รูปแบบการนาํ เสนอแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี โครงการประชุมสัมมนาเครือขายการจัดการความรูฯ ครง้ั ท่ี 12 “การจัดการความรูสมู หาวิทยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรับอาจารย/ บุคลากรสายสนับสนนุ / นักศกึ ษา ชื่อเรอื่ ง/แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี : การจัดการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนาใหน กั เรยี น นักศึกษามวี ินัย ช่ือ-นามสกุล ผนู าํ เสนอ : นางสาวมณี เทพาชมภู และ นางสาวดวงเดือน แสงเมือง ชื่อสถาบนั การศกึ ษา : วทิ ยาลยั นาฏศิลปสุพรรณบุรี หนว ยงาน : สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป กระทรวงวฒั นธรรม เบอรโ ทรศัพทมือถือ : 081-4001956 และ 081-8978897 เบอรโ ทรสาร : 035-535248 E-Mail address : [email protected] และ [email protected]
2 การจดั การเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาใหนกั เรียน นกั ศกึ ษามวี ินยั Teaching Management to Develop the Student Discipline มณี เทพาชมภู ดวงเดอื น แสงเมือง ครู วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบรุ ี [email protected] ครู วิทยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบุรี [email protected] บทสรปุ การจัดการความรู เร่ือง การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย มวี ัตถุประสงค 1) เพือ่ ศกึ ษาสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 2) เพื่อนําเสนอแนวทางการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี กลุมเปาหมายในการจัดการความรูเปนครู อาจารยวทิ ยาลยั นาฏศิลปสุพรรณบุรี เครือ่ งมอื ที่ใชเ ก็บรวบรวมขอมูล ไดแก แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป สุพรรณบุรี 4 ดาน ประกอบดวย ดานการกําหนดนโยบายแนวทางการดําเนินงาน ดานการจัด สภาพแวดลอม ดานนิเทศการสอน และดานการจัดกิจกรรมนักเรียน วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นอกจากน้ีไดใช วิธีการสมั ภาษณ และการสนทนากลมุ เพอ่ื นําเสนอแนวทางการดําเนินงานเสริมสรา งความมวี นิ ัยในตนเอง ของนกั เรยี น นักศึกษา วทิ ยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบรุ ี เพื่อใหไดมาซ่ึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาใหน กั เรยี น นักศกึ ษามีวินยั ผลการจัดการความรูป รากฏดงั น้ี 1. สภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี ดานการกําหนดนโยบายแนวทางการดําเนินงาน ดานการจัดสภาพแวดลอม ดานนิเทศการสอน และดานการจัดกจิ กรรมนักเรียน มีการดาํ เนนิ การอยูในระดบั มาก 2. แนวทางการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัย นาฏศิลปสุพรรณบุรี สรุปไดดังน้ี ดานกําหนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงาน 1) วิทยาลัยควรมีการ กําหนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงานเพ่ือพัฒนาใหนักเรียนนักศึกษามีวินัย ในเร่ืองตาง ๆ เชน ใหค รูกวดขนั เรอ่ื งความประพฤติ อบรมความประพฤติกอนเขาช้ันเรียน ใหครูสังเกตติดตามความประพฤติ
3 นักเรียน นักศึกษา ท้ังในและนอกหองเรียน 2) ใหครูที่ปรึกษาสนับสนุนนักเรียน นักศึกษาท่ีมีความ ประพฤติดีไดเปนแบบอยางกับเพื่อน ๆ หรือจัดกิจกรรมเสนอขาว คนดี มีวินัย 3) ช่ืนชมนักเรียน นักศึกษาทปี่ ระพฤตดิ ี มีวินยั เปนแบบอยางแกเ พือ่ นในชัน้ เรียน 4) ครูประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีใหแก นักเรียน นักศึกษาในดานความมีวินัย เชน แตงกายเรียบรอย ถูกระเบียบตามท่ีสถานศึกษากําหนด เขาสอนตรงเวลา เลิกสอนตรงเวลา รับผิดชอบตอหนาท่ีที่ไดรับมอบหมาย 5) วิทยาลัยตองจัดทําคูมือ ระเบียบปฏิบัติของวิทยาลัยและประกาศใชเปนขอปฏิบัติอยางเครงครัด ดานการจัดสภาพแวดลอม 1) สรางสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา เชน ใหครูกวดขันเร่ืองความ สะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของอาคารเรียน อาคารประกอบ และบริเวณวิทยาลัย 2) จัดสภาพแวดลอมในหองเรียนใหมีบรรยากาศที่เสริมสรางความมีวินัย เชน ดูแลรักษาความสะอาด พ้ืนหอง จัดโตะเกาอี้ใหเปนแถวอยางมีระเบียบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดวางอยางเรียบรอย สวยงาม ดานการนิเทศการสอน 1) อบรมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา สอดแทรกไปกับเนื้อหาวิชาที่สอน 2) การจัดการเรียนการสอนท่ีมุงเนนใหผูเรียนไดเห็นประโยชนของการมีวินัยในตนเองและนําไปใชใน ชีวิตประจําวัน 3) ใชคําพูด แสดงพฤติกรรมในทางบวก และใชเหตุผลในการเสริมสรางความมีวินัยแก นักเรียน นักศึกษา และไมเปรียบเทียบพฤติกรรมของแตละคน ดานการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 1) การสรา งกฎระเบยี บรว มกันระหวางครกู ับนกั เรียนในช้ันเรยี น เปนการฝก ใหรจู กั กฎระเบียบของการอยู รวมกันในสังคม 2) ควรใหมีการมอบประกาศเกียรติบัตรหรือรางวัลแกนักเรียนท่ีมีความประพฤติดี จัดประกวดเลานิทาน แตงคําขวัญ บทกลอน เรียงความ หรือการแสดงท่ีสงเสริมความมีวินัย อีกท้ัง สนับสนนุ ใหผปู กครองมสี ว นรว มในการเสรมิ สรา งความมีวินัยของนักเรียน นักศึกษา 3) จัดกิจกรรมอบรม คุณธรรมจริยธรรมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา 4) จัดกิจกรรมท่ีเสริมสรางความมีวินัยใหแก นักเรยี น นักศึกษา สรา งแกนนาํ ในการใหความรูและฝก ปฏิบตั ดิ า นความมีวนิ ัยในแตล ะรุน Summary The objective of Teaching Management to Develop the Student Discipline 1) To study problems and strengthen self-discipline of students at Suphanburi College of Dramatic Arts. 2) To introduce the self-discipline approach to self-discipline of students of Suphanburi College of Dramatic Arts. The teachers of Suphanburi College of Dramatic Arts are the target of knowledge management. The instruments used for data collection were : A questionnaire on the condition and problems of self-discipline
4 promotion of students of Suphanburi College of Dramatic Arts , 4 sides consist of the policy and implementation guidelines , surrounding , the instructional supervision and the student activities. The using of statistical analysis : Percentage , Mean and Standard Deviation. In addition, the interview method and group discussion to propose guidelines to strengthen the self-discipline of students of Suphanburi College of Dramatic Arts. In order to get the learning management approach to develop self-discipline of students. The results of knowledge management are as follows. 1) State and problems of student self-discipline of Suphanburi College of Dramatic Arts. The policy and implementation guidelines , surrounding , the instructional supervision and the student activities has been performed at a high level. 2) Guidelines for Self-Discipline Implementation of Students at Suphanburi College of Dramatic Arts. Summarized as follows: The policy and implementation guidelines 1) The college should set policies and guidelines for students to develop discipline in matters such as ; Teachers must be strict about behavior, educate and observe their behavior both in the classroom and outside the classroom. 2) For advisers have to support good students to be role model with their friends. Organizing to offer news with the good students and discipline. 3) Appreciate students who behave well, discipline as role models with classmates. 4)Teachers behave as a good example to students such as dressed properly and neat , be punctual and responsible. 5) The college shall prepare manuals and procedures of the college and it is strictly enforced. Surroundings: 1) Create an environment that promotes discipline to students, such as: Teachers must be strict about tidiness and cleanness of the building and college area. 2) The classroom environment with an atmosphere that strengthens discipline such as the cleaning of the floor , arrange tables and chairs in a row. Materials and equipment are neatly arranged. The instructional supervision 1) Cultivate student behavior and
5 interfere with the content taught. 2) instructional management focuses on the learner's ability to see the benefits of self- discipline and use it in everyday life. Verbal behavior in a positive way and the reason is to strengthen the discipline of students. And do not compare the behavior of each person. The student activities 1) Creating rules between teachers and students in class to know the rules of social integration. Should a certificate or declaration presented awards to students with good behavior. Providing story contest. Compose slogans, poems, essays or performances that promote discipline. Parents are encouraged to participate in the discipline of their students. 3) Organize the moral discipline training program for students. 4) Organize activities that strengthen discipline for students . Create a mainstay of the knowledge and practice of the discipline of each generation. คาํ สาํ คัญ การจดั การเรียนการสอน / วินยั Keyword : Teaching management /Discipline. บทนาํ ปจจุบันสังคมไทยมีความรุนแรง ขัดแยง ยุงยาก สลับซับซอน และเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ซง่ึ เปน ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศในชวงเวลาท่ีผานมา ที่รัฐใหความสําคัญตอการ พัฒนาอุตสาหกรรม สังคมไทยซึ่งเดิมเปนสังคมเกษตรกรรม ไดเปล่ียนไปสูสังคมอุตสาหกรรมบางสวน ทําใหเกิดชองวางระหวางภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรมของสังคมเมือง และสังคมชนบท ทําให การพัฒนาเศรษฐกิจกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตไมสอดคลองกัน กอใหเกิดผลกระทบที่สําคัญทางสังคม หลายประการ ความเปล่ยี นแปลงของสงั คมไทยท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและเปนกระแสท่ีรุนแรงเชนนี้ ทําใหหนวยตางๆ ในสังคมต้ังแตระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ทองถ่ิน ตลอดจนองคกรของรัฐไมอาจ ปรับตัวใหทันและเหมาะสมกับกระแสเปลี่ยนแปลงในยุคที่เปนสังคมของการแขงขันท่ีเปนไปตามกระแส โลกาภิวัตน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 5) ซึ่งสงผลใหเกิดปญหาความวุนวาย ไมสงบสุขตางๆ เกิดข้ึนในสังคมไทยทุกวันน้ี ซึ่งหลายสวนเกิดจากคนในสังคมไทยขาดระเบียบวินัย สอดคลองกบั อุดมพร อมรธรรม (2549 : 66) ไดกลา ววา สิ่งหน่ึงทคี่ อ นขางจะขาดแคลนสาํ หรับสังคมไทย
6 คือความมีระเบียบวินัย ขณะท่ีสังคมไทยเกิดการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและรุนแรงเชนนี้ เด็กวัยรุนซ่ึง เปนสมาชิกของสังคมยอมไดรับผลกระทบอันเกิดจากกระแสเปล่ียนแปลงดังกลาวตอการดํารงชีวิตและ การดาํ เนนิ ชวี ิตในสังคม ทําใหเ ด็กวยั รุนปรับตัวเขากับความเปล่ียนแปลงท้ังตนเองและความเปลี่ยนแปลง ของสงั คมไมทนั จงึ เกดิ ความวา วนุ สบั สน ประกอบกับความละเอียดออนทางจิตใจ จึงทําใหเด็กวัยรุนเกิด ปญหาทางจติ ใจ ซ่ึงอาจนาํ ไปสปู ญ หาอ่ืนๆ ท่ีมีผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กวัยรุนได ไมวาจะเปน ปญหาการติดสารเสพติด ปญหาการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันสมควร ปญหาโรคเอดส ปญหาการทําแทง และปญ หาพฤตกิ รรมเบ่ียงเบนทางเพศ ดวยอารมณออนไหวดังกลาว เด็กวัยรุนจึงไมสามารถควบคุมหรือ บังคับอารมณของตนเองมิใหคลอยตามคานิยมและกระแสความเปลี่ยนแปลงได นอกจากนี้ยังพบวา เยาวชนไทยบางสวนมีพฤติกรรมในลักษณะไมเปนท่ียอมรับของสังคม และมีพฤติกรรมอันไมพึงปฏิบัติใน โรงเรยี น มกี ารฝาฝน กฎระเบยี บตา งๆ ของโรงเรยี น ขาดความรับผิดชอบในการศึกษาเลาเรียน เชน ไมทํา การบาน คัดลอกการบา นจากเพอ่ื นๆ ไมเ ตรยี มบทเรยี นลวงหนา ไมศ กึ ษาคนควา และจัดทํารายงานไมทัน ตามกําหนด หลับในขณะที่เรียนหรือไมสนใจบทเรียน มีพฤติกรรมกาวราว ไมเขารวมกิจกรรมการเรียน ลักษณะของพฤติกรรมดงั กลา วถอื เปนพฤติกรรมท่ีไมอยูในวินัย ผูบริหาร ครู และผูปกครองนักเรียนตางก็ ตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญและใหความสนใจเปนอยางมาก โดยเฉพาะอยา งย่ิงในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ อยใู นวยั รนุ มโี อกาสเสีย่ งตอ การมีพฤตกิ รรมท่ีไมพงึ ประสงค ไดแก การไมตั้งใจเรียน การหนีเรียน การแตง กายผดิ ระเบียบ การรวมตัวเปนกลุม การแสดงทาทีท่ีไมเหมาะสมในที่ตางๆ การพกอาวุธ การยกพวกเขา ชกตอ ยทาํ รายกัน ซงึ่ เปนปญ หาดานการระเบียบวนิ ัย หากไมไดรับการแกไขอยางจริงจังยอมสงผลกระทบ ตอคุณภาพของประชากรไทยตอไป (พิสมัย ทินเต และคณะ. 2544 : 2) แนวทางหน่ึงที่จะชวยลดปญหา สงั คม คอื จะตองปลูกฝงคณุ ธรรมจริยธรรมใหกบั เยาวชน เพื่อใหเขาเจริญเติบโตเปนบุคคลที่พึงปรารถนา ของสังคม ดังที่ วารี ศรเี จริญ (2541 : 59) กลาววา การลดปญหาสังคมจะตองมีมาตรฐานในการปรับปรุง แกไ ขหรือพฒั นาความรคู วบคูดวยคณุ ธรรมจริยธรรม ปลูกฝง คณุ ธรรมจริยธรรมใหฝงลึกจนเปนคานิยมอยู ในลักษณะนิสัย และอยูในจิตใจของบุคคล เพ่ือจะชวยใหบุคคลละอายตอการกระทําช่ัว หันมาประพฤติ ปฏิบัติในสง่ิ ท่ถี ูกตอ งดีงามตามมาตรฐานที่สงั คมยอมรับ สอคลองกับพระธรรมปฎก (2550 : 1-2) กลาววา ในการพัฒนามนุษยระยะยาว ถาไมมีวินัยในตนเองเปนฐาน ก็จะทําใหเกิดความขัดของวุนวายสับสน ฉะนนั้ เราจงึ จัดวางวนิ ยั เพื่อความมุง หมายระยะยาวในการพัฒนามนษุ ยดว ย กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดตระหนักถงึ ความสําคัญของการสง เสริมและพฒั นาเยาวชนของชาติใหมี บุคลิกภาพและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค คือ การพึ่งตนเอง สามารถชวยเหลือ แกปญหา และพัฒนาตน โดยมีสติปญญาและจิตใจที่เขมแข็งเพียงพอท่ีจะยับย้ังตนเอง ไมตกเปนเหย่ือของอบายมุขและสิ่งจูงใจ ไปในทางเส่ือม สามารถนําพาตนเองไปสูเสนทางชีวิตท่ีเหมาะสม ดํารงตนอยางมีคา เปนคนดี มีปญญา
7 มีความสุข สามารถใชศ ักยภาพของตนใหเปนประโยชนแกสังคม และประเทศชาติเพื่อเปนเยาวชนยุคใหม ทใี่ สใจในการพัฒนาอยา งแทจ รงิ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2546 : 1) กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดใหใชมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหโรงเรียนจัดระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใหนักเรียนมีคุณลักษณะที่เหมาะสมอยางรอบดาน ทั้งดานความรู ความสามารถ ทักษะ สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม โดยกําหนดมาตรฐานคุณภาพดานการ เรียนรูไว 8 มาตรฐาน 33 ตัวบงช้ี (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานี. 2549 : 4) โดยมาตรฐานท่ี 1 ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศึกษา. 2549 : 25-26) จากมาตรฐานดังกลาว จะเห็นไดวา ความมีวินัยในตนเองเปน คุณธรรมท่ีสําคัญประการหน่ึงท่ีตองปลูกฝงใหกับนักเรียน เพราะถานักเรียนมีวินัยในตนเองจะทําให สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองใหเปนไปในทางที่ดีงาม และประสบความสําเร็จในชีวิต จงึ จําเปนท่โี รงเรียนตองดาํ เนนิ การเสริมสรา งความมีวนิ ัยในตนเอง ใหเ กดิ ผลอยางจริงจงั คณะทํางานการจัดการความรู ในฐานะท่ีเปนผูมีสวนเก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอนใน วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี มีความสนใจที่จะศึกษาเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาให นักเรียน นกั ศกึ ษา มีวินัย เพ่ือจะนําผลการจัดการความรูดังกลาวไปสูการนําเสนอแนวทางการเสริมสราง ความมวี นิ ยั ในตนเองของนักเรียน นกั ศึกษา ใหมปี ระสิทธภิ าพย่ิงๆ ขึ้นไป วัตถุประสงค 1. เพือ่ ศกึ ษาสภาพ และปญหาการดําเนนิ งานเสริมสรางความมีวินยั ในตนเองของนักเรยี น นักศกึ ษา วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสุพรรณบุรี 2. เพอ่ื นําเสนอแนวทางการดําเนินงานเสรมิ สรา งความมวี ินยั ในตนเองของนักเรียน นกั ศึกษา วิทยาลัยนาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี นยิ ามศพั ทเฉพาะ 1. การจัดการเรียนการสอน หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูในทุกกลุมสาระการเรียนรูตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และทุกรายวิชาในระดับปริญญาตรีที่จัดการเรียนการสอนในวิทยาลัย นาฏศลิ ปสุพรรณบรุ ี 2. นักเรียน นักศึกษา หมายถึง นักเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ที่กําลังศึกษาอยูในวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวง วัฒนธรรม 3. ความมีวินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณและ พฤติกรรมของตนเองใหเปนไปตามท่ีตนมุงหวังไว ดวยอํานาจภายในของบุคคลนั้นๆ โดยส่ิงที่มุงหวังนั้น
8 จะตองเปนส่ิงท่ีนําความเจริญมาสูตนเองและผูอ่ืน ไมขัดตอระเบียบกฎเกณฑของสังคมหรือละเมิดสิทธิ ของผูอนื่ ๆ ประกอบดว ยลกั ษณะสําคัญ คอื ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ความซื่อสัตย การตรง ตอ เวลา ความเปน ผูนํา ความอดทน 4. แนวทางการเสริมเสรางวินัยในตนเอง หมายถึง วิธีการหรือบทบาทของครู อาจารยใน วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ท่ีมุงแสดงใหเห็นถึงความตองการที่จะใหนักเรียน นักศึกษาประพฤติปฏิบัติ ตนเปนผูมวี นิ ยั ในตนเอง ในท่ีน้ีจะศึกษาแนวทางการเสรมิ สรางความมีวินัยในตนเอง 4 ดาน ประกอบดวย ดา นการกําหนดนโยบายแนวทางการดําเนินงาน ดานการจัดสภาพแวดลอม ดานการนิเทศการสอน และ ดา นการจัดกิจกรรมนกั เรยี น นักศึกษา วธิ ีการดําเนนิ งาน ใชก ระบวนการจดั การความรู 7 ขัน้ ตอน มาเปนแนวทางดาํ เนินงาน โดยสรุปดงั นี้ 1. การบง ชคี้ วามรู (Knowledge Identification) 1.1 แตง ต้ังคณะกรรมการการจดั การความรดู า นการจัดการเรียนการสอน จัดประชุมเพ่ือบงชี้ ความรู โดยรว มระดมความคดิ ของคณะกรรมการทม่ี คี วามรูด า นการจดั การเรียนการสอนเพื่อหาความรูที่มี ความสําคัญและจําเปน ตอ การศึกษา 1.2 กําหนดหัวขอองคความรูที่จะศึกษารวบรวม ในดานการจัดการเรียนการสอน ประเด็น ความรูท่ตี องการจดั การความรู คอื การจดั การเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาใหนกั เรยี น นักศึกษามีวินยั 1.3 กําหนดหนาที่ในการดําเนินงานสรางและแสวงหาความรู กําหนดขอบเขต และวิธีการ ศึกษาเพือ่ ใหไ ดมาซง่ึ องคค วามรู 2. การสรางและแสวงหาความรู (Knowledge Creation and Acquistion) 2.1 ศกึ ษา รวบรวมองคความรูเ กี่ยวกับการจัดการเรยี นการสอน และความมวี ินยั ในตนเอง จากแหลง ขอมูลตา ง ๆ เชน เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วของ 2.2 สรางเครื่องมือที่ใชในการจัดการความรู ไดแก แบบสอบถามเรื่อง การนําเสนอแนว ทางการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี เปน แบบสอบถามชนดิ มาตราสว นประมาณคา 5 ระดับ โดยสอบถามการดําเนนิ งานเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ใน 4 ดาน คือ 1) ดานกําหนดนโยบายและ แนวทางการดาํ เนินงาน 2) ดานการจัดสภาพแวดลอม 3) ดานการนิเทศการสอน 4) ดานการจัดกิจกรรม นกั เรยี น นกั ศกึ ษา หลังจากนน้ั นาํ ไปใชผเู ชีย่ วชาญตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม
9 2.2 นําแบบสอบถามทผ่ี า นการประเมนิ ของผเู ชย่ี วชาญแลว มาเก็บขอ มลู จากครูอาจารย ในวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสุพรรณบุรี โดยวิธกี ารใหตอบแบบสอบถาม และเขยี นแสดงขอคดิ เห็นเพมิ่ เติม แลว สงคืนใหคณะผจู ดั การความรู 2.3 ดําเนินการสัมภาษณ และสนทนากลุมคณะผูจัดการความรู เพื่อถอดองคความรู แลกเปลี่ยนเรียนรูในเรื่องของแนวทางการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นกั ศกึ ษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี โดยใหแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ ท้ังในรูปแบบของการพูดคุย การเขียนเปนขอความ ท้ังนี้คณะผูจัดการความรูไดใชอุปกรณชวย ไดแก เคร่ืองบันทึกเสียง เคร่ืองบันทึก ภาพนิ่ง เครื่องบันทกึ ภาพและเสยี งเคลื่อนไหว รวมถงึ กระดาษและเครื่องเขยี น 3. การจดั ความรใู หเปนระบบ (Knowledge Organization) 3.1 รวบรวมองคความรูท่ไี ดจ ากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วของ จากแบบสอบถาม จากการสัมภาษณและสนทนากลมุ ซึ่งเปนกระบวนการแสวงหาความรู แลกเปลยี่ นเรยี นรู และถอด องคความรู บนั ทึกไวใ นรูปแบบเอกสาร และขอมูลในระบบคอมพวิ เตอร 3.2 ตรวจสอบความถกู ตองขององคความรูโดยการทบทวนประเดน็ เนือ้ หาของ องคความรูเพ่ือใหเ กดิ ความชัดเจนและเปน ระบบ 4. การประมวลและการกล่ันกรองความรู (Knowledge Codification and Refinement) 4.1 วิเคราะห สังเคราะหขอมลู ท่ีไดจากแบบสอบถาม การสัมภาษณและการสนทนากลมุ เรยี บเรียงองคความรใู หเ ปนหมวดหมอู ยางเปนระบบ 4.2 เชญิ ผูเชยี่ วชาญ หรอื ผทู รงคุณวฒุ ิดานการจัดการความรู มาตรวจสอบขอ มูลและ ปรบั ปรุงแกไของคความรูใหสมบูรณ 4.3 นาํ เสนอผลการจัดการความรูเปนรูปเลมเอกสาร เรือ่ ง การจัดการเรียนการสอน เพ่อื พัฒนาใหนักเรียน นกั ศึกษามีวนิ ัย พรอมทงั้ บันทกึ ขอ มูลในรปู แบบไฟล CD 5. การเขา ถงึ ความรู (Knowledge Access) โดยการสง หรอื การกระจายความรใู หผ ูใ ช 2 ลกั ษณะ คือ 5.1 Knowledge Push นําเสนอองคความรตู อท่ีประชุม และนํามาใชในการจดั การเรยี น การสอน 5.2 Knowledge Pull เผยแพรองคความรใู นรูปแบบท่หี ลากหลาย 6. การแบงปนแลกเปล่ียนความรู (Knowledge Sharing) โดยจัดเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรู การเสวนา จดั มมุ นิทรรศการ เผยแพรสสู าธารณชน เปนตน
10 7. การเรยี นรู (Learning) โดยใหค รูอาจารยนําองคค วามรูไปใชในการจดั การเรียนการสอน และนําผลของการนาํ ไปใชมาแลกเปลย่ี น ปรับปรงุ มกี ารประเมนิ ผล และนํามาพฒั นาปรบั ปรุง ผลการดําเนนิ งาน การจัดการความรู เร่ือง การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย คณะทํางานเก็บขอมูลองคความรูจากการใชแบบสอบถาม การสัมภาษณและสนทนากลุม ผลการจัดการ ความรู 1. องคความรูจากการวเิ คราะหข อ มลู แบบสอบถาม ตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี โดยใชแบบสอบถามเพ่ือเก็บขอมูลจากครูอาจารย ในวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี พบวามีผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 61 คน สวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 57.4 รองลงมาเปนเพศชาย จาํ นวน 26 คน คิดเปน รอยละ 42.6 ผลการวิเคราะหขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามตัวแปรอายุ โดยหา คา ความถีแ่ ละรอ ยละ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอายุ 51-60 ป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 27.9 รองลงมาเปน อายุ 41-50 ป จาํ นวน 16 คน คิดเปนรอ ยละ 26.2 ผลการวิเคราะหขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามตัวแปรระดับ การศึกษา โดยหาคาความถ่ีและรอยละ พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 50.8 รองลงมาจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 27 คน คิดเปน รอ ยละ 44.3 ผลการวิเคราะหขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามตัวแปรประสบการณ ในการทํางาน โดยหาคาความถ่ีและรอยละพบวาผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญมีประสบการณในการ ทาํ งานต่ํากวา 10 ป และ 21-30 ป จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 36.1 รองลงมามีประสบการณในการ ทาํ งาน จํานวน 9 คน คดิ เปนรอยละ 14.8 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ดานกําหนดนโยบายและแนวทางการ ดําเนินงาน ในภาพรวมอยูในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา สงเสริมใหนักเรียน นักศึกษา เขาประชุมเพื่อรบั การอบรมความประพฤตแิ ละสวดมนต ไหวพระประจําทุกสัปดาห อยูในระดับ มากท่ีสุด มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 4.51) รองลงมาตามลําดับคือ กําหนดใหครูกวดขันนักเรียน นักศึกษาในดานความมี
11 วินัยในตนเอง กําหนดใหครูปฏิบัติเปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียน นักศึกษา กําหนดใหครูเวรประจําวันอบรม ความประพฤตินักเรียน นักศึกษากอนเขาเรียนดวยวิธีการตาง ๆ กําหนดใหครูสังเกต ติดตามความประพฤติ ของนักเรียน นักศึกษาทั้งในและนอกหองเรียน ใหครูนํานักเรียน นักศึกษาปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและ วัฒนธรรมรวมกับชุมชน กําหนดใหครูยกยองหรือมอบรางวัลแกนักเรียน นักศึกษาที่มีความประพฤติดี สงเสริมใหนักเรียน นักศึกษาเขารวมชวยเหลือหรือบริการในงานการกุศลท่ีจัดขึ้นที่วัด เชน งานทอดกฐิน งานทําบุญเล้ียงพระ เปนตน เชิญผูนําทองถิ่นท่ีปฏิบัติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมมารวมใหขอคิดหรือเปน วิทยากรอบรมนักเรียน นักศึกษา สวนกําหนดใหครูออกเยี่ยมบานนักเรียน นักศึกษาในช้ันเพ่ือติดตามผล การเรียนและความประพฤติ อยูใ นระดับ มาก มคี า เฉล่ียต่ําสดุ ( X = 3.51) ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ดานการจัดสภาพแวดลอม ในภาพรวม อยูใ นระดบั มาก เมอื่ พจิ ารณาเปนรายขอพบวา ครูกวดขันเร่ืองความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของ อาคารเรียน อาคารประกอบ และบริเวณวิทยาลัย อยูในระดับ มาก มีคาเฉล่ียสูงสุด ( X = 4.23) รองลงมา ตามลําดับคือ ครูทีป่ รึกษาทุกช้ันสนับสนนุ นกั เรยี น นกั ศึกษาท่ีมีความประพฤติดี มีวินัยในตนเองเปนผูนํากลุม ในการทํากิจกรรมตาง ๆ มีการแบงกลุมใหนักเรียน นักศึกษารับผิดชอบรักษาความสะอาดบริเวณวิทยาลัย จัดนิทรรศการวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา จัดใหมีหองหรือสถานที่สําหรับฝกปฏิบัติดานคุณธรรมจริยธรรม ความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา จัดใหมีปายประกาศเกียรติคุณนักเรียน นักศึกษาท่ีมีความ ประพฤติดี จัดโครงการประกวดคนดีมีวินัยใสใจส่ิงแวดลอม จัดกิจกรรมเสนอขาวคนดีมีวินัยใสใจส่ิงแวดลอม สวนจัดใหมีปายคําขวัญ คําสอนทางพุทธศาสนา และคติพจนเกี่ยวกับความมีวินัยในตนเองติดไวใน หองเรยี น อาคารเรียน และบริเวณวิทยาลัย อยใู นระดบั ปานกลาง มีคาเฉลี่ยตาํ่ สุด ( X = 3.48) ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ดานการนิเทศการสอน ในภาพรวมอยูใน ระดับ มาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา สงเสริม/สนับสนุนใหครูตักเตือน อบรมนักเรียน นักศึกษา ทันทีที่เห็นวานักเรียน นักศึกษาประพฤติไมเหมาะสมหรือไมถูกตอง อยูในระดับ มาก มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 4.43) รองลงมาตามลาํ ดับคือ สงเสริม สนับสนุนใหครูอบรมความประพฤตินักเรียน นักศึกษาสอดแทรก ไปกับเน้ือหาวิชาท่ีสอน สงเสริม สนับสนุนใหครูเอาใจใสสังเกตนักเรียน นักศึกษาทั้งการแตงกาย คําพูด และ มารยาททุกครั้งที่เขาสอน สงเสริม สนับสนุนใหครูมิวิธีการอบรมความประพฤตินักเรียน นักศึกษาอยาง เหมาะสม สง เสริม สนับสนุนใหครูนําเหตุการณในชีวิตประจําวันมาวิเคราะหใหนักเรียน นักศึกษาเห็นคุณและ โทษของความมีวินัยในตนเอง สงเสริม สนับสนุนใหครูนํานักเรียน นักศึกษาที่มีความประพฤติดีในวิทยาลัยมา เปนตัวอยางกลาวชื่นชมหนาชั้นเรียน สงเสริม สนับสนุนใหครูเนนพิจารณาการปฏิบัติตนของนักเรียน
12 นักศึกษามากกวาการตอบขอสอบวิชาท่ีเก่ียวกับการมีวินัยและความประพฤติ สงเสริม สนับสนุนใหครูศึกษา ภูมิหลังเก่ียวกับความประพฤติของนักเรียน นักศึกษาทุกคนในช้ัน สงเสริม สนับสนุนใหครูนํากรณีตัวอยาง พรอมดวยปญหาเชิงคติธรรมมาเปนส่ือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สวนสงเสริม/สนับสนุนใหครูฝก นักเรยี น นกั ศกึ ษา ทําสมาธกิ อ นเรียน อยูใ นระดับ มาก มคี า เฉลี่ยตํ่าสุด ( X = 3.74) ผลการวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับสภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ดานการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา ในภาพรวมอยูในระดับ มาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอพบวา ฝกใหนักเรียน นักศึกษามีวินัยในการเขาแถว ตามลําดับกอน หลังในการเขารวมกิจกรรมตางๆ อยูในระดับ มาก มีคาเฉล่ียสูงสุด ( X = 4.31) รองลงมา ตามลําดบั คอื จดั โครงการมอบประกาศเกยี รติบตั รหรอื รางวลั แกนักเรียน นักศกึ ษาทีม่ คี วามประพฤติดี มีวินัย สนับสนุนใหผูปกครองมีสวนรวมในการเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา นิมนตพระสงฆ มาแสดงปาฐกถาธรรมเกย่ี วกบั เร่ืองความมวี ินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษาฟงในโอกาสอันควร จัดประกวด เลานิทานเกี่ยวกับการสงเสริมคุณธรรมดานความมีวินัยในตนเอง สวนจัดประกวด คําขวัญ บทกลอน หรือ เรยี งความทเ่ี ก่ียวกับความมวี นิ ยั ในตนเอง อยใู นระดับ มาก มีคาเฉล่ยี ตํา่ สดุ ( X = 3.67) 2. องคค วามรูจ ากการสมั ภาษณแ ละสนทนากลุม ขอมูลจากการสัมภาษณและการสนทนากลุมของคณะผูจัดทํา KM ไดนําเสนอแนวทางการ ดําเนินงานเสริมสรางความมีวนิ ยั ในตนเองของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี ดงั น้ี 1 ดานกาํ หนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงาน 1.1 วทิ ยาลยั ควรมีการกําหนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงานเพ่ือพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย ในเร่ืองตาง ๆ เชน ใหครูกวดขันเร่ืองความประพฤติ อบรมความประพฤติกอนเขา ช้ันเรียน ใหค รูสังเกตตดิ ตามความประพฤตินกั เรยี น นกั ศึกษา ทั้งในและนอกหอ งเรียน 1.2 ใหครูท่ีปรึกษาสนับสนุนนักเรียน นักศึกษาที่มีความประพฤติดีไดเปนแบบอยางกับ เพ่อื น ๆ หรอื จดั กิจกรรมเสนอขา ว คนดี มีวนิ ัย 1.3 ชื่นชมนกั เรียน นกั ศกึ ษาท่ปี ระพฤตดิ ี มีวนิ ยั เปนแบบอยางแกเพ่อื นในชัน้ เรยี น 1.4 ครปู ระพฤตติ นเปนแบบอยางทดี่ ีใหแกน กั เรยี น นกั ศึกษาในดา นความมีวินัย เชน แตง กายเรียบรอย ถูกระเบียบตามท่ีสถานศึกษากําหนด เขาสอนอตรงเวลา เลิกสอนตรงเวลา รับผิดชอบตอ หนา ทท่ี ี่ไดร ับมอบหมาย 1.5 วิทยาลัยตองจัดทําคูมือระเบียบปฏิบัติของวิทยาลัยและประกาศใชเปนขอปฏิบัติ อยา งเครงครัด 2. ดา นการจัดสภาพแวดลอ ม
13 2.1 สรางสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา เชน ใหครู กวดขันเรื่องความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของอาคารเรียน อาคารประกอบ และบริเวณ วทิ ยาลัย 2.2 จัดสภาพแวดลอ มในหองเรียนใหมบี รรยากาศท่เี สริมสรา งความมีวินัย เชน ดูแลรักษา ความสะอาดพื้นหอง จัดโตะเกาอ้ีใหเปนแถวอยางมีระเบียบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดวางอยางเรียบรอย สวยงาม 3. การนิเทศการสอน 3.1 อบรมความประพฤตนิ ักเรียน นกั ศึกษา สอดแทรกไปกับเนอ้ื หาวิชาที่สอน 3.2 การจัดการเรียนการสอนท่ีมุงเนนใหผูเรียนไดเห็นประโยชนของการมีวินัยในตนเอง และนาํ ไปใชในชีวิตประจาํ วนั 3.3 ใชคําพูด แสดงพฤติกรรมในทางบวก และใชเหตุผลในการเสริมสรางความมีวินัยแก นักเรียน นักศกึ ษา และไมเ ปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมของแตละคน 4. ดานการจดั กิจกรรมนักเรียน นกั ศกึ ษา 4.1 การสรางกฎระเบียบรวมกันระหวางครูกับนักเรียนในชั้นเรียน เปนการฝกใหรูจัก กฎระเบยี บของการอยรู ว มกนั ในสังคม 4.2 ควรใหมีการมอบประกาศเกียรติบัตรหรือรางวัลแกนักเรียนที่มีความประพฤติดี จัดประกวดเลานิทาน แตงคําขวัญ บทกลอน เรียงความ หรือการแสดงที่สงเสริมความมีวินัย อีกทั้ง สนบั สนนุ ใหผูป กครองมสี วนรวมในการเสรมิ สรางความมีวนิ ยั ของนักเรยี น นกั ศกึ ษา 4.3 จัดกจิ กรรมอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรมดา นความมวี นิ ัยใหแกนักเรียน นกั ศึกษา 4.4 จัดกิจกรรมท่เี สริมสรา งความมวี ินัยใหแ กน ักเรียน นกั ศึกษา สรางแกนนาํ ในการให ความรแู ละฝก ปฏิบัติดานความมวี ินัยในแตละรนุ อภิปรายผลการดําเนินงาน การจัดการความรู เรื่อง การจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย มปี ระเด็นท่จี ะนํามาอภิปราย ดังนี้ 1. สภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก ซ่ึงผลการจัดการความรูน้ี สอดคลองกับ ปญญา สุขารมณ (2538) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การศึกษาสภาพความมีวินัยในตนเองของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3” ผลการวิจัยพบวา วินัยในตนเองของนักเรียนอยูในระดับมาก ในทุกดาน
14 ยกเวนดานควบคุม การกระทําไปสูเปาหมายดวยตนเองอยูในระดับปานกลาง นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหรือการอบรมเล้ียงดูของบิดา มารดา ท่ีแตกตางกันมีวินัยในตนเองแตกตางกัน นักเรียนท่ีมี เพศ ขนาดโรงเรียน สภาพการพักอาศัย อาชีพของบิดาและมารดา ระดับการศึกษาของบิดาและมารดา แตกตางกัน มีวินัยในตนเองแตกตางกัน ปจจัยบางประการที่สงผลตอสภาพความมีวินัยในตนเองของ นักเรียน คือ การอบรมเลี้ยงดู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพศของนักเรียนและสามารถรวมกันทํานาย สภาพความมีวินัยในตนเองของนักเรียนไดรอยละ 63.99 และสอดคลองกับ พิสิทธิ์ หอมสมบัติ (2546) ไดศึกษาการพัฒนาวินัยนักเรียน โรงเรียนบานดอนยู ก่ิงอําเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษา พบวา การทจี่ ะพฒั นาวินัยนักเรียนใหไดผลอยางจรงิ จังนนั้ โรงเรียนจะตอ งเหน็ ความสาํ คญั มีแนวนโยบาย ท่ีชัดเจน บุคลากรจะตองมีความตระหนักในปญหา ทําตนใหเปนแบบอยาง จัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการ พัฒนาวนิ ัยนกั เรียน และกระตนุ ใหน กั เรียนไดป ฏบิ ัติกิจกรรมตามท่ีกําหนดอยางจริงจังและตอเนื่องใหเกิด ความเคยชนิ จนกลายเปนวินยั ในตนเอง โดยการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอ มทด่ี ี และกระบวนการเรียนรู อนื่ ๆ ในครั้งนี้สามารถนําไปประยกุ ตใชกับการพัฒนางานอ่ืนๆ และการพัฒนาวินัยนักเรียนในสถานศึกษา อื่นๆ 2. แนวทางการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัย นาฏศิลปสุพรรณบุรี โดยภาพรวมและรายดานพอสรุปไดดังนี้ ดานกําหนดนโยบายและแนวทางการ ดําเนินงาน 1) วิทยาลัยควรมีการกําหนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงานเพื่อพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย ในเร่ืองตาง ๆ เชน ใหครูกวดขันเร่ืองความประพฤติ อบรมความประพฤติกอนเขา ชน้ั เรียน ใหครสู ังเกตติดตามความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ทั้งในและนอกหองเรียน 2) ใหครูท่ีปรึกษา สนับสนุนนักเรียน นักศึกษาท่ีมีความประพฤติดีไดเปนแบบอยางกับเพื่อน ๆ หรือจัดกิจกรรมเสนอขาว คนดี มีวินัย 3) ช่ืนชมนักเรียน นักศึกษาที่ประพฤติดี มีวินัย เปนแบบอยางแกเพ่ือนในชั้นเรียน 4) ครูประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีใหแกนักเรียน นักศึกษาในดานความมีวินัย เชน แตงกายเรียบรอย ถูกระเบียบตามที่สถานศึกษากําหนด เขาสอนตรงเวลา เลิกสอนตรงเวลา รับผิดชอบตอหนาท่ีท่ีไดรับ มอบหมาย 5) วิทยาลัยตองจัดทําคูมือระเบียบปฏิบัติของวิทยาลัยและประกาศใชเปนขอปฏิบัติอยาง เครงครัด ดานการจัดสภาพแวดลอม 1) สรางสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา เชน ใหครูกวดขันเรื่องความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของอาคารเรียน อาคาร ประกอบ และบริเวณวิทยาลัย 2) จัดสภาพแวดลอมในหองเรียนใหมีบรรยากาศที่เสริมสรางความมีวินัย เชน ดูแลรักษาความสะอาดพื้นหอง จัดโตะเกาอี้ใหเปนแถวอยางมีระเบียบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดวาง อยางเรียบรอย สวยงาม ดานการนิเทศการสอน 1) อบรมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา สอดแทรก ไปกับเน้ือหาวิชาที่สอน 2) การจัดการเรียนการสอนที่มุงเนนใหผูเรียนไดเห็นประโยชนของการมีวินัย
15 ในตนเองและนําไปใชในชีวิตประจําวัน 3) ใชคําพูด แสดงพฤติกรรมในทางบวก และใชเหตุผลในการ เสริมสรางความมีวินัยแกนักเรียน นักศึกษา และไมเปรียบเทียบพฤติกรรมของแตละคน ดานการจัด กิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 1) การสรางกฎระเบียบรวมกันระหวางครูกับนักเรียนในชั้นเรียน เปนการฝก ใหรูจักกฎระเบียบของการอยูรวมกันในสังคม 2) ควรใหมีการมอบประกาศเกียรติบัตรหรือรางวัล แกนักเรียนที่มีความประพฤติดี จัดประกวดเลานิทาน แตงคําขวัญ บทกลอน เรียงความ หรือการแสดงที่ สงเสริมความมีวินัย อีกท้ังสนับสนุนใหผูปกครอง มีสวนรวมในการเสริมสรางความมีวินัยของนักเรียน นกั ศกึ ษา 3) จดั กจิ กรรมอบรมคณุ ธรรมจริยธรรมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา 4) จัดกิจกรรม ท่ีเสริมสรางความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา สรางแกนนําในการใหความรูและฝกปฏิบัติดานความมี วินัยในแตละรุน ซึ่งผลการจัดการความรูน้ีสอดคลองกับ บุญธง เดชเถร (2548) ไดทําการวิจัยเร่ือง การดําเนินงานเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน โรงเรียนเมืองเสือ สังกัดสํานักงานเขต พ้ืนทีก่ ารศึกษามหาสารคามเขต 2 พบวา สภาพปจจุบันการดําเนินงาน และปญหาดานคุณลักษณะอันพึง ประสงคของนักเรียน คือปลอยปละละเลยในการตรวจสอบ และประเมินพฤติกรรมนักเรียน ขาดการ เอาใจใสการเขมงวดกวดขันพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค โดยเฉพาะดานความซื่อสัตย ดานความมีวินัย ในตนเอง ดานมารยาทในการเดนิ ดานมารยาทการทําความเคารพ และดานมารยาทการแตงกาย รวมทั้ง ผูบริหารสถานศึกษาขาดการนิเทศภายใน การกํากับ ติดตาม และตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะครูเปนประจําและตอเนื่อง เมื่อดําเนินงานพัฒนาโดยใชกลยุทธ การนิเทศภายใน การประชุม อบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษา และดูงาน การอบรมวันสุดสัปดาห การประเมินพฤติกรรม และการจัด กิจกรรมการประกวด ผลการศึกษาพบวาครูมีความรับผิดชอบในการดูแลเอาใจใสและตรวจสอบ พฤติกรรมนักเรียนเปนประจําและสมํ่าเสมอ นักเรียนมีพฤติกรรมและปฏิบัติตนเปนผูมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสอดคลองกับ กรกนก พลเดช (2549) ไดทําการวิจัย เร่ือง ปจจัยสภาพแวดลอมทางโรงเรียนและสังคม พฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยในตนเองของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนเทศบาล 3 (ยมราชสามัคคี) พบวา พฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยในตนเองของนักเรียนโดยภาพรวม อยูในระดับมาก พฤติกรรมเชิงจริยธรรม ดานความมีวินัยในตนเองที่มีการปฏิบัติมากท่ีสุด คือ นักเรียนปฏิบัติตาม กฎระเบียบของโรงเรียนอยางเครงครัด ที่มีการปฏิบัตินอยท่ีสุด คือ นักเรียนชอบคุยหรือเลนกับเพ่ือน ในขณะกําลังเรียน สวนดานแนวทางการพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยในตนเองของ นักเรียนท่ีมีลําดับแนวทางสูงสุด คือ ส่ือมวลชนเสนอขาวท่ีสงเสริมความมีระเบียบวินัย และครูประพฤติ ตนเปน แบบอยา งที่ดแี กน กั เรียน
16 สรุป 1. สภาพ และปญหาการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสุพรรณบรุ ี ดานการกําหนดนโยบายแนวทางการดําเนินงาน ดานการจัดสภาพแวดลอม ดา นนเิ ทศการสอน และดานการจดั กจิ กรรมนกั เรยี น มกี ารดําเนนิ การอยใู นระดับ มาก 2. แนวทางการดําเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัย นาฏศิลปสุพรรณบุรี โดยภาพรวมในแตละดานพอสรุปได ดังนี้ ดานกําหนดนโยบายและแนวทางการ ดําเนินงาน 1) วิทยาลัยควรมีการกําหนดนโยบายและแนวทางการดําเนินงานเพ่ือพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย ในเรื่องตาง ๆ เชน ใหครูกวดขันเร่ืองความประพฤติ อบรมความประพฤติกอนเขาช้ัน เรียน ใหครูสังเกตติดตามความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ท้ังในและนอกหองเรียน 2) ใหครูที่ปรึกษา สนับสนุนนักเรียน นักศึกษาที่มีความประพฤติดีไดเปนแบบอยางกับเพ่ือน ๆ หรือจัดกิจกรรมเสนอขาว คนดี มีวินัย 3) ชื่นชมนักเรียน นักศึกษาท่ีประพฤติดี มีวินัย เปนแบบอยางแกเพื่อนในชั้นเรียน 4) ครูประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีใหแกนักเรียน นักศึกษาในดานความมีวินัย เชน แตงกายเรียบรอย ถูกระเบียบตามท่ีสถานศึกษากําหนด เขาสอนตรงเวลา เลิกสอนตรงเวลา รับผิดชอบตอหนาที่ท่ีไดรับ มอบหมาย 5) วิทยาลัยตองจัดทําคูมือระเบียบปฏิบัติของวิทยาลัยและประกาศใชเปนขอปฏิบัติอยาง เครงครัด ดานการจัดสภาพแวดลอม 1) สรางสภาพแวดลอมที่สงเสริมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา เชน ใหครูกวดขันเรื่องความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของอาคารเรียน อาคาร ประกอบ และบริเวณวิทยาลัย 2) จัดสภาพแวดลอมในหองเรียนใหมีบรรยากาศท่ีเสริมสรางความมีวินัย เชน ดูแลรักษาความสะอาดพื้นหอง จัดโตะเกาอ้ีใหเปนแถวอยางมีระเบียบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดวาง อยางเรียบรอ ย สวยงาม ดานการนิเทศการสอน 1) อบรมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา สอดแทรกไป กับเน้ือหาวิชาท่ีสอน 2) การจัดการเรียนการสอนที่มุงเนนใหผูเรียนไดเห็นประโยชนของการมีวินัยใน ตนเองและนําไปใชในชีวิตประจําวัน 3) ใชคําพูด แสดงพฤติกรรมในทางบวก และใชเหตุผลในการ เสริมสรางความมีวินัยแกนักเรียน นักศึกษา และไมเปรียบเทียบพฤติกรรมของแตละคน ดานการจัด กิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 1) การสรางกฎระเบียบรวมกันระหวางครูกับนักเรียนในชั้นเรียน เปนการฝก ใหรูจักกฎระเบียบของการอยูรวมกันในสังคม 2) ควรใหมีการมอบประกาศเกียรติบัตรหรือรางวัลแก นักเรียนท่ีมีความประพฤติดี จัดประกวดเลานิทาน แตงคําขวัญ บทกลอน เรียงความ หรือการแสดงที่ สงเสริมความมีวินัย อีกทั้งสนับสนุนใหผูปกครองมีสวนรวมในการเสริมสรางความมีวินัยของนักเรียน นักศึกษา 3) จัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา 4) จัดกิจกรรม ท่ีเสริมสรางความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา สรางแกนนําในการใหความรูและฝกปฏิบัติดานความมี วนิ ัยในแตล ะรุน
17 ขอ เสนอแนะ ขอ เสนอแนะในการนําผลการจัดการความรไู ปใชป ระโยชน 1. สามารถนําผลการจัดการความรูนี้ไปใชในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามวี ินัย 2. แนวทางการดาํ เนนิ งานเสริมสรางความมวี ินัยในตนเองของนกั เรียน นกั ศึกษา สามารถนําไป ปรบั ใชกบั นักเรยี น นักศกึ ษาตา งสถาบนั ได ขอเสนอแนะสําหรบั การจัดการความรูครั้งตอไป 1. ควรเกบ็ ขอมูลดา นความมวี นิ ยั ของนกั เรียน นกั ศึกษา จากผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา น 2. ควรศกึ ษาขอ มลู เกย่ี วกบั คุณธรรม จรยิ ธรรม สาํ หรับนักเรยี น นกั ศึกษาในโอกาสตอไป
18 บรรณานกุ รม กรกนก พลเดช. (2549). ปจจัยสภาพแวดลอมทางโรงเรียน และสังคมกบั พฤติกรรมเชงิ จรยิ ธรรม ความมีวนิ ัยในตนเอง ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2549 โรงเรยี นเทศบาล 3 (ยมราชสามคั คี) (Online) Available: http://www.software602.com/ บญุ ธง เดชเถร. (2548). การดําเนนิ งานเพ่อื พัฒนาคุณลักษณะอนั พึงประสงคข องนกั เรียน โรงเรียน เมอื งเสือ สงั กดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามหาสารคามเขต 2 [Online] Available : http://www.software602.com/. พระธรรมปฎ ก. (2550). พระพทุ ธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. พิมพครง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ การศาสนา. พิสมยั ทินเต และคณะ. (2544). การใชก จิ กรรมแนะแนวเพ่ือพัฒนาความมีวินัยในตนเองของนักเรียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2/1 โรงเรียนแกนนครวทิ ยาลยั 2 จังหวดั ขอนแกน. วิทยานิพนธ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน. พิสทิ ธ์ิ หอมสมบตั .ิ (2546). การพัฒนาวินยั นกั เรยี นบานดอนยู กิ่งอําเภอนาเยยี จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานพิ นธการศึกษามหาบัณฑติ . มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วารี ศรเี จริญ. (2541). การทดลองใชชดุ กิจกรรมเพื่อเสริมสรางคุณลกั ษณะความรับผิดชอบ ในการ เลาเรยี นของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4 โรงเรยี นระยองวิทยาคม จังหวดั ระยอง. วารสารวชิ าการ. (10), 58-65. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2546). พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาตพิ ุทธศกั ราช 2542 แกไข เพ่ิมเติม (ฉบบที่ 2) พุทธศกราช 2545. กรุงเทพมหานคร : ครุ สุ ภา สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาอุทัยธานเี ขต 2. (2549). รายงานการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบแรก ของสถานศกึ ษาระหวางปก ารศึกษา 2544-2548. อทุ ัยธานี : สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา อุทัยธานีเขต 2. สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพมิ่ เติม ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ งคก ารรบั สง สินคาและ พัสดภุ ณั ฑ. อดุ มพร อมรธรรม. (2549). ปรัชญาการศึกษาพระเจา อยูหัว. กรงุ เทพฯ : แสงดาว.
โครงการประชมุ สมั มนาเครอื ขา ยการจดั การความรฯู ครง้ั ที่ 12 “การจดั การความรูส มู หาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management : Innovative University) บทความ ช่อื เรือ่ ง โขนสด จังหวดั ลพบุรี ชือ่ -นามสกลุ ผนู ําเสนอ น า ง นั น ท วั น ณ กาฬสนิ ธุ หนวยงาน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิต พฒั นศลิ ป การจัดการความรดู า น ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ 0994149553 เบอรโทรศัพทม ือถอื [email protected] E-Mail address บทสรปุ การจัดการความรู เร่ือง โขนสด จังหวัดลพบุรี เปนการจัดการความรูดานภูมิปญญาทองถิ่น จัดทําข้ึนโดยวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี มีวัตถุประสงคเพ่ือ อนุรักษ สืบสาน และเผยแพรโดยรวบรวมองค ความรทู ่ีมีอยูจากภูมิปญญาทอ งถ่ินท่ีมีความเช่ียวชาญและมีประสบการณดานการแสดงโขนสดมาพัฒนา อยางเปนระบบ เพื่อใหบุคลากรทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ในกระบวนการจัดการความรูเรื่องโขนสด จังหวัดลพบุรีนั้นไดการ แตง ต้งั คณะกรรมการ การจัดการความรู ประจําปงบประมาณ 2561 ซึ่งมีหนาท่ีในการดําเนินงานใหเกิด กิจกรรมตามกระบวนการจัดการความรู โดยเริ่มจากการจัดประชุมเพื่อคนหาประเด็นความรูท่ีมี ความสําคญั ตอ หนวยงาน ตามประเด็นของยุทธศาสตรส ถาบัน ในการดําเนินการจัดทําแผนการเรียนรู ได กําหนดกิจกรรมและผูรับผิดชอบ โดยจัดดําเนินกิจกรรมตามข้ันตอนดังนี้ 1. การคนหาความรู 2. การ สรางและแสวงหาความรู3.การจดั การความรใู หเ ปนระบบ 4. การประมวลและกล่นั กรองความรู 5.การแบงปนและแลกเปลี่ยนความรู 6. การเขาถึงความรู 7. การเรียนรู ซึ่งคณะทํางานไดไปศึกษาการ แสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี ณ โรงเรียนวัดโพธิ์เกาตน จังหวัดลพบุรีโดยการสัมภาษณจากภูมิปญญา
2 ทองถน่ิ และนํานักเรียนเขา รับการถายทอด โดยรวมฝกหัดการแสดงโขนสดอยางเปนข้ันตอนและนําเสนอ แสดงใหนักเรียน นักศึกษาไดชมในชวงชั่วโมงซอมเสริมและพักกลางวัน และจัดตั้งชมรมโขนสดเพ่ือเปน การอนุรักษ สืบสานการแสดง คณะทํางานนําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณมาวิเคราะหขอมูล เพื่อจัดทํา เปนเอกสารทางวิชาการ และวิดีทัศนเพื่อเผยแพรทางเว็บไซดของวิทยาลัยและเผยแพรตามสถานศึกษา ในจงั หวดั ลพบรุ ี เม่ือการดําเนินกาจัดการรความรูเสร็จสิ้นทุกกระบวนการ วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนโดยการให นักเรียน นักศึกษาฝกฝนการแสดงโขนสด โดยจัดตั้งชมรมโขนสดขึ้นในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให นักเรียน นักศึกษาไดมีความรูทางดานวิชาการและวิชาปฏิบัติใหเกิดทักษะในการแสดงและนําการแสดง โขนสด จังหวัดลพบุรี มาเผยแพรตอสาธารณชน นับไดวาเปนการนําองคความรูดานภูมิปญญาทองถ่ินที่ แสดงถึงอัตลกั ษณอยางมคี ณุ คา สูสงั คมและเปนเอกลักษณของจังหวัดลพบุรีซึ่งสอดคลองกับวัตถุประสงค หลักที่วิทยาลัยน้ันเปนแหลงเรียนรู ดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลป และคีตศิลปที่มีมาตรฐาน จนเปนที่ ยอมรบั ในระดบั ทองถิ่นและระดบั ชาตสิ ืบไป คาํ สําคัญ โขนสด จังหวัดลพบุรี Khon Sod Lopburi Knowledge management of Khon Sod Lopburi is knowledge management in local wisdom. Prepared by Lopburi College of Dramatic Arts. The objective is to conserve and continue and disseminate the knowledge that from the local wisdom with experience of performing Khon Sod to develop systematically. To be enable personal of organization to access of knowledge and develop themselves to be knowledgeable and work effectively in process of knowledge management of Khon Sod. Lopburi province has appointed a committee of knowledge management for year 2018 which is responsible for the
3 implementation of activities according to knowledge management process by starting from organizing a meeting to find important knowledge issues for the organization according to the issue of institution strategy in the implementation of learning plan has defined activities according to following steps: 1. Search for knowledge. 2. Creating and seeking knowledge. 3. Knowledge management in a system. 4. Processing and screening knowledge. 5. Sharing and exchanging knowledge. 6. Access to knowledge. 7. Learning which the working group has studied. Khon Sod Lopburi performances at Wat Pho Kao Ton school by interviewing from local wisdom and bringing students to be transferred by participating in the training Khon Sod as a step by step and presenting it to students, so students can watch during lunch breaks. Also established a Khon Sod Club to conserve continue the preformation from the interview to a analyze the information to prepare academic documents and videos for dissemination on
4 website of the college and published in educational institution in Lopburi. When the knowledge management process has finished, at the processes are supported by the students. Students practice Khon Sod performance. By establishing a Khon Sod. Club, teaching and learning for students. Students have the knowledge of academic and practical subjects to develop skills acting and bringing live Khon Sod performance. Lopburi considering that the knowledge of local wisdom that represents the identity and value to the society and identity of Lopburi province, which is in line with the main objective of the college, is a learning resource for dance music and standardized compositions until accepted the local and national. Keyword: Khon Sod, Lopburi, บทนาํ การแสดง โขนสด แตเดิมเดิมเรียกวา “หนังสด” โดยคําวา หนังมาจากการเลียบแบบทาเตน ของหนังตะลุง สวนคําวาสด คือการแสดงท่ีใชคนแสดงจริงๆ เพราะฉะนั้น โขนสด เปนการแสดงที่ ปรับปรุงมาจากการแสดงโขน โดยดัดแปลง ใหเรียบงายขึ้น เปนแบบชาวบาน เพื่อทําใหผูชมเกิดความ สนใจและเขา ใจเรื่องราวไดงายขึ้น ลดระเบียบแบบแผน ท้ังทารํา การแตงกาย การขับรอง คําพากยและ เจรจา เปน การผสมผสานรูปแบบการแสดง 3 ชนิด คือ โขน หนังตะลุง และลิเก โดยผูแสดงจะสวมศีรษะ หรือหัวโขนไมเต็มหนาเหมือนการแสดงโขน กลาวคือ สวมหัวโขนโดยเปดหนาของผูแสดง ซ่ึงผูแสดงจะ
5 แตงหนาเหมือนการแสดงลิเก โดยที่ผูแสดงจะรองและเจรจาเองเร่ืองที่ใชแสดงก็เหมือนกับโขน คือ วรรณกรรมเร่ืองรามเกียรต์ิ ที่กลาววาโขนสด เปนการผสมผสานระหวางโขน ลิเก และหนังตะลุง เพราะวารูปแบบ เนื้อเร่ืองการแสดง การแตงกายและเพลงหนาพาทยที่ใช นาจะมาจากการแสดงโขน สวนการดาํ เนินเรอื่ งท่ีรวดเร็ว การแตงหนา ภาษาท่ีใชมาจากการแสดงลิเก และลีลาการเตนของผูแสดง โขนสด นา จะมาจากหนงั ตะลุง สําหรับการแสดงโขนสดใชวงปพาทยไมแข็งบรรเลงประกอบการแสดง ซ่ึงตองบรรเลงเพลงโหมโรง มหรสพกอนการแสดง (โหมโรงมหรสพคือโหมโรงเย็นและเพลงวา) แตในสมัยปจจุบันเทาท่ีเห็น กลายเปนวงปพาทยมอญหรือวงปพาทยไทยแตใชปมอญหรือปชวา เหมือนกับการแสดงลิเกในปจจุบัน ลักษณะการแสดงโขนสด ผูแสดงตองเปนผูขับรองเอง โดยมีผูตีโทนและจังหวะประกอบให จึงทําให เรียกวาการรองโทน สําหรับผูตีโทนและจังหวะ บางคณะก็ใหนักดนตรีเปนผูบรรเลง แตบางคณะผูแสดง โขนสดตัวอื่นๆ ที่ยังไมไดออกแสดงหนาเวทีจะเปนผูตีเอง สรางความประหลาดใจใหตนเองในสมัยเด็กๆ มาก ดว ยลลี าและความคลองแคลวของผูตีทุกคน ทําใหเสียงโทนออกมาสนุกสนานเราใจ ผสมกับทํานอง รองโทนและลีลาการเตนของผูแสดงสรางความสุขและอรรถรสในการชมการแสดงโขนสดมากๆ จน บางครงั้ ทําใหเกดิ ความสนกุ อยากจะยักตัวหรือยกั เอวไปพรอมๆ กับผูแสดง ซ่ึงลีลาของผูแสดงก็แตกตาง กันไปตามบทบาทของตัวละคร เชน ตัวยักษ ตัวลิง ตัวพระหรือตัวนาง แตเม่ือฟงการรองและลีลาการ เตนแลว ลวนมีเสนหทุกๆ ตัวละคร และท่ีทุกคณะขาดไมไดคือตัวตลก และนาแปลกใจ ที่ตัวตลกมีช่ือ เหมอื นกันทกุ คณะกค็ อื หนมุ วย แตกน็ าเสยี ดายท่ีในปจ จุบันน้ี วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เปนสถาบันการศึกษาท่ีมีพันธกิจในการจัด การศึกษา ดา นนาฏศลิ ป ดรุ ยิ างคศิลป และคีตศิลป ตั้งแตระดับพื้นฐานวิชาชีพถึงระดับปริญญาตรี สราง งานวิจัย งานสรางสรรค นวัตกรรม ท่ีเปนองคความรูดานศิลปวัฒนธรรมอยางมีคุณคาแกสังคม บริการ วิชาการดา นศลิ ปวฒั นธรรม การอนุรักษ พัฒนา สืบสาน และเผยแพรศิลปวัฒนธรรม โดยมีวัตถุประสงค หลักโดยเปนแหลงเรียนรูดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลป และคีตศิลปท่ีมีมาตรฐาน เปนที่ยอมรับในระดับ ทองถน่ิ และระดับชาติ ในการกําหนดภารกิจท่ีจะพัฒนาองคกรโดยใชการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือท่ีมุงสู ความสําเร็จดานภูมิปญญาทองถิ่น เร่ือง แสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี สูระดับชาตินั้น คณะทํางานได ดาํ เนินการเก็บรวบรวมองคค วามรู โดยใชกระบวนการแลกเปลี่ยนความรแู ละประสบการณของภูมิปญญา ทองถ่ิน และแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางครูผูสอนในกลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพนาฏศิลป ภาควิชา นาฏศิลป และครูผูสอนภาควิชาดุริยางคศิลป โดยดําเนินการจัดเก็บและรวบรวมองคความรูเพื่อใชเปน เครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษา และนํามาเผยแพรศิลปวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณ ของชาติ ตามพนั ธกิจของวทิ ยาลยั ฯ
6 จากการศึกษารูปแบบการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี พบวา ผูสืบทอดการแสดงโขน สดลดนอยลงและกําลังจะสูญหาย จากสาเหตุดังกลาว คณะทํางานเล็งเห็นความสําคัญของการแสดงโขน สดท่เี ปน อตั ลักษณภมู ปิ ญญาทองถ่นิ และเปนเอกลกั ษณข องจงั หวดั ลพบรุ ี จงึ ไดล งพื้นที่เพ่ือศึกษารวบรวม องคความรูจากภูมิปญญาทองถ่ินท่ีมีความเช่ียวชาญโดยนํานักเรียนเขารับการถายทอดและฝกหัดการ แสดงโขนสด อยางเปนขั้นตอน ต้ังแตขั้นตอนแรกจนจนกระบวนการแสดง และนําความรูท่ีไดรับมา จัดการความรู อยางเปน ระบบ เพื่อใหบ ุคลากร นกั เรยี น นกั ศึกษาเขา ใจรูปแบบการแสดงโขนสด จังหวัด ลพบุรีและสามารถจัดแสดงสูสาธารณชน พรอมทั้งถายทอดคองความรูท่ีไดรับใหกับ นักเรียน นักศึกษา ภายในวิทยาลัย เพื่อเปนการอนุรักษ สืบสานและเผยแพร และพัฒนาตนเองท้ังดานวิชาการและวิชาชีพ อยางมีประสิทธิภาพ ในการจัดการองคความรูเรื่องโขนสด จังหวัดลพบุรีนี้วิทยาลัย ไดนํามาบรรจุอยูใน การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาซึ่งสอดคลองกับวัตถุประสงคในการจัดการความรู ใน การ อนุรักษ สืบสานและเผยแพรให โขนสดเปนมรดกทางภูมิปญญาทองถิ่นของชาวจังหวัดลพบุรีสู ระดับชาตสิ ืบไป วธิ ีดําเนนิ งาน ในการจัดการความรูของวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ไดมีการแตงต้ังคณะทํางานเพ่ือใหการ ดําเนินงานเกิดกิจกรรมข้ึนในหนวยงานอยางเปนรูปธรรมและมีการกําหนดนโยบายในการปฏิบัติงาน อยางชัดเจนเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป สําหรับการจัดการความรู ดาน ภูมิปญญาทองถิ่น ประจําปงบประมาณ 2561 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรีไดจัดทําเร่ือง “โขนสด จังหวัด ลพบรุ ี “ ซงึ่ มีกระบวนการดําเนินงานตอไปนี้ 1.การคนหาความรู ในการจัดการความรูประจําปงบประมาณ 2561 คณะทํางานดําเนินการจัดประชุมบุคลากร ของวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี โดยแจงการจัดทําการจัดการความรูดานภูมิปญญาทองถ่ินและดําเนินการ คนหาความรู โดย แตงตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู คําสั่งวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ที่ 10/2561 เร่ือง แตงต้งั คณะกรรมการ การจัดการความรู วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ประจําปงบประมาณ 2561 โดย มีคณะกรรมการจัดการความรู(KM) ดานภูมิปญญาทองถิ่นโดยประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู ดา นภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน ตามตวั บงชคี้ วามรู Knowledge Mapping โดยระดมความคิดขอคณะกรรมการท่ี มีความรูดานภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อหาความรูท่ีมีความสําคัญและจําเปนตอองคกรและสอดคลองกับ ประเด็นยุทธศาสตรของวิทยาลัยเพ่ือเปนการตอยอดใหเปนอัตลักษณภูมิปญญาทองถิ่นและเปน เอกลักษณของจงั หวัดลพบรุ ี โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พ่อื อนุรกั ษ สืบสานและเผยแพรการแสดงโขนสด จังหวัด
7 ลพบุรีใหเปนมรดกทางภูมิปญญาทองถ่ินอันล้ําคาใหคงอยูสืบไป โดยกําหนดขอบเขตเน้ือหา กําหนด ระยะเวลา จากน้ัน คณะทํางานการจัดการความรูของวิทยาลัย ดําเนินการจัดประชุมการจัดการความรู เรื่องโขนสด จังหวัดลพบุรีเพื่อจัดทํา Knowledge Mapping เพ่ือเปนแผนท่ีในการจัดกิจกรรมจัดการ ความรูและสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูและประเด็นความรูที่ตองการเพ่ือนํามารวบรวมเปนเอกสาร วิชาการในการจัดพิมพเผยแพรตอสาธารณชน เชน ประวัติความเปนมาของโขนสด จังหวัดลพบุรี และ การสืบทอดการแสดง องคประกอบสาํ คญั ของการแสดงโขนสด ไดแก บทที่ใชแสดง สถานที่ การแตงกาย เครื่องดนตรีทใ่ี ชประกอบการแสดง บทรอง และบทเจรจาและกระบวนการแสดงโขนสด 2. การสรางและแสวงหาความรู (Knowledge Creation and Acquisition) คณะกรรมการดําเนินงานไดประชุมเพื่อปรึกษาหารือในการจัดกระบวนการแสวงหาความรู ตามลาํ ดับดงั นี้ 2.1 ระดมความคิดและแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางกัน รวมทั้งกําหนดหนาท่ีในการดําเนินงาน สรางและแสวงหาความรู ตามรายละเอียดดงั นี้ - มกี ระบวนการในการจัดทาํ KM คือคณะกรรมการ KM ในกลุม แบงหนาท่ีเปนประธาน เลขา ฯ ผูใหขอมูล (คณะครูผูสอนวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ซึ่งมีความรูและประสบการณเก่ียวกับเร่ืองการสืบ สานการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี ) และผบู ันทึกขอ มลู - กําหนดขอตกลง คือเวลาในการนัดหมาย ใหอิสระในการพูดและเขารวมกิจกรรมตลอดเวลา ไมอ อกจากการเขา รวม KM กอนเวลา พูดในประเด็นของเนื้อหา เรื่อง วิธีการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี เทา นน้ั - กําหนดใหมีการแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และประสบการณ วิธีการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี โดย ใหทุกทา นพูดคนละ 2 รอบ รอบละ 3 นาที ตอครงั้ - การบนั ทกึ ขอมลู ตามผพู ูดโดยไมมกี ารสรุปเปน ประเด็น พูดอยา งไรใหบ ันทกึ ทนั ที 2.2 เสริมสรางบรรยากาศในการแลกเปล่ียนเรียนรูและระดมความคิด ไดแก ปรับเปลี่ยน สถานท่ีใหเอื้อตอการระดมความคิด เชน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี บานของภูมิปญญาทองถ่ิน และแหลง เรียนรูชมุ ชนโพธเ์ิ กาตน โดยเนน ทก่ี ิจกรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแบบกัลยาณมิตร มีสวสั ดกิ ารดานอาหาร และเครอื่ งดืม่ รวมทัง้ การกาํ กับควบคมุ ใหการดําเนนิ กิจกรรมเปน ไปตามเปา หมาย 2.3 เก็บขอ มูลโดยการสมั ภาษณภมู ปิ ญญาทอ งถิ่น และนําคณะครู นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัย นาฏศิลปลพบุรี รวมกิจกรรมการจัดเก็บองคความรูและรับการถายทอดวิธีการแสดงโขนสด จังหวัด ลพบุรี โดยการบันทึกเสยี ง
8 2.4 จัดทํา เวป็ ไซดของวิทยาลัยฯ เพื่อประชาสัมพันธองคความรูเร่ืองโขนสด จังหวัดลพบุรี ให มีการแลกเปลี่ยนองคความรู (Learn & Share) 3. การจัดความรูใหเปนระบบ (Knowledge Organization) ในกระบวนการการจัดการความรูใหเปนระบบนั้น คณะกรรมการไดนําความรูท่ีไดจากการลง พนื้ ท่มี าถอดและบันทกึ เปน ลายลักษณอกั ษรและมาจดั เรียงลาํ ดับหมวดหมดู งั นี้ 3.1 คณะกรรมการ นําองคความรู เร่ือง การแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี นํามาตรวจสอบ ประเด็นในการแลกเปลีย่ นเรียนรูวาพูดถึงส่ิงใดบาง และสรุปเปนหัวขอจัดเก็บองคความรูอยางเปนระบบ นอกจากนั้นยังมกี ารบันทึกวิธีการแสดงโขนสดเปน ภาพนง่ิ และบนั ทึกวดี ีทศั น 3.2 ตรวจสอบความถูกตองในการจัดเก็บองคความรู โดยนําไปใหภูมิปญญาทองถิ่นตรวจสอบ อีกครง้ั หนึง่ 4. การประมวลและการกลนั่ กรองความรู (Knowledge Codification and Refinement) ในการประมวลและกลั่นกรองความรูใหเปนระบบน้ัน คณะกรรมการไดนําความรูท่ีไดจาก ดาํ เนนิ การมาจดั ลาํ ดับความสาํ คัญดงั น้ี 4.1 จัดทํานิยามศัพทที่ใชในการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี ตามคําจํากัดความ และ ความหมายของคําตางๆ แกไขการใชภาษาใหสละสลวย เพ่ือใหเกิดความเขาใจในการอานและใหเปน มาตรฐานเดยี วกนั 4.2 จัดประชุมเพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ งของขอ มูลรว มกันอีกครัง้ 4.3 สรปุ องคค วามรแู ละจัดทํารปู เลม องคค วามรู เร่อื ง วธิ กี ารแสดงโขนสด จงั หวัดลพบรุ ี 4.4 จดั บนั ทึกวดี ที ศั น วธิ ีการแสดงโขนสด จงั หวดั ลพบรุ ี 4.5 นําเอกสารและวีดิทัศน เสนอตอที่ประชุมและคณะกรรมการเพ่ือใหคําเสนอแนะ และ นํามาปรับปรุงแกไขใหสมบูรณย่ิงขึ้นเพื่อเปนประโยชนตอผูท่ีนําความรูไปใชและเปนเอกสารวิชาการท่ี เปน มรดกทางวฒั นธรรมที่มีคุณคาของชาติตอ ไป 5. การเขาถึงองคค วามรู (Knowledge Access) คณะทาํ งานการจัดการความรไู ดแ บงการสงหรือกระจายองคความความรูใหผ ูใช 2 ลักษณะ ดังน้ี
9 5.1 การปอ นความรูใ หผ ูรบั โดยไมไดร อ งขอไดแ ก - สรปุ ประเดน็ นาํ เสนอผูบรหิ ารเพือ่ กําหนดเปน นโยบายของวทิ ยาลยั ฯ ตอ ไป - มีหนังสือเวียนแจง ใหบคุ ลากรทุกคนรับทราบและปฏบิ ัตติ ามนโยบายทีว่ ทิ ยาลยั ฯ กาํ หนด - จดั การแสดงโขนสด จงั หวัดลพบุรี ใหค ณะครแู ละนักเรียนวิทยาลยั นาฏศิลปลพบรุ ไี ดรับชมใน คาบประชุมประจําสัปดาห พรอมรับฟงขอเสนอแนะและความคิดเห็นจากคณะครูอาจารยของวิทยาลัย นาฏศลิ ปลพบรุ ี เพื่อนาํ ไปปรับปรุงแกไ ข 5.2 การใหโ อกาสเลอื กใชความรู ผูร บั สามารถเลือกรับหรือใชขอ มลู ท่ีตองการ - เผยแพรเ ว็บไซตข องวทิ ยาลัย/Facebook/YouTube - คมู อื การแสดงโขนสด จงั หวดั ลพบรุ ี - จัดทําปา ยนิเทศ - การจัดทําแผน พบั ประชาสัมพนั ธ - จัดการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี ที่ไดปรับปรุงตามคําแนะนําของคณะครู-อาจารย และภูมิ ปญ ญาทอ งถนิ่ 6. การแบง ปนแลกเปล่ยี นความรู (Knowledge Sharing) 6.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู เชน กิจกรรม KM DAY ของวิทยาลัยฯ โดยใหมีกิจกรรมการ ถาม-ตอบ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวา งบุคลากรของวิทยาลยั นาฏศิลปลพบรุ ี 6.2 แลกเปล่ียนเรยี นรูทาง Facebook/webpage/blog 6.3 จดั กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู ระหวางครภู าควชิ านาฏศิลปแ ละภาควชิ าดรุ ยิ างคศลิ ป 7. การเรยี นรู (Learning) คณะกรรมการจัดการองคค วามรูไดน าํ องคค วามรูไปในในการจดั การเรยี นรู ดังนี้ 7.1 นําองคความรูที่ไดรับไปบูรณาการ รวมกับกิจกรรมการเรียนการสอนของกลุมสาระการ เรียนรูว ิชาชพี นาฏศิลปแ ละดรุ ิยางคศลิ ป ทัง้ 3 ระดับ ไดแก ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายและระดบั ปริญญาตรี 7.2 การนําความรูไปใชในการจัดการเรียนการสอนในกลุมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยจัดตั้งเปน ชมรม โขนสด วิทยาลัยนาฏศลิ ปลพบรุ ี สมาชกิ ชมรมไดม าจากนกั เรียนท่ีมีความรัก สนใจและตองการ สืบสานการแสดงโขนสด ทําการศึกษาสัปดาหละ 1 ช่ัวโมง โดยศึกษาและฝกซอมเร่ืองรามเกียรต์ิ พรอม นาํ เสนอผลการแสดงเม่ือสิ้นสดุ การศกึ ษาทุกภาคเรยี น
10 7.3 นําองคความรูสูการจัดการแสดงเผยแพรศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการแสดงของวิทยาลัยฯ ในโอกาสตา งๆ เพอ่ื การเรยี นรูและการพฒั นารูปแบบการแสดงอยางเหมาะสม 7.4 การสรางบรรยากาศการเรียนรูและสรางขวัญกําลังใจ เชน การกลาวชื่นชมในที่ประชุม การมอบเกียรตบิ ัตร เปนตน ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนินงาน ในการจัดการความรูเร่ือง โขนสด จังหวัดลพบุรี เปนการจัดการความรูที่คณะทํางานมุงหวังท่ี จะรวบรวมองคความรูเก่ียวกับการแสดงโขนสด ท่ีแสดงกันอยูในจังหวัดลพบุรี โดยเฉพาะคณะของ โรงเรียนวัดโพธิ์เกาตน เปนคณะที่ไดรับการสืบทอดจากภูมิปญญาทองถิ่นครูที่มีความเช่ียวชาญในการ แสดงมาจนถึงปจจบุ นั จากที่มาและปญหาในการจัดการความรู เร่ืองโขนสด จังหวัดลพบุรี มีผูสืบทอดการแสดงลด นอ ยลงและ กําลังจะสูญหาย ซึ่งนบั ไดวาการแสดงโขนสดเปนมรดกทางภูมปิ ญญาทองถ่นิ ทเี่ ปน อัตลักษณการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี คณะทํางานจึงเห็นถึงความสําคัญ เพ่ืออนุรักษ สืบสานแสดง โขนสดนีไ้ วโดยไดจดั กระบวนการจัดการความรู ดังน้ี ประการแรก เปนการรวบรวมองคความรูที่เก่ียวกับการแสดงโขนสด จังหวัดลพบุรีไดแก ประวัติความเปนมา การสืบทอดการแสดง โอกาสในการแสดง เคร่ืองดนตรีประกอบการแสดงและ กระบวนการแสดงโขนสด จงั หวัดลพบรุ ี ประการที่สอง นําขอมูลท่ีไดจากการสัมภาษณ ท่ียังไมมีการจดบันทึกมารวบรวมเปนเอกสาร เพ่ือใหเกิดเปนรูปธรรมรวมถึงกระบวนการแสดง คณะทํางานไดเชิญภูมิปญญาทองถิ่นมาสาธิตและ ถายทอดทารําใหกับนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี และบันทึกเปนวีดิทัศนเพื่อเผยแพรสู สาธารณชน ในการอนุรักษ สืบสาน ศิลปวัฒนธรรมอยางเปนรูปธรรมและรักษาภูมิปญญาทองถ่ินของ จังหวดั ลพบรุ ีสรู ะดับชาติตอไป ประวตั ิความเปน มาของการแสดงโขนสดจังหวัดลพบรุ ี จากการศึกษาประวัติความเปนมาของโขนสด จังหวัดลพบุรี เมื่อประมาณ 80 ป ลวงมาแลว นายตรี-นางพิณ พันธุแกว ราษฎรหมูท่ี 4 ตําบลโพธิ์เกาตน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ไดตั้งคณะโขน ข้นึ มาโดยใชช่อื วา “คณะพันธแุ กว” ตามนามสกุล ไดน าํ ลูกๆ หลานๆ ในหมูบานมาฝกการแสดงโขน ซ่ึงมี ภูมิปญญาทองถิ่น อาทิ ครูก่ิง สีคราม ครูชิต ครูนวม เปนตน เปนผูฝกสอน เมื่อศิษยมีความรูความ ชํานาญแลวก็ไดเปดรับงานแสดงทั่วไป โดยขณะนั้นเปนการแสดงโขนใบ คือ ผูแสดงจะสวมหัวโขนปด หนาและมีผพู ากยอ ีกหน่ึงคน ตอมาเปลี่ยนแปลงเปนการแสดงเรียกวา “โขนสด” โดยผูแสดงสวมหัวโขน
11 เปด หนา และรอ งเอง พูดเอง ไมใชค นพากย ตอมาเจาของคณะพันธุแกวเสียชีวิตลง ไดมีนายเฉลิม ศรีลาย เปนผูสืบสานตอและไดเปลี่ยนช่ือคณะใหมเปน “เฉลิมศิลปไทย” และเมื่อครูเฉลิมเสียชีวิตลงก็มีครู อํานาจ โพธอ์ิ อ น รบั ชว งตอ และไดเปลี่ยนชื่อคณะเปน “อํานวยพร” ซ่ึงเปนช่ือของพอและแม ปจจุบันก็ ไดร บั งานการแสดงท่ัวไป นอกจากน้ียังไดฝกฝนการแสดงโขนสดใหกับเด็กๆ ซึ่งเปนนักเรียนของโรงเรียน วดั โพธเ์ิ กาตน ตอจากครูเฉลมิ ศรีลาย อกี ดวย ขณะนจ้ี งึ มกี ารแสดงโขน สําหรับการแสดงโขนสด จังหวัดน้ันลพบุรีโรงเรียนวัดโพธิ์เกาตนจะเปนผูดูแลเก่ียวกับการ ควบคมุ การแสดงและการรับงานการแสดงตง้ั แต เม่ือป พ.ศ.2515 นายสนั ต ภูสุวรรณ ครูใหญโรงเรียนวัด โพธิ์เกาตน มีความคิดริเร่ิมที่จะอนุรักษการแสดงโขนสดในชุมชน หมูที่ 4 ตําบลโพธ์ิเกาตน ใหอยูคูกับ ชุมชนตอไป จึงดําเนินโครงการอนุรักษโขนสดโดยติดตอใหนายเฉลิม ศรีลาย ซึ่งในขณะน้ันเปนหัวหนา คณะโขนสด “เฉลิมศิลปไ ทย” อยู ใหมาสอนและถายทอดการแสดงโขนสดใหแกนักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ เกาตน โดยใหครูในโรงเรียนเปนผูดูแลควบคุมและสามารถเปดรับการแสดงนานตางๆ จนกระทั่งเม่ือป พ.ศ.2553 นายเฉลมิ ศรีลาย ไดเ สียชีวิตลง นายอํานาจ โพธอิ์ อน มาจดั ตงั้ คณะโขนสด “คณะอํานวยพร” ตอ จากครเู ฉลมิ ศรลี าย และรบั สอนถายทอดความรูการแสดงโขนสดใหก ับนกั เรียนโรงเรียนวัดโพธ์ิเกาตน สนับสนุนและสงเสริมจนไดรับรางวัลในป พ.ศ.2556 รางวัลรองชนะเลิศการอนุรักษศิลปะการแสดง ทองถ่ินของจังหวัดลพบุรี (สํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม) นับไดวาการแสดงโขนสดเปนการแสดงที่ เปนอัตลักษณแ ละเปนเอกลษั ณของชาวจังหวัดลพบรุ จี วบจนถงึ ปจจุบนั องคประกอบการแสดงโขนสด จงั หวดั ลพบรุ ี 3.1 การคดั เลือกผแู สดง โขนสดเปนการแสดงที่มีลักษณะคลายคลึงกันกับโขน นักแสดงผูท่ีไดรับคัดเลือก ใหแสดงเปน ตัวแสดงท่ีมีบทเดน นักแสดงจะตองผานการฝกฝนเปนอยางดี จึงไดรับการคัดเลือกใหแสดงเปนตัวเอก สําหรับเด็กท่ีสมัครเขารับการฝกหัดนั้น ครูผูสอนจะทําการคัดเลือกเด็ก วาควรจะรับการฝกใหเปนตัวใด ครูผสู อนจะดูจากหนว ยกา นของผูเขารบั การฝก หดั วา จะมคี วามเหมาะสมของสรรี ะ เพื่อตองการใหตรงกับ บทบาท ไมวาจะเปน ตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ หรือตัวลิง ซ่ึงครูผูฝกหัดจะดูที่รูปรางลักษณะ ถารูปราง ลักษณะใหญก ็จะใหหัดเปน ตวั ยกั ษ รูปรางเล็กก็ลงมาฝกหัดเปนตัวลิง รูปรางสูงโปรงใหฝกหัดเปนตัวพระ รปู รางทวมก็ใหฝ ก หดั เปน ตัวนาง (สมยั กอ นผแู สดงตัวนาง เปน ผูชายแสดง) 3.2 การฝกหดั เบื้องตน ผทู ีจ่ ะรบั เขา การฝกจะตอ งมใี จรักศิลปะประเภทนีจ้ รงิ ผูเขารบั การฝกจะตอ งศึกษา สังเกต และ จดจําทารําตาง ๆ เพื่อเปนการปูพ้ืนฐานความรูเบื้องตน การฝกหัดเบ้ืองตนจะใหเรียนรูเกี่ยวกับการใช ลําตัว ตัวพระ ตัวยักษ และตัวลิง มีการฝกเบ้ืองตนท่ีเหมือนกัน คือ มีการเตนเสา ถีบเหล่ียม ถองสะเอว
12 แบบโขน สวนลิงน้ันมีการฝกตีลังกาเพิ่มข้ึน เมื่อผูฝกหัดไดผานข้ันตอนการฝกหัดเบ้ืองตน และมีความ ชํานาญแลวครูผูฝกสอนจึงจะแยกการฝกหัดเฉพาะตัวละครในแตละประเภท หัดเดินเขาเขานาง เหมอื นกบั ลเิ ก หัดรอ งเหมอื นกบั หนงั ตะลงุ และลิเก ดงั จะแยกการฝกไดด งั นี้ ตัวพระ : เดินแบบลเิ ก รอ งแบบหนังตะลุง และรําเพลงเชิดแบบลิเก ตัวนาง : เดนิ แบบลิเก รองแบบหนงั ตะลงุ และรําเพลงเชิดแบบลเิ ก ตัวยักษ : เดนิ แบบโขน รอ งแบบหนงั ตะลุง เตน กราวแบบหนังตะลงุ และราํ เชิดแบบลิเก ตวั ลงิ : เดิน – นงั่ แบบโขน รอ งแบบหนงั ตะลงุ เตน กราวแบบหนังตะลงุ และราํ เพลงเชิดแบบ ลิเก เรื่องทีใ่ ชใ นการแสดง เร่อื งรามเกียรต์ิ โดยจัดแสดงเปนชุดเปนตอน แลวแตโอกาสและความตองการของเจาภาพ เชน ยกรบ ทศกัณฐบมกาย (ลงอุโมงค) หนุมานเผากรุงลงกา ศึกสหัสเดชะ ศึกสัทธาสูร ศึกวิรุญจําบัง ศึกมัย ราพณ เปน ตน เคร่ืองแตง กาย เครอื่ งแตงกายของโขนสดนน้ั มตี น แบบมาจากการแตงกายของการแสดงโขน(โขนหลวงหรือโขน กรมศิลปากร) แตจะมีการประยุกตปรับเปล่ียนโดยลดความซับซอนลง เนนความทนทานการใชงาน มากกวา และไมเ ครง ครดั รูปแบบมาตรฐานเทา กบั โขน(โขนหลวงหรือโขนกรมศิลปากร) โขนสดมีการสวม ศรี ษะไมเ ต็มหนาแบบโข การแตง หนาผแู สดง ในการแสดงโขนสด ผแู สดงจะตองเปดหนาและแตงหนาทุกคน ลักษณะการแตงหนาในตัวละคร พระ และนางจะแตงหนาใหมีความสวยงาม สวนตัวละครยักษและลิงจะแตงหนาโดยเนนท่ีค้ิว ตา และ ปาก เพื่อใหเห็นใบหนา ของผูแสดงอยา งชดั เจน วงดนตรี วงดนตรีที่ใชประกอบการแสดงโขนสด คือ วงปพาทยไมแข็ง โดยจะเลือกใชวงปพาทยเครื่องหา เครือ่ งคู หรือวงปพาทยเ ครอ่ื งใหญ แลว แตค วามเหมาะสม นอกจากจะใชว งปพาทยไ มแข็งแลว ยังมีวงดนตรีอีก 1 วง ที่ตองใชในการบรรเลงกอนการแสดง โขนสด เพ่ือใชในการบรรเลง “เพลงโหมโรงโทน-ตุก” วงดนตรีท่ีบรรเลงเพลงโหมโรงโทน-ตุก ประกอบดว ยเครอ่ื งดนตรี ดังน้ี 1. โทนชาตรี 2. กลองชาตรี (กลองตกุ ) 3. ปน อก 4. ฉงิ่ 5. ฆอ งคู 6. กรบั
13 เพลงรอ งและการพากย-เจรจา การแสดงโขนสด ผูแสดงจะตองรองและรําดวยตัวเอง ไมมีผูพากยหรือผูขับรองประกอบการ แสดงแบบการแสดงโขน ลกั ษณะการขับรอ งของผแู สดงโขนสดเรียกวา “การรองโทน” การรองโทน หมายถึง การรองสําหรับดําเนินเร่ืองหรือแนะนําตัวของผูแสดง มีลีลาและ ลักษณะของทวงทํานองเปนเอกลักษณของการแสดงโขนสด โดยใชโทนชาตรีและเคร่ืองประกอบจังหวะ ตปี ระกอบการรอ ง จงึ เรยี กวา “การรองโทน” การรองโทนของผูแสดง พระ นาง ยักษ ลิง มีวิธีการรอง ตลอดท้ังความชาเร็วของการรอง แตกตางกันตามลักษณะของผูแสดง ใสอารมณไปตามบทรอ งของตวั แสดงนน้ั ๆ เชน - ตัวพระและตวั นาง รอ งแบบออ นหวาน ลีลาจงั หวะชาๆ สงางาม - ตวั ยักษ รองแบบดุดนั ฮกึ เหิม แตมีความสงางาม ลีลาจังหวะกระชับขึน้ - ตัวลิง รองแบบรวดเรว็ คกึ คกั สนกุ สนาน ลีลาจงั หวะจะรวดเรว็ กระชับ การรองโทน มี 2 ลักษณะ คือ 1. การรอ งโทน เพื่อเจรจา เม่ือจบบทรอ งแลวผแู สดงจะรอ งเปนทํานองวา “ออ ออ เอย” เพอ่ื บอกใหรูวาจบบทรอง ผูตีโทน จะตโี ทนลงจบ “ปะ โทน โทน ปะ โทน โทน ปะ” จากน้ันผูแสดงก็จะเจรจาดําเนินเรื่องตอไป วิธีการรอง ของตวั แสดงอ่ืนๆ ก็มีวธิ ีการรองแบบนเี้ ชน เดยี วกัน 2. การรองโทน เพื่อออกเพลงหนาพาทย เปนการรอ งโทนคลายกับการรองเพ่ือเจรจา แตการรอ งโทนเพื่อออกเพลงหนาพาทยจะไมลงดวย ทํานองวา “ออ ออ เอย” แตทาํ นองและบทรอ ง เปนลักษณะเฉพาะ เพ่ือบงบอกใหรูวาผูแสดงจะทําอะไร ตอไป และเปนสัญลักษณใหผูบรรเลง บรรเลงเพลงหนาพาทยตามอากัปกิริยาน้ันๆ เชน ผูแสดงจะ เดินทาง จะใชการรองโทนทํานองตามปกติ เมื่อถึงบทรองคําสุดทายจะรองดวยทํานองท่ีเปน ลักษณะเฉพาะ เพื่อบอกใหรูวาบทรองจบ และกําลังจะเดินทางดนตรีก็จะบรรเลงเพลงเชิดหรือตัวละคร กําลังแสดงอิทธิฤทธ์ดิ นตรกี จ็ ะบรรเลงเพลงรวั เปนตน เวทกี ารแสดงและฉาก
14 เวทีการแสดงโขนสดแตเ ดิมใชเวทีที่วัดสรางไว แตปจ จุบันคณะโขนสดมเี วทีเปนของตนเอง โดย ปรับปรุงใหมีขนาดของเวทีขนาดใหญและมีการนําเทคโนโลยีในดานแสงสีเสียงท่ีทันสมัยยิ่งขึ้นมาใช ประกอบการแสดง ฉากท่ีใชในการแสดงโขนสด ใชฉากตามเน้ือเรื่องท่ีแสดง เชน ฉากทองพระโรง ฉากปา ฉาก พลับพลา ฉากเมอื งลงกา เปนตน โดยจะมกี ารเปลยี่ นฉากไปตามเนือ้ เรื่องเชนเดยี วกับการแสดงลเิ ก โอกาสและสถานทีใ่ นการแสดง การแสดงโขนสดใชแสดงในงานทั่วไป หรืองานที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม สวนสถานที่ในการ แสดงนอกจากเวทกี ารแสดงดังกลา วขา งตน แลว ยงั แสดงในโรงละคร และเวทีกลางแจง (ลักษณะเดียวกับ โขนกลางแปลง) ตามความเหมาะสมและความประสงคของผจู ัดงาน อุปกรณก ารแสดง - เตียง ในการแสดงโขนสดจะมีเตียงต้ังไวกลางเวทีสําหรับผูแสดงนั่งในทุกฉาก ไมมีการยกเขา ยกออก - อาวุธ ซึง่ อาวุธท่ใี ชในการแสดงโขนสด ขน้ึ อยูกบั เนื้อเรอ่ื งทน่ี ํามาแสดง สวนใหญจะเปนตอนที่ ทําศึกสงคราม โดยใชอุปกรณประกอบการแสดงท่ีเปนอาวุธประจํากาย เชน ศร พระขรรค ตรี หรือ กระบอง เปนตน - กระดานชนวน เปน อุปกรณป ระจาํ ตวั ของผูแสดงพิเภก - ไมต ะขาบ ใชสาํ หรับประกอบการแสดงมุขตลก พธิ ีกรรมกอนการแสดง (ลาํ ดับข้ันตอนการไหวค ร)ู การเชญิ ครู - เชิญครู (บูชาเทพเจาหรือบูชาครูบาอาจารยและส่ิงศักดิ์สิทธิ์) เพ่ือใหเกิดสิริมงคลแก ตนเองและผูรวมงานในคณะ สามารถแบงออกไดต ามลาํ ดับขนั้ ตอนดงั น้ี - การบชู าสิ่งศกั ดิส์ ิทธิ์ เจาทีเ่ จาทาง เพื่อบูชาเจาที่เจาทางของสถานท่ีนั้นบอกกลาวขอพรและ ขออนุญาตใชสถานท่ี ใหเกิดความสงบเรยี บรอ ยไมมอี ุปสรรคตอการแสดงและขอเชิญมาชมการแสดงโขน สด - การบูชาเทพเจาและการแสดงความเคารพครูบาอาจารย หัวหนาคณะหรือผูอาวุโสหรือผูท่ี ไดร ับมอบหมายจะเปนผูประกอบพิธีเชิญครู พรอมกลาวคําเชิญครู วา “องคพระเพชรฉลูกัณฑทรงเสด็จ ลงมาแลวแกวเจาเอย เชิญมาโหรองเพื่อเอาฤกษเอาชัยสักสามลา” (โห 3 ครั้ง) วงปพาทยบรรเลงเพลง โหมโรง หวั หนาคณะเร่ิมประกอบพธิ ีสวดมนตเพือ่ ทาํ นํา้ มนต จากนั้นนําน้ํามนตมาประพรมใหผูแสดงเพื่อ ความเปนสริ ิมงคล
15 การรําถวายมือ การรําถวายมือเปนการรํากอนการแสดงโขนสด เพื่อบูชาสิ่งศักด์ิสิทธ์ิและครูบาอาจารย จะใชผู แสดงตัวพระและตัวนาง ประมาณ 4-8 คน (สมัยกอนใชเฉพาะตัวนาง) ออกมารําตามทํานองเพลงชา เพลงเร็ว ซง่ึ มีลักษณะทา ราํ ที่ตวั พระและตวั นางปฏิบตั เิ หมอื นกนั โหมโรงโทน-ตกุ ผูบรรเลงอาจจะเปนผูบรรเลงท่ีอยูในวงปพาทยหรือผูแสดงโขนสด บรรเลงอยูทางดานขางของ เวที โดยตีโทนสลบั กบั กลองตกุ และเครื่องประกอบจังหวะ 3 รอบ ทเี่ รียกวา “รวั สามลา” ลําดับตอไป คือ การบรรเลงโทน มือท่ีใชในการบรรเลง คือการตีประกอบการรองโทนน่ันเอง อาจจะเปน มือทีต่ ปี ระกอบ ตวั พระ ตวั นาง ตัวยักษ หรือตัวลิง ข้ึนอยูกับผูบรรเลง ใชเวลาประมาณ 5-10 นาที (แตละมือนั้นอาจใชเวลามากขึ้น เพื่อเปนการใหผูแสดงแตงกายใหเสร็จเรียบรอยหรือเพื่อรอเวลา เรม่ิ การแสดง) เมอื่ หมดแตล ะมอื แลวจะมีการรัวกลองตุกสลับกนั ไป 3 รอบ เปน อนั สิ้นสดุ การโหมโรงโทน สรุป การจัดการความรู เร่ืองโขนสด จังหวัดลพบุรี เปนการจัดการดานภูมิปญญาทองถ่ินที่วิทยาลัย นาฏศิลปลพบุรีไดจัดทําข้ึนภายใตประเด็นยุทธศาสตรที่วาดวยการสรางสรรค ตอยอดงานศิลปเพื่อ เปนอัตลักษณภูมิปญญาทองถ่ินและ เอกลักษณของชาวจังหวัดลพบุรีซ่ึงพบวาโขนสด จังหวัดลพบุรีมี ลักษณะการแสดงที่เปน เอกลักษณ ดังนี้ 1. การแสดงโขนสดจังหวัดลพบุรี มีความโดดเดนในบทบาทการแสดงตัวลิง เน่ืองจากภูมิ ปญญา ทองถิ่น นายอํานาจ โพธิ์ออน เปน ผแู สดงโขนสดที่มีความสามารถในการแสดงบทบาทตัวหนุมาน ท่มี ชี ื่อเสยี ง จนมโี อกาสไดรับเชิญไปแสดงโขนสดตามคณะตางๆ ในจังหวัดใกลเคียงและจังหวัดอื่นๆ การ แสดงแตล ะครง้ั เม่ือมีบทบาทของตัวแสดงท่ีเปนลงิ มกี ารสอดแทรกการแสดงของลิง เชน การเตนเพลงวร เชษฐ ที่เรียกวา “เตนวรเชษฐ” ซ่ึงในลักษณะการเตนท่ีมีทาทางเฉพาะ แสดงถึงความสนุกสนาน รื่นเริง เปน ท่ีชื่นชอบของผูชมทุกครงั้ ท่ีออกแสดง 2. การแสดงความเคารพของผูแสดงโขนสด จะมีความเคารพครูบาอาจารยและผูท่ีอาวุโสกวา พ่ี นอง มคี วามเคารพตอ กนั 3. การถายทอดการแสดงโขนสดใหกับนักเรียนโรงเรียนโพธ์ิเกาตน ภูมิปญญาทองถิ่น นาย อํานาจ โพธ์ิออ น จะเนนระบบพี่สอนนองในการถายทอดการแสดง และสอนใหเด็กๆ ชวยกันเก็บกวาด ใหส ถานท่แี สดงมีความสะอาด
16 4. ปลูกฝง ใหนักเรยี นและผูแสดงมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เชน การตรงตอ เวลา มคี วามรับผดิ ชอบตอ หนาทไ่ี ดร บั การเสียสละเพอื่ สวนรวม ความสามัคคใี นหมูคณะ เปนตน 5. ความสามารถเฉพาะตวั ของนายอาํ นาจ โพธิ์ออน เรื่องการตีโทน ประกอบการรอ งโทน 6. สามารถใชไหวพริบปฏิภาณในการประพันธบทรอง เพ่ือใหเขากับลักษณะของงานและ สถานการณต า งๆ ไดอ ยางเหมาะสม 7. สงเสริมใหนักเรียน รูจักการแกไขปญหาเฉพาะหนา ที่เกิดขึ้นในระหวางการแสดงได และให กาํ ลังใจ โดยไมต ําหนิความผดิ พลาดทเี่ กดิ ขนึ้ หลงั จบการแสดง 8. สงเสริมและสนับสนุนใหนักเรียน ตระหนักในคุณคาและความสําคัญของมรดกทาง ศิลปวฒั นธรรม โดยเฉพาะการแสดงโขนสด รวามทั้งการบริการทางวัฒนธรรม ที่มีวัตถุประสงคเพื่ออนุรักษสืบสาน และเผยแพรการแสดงโขนสด จงั หวดั ลพบรุ ีทก่ี ําลงั จะสูญหายและเพ่ือใหคงอยูสืบตอ ไปคณะทํางานไดรวบรวมองคความรู ในการจดั การความรู เรือ่ งโขนสด จงั หวัดลพบรุ ี วทิ ยาลยั นาฏศิลปลพบุรี ไดด ําเนนิ การนั้น ไมเพียงแตเปน การรวบรวมองคความรูเ พอ่ื เผยแพรใหแ กผูทส่ี นใจเทาน้ัน วทิ ยาลัยยงั ไดจดั ต้งั ชมรมโขนสด ขน้ึ เพ่อื ใหเ ปน สว นหนึง่ ของหลกั สูตรสถานศึกษาและ ใหนักเรียน นักศึกษาไดมีสวนรวมในการฝกโขนสด ทุกคน พรอมท้ังสามารถเปนวิทยากรใหความรูเร่ือง โขนสด จังหวัดลพบุรี และจัดการแสดงโขนสด ได อยา งเปน รูปธรรม นบั ไดวาการจัดการความรูเร่ืองโขนสด จังหวัดลพบุรี เปนการเสริมสรางประสบการณ ใหกับนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรีใหมีความรูความสามารถในการที่ถายทอด กระบวนการแสดงโขนสดสูสาธารณชน อันไดแกเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ตามถาบันการศึกษาใน จงั หวดั ลพบรุ แี ละจังหวดั อนื่ ๆเพ่ือสบื ทอดมรดกภมู ปิ ญญาทองถ่นิ ของจังหวัดลพบุรีสรู ะดบั ชาติสืบไป
17 บรรณานกุ รม เฉลมิ ชยั ภริ มยรกั ษ.(2545). โขนสดคณะสังวาลยเ จรญิ ยิง่ . วทิ ยานพิ นธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ , จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย. สุรพล วิรุฬรกั ษ.(2549). นาฏยศิลปร ชั กาลท่ี 9. กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมแหง จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. สมั ภาษณ นางเกศรา บญุ ผาสุก 17 กรกฎาคม 2561, ภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น นางคะนึงนจิ จันทระ 20 สิงหาคม 2561, การสือ่ สารสว นบุคคล นายวิสนั ลม้ิ แกว ภูมิปญญาทอ งถน่ิ ดานการแสดงโขนสด 20 สงิ หาคม 2561, ภมู ปิ ญญาทองถนิ่ นายไวพจน ขนั ศริ ิ 10 กนั ยายน 2561, การสอื่ สารสว นบุคคล นายสมจติ ณ ขนั ศิริ ภมู ปิ ญ ญาทองถิ่น ดานการแสดงโขนสด 9 ตุลาคม 2561, การส่อื สารสวนบุคคล นายสชุ พี ระยับศรี 22 ตุลาคม 2561, ภูมิปญญาทองถนิ่ นายอนพุ งศ อภวิ นั ท ภูมิปญ ญาทอ งถิน่ ดา นดนตรี 13 พฤศจกิ ายน 2561, ภูมิปญ ญาทอ งถ่ิน นายอํานาจ โพธ์อิ อน 24 กรกฎาคม 2561, ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน ดา นการแสดงโขนสด
18 ภาคผนวก
19 ภาพการนาํ เสนอการแสดงโขนสดโดยนกั เรียนนกั ศกึ ษาวิทยาลยั นาฏศิลปลพบรุ ี
20
การลงพ้ืนที่ 21 องคความรู เพอื่ เกบ็ รวบรวม ทองถน่ิ จากภมู ิปญ ญา
22
รูปแบบการนําเสนอแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี โครงการประชมุ สัมมนาเครอื ขายการจัดการความรูฯ ครัง้ ที่12 “การจัดการความรูสมู หาวิทยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรับอาจารย/ บคุ ลากรสายสนับสนุน/ นักศกึ ษา ชอ่ื เรือ่ ง/แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี การปรบั วงมโหรเี ครื่องเด่ยี วเพ่ือการประกวด ชอ่ื -นามสกลุ ผนู ําเสนอ นางสาวสารศิ า ประทีปชวง ชื่อสถาบนั การศกึ ษา วิทยาลยั นาฏศลิ ป หนว ยงาน สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป เบอรโ ทรศพั ทมือถือ 081-696-1912 เบอรโ ทรสาร - E-Mail address [email protected]
องคป ระกอบประเดน็ การเขียนบทความแนวปฏิบัตทิ ีด่ ี โครงการประชุมสัมมนาเครอื ขายการจัดการความรูฯ ครัง้ ท่1ี 2 “การจดั การความรสู ูม หาวิทยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) การปรบั วงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพื่อการประกวด The Improvement for Mahoree Khrueang Deaw in Music Competition สาริศา ประทปี ชวง (Sarisa Prateepchuang) ผูชว ยอธกิ ารบดี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป และ [email protected] .......................................................................................................................................................... บทสรุป การจัดการองคความรูเรื่อง “การปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพ่ือการประกวด” มีวัตถุประสงคเพ่ือเก็บรวบรวม องคความรูเกี่ยวกับการปรับวงมโหรีเครื่องเด่ียวเพ่ือการประกวด และ (2) เพื่อเผยแพรองคความรูจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพื่อการประกวด มีวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการ สัมภาษณแ บบสนทนากลมุ สัมภาษณแ บบเจาะลกึ เพอ่ื คน หาแนวทางในการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพ่ือการประกวด จากครภู าควชิ าดุรยิ างคไทย วทิ ยาลัยนาฏศิลป จํานวน 10 คน ซึ่งเปนบุคคลที่มีความรู มีประสบการณในการปรับวง ดนตรีไทย นําขอมูลที่ไดมาแลกเปลี่ยนเรียนรู สรุปวิเคราะหเน้ือหา นําเสนอผลการจัดการเรียนรู โดยผาน กระบวนการดาํ เนินการจัดการความรู 7 ขั้นตอน พบวา องคประกอบในการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยว ไดแก (1) ผูปรับวงและครูผูฝกสอน เปนผูท่ีมีความรูรอบ มีประสบการณในการปรับวงดนตรี (2) นักดนตรี ตองมีสติปญญาใน การจดจําเพลง มีความแมนยําในทํานองเพลงและการบรรเลง (3) นักรอง เปนผูท่ีมีน้ําเสียงใสกังวาน ไมแหบเครือ มี แกวเสียง รูจักทางในการบรรเลงของเคร่ืองดนตรี (4) เครื่องดนตรี ตองมีระดับเสียงท่ีสอดคลองเหมาะสม ไดรับการ เทียบเสียงใหไดระดับเสียงท่ีถูกตองตามระดับเสียงที่ใชในการบรรเลงมโหรี (5) การฝกซอม มีท้ังการแยกฝกซอม เฉพาะเคร่ืองดนตรีและการฝกซอมรวมวง และ (6) การบรรเลงบนเวทีตองบรรเลงใหมีแนวเพลงมีความสม่ําเสมอ ไมสะดุดในทาํ นองและจังหวะ สํานวนกลอนของเพลงมีความสอดคลองกนั นอกจากน้ี ไดจัดทําองคความรูในรูปแบบ ของเอกสาร เผยแพรองคความรูไปสูครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาควิชาตาง ๆ และวิทยาลัยนาฏศิลปะทั่ว ประเทศ
Summary This study examines the knowledge management for improvement a Mahoree Khrueang Deaw in Misic Competition ensemble based on the following aspects: 1) compilations for adapting knowledge about performance and 2) sharing of knowledge. Data has been collected through individual and group interview of ten professional musicians. Results of the study reveals that: 1) the professors are able to reform the song 2) the musicians are able to remember the tune; 3) singer has a good voice quality; 4) all instruments have to be in tune; 5) individual and group practices are necessary; 6) on stage, the performance has to be smooth on both rhythmic and melodic pattern as well as the transition between vocal and instrumental. คําสาํ คญั การปรับวง / วงมโหรีเครอ่ื งเด่ียว / การประกวดดนตรไี ทย Improvement / Mahoree Khrueang Deaw / Thai Music Competition บทนํา วิทยาลยั นาฏศลิ ป สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป เปน สถานศึกษาที่มงุ ผลติ นกั เรียน นักศึกษา สูความเปนเลิศดาน นาฏศิลปและดุริยางคศิลป ผสมผสานกับวิทยาการที่เปนสากลใหเกิดความงอกงามทางสติปญญา สามารถพัฒนา ตนเองใหเพียบพรอมดวยวิชาการ จริยธรรม และคุณธรรม มีพันธกิจ คือ (1) จัดการศึกษาดานนาฏศิลปและดนตรี ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจนถึงระดับอุดมศึกษาอยางมีคุณภาพ (2) สรางพัฒนาและเผยแพรงานทํานุบํารุง ศิลปวฒั นธรรมภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ ดา นนาฏศิลปและดนตรีมีคุณคาสูสังคม (3) ใหบริการทางวิชาการดานนาฏศิลปและ ดนตรกี ับองคก รภาครัฐ เอกชน และบคุ คลท่วั ไป (4) อนุรกั ษศ ลิ ปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดลอ ม และ (5) เปนแหลง รวมองคความรดู านนาฏศลิ ป และดนตรีทั้งแบบราชสาํ นักและพน้ื บานอันเกิดจากภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน และสอดคลองกับ นโยบายหลักของสถาบันฯ ในฐานะท่ีเปนสถานศึกษาในสังกัดกระทรวง วัฒนธรรม คือ มีหนาท่ีจัดการศึกษาและ สง เสรมิ วชิ าการตั้งแตระดับพื้นฐานจนถึงระดบั อุดมศึกษาดา นนาฏศลิ ป ดรุ ิยางคศิลป คตี ศิลป ชางศิลป และทัศนศิลป ท้งั ไทยและสากล รวมทงั้ ศลิ ปวัฒนธรรมระดับทองถ่ินและระดับชาติ ทําการสอน ทําการแสดง ทําการวิจัย ใหบริการ ทางวชิ าการ ตลอดจนสง เสริม สืบสาน สรา งสรรค ทํานุบํารุง เผยแพรศิลปวัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณของชาติและ ศลิ ปวัฒนธรรมทีห่ ลากหลายของชมุ ชนในทอ งถน่ิ การจัดการความรู (Knowledge Management) เปนการรวบรวมหรือจัดเรียงองคความรูท่ีมีอยูใน หนวยงาน เพื่อในบคุ ลากรในหนว ยงานน้ัน ๆ สามารถที่จะเขา ถึงองคความรเู พอ่ื นํามาพฒั นาตนเองและหนวยงานใหมี ความเจริญกาวหนา และเปนเครื่องมือท่ีใชในการบรรลุเปาหมาย 3 ประการ คือ บรรลุเปาหมายของงาน บรรลุ เปาหมายการพัฒนาคน และบรรลุเปาหมายการพัฒนาองคกรไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู ซ่ึงความรูในองคกร
สวนใหญจะเปนความรูที่ฝงในตัวคน หลักสําคัญของการจัดการความรู คือ กระบวนการจัดการความสัมพันธ ระหวางบุคคลที่ตางคนตางทําหนาท่ีในบทบาทของตนใหดีท่ีสุดแตตองมีการทํางานรวมกัน มีการแลกเปล่ียนเรียนรู เพ่ือพัฒนาการทํางานที่ดีและเหมาะสมท่ีสุด สามารถขับเคลื่อนองคกรใหกลายเปนองคกรแหงการเรียนรูและสังคม แหงการเรียนรูในท่ีสุด ดังน้ัน วิทยาลัยนาฏศิลปไดนําแนวทางในการจัดการความรูมาใชเปนแนวทางในการรวบรวม องคความรทู ม่ี อี ยูใ นบคุ คลในหนวยงานมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดเพ่ือการพัฒนาองคกรใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และ ใหมีความสอดคลองกับ ยุทธศาสตรการพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ในยุทธศาสตรที่ 3 การบริการวิชาการดาน ศิลปวัฒนธรรมท้ังในระดับทองถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ ยุทธศาสตรที่ 4 การสืบสานศิลปวัฒนธรรมและ สรางเสริมคุณคาทางสังคม และมูลคาทางเศรษฐกิจใหกับทองถิ่นและประเทศชาติดวยทุนทางศิลปวัฒนธรรม และ ยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาองคกรใหเปนสถาบันจัดการศึกษาชั้นนําดานนาฏศิลป ดนตรี คีตศิลปและทัศนศิลปใน ระดับชาติและเปนศูนยกลางความรวมมือในระดับนานาชาติบนฐานการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และ สอดคลองกับวสิ ัยทัศนของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป คือ “สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปเปนสถาบันจัดการศึกษาชั้นนํา ดานนาฏศิลป ดนตรี คีตศลิ ป และทศั นศิลปใ นระดับชาตแิ ละเปน ศูนยก ลางความรวมมือในระดับนานาชาติ ภายในป พ.ศ. 2564” จากความสําคญั สาํ คญั ดงั กลา วขา งตน วิทยาลัยนาฏศิลปจึงไดกําหนดแผนพัฒนาการจัดการความรู ดานการ ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น ประจําปงบประมาณ 2561 ข้ึน โดยมีนโยบายกําหนดการนําการจัดการ ความรู ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่นมาใชเพ่ือการบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ เนน การแลกเปลีย่ นเรยี นรูจากองคค วามรแู ละทักษะที่มีในทรัพยากรบุคคลของวิทยาลัยนาฏศิลป ซ่ึงในปการศึกษา 2561 นี้ไดทําการจดั การความรู เกย่ี วกับ การปรบั วงมโหรเี ครอื่ งเดี่ยวเพ่ือการประกวด ท้ังน้ีเพราะกระบวนการปรับวงดนตรี ไทยเปนศาสตรที่ตองอาศัยความรู ทักษะ ความเช่ียวชาญและประสบการณทางดนตรีเปนอยางมากท่ีจะนําพาวง ดนตรีใหบรรเลงดวยความเรียบรอย และไพเราะ ดังน้ันจึงมีความจําเปนเปนอยางยิ่งท่ีตองรวบรวมองคความรูใน ศาสตรแ ขนงนไี้ ว เพอื่ เปน แนวทางในการศกึ ษาดา นดนตรไี ทยตอไป วิธกี ารดําเนนิ งาน การจัดการองคความรูดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ิน เรื่อง “การปรับวงมโหรีเคร่ืองเดี่ยว เพื่อการประกวด” มีวัตถุประสงคเพื่อเก็บรวบรวมองคความรูเก่ียวกับการปรับวงมโหรีเคร่ืองเด่ียวเพ่ือการประกวด และ (2) เพื่อเผยแพรองคความรูจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพื่อการประกวด มวี ธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมลู โดยการสัมภาษณแบบสนทนากลมุ สัมภาษณแบบเจาะลึก และการแลกเปล่ียนเรียนรู เพ่ือ คน หาแนวทางในการปรับวงมโหรเี ครื่องเดย่ี วเพอ่ื การประกวด จากครูภาควิชาดุริยางคไ ทย วิทยาลัยนาฏศิลป จํานวน 10 คน ซึง่ เปนบคุ ลากรที่มีประสบการณ มีความรูความสามารถในการปรับวงดนตรีไทย นําขอมูลในการปรับวงมโหรี มาแลกเปลี่ยนเรยี นรู สรุปวิเคราะหเน้ือหา และนําเสนอผลการจัดการเรียนรู โดยผานกระบวนการดําเนินการจัดการ ความรู 7 ขน้ั ตอน มรี ายละเอียดดังนี้
1. การบงชี้ หรอื คนหาความรู แตงตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อหาประเด็น ความรูจากบุคลากรภาควิชาดุริยางคไทย วิทยาลัยนาฏศิลป ท่ีเปนครูผูฝกสอน และครูผูปรับวงดนตรีและการขับรอง วงมโหรีเพ่อื การประกวดดนตรีไทยในรายการ “ประลองเพลง ประเลงมโหรี” คณะกรรมการจดั การความรู ดานการทาํ นบุ าํ รุงศิลปวัฒนธรรมภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ ในสวนของคณะทํางาน ได รว มกนั กําหนดขอบเขตของการปรบั วงมโหรีเคร่ืองเดย่ี วเพ่ือการประกวดและกําหนดแนวคําถามเพอื่ นาํ องคค วามรูท่ี ปรากฏในตัวของบุคคลขอ มลู ออกมา โดยระดมความคดิ เพื่อหาประเดน็ หวั ขอหลักที่จะดําเนินการจัดการความรู โดย ไดประเดน็ ความรูท่ีตองการศึกษา ดังนี้ 1) แนวคิด หรอื หลักการในการปรับวงมโหรเี ครอื่ งเดยี่ วอยางไร 2) การวางแผนและลําดบั ข้นั ตอนในปรับวงมโหรเี ครื่องเดี่ยวเพ่ือการประกวดเปน อยางไร 3) องคประกอบในการปรบั วงมโหรีเครือ่ งเดี่ยวมีอะไรบาง 4) ปญ หา อปุ สรรคในการปรับวงมโหรีเครือ่ งเดย่ี ว และแนวทางในการแกไ ขปญ หา 2. การสรา งและแสวงหาความรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น มีการระดมความคิดและ แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน รวมท้ังกาํ หนดหนาท่ีในการดําเนินงานสรางและแสวงหาความรู ในหัวขอเกี่ยวกับ “การปรับวงมโหรี” กําหนดกิจกรรมการรวมสนทนากลุมอยางไมเปนทางการ และการสนทนารายบุคคลเพื่อแสวงหา องคค วามรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ิน รวมกันหาขอสรุปเกี่ยวกับ การปรับวงมโหรเี ครื่องเด่ียวเพ่อื การประกวด โดยเลขานุการ คณะกรรมการจดั การความรนู าํ ขอมูลแตละคร้ัง นําเสนอ ในการประชุมเพื่อใหบุคลากรสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู ท้ังน้ีอาจจะมีขอเสนอแนะ หรือความรูใหมจากการประชุม เพิ่มเติม 3. การจดั การความรใู หเปน ระบบ ในการจดั การความรูใหเปนระบบ คณะกรรมการการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญา ทองถิ่น ไดนําขอมูลที่ไดจากการสรางและการแสวงหาความรูมาจัดระบบขอมูล ตรวจสอบขอมูลใหมีความสมบูรณ เรยี บเรยี ง และสรุปเปนองคค วามรเู กยี่ วกบั “การปรบั วงมโหรเี ครื่องเด่ยี วเพือ่ การประกวด” เพ่ือใหสามารถคนหาและ นาํ ความรูไปใชป ระโยชนได 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู ในการประมวลและกลั่นกรองความรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ไดดาํ เนินการวพิ ากษแ ละแลกเปลี่ยนความรูของคณะกรรมการฯ เพื่อดําเนินการจัดทําเอกสารสรุป
องคค วามรู ตรวจสอบความถกู ตองของเน้อื หา แกไ ขขอ บกพรอง ปรับภาษาเพื่อใหอานแลวเขาใจงาย จัดทํารูปเลมให เปน มาตรฐาน โดยใหเ นื้อหาใหม ีคณุ ภาพสอดคลองกับความตอ งการของครู อาจารย 5. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู จัดทําหนังสือเวียนเพ่ือนําเสนอองคความรูเก่ียวกับ “การปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพื่อการประกวด” จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรูตามภาควิชาตาง ๆ และวิทยาลัยนาฏศิลปท่ัวประเทศ เพื่อใหครูอาจารย ไดนําไปใชประโยชน นอกจากน้ีนาํ องคค วามรเู ผยแพร ใน Blog KM ของวิทยาลัย และจดั นทิ รรศการในสปั ดาหว ชิ าการของวทิ ยาลัยนาฏศลิ ป 6. การเขาถึงความรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น ไดนําเอกสารการ จัดการความรูท่ีไดจากการแลกเปล่ียนเรยี นรู เรอ่ื ง “การปรับวงมโหรีเครือ่ งเดยี่ วเพ่อื การประกวด” จัดทําองคความรู ในรูปแบบของเอกสาร โดยมีกระบวนการในการเผยแพรองคความรูไปสูครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาควิชา ตาง ๆ และวิทยาลัยนาฏศิลปทั่วประเทศ หลากหลายชองทาง เชน การประชุมสัมมนา การเผยแพรในระบบเอกสาร ทางราชการผานบันทึกราชการ การเผยแพรผานเว็บไซด บอรดประชาสัมพันธ และชองทางอื่น ๆ ของวิทยาลัยนาฏศิลป เพื่องา ยตอ การสืบคน ศกึ ษาคน ควา และการใหข อ เสนอแนะตาง ๆ 7. การเรยี นรู หลังจากการดําเนินการเผยแพรองคความรู เรื่อง “การปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพื่อการประกวด” ไดแก ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในภาควิชาตาง ๆ และวิทยาลยั นาฏศลิ ปทั่วประเทศ และผสู นใจผานชองทางตาง ๆ พบวา มีผูที่สนใจนําความรูท่ีไดจากการจัดการความรูไปใชเปนใชเปนแนวทางในการปรับวงดนตรีไทยในลักษณะอื่น ๆ นอกจากน้ี คณะกรรมการการจัดการความรู ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ินไดนําผลจากการนํา องคความรูไปใชมาแกไข ปรับปรุงองคความรูเดิมตามขอเสนอแนะตาง ๆ เพ่ือใหมีความชัดเจน และมีความสมบูรณ ขององคค วามรูและจดั ทําบญั ชีผูนําองคความรูไปใชแลวประสบผลสําเร็จตอไป ผลและอภปิ รายผลการดําเนนิ งาน ในการดําเนนิ การจัดการความรู ดานทํานุบํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาทองถิ่น เร่ือง “การปรับวงมโหรี เครือ่ งเดี่ยวเพ่อื การประกวด” เพ่ือใหสามารถคน หาและนําความรูไปใชประโยชนใ นการปรบั วงมโหรีตองคํานึงถึงหลัก สําคญั คือ “องคป ระกอบในการปรับวงมโหรีเพื่อการประกวด” ดังนี้ 1. ผปู รบั วง และครูผูฝก สอน ควรมีคุณสมบัติดังตอ ไปนี้ - ตองเปน ผูท่ีมคี วามรูร อบ รูล ึกในดา นการบรรเลงดนตรีไทยและการขบั รอง เพลงไทย - เขา ใจระเบียบแบบแผนและขนบในการบรรเลงในวงตา ง ๆ เปน อยา งดี - มปี ระสบการณใ นการปรบั วงดนตรี - มีความเชีย่ วชาญในการคดิ ประดิษฐส าํ นวนกลอนของเครื่องดนตรีชนดิ ตาง ๆ ใหมีความ เหมาะสมกับการบรรเลงในวงมโหรี
- มีความสามารถในการประเมินความไพเราะ ความกลมกลืน และสุนทรียะของบทเพลงทีบ่ รรเลง ออกมาอยางเปนกลาง ไมเขา ขา งตัวเอง - สามารถวางแผนในการปรับวงมโหรเี พอื่ การประกวดไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ นาํ พาไปสู จุดมงุ หมายได 2. นักดนตรี มีคุณสมบตั ดิ งั นี้ - เปน ผูที่มสี ตปิ ญ ญาในการจดจําเพลง สาํ นวนกลอนตาง ๆ ไดเปนอยางดี - เปน ผทู ม่ี ีความแมนยําในทาํ นองเพลงและการบรรเลง - มคี วามชาํ นาญ มีฝม ือในการบรรเลงเครอ่ื งดนตรีของตนเอง - เปน ผูทมี่ สี ติ มีปฏภิ าณไหวพริบ รจู ักการแกไขปญหาเฉพาะหนา - มีความสามารถควบคุมอารมณไดเ ปน อยา งดี 3. นกั รอ ง ในการบรรเลงวงมโหรเี ครื่องเดีย่ วท่ีมีการรับรองน้ัน การคดั เลอื กผขู ับรองถือเปน กระบวนการทส่ี ําคัญอกี ประการหนึ่ง เพราะการขบั รองสามารถสื่อใหผ ูฟงเกดิ อารมณค ลอยตามในบทเพลงเปนอยา งดี นกั รองควรมคี ุณสมบัตดิ ังน้ี - เปนผทู มี่ นี ้าํ เสียงใสกังวาน ไมแหบเครอื มีแกว เสยี ง - เปน ผทู ีร่ จู กั การใชเ สียง การหายใจ การใชกลวธิ กี ารสรางสรรคเสยี งใหม ีความไพเราะ มที ักษะ การเชอื่ มประโยครอ งที่ดี - เปนผูทอี่ อกเสยี งอกั ขระตองชัดเจนถกู ตองตามหลักการขบั รองเพลงไทย - เปน ผทู ่จี ดจําเนือ้ รองและทาํ นองการขับรอ งไดด ี - เปน ผูท ี่รจู ักทางในการบรรเลงของเคร่ืองดนตรี - เปน ผูท ่ีมีสติ มีปฏิภาณไหวพริบ รจู ักการแกไขปญหาเฉพาะหนา - มคี วามสามารถควบคุมอารมณไ ดเปน อยา งดี 4. เคร่ืองดนตรี ใหการฝกซอมเพ่ือใหน ักเรียนมีความทักษะชํานาญในเครื่องดนตรี ซ่ึงเปนสิง่ ท่ีสาํ คัญมาก เมอ่ื ประกวด ผฝู ก สอนควรคาํ นึงถึงส่งิ ตาง ๆ ดงั นี้ - คุณภาพของเครอ่ื งดนตรี ตองเลือกเครื่องดนตรีทม่ี ีคุณภาพเสยี งดี - เครอื่ งดนตรีตอ งไดรบั การเทยี บเสียงใหไ ดระดบั เสยี งท่ีถูกตอ งตามระดับเสียงทีใ่ ชใ นการบรรเลงมโหรี - ตอ งตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งดนตรกี อนการบรรเลงทกุ ครั้ง เมอ่ื พบวา เสยี งดนตรีไมสมบูรณ ชํารดุ ระดับเสียงเพ้ียน จะตองซอ มแซมใหเ ครือ่ งดนตรใี หม ีคณุ ภาพพรอมที่จะใชบ รรเลง - เครื่องดนตรที ีผ่ ูประกวดสามารถนําเคร่ืองสว นตัวไปบรรเลงได ตองเลือกเคร่ืองดนตรีท่ีมีคุณภาพ ระดับเสียงเหมาะสมกบั ระดบั ฝม ือของผบู รรเลง
5. การฝก ซอ ม ในกระบวนนจี้ ดั เปน ข้นั ตอนท่สี าํ คญั ซึง่ ตองมกี ารวางแผนในการฝก ซอมใหเ หมาะสม ไมก ระทบกบั การเรียนในรายวิชาอื่น ๆ ของนักเรียน แบงไดเปน - การแยกฝกซอม (ฝกซอมเฉพาะเคร่ืองดนตรีและการขับรอง) เปนการฝกซอมโดยครูผูสอน ในแตเ ครือ่ งมือตองตอเพลงสําหรบั ใชในการประกวดทีเ่ ปน ทางบรรเลงเฉพาะเครอื่ งมือของ ตนเอง ครสู อนขบั รองก็ตองตอทางขับรอ ง โดยครูผูสอนตองฝกนักเรียนใหส ามารถบรรเลง ดนตรแี ละขับรองไดอ ยางแมนยาํ - การฝกซอมรวมวง เปน ข้นั ตอนทีส่ ําคญั เปนกระบวนการปรบั วงเพื่อเขา สกู ระบวนการปรบั วง ซ่งึ เปนขั้นตอนท่ีสําคัญ เพราะจะตองมีการปรับแตงสาํ นวนกลอนเพอ่ื ใหการบรรเลงมีความ ไพเราะ สมบรู ณ และความกลมกลนื ของเสียง 6. การบรรเลงบนเวที - กอนข้ึนบรรเลงบนเวทีทุกครั้งใหมีการนงั่ สมาธิ เพอื่ ใหนกั เรียนไดสงบจิตใจ ลดการต่ืนเตน ประหมา และใหมสี ติมากขึน้ - ในการบรรเลงบนเวทีจะตองบรรเลงใหมีแนวเพลงมีความสมํา่ เสมอ การบรรเลงและขับรอง ไมส ะดุดในทาํ นองและจงั หวะ สาํ นวนกลอนของเพลงมคี วามสอดคลองกัน มคี วามสมั พนั ธเ น้อื เพลง การรับรอง-สง รอ งมีความกลมกลนื เรียบรอย มคี วามสมั พันธเ ช่อื มโยงกนั อยา งสนทิ สนม การบรรเลง บนเวที ผูปรบั วง การ องคประกอบ และ ฝก ซอ ม ครูผสู อน ในการปรับวงมโหรี เพ่อื การประกวด เครอ่ื ง ดนตรี นกั ดนตรี นักรอง ภาพที่ 1 องคประกอบการปรับวงมโหรเี ครื่องเดี่ยวเพ่ือการประกวด ภาควิชาดุริยางคไ ทย วิทยาลัยนาฏศลิ ป
การดําเนินกิจกรรมการจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน เรื่อง “การปรับวงมโหรี เครอื่ งเด่ยี วเพื่อการประกวด” พบวา ปจจัยที่สงผลใหวงมโหรีเคร่ืองเดี่ยวสามารถบรรเลงใหบรรลุวัตถุประสงคในการ บรรเลงเพ่ือการประกวดน้ัน จะตองมีองคประกอบหลายอยาง ไมวาจะเปนผูปรับวง หรือครูผูฝกสอน นักดนตรี นักรอง เคร่ืองดนตรี การฝกซอม และการบรรเลงบนเวที โดยเฉพาะอยางย่ิงการควบคุมสถานการณและการแกไข ปญหาเฉพาะหนาเมื่อบรรเลงอยางมีสติ เปนองคประกอบที่จะนําพาไปสูความสําเร็จได ซ่ึงจากการวบรวมองคความรู เก่ยี วกับการปรบั วงมโหรนี ี้ ไดพ บปญหาในการเก็บรวบรวมองคความรู คือ เน่ืองดวยบุคคลขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการปรับ วงมโหรีเคร่ืองเด่ียวมีภาระงานมากจึงไมสามารถเขารวมกระบวนการสนทนากลุมได คณะทํางานจึงวางแผน กระบวนการเก็บรวมรวมองคความรูโดยในการสนทนากลุมยอยและสนทนารายบุคคล เพ่ือใหไดมาซึ่งองคความรูที่ ตอ งการ สรปุ การจัดการความรู ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น เร่ือง “การปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยว เพื่อการประกวด” ควรคํานึงถึงหลักสําคัญ คือ คณะกรรมการการจัดการองคความรูตองมีการประชุมวางแผนในการ รวบรวมองคค วามรู โดยตองกาํ หนดขอบเขตและกําหนดแนวคําถามเพ่ือนําองคความรูท่ีปรากฏในตัวของบุคคลขอมูล ออกมา โดยระดมความคิดเพื่อหาประเด็นหัวขอหลักท่ีจะดําเนินการจัดการความรูในเร่ืองของการปรับวงมโหรี ซึ่ง หลงั จากเก็บรวบรวมองคความรูตองมีการประชุมปรึกษาหารือเพื่อจัดระเบียบขอมูล เรียบเรียง วิเคราะหขอมูล และ นาํ มาสรปุ เปนความเรียงเพอื่ ใหเปน รปู ธรรม โดยสรุปไดเปน องคป ระกอบการปรบั วงมโหรีเคร่ืองเด่ียวเพ่ือการประกวด แยกเปน หัวขอสําคญั ได 6 ประการ คือ (1) ผูปรับวงและครผู ูฝกสอน เปน ผูท่มี ีความรรู อบ มีประสบการณในการปรับ วงดนตรี (2) นักดนตรี ตองมีสติปญญาในการจดจําเพลง มีความแมนยําในทํานองเพลงและการบรรเลง (3) นักรอง เปนผูที่มีน้ําเสียงใสกังวาน ไมแหบเครือ มีแกวเสียง รูจักทางในการบรรเลงของเครื่องดนตรี (4) เคร่ืองดนตรี ตองมี ระดบั เสยี งที่สอดคลอ งเหมาะสม ไดรับการเทยี บเสียงใหไดระดับเสียงท่ีถูกตองตามระดับเสียงที่ใชในการบรรเลงมโหรี (5) การฝกซอม มีท้ังการแยกฝกซอมเฉพาะเคร่ืองดนตรีและการฝกซอมรวมวง และ (6) การบรรเลงบนเวทีตอง บรรเลงใหมีแนวเพลงมีความสมํ่าเสมอ ไมสะดุดในทํานองและจังหวะ สํานวนกลอนของเพลงมีความสอดคลองกัน ซึ่งศาสตรในการปรับดนตรีไทยโดยมีจุดมุงหมายเพ่ือการประกวดมีรายละเอียดคอนขางมาก ดังนั้นตองแยกประเด็น จากหัวขอ ใหญเปนหัวขอ ยอ ย ๆ เพื่อเขา ถึงรายละเอยี ดดังกลาวใหมากท่สี ุด เพื่อใหไ ดมาซึง่ องคความรูดานดนตรีไทยท่ี ทรงคณุ คา ยงั ประโยชนต อ วงการศึกษาดา นดนตรีอันเปน ศลิ ปวฒั นธรรมของชาตสิ ืบไป นอกจากน้ี วิทยาลัยนาฏศิลป ยังมีองคความรูดานศิลปวัฒนธรรมดนตรีแขนงตาง ๆ ท่ีเปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติที่ยังไมไดรวบรวมใหเห็นเปนรูปธรรม อาทิ การขับรองประสานเสียงเพ่ือการประกวด การบรรเลง เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีของดนตรีสากล วงบรรเลงวงปพาทยไมนวมเพ่ือการประกวด เพ่ือใหวิทยาลัยนาฏศิลป สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป เปน สถาบันจัดการศึกษาช้ันนําดา นนาฏศิลป ดนตรี คีตศลิ ป และทัศนศิลปในระดับชาติและ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251