Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

BPI

Published by taweelap_s, 2019-05-21 02:38:52

Description: BPI

Search

Read the Text Version

เปนศูนยกลางความรวมมือในระดับนานาชาติ ตอไปจึงควรที่จะตองมีการรวบรวมองคความรูดังกลาวไวเพื่อเปนฐาน ในการพัฒนาองคก รตอ ไป บรรณานกุ รม เจตชรนิ ทร จิรสันติธรรม. 2553. ทฤษฎีการขับรองเพลงไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. เฉลิมศักด์ิ พิกุลศรี. 2542. สังคีตนิยมวาดวยดนตรีไทย (ฉบับปรับปรุง). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ณิชาภัทร อ๊ึงเหมอนันต. 2556. การประกวดวงมโหรี “ประลองเพลง ประเลงมโหรี” ตามพระราชดําริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชา ดุรยิ างคศลิ ปไทย บณั ฑิตศึกษา สถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป. บุญชวย โสวัตร และคณะ. 2539. การปรับวงดนตรีไทยขั้นสูง. กรุงเทพฯ: เรือนแกวการพิมพ. พีรัญยา วิสิฐจันทรกูล. 2558. แนวทางการฝกซอมวงมโหรีเคร่ืองเดี่ยวระดับมัธยมศึกษา: กรณีศึกษา โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ดนตรศี ึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั . มนตรี ตราโมท. 2540. คําบรรยายวิชาดุริยางคศาสตรไทย โดย นายบุญธรรม ตราโมท พ.ศ. 2481. กรุงเทพฯ: ศิลปสนองการพิมพ. สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป. (ม.ป.ป.). แผนกลยุทธการพัฒนาสํานักงานอธกิ ารบดี พ.ศ. 2560-2564 (สําหรบั นําไปใช ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561). สืบคนเม่อื วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561, จาก https://drive.google.com/file/d/1MXVdpSmbEmfiTF4RHZqe6JNW4mLaDvuG/view สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป. (ม.ป.ป.). แผนพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป พ.ศ. 2560 – 2564 (ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562). นครปฐม: กองนโยบายและแผน สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป กระทรวงวัฒนธรรม.

ชอื่ เรื่อง/แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี เทคนคิ การเขียนงานวจิ ัยทางดานนาฏศลิ ปไทย นางเกษร เอมโอด ชอ่ื -นามสกุล ผนู ําเสนอ วทิ ยาลัยนาฏศิลปสุโขทยั ชือ่ สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป 0897070300 หนว ยงาน 055613508 [email protected] เบอรโ ทรศัพทมือถือ เบอรโ ทรสาร E-Mail address เทคนิคการเขยี นงานวิจัยทางดา นนาฏศลิ ปไ ทย Technique to write the research about Thai Dramatic Arts นางเกษร เอมโอด ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ วิทยาลยั นาฏศลิ ปสโุ ขทัย สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป บทสรุป การจัดการความรูเร่ือง “เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย” เปนการ จัดการความรูดานการวิจัย จัดทําข้ึนโดยวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย เพื่อจัดทําคูมือการเขียน งานวิจัย เรอ่ื ง เทคนคิ การเขียนงานวจิ ัยทางดา นนาฏศิลปไทย สําหรับเปนแนวทางใหแกบุคลากร นักศึกษาทางสาขานาฏศิลปไทย ในกระบวนการการจัดการความรู เร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสุโขทัยดําเนนิ การแตง ตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีหนาที่ในการดําเนินงานใหเกิดกิจกรรมตามกระบวนการการจัดการความรู โดย เร่ิมตั้งแตจัดประชุมเพื่อคนหาประเด็นความรูท่ีมีความสําคัญตอหนวยงานตามประเด็น ยุทธศาสตรและดําเนินการจัดทําแผนการจัดการความรู กําหนดกิจกรรม ผูรับผิดชอบกิจกรรม จากน้ันจึงแตงต้ังบุคลากรภาควิชานาฏศิลปท่ีสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท และมี ประสบการณในการเขียนงานวิจัย เปนคณะกรรมการการจดั การความรูดานการวิจัย เร่ืองเทคนิค การเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย เพื่อรวมแลกเปล่ียนเรียนรู โดยมีคณะกรรมการการ จัดการความรูดาํ เนนิ การใหเปนไปตามข้นั ตอนตั้งแตการแสวงหาความรู การจัดการความรูใหเปน ระบบ การประมวลและกลนั่ กรองความรู นาํ ขอมูลทผ่ี า นการประมวลและกลั่นกรองแลวมาจัดทํา เปน คูม ือการเขียนงานวจิ ยั เรือ่ ง เทคนิคการเขยี นงานวิจัยดา นนาฏศลิ ปไ ทย เม่ือดําเนินการจัดทําเปนคูมือเทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทยเปนที่ เรียบรอย คณะกรรมการการจัดการความรูนําคูมือเผยแพรใหแกบุคลากรภาควิชานาฏศิลป

วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยและนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ท่ีกําลังเรียนรายวิชาที่มีเนื้อหา เก่ียวขอ งกับการเขียนงานวิจยั นอกจากนนั้ คณะกรรมการการจัดการความรูจัดทํา facebook ให ความรูแกบุคลากร นักศึกษาท่ีมีขอสงสัยไดซักถามโตตอบกันโดยมีคณะกรรมการคอยตอบขอ สงสัย และพัฒนานักวจิ ัยรนุ ใหมผ านระบบ E-learning คาํ สาํ คญั เทคนคิ การเขยี น วจิ ยั ดานนาฏศลิ ปไทย Technique to write the research about Thai Dramatic Arts Summary Knowledge management title “ Technique to write the research about Thai Dramatic Arts ” is a knowledge management about research which organized by Sukhothai College of Dramatic Arts. The goal is to do work manual in writing the research about Technique to write the research about Thai Dramatic Arts. This can be a guide line for the personnels and the students who study thai dramatic arts. Procedure to manage knowledge about Technique to write the research about Thai Dramatic Arts , Sukhothai College of Dramatic Arts appointed the board of 2018 annual budget to manage it. They start by organizing the meeting to search the important knowledge which concern with the strategic issues of the department , plan and define activities , define the responsible persons. After that appoint the personnels of Dramatic Arts Department who graduated Master’s degree and have experience in writing a research to be the committees. They will manage the knowledge about research , title Technique to write the research about Thai Dramatic Arts. They exchange , process in system , and scrutinize the knowledge and then do the work manual in writing the research about Thai Dramatic Arts , title Technique to write the research about Thai Dramatic Arts. After the work manual of Technique to write the research about Thai Dramatic Arts finished , the committees publish the work manual to the personnels of Dramatic Arts Deparment of Sukhothai College of

Dramatic Arts and the students who are studying about writing a research in Bachelor Degree level. And also the committees do facebook for the personnels and the students who may have questions and they can retaliate each other. More over , the committees develop the young researchers by E-learning system. keywords : Technique to write the research about Thai Dramatic Arts บทนํา การวิจัยเปนกระบวนการแสวงหาความรูความจริงท่ีมีระบบและวิธีการที่นาเช่ือถือเพ่ือ นําความรูความจริงท่ีไดนั้นไปใชในการตัดสินใจแกไขปญหาหรือกอใหเกิดความรูใหมๆ ปจจุบัน ประเทศไทยไดใหความสําคัญกับการทํางานวิจัยเปนอยางมาก รัฐบาลมีการจัดงบประมาณ สนับสนุนใหผูท่ีทํางานวิจัย และมีการจัดต้ังหนวยงานเพ่ือดูแลดานการวิจัยโดยเฉพาะไดแก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โดยมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการวิจัย และมีบทบาทเปน หนวยงานกลางในการทําหนาท่ีเสนอแนะนโยบายและแผนการวิจัยท้ังดานวิทยาศาสตร ดาน มนษุ ยศาสตร และสังคมศาสตร นาฏศิลปไทยเปนศาสตรอีกแขนงหนึ่งที่มีความสําคัญในดานความคงอยูของวัฒนธรรม ของชาติ ศาสตรดานนาฏศิลปเปนศาสตรช้ันสูง มีเคล็ดลับ หลักวิชาตาง ๆ ที่มีความซับซอนที่ผู ศึกษาจะตองคนหาความจริงโดยใชกระบวนการวิจัยเพ่ือใหไดขอมูลที่ชัดเจน ตามหลักวิชาการ ซึ่งงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก งานวิจัยนาฏศิลปอนุรักษและ งานวจิ ยั นาฏศลิ ปส รา งสรรค สําหรับสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปน้ันมีการสงเสริมใหบุคลกรจัดทํางานวิจัย โดยมีการจัด อบรมในการเขียนเคาโครงเพ่ือขอทุนวิจัย ดังน้ันวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยจึงสงเสริมใหบุคลากร ทํางานวิจัย เพราะนอกจากจะไดผลการวิจัยท่ีเปนประโยชนตอหนวยงานแลว ผูท่ีทํางานวิจัยยัง สามารถนํางานวิจัยมาดําเนินการขอตําแหนงทางวิชาการไดอีกดวย แตผูท่ีทํางานวิจัยกลับมี จํานวนไมมากเทาที่ควร อันเนื่องมาจากบุคลากรยังคิดวางานวิจัยเปนเร่ืองที่ยาก จึงไมกลาทํา ดวยเหตุน้ีงานจัดการความรู วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยจึงดําเนินจัดการความรู เรื่อง เทคนิคการ

เขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย ข้ึน เพื่อจัดทําคูมือการเขียนงานวิจัยดานนาฏศิลปไทย สาํ หรบั เปน แนวทางใหแกบุคลากรที่ยังไมกลาทํางานวิจัย และยังเปนแนวทางใหแกนักศึกษาทาง สาขานาฏศิลปไทย ผูสนใจท่ีอยากเริ่มทํางานวิจัยไดมีคูมือในการเขียนงานวิจัยไวเปนแนวทาง อกี ดวย วธิ กี ารดําเนินงาน การจดั การความรูเรอ่ื ง เทคนิคการเขียนงานวจิ ยั ดานนาฏศิลปไ ทย ไดดาํ เนนิ การ กจิ กรรมตามแผนการจัดการความรทู ง้ั 7 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1. การคน หาความรู 1.1 คณะทํางานการจัดการความรูของวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยดําเนินการประชุมเพื่อ คน หาวา ความรใู ดมคี วามสาํ คัญ ตอ การจัดการความรูดานการวิจัย ซึ่งคณะทํางานไดต้ังเกณฑใน การพิจารณา โดยใหความสําคัญไปที่การนําไปพัฒนาบุคลากรในการสรางงานวิจัย และการนํา องคความรูไปใชพัฒนาการเขียนงานวิจัย จึงเห็นสมควรวาควรดําเนินการจัดการความรูเรื่อง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย เพื่อเปนแนวทางใหนักวิจัยรุนใหมนําไปใชเขียน งานวจิ ัย และเพอื่ เปนแนวทางใหน กั ศึกษาไปใชใ นการเขียนศลิ ปนิพนธ 1.2 คณะทํางานการจัดการความรู จัดทําแผนการจัดการความรู km 1, km 2 เร่ือง แนวทางการเขยี นงานวจิ ัยทางดา นนาฏศลิ ปไทย 1.3 แตงตั้งคณะกรรมการจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดาน นาฏศิลปไทย โดยคัดเลือกเฉพาะบุคลากรภาควิชานาฏศิลปของวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย ท่สี ําเรจ็ การศกึ ษาในระดับปริญญาโท และมีประสบการณใ นการเขียนงานวจิ ยั 1.4 คณะกรรมการจัดการความรูเรื่อง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย ประชมุ รวมกัน จัดทาํ Knowledge Mapping เพ่ือเปนแนวทางที่ชวยใหคณะกรรมการสามารถ ดําเนินการรวบรวมองคความรไู ดครบถว นทุกประเด็นความรูท่ีมีความสําคัญตอแนวทางการเขียน งานวิจยั ทางดา นนาฏศิลปไ ทย 2. การสรา งและแสวงหาความรู 2.1 จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยบุคลากรท่ีไดรับการแตงตั้งเปนคณะกรรมการ จัดการความรูเรื่อง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย สรางบรรยากาศท่ีดีในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู เชน การเชิญผูอํานวยการมาเปดการประชุม จัดเลี้ยงอาหารวางแกผูเขารวม แลกเปล่ยี นความรู

2.2 แตงตั้งประธานของกลุมเพ่ือดําเนินการประชุมตามหัวขอท่ีกําหนดไวใน Knowledge Mapping และแตงตั้งเลขาของกลุมเพ่ือทําหนาที่บันทึกขอมูลในการประชุม แลกเปลย่ี นความรู 2.3 เลขาของกลมุ ดําเนนิ การถอดความรแู ละจดั พิมพเปน ไฟลเ วิรด 2.4 คณะกรรมการจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย ดําเนินการรวบรวมทฤษฎีที่เก่ียวของกับการเขียนงานวิจัยดานนาฏศิลปไทยจากเอกสารตํารา ตา ง ๆ 3. การจัดความรใู หเ ปน ระบบ 3.1 คณะกรรมการไดนําความรูทไี่ ดประชุมแลกเปล่ยี นเรยี นรแู ละถอดความรเู ปนที่ เรียบรอ ย แลวนนั้ มาจัดใหเปนหมวดหมตู ามท่ีไดกําหนดไวใน Knowledge Mapping 3.2 คณะทํางานการจดั การความรูประสานงานกับงานเทคโนโลยเี พ่ือจดั ทําฐานขอมูล เพ่ือใหบคุ ลากรและผสู นใจเขาถงึ แหลงขอมูลไดสะดวก รวดเร็ว 4. การประมวลและกล่นั กรองความรู 4.1 นาํ ความรทู ่จี ัดหมวดหมูมาปรบั ปรงุ ภาษาใหเ ปน ภาษาท่ีอานเขา ใจงา ยมลี ําดบั ข้ันตอน แนวทางทช่ี ดั เจน 4.2 นาํ ความรูท ไี่ ดป รับปรุงภาษาแลวนาํ มาจัดทําเปน รูปเลมแบบมาตรฐาน 4.3 คณะกรรมการรว มกันตรวจสอบเอกสารและแกไ ขขอ บกพรองใหมีความสมบรู ณ มากข้ึน 5. การเขาถึงความรู 5.1 นําเอกสารองคความรูเร่ือง แนวทางการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย เผยแพรใหแกบุคลากรภาควิชานาฏศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยและ นักศึกษาในระดับ ปรญิ ญาตรี ทกี่ าํ ลงั เรียนรายวชิ าทม่ี เี นอ้ื หาเกย่ี วของกับการเขียนงานวิจัย 5.2 นําเอกสารองคความรูเร่ือง แนวทางการเขียนงานวิจัยดานนาฏศิลปไทย เผยแพร ทางฐานความรู โดยสามารถคนควาผานทางทางเว็บไซดของวิทยาลัย ใหแกผูที่สนใจเขาไปศึกษา ซึ่งคณะทํางานจัดการความรูจะดําเนินประชาสัมพันธการเขาถึงขอมูลทาง facebook ของ วทิ ยาลัย และ facebook สวนตวั 6. การแบง ปนแลกเปล่ียนความรู

6.1. คณะกรรมการประสานกับงานเทคโนโลยีเพ่ือจัดทํา facebook สําหรับงานองค ความรู ใหบคุ ลากรและนกั ศกึ ษาทมี่ ีขอ สงสยั ไดซักถามโตต อบกนั โดยมีคณะกรรมการคอยตอบขอ สงสัย 6.2. เปด หลกั สตู รอบรมเพื่อพัฒนานักวจิ ัยรนุ ใหมผานระบบ E-learning 7. การเรียนรู 7.1 บุคลากรและนักศึกษาระดับปริญญาตรีนําองคความรูไปใชในการเขียนงานวิจัย ทางดานนาฏศิลปไ ทย 7.2 คณะทํางานการจดั การความรูจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูใหแกบุคลากรและนักศึกษา ระดับปริญญาตรีท่ีนําองคความรูไปใช ไดมีโอกาสมาเลาประสบการณกระบวนการทํางานวิจัย ของตนเองและนําผลงานวิจัยที่เกิดจากการนําองคความรูไปใชมานําเสนอในเวทีแลกเปล่ียน เรียนรู โดยมีคณะกรรมการการติดตามผล โดยใชแบบสอบถาม สัมภาษณ และจัดทําสรุปผล ความกา วหนาระดบั ความสําเรจ็ ของการสรางนักวจิ ัยรนุ ใหม 7.3 ผูอํานวยการวิทยาลัยมอบเกียรติบัตร และกลาวช่ืนชมในท่ีประชุม เพ่ือเปนการ สรางขวญั กาํ ลงั ใจใหแ กน กั วิจยั รนุ ใหม ผลและอภิปรายผลการดาํ เนนิ งาน การจัดการความรู เร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยดานนาฏศิลปไทย จัดทําข้ึนโดยมี วัตถุประสงค เพ่ือจัดทําคูมือการเขียนงานวิจัยดานนาฏศิลปไทย สําหรับเปนแนวทางใหแก บคุ ลากรที่ยังไมกลาทํางานวิจัย และยงั เปน แนวทางใหแ กนักศกึ ษาทางสาขานาฏศิลปไทย ผูสนใจ ทอ่ี ยากเร่มิ ทาํ งานวจิ ยั ในการจัดการความรูเ รอ่ื งเทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย คณะกรรมการ จดั การความรไู ดดําเนนิ การรวบรวมความรูจากบุคลากรภาควิชานาฏศิลปที่จบการศึกษาในระดับ ปริญญาโท และมีประสบการณในการทํางานวิจัย มาแลกเปลี่ยนเรียนรูตามประเด็นความรูที่ จัดทําแผนท่ีความรูซึ่งนํามาการจัดระบบ ประมวลและกลั่นกรองความรู ไดองคความรูในการ เขยี นงานวิจัยดา นนาฏศลิ ปไ ทย ดังน้ี 1. การเลือกหวั ของานวิจัย ผูวจิ ัยสามารถเลือกทําวิจัยโดยการเลือกหัวขอวิจัยจากความสนใจ เลือกหัวของวิจัยจาก ความถนัด เลือกหัวขอวิจัยจากปญหาที่พบ เลือกหัวขอวิจัยที่ตอยอดจากงานวิจัยเดิม การเลือก หัวขอวิจัยจะตองสามารถใชประโยชนได เชน เปนฐานขอมูลในการอนุรักษและตอยอดองค ความรู หรอื สรางสรรคอ งคความรใู หมใ หก ับสงั คม

การเลือกหัวขอวิจัยจะตองคํานึงถึงแหลงสืบคนขอมูล ความสามารถในการเก็บขอมูล ของผูว จิ ัย ขอบเขตขอบงานวิจยั วัตถุประสงคหลักของงานวิจัย ความเปนไปไดในการดําเนินงาน และความเปน ไปไดใ นความสาํ เรจ็ ของงานวิจัย ขอควรระวังในการเลือกหัวขอ คือ ไมควรเลือกปญหาที่กวางเกินไป ไมควรเลือกปญหา ที่หาขอ ยตุ ิไมได หรือสงผลเสียตอผูอืน่ ไมค วรเลอื กปญ หาท่ไี มสามารถหาขอ มูลมาอา งองิ ได 2. การตง้ั ชอื่ เร่ืองงานวิจยั การตั้งช่ืองานวิจัยมีขอกําหนดไมตายตัวขึ้นอยูกับความพึงพอใจของผูวิจัยและท่ีปรึกษา งานวิจยั เพยี งแตต องต้งั อยูบนความชัดเจน เขาใจงาย และมีความนาสนใจ โดยมีแนวทางการต้ัง ช่ือ คือ ตองกระชับ และตรงประเด็น ทําใหผูอานทราบถึงวัตถุประสงคที่ผูวิจัยตองการศึกษา แสดงถึงความสัมพันธของตัวแปรของปญหา แสดงถึงขอบเขตงานวิจัยท่ีชัดเจน แสดงถึง กระบวนการการดําเนนิ งานท่ีชัดเจน ไมซ าํ้ กบั งานวิจยั อนื่ ใชภาษาทส่ี ละสลวย 3. การเขียนทม่ี าและความสําคญั ของปญ หา เทคนิคการเขียนที่มาและความสําคัญจะกลาวถึงบริบทรอบขางหรือความรูพ้ืนฐานของ งานวิจัยท่ีตองการจัดทํา และรอยเรียงเขาสูหัวของงานวิจัยท่ีตองการจะจัดทํา โดยอธิบายถึง ปญหาหรือความนาสนใจของงานวิจัย และสุดทายกลาวถึงประโยชนที่จะไดรับในการจัดทํา งานวจิ ัย โดยการเรยี บเรียงที่มาและความสําคัญของปญหาน้ันผูวิจัยจะตองมาความรูในงานวิจัย ท่จี ะจดั ทํามากพอสมควร อาจมีการนําความรูจากท่ีอื่นๆ มาอางอิงเพ่ือสรางความนาช่ือถือใหกับ งานวจิ ัยของตนเอง 4. การเขยี นวัตถุประสงค การเขียนวัตถุประสงคมีความสําคัญเปนอยางมาก เพราะเปนขอบงช้ีจุดมุงหมายในการ จัดทําวิจัย โดยจะตองมีความชัดเจน และสอดคลองกับปญหา หรือความสนใจที่จะศึกษา และ ตองคลอบคลุมท้ังหมดของงานวิจัย ตองบอกรายละเอียดตางๆ ตองการศึกษาอะไรบาง เพ่ือตี กรอบแนวทางในการสบื คนขอ มูล เกบ็ ขอ มูล วเิ คราะหข อ มลู และการเสนอผลการวิจยั 5. ขอบเขตงานวจิ ัย การกําหนดขอบเขตเปนการชวยตีกรอบเนื้อหางานวิจัยใหชัดเจนมาข้ึน ชวยใหสามารถ วางแผนในการดําเนินงานวิจัยไดตามเวลาท่ีกําหนด และชวยใหการตั้งชื่องานวิจัยไดงายขึ้น โดย การกาํ หนดขอบเขตงานวิจยั แบงออกเปน 3 สว นดังนี้ 5.1 ขอบเขตดานเนื้อหา โดยกําหนดเฉพาะเรื่องท่ีตองการศึกษาตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุด เนือ้ หาทีต่ อ งการศึกษาใหชัดเจน ครอบคลุมถึงเร่ืองใด เชน ศึกษาเฉพาะลีลาทารําของระบํา หรือ

การศึกษาเฉพาะเครื่องแตงการของระบําชุดน้ันๆ ซ่ึงในการกําหนดขอบเขตเนื้อหาอาจใชเทคนิค การเขยี นสารบญั เพ่อื เปนโครงรา งในการวางแผนการสืบคนขอ มลู ที่ตองการวจิ ัยได 5.2 ขอบเขตดานเวลาการในดําเนินงานวิจัย หรือชวงเวลาของเร่ืองท่ีตองการวิจัย เชน เพ่ือระบเุ นือ้ หางานวจิ ยั อยางชดั เจน 5.3 ขอบเขตดานแหลงขอมูล ไดแก พื้นท่ีศึกษา ผูใหขอมูล หรือจํานวนประชากรท่ี ตอ งการศึกษา 6. การเขียนกรอบแนวคดิ การกาํ หนดกรอบแนวคิดเปนขั้นตอนการเชื่อมโยงตัวแปรตางๆ ไดแก วัตถุประสงค การ วางแผนการดําเนินงานวิจัย การตั้งสมมติฐานการวิจัย ถึงการวิเคราะหขอมูลและอภิปราย ผลการวิจัย เขากับแนวคิดทฤษฏีตางๆที่เก่ียวของ เพื่อสรางความนาเช่ือถือใหกับงานวิจัย ความ ชัดเจนของขอบเขตงานวิจัย และแนวทางการทําวิจัยมากขึ้น โดยผูวจิ ัยตองมีความรูขอมูลพ้ืนฐาน ของงานวิจยั และตองศึกษางานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขอ ง รูปแบบการนําเสนอกรอบแนวคิดในการวิจัยดานนาฏศิลปนิยมใชแผนภาพ เนื่องจาก สามารถเหน็ ภาพรวมของกรอบแนวคิดอยา งชดั เจน โดยสอดแทรกไวใ นบทท่ี 1 ในเลมงานวจิ ยั 7. การเขยี นประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั การเขียนประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย ใหกลาวถึงประโยชนทางตรงและ ทางออมท่ีเปนไปได ซึ่งอาจจะมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีต้ังไว และกลาวถึงกลุมผูท่ีจะ ไดรับประโยชนจากการอานงานวิจัย ซึ่งการเขียนประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจะเปนแนวทางใน การทาํ วิจยั เรอ่ื งอืน่ ๆ ท่ีมคี ลา ยคลงึ กัน หรอื การตอ ยอดงานวจิ ัยนัน้ ๆตอ ไป 8. การเขยี นนิยามศพั ท นิยามศัพทเขียนขึ้นเพื่อเปนขอตกลงเบ้ืองตนในการใหความหมายของศัพทในงานวิจัย น้นั ๆ ซึง่ สว นมากผวู จิ ัยจะเลอื กศัพทท ี่ตอ งการนิยามจากช่ือเร่ือง ตัวแปรตน ตัวแปรตาม ตัวแปร อิสระ คําที่เปนใจความสําคัญ และศัพทเฉพาะทาง โดยระบุความหมายอยางชัดเจน และ ครอบคลมุ เน้อื หางานวิจัยทั้งหมด 9. การทบทวนวรรณกรรม การทบทวนวรรณกรรมตองเริ่มจากการอานหนังสือท่ีเก่ียวของกับงานวิจัยอยางคราวๆ เพ่ือประเมินความเปนไปไดของขอมูลท่ีใชศึกษาวิจัยตอไป จากน้ันนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห สังเคราะห เพอ่ื การวางแผน การศกึ ษาวิจัย โดยนําขอมูลที่ไดมาแยกเปนประเด็นตางๆเพื่อกําหนด โครงสรางงานวิจัย โดยแตละประเด็นจะตองจัดหมวดหมูเพ่ือเปนการแยกหรือรวมเนื้อหาเขา ดวยกัน จากนั้นจะเรม่ิ การอา นหนังสอื โดยละเอียดเพื่อสรุปเน้ือหาสําคัญ การทบทวนวรรณกรรม

ข้ึนอยูกับวตั ถปุ ระสงคเ ปนหลัก โดยคาํ นงึ ถึงโอกาสที่จะบรรลุวัตถุประสงค และกําหนดโครงสราง หัวขอ และจัดหมวดหมูที่จะกลาวถึงในการทบทวนวรรณกรรม เชน ทฤษฎี องคความรู และ งานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ ง เปนตน จากนั้นเริ่มอานเอกสารอยางละเอียด เพ่ือนําขอมูลท่ีเก่ียวของกับงานวิจัยพรอมอางอิง ที่มา มาใสในแตละหัวขอ แลวนําขอมูลของหัวขอนั้นๆ มาวิเคราะหและสรุปออกมาเปนความ เขาใจของผูทํางานวิจยั โดยแตล ะหัวขอของการเขียนทบทวนวรรณกรรมควรมีความเก่ียวของกัน เพือ่ รอยเรยี งไปสหู วั ขอ และปญ หาของงานวจิ ัย 10. ทฤษฎที เ่ี ก่ยี วขอ งกบั งานวิจยั ทางดานนาฏศลิ ป ทฤษฎี คือ สมมติฐานที่ไดรับการตรวจสอบและทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถ อธบิ ายขอเทจ็ จรงิ ทเี่ ก่ยี วขอ งกับปรากฏการณนนั้ อยางถูกตอง และมีเหตุผลเปนท่ียอมรับของคน ทั่วไป จึงเปน ผลใหสมมตฐิ านกลายเปนทฤษฎี ในการเขียนงานวิจัยผวู ิจัยจะตองเลอื กใชทฤษฎีท่ีมีความเกี่ยวของกับงานวิจัยของตนเอง มาวิเคราะหเพ่ืออธิบายปรากฏการณที่พบในงานวิจัย โดยทฤษฎีจะชวยจัดหมวดหมูขอมูล อธบิ ายความจริงทีพ่ บไดอ ยางมเี หตุผล สําหรบั ทฤษฎีที่มักนํามาใชในการวเิ คราะหขอมูลงานวิจัยทางดานนาฏศิลป ไดแก ทฤษฎี นาฏยประดษิ ฐ ทฤษฎีการเคล่ือนไหว ทฤษฎีนาฏยลักษณ ทฤษฎพี หุนยิ มทางวัฒนธรรม 11. เทคนคิ การหางานวิจัยท่ีเกีย่ วของ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ หมายถึง เอกสารและงานวิจัยที่มีเนื้อหาท่ีสัมพันธกับ หัวขอเร่ือง หรือประเดน็ ของปญหาการวจิ ัย โดยการสืบคน งานวจิ ัยท่ีเก่ียวของมีหลักการดงั น้ี 11.1 กาํ หนดคาํ สาํ คัญหรือคนคํา เพอ่ื สะดวกตอการคนหาเอกสารงานวจิ ัย ตา งๆ เปน การกําหนดขอบเขตของงานวจิ ยั อีกดว ย 11.2 คน หาเอกสาร และการคัดเลือกโดยอาจพิจารณาเอกสารจากชือ่ เร่ืองเปน อันดับแรก เพื่อนํามาพิจารณาวาชื่อเร่ืองนั้นเก่ียวของกับงานวิจัยที่จะทําหรือไม และอาจ พิจารณาจากบทคดั ยอ เพือ่ ศกึ ษาเน้อื หางานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ งใหม ากข้ึน โดยในการคัดเลือกเอกสาร งานวิจัยท่ีเก่ียวของจะตองคํานึงถึงความหนาเช่ือถือของงานวิจัยท่ีนํามาอางอิงเพื่อสรางความ นาเช่ือถือใหกับงานวิจัยท่ีจะจัดทํา นอกจากน้ียังตองคํานึงถึงอายุของเอกสาร ขอมูลงานวิจัยที่ นาํ มาใช ซ่งึ ควรมอี ายุไมเกิน 10 ป เพอื่ ใหไ ดข อ มูลทเ่ี ปนปจจบุ ันทส่ี ดุ 11.3 อานเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ พิจารณาวาเอกสารน้ันมีสาระ เกี่ยวกับเร่อื งอะไร สามารถนําสวนเนอื้ หาใดไปใชใ หเ กดิ ประโยชนก ับงานวจิ ัยท่ีจะทําอยางไร 12. เทคนิคการตรวจสอบขอ มูล

12.1 การตรวจหาความครบถวน โดยตรวจสอบความสมบูรณของขอมูล การ สงั เกต การสมั ภาษณ เอกสาร เพือ่ หาขอ บกพรองของขอ มูล และแกไขเพ่ิมเติมขอมูลในสวนตางๆ ของงานวิจัยขอมูลมีความครบถวนกอนนําไปวิเคราะหและมีความหนาเช่ือถือ โดยคํานึงถึงความ สอดคลองและเพียงพอกบั วัตถปุ ระสงคข องงานวจิ ัย 12.2 การตรวจหาความเชอื่ ถือไดข องขอมูล มหี ลายวิธี ไดแก 1)การตรวจสอบขอมูลเบ้อื งตนจากสภาพชุมชน เชน สภาพกายภาพ สังคม วัฒนธรรม โครงสรางทางสังคม ศาสนา เศรษฐกิจ เพ่ือเปนขอเท็จจริงของขอมูลและสนับสนุน ขอมลู ทค่ี น ควา มา โดยเรยี กขอ มลู เหลา นว้ี า ชาติพันธุว รรณนา 2) นาํ ขอ มูลใหผ ูมคี วามรตู รวจสอบ เพ่อื ตรวจสอบความถูกตอง และรับคํา เสนอแนะ หรือมุมมองอืน่ ๆของขอ มูล 3) การตรวจสอบแบบสามเสา เมื่อมีการขจัดทํางานวิจัยความถูกตอง และความนา เช่ือถอื ของขอมูลจึงเปน เรอ่ื งที่สําคัญ กอนนําไปวิเคราะห ซึ่งการตรวจสอบแบบสาม เสาเชิงคณุ ภาพ (triangulation) จึงเปน วธิ หี น่ึงที่ไดค วามนิยมเปนอยางมาก 13. การเก็บรวบรวมขอมลู การเก็บรวบรวมขอ มลู จะมีอยู 2 สว น คือ สว นท่ีเกบ็ รวบรวมจากเอกสาร ตํารา งานวิจัย และสวนที่เก็บรวบรวมขอมูลในการลงภาคสนาม ซ่ึงการรวบรวมขอมูลภาคสนามนั้น ผูวิจัยตอง สรางเครื่องมือท่ีใชในการเก็บขอมูล ไดแก แบบสัมภาษณและแบบสังเกต ซึ่งการออกแบบแบบ สมั ภาษณและแบบสงั เกตน้นั ผูวิจยั ตองรูวาเร่ืองใดผูวิจัยตองใชแบบสัมภาษณ และขอมูลใดผูวิจัย ตองใชแบบสังเกต ซึ่งแบบสัมภาษณและแบบสังเกตนั้นจะตองครอบคลุมวัตถุประสงคที่ผูวิจัย กําหนด 14. การวเิ คราะหข อมูล การวเิ คราะหข อ มลู คอื การจัดหมวดหมขู องวัตถุประสงค สมมติฐานท่ีต้ังไว มักจัดหมวด ไวเ ปน เรือ่ งเดยี วกันหรือใกลเคียงกัน เพื่อพิจารณาการใชหลักการในการวิเคราะหขอมูล โดยตอง สอดคลอ ง และคลอบคลมุ กับวัตถุประสงคข องงานวิจัย 15. เทคนคิ การสรุปและอภิปรายผล การสรปุ และการอภิปรายผลน้ันจะมคี วามแตกตางกัน การสรุปจะสรุปจากสิ่งท่ีเราพบใน จดุ ประสงคท เี่ รากาํ หนด สวนการอภปิ รายผลตอ งอธิบายปรากฏการณของงานวิจัยโดยเอาทฤษฎี ท่ีเรานาํ มาใชว ิเคราะหวางานวิจัยท่ีเราทําเปนไปตามทฤษีหรือไม อยางไร และตองนํางานวิจัยมา วิเคราะหงานวิจยั สอดคลองกับผลการวิจยั อืน่ ๆ หรอื ไม 16. การเขียนขอเสนอแนะ

หลกั การเขียนขอ เสนอแนะ ควรยึดหลกั ดงั ตอ ไปนี้ 16.1 การเขียนขอเสนอแนะตองเปนจากผลการวิจัยหรือการเผชิญปญหาจาก งานวจิ ยั เทา นัน้ 16.2 ตองเปนเรื่องท่ีใหม ไมใชเ ร่ืองทีร่ กู ันอยแู ลว กรณีเปนเรื่องเดิม ตองยืนยัน ใหเห็นความสาํ คัญ 16.3 ขอเสนอแนะท่ีเสนอแนะไปตองสามารถปฏิบัติไดหรือทําไดจริง ภายใน ขอบเขตของการวิจัย ระยะเวลาในการทํา 16.4 ตองคํานึงถึงผูอานงานวิจัยวาสามารถเขาใจรายละเอียดที่ชี้แจงไวใน ขอเสนอแนะหรือไม ตองเขียนเน้ือหาท่ีละเอียด และชัดเจนมากพอ เพ่ือเปนประโยชนตอผูท่ี สนใจจะตอยอดงานวิจัยนี้ หรือผูท่ีนํางานวิจัยน้ไี ปอา งอิงตอ โดยมงุ เสนอใน 3 ประเด็นหลัก 1) งานวจิ ัยนสี้ ามารถประโยชนในดา นใดไดบาง 2) กลา วถงึ ระเบยี บวิธีวจิ ยั เพ่อื เปนการเสนอแนะใหผูอานที่จะทําวิจัย ในทํานองเดียวกันไดทราบวาควรทําอยางไร พบปญญาดานใด และบอกวิธีการแกไขปญหาที่ ถูกตอง 3) เสนอแนะใหผูอานท่ีจะทํางานวิจัยในลักษณะเดียวกันใหทราบถึง ประเด็นปญ หาของงานวิจัย และควรศกึ ษาตัวแปร รวมทง้ั การเปลีย่ นระเบยี บวธิ วี จิ ยั จากขอมูลที่ได คณะกรรมการจัดการความรูไดน ํามาจัดทาํ เปนคมู อื เทคนิคการเขยี น งานวจิ ยั ดานนาฏศลิ ปไ ทย และนํามาเผยแพรใ หกบั บคุ ลากรภาควิชานาฏศลิ ป ที่ยังไมเคยทาํ งาน วิจยั เนอ่ื งจากยังขาดแนวทางในการทาํ งานวิจยั และนักศกึ ษาทกี่ ําลงั ศึกษาในระดับปรญิ ญาตรีปท่ี 4 ทกี ําลงั ทาํ งานวิจัย คูมือเทคนคิ การเขยี นงานวิจยั ดานนาฏศิลปไ ทยจะเปนเครื่องมือ และ แนวทางใหกับบุคลากรและนักศึกษาเปน อยางมาก ในการดาํ เนนิ งานมีปจ จัยท่เี ปนอุปสรรคใ นเร่ืองการฝกอบรมการเขยี นงานวิจัยผา นระบบ E-learning จึงดําเนนิ การเปด facebook โดยใชช ื่อวา คลินกิ วจิ ัยดา นนาฏศิลปไทย เพื่อตอบ ปญหา และแลกเปล่ียนเรยี นรดู านงานวจิ ยั โดยเฉพาะ สรุป ในการจัดการความรู เร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย เปนการ จัดการความรดู า นวิจยั ทว่ี ทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสุโขทยั ไดจัดทําขึ้นภายใตประเด็นยุทธศาสตรที่วา การ วิจัยและการสรางผลงานสรางสรรคตอยอดงานศิลปบนพ้ืนฐานเอกลักษณของทองถิ่นและความ เปนไทยและเผยแพรผลงานในระดับชาติและนานาชาติ โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการจัดการ ความรูข้ึนเพ่ือดําเนินการใหเปนไปตามแผนการจัดการความรูท่ีไดกําหนดไว มีการจัดทํา

Knowledge Mapping เพ่ือเปนเข็มทิศท่ีชวยใหคณะกรรมการสามารถเขาถึงแหลงความรู และ ประเดน็ ความรูทต่ี องการรวบรวม และผทู ่ีมาแลกเปล่ียนเรียนรูน้ัน ทางคณะกรรมการการจัดการ ความรูไดมีการคัดเลือกบุคลากรภาควิชานาฏศิลปไทยที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท และมี ประสบการณในการเขยี นงานวิจยั มาแลกเปลีย่ นเรียนรู เพื่อไดองคความรูจากผูที่มีประสบการณ ในการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทยโดยตรง ท่ีสําคัญไดมีการจัดทําเปนคูมือ เพื่อให บุคลากรและนักศึกษาท่ีตองการทํางานวิจัยดานนาฏศิลปไทยไดศึกษา เพ่ือสงเสริม ใหบุคลากร ภาควิชานาฏศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย มีการเขียนงานวิจัยท่ีเปนประโยคแกหนวยงานมาก ยิ่งขนึ้ ในอนาคตวิทยาลยั นาฏศิลปสุโขทัย ควรมีการรวบรวมเทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดาน ดนตรีไทย และคีตศิลปไทย โดยจัดทําเปนคูมือเพื่อใหบุคลากร นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัย นาํ ไปใชเปน แนวทางในการเขยี นงานวิจยั ตอ ไป

ชือ่ เร่อื ง/แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี เพลงขอทานจงั หวัดสโุ ขทัย ช่อื -นามสกลุ ผนู ําเสนอ นางเกษร เอมโอด ช่ือสถาบนั การศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทยั หนว ยงาน สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป เบอรโ ทรศพั ทมือถือ 0897070300 เบอรโ ทรสาร 055613508 E-Mail address [email protected] เพลงขอทานจงั หวัดสโุ ขทัย Sukhothai Beggar Songs นางเกษร เอมโอด ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ วิทยาลยั นาฏศิลปสโุ ขทัย สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป ........................................................................................................................................... บทสรปุ การจัดการความรูเรื่อง “เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย” เปนการจัดการความรูดานภูมิ ปญ ญาทองถิ่น จัดทาํ ขึน้ โดยวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือรวบรวมองคความรู เร่อื งเพลงขอทานจังหวดั สโุ ขทยั เพ่ืออนรุ กั ษ สบื สาน และเผยแพรเพลงขอทานของจังหวัดสุโขทัย โดยจดั ทําเปน แผนทผ่ี ูร ูแ ละผเู ช่ยี วชาญ ในกระบวนการการจัดการความรู เร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย วิทยาลัยนาฏศิลป สโุ ขทยั ดําเนนิ การแตงตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซ่ึงมี หนาท่ีในการดําเนินงานใหเกิดกิจกรรมตามกระบวนการการจัดการความรู โดยเร่ิมต้ังแตจัด ประชุมเพื่อคนหาประเด็นความรูที่มีความสําคัญตอหนวยงานตามประเด็นยุทธศาสตรและ ดําเนินการจัดทําแผนการจัดการความรู กําหนดกิจกรรม ผูรับผิดชอบกิจกรรม จากน้ันจึงแตงตั้ง บุคลากรภาควิชาดุริยางคศิลปของวิทยาลัย ท่ีมีความรู เกี่ยวกับเพลงขอทานเปนคณะกรรมการ การจดั การความรดู า นภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน เร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย เพื่อดําเนินกิจกรรมใน ขั้นตอนการแสวงหาความรู การจัดการความรูใหเปนระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู โดยเขาไปศึกษาวิธีการรองเพลงขอทานจากครูภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนบันทึกเสียงการรองเพลงขอทานของครูภูมิปญญาทองถ่ิน นําเพลงท่ีไดมาจัดใหเปน หมวดหมู ดาํ เนนิ การจัดทาํ เปน โนตเพลง และเปน CD เพลง ซึ่งมีการตรวจสอบความถูกตองกอน เผยแพร

เม่ือการดําเนินการจัดการความรูเสร็จสิ้นทุกกระบวนการแลว วิทยาลัยไดนําขอมูลท่ีได จัดทําเปน แผนทผี่ ูรแู ละผเู ช่ียวชาญ เผยแพรทางเวบ็ ไซดของวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย เพ่ือเปน ฐานขอมูลใหบ ุคลากรและผสู นใจเขาถึงแหลง ขอมลู ไดสะดวก รวดเร็ว และเปดชมรมเพลงขอทาน ใหแ กนกั เรียนที่สนใจเพื่ออนรุ ักษ สบื สานเพลงขอทานจังหวดั สุโขทัย คําสาํ คัญ เพลงขอทาน จงั หวัดสุโขทัย Sukhothai Beggar Songs Summary Knowledge management title “ Sukhothai Beggar Songs ” is a knowledge management about local knowledge. Organized by Sukhothai College of Dramatic Arts. The goal is to gather knowledge about Sukhothai Beggar Songs in order to conserve , continue and publish them. This knowledge organize by the knowers and the expert persons. Procedure to manage knowledge about Sukhothai Beggar Songs , Sukhothai College of Dramatic Arts appointed the board of 2018 annual budget to manage it. They start by organizing the meeting to search the important knowledge which concern with the strategic issues of the department , plan and define activities , define the responsible persons. After that appoint the personnels of Music Department who have knowledge about Beggar Songs to be the committees. They will manage the knowledge which mix with local knowledge of Sukhothai Beggar Songs , also process , scrutinize , share and exchange the knowledge. The way to get knowledge of Beggar Songs can do by studying these songs from local teachers and then ask them to sing the songs and record them. After that classify them in to groups , arrange the music , put them in CD. Check the correction before publishing. If all process about knowledge was finished , the college keeps the information which the knowers and the expert persons published on website of the college to be the base information. The teachers of the college or the

persons who interest can study these knowledge easily , quickly and the college opens the beggar songs club for the students so they can conserve and continue the Sukhothai Beggar Songs. keywords : Sukhothai Beggar Songs. บทนํา เพลงขอทาน หรือเพลงวณิพก เปนเพลงพ้ืนบานท่ีมีมาตั้งแตคร้ังโบราณ อาจ เนื่องมาจากการเลานิทาน เพราะสมัยกอนมีการรับจางเลานิทาน วันใดไมมีคนมาจางก็ตอง ตระเวนไปเลาในที่ตางๆ เพื่อขอแลกกับเงิน หรือสิ่งของ ซ่ึงเพลงขอทานมีทํานองเปนเอกลักษณ โดยเฉพาะเวลามีงานวัด จะตองมีการหาของไวเขาโรงครัว บรรดามรรคทายกหรือกรรมการวัด จะตองออกไปเร่ียรายขาวสารอาหารแหงเปนประจํา จึงตองมีการรองขอ ครั้นจะรองธรรมดา ก็ รูสึกวาไมจูงใจคนทําบุญ จึงแตงเนื้อเพลงโดยยึดเอานิทานชาดกเปนหลัก ใสทํานอง มีลูกคู และ เพิ่มเครื่องกํากับจังหวะตามถนัด เม่ือไดสิ่งของมาก็เอาเขาวัด ตอมามีผูเลียนแบบและยึดเปน อาชีพไปเลยก็มี การขอแบบมีเสียงเพลงหรือเสียงดนตรีแลกเปล่ียน เรียกวา\"วณิพก \" แตถาไมมี เสียงเพลงหรือเสียงดนตรีแลกเปล่ียน เรียกวา \"ยาจก\"หรือ \"กระยาจก \" มีลักษณะเปนกลอนหัว เดียว จังหวัดสุโขทัยเปนอีกจังหวัดหนึ่งที่มีการเลนเพลงขอทาน ซึ่งเลนในอําเภอสวรรคโลก โดยมีครูประทีป สุขโสภา เปนผูที่อนุรักษการรองเพลงขอทานนี้ไว และไดการพัฒนาไปสูใน รูปแบบของการแสดง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประชาสัมพันธจังหวัดสุโขทัย และสาธิตใหเยาวชน รุนหลังหันมาอนุรักษเพลงพื้นบาน หรืองานรื่นเริงในโอกาสตางๆ โดยรักษารูปแบบของทํานอง เพลงไวตามแบบโบราณ สว นเนอ้ื รอ งจะเรยี บเรียงข้นึ ใหมตามสถานการณใ นการแสดงตางๆ มีลีลา การรองและการออกทาทางทางอยางเปนธรรมชาติ สอดแทรกอารมณขันและมีมุขตลกอยู ตลอดเวลา จนเปนเอกลักษณของตนเอง อีกทั้งมีการขยับกรับ และการใชวงปพาทยบรรเลง ประกอบการขบั รอ ง เพ่อื ใหมคี วามสนกุ สนาน และเปน ที่สนใจมากขนึ้ เพลงขอทานท่ีใชรองเลนอยูในแถบอําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัยน้ี ไดรับความนิยม อยางมาก โดยมีหนวยงานติดตอเชิญไปทําการแสดงในโอกาสตางๆ อยูเปนประจํา เชน รองใน งานเทศกาลตางๆ สาธิตเผยแพรตามสถานศึกษาและหนวยงานตางๆ รองเลนในการเผยแพรใน เชิงวัฒนธรรมในโอกาสตางๆ เปนตน แตสิ่งที่นาเปนหวงอยางยิ่งในความคงอยูของเพลงขอทาน นั้น คือขาดผูสืบทอดจากคนรุนใหม และกําลังจะสูญหายไปจากจังหวัดสุโขทัย ดังน้ัน วิทยาลัย นาฏศิลปสุโขทัยจึงไดดําเนินการจัดการความรู โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมองคความรูเรื่อง

เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย และเพ่ืออนุรักษ สืบสาน เผยแพรเพลงขอทานของจังหวัด ใหคงอยู กบั จังหวัดสุโขทัยตลอดไป วธิ กี ารดาํ เนินงาน วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสโุ ขทยั ไดดาํ เนนิ การจัดการความรูเร่ือง “เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย” ซ่งึ มกี ระบวนการดําเนินงานดังตอ ไปนี้ 1. การคน หาความรู 1.1 คณะทํางานการจัดการความรูของวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยดําเนินการประชุมเพ่ือ คน หาวา ความรใู ดมคี วามสาํ คญั ซ่ึงคณะทํางานไดต ้ังเกณฑใ นการพิจารณาโดยใหความสําคัญไปที่ ภมู ปิ ญญาทองถิ่นท่ีเปน เอกลกั ษณข องจังหวดั สุโขทัย ขาดผูสืบทอดและกําลังเลือนหายจากสังคม ของจังหวัดสุโขทัย เมื่อคณะทํางานการจัดการความรูพิจารณาแลวเห็นสมควรวาควรเรง ดาํ เนนิ การจัดการความรขู องเพลงขอทาน เนื่องจากจงั หวดั สุโขทัยมีครูประทีป สุขโสภา เทานั้น ท่ีมีความรู ความสามารถในการเลนเพลงขอทาน แตตอนนี้ประสบปญหาไมสามารถเลนเพลง ขอทานไดเพราะประสบปญหาดานสุขภาพ ไมสามารถใชมือในการขยับกรับได จึงจําเปนตอง สืบทอดองคความรูของครูภูมิปญญาทองถ่ินใหคงอยูและนําองคความรูนี้ไปถายทอดใหแกชุมชน และสังคมเพอ่ื คงอยซู ึ่งอัตลกั ษณข องทอ งถน่ิ ตอไป 1.2 คณะทํางานการจัดการความรู จัดทําแผนการจัดการความรู km 1, km 2 เรื่อง เพลงขอทานจังหวดั สโุ ขทยั 1.3 แตง ต้ังคณะกรรมการจัดการ ความรเู รอื่ ง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย โดยคัดเลือก เฉพาะบุคลากรภาควชิ าดรุ ิยางคศิลปของวิทยาลัย 1.4 คณะกรรมการจัดประชุมเพอ่ื กําหนดระยะเวลาในการลงพื้นท่ีเก็บขอมูลภาคสนาม และจัดทํา Knowledge Mapping เพ่ือเปนเข็มทิศที่ชวยใหคณะกรรมการสามารถเขาถึง ประเด็นความรูท่ีตองการรวบรวมประเด็นความรูการจัดการความรูเรื่องเพลงขอทานจังหวัด สุโขทัย 2. การสรางและแสวงหาความรู 2.1 คณะกรรมการการจัดการความรูเร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย ติดตอ ประสานงานกับครูภูมิปญญาทองถ่ินที่ เพื่อแจงวัตถุประสงคในการรวบรวมองคความรู และนัด หมายเวลาในการลงพนื้ ท่เี กบ็ รวบรวมองคความรู

2.2 คณะกรรมการลงพื้นท่ีเพ่ือสัมภาษณองคความรูของครูภูมิปญญาทองถ่ิน บันทึก ภาพนิง่ และภาพเคลอื่ นไหว 2.3 คณะกรรมการนาํ เสยี งท่ไี ดบ นั ทึกไวน ้ันมาถอดความและจัดพมิ พเ ปนไฟลเ วิรด 3. การจดั ความรูใหเปนระบบ 3.1 คณะกรรมการไดน ําความรูที่ไดจ ากลงพ้ืนท่ีและถอดความเปนทเี่ รยี บรอยแลว น้นั มา จดั การใหเ ปน หมวดหมตู ามที่ไดก าํ หนดไวใน Knowledge Mapping 3.2 คณะทํางานการจัดการความรปู ระสานงานกับงานเทคโนโลยเี พือ่ จัดทาํ แผนที่ผูรู และผูเช่ยี วชาญ เพ่ือเปนฐานขอ มูลใหบ ุคลากรและผสู นใจเขา ถึงแหลง ขอ มูลไดสะดวก รวดเรว็ 4. การประมวลและกลน่ั กรองความรู 4.1 นําองคความรูที่จัดหมวดหมูไวแลวมาพิมพและปรับปรุงภาษาใหเปนภาษาท่ีอาน แลวเขา ใจไดงาย 4.2 นาํ ความรทู ีไ่ ดปรับปรุงภาษาแลว นาํ มาจัดทําในรปู แบบเอกสารทเี่ ปน รูปเลม และ CD การแสดงเพลงขอทานจงั หวัดสุโขทยั 4.3 นําเอกสาร และ CD ใหค รภู ูมิปญ ญาทองถน่ิ ตรวจสอบขอ บกพรอง พรอมทง้ั ใหค ํา เสนอแนะเพ่ือใหค ณะกรรมการไดน ําไปปรับปรงุ แกไ ข 5. การเขาถึงความรู 5.1 นําเอกสาร และ CD องคความรูเร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย เผยแพรใหแก บุคลากรของวิทยาลัยนาฏศิลปสโุ ขทัย สถานศกึ ษาตางๆ ในเขตอาํ เภอเมืองและอําเภอสวรรคโลก ทม่ี ศี ิษยเ กา ของวทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสุโขทัยทาํ การสอนอยู 5.2 นําเอกสารองคความรูเร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย เผยแพรทางแผนท่ีผูรูและ ผูเชี่ยวชาญ โดยสามารถคนควาผานทางทางเว็บไซดของวิทยาลัย และเผยแพร vdo ทางยูทูป ใหแกผทู ่ีสนใจเขาไปศึกษา โดยประชาสมั พนั ธผา นทางสถานีวิทยุแหงประเทศไทย จังหวัดสุโขทัย และทาง facebook ของวทิ ยาลยั และ facebook สว นตวั 6. การแบงปนแลกเปลยี่ นความรู 6.1 เปดชมรมเพลงขอทานในวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสโุ ขทยั ใหแกนกั เรียนที่สนใจ

6.2 เปดอบรมหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรเพลงขอทาน ใหแกนักเรียน นักศึกษาของ วิทยาลัยนาฏศลิ ปสุโขทัย เยาวชนในจังหวัดสุโขทัย และกลุมผูสนใจ แบบใหเปลา โดยมีบุคลากร ทเ่ี ปน คณะกรรมการการจดั การความรเู รอ่ื งเพลงขอทานจังหวดั สโุ ขทัยเปน วทิ ยากร 7. การเรยี นรู 7.1 นํานักเรียนในชมรมเพลงขอทานทําคายอนุรักษ ฟนฟู เพลงขอทานตามโรงเรียน ตา ง ๆ 7.2 นาํ นักเรยี นในชมรมเพลงขอทาน ออกเผยแพรเพลงขอทาน ในงานตาง ๆ ผลและอภปิ รายผลการดําเนนิ งาน การจัดการความรู เรอ่ื ง เพลงขอทานจังหวดั สโุ ขทัยเปนการจัดการความรูดานภูมิปญญา ทองถิ่น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมองคความรูเร่ืองเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย เพื่ออนุรักษ สบื สาน และเผยแพรเ พลงขอทานของจังหวดั สโุ ขทัย โดยจัดทาํ เปน แผนท่ผี รู ูแ ละผเู ช่ยี วชาญ ในการรวบรวมองคความรูเร่ืองเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัยคณะกรรมการจัดการความรู ไดดําเนินการรวบรวมเปน 2 ลักษณะไดแก รวบรวมเปนเอกสารโดยจัดทําเปนรูปเลม ประกอบดวย ความเปนมาของเพลงขอทาน ประวัติความเปนมาของเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย ลักษณะของเพลงขอทาน รูปแบบวงดนตรีและเคร่ืองดนตรีท่ีใช ลักษณะเนื้อรอง รูปแบบทํานอง เพลง รูปแบบจังหวะ และรูปแบบการแสดง ในสวนของรูปทํานองเพลง และรูปแบบจังหวะ คณะกรรมการจัดการความรูไดดําเนินการจัดทําเปนโนตเพลงเพื่อใหผูที่สนใจ และตองการศึกษา เรอ่ื งทํานองของเพลงขอทานไดเห็นรูปแบบของเพลง เสียงสูงต่ํา และจังหวะไดอยางชัดเจน เปน รปู ธรรมมากขนึ้ ตัวอยา งทาํ นองเพลงขอทาน บนั ทกึ โนต เพลง โดย นางฟามุย ศรีบัว ครูสาขาคีตศิลปไ ทย ภาควิชาดุริยางคศิลป - - - - - ดํ – ดํ - - - รํ - รดํล - - - - - ดํ - - - ดํ - ดํ - - - ดํ – ซ - - - - - อัน – ตัว - - - ของ - ขา - - - - - ดวง - - - ตา - เอย - - - พิ – การ

- - - ร - - - ฟ - - - ซ - ลซฟ - - - ซ - - - ดํ - - ---ท - - - รํดํ - - - เกดิ - - - เปน - - - ขอ - ทาน - - - เออ - - - เอย - - - - - ยาก - - - ไร - - - - - - ลท - ดํ - - -ดํ ล - - - ดํ - - - ดํ - - - ดํ – ซ - ดํ - - - - - - - - ไมมี - บา น - - - ชอ ง - - - เงนิ - - - ทอง - - - เอย – ขดั - สน - - - - - ซ - - - ฟร - - - - - - ฟ ดํ - - - - - ดํ - - - ดํ – ท - ดํ - - - - - นอน - - - ขาง - - - - - - ถนน - - - - - เอย - - - และ – พมุ - ไม - - - - - ล - - - ล - ดํ – ล - ล - - - - - ซ - ล – ลฟ - - - - - ล - ดํ - - - พอ - - - แม - ก็ – ไม - มี - - - - - ขาด - ทงั้ – พี่ - - - - - ทง้ั - นอง - - - ดํ - - -ดลํ ํ - - - ดลํ ํ - ดํ - - - ฟ -ซ - ด - - - - – รํ - ดํ - - - - - อา - - - ศยั - - - เสยี ง - รอง - - - เออ – เออ - เอย - - - - – เลี้ยง - กาย - - - - - ดํ - ดํ- ดํ - - - ฟ - ดํ - - - - - ล - ฟ - - - ล - - - ดํ - - - - - ว - ณิ – พก - - -เสียง - ทอง - - - - - เออ - เออ - - - เองิ - - - เอย - - รปู แบบจังหวะของเพลงขอทาน ตะโพน -ติง-โจะ -ตงิ -ตงิ - - ตงิ ทมั่ -ตงิ -ทั่ม -ตงิ -โจะ -ตงิ -ติง - -ตงิ ทม่ั -ตงิ -ทั่ม ฉิ่ง - ฉ่งิ - ฉับ - ฉิง่ - ฉับ - ฉง่ิ - ฉับ - ฉ่งิ - ฉบั - ฉง่ิ - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉบั - ฉ่ิง - ฉบั - กบั - - - กับ - - - กับ - - - กับ - - - กบั - - - กบั - - - กบั - - - กบั - - กรับขางซาย - - - กับ - - - กบั - - - กบั - - - กบั - - - กบั - - - กับ - - - กับ - - - กับ - - - โมง - - - โมง - - - โมง - - -โมง - - - โมง - - - โมง - - - โมง - - - โมง กรบั ขางขวา - - - ฉบั - แฉ - - - แฉ - - - แฉ - - - - - ฉับ - แฉ - - - แฉ - - - แฉ - - โหมง ฉาบเล็ก นอกจากน้ันยังไดรวบรวมวีดิทัศนผลงานการแสดงเพลงขอทานของครูประทีป สุขโสภา ในโอกาสตา ง ๆ ซ่งึ วีดิทัศนจ ะทําใหเ หน็ วธิ กี ารเลนเพลงขอทานอยางเต็มรปู แบบ การแสดงเพลงขอทานของครูประทีป สุขโสภา เมื่อเริ่มเลนครั้งแรกยังไมมีรูปแบบอะไร เปนเลนเพื่อความสนุกสนานในวงเพื่อนๆ หรือตามงานลูกเสือชาวบาน มีนักดนตรีที่รวมเลนเพียง ไมก ค่ี น ใครเลน อะไรไดกช็ วนมารว มกนั เลน ปจจุบันครปู ระทปี สุขโสภา ไดมีการกําหนดรูปแบบ การแสดง จัดเรียงเปนชุด ประกอบดวยบทไหวครู บทสดุดีในหลวง เพลงชุดสุโขทัย แนะนํา

ตนเอง นทิ านชาดกเรื่องกากี นิทานธรรมะลามะกะเรื่องไอทิดควายหาย เพลงขอทาน แอวเคลา ซอ ซึง่ มีลาํ ดับขนั้ ตอนการแสดงดงั นี้ 1. ขน้ั ตอนการไหวค รู กอนการบรรเลงครูประทีป สุขโสภา จะทําการไหวครูเพ่ือระลึกถึงครูบา อาจารยผ ปู ระสิทธิป์ ระสาทวชิ า โดยมีเคร่ืองไหวครูประกอบดวย ดอกไม ธูป เทียน เงินกํานล 12 บาท และเหลา 1 ขวด 2. ขั้นตอนการแสดง การแสดงเพลงขอทานของครูประทีป สุขโสภา เปนการแสดงที่มีการจัดระบบ การแสดง มีการวางรปู แบบเปนข้ันตอน ซง่ึ มรี ปู แบบดงั นี้ 1) วงดนตรบี รรเลงเพลงกระตา ยเตน 1 เทยี่ ว ตอดว ยการขบั รองบทไหวครู เม่ือรองบทไหวค รูจบแลว วงดนตรีบรรเลงเพลงรัวดกึ ดาํ บรรพ 2) รองบทไหวค รูแลว จะรอ งเพลงในหลวง โดยใชทํานองแหล 3) หลังจากจบบทสดุดใี นหลวงแลว หากวา แสดงอยใู นจังหวัดสโุ ขทัย กจ็ ะเลน เพลงชดุ สุโขทัยเพ่ือบอกกลา วใหก บั คนสุโขทัยวา จังหวดั สุโขทยั มีดีอะไรบา ง แตถาหากเลนที่ ตา งจงั หวดั ก็จะตัดเพลงชดุ สโุ ขทัยออก 4) หลังจากจบเพลงชุดสุโขทัยแลว จะเปนการพูดคุยกับผูชมโดยเร่ิมจากการ แนะนําตนเอง อธิบายการแสดงที่เลนเรียกวา “ตีกรับขับทํานอง” อธิบายเร่ืองเครื่องดนตรีที่ใช ประกอบการแสดง โดยเฉพาะกรับ เลาถึงที่มาของเพลงขอทาน การหัดเพลงขอทานของครู ประทีป สุขโสภา หลังจากนั้นจะเปนการอธิบายถึงความเปนมาของเพลงพื้นบาน พรอมท้ัง อธิบายวิธีเลนกรับชนิดตาง ๆ เชน กรับเสภา กรับคู กรับสเปน กรับพวง สุดทายก็จะสาธิตกรับ ชนิดกลมท่ีไดใชประกอบการละเลนเพลงขอทาน และยกตัวอยางนิทานชาดกเร่ืองกากี ตอน พรหมทัต 5) หลังจากที่เลานิทานชาดกเร่อื งกากี ตอนพรหมทัตเสร็จแลว จะเปน การ พูดคยุ กับผูชมโดยจะเลา เรื่องการเปนเจาบทเจากลอนของคนไทยพรอ มทงั้ สอดแทรกมุขตลกไป พรอม ๆ กับการบรรยาย ตอจากน้ันก็จะเลา นทิ านธรรมะลามะกะเร่ืองไอทิดควายหาย 6) จากนั้นก็จะสาธิตวิธีเปาขลยุ 2 เลา พรอ ม ๆ กนั คอื เปาดวยปาก 1 เลา และ จากจมูก 1 เลา หลังจากสาธิตการเปาขลุยเสร็จแลวจึงเปนการเลนเพลงขอทาน โดยครูจะ อธิบายถึงที่มาของเพลงและวิธีเลนวาจะตองทําใหเหมือนขอทานจริง ๆ ใสเส้ือผาเกา ๆ สวม หมวก มีกะลา และก็รอ งเพลงขอทานเชญิ ชวนใหผชู มมีสวนรว มในการแสดงโดยนําเงินมาใสกะลา เหมือนกับใหทานจรงิ ๆ

เพลงขอทาน เกิดเปนขอทานยากไร อนั ตัวของขา ดวงตาพิการ นอนขา งถนนและพมุ ไม ไมมีบา นชองเงินทองก็ขัดสน อาศัยเสยี งรองเลีย้ งกาย พอ แมก็ไมมีขาดท้งั พ่ีทงั้ นอง เลา นิทานชาดกมากมาย วณิพกเสียงทองเท่ยี งทองงนั งก สองมือขยับกรับไม เลาเปนทํานองรอยกรองขานขบั คนละรอ ยสองรอยบา งเปน ไร พอแมเจาขาเมตตาผมสักหนอ ย สิบบาทย่สี ิบบาทก็ยังได คุณพอคุณแมเจาขาเมตตาผมเหมอื นญาติ ขอใหถูกหมากดั จะบอกให ใครทไ่ี มทําทานกลบั ไปบานแนช ัด กดั จนกระทั่งไอท่ีนงุ อยูขา งใน กดั ทั้งเส้ือทง้ั ผา กัดทัง้ หนาขางหลงั อยา พ่ึงเบือนเบื่อลกู ก็มาเบยี น แมม าทําทานจานเจือ ไดแ หวกวางอยเู หนอื เศียร โอพ ระกศุ ลที่ไดสรา ง ใหท านทา นเอาบุญ อยา วาอยาบน คนจนมาเบียน 3. ขน้ั ตอนการลา หลังจากแสดงเพลงขอทานเสร็จส้ิน จะเปนการอําลาและอวยพรใหกับผูชมดวย เพลงแอวเคลาซอเม่ือรองเพลงแอวเคลาซอจบแลว วงดนตรีบรรเลงเพลงกระตายเตนอีก 1 เท่ียว และครูประทปี สุขโสภา ฝากคาํ กลอนเพื่อสอนใจและเตอื นสติผูช ม ศลิ ปะจะยังคงอยคู ูแผน ดิน ศิลปนจะยงั คงอยูคูถ ิ่นฐาน ถาพวกเราชว ยกันอนรุ ักษไวนาน ๆ เพอ่ื ลูกหลานจะไดอยูคูชาติไทย ในสวนของการอนุรักษ สืบสาน และเผยแพรเพลงขอทานโดยจัดทําเปนแผนที่ผูรูและ ผูเชี่ยวชาญไดดําเนินกิจกรรม 2 สวน สวนแรก คือการอนุรักษสืบสาน คณะกรรมการจัดการ ความรูไดนํานักเรียน นักศึกษาไปเรียนรูจากครูภูมิปญญาทองถ่ิน คือครูประทีป สุขโสภา จาก การดําเนินงานประสบปญหาในกระบวนการน้ีเนื่องจากครูประทีป สุขโสภาไมสามารถรองเพลง และขยับกรับได จึงตองแกไขโดยการเรียนจากวิดิทัศน ดานการเผยแพรเพลงขอทานจังหวัด สโุ ขทัย คณะกรรมการจัดการความรูไดเ ตรยี มขอมลู และประสานงานกับฝายเทคโนโลยีเพื่อจัดทํา แผนที่ผรู ูและผูเช่ียวชาญ สรุป

การจัดการความรู เรื่องเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย จัดทําข้ึนเพ่ือรวบรวมองคความรู เรอื่ งเพลงขอทานจงั หวัดสุโขทัย เพ่อื อนรุ ักษ สบื สาน และเผยแพรเ พลงขอทานของจังหวัดสุโขทัย โดยจัดทําเปนแผนท่ีผูรูและผูเช่ียวชาญ โดยรวบรวมองคความรูเก่ียวกับความเปนมาของเพลง ขอทาน ประวัตคิ วามเปน มาของเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย ลักษณะของเพลงขอทาน รูปแบบวง ดนตรีและเครื่องดนตรีที่ใช ลักษณะเน้ือรอง รูปแบบทํานองเพลง รูปแบบจังหวะ และรูปแบบ การแสดง ในการจัดการความรู เร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย เปนการจัดการความรูดาน ภูมิปญญาทองถ่ินท่ีวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยไดจัดทําข้ึนภายใตประเด็นยุทธศาสตรท่ีวา การสืบ สานศิลปวัฒนธรรม และสรางเสริมคุณคาทางสังคม และมูลคาทางเศรษฐกิจใหกับทองถ่ินและ ประเทศชาติดวยทนุ ทางศิลปวฒั นธรรม มวี ตั ถปุ ระสงคจ ัดทาํ ขน้ึ เพ่อื รวบรวมองคความรูเรื่องเพลง ขอทานจังหวดั สโุ ขทยั เพื่ออนุรักษ สบื สาน และเผยแพรเ พลงขอทานของจังหวัดสุโขทัยที่กําลังจะ เลือนหายไปจากสังคมของชาวสุโขทัย โดยจัดทําเปนแผนท่ีผูรูและผูเช่ียวชาญ โดยรวบรวมองค ความรูจากครูประทีป สุขโสภา ดวยกระบวนการจัดการความรู เริ่มตั้งแตการแตงตั้ง คณะกรรมการจัดการความรูขึ้นเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามแผนการจัดกรความรูท่ีไดกําหนดไว จัดทํา Knowledge Mapping เพ่ือเปนเข็มทิศทช่ี วยใหค ณะกรรมการสามารถเขาถึงแหลงความรู และประเด็นความรูที่ตองการรวบรวม จัดทําเปนเอกสารประกอบดวย ความเปนมาของเพลง ขอทาน ประวัตคิ วามเปนมาของเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย ลักษณะของเพลงขอทาน รูปแบบวง ดนตรีและเคร่ืองดนตรีที่ใช ลักษณะเน้ือรอง รูปแบบทํานองเพลง รูปแบบจังหวะ และรูปแบบ การแสดง ท่ีสําคัญไดมีการบันทึกทํานองรองเพลงขอทานและทํานองเพลงที่ใชบรรเลง ประกอบการแสดงเพลงขอทานเปนโนตระบบไทย เพื่อสะดวกแกผูท่ีตองการศึกษาเพลงขอทาน อีกท้ังมีการดําเนินงานใหนักเรียน นักศึกษาไดเรียนรูเพลงขอทาน เปนการอนุรักษ ฟนฟู เพลง ขอทานอยางเปนรูปธรรม และนําเทคโนโลยีมาใชในการเผยแพรองคความรูโดยจัดทําเปนแผนท่ี ผูรูและผูเชีย่ วชาญ เพอ่ื ใหว ทิ ยาลยั นาฏศิลปะสโุ ขทยั เปน ศูนยก ลางองคค วามรู ในอนาคตวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย ควรมีการบรรจุเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัยไวเปน สวนหนึ่งของหลักสูตรสถานศึกษาใหนักเรียน นักศึกษาไดเรียนทุกคน จะมีการตั้งชมรมเพลง ขอทานอยางเปนรูปธรรม นอกจากน้ันควรมีการรวบรวมการแสดงเพลงขอทานท่ีแสดงโดยครู ประทีป สุขโสภา โดยสืบคนจากส่ือประเภทตาง ๆ ไวเปนคลังความรู และจัดใหมีกิจกรรม สืบสาน และอนุรักษเพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย โดยเชิญผูที่เคยไดรับการถายทอดเพลงขอทาน จากครูประทีป สุขโสภา มาถายทอดองคความรูใหแกบุคลากร นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัย นาฏศิลปสุโขทัย และจัดใหมีการแสดงเพลงขอทานในที่สาธารณชนเพื่อฟนฟูใหเพลงขอทานคง อยคู กู ับจงั หวดั สุโขทัยสบื ตอไป

บรรณานกุ รม ธนิต อยูโพธ.ิ์ 2523. เคร่ืองดนตรไี ทยเครื่องดนตรไี ทยพรอมดวยตาํ นานการผสมวงมโหรี ปพ าทย และเครื่องสาย. พิมพค รั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา. ไพวนั คงกระพนั ธ. 2542. ภมู ิปญ ญาชาวบา นทองถน่ิ สโุ ขทยั . สโุ ขทยั : โรงพิมพรตั นสุวรรณ. สเุ ทพ วสิ ิทธิเขต. 2553. การศกึ ษาอตั ลกั ษณก ารแสดงเพลงขอทานของครปู ระทีป สุขโสภา. [ปรญิ ญานพิ นธ ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขา มนุษยดรุ ยิ างควิทยา]. กรงุ เทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ฟา มุย ศรีบวั . 2555. เพลงขอทาน ครปู ระทีป สุขโสภา [ปริญญานพิ นธ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาการดนตรีและนาฏศิลป]. พิษณโุ ลก: บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัย นเรศวร. ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2558. สารานกุ รมศพั ทดนตรีไทย ภาคคตี ะ-ดรุ ิยางค. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี : สหมิตรพรนิ้ ตง้ิ .

ช่อื เรือ่ ง การถายทอดทาราํ โขนลงิ ของคุณครูวโิ รจน อยูส วัสด์ิ ชื่อ สกุลผนู ําเสนอ นางสาวนันทนา สาธติ สมมนต หนวยงาน คณะศิลปศกึ ษา สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป การจดั การความรูดา น ทํานบุ าํ รุงศลิ ปวัฒนธรรมภูมปิ ญ ญาทอ งถิน่ เบอรโทรศัพทมอื ถือ 091-4426959 Email address [email protected] บทสรปุ ผบู ริหาร การจัดการความรเู รื่อง“การถายทอดทาราํ โขนลิงของคณุ ครูวโิ รจน อยูสวัสด์ิ ” จัดทาํ ข้ึนภายใตประเดน็ ยุทธศาสตรการพัฒนาการจดั การศึกษาดา นนาฏศลิ ป ดรุ ิยางคศิลปและคีตศิลป ใหมีคุณภาพและมาตรฐานเปนที่ ยอมรับระดับชาติ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเพอ่ื รวบรวมองคค วามรขู องผูเชยี่ วชาญดานนาฏศิลปไทยของคณะศลิ ปศึกษา สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป เพือ่ จดั ทํารปู เลม ขอมลู เกยี่ วกบั เทคนคิ กลวิธกี ารถา ยทอดทา ราํ ของผูเชี่ยวชาญดา น นาฏศิลปไทย คณะศิลปศกึ ษา สถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป เหน็ คณุ คา และความสาํ คัญขององคความรเู กยี่ วกบั การ ถายทอดทา ราํ โขนลิงของคณุ ครูวิโรจน อยูสวัสดิ์ จึงคนหาประเดน็ ความรดู งั กลา วเพ่อื นําไปสกู ารจัดการเรยี นการ สอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผเู รียนใหมคี วามรคู วามสามารถตามเกณฑม าตรฐาน จงึ ดําเนนิ การจดั ทาํ องคความรู เร่อื ง“การถายทอดทารําโขนลิงของคณุ ครูวิโรจน อยูส วสั ด์ิ ” นข้ี ึ้น การจดั การความรเู รอื่ ง“การถา ยทอดทารํา โขนลิงของคุณครูวโิ รจน อยสู วัสดิ์ ” เปน การรวบรวมเทคนิค กลวิธีการถา ยทอดทาราํ ของผูเ ช่ยี วชาญดา นนาฏศิลปไทยคณุ ครู วิโรจน อยสู วสั ดิ์ ต้งั แตการคดั เลือกผเู รยี นใหเปน ตัวลงิ หลักทัว่ ไปในการสอนกระบวนการถา ยทอดทา ราํ และกลวิธีในการถายทอดทา รําของครวู ิโรจน อยสู วัสด์ิ ในการดําเนนิ การจดั การความรเู ร่อื ง“การถา ยทอดทารํา โขนลิง ของคุณครู วโิ รจน อยูสวสั ด์ิ ” เมอื่ กลนั่ กรองความรูแลว จะจัดทําเปนเอกสารเผยแพรขอมลู ความรูจ ากการจัดการความรจู ัดทาํ เปน เอกสาร ประกอบการสอนแกค ณาจารยแ ละบุคลากรในภาควชิ ารวมท้ัง เผยแพรแกว ทิ ยาลัยนาฏศิลปทกุ แหง ทม่ี กี ารเรยี น การสอนเก่ียวกับดา นนาฏศลิ ปร วมทง้ั เผยแพรขอ มลู ความรใู นรูปแบบของสื่ออเิ ลก็ ทรอนคิ ส Ebookทางเวบ็ ไซต คณะภาควิชาฯเฟสบคุ ของภาควชิ าฯเฟสบคุ ของคณะตลอดจนเว็บไซตข องสถาบนั ฯเผยแพรใ หแ กบุคลากรและ บคุ คลท่ัวไปทมี่ ีความสนใจ คําสาํ คญั การถายทอดทารํา Executive Summary

2 Title of knowledge management \"Knowledge Transfer Khon Monkey Dance Posture of Teacher WiroteYoosawad\" was studied under the strategy aspect in development of educational management in Thai Classical Dance, Art of playing music and Arts to be good quality and standard in national acceptance by have objectives to gather all knowledges of Thai Classical Dance's specialists in Faculty of Art Education, Bunditpatanasilapa Institute for paper making about techniques and strategies in knowledge transfer dance posture of specialists in Thai Classical Dance at Faculty of Art Education, Bunditpatanasilapa Institute, to realize in values and important of knowledges in Khon Monkey knowledge transfer of teacher WiroteYoosawad, then researching this issue of knowledges for taking into teaching method in order to improve learners'qualities to get the knowledges and abilities as per educational standard, hence to process this knowledge management of knowledge transfer Khon Monkey Dance Posture of Teacher WiroteYoosawad. This knowledge management of \"Knowledge Transfer Khon Monkey Dance Posture of Teacher WiroteYoosawad\" be collecting techniques and strategies in knowledge transfer dance posture of specialist in Thai Classical Dance who be teacher WiroteYoosawad since selecting learners to learn as monkeys, principle in teaching, knowledge transfer dance posture method and teacher WiroteYoosawad strategy in knowledge transfer. The process of this knowledge management, after knowledges' screening, will prepare public relation documents of this knowledge management, print out papers for teaching manuals to all staffs of teachers and staffs in Thai Classical Dance division also to all College of Dramatic Arts in Thailand where have Thai Classical Dance teaching altogether contribute information of knowledges as in electronic educational media as Ebook, in website, facebook of Thai Classical Dance division and facebook of Faculty and Institute to all interested general persons and others staffs. Keyword. Knowledge Transfer Dance Posture.

3 บทนาํ โขน เปน การแสดงนาฏศิลปไ ทยประเภทหน่ึง ซึง่ นบั ไดว า เปน ศลิ ปการแสดงประจําชาติทีม่ ีความวิจิตร งดงามเปนที่ยอมรบั ของนานาอารยประเทศ อนั เปน มรดกทางวัฒนธรรมท่ีทรงคุณคา ของชาติไทยศลิ ปะการแสดง แขนงนี้ไดรับการถา ยทอดตอ มาจากบรมครใู นอดตี จากรุนสูร ุน มาจนถงึ ปจ จบุ นั ซึ่งการฝกหดั โขนนน้ั เปน วชิ าทกั ษะ ท่ตี อ งใชพละกาํ ลงั ในการฝก ฝนอยางมาก ดงั น้นั ผทู เี่ รียนโขนจะตองเปน ผทู ่ีมคี วามพรอ มทั้งดา นรางกายและจติ ใจ กลา วคือตอ งมีใจรัก มคี วามขยัน อดทนฝก ฝนอยา งสมาํ่ เสมอจึงจะทาํ ใหก ารเรยี นประสบความสําเรจ็ และสามารถ สบื สานภมู ปิ ญ ญาของบรรพชนทไ่ี ดสรา งผลงานดานนาฏศิลป ไวถ อื เปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทย การสืบทอดนาฏศิลปไ ทยในสมัยโบราณ เปน การถายทอดแบบตัวตอตวั ใชวธิ กี ารจาํ และราํ ตาม ไมมกี าร บนั ทกึ เปน ภาพหรอื เปน ลายลักษณอักษร องคค วามรูท้ังหมดจึงอยใู นตัวครูผูถา ยทอดถือเปน ผูที่มีความสามารถ ราํ กีค่ รัง้ ก็ไมผดิ แบบแผน ครูนาฏศิลปจ ึงมีความสาํ คัญตอ ลกู ศษิ ยมาก ในสมยั โบราณลูกศิษยจะเขา ไปฝากตวั กบั ครู ดแู ลปรนนบิ ัตริ ับใชใ หครูเมตตารักใคร เหน็ ความตัง้ ใจ มีศรัทธาแนวแนทีจ่ ะเรียนรูทาราํ จึงเปนความผูกพนั รักใคร ท่ีครูกบั ลูกศษิ ยมตี อ กนั ปลกู ฝงเรื่องของความกตญั กู ตเวทแี กผ ูเปนศษิ ย อบรมสัง่ สอนคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม จารีตประเพณไี ปพรอ มๆกบั ความรูท างนาฏศลิ ป แตป จ จบุ ันการเรยี นการสอนนาฏศิลปบ รรจุในหลกั สตู ร เรียนใน หอ งเรียน การตอกระบวนทาเปนไปตามบทเรียนทก่ี าํ หนดไว ซง่ึ ครผู สู อนแตละคนตองใชป ระสบการณท ี่มีนาํ มาใช ในการพัฒนาการเรยี นการสอนเพอ่ื พัฒนาผูเรียนอยา งมาก องคความรขู องครผู ูสอนแตล ะคนไมไ ดมกี ารเผยแพร หรอื จดบันทกึ เปน ลายลกั ษณอ กั ษร โดยเฉพาะองคความรขู องผเู ชย่ี วชาญดา นนาฏศลิ ปไ ทย ถือวาเปนส่ิงท่ีมคี ุณคา มคี วามสําคญั ตอ การสืบทอดและการสรางสรรคผ ลงานดานนาฏศิลปไทยเปนอยางมาก คณุ ครู วิโรจน อยสู วัสดิ์ เปนผูเชย่ี วชาญดานนาฏศลิ ปไ ทย(โขนลิง) ของคณะศลิ ปศึกษา สถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ปเปน ผูมคี วามรูความสามารถมีฝมอื และมพี รสวรรคใ นดานการแสดงรวมถงึ ดา นการถา ยทอดกระบวนทา รําใหก บั ลกู ศิษยม าโดยตลอด ทานเปน คุณครทู อ่ี ทุ ิศตนเพ่อื ศิลปะ อุทศิ เวลาของตนใหก บั ศษิ ย ถายทอดความรโู ดย ไมป ด บังอําพราง มเี ทคนคิ กลวธิ ใี นการถา ยทอดทารําใหกับศษิ ยแตล ะรุน องคค วามรูของทา นยังไมม ีการจดบนั ทกึ เปน ลายลกั ษณอกั ษร ซง่ึ กระบวนการถายทอดทา ราํ เทคนิค กลวิธีของคณุ ครูเปน องคความรทู ี่เปนประโยชนต อ การพฒั นาการจัดการเรียนการสอนอยางมากสง ผลตอครูผสู อนดา นนาฏศิลปไ ทยและสง ผลดตี อ คณุ ภาพของผูเรียน สงผลตอ การพฒั นาหนว ยงานใหบ รรลุผลตามประเด็นยทุ ธศาสตรที่กาํ หนดไว วธิ กี ารดําเนินงาน

4 การจัดทําแผนการจัดการความรู (KM Action Plan) คณะศิลปศกึ ษา เรอ่ื ง “การถายทอดทาราํ โขนลิง ของคณุ ครู วิโรจน อยูสวสั ดิ์ ” ไดจ ดั ทาํ กจิ กรรมประกอบดว ย 7 กิจกรรม ไดแก กจิ กรรมที่ 1 การคน หา ความรู กจิ กรรมที่ 2 การสรา งและการแสวงหาความรู กิจกรรมท่ี 3 การจดั การความรูใหเปน ระบบ กิจกรรมที่ 4 การประมวลและการกลน่ั กรอง ความรู กจิ กรรมที่ 5 การเขา ถึงความรู กจิ กรรมท่ี 6 การแบง ปน แลกเปลี่ยนความรู และกิจกรรมที่ 7 การเรียนรู ดังรายละเอียดตอ ไปนี้ กจิ กรรมท่ี 1 การคน หาความรู คณะศลิ ปศึกษาไดดาํ เนินการจดั ประชมุ แตงตง้ั คณะกรรมการจัดการความรูดาน ทาํ นบุ ํารุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ และดําเนนิ การจัดประชมุ คณะกรรมการฯขึน้ โดยคณะกรรมการไดร วมกันหารือถึงประเดน็ ความรู ทีเ่ กีย่ วของกบั ทาํ นบุ าํ รุงศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นทีส่ อดคลองกบั ประเด็นยุทธศาสตร วสิ ยั ทศั นและ พนั ธกิจของสถาบนั และเปนประโยชนตอ การพัฒนาการเรียนการสอน ที่ประชมุ มีความเหน็ ดาํ เนินการจัดการ ความรดู านภูมิปญ ญาทองถิ่น ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 256 1 ในประเด็นเรอ่ื ง “การถา ยทอดทารํา โขนลงิ ของ คุณครูวโิ รจน อยูส วัสด์ิ ” ดว ยเหตุท่ีคณะศลิ ปศึกษาเปน หนวยงานที่มีภารกจิ หลักในการผลิตบัณฑิตวิชาชีพครู สาขาวิชาชีพเฉพาะดานศิลปวัฒนธรรม ดังนนั้ ทั้งอาจารยแ ละนักศกึ ษาจงึ ตองมคี วามรคู วามสามารถทางดาน วชิ าชพี เฉพาะอยางลุมลึกการจดั เก็บองคค วามรูทางดา นภูมปิ ญ ญาของผเู ชี่ยวชาญ จึงเปน สิง่ สําคัญที่จะใหอาจารย ของสถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป และหนวยอ่นื ๆท่เี กี่ยวของ สามารถนําไปเปน แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนให มปี ระสทิ ธิภาพ อีกทั้งสามารถอนรุ กั ษและนาํ ความรไู ปใชป ระโยชนไ ดทัง้ ทางตรงและประยุกตใ ชส รา งสรรคงานได อยา งมีหลักการ ตลอดจนสามารถนาํ ไปบรู ณาการกับศาสตรต างๆไดเ ปน อยา งดี โดยดาํ เนินกิจกรรม ดังนี้ 1.1 แตง ตงั้ คณะกรรมการจดั การความรู (KM Team) โดยพจิ ารณาจากคณาจารยและบุคลากรที่ มีความรคู วามสามารถดานนาฏศลิ ป 1.2 ประชมุ คณะทํางานวางแผนเพอื่ จัดการความรูโ ดยจดั ทํา (Knowledge Mapping) แผนการ ปฏิบตั ิงานปฏิทนิ การปฏิบตั ิงานกาํ หนดผปู ระสานงานเพ่อื จัดทาํ องคความรู 1.3 ประชมุ คณะทํางานเพอื่ วางแผนการสมั ภาษณคิดประเดน็ คาํ ถามการสมั ภาษณกําหนดวัน สมั ภาษณแ ละนดั หมายผูใ หส ัมภาษณ กจิ กรรมที่ 2 การสรางและการแสวงหาความรู เมือ่ ไดขอสรุปเก่ยี วกบั ประเดน็ องคค วามรูด านภูมิปญญาทจ่ี ะดําเนินการจัดเกบ็ ทาง คณะกรรมการฯ จึงไดด าํ เนินการนดั หมายวนั เวลา ในการสัมภาษณผ ูเชี่ยวชาญคุณครูวโิ รจน อยูส วัสดิ์ โดยมีประเดน็ การสมั ภาษณ ดงั น้ี

5 2.1 ประเดน็ คาํ ถามการสมั ภาษณ 1) การคัดเลอื กผูเรียนใหเปน ตวั ลงิ 2) หลักท่ัวไปในการสอนของครูวโิ รจน อยูสวัสด์ิ 3) กระบวนการถายทอดทารําของครูวิโรจน อยสู วัสด์ิ 4) กลวธิ ีในการถา ยทอดทาราํ ของครูวโิ รจน อยสู วัสด์ิ ภาพท่ี 1 สัมภาษณผูเชีย่ วชาญคณุ ครูวโิ รจน อยสู วสั ดิ์ กจิ กรรมท่ี 3 การจัดการความรูใหเ ปน ระบบ คณะกรรมการการจัดการความรไู ดดาํ เนนิ การจัดเกบ็ องคค วามรใู หเปน ระบบ บันทกึ องคความรูที่ ไดในระบบจดั เก็บความรู โดยรวบรวมและสรุปประเด็นความรเู กยี่ วกบั เทคนิค กระบวนการถา ยทอดทา รํา กลวิธี การถา ยทอดทา รํา ของคณุ ครูวโิ รจน อยูสวัสด์ิ ดาํ เนนิ การจดั ทําสื่อ ส่งิ พมิ พ ท่เี กยี่ วกบั องคความรูทดี่ าํ เนินการ จดั เกบ็ รวมถงึ การจัดทําชอ งทางในการสบื คนเกย่ี วกับองคความรูด า นภูมิปญ ญาทีจ่ ัดเกบ็ ไว เพ่อื ใหก ลมุ เปาหมาย

6 ซ่ึงไดแก คณาจารยภายในคณะ ภายนอกคณะและผูสนใจทวั่ ไป งายและสะดวกตอการสืบคน เผยแพร และการ เขา ถึงองคค วามรทู ดี่ าํ เนินการจัดเก็บไว กจิ กรรมที่ 4 การประมวลและการกลัน่ กรองความรู มีการตรวจสอบขอ มูลองคค วามรโู ดยผเู ชีย่ วชาญตรวจสอบความถูกตอ งเน้ือหา ขอ สรปุ ภาษา อกี ครงั้ หนึ่งกอ นดาํ เนนิ การจัดทาํ จัดทาํ เอกสารความรูเปนรปู เลม เพอื่ การเขาถึงอยางงา ย และนําองคความรทู ่ีไดไป ใชในการจัดการเรยี นการสอนใหเกดิ ประโยชนโ ดยใหค รผู สู อนแตล ะระดับชน้ั นําองคความรูทไี่ ดไ ปใชพรอ มท้งั ให ขอ เสนอแนะเพอ่ื ปรับปรงุ อยา งตอเนื่อง กจิ กรรมที่ 5 การเขา ถงึ ความรู จัดทาํ รปู เลมขอ มูลเกย่ี วกับกระบวนการถา ยทอดทาราํ กลวิธีการถา ยทอดทา รําของผูเช่ียวชาญ ดานนาฏศิลปไ ทย เผยแพรข อมลู ทางระบบเครือขายเทคโนโลยี สารสนเทศ เวบ็ ไซตคณะวชิ าฯเฟสบคุ ของภาควิชา ฯเฟสบคุ ของคณะฯตลอดจนเว็บไซตข องสถาบนั ฯ และเผยแพรเอกสาร e-bookเพอ่ื ใหทุกคนสามารถเขาถึงขอมลู องคความรูที่ไดต ลอดเวลา กิจกรรมท่ี 6 การแบง ปนแลกเปล่ียนความรู คณะกรรมการการจดั การความรูไดจัดเตรยี มชอ งทางการแลกเปลยี่ นองคความรดู าน ทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทไี่ ดด าํ เนนิ การจดั เกบ็ ทงั้ ในสว นของการนําเสนอแลกเปลย่ี นและเสวนาของบคุ ลากร ภายในคณะ ดว ยการประชมุ หรอื การสมั มนา จดั เวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู Km dayแลกเปลย่ี นความรทู าง Face book, Email และจัดทําเปน เอกสารรูปเลม เผยแพรใ หว ิทยาลัยนาฏศลิ ปทุกแหงไดนําไปใชแ ลว สง ขอ เสนอแนะมา ให เพ่อื เปน การแลกเปลีย่ นเรยี นรูเ กีย่ วกับผลของการนาํ องคค วามรทู ่จี ดั เก็บไปใชประโยชน โดยกลมุ เปา หมายหรอื ผสู นใจ ผา นชอ งทางการสือ่ สารตา งๆ กิจกรรมที่ 7 การเรียนรู นาํ องคความรูที่ไดจ ากผเู ชยี่ วชาญคุณครู วิโรจน อยสู วสั ด์ิ ไปใชพ ัฒนาการเรียนการสอนของภาควิชา นาฏศิลปใ นรายวิชาทักษะนาฏศลิ ปท ุกระดบั ชนั้ และใหเ ขียนสรปุ ผลท่ไี ดร ับพรอมขอ เสนอแนะ เม่ือไดร บั ขอ เสนอแนะ และคาํ แนะนาํ เก่ียวกับองคค วามรทู ดี่ าํ เนินการจัดเก็บแลว นนั้ คณะกรรมการการจัดการความรูไดนาํ ผลทไ่ี ดจ ากการนาํ องคค วามรูไปใช มาแกไ ข ปรับปรงุ ตามขอเสนอแนะทไ่ี ด โดยเปนการนําผลทไี่ ดจ ากการ แลกเปล่ียนเรียนรเู กย่ี วกับผลของการนาํ องคค วามรูท่จี ดั เก็บไปใชป ระโยชน มาวางแผนในการสงเสริม แกไข เปล่ยี นแปลง องคความรูท ่จี ดั เก็บเดิม ใหมคี วามสมบรู ณ ชัดเจนมากขึ้น

7 สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน การจดั การความรเู รอ่ื ง“การถายทอดทารําโขนลิงของคณุ ครูวโิ รจน อยสู วัสด์ิ ” เปนการจัดการความรู ดานทาํ นบุ าํ รงุ ศิลปวฒั นธรรมภมู ปิ ญญาทองถนิ่ เปน การรวบรวมองคความรขู องครผู เู ชย่ี วชาญดา นนาฏศิลปไ ทย ของคณะศลิ ปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป โดยมวี ัตถุประสงคใ นการดําเนินการจดั การความรู ดงั นี้ 1) แนวทางการคัดเลือกผูเรียนใหเ ปนตัวลิงของคณุ ครูวิโรจน อยสู วสั ดิ์ 2) หลักท่วั ไปในการสอนของคณุ ครูวโิ รจน อยูส วัสดิ์ 3) กระบวนการถา ยทอดทา รําของคณุ ครูวิโรจน อยูสวสั ดิ์ 4) กลวธิ ใี นการถายทอดทารําของคุณครูวโิ รจน อยูสวัสดิ์ ผลการดาํ เนินงาน 1) แนวทางการคดั เลือกผูเรียนใหเปนตวั ลงิ ของคุณครูวโิ รจน อยสู วัสดิ์ จากการสัมภาษณ เกีย่ วกับเรอื่ งการคดั เลอื กผเู รียนใหเปน ตวั ลิงของคุณครวู โิ รจน อยสู วสั ด์ิ พบวาการ เรยี นในสาขานาฏศิลปไทย (โขน) ซง่ึ มตี วั พระ ตัวยกั ษ และตัวลิง จะตอ งมกี ารคดั เลอื กผเู รียนใหเ หมาะสมโดยใน สว นของคณุ ครวู โิ รจน อยูส วัสดิ์ ทานมแี นวทางในการคัดเลอื กผเู รยี นใหเ ปน ตัวลิง โดยพิจารณาจากรูปรา งตองมี รูปรา งสนั ทัด คอนขา งทว ม ไมส งู เกงกางจนเกินไป หวั ไหลแ ละชวงอกผึง่ ผาย ชว งคอสมสว นไมสน้ั และยาว จนเกินไป ขาท้ังสองตอ งไมค ด โกง เก หรือพิการ ชวงนิว้ เทา ทั้ง 5 ไมบดิ เบยี้ ว หรอื เก หงกิ งอ สุขภาพสมบรู ณ แข็งแรง ทาทางคลองแคลววอ งไว นอกจากน้จี ากการสมั ภาษณ ครวู ิโรจน อยสู วสั ด์ิ ยงั พบวา ในการคดั เลือกผเู รียนโขนน้นั ตัวลงิ จะเปนตวั ที่ เหลอื จากการคัดเลอื กของตัวพระและตัวยกั ษ เนื่องจากตวั พระจาํ เปนตอ งคัดเลือกผูเรียนทมี่ ีใบหนาและรูปรา ง งดงาม สวนตัวยกั ษจ าํ เปน ตอ งคัดเลือกผูเรยี นที่มรี ูปรางสูงใหญ กาํ ยํา จงึ เหลอื ผเู รียนทรี่ ูปรา งเตี้ย ล่ํา เปน ตัวลงิ ทั้งนี้เมอ่ื มีการคดั เลอื กใหออกแสดงกจ็ ะคัดผูเ รยี นอกี ครัง้ วาคนไหนมลี ักษณะรูปรา งเหมาะสมกบั บทบาทใดของตัว

8 ละคร เชน บทบาทสคุ รีพซึ่งเปนลิงพญา จะคัดเลือกผูแ สดงทีม่ รี ูปรา งสงา งาม มีมาดของผูน ําและสูงกวา หนมุ าน องคต และนิลนนท สวนบทบาทหนมุ านซงึ่ เปน ทหารเอกจะคดั เลือกผทู ม่ี ีรปู รา งสมสว น ดูแข็งแรง กลา วคือตอ งคดั ผูแสดงใหเ หมาะสมกับบทบาทและตาํ แหนง ของตวั ละคร 2) หลกั ทวั่ ไปในการสอนของคุณครูวโิ รจน อยูส วสั ด์ิ จากการสัมภาษณ เก่ียวกบั หลกั ทวั่ ไปในการสอนของคุณครูวิโรจน อยสู วัสด์ิ พบวามีหลกั ในการสอน ดังนี้ 2.1 ดา นเนื้อหาและเรอื่ งทส่ี อน 2.1.1 สอนโดยเรียงลําดับเนอ้ื หาจากบทเรียนทงี่ า ยไปสูบทเรยี นทย่ี ากโดยลาํ ดบั และตอเน่ืองกนั 2.1.2 ถา ยทอดความรโู ดยเนน ความถูกตอ งของเนือ้ หา รักษากระบวนทา ตามหลกั สูตรการเรยี น การสอน และยดึ หลักปฏบิ ัตติ ามจารตี ท่ีเคยสืบตอกนั มาแบบด้งั เดมิ 2.1. 3สอนอยา งมีเหตุผล ตรงไปตรงมา นา เช่ือถอื ศษิ ยเ ขา ใจงา ย 2.1.4สอนจากประสบการณต รงทที่ านไดรับ ดวยเหตุทค่ี ุณครูวิโรจน อยูสวัสดิ์ เปน ผทู ี่ไดรบั การถา ยทอดความรูม าต้ังแตเยาววยั และ มีประสบการณก ารแสดงในรูปแบบตา งๆท้งั ในราชสํานกั และนอกราชสาํ นกั การแสดงท้ังในประเทศและ ตา งประเทศ ทําใหท านมีประสบการณมาเลา ประกอบการเรียนรใู หลูกศษิ ยตลอดเวลา และจะสอนศษิ ยใหข ยนั มี ความอดทน หม่นั ฝก ฝน พฒั นาตนเองตลอดเวลา 2.2 ดา นผเู รียน 2.2.1 สอนโดยคํานึงถงึ ความพรอ มของผูเรยี น ระดบั การเรยี นรู ระยะเวลา และวยั ของผเู รียน วา ควรไดร ับความรูในระดบั ไหน อยา งไรบา ง 2.2. 2 สอนโดยคาํ นงึ ถงึ ความแตกตา งระหวางบคุ คล ความสนใจ ความถนัดและความตองการ ของผเู รยี น ตลอดจนบคุ ลกิ ภาพของผูเรียน 2.2.3 สอนโดยคํานงึ ถงึ ผลลพั ธท ีม่ คี ณุ ภาพของผูเรยี น โดยมงุ ม่นั ใหผ ูเรยี นไดรับความรูอยาง ถูกตอ งและสามารถนําไปใชไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2.2.4 ปรบั วิธกี ารสอนใหเ หมาะสมกับความสามารถของผเู รยี นแตล ะบคุ คล เน่อื งจากผูเ รียนแต ละคนมีพื้นฐานความรแู ละความสามารถท่ตี างกนั เชน นกั เรยี นคนไหนสามารถปฏบิ ัตทิ าไดเ ร็วกจ็ ะสอนเทคนคิ ลลี าเพ่อื พฒั นาความสามารถของผูเรียนใหมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น แตถ า นกั เรยี นคนไหนปฏบิ ตั ิทาไดช า ครูก็จะ

9 สอนซาํ้ และใหผเู รียนฝก ปฏบิ ัตบิ อยๆจนเกิดความชํานาญ บางครงั้ อาจใชวิธีการสอนแบบเพอ่ื นชว ยเพื่อนในการ ฝก ฝน เพ่อื ใหผ ูเรียนเกิดความแมน ยํา 2.3 ดา นการสอน 2.3.1 สอนโดยมุง เนื้อหาเปนสาํ คญั เพือ่ ใหเ กิดความรู ความเขา ใจในสงิ่ ที่สอนและสามารถนําไป ปฏิบัติได นอกจากนยี้ งั สอดแทรกความรดู านทฤษฎี เพ่ือใหผเู รยี นไดท ราบเรอ่ื งราวเก่ียวกบั เนือ้ หาในบทเรยี นมาก ขึน้ 2.3.2 ถา ยทอดความรูโดยใชภาษาท่เี ขาใจงา ย มคี วามชดั เจน ตรงไปตรงมา 2.3.3 ถา ยทอดความรูโดยไมปด บงั อาํ พรางโดยอธิบายและสาธิตแนะนาํ ผูเ รียนอยางละเอียด จนกระทัง่ เหน็ วา ผเู รียนสามารถปฏิบตั ไิ ดอ ยางถกู ตอง 2.3.4 จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยสง เสริมหลกั ประชาธปิ ไตยคือเปดโอกาสใหแ สดงความ คิดเห็น มกี ารรบั ฟง ความคิดเห็นซ่งึ กนั และกนั เคารพความคดิ เห็นของผอู ื่น และเปดโอกาสใหเรียนสามารถ สอบถามความรูได 3) กระบวนการถายทอดทา รําของครูวโิ รจน อยูส วัสด์ิ ในการถายทอดทา ราํ โขนลิงของครวู โิ รจน อยูส วัสดิ์ มีกระบวนการในการถา ยทอดทารํา ดังนี้ 3.1 อธบิ ายความเปน มาและภาพรวมของเนอื้ หาในบทเรียนที่สอน 3.2 แจกบทโขนใหผ ูเรียนศกึ ษา และทําความเขา ใจบทบาท อารมณข องตัวละคร 3.3 ฝกใหผเู รียนรอ งเพลง ฟง ทํานองเพลงและจบั จงั หวะ เพอื่ ใหผ เู รียนสามารถจดจาํ กระบวนทา รําไดร วดเร็ว และปฏิบัติไดอยา งถกู ตองย่งิ ข้นึ 3. 4 สาธิตกระบวนทา รําใหด เู ปนแบบอยาง และใหผเู รียนปฏิบัติตามจนสามารถจดจาํ กระบวนทา ราํ ได 3. 5 ปรบั แกไขกระบวนทาของผเู รียนใหม คี วามถกู ตอ งและเสรมิ เทคนิค กลวธิ ีในการปฏบิ ัติทา ราํ ใหสวยงามยง่ิ ข้นึ 3.6 ฝกฝนผเู รียนโดยใหป ฏิบตั ซิ ้ําหลายๆ ครงั้ จนเกิดความชาํ นาญ 4) กลวิธใี นการถายทอดทารําของครูวิโรจน อยูสวัสด์ิ กลวิธีในการถา ยทอด หมายถงึ เทคนิคการสอน หรือกลวธิ ตี า งๆทีใ่ ชเสริมกระบวนการสอน ขน้ั ตอนการ สอน หรอื การกระทําตางๆในการสอนใหม ปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้นึ โดยมเี ทคนิค กลวธิ ใี นการสอน ดังน้ี

10 4.1 สงเสริมใหผ เู รยี นหมน่ั ศกึ ษาและแสวงหาความรูดวยตนเองโดยครคู อยชแ้ี นะใหค าํ ปรกึ ษา 4.2 ใชภ าษาในการสื่อสารกบั ผเู รยี นทเ่ี ขาใจงาย ชัดเจน มีการเลือกใชคําพูดสือ่ สารกบั ผูเรยี นเพื่อ ชว ยใหส ามารถจดจาํ กระบวนทารํา และวิธกี ารปฏิบตั ิไดงา ยข้นึ 4.3 ปรับแนววิธีการสอนโดยเฉพาะสอนแกผ ูเรียนเยาววยั โดยใหเ รียนรเู กี่ยวกับอวยั วะทิศทาง การเคล่อื นไหวและสง่ิ แวดลอ มใกลต ัว ตลอดจนการปฏิบตั ปิ ระจําวันมาดําเนนิ ใหส อดคลอ งกับทักษะนาฏศิลป 4.4 มกี ารใชค ําพูดเพื่อกระตนุ ผูเรียน ใหเ กิดความมานะพากเพยี ร และเกิดความรสู ึกทีอ่ ยาก พฒั นาตนเองอยเู สมอ นอกจากน้ยี งั คอยใหกําลังใจและกลา วชนื่ ชมเม่อื ผูเ รียนมีการปรบั ปรุงแกไขขอบกพรอ งไดดี ข้ึน 4.5สอนใหผ เู รยี นฝก ปฏิบตั ิจริง โดยครูคอยวัดผล ประเมนิ ผลตามสภาพจริงอยางตอ เนอ่ื งและ แกไ ขขอ บกพรอ งใหแ กผเู รียนตอ ไป 4.6 ในการสอนปฏบิ ัติ หากผูเรยี นปฏบิ ตั ทิ าไมถ กู ตองสวยงามตามหลกั ของนาฏศลิ ปไ ทย ครจู ะ เขา ไปแกไขกระบวนทา โดยการจับทาใหถ ูกตองและอยูใ นตาํ แหนง ทส่ี วยงามตามสรรี ะของผเู รียน และใหคา งทาน่ิง ไว จากนั้นใหผ เู รยี นปฏิบัตซิ าํ้ จนกระทั่งเกิดการพัฒนาที่ดีขน้ึ ภาพท่ี 2 คุณครวู โิ รจน อยสู วสั ดิ์ ขณะถา ยทอดทาราํ โขนลงิ ทมี่ า : วา ท่ีรอยตรจี ตพุ ร ภักดี

11 อภิปรายผลการดาํ เนนิ งาน จากการดําเนนิ งานพบวา การจดั การความรเู รื่อง“การถายทอดทารํา โขนลงิ ของคุณครูวิโรจน อยูส วัสด์ิ ” เปน องคค วามรูท ี่เปน การรวบรวมองคความรูของครูผูเ ช่ียวชาญดา นนาฏศิลปไทยของคณะศลิ ปศกึ ษา สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป สามารถนํามาใชพ ฒั นาองคกรในดา นการเรียนการสอนในทุกระดบั ช้นั ของ คณะ ศิลปศึกษา สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ปไ ด โดยครูผสู อนสามารถนําองคค วามรูทไ่ี ดจ ากผูเ ชี่ยวชาญคณุ ครู วิโรจน อยูส วสั ด์ิ มาพฒั นาการเรียนการสอนของภาควชิ านาฏศลิ ปใ นรายวิชาทกั ษะนาฏศิลปท กุ ระดบั ชนั้ และใหเ ขียน สรุปผลทไี่ ดร ับพรอ มขอ เสนอแนะ สรุป การจัดการความรเู รอ่ื ง“การถา ยทอดทารํา โขนลงิ ของคณุ ครู วโิ รจน อยสู วสั ด์ิ ” เปน การรวบรวมองค ความรูของครผู เู ชยี่ วชาญดานนาฏศลิ ปไ ทยคณะศลิ ปศึกษา สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป มีการจัดทาํ รปู เลมขอมูล เกย่ี วกับกระบวนการถายทอดทา รํา กลวธิ กี ารถายทอดทารําของผเู ช่ียวชาญดา นนาฏศิลปไ ทย มรี ะบบเครอื ขาย เทคโนโลยี สารสนเทศ เว็บไซตค ณะวชิ าฯเฟสบคุ ของภาควิชาฯเฟสบคุ ของคณะวชิ าฯตลอดจนเว็บไซตของสถาบนั ฯ ท่ใี หบรกิ ารการเขา ถงึ ขอ มลู องคค วามรูท่ีไดตลอดเวลา จดั ทาํ เปนเอกสารประกอบการสอนแกคณาจารยและ บุคลากรในภาควิชารวมทัง้ หนวยงานทม่ี กี ารเรยี นการสอนเกี่ยวกับดานนาฏศิลปร วมทัง้ เผยแพรขอมูลความรูใน รูปแบบของส่ืออิเลก็ ทรอนคิ สทางเวบ็ ไซตคณะวิชาฯเฟสบุคของภาควชิ าเฟสบุคของคณะวิชาฯตลอดจนเวบ็ ไซต ของสถาบันฯ รายการอา งอิง ธิติมา อองทอง. บทบาทการออกแบบนาฏยประดิษฐของอาจารยวิโรจน อยูส วัสดิ.์ งานวิจัยรายวิชาการวิจัย 1 สาขานาฏยศิลปไ ทย ภาควิชานาฏยศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลยั , 2553. วโิ รจน อยสู วสั ดิ.์ ผเู ชีย่ วชาญนาฏศิลปไทย (โขนลงิ ) สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม. สัมภาษณ, 24 เมษายน 2561. ____________. ผูเชีย่ วชาญนาฏศลิ ปไทย (โขนลงิ ) สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม. สัมภาษณ, 28พฤษภาคม2561.

12

องคประกอบประเด็นการเขียนบทความแนวปฏิบัตทิ ดี่ ี โครงการประชมุ สัมมนาเครือขายการจัดการความรูฯ ครง้ั ท1ี่ 2 “การจดั การความรสู มู หาวทิ ยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สําหรับอาจารย/ บุคลากรสายสนบั สนุน/ นกั ศกึ ษา แนวทางการเสนอหัวขอวิจัย/สรางสรรคใ หไ ดร บั ทนุ Good practice for proposing topics for research / creation to receive scholarships นางสาวชัญญาภคั แกว ไทรทวม ตาํ แหนง นักวชิ าการศึกษาปฏิบตั ิการ สถานท่ีทํางาน ฝา ยวจิ ัยและนวัตกรรม สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป และ E-mail address [email protected] .......................................................................................................................................................... บทสรปุ ฝายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ไดตระหนักถึงความสําคัญของการเสนอหัวขอวิจัย และการรับรูประโยชนท่ีไดจากการเสนอหัวขอและโครงการวิจัยท่ีดี มีคุณภาพ เพ่ือเปนการเพิ่มโอกาสในการ ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหลงทุนและสามารถพัฒนางานวิจัยท่ีตนถนัดไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการ จัดการความรูของฝายวิจัยและนวัตกรรม จึงไดดําเนินการจัดเก็บองคความรู เรื่อง แนวทางการเสนอหัวขอ วิจัย/สรางสรรคใหไดรับทุน เพ่ือเปนการสรางความรูความเขาใจในการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยที่ถูกตอง และสามารถพัฒนาโครงการวิจัยใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของแหลงทุนตางๆ มากย่ิงขึ้น โดยการเสวนา แลกเปลี่ยนเรยี นรูระหวางคณะกรรมการจัดการความรูของฝายวจิ ยั และนวตั กรรม กบั ผูทรงคุณวุฒิผูท่ีไดรับทุน สนับสนุนการวิจัยจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป หรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือสรุปเปนเอกสารทางวิชาการ จากการแสวงหาความรโู ดยคณะกรรมการจดั การความรู ของฝายวจิ ัยและนวัตกรรม สามารถสรุปเปนประเด็น องคความรู เร่ือง แนวทางการเสนอหัวขอวิจัย/สรางสรรคใหไดรับทุน ไดดังน้ี 1. การเลือกประเด็นหรือหัวขอ วิจัย 2. รปู แบบของโครงรา งวจิ ยั 3. ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการวิจัย 4. วัตถุประสงคการวิจัย 5. กรอบแนวคิดการวิจัยและตัวแปรที่เราจะศึกษาตองชัดเจน 6. การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่ เก่ยี วของ 7. วิธกี ารดาํ เนินการวิจัย 8. การกาํ หนดงบประมาณวิจยั 9. การนาํ ไปใชป ระโยชน Summary Research and Innovation Department of Bunditpatanasilpa Institute realizes the importance of the proposed research topics and also perceives the benefits which receive

from the proposed research topics and high quality of research projects. In this respect, there are in order to increase the chances of funding from research funds and to develop their own research skills. The Knowledge Management Committees of Research and Innovation Department has accumulated the knowledge about the good practice for proposing topics for research / creation to receive scholarships, in order to create a better understanding of writing the research proposals and to develop research projects in line with the objectives of the various funding sources. There is seminar with knowledge sharing between the Knowledge Management Committees of Research and Innovation Department and savants who have received funding from Bunditpatanasilpa Institute or relevant sources to conclude the technical documents. From the pursuit knowledge by the Knowledge Management Committees of Research and Innovation Department, can be summarized as cognitive issues in the topic of the good practice for proposing topics for research / creation to receive scholarships as followed; 1. Selection issues or research topics; 2. Model of research proposals; 3. Background and significance of the research problems; 4. Research objectives; 5. Research framework and clear variables; 6. Literature reviews and relevant researches; 7. Research methodology; 8. Research budgeting; and 9. Implementation คาํ สําคญั ขอเสนอโครงการวจิ ัย,แหลงทุน บทนาํ สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป เปนสถาบันการศกึ ษาท่มี ภี ารกจิ หลกั ในการจดั การศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม ระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษา และระดับพื้นฐาน ทั้งน้ีหนึ่งในพันธกิจหลักของสถาบันฯ คือ การวิจัยและการ สรางผลงานสรางสรรคตอยอดงานศิลปบนพื้นฐานเอกลักษณของทองถิ่นและความเปนไทย และเผยแพร ผลงานในระดับชาติและนานาชาติ ซึ่งการเสนอหัวขอวิจัยเปนกระบวนการท่ีสําคัญอยางย่ิงในการขอรับ สนับสนุนทุนการวิจัยจากหนวยงานตาง ๆ ดังน้ันครู อาจารย นักวิชาการรวมถึงบุคลากรทางการศึกษาของ สถาบันฯ จึงตองแสวงหาความรูใหมๆ เพื่อพัฒนาองคความรูของตนเองในการเขียนขอเสนอการวิจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งครู และอาจารยตองพัฒนาองคความรูในการสอนนักเรียน นักศึกษาในขณะเดียวกันก็ จําเปนตอ งรักษาสถานภาพการเปนอาจารยของตนเองในการดํารงตําแหนงวิชาการไปพรอมกันดวย ในขณะที่ สถาบันฯ ไดกําหนดการควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาทั้งการประกันคุณภาพภายในและการประกัน คุณภาพภายนอก โดยสถาบันฯ ตองมีผลงานวิจัยตามหลักเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษา แตการทําวิจัย ท่ีมีคุณภาพจําเปนตองใชเงินทุนจํานวนมากในการดําเนินการ ซ่ึงผูวิจัยตองแสวงหาเงินทุนเพื่อสนับสนุนการ

วิจัยจากแหลงทุนตาง ๆ จึงตองแขงขันกับผูเสนอขอรับทุนวิจัยที่มีจํานวนเพ่ิมมากขึ้นแตแหลงเงินทุนวิจัยมี จํานวนไมมากนัก ดังน้ันการพิจารณาใหทุนสนับสนุนการวิจัยแตละคร้ังจึงมีหลักเกณฑท่ีเขมงวดเพิ่มมากข้ึน ท้ังน้เี พ่อื คัดเลอื กโครงการวจิ ยั ท่มี คี ณุ คาทง้ั ดานวิชาการและการนําไปใชประโยชนไดจริง ผูเสนอขอทุนวิจัยจึง ตอ งเรยี นรูวธิ ีการทจ่ี ะเขยี นโครงการวิจยั ที่มคี ุณภาพเพ่อื ใหสามารถขอรับทนุ จากหนว ยงานภายนอกได ฝายวิจัยและนวัตกรรมไดตระหนักถึงความสําคัญของการเสนอหัวขอวิจัยและการรับรูประโยชนที่ได จากการเสนอหัวขอและโครงการวิจัยที่ดี มีคุณภาพ เพ่ือเปนการเพิ่มโอกาสในการขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย จากแหลงทนุ และสามารถพัฒนางานวิจยั ที่ตนถนดั ไดอยา งเต็มท่ี จึงไดดําเนินการจัดเก็บองคความรู เร่ือง แนว ทางการเสนอหัวขอวิจัย/สรางสรรคใหไดรับทุน เพื่อเปนการสรางความรูความเขาใจในการเขียนขอเสนอ โครงการวิจัยท่ีถูกตอง และสามารถพัฒนาโครงการวิจัยใหตรงกับวัตถุประสงคของแหลงทุนวิจัยภายนอกมาก ย่งิ ขึ้น วิธกี ารดําเนนิ งาน กจิ กรรมที่ 1 การคนหาความรู แตงตั้งคณะกรรมการจัดการความรู ของฝายวิจัยและนวัตกรรม และดําเนินการประชุม เพื่อกําหนด ประเด็นความรูท่ีจะดําเนินการจัดเก็บ โดยเลือกคณะกรรมการจากผูที่ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบัน บณั ฑติ พฒั นศลิ ป หรือหนว ยงานท่เี ก่ยี วของ ยอ นหลังไมเกิน 2 ป คณะกรรมการบริหารงานวิจัยทางการศึกษา ดานศิลปวัฒนธรรม และการจัดการองคความรู สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป และผูเช่ียวชาญจากสํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) เพื่อกําหนด Knowledge mapping ไดประเด็น เร่ือง “แนวทางการเสนอ หัวขอ วจิ ยั /สรางสรรคใหไ ดร บั ทุน” กิจกรรมที่ 2 การสรางและการแสวงหาความรู - Explicit Knowledge ไดแก การมอบหมายคณะกรรมการการเตรียมตัวทบทวนความรูของตนใน ประเดน็ ทจี่ ะจัดการความรู รวมถงึ การศึกษาเอกสาร ตาํ รา ตางๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั องคค วามรทู ่จี ะจดั เก็บเพิ่มเตมิ -Tacit Knowledge ไดแก ดําเนินการเสวนา แลกเปล่ียน ประเด็นความรูเกี่ยวกับการเสนอหัวขอ วิจยั /สรางสรรคของคณะกรรมการฯ ในหวั ขอเรื่อง “แนวทางการเสนอหวั ขอ วจิ ยั /สรา งสรรคใหไดรับทุน” โดย คณะกรรมการฯ และผูทรงคุณวุฒิ เพื่อสรุปเปนเอกสารทางวิชาการ หรือส่ือในการเผยแพรองคความรู โดยมี การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรูจํานวน 2 คร้ังตอเดือน ระยะเวลาครั้งละ 1 ชั่วโมง ซึ่งเปนการนําเสนอโดย KM Team แตละคนๆ ละไมเกิน 3 นาที ท่ีเหลือรับฟงโดยไมเสนอความคิดเห็นใดๆ ทั้งน้ีฝายเลขานุการของคณะ กรรมการฯ เปนผูจดบันทึกประเด็นองคความรูของแตละรายบุคคล เพ่ือสรุปในแตละคร้ังและเผยแพรให KM Team ไดแลกเปลีย่ นกอนการพดู คุยในครงั้ ตอ ไป กจิ กรรมท่ี 3 การจัดการความรูใหเ ปนระบบ - การดาํ เนนิ การจดั ทําสือ่ เอกสารวิชาการ ทเี่ กี่ยวกบั องคความรทู ่ีดาํ เนนิ การจดั เกบ็ - การจัดทําชองทางในการสืบคน เพ่ืองายตอการเผยแพร และเขาถึงองคความรูโดยมีการจัดองค ความรูทีจ่ ัดเก็บในสวนของการวจิ ัย/สรา งสรรคผ ลงาน และนวัตกรรม

กิจกรรมที่ 4 การประมวลและกลนั่ กรอง - การพิจารณาและแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นของคณะกรรมการฯ - การจดั ทาํ เอกสารขอสรปุ ท่ไี ดจ ากการเสวนา - การตรวจสอบเนื้อหา ภาษา รูปเลมหรือสื่อเพ่ือเปนการดําเนินการตรวจสอบความถูกตอง ความ ครบถวน ของเน้ือหา ภาษา องคความรูท่ีจัดเก็บใหตรงกับการใชงานของกลุมเปาหมาย นําไปใชไดโดยงาย รวมถงึ การนิยามศัพท การกําหนดคําสาํ คญั ในการสืบคน กิจกรรมที่ 5 การเขาถึงความรู 1. สํารวจความตองการของบคุ คลท่ีสนใจสง หัวขอ วิจัยใหไดร ับทนุ 2. จดั โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจยั ในการเขยี นขอเสนอโครงการวจิ ยั ใหไดรับทุน 3. สง องคค วามรทู จี่ ัดเกบ็ ลงในกลมุ ไลน และเฟสบุค ในกลมุ ท่ีเก่ียวของ 4. ประชาสมั พนั ธผา นเว็บไซตของสถาบนั ฯ 5. ติดบอรดประชาสมั พันธใ หแกผูทเี่ กี่ยวของ กจิ กรรมที่ 6 การแบงปนแลกเปล่ยี นความรู การนําเสนอแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับผลของการนําองคความรูที่จัดเก็บไปใชประโยชน และการ เสวนาของผูสนใจเสนอขอรับสนับทุนวิจัยของสถาบันฯ เก่ียวกับขอดี ขอเสีย และสิ่งที่ควรปรับปรุง แกไข เพ่มิ เตมิ ผา นชอ งทางการสอื่ สารตา งๆ ไดแก Facebook Email line และเอกสารทางราชการ กจิ กรรมที่ 7 การเรียนรู การนําขอเสนอแนะจากการนําองคค วามรไู ปใช มาแกไ ข ปรบั ปรุง เพิ่มเติมองคความรูเดิม ใหสมบูรณ และครบถว นเพม่ิ มากขึ้น พรอมทั้งนําผลที่ไดจากการแลกเปล่ียนเรียนรูเกี่ยวกับผลของการนําองคความรูไปใช ประโยชน มาวางแผนในการสงเสริม แกไข เปลี่ยนแปลง องคความรูเดิมท่ีจัดเก็บใหมีความสมบูรณ ชัดเจน และเกิดเปนองคค วามรูใหมต อไป ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนินงาน จากการแสวงหาความรโู ดยคณะกรรมการจดั การความรู ของฝายวิจยั และนวตั กรรม สามารถสรุปเปน ประเด็นองคความรู ไดด งั นี้ 1. การเลือกประเด็นหรอื หัวขอ วจิ ยั 1.1 ควรเลือกประเด็นมีความสอดคลองกับนโยบาย และพันธกิจของสถาบันฯ รวมถึง ยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ โดยเปนประเด็นท่ีมีความสัมพันธเช่ือมโยงกับสถานการณใน สังคม หรอื เปนประเด็นที่สนใจในปจ จุบนั 1.2 การกําหนดช่ืองานวิจัยควรมีความชัดเจน สื่อความหมายใหเขาใจไดวาผูวิจัยจะดําเนิน การศกึ ษาส่ิงใดหรอื บง บอกถงึ ปญหาการวจิ ยั และแสดงขอบเขตของการดําเนินการวจิ ยั

1.3 หัวขอ วจิ ยั ควรสามารถศึกษา วิเคราะหปญหา ตอบขอสงสัยที่สามารถนําไปสูการแกปญหา ทพ่ี บหรอื งานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ด 1.4 ผูวิจัยมีความรูเกี่ยวกบั หวั ขอวิจัยท่ีตอ งการดาํ เนนิ การวิจัย 1.5 หัวขอ วิจัยควรเปน การสรา งองคค วามรหู รือนวัตกรรมใหม ๆ 2. รปู แบบของโครงรางวิจยั 2.1 ผูที่ตองการเสนอโครงรางการวิจัยควรศึกษารูปแบบของโครงรางท่ีจะใชในการเสนอขอทุน วจิ ยั จากแหลง ทนุ ท่ียนื่ ขอเสนอวจิ ัยในหัวขอ ตางๆ ใหช ดั เจน 2.2 ควรมีการติดตอและระบุผูทรงคุณวุฒิหรือผูเช่ียวชาญท่ีมีทักษะหรือความรูประสบการณ ตรงกับประเด็นที่ผูวิจัยตองการดําเนินการวิจัย เพ่ือชวยในการตรวจสอบคุณภาพของโครง รางการวิจยั 2.3 ผูวิจัยควรมีการติดตอประสานกับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของอยางใกลชิด เพื่อติดตาม ตรวจสอบ แกไขหรือสงเอกสารตาง ๆ ที่ไมสมบูรณเพิ่มเติมไดทันตามกําหนดเวลาของการดําเนินการ ขอรบั ทนุ 3. ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา 3.1 ควรเขียนใหเห็นถงึ สภาพปจ จบุ นั ที่เปน อยวู า มีปญ หาอยางไร เปรียบเทียบกบั สภาพที่ควรจะ เปน และชใ้ี หเหน็ วา งานวจิ ัยนจ้ี ะมาแกไ ขปญหาน้ไี ดอ ยา งไร 3.2 ควรเขียนความเปนมาของงานวิจัยใหชัดเจน มีความตอเน่ืองลดหล่ันกันลงมาในแตละยอ หนา และแสดงความสําคญั รวมถึงขอบเขตการวิจยั ใหชดั เจน 3.3 ควรเลือกใชคาํ ที่เปนคําศัพทท างวชิ าการ ไมใ ชภ าษาพูด และสามารถสื่อถึงความรูนั้นๆ ใหมี ความชดั เจนและมีคณุ ภาพมากทีส่ ุด 4. วัตถปุ ระสงคก ารวจิ ยั 4.1 วัตถุประสงคค วรสอดคลอ งกบั สภาพปญหาการวจิ ัยและประเด็นทต่ี อ งการศึกษา 4.2 ควรตั้งวัตถุประสงคการวิจัยเปนประโยคบอกเลา ไมมากจนเกินไป สามารถดําเนินการได จรงิ และตอ งครอบคลุมเร่อื งท่ีตอ งการจะศึกษาทั้งหมด 4.3 วตั ถปุ ระสงคตองสามารถบง บอกไดชดั เจนวา ผวู จิ ยั ตองการนาํ เสนอหรือคน ควา อะไร 5. กรอบแนวคดิ การวจิ ยั และตัวแปรท่เี ราจะศึกษาตอ งชัดเจน 5.1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ควรแสดงใหเห็นความสมั พันธในภาพรวมของานวจิ ยั 6. การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอ ง 6.1 ผูว จิ ัยควรศกึ ษาเอกสาร ตาํ รา ท่ีเก่ียวของกับระเบียบวิธีวิจัย และควรทําความเขาใจ เพ่ือที่ ผูวจิ ัยจะไดเ ลอื กระเบียบวิธีวจิ ยั มาใชไ ดอยางถูกตอ งเหมาะสมกบั งานวิจยั 6.2 ควรอางถงึ ผลจากงานวิจัยอน่ื ๆ แนวคิด หรือทฤษฎีตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับประเด็นการวิจัยให ชัดเจน

6.3 ผูวิจัยควรมีการศึกษาเอกสาร และวรรณกรรมที่เกี่ยวของและสอดคลองกับประเด็นที่จะ วจิ ยั 6.4 ผูวิจัยตองนําเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) ท่ีสําคัญบางสวนใน โครงรา งที่จะนําเสนอใหขัดเจน 7. วิธีการดาํ เนนิ การวจิ ัย 7.1 ผูวิจัยควรมองภาพรวมในเรื่องท่ีจะดําเนินการทําวิจัยวาจะดําเนินการอะไร อยางไร มีกลุม ตัวอยางท่ีเก็บขอมูลเปนกลุมใด กําหนดแนวทางการในเก็บขอมูลอยางไร และการวิเคราะห ขอมูลจะใหส ถติ ิหรอื วธิ กี ารวเิ คราะหขอ มลู ในรูปแบบใด 7.2 ระบุรปู แบบการเกบ็ รวบรวมขอมูลใหช ดั เจน ทั้งการจัดประชุม การระดมความรูกลุม (focus group) การใชแบบสอบถาม การสัมภาษณ หรืออนื่ ๆ ใหชัดเจน 7.3 ผวู จิ ัยควรขอคําแนะนําจากทีป่ รึกษาโครงการตลอดการทํางานวิจยั 8. การกาํ หนดงบประมาณวิจัย 8.1 ผูวิจัยควรกําหนดงบประมาณที่เหมาะสมกับกระบวนการและขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย รวมไปถึงการกําหนดแผนการดาํ เนนิ งานในขนั้ ตอนตา ง ๆ ใหช ัดเจน 8.2 ผูว ิจยั ควรใชเ งินอยา งคุม คาและเหมาะสม ทั้งน้ีผูวิจัยไมควรของบประมาณท่ีมีจํานวนเงินเกิน ความเปน จรงิ ควรจดั สรรเงินในการจัดทาํ งานวจิ ัยอยา งสมเหตุสมผล 9. การนําไปใชป ระโยชน 9.1 การเขียนผลประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากงานวิจัย หรือ การนําไปใชประโยชน ถือวาเปน สวนท่ีสําคัญที่สุด ผูวิจัยควรเขียนใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย และแสดงใหเห็นถึง ผลลพั ธและผลของการนาํ ผลของการวขิ ยั ไปใชป ระโยชน สรุป จากการอภิปรายประเด็นองคความรู เรื่อง แนวทางการเสนอหัวขอวิจัย/สรางสรรคใหไดรับทุน โดย เริ่มต้ังแตการเลือกประเด็นหรือหัวขอวิจัย การเขียนโครงรางวิจัย การเชื่อมโยงความเปนมาและความสําคัญ ของปญหา การกําหนดวัตถุประสงคการวิจัยสอดคลองกับประเด็นความรูท่ีศึกษาวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย และตัวแปรที่เราจะศึกษาตองชัดเจน ตองทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ มีแนวทางการ ดําเนนิ การวจิ ัยเปน ลําดบั ขั้นตอน การกําหนดงบประมาณวิจัยท่ีเหมาะสม และคํานึงถึงการนําผลการวิจัยไปใช ประโยชนไดจริง ประเด็นองคความรูที่ไดจากการอภิปรายในครั้งนี้เปนการถายทอดประสบการณตรงจากครู อาจารยของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปที่เคยไดรับสนับสนุนทุนการวิจัยและสรางสรรคจากสถาบันฯ และ หนว ยงานที่เกี่ยวของ ไดแ ก สํานกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง ชาติ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เปนตน ดังนนั้ หากผูเสนอขอทนุ วจิ ัยสนใจทจี่ ะเขียนขอเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับสนับสนุนทุนการวิจัยจากแหลงทุน

ใด ๆ กต็ าม ควรจะศกึ ษากรอบวจิ ัยของแหลงทนุ นั้น ๆ เพือ่ ใหก ารเขยี นขอ เสนอโครงการวจิ ยั มีความสอดคลอง กบั ความตอ งการของแหลง ทนุ มากที่สดุ ก็จะเพิ่มโอกาสในการไดรบั พิจารณาสนบั สนุนทุนการวจิ ัยมากขนึ้ ดว ย บรรณานกุ รม คณะกรรมการจดั การความรู คณะศลิ ปศาสตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก วทิ ยาเขตจักรพงษภวู นารถ. 2561.“เทคนคิ การเขียนขอเสนอโครงการวิจยั ใหไดท นุ ”.รายงานผลการดําเนนิ กิจกรรม KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM) ดานงานวิจยั ประจําปก ารศึกษา 2560”สืบคน เมอ่ื 10 ตลุ าคม 2561, จาก https: // www.cpc.ac.th /liberal_new/book_file/20180905061237.pdf คณะกรรมการจัดการความรู วทิ ยาลัยชา งศิลป สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป.“เทคนิคการเขยี นเสนอหวั ขอ เพือ่ ขอทนุ สนบั สนุนงานวจิ ัย/งานสรางสรรค”.2556.การจดั การองคค วามร.ู สบื คน เมื่อ 10 ตุลาคม 2561,จาก http:// cfa.bpi.ac.th/Research.pdf ฝา ยนโยบายแผนและวจิ ยั คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม.“เทคนิคการเขยี นโครงรางงานวจิ ยั ใหไดรบั เงินสนับสนุน”2558.การจดั การความรูด า นการวจิ ยั .สบื คนเมือ่ 17 ตลุ าคม 2561,จาก http:// web.chandra.ac.th/blog/wp-content/uploads/2015/10/เทคนคิ การเขียนโครงรา งงานวิจยั ใหได รบั ทนุ สนบั สนนุ .pdf

โครงการประชมุ สมั มนาเครอื ขายการจัดการความรูฯ ครัง้ ท่ี12 “การจัดการความรสู มู หาวิทยาลยั นวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) รบั งานในขณะเรยี นอยา งไร เพื่อไมใหกระทบตอ ความรูดานวชิ าการ How to get a job while studying to do not affect academic knowledge นางสาวทิพกา ศรดี าว นางสาวจิดาภา ผลเลขา *นกั ศกึ ษา สาขานาฏศิลปไ ทยศึกษา คณะศลิ ปศึกษา สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป **นกั ศกึ ษา สาขาดนตรคี ตี ศลิ ปไทยศึกษา คณะศิลปศึกษา สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป ………………………………………………………………………………………………………..... บทสรปุ ในการแลกเปลย่ี นองคความรูของคณะศิลปศกึ ษาในครัง้ น้ี คณะกรรมการจดั การองค ความรูข องนกั ศกึ ษา คณะศิลปศกึ ษาไดม กี ารประชมุ และหาขอสรปุ ในการแลกเปล่ียนองคความรู เร่อื ง รบั งานในขณะเรยี นอยา งไรเพ่ือไมใ หกระทบตอความรูด านวิชาการ โดยมีผลของการจดั การ ความรใู นประเด็นตางๆ ดังน้ี การพิจารณากอ นการรับงานแสดง การรบั งานแสดงของสถาบัน กอนไปซอมหรือไปแสดงควรมกี ารขอความชวยเหลอื จาก เพื่อนในการจัดเกบ็ เอกสารทไ่ี ดร ับในคาบเรยี น หากเปน งานแสดงสว นตัว ควรเลอื กรบั งานเฉพาะ วนั เสาร อาทติ ย วันหยดุ นักขตั ฤกษ หรอื ชว งตอนเยน็ ของวันจันทร-ศุกร และเมือ่ รบั งานแสดง แลว ควรวางแผนในการจัดการเนือ้ หาหรอื ภาระงานในรายวชิ าทไี่ มไ ดเ ขา เรียน หากมีงานท่ี จะตองสง จะตอ งวางแผนวา จะกลบั ถงึ ที่พกั เวลาใด ใชเวลาในการทาํ งานเทาไหร เพื่อใหสามารถ ทาํ งานสงทันเวลา นอกจากนค้ี วรหลกี เล่ยี งการรบั งานแสดงในชว งของการสอบ และพยายามเขา หอ งเรยี นใหบอ ยครั้งทีส่ ดุ

การบริหารจดั การระหวางงานแสดง ในการแสดงแตละครั้ง หากเปนการแสดงทีม่ ีการหยดุ พักระหวา งแสดงควรนําเอกสาร ประกอบการสอน ภาระงานที่ไดร ับมอบหมายในชน้ั เรยี นมาทาํ ดว ยทกุ ครงั้ และโดยเฉพาะอยา ง ยงิ่ หากตองไปแสดงในชวงของการสอบ ก็ควรทบทวนเนอ้ื หาอยูเ สมอ การแสดงท่ีตอ งมีการเดิน ทางไกล ระหวางเดนิ ทางสามารถทบทวนเนอ้ื หาในรายวชิ าตา งๆ ได แนวทางการปฏบิ ัตติ นหลังงานแสดง เมื่อแสดงเสรจ็ ควรรีบกลบั ทีพ่ ักใหเ ร็วทสี่ ดุ และควรทํางานทตี่ องสงใหเสรจ็ กอ นเขานอน หรอื หากไมสามารถทาํ ได ก็ควรรบี ตน่ื ตอนเชา เพื่อมาสถาบนั ใหเ พื่อนๆ แนะนาํ การทบทวน บทเรยี น หลงั รบั งานแสดงควรกลับมาทบทวนเน้อื หาทุกครง้ั และหากมขี อ สงสัยก็ควรบนั ทึกไว และไปสอบถามกับอาจารยผสู อน ในชว งท่ีรับงานหากเปนชว งเวลาท่มี ีการสอบภาคปฏิบตั ิ หลัง กลบั จากทาํ งานควรกลบั มาฝกซอม โดยศกึ ษาจากวดี ีโอทัง้ ใน YouTube และจากทฝ่ี ากเพอื่ นๆ บนั ทกึ ไวใ นชั้นเรยี น ในสวนของการสอบทฤษฎี ควรวางแผนการอานหนังสือไวก อนลว งหนา ประมาณ 2-3 อาทิตย และควรสรปุ เนอ้ื หาสาํ คญั ตางๆ ไว เพื่อจะไดน าํ ไปอา นทบทวนในระหวา ง การแสดง คําสําคัญ: การรับงานแสดง การเรยี นรูด า นวิชาการ Summary In the knowledge Management of arts education in this year 2018, student Knowledge Management committees have a meeting and a conclusion on the exchange of knowledge. How to get a job while studying to do not affect academic knowledge with the effect of management of knowledge in the following issues: Consideration before get the job To receive a school show before you train or to show, you should have a friend's help to store the documents received in the course. If you are a private job, should get a job on Saturday Sunday, holiday or evening on Monday-Friday. When get a job when get a job should plan to manage content or workload in courses that are not attended if there is homework to submit must plan to return

to the accommodation at any time how much time does it take to work? To be able to work on time delivery also we should avoid receiving the work in the range of exams and try to access the classroom as often as possible. Management during the job In each performance if it is a show that has a break between shows, should bring the teaching materials assigned to the class. And especially if having to perform during the exam period should always review the content. The job that has a long journeys while traveling, can review the content in various courses Post-job guidelines When finished, should return to the accommodation as soon as possible. And completed homework before going to bed if unable to do should immediately wake up in the morning to come to the institution for friends to help. After work, should return to the content every time if there is any doubt, should record or write it and ask for an instructor. During the work period, if the time practice test. After work, you should go back to train from the YouTube video or train from your friends. Part of the theory exam should plan to read the book for 2-3 weeks in advance and should summarize the important content to read during the job. Key Words: job Academic บทนํา สบื เนือ่ งจากท่ีคณะศิลปศึกษาเปนหนวยงานที่มีภารกจิ หลกั ในการผลติ บณั ฑติ วิชาชีพครู สาขาวชิ าชีพเฉพาะดานศิลปวัฒนธรรม ซงึ่ ในการจัดการเรียนการสอนนอกเหนอื จากการเรยี นรู ในหอ งเรียนแลว นักศกึ ษาของคณะศิลปศึกษาจะไดรบั ภารกิจในการเผยแพรศ ิลปวฒั นธรรม ใหแ กห นวยงานภายนอกทัง้ ในประเทศและตางประเทศ ซง่ึ การออกปฏิบตั ิภารกจิ ดา น ศิลปวฒั นธรรมในบางครั้งน้นั อาจจะสงผลใหไมสามารถเขาเรียนหรอื ทาํ กจิ กรรมดานวิชาการ

รวมกบั เพื่อนในช้นั เรียนได ทําใหอ าจะสงผลใหก ารเรยี นรูดานวชิ าการของนกั ศกึ ษาไมด เี ทา ทค่ี วร แตจ ากการพิจารณาผลการเรยี นของนักศกึ ษาที่ไดร ับงานแสดงสวนหน่ึงพบวา นกั ศึกษายงั มผี ล การเรียนในระดบั ดี แมว าจะไดร ับงานแสดงบอยครง้ั ดังน้ันคณะศิลปศึกษาจงึ ไดด าํ เนนิ การ จัดเกบ็ องคความรูข องนักศึกษาเก่ยี วกับกระบวนการในการวางแผน การบริหารเวลา ในการรับ งานแสดงเพ่อื ไมใ หส ง ผลกระทบตอความรูดานวชิ าการ เพ่ือเปนแนวทางในการประยกุ ตใ ชสาํ หรบั นักศกึ ษาคนอ่ืนๆ ซง่ึ นอกจะเปน ประโยชนแก นกั ศึกษาของสถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป และหนว ย อืน่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ งแลว ยงั สามารถนาํ ไปเปนแนวทางในประยุกตใชใ นการทํางานในอนาคตขา งหนา หรือใชป ระโยชนดา นอื่นๆ ตอ ไป วธิ ดี าํ เนนิ การ กิจกรรมที่ 1 การคนหาความรู คณะศิลปศึกษาไดดาํ เนินการแตง ต้ังคณะกรรมการจัดการความรู ของนกั ศกึ ษา และ ดาํ เนนิ การจดั ประชมุ คณะกรรมการฯ ขึ้น โดยที่ประชมุ ไดมคี วามเหน็ รว ม กันเกย่ี วกับ การ ดําเนินการจัดการความรู ของนักศกึ ษา ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 25 61 ในประเด็นเรอื่ ง “ รับ งานในขณะเรียนอยางไรเพื่อไมใหกระทบตอ ความรดู า นวชิ าการ” กจิ กรรมที่ 2 การสรางและการแสวงหาความรู เม่อื ไดขอสรุปเก่ียวกบั องคความรู ของนักศึกษาท่ีจะดําเนนิ การจดั เกบ็ ทางคณะกรรมการ ฯ จงึ ไดจ ดั ตัง้ KM Team และนัดหมายวนั เวลา ในการเสวนาแลกเปลย่ี นประเด็นความรูเ ก่ียวกับ การรับงานในขณะเรยี นอยา งไรเพอื่ ไมใ หก ระทบตอความรูดา นวชิ าการ โดย KM Team ทไ่ี ด ดําเนินการแลกเปลย่ี นองคค วามรูในครง้ั น้ี เปน นกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี ช้ันปที่ 4 ทเ่ี คยไดรับ งานการแสดงจากสถาบนั และรับงานแสดงสว นตัว และมีเกรดเฉลยี่ สะสมไมต่าํ วา 3.25 โดยกอน การเสวนาแลกเปลี่ยนไดม อบหมายให KM Team ศกึ ษา ทบทวนแนวทาง วธิ ีการ การวางแผน การเรียน กอ น ระหวา ง และหลังรับการแสดง โดย KM Team มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรูจาํ นวน ไม นอยกวา 2 ครงั้ ตอ เดือน รวมท้งั สิน้ 3 คร้ัง ซ่ึงเปนการนําเสนอโดย KM Team แตละคนๆ ละไม เกิน 3 นาที ที่เหลือรับ ฟงโดยไมเสนอความคิดเหน็ ใดๆ ทง้ั นฝ้ี า ยเลขานกุ ารของ KM Team เปน ผูจ ดบันทึกประเด็นองคค วามรขู องแตล ะรายบคุ คล เพ่ือสรุปในแตล ะครงั้ และเผยแพรใ ห KM Team ไดแลกเปลยี่ นกอนการพูดคยุ ในครง้ั ตอ ไป และเม่ือดาํ เนินการเสวนาแลกเปลีย่ นแลวเสร็จ คณะศิลปศกึ ษาไดด าํ เนินการจัดทําเปน เอกสารเผยแพรใหคณาจารยภ ายในองคก รไดรับทราบ และเรียนรรู วมกัน

กิจกรรมที่ 3 การจัดการความรใู หเปน ระบบ คณะศลิ ปศกึ ษาไดด าํ เนนิ การจัดทาํ เอกสาร สอ่ื ทีเ่ กยี่ วกบั องคค วามรูท ีด่ าํ เนินการจดั เก็บ รวมถงึ การจัดทําชองทางในการสบื คนเกย่ี วกับองคความรดู า นการเรยี นการสอนทีจ่ ดั เกบ็ ไว เพื่อใหก ลมุ เปาหมายซ่ึงไดแ ก นักศกึ ษาภายในคณะ รวมถงึ ผูสนใจทัว่ ไป งายและสะดวกตอ การ สบื คน เผยแพร และการเขา ถงึ องคความรูทดี่ ําเนินการจัดเกบ็ ไว กจิ กรรมท่ี 4 การประมวลและการกล่ันกรอง เม่ือการดําเนินการจดั การองคความรแู ลวเสร็จ คณะศลิ ปศกึ ษาไดดําเนนิ การวิพากษ ผล การแลกเปลี่ยนความรขู อง KM Team เพือ่ ดาํ เนินการจัดทําเอกสารขอ สรุปท่ีไดจ ากการเสวนา และเปล่ียน เพอื่ ใหคณะกรรมการ ฯไดตรวจสอบความถูกตองเนอ้ื หา ขอสรุป รวมถงึ การใชภาษา อกี คร้งั หนง่ึ กอ นดําเนินการจดั ทํารูปเลม และสอ่ื เพือ่ เปนการดําเนนิ การตรวจสอบความถกู ตอง ความครบถวน ของเนื้อหา ภาษา องคค วามรทู ีจ่ ัดเก็บใหตรงกบั การใชงานของกลมุ เปาหมาย มี การนยิ ามศพั ท การกาํ หนดคําสําคญั ในการสืบคน กิจกรรมที่ 5 การเขาถึงความรู เม่ือคณะศิลปศกึ ษาไดดําเนินการจดั ทาํ องคค วามรูทจี่ ดั เกบ็ เปน รูปแบบของเอกสารหรือ ส่อื เพอ่ื งายแกการเผยแพรแลว นน้ั ไดม ีกระบวนการในการเผยแพรองคค วามรทู ่จี ัดเกบ็ ไปสู นักศกึ ษาและกลุม เปา หมายในหลากหลายชองทาง โดยอาศยั กระบวนการทง้ั แบบการปอนความรู (push) และการใหโ อกาสเลอื กใชความรู (pull) เชน การเผยแพรไ ปสู หนว ยงานในสงั กดั สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลปโดยการใชระบบเอกสารทางราชการผานบนั ทกึ ราชการ (push) การเผยแพร ทาง Website/ Face book /บอรดประชาสัมพันธ/ และชอ งทางอืน่ ๆ ของคณะ (pull) เพอ่ื งาย แกการสบื คน และศึกษาคน ควา รวมถึงการใหข อเสนอแนะตางๆ กิจกรรมท่ี 6 การแบงปน แลกเปลยี่ นความรู คณะศิลปศึกษาไดจ ดั เตรยี มชอ งทางการแลกเปล่ียนองคค วามรูด า น ของนกั ศกึ ษา ทไี่ ด ดาํ เนินการจัดเก็บ ทัง้ ในสวนของการแลกเปลีย่ นและเสวนาของบคุ ลากรภายในคณะ ดว ยการ ประชุมหรอื การสัมมนา การแลกเปลย่ี นความรูทาง Face book, Email หรือชอ งทางทางเอกสาร อ่ืนๆ เพ่ือเปนการแลกเปลยี่ นเรยี นรูเก่ียวกบั ผลของการนําองคความรทู ่จี ัดเกบ็ ไปใชประโยชน โดยกลมุ เปา หมายหรอื ผสู นใจ ผา นชอ งทางการสือ่ สารตา งๆ เพ่อื ใหเ สนอแนะ หรอื คําติชมใน ประเดน็ ตางๆ

กิจกรรมท่ี 7 การเรียนรู เม่ือไดร บั ขอเสนอแนะ และคําแนะนาํ เกย่ี วกับองคความรูท ี่ดาํ เนนิ การจดั เก็บแลวนั้น คณะศิลปศึกษาไดดาํ เนนิ การนาํ ผลการนําองคค วามรไู ปใช มาแกไข ปรับปรงุ องคค วามรูเ ดิม ตามขอเสนอแนะทไี่ ด โดยเปนการนาํ ผลท่ไี ดจากการแลกเปลีย่ นเรยี นรูเก่ียวกบั ผลของการนาํ องค ความรูท่ีจัดเกบ็ ไปใชประโยชน มาวางแผนในการสง เสริม แกไ ข เปลีย่ นแปลง องคค วามรทู ่ี จดั เกบ็ เดมิ ใหม คี วามสมบรู ณ ชัดเจน และเกิดเปนองคค วามรูใหมต อ ไป ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนินงาน องคความรูท ไ่ี ดรับ ในการแลกเปลยี่ นองคความรูของคณะศลิ ปศกึ ษาในคร้ังน้ี คณะกรรมการจัดการองค ความรูข องนักศึกษา คณะศิลปศึกษาไดม ีการประชมุ และหาขอสรุปในการแลกเปลีย่ นองคความรู เร่ือง รับงานในขณะเรียนอยา งไรเพ่อื ไมใ หกระทบตอ ความรดู า นวชิ าการ โดยมผี ลของการจัดการ ความรูใ นประเดน็ ตางๆ ดังน้ี การพจิ ารณากอ นการรับงานแสดง 1. การรบั งานแสดงของสถาบัน กอนไปซอ มหรือไปแสดงควรมีการขอความชวยเหลอื จากเพอ่ื นในการเก็บเอกสารประกอบการสอน ขออนญุ าตอาจารยบนั ทกึ เสียง การถา ยเอกสาร สมุดบนั ทึกของเพื่อน เพื่อนํามาทบทวนเนอื้ หาท่ไี มไ ดเ ขาเรียน 2. ในการรับงานแสดงสว นตัว ควรเลือกรับงานเฉพาะวันเสาร อาทติ ย วันหยุดนกั ขตั ฤกษ หรอื ชวงตอนเย็นของวนั จันทร-ศุกร แตห ากมีความจําเปน ตองรับงานในเวลาเรียน ควร พจิ ารณาขอตกลงในการเขาชนั้ เรยี นของอาจารยผูสอนกอน หากยังสามารถลาเรียนไดจ ึงจะรบั งาน 3. เม่ือรับงานแสดงแลว ควรวางแผนในการบริหารจดั การเนือ้ หาหรอื ภาระงานใน รายวชิ าทไ่ี มไ ดเขาเรียน ซึง่ หากมีงานทจี่ ะตอ งสงอาจารยใ นเชา วันถดั มา จะตองวางแผนวาจะ กลับถงึ ท่ีพกั เวลาใด ใชเวลาในการทาํ งานเทา ไหร เพอื่ ใหสามารถทาํ งานสงทันเวลา 4. ควรหลกี เล่ยี งการรบั งานแสดงในชวงของการสอบ และพยายามเขา หองเรยี นให บอ ยคร้ังท่สี ดุ เพอื่ จะไดส อบถามจากอาจารยผ สู อนโดยตรง หากไมเ ขา ใจในเนอ้ื หาที่อาจารยสอน และเปน การวเิ คราะหแนวขอสอบไดอีกทางหนงึ่ การบริหารจดั การระหวา งงานแสดง

1. ในการแสดงแตละคร้ัง หากเปน การแสดงท่ีมีการหยดุ พกั ควรนําเอกสารประกอบการ สอน ภาระงานที่ไดรบั มอบหมายในชัน้ เรียนมาทําดว ยทุกครั้ง และโดยเฉพาะอยา งย่ิงหากตองไป แสดงในชวงของการสอบ กค็ วรนําเนื้อหาไปทบทวนอยูเสมอ 2. ในการแสดงที่ตอ งมีการเดนิ ทางไหล สามารถทบทวนเนือ้ หาในรายวชิ าตา งๆ ได รวมถงึ ควรมกี ารตดิ ตอกบั เพือ่ นๆ คนอื่นๆ ถึงภาระงานและเนอื้ หาในชวงทไ่ี มไดเขา เรยี น แนวทางการปฏิบตั ติ นหลงั งานแสดง 1. เม่ือแสดงเสรจ็ ควรรบี กลบั ทพ่ี กั ใหเรว็ ทีส่ ุด ซ่งึ ระหวา งที่กลับจะตดิ ตอ กับเพอ่ื นๆ เพ่ือ ขอเอกสาร เนอื้ หา หรือภาระงานทอี่ าจารยมอบหมาย หลงั จากนัน้ ก็จะลาํ ดับความสําคญั กอนหลังของภาระงาน หากเปนงานที่ตองสงเรงดว น ก็ควรทํางานใหเสรจ็ กอนเขานอน หรือหาก ไมส ามารถทาํ ใหเสร็จไดใ นตอนนน้ั กค็ วรรีบตืน่ ตอนเชา เพอ่ื มาสถาบนั ใหเพ่ือนๆ แนะนาํ อีกครัง้ หนึง่ 2. ในการทบทวนบทเรียน หลังรับงานแสดงควรกลบั มาทบทวนเนื้อหาทกุ คร้ัง และหาก มขี อ สงสัยในเน้อื หาใดกค็ วรบนั ทึกไวแ ละไปสอบถามกบั อาจารยผ สู อนอีกครง้ั หนงึ่ 3. หากในชวงทรี่ ับงานเปน ชว งเวลาทีม่ กี ารสอบภาคปฏิบตั ิ หลงั กลบั จากทาํ งานควร กลับมาฝกซอ ม โดยศึกษาจากวีดโี อทง้ั ใน YouTube และจากท่ฝี ากเพอื่ นๆ บันทึกไวในชนั้ เรยี น 4. ในสว นของการสอบทฤษฎี ควรวางแผนการอานหนังสอื ไวก อนลวงหนา ประมาณ 2-3 อาทิตย และควรสรุปเน้อื หาสาํ คญั ตางๆ ไว เพอื่ จะไดนาํ ไปอานทบทวนในระหวางการแสดง สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน จากการเผยแพรอ งคความรทู ี่จดั เก็บ พบวา นักศึกษาในช้นั ป 1-3 มีความสนใจใน การศึกษาแนวทางในการรับการแสดงเพิม่ มากข้นึ สังเกตไดจ ากการเขา มาศกึ ษาแนวทางใน เว็บไซต และพฤติกรรมการเรยี นท่ีเปลย่ี นไปจากการสอบถามจากคณาจารยท่ีสอนในรายวิชา ตา งๆ ขอ เสนอแนะ 1. ควรมกี ารกําหนดองคความรูในประเดน็ ทเี่ ปนภาพรวมของ นักศกึ ษา ในดา น ใดดาน หน่งึ อยางนอย 1 เรื่อง เพ่อื ดาํ เนนิ การแลกเปลยี่ นองคความรูจ ากนักศึกษาในภาพรวมของสถาบนั ฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook