล่าขยรAุก2หมไามย่ลเ้ำลหขนา้Aเ2พรอายะู่ใในนแขนณวะเทดียล่ี วกู กบับอผลู้เถลกู ่นสข่งอมงาฝให่ายจ้ ราับก    ไม่ลำ้ หนา้ ผู้เล่นจะไมล่ ้ำหนา้ จากการรบั ลูกโดยตรงจากการทมุ่ คู่มอื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าฟุตบ ล 41

A2 A1 ล้ำหนา้ ผเู้ ล่นฝ่ายรกุ หมายเลข A2 ลำ้ หนา้ เพราะวา่ เข้าไปเก่ยี วข้องกับการเลน่ อยา่ งชดั แจ้ง โดย เขา้ ไปเก ยี่ วข้องกับผรู้ ักษาประต ู A2 A1 ไมล่ ำ้ หนา้ ผเู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ หมายเลข A2 ไมม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การทำประตขู องผเู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ หมายเลข A1 42 คูม่ อื ผู้ตัดสินกีฬาฟุตบ ล

A2 A1 ไมล่ ้ำหน้า ผูเ้ ล่นอยูใ่ นตำแหนง่ ล้ำหนา้ แต่ไม่เกยี่ วขอ้ งกบั การเลน่ A1 A2 ล้ำหนา้ ซ ึ่งอยู่ในตผำเู้แลห่นนห่งมลาำ้ ยหเนลา้ขแAล1ะอยาิงศปยั รคะวตาู มลไูกดบเ้ ปอรลยี ไดบก้จราะกดกอารนอจยาใู่กนผต้รู ำักแษหานปง่รนะ้นัต ูไปหาผู้เล่นฝ่ายรุก A2 คู่มือผตู้ ดั สินกฬี าฟตุ บ ล 43

A1 B1 K1 ไม่ลำ้ หน้า ลกู บอลถกู เตะไปใหผ้ ู้รกั ษาประตู (K1) โดย B1 ผเู้ ลน่ ฝา่ ยเดยี วกัน และผ้เู ลน่ ฝา่ ยรกุ A1 เคล่ือนทไ่ี ปเพอื่ แยง่ ลูกบอลน้นั ไดย้ อ้ นกลไับมข่ลึน้ ้ำไหปนจ้าากผตู้รำักแษหนาป่งกราะรตลู ้ำ(หK1น)า้ เตะลูกบอลขึ้นไปเล่นในสนาม และผู้เล่นฝ่ายรุก A1  44 ค่มู อื ผู้ตัดสนิ กีฬาฟตุ บ ล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook