Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

BPI

Published by taweelap_s, 2019-05-21 02:38:52

Description: BPI

Search

Read the Text Version

2. ควรมกี ารจัดกิจกรรม หรือเสวนาแลกเปล่ียนระหวางหนวยงานสวนกลางและสวน ภมู ิภาค ในประเด็นความรูรวมกนั เพ่อื หาความสอดคลอ งรวมถึงการแลกเปล่ยี นองคค วามรูตางๆ ระหวา งกัน 3. ควรมีการจัดต้งั คณะกรรมการของสถาบันฯ ในการพิจารณาองคค วามรูทเี่ ปน ประโยชนตอองคก ร และดําเนินการจดั สัมมนาแลกเปล่ยี นเพื่อกลนั่ กรองใหม ีความชดั เจนและ ดําเนนิ การเผยแพรท้ังภายในองคก ร และผูส นใจภายนอกตอ ไป รวมถงึ การวางแผนการ ประชาสมั พันธเ ผยแพรอ งคค วามรทู ่ีจดั เกบ็ อยา งเปน ระบบ

โครงการประชุมสัมมนาเครือขายการจดั การความรูฯ คร้งั ท่ี12 “การจดั การความรสู ูมหาวิทยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรับนักศกึ ษา ชอ่ื เรอื่ ง/แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี การสอนดนตรไี ทยใหก บั ชมุ ชน “โรงเรียนวัดโปง แรด” TEACHING THAI MUSICFORCOMMUNITY“WATPONGRAD SCHOOL” ช่ือ-นามสกลุ ผูนาํ เสนอ 1. นางสาวเจนจริ า นามโคตร นกั ศึกษาปริญญาตรีชัน้ ปท่ี 4 E-Mail address : [email protected]โทร. 086 1095439 2. นางสาวพรพรรณ สุขถาวร นกั ศึกษาปรญิ ญาตรชี นั้ ปท ี่ 4 E-Mail address:[email protected]โทร. 063 1971749 ช่อื สถาบนั การศึกษา วิทยาลยั นาฏศลิ ปจันทบรุ ี หนว ยงาน สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ปกระทรวงวัฒนธรรม เบอรโทรสาร 039 313214 อาจารยทปี่ รกึ ษา นางธนันญภา บุญมาเสมอ โทร. 089 2458589 นางสาวธนพตั ธรรมเจริญพงศ โทร. 089 1548590

บทสรุป การสอนดนตรไี ทยใหก ับชุมชน “โรงเรยี นวดั โปง แรด” เปนการดาํ เนนิ กจิ กรรมการสอนดนตรีไทยของนกั ศึกษา ปริญญา ตรชี ั้นปท่ี 4 สาขาวชิ าดนตรคี ตี ศิลปไทยศึกษา วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปจนั ทบรุ จี ํานวน 14คนทีไ่ ดรับการส่ังสมและบมเพาะจากการ เรยี นในหลักสตู รศึกษาศาสตรบณั ฑิต (ครู 5 ป) ตามอัตลักษณของสถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป“มอื อาชพี งานศลิ ป” รปู แบบของ กจิ กรรมเปนการสอนดนตรไี ทยและจดั การบรรเลงรวมวงแสดงผลงานในระดับปฐมวัยและประถมศึกษาปท่ี 1 -6 โรงเรยี นวัด โปงแรดจาํ นวน 45 คน เครอ่ื งดนตรที ีส่ อน ไดแ ก กลองยาว ซอดวง ซออู ขลุย ขมิ จะเข ระนาดเอก ระนาดทุม และฆอ งวงใหญ กิจกรรมจัดขึน้ ในระหวา งวันที่1 กันยายน - 2 ตลุ าคม 2561กจิ กรรมการสอนแบงเปน 3 รปู แบบไดแ ก1)การสอนดนตรีไทย สําหรับเด็กปฐมวัย2) การสอนดนตรไี ทยเบ้ืองตนสาํ หรบั เด็กประถมศึกษา 3) การสอนดนตรไี ทยสําหรบั เด็กประถมศึกษาท่ีผาน การฝกปฏบิ ตั ิเบ้อื งตน เรยี นมาแลวองคความรูท ่ไี ด คอื แนวทางการจัดกิจกรรมการสอนดนตรีไทย แนวทางการสอนดนตรีไทย ในระดับปฐมวยั และประถมศึกษา และแบบฝก ปฏิบัติทักษะดนตรไี ทยตามรปู แบบการสอน จากการจดั กิจกรรมสอนดนตรไี ทย สง ผลให 1. นักศกึ ษาไดร บั ประสบการณตรงในการทํางาน เสริมสรางทักษะการสอนสามารถพฒั นาวธิ กี ารสอนใหเ หมาะสมตาม ศกั ยภาพของผเู รยี น ทาํ ใหมที ักษะการสอนดนตรไี ทยอยางครมู ืออาชีพ 2.สรา งสรรคส อื่ การสอนเคร่ืองดนตรีผลไม เงาะ มงั คดุ ทเุ รียน สําหรับเดก็ ปฐมวยั 3.นักเรยี นโรงเรียนวดั โปงแรดทีเ่ ขารว มทุกคนสามารถเลนดนตรีไทยได 1 ช้ิน 4. สรางความยงั่ ยืนดานศลิ ปวัฒนธรรมดนตรีไทยใหก ับชุมชนกลมุ เปาหมายนักเรียนในโรงเรียนวดั โปง แรด คําสาํ คญั การสอน ดนตรไี ทย ชมุ ชน โรงเรยี นวดั โปงแรด Summary The Fourth Year leamers of Bachelor of Education program in Thai Music Education from Chanthaburi College of Dramatic Arts had taught Thai Music to Early Childhood and pratomsuksa1-6 students at Watpongrad School during 1st September to 2nd October, 2018. They had taught how to play Long Drums, Saw U, Saw Dung, Klui, Kim, Chakhe, Ranad-Ek, Ranad-Thum and GongwongYai. This activity had 3 types : 1)Teaching Thai Music for Early Childhood 2)Teaching Basic Thai Music for Elementary Students 3)Teaching Thai Music for Elementary students who used to play. The knowledge getting from this were the approach to teach Thai Music, Thai Music for Early Childhood and Elementary students and to develop Thai Music Skill Exercises according to Teaching Model. The result of this activity were to : 1. The learners could get experiences, develop Teaching Model and have skill in teaching. 2. They could create instruments like the fruit to be instructional Media for Early Childhood.

3. The students at Watpongrad School could play one kind Thai MusicalInstruments. 4. It was the creation sustainability in Thai Musical Culture for community. Key Words : Teaching, Thai Music, Community, Watpongrad School บทนํา วิทยาลัยนาฏศลิ ปจนั ทบรุ ี เปน สถาบันฯ ดา นนาฏศลิ ป ดนตรี และ คตี ศลิ ป แหงเดียวในภาคตะวนั ออก การบริการชุมชนเปนภารกิจหนง่ึ ท่สี ําคัญ การสอนดนตรีไทยใหกับชมุ ชนเปนการใหบ ริการทางวชิ าการท่ีมกี ารดาํ เนินโครงการ อยางตอ เนอื่ ง เปนการสัง่ สมประสบการณใหก ับนักศกึ ษา เพอ่ื จะไดนาํ ไปประกอบอาชีพในอนาคต โดยเฉพาะผูท่ีศกึ ษาวิชาชีพครู ตองมคี วามรคู วามสามารถทจี่ ะประยกุ ตใชความรใู หเ ปน ประโยชนตอสงั คมท้งั ทางตรงและทางออ มอกี ท้งั ตอ งมีทกั ษะและเทคนิค วธิ ีการสอนในระดบั ตา ง ๆ มคี วามรูความชํานาญการสอนอยา งมอื อาชีพ ซ่ึงจะทําใหผเู รยี นเกิดการเรยี นรแู ละพฒั นาตามศักยภาพ ของตนเอง การสอนดนตรีไทยใหกบั ชมุ ชน “โรงเรียนวัดโปง แรด” นักศกึ ษาไดน ําความรแู ละประสบการณทีส่ ั่งสมจากการ เรียนและทํากิจกรรมตา ง ๆ ทไ่ี ดก ลัน่ กรองตามกระบวนการจัดการความรู นาํ ไปจัดกจิ กรรมสอนดนตรีไทย เปน การนาํ องค ความรูมาใชใหเ ปน ประโยชนก ับชุมชนอยางบูรณาการเพือ่ ใหเ กดิ ความยง่ั ยนื ทางวฒั นธรรมดานดนตรีไทย และคานิยมที่ดงี ามให เกิดข้ึนในตัวบุคคล โดยเฉพาะเยาวชนซงึ่ เปนตนกลาที่สําคัญ ควรไดร บั การวางรากฐานดานศิลปวฒั นธรรมเพอ่ื ใหเ กิดความ เขมแขง็ ในสังคมซึง่ สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศึกษา การสอนดนตรไี ทยใหกบั ชุมชนไดม กี ารดําเนนิ โครงการทกุ ปอ ยางตอเนื่อง เพื่อใหนกั ศึกษาไดน าํ ความรู ความสามารถทางดา นดนตรไี ทยไปถา ยทอดใหก บั เด็ก ๆ ในชมุ ชนท่ีเปนเยาวชนของชาติ เพื่อใหเกดิ ความรักและซาบซึง้ ในวฒั นธรรม ดนตรีไทย นบั วันจะสูญหายไปจากสังคมโดยเฉพาะเยาวชนในปจจบุ นั ไดห ันไปช่ืนชอบตามคา นยิ มของตะวนั ตก ทงั้ ยงั เปน การฝก ทักษะกระบวนการสอน การทํางานของนักศึกษา จากการดําเนินงานทผี่ า นมาพบวา ในการดําเนนิ กิจกรรมการสอนควรนาํ หลักการ ทฤษฎกี ารสอน แนวทางการจัดกิจกรรมมาวางแผนดาํ เนนิ การอยางเปน ระบบ โดยการรว มวางแผนจากงานและฝาย ตา ง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ งซงึ่ จะทาํ ใหก ิจกรรมประสบความสําเร็จเปนอยา งดี วิธกี ารดําเนนิ งาน การสอนดนตรไี ทยใหแกชมุ ชน “โรงเรยี นวัดโปง แรด”นกั ศึกษาชั้นปริญญาตรปี ท ี่ 4 สาขาวิชาดนตรคี ตี ศลิ ปไ ทยศกึ ษา ไดม ีการทาํ งานรวมกันอยางเปนระบบ มกี ารนาํ กระบวนการ PDCA มากําหนดเปนแนวทางการทํางานตามกระบวนการ จดั การความรู 7 ขั้นตอน โดยเรม่ิ ตั้งแตการประชุมวางแผนรวมกัน การปฏบิ ัติงานตามแผนทว่ี างไว มกี ารตรวจสอบ กระบวนการปฏบิ ัตงิ านทุกคร้งั นําผลทพ่ี บจากการตรวจสอบมาปรบั ปรุงพฒั นาในการดําเนนิ งานจดั การความรูใ นการสอน ดนตรีไทยใหกบั ชมุ ชนมีการคนควา รวบรวมขอ มูล เรยี นรนู าํ หลกั การทฤษฎีตาง ๆ มาปรับใชออกแบบวิธีสอนอยา งเหมาะสม

สรา งแบบฝก ปฏิบัติดนตรีไทย เพอ่ื ใชเ ปนแนวทางในการเรยี นการสอนอยางมคี ุณภาพ เหมาะสมตามความสามารถของผูเรียน ซงึ่ ผา นการตรวจสอบจากผเู ชยี่ วชาญทางดา นดนตรีไทย โดยมกี ารดําเนินงานดังนี้ เมอ่ื นักศึกษาไดร บั ทราบถึงนโยบายของสถาบนั ฯ จงึ ประชุมรว มกนั ระหวางนักศกึ ษาและอาจารยทีม่ สี ว นเก่ยี วของ ประกอบดว ย งานสโมสรนักศกึ ษาภาควิชาดรุ ยิ างคศลิ ป อาจารยประจาํ หลักสตู ร และงานการจัดการความรู จํานวน7 คน และ นักศกึ ษาสาขาวิชาดนตรีคีตศลิ ปไทยศกึ ษา ระดับชัน้ ปรญิ ญาตรปี ท ี่ 4 จาํ นวน 14 คนในทป่ี ระชุมไดม ีขอ คิดเหน็ วา ควรจัด อบรมบรรยายใหความรคู วามเขาใจกระบวนการของการจัดการความรู ( KM) ใหแ กน กั ศึกษา เพือ่ จะไดมคี วามรคู วามเขาใจใน กระบวนการมากข้นึ ภาพที่ 1ประชุมคณะกรรมการKM ภาพที่ 2ประชุมนกั ศกึ ษา นกั ศกึ ษารับฟง การบรรยายใหความรูในเรอื่ งการจัดการความรเู พอ่ื สรางความเขา ใจในการดาํ เนนิ งานจากวา ที่รอ ยตรีชู ชาติ สรอ ยสังวาลย เปน วทิ ยากรบรรยายใหค วามรูและฝก ปฏิบัตกิ ระบวนการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู ว มกันวางแผนขน้ั ตอนการ ดําเนินงานโดยแบงหนา ท่ีกันรับผิดชอบแตละฝายแตล ะงาน ภาพท่ี 3วิทยากรบรรยายใหค วามรเู ร่อื ง KM ภาพท่ี 4นกั ศึกษารบั ฟงการบรรยาย จากน้นั จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนความรูกับครู อาจารย ท่มี ีประสบการณใ นการสอนนักเรียนทห่ี ลากหลายรูปแบบท่ีมี ประสบการณส อนไมน อ ยกวา 30 ป และจดบันทึกวิธีการสอน เทคนคิ การสอน ประสบการณส อนและอืน่ ๆ ท่เี ก่ยี วขอ ง เพ่อื นาํ มาเปนแนวทางในการลงพ้นื ทปี่ ฏบิ ัตกิ ารสอนดนตรไี ทยใหก บั ชมุ ชนโดยเชิญ นายบรรเลง พระยาชยั ซง่ึ มีประสบการณส อน ดนตรไี ทยใหกับนกั เรียนในวิทยาลยั นาฏศลิ ปแ ละโรงเรยี นภายนอกทว่ั ไป และ ผูชว ยศาตราจารยประสาน ธัญญะชาติ อดตี

อาจารยสอนดนตรไี ทยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รําไพพรรณี เพื่อนําไปเปน แนวทางในการสอนดนตรไี ทยใหก ับชุมชน โดย เลขานุการเปนผูจดบันทึกและสรปุ ขอมลู ท่ีได ภาพท่ี 5อ.บรรเลง พระยาชัย บรรยาย ภาพท่ี 6 ผศ.ประสาน ธญั ญะชาติ บรรยาย นกั ศึกษาลงพืน้ ทโ่ี รงเรียนวัดโปงแรดสํารวจเก็บขอ มลู มาวางแผนอยางเปน ระบบ ในการท่จี ะออกแบบและวากงาแรผสนอน ดนตรไี ทย มีการประชุมรวมกบั ทานผอู ํานวยการและรองผูอํานวยการฝา ยวิชาการ โดยสมั ภาษณเกบ็ ขอ มลู ในประเดน็ ของ จํานวนนกั เรยี น สภาพความพรอมของผูเ รียน ระดับชนั้ ทมี่ ีการจัดการเรยี นการสอนระบบการเรยี นการสอนของทางโรงเรยี นท่ี จะเออ้ื ตอการจดั กจิ กรรมการสอนดนตรีไทยทีไ่ มก ระทบตอ การเรยี นปกตขิ องนักเรียน แลวนาํ ขอ มลู ที่ไดมาวเิ คราะห วพิ ากษ ประมวลผล พบวา โรงเรยี นวัดโปง แรดมปี ระวัติความเปนมาทีม่ ชี ่อื เสยี งทางดานดนตรไี ทย เคยประกวดและไดร บั รางวัลตา ง ๆ มากมาย และสราบง ุคคลทม่ี ชี ือ่ เสยี ง อาทิเชนอดีตทา นผูวา ราชการจงั หวัดทา นกลา ณรงค พงษเ จริญ ทานพงศพฒั พงษเจใรนญิ ปจจุบันทา น ผอ.ลัดดาวัลย วเิ ศษะภตู ิ เปน ผูอาํ นวยการ ซึง่ ทางโรงเรียนมนี โยบายตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการไดก าํ หนดไว นักเรยี นทกุ คนเมอ่ื เรยี นสาํ เร็จชน้ั ประถมศกึ ษาตองสามารถเลน ดนตรีได ดงั น้นั โรงเรยี นวดั โปง แรดจึงไดก าํ หนดเปนเปา หมาย ของนกั เรียนทุกคนเมื่อจบการศกึ ษาช้นั ประถมศึกษาปที่ 6 ตอ งมคี วามสามารถในการบรรเลงเคร่ืองดนตรีไทยอยา งนอยคนละ 1 ชิ้น โดยผลทนี่ ักศึกษาไดเก็บขอมลู เบื้องตนมี ดังน้ี - โรงเรียนวัดโปงแรดจดั การเรยี นการสอนตง้ั แตระดับชน้ั อนบุ าล จนถึงระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 - ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 1 – 2 ปจจุบนั เริม่ ฝก เรียนขลยุ - ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 ปจ จบุ นั เรม่ิ ฝกเรียนซอ - ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 4 – 6 มพี ้ืนฐานการเรียนดนตรไี ทยมาบา งแลว จากนนั้ นกั ศึกษาไดน ําขอ มูลมาออกแบบวางแผนการสอนดนตรีไทย สรางแบบฝก ปฏบิ ัติดนตรีไทยใหเหมาะสมตามวัย ตามความสามารถ และความพรอมของผูเรยี นโดยใหอาจารยผ เู ช่ยี วชาญตรวจสอบความถูกตองของแบบฝก และมกี ิจกรรมพา นกั ศกึ ษาไปเรียนรกู ารจัดการเรียนการสอนดนตรีสําหรบั เด็กอนบุ าลทโี่ รงเรียนบุญสมอนุบาล จงั หวดั จันทบุรี ภาพท่ี 7เรยี นรกู ารสอนดนตรีเดก็ ปฐมวยั ภาพที่ 8สัมภาษณ ผอ.โรงเรยี นบุญสมอนุบาล

จากนัน้ นําขอมูลทไี่ ดมารว มกนั วางแผนดังนี้ 1. จัดกิจกรรมนันทนาการเพอ่ื สรา งความสมั พนั ธระหวา งครูผูส อนกบั นักเรยี น และนกั เรียนกบั เพ่อื น ๆ ท่ี รว มกิจกรรม 2. แบงกลมุ นกั ศกึ ษารับผดิ ชอบในการสอนแตล ะเคร่อื งมอื ตามความสามารถ และสาขาวิชาเอก ดังน้ี - ช้ันอนุบาล 3 สอนกลองยาว เน่ืองจากเปนเครอ่ื งดนตรีประเภทตี นกั เรยี นช้นั อนุบาลสามารถปฏิบัตไิ ด และ เลือกทํานองท่งี ายตอ การจําซ่งึ นกั ศึกษาไดเ รียนวชิ าการสอนดนตรีสาํ หรับเดก็ ปฐมวัยมาแลว จึงไดน ําความรู หลกั การ ทฤษฎี ตาง ๆ มาปรบั ใช - ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 1 - 2ฝกปฏิบตั ิพน้ื ฐานการเรยี นเปาขลยุ - ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 3ฝกปฏบิ ัติพน้ื ฐานการเรียนซอดวง ซออู - ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 4 – 6 เรยี นระนาดเอก ระนาดทมุ ฆองวงใหญซอดว ง ซออู ขิม จะเขซ งึ่ นกั เรยี น กลมุ นีไ้ ดเ รยี นและตอเพลงมาบา งแลว จงึ ไดกําหนดตอ เพลง แขกบรเทศ 2 ช้ันและชน้ั เดียวสําหรบั บรรเลงเปนวง 3. จดั กิจกรรมนาํ เสนอผลงานการสอน โดยทางโรงเรยี นไดม ีการจัดการแสดงมุฑิตาจติ ใหแ กครทู ีเ่ กษยี ณอายุราชการ มีการเชญิ ผูปกครอง และผูท ีเ่ กีย่ วขอ งมารว มในกจิ กรรมนดี้ ว ย 4. กาํ หนดระยะเวลาในการดําเนนิ กิจกรรมจาํ นวน 4 ครั้ง ในวนั ศกุ ร ต้งั แตเ วลา 09.00 – 12.00 น. ทางโรงเรยี นเล้ียง อาหารกลางวันใหก ับนักศึกษา เม่อื กาํ หนดแผนปฏบิ ัตงิ านแลวไดลงพนื้ ทส่ี อนดนตรีไทยใหก ับชุมชน “โรงเรยี นวัดโปง แรด” ครง้ั ที่ 1 นักศกึ ษาไดก ลาว รายงานถงึ วัตถปุ ระสงคของกจิ กรรม และแนะนําเพื่อนนกั ศกึ ษาทีม่ าสอนใหคณุ ครูและนกั เรยี นไดร ูจกั ทุกคน เสรมิ กิจกรรม นันทนาการ เกมส เพลง ตามเวลาพอสมควร จากน้ันจงึ ไดแ ยกกลมุ ปฏิบัตกิ ารสอนตามท่ีวางแผนไว โดยมีครปู ระจาํ ชน้ั คอย สังเกตการณแ ละรวมเรียนรกู ารสอนดนตรไี ทยไปดว ย เมอ่ื กลับจากการลงพืน้ ทส่ี อนในคร้งั ท่ี 1 นกั ศึกษาและอาจารยท ีป่ รึกษา ไดน ําผลการปฏบิ ัติงานมาทบทวนถึงปญ หา อุปสรรค ขอ ดี ขอเสยี ความเปนไปได พบวา นกั เรียนบางกลุม ยงั ไมสามารถปฏบิ ตั ิพ้ืนฐานการจําตวั โนต ระดับเสียง การใชน วิ้ การใชมอื ที่ถกู วิธไี ด จึงไดวางแผนดังนี้ - ปรับเพลงท่จี ะสอนใหง ายขึ้นสําหรบั นกั เรียนท่ีเริม่ หัดเลน ดนตรใี หสามารถแสดงผลงานการบรรเลงได - สรางแบบฝก ปฏิบตั ิเพลงสําหรับการปฏบิ ตั ิเบือ้ งตน ไลนิว้ ไลเ สียง มาคิดเปน ทาํ นองใหกลมกลืนกับจังหวะกลองยาว ทีเ่ ด็กอนบุ าลฝกปฏบิ ัติ - สรางแบบฝก ดนตรีไทยเบ้ืองตน สําหรับเดก็ อนบุ าล - บนั ทึกโนตแบบฝก ในแตล ะเครอื่ งมือใหครทู ่ีสอนแตล ะช้ัน ไดใ หนกั เรียนทอ งโนตเพลงหลงั เลกิ เรยี นทุกวัน เพื่อใหจาํ เสยี งทํานองเพลงได และใหค รทู ่สี อนดนตรไี ทยประจาํ ท่โี รงเรียนเปน ผูคอยใหค วามชวยเหลือ ชแี้ นะ และใหครปู ระจาํ ชั้นชวย ทบทวนการทองโนต

ภาพท่ี 11 สอนกลองยาวเด็กอนุบาล ภาพที่ 12เดก็ อนบุ าลเรียนอยา งมีความสุข ปฏบิ ตั ิการสอนคร้ังท่ี 2 โดยแยกตามกลมุ เดมิ ทีไ่ ดส อนไปแลว นกั ศึกษาแตละกลุมไดใหน กั เรยี นทบทวนบทเรยี นที่ได สอนไปแลว พบวา นักเรียนทําไมไ ดจ งึ ไดป รับรปู แบบการสอนตามทไี่ ดวางแผนพัฒนาจากการสอนครั้งแรก ดงั น้ี - นักเรียน ช้ันอนุบาล 3 สอนกลองยาว ในจงั หวะ งา ยๆ โดยนําหลกั จิตวทิ ยาและเทคนคิ การสอนในระดบั ชนั้ ปฐมวัย มาใช คือ ลักษณะของเดก็ อนบุ าล ชอบเรอื่ งเลา และการรอ งเพลงเรยี นรูจ ากการกระทํา เรยี นรโู ดยการเลยี นแบบอยา งจาก ผใู หญ เด็กๆ มคี วามสนใจในระยะสั้นๆการสอนดนตรีตอ งใหท าํ ซํ้า ๆ บอ ย ๆ ชา ๆ ชดั เจน ใหกาํ ลังใจ ชมเชย ใหข องรางวลั ใช คาํ พดู ทีอ่ อ นโยนมเี มตตา - นักศึกษาไดส รางเครื่องดนตรีสาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั เพอ่ื เปนสอื่ ในการสอน อยา งเหมาะสมตามวยั โดยสรา งเครื่องดนตรี ประกอบจงั หวะการตีกลองยาว มีแนวความคดิ ในการสรางเครือ่ งดนตรีทบ่ี งบอกถึงจดุ เดนของจงั หวัดจันทบุรีท่เี ปนเมืองผลไม จึงไดประดิษฐเ ครอ่ื งดนตรผี ลไมส ําหรับใชส อนเด็กอนุบาล คอื เคร่ืองดนตรีทุเรยี น มงั คดุ และเงาะ - ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 – 2เรยี นเปาขลุย เบอ้ื งตนตอจากคร้ังแตรากมแบบฝก และเพ่ิมการไลน้ิวไลเ สยี งจากเสยี งต่าํ ไปหา เสยี งสงู - ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 3 เรียนสีซอเบ้อื งตน (ซอดวง ซออู) ตามแบบฝก ปฏิบัติลงนว้ิ ไลเ สยี งจากสายทมุ ไปสายเอก - ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 – 6 เรียนเครื่องดนตรี ซอดวง ซออู ขมิ ขลยุ ระนาดเอกระนาดทุม ฆอ งวงใหญ ตอเพลงแข กบรเทศ 2 ชั้นและช้นั เดยี ว ตามแบบฝกเพิม่ จากครัง้ แรก เม่ือกลบั จากการลงพื้นทีส่ อนในครง้ั ที่ 2 นกั ศกึ ษาและอาจารยท ่ีปรึกษา ไดน าํ ผลการปฏิบัตมิ าทบทวนวิเคราะห วพิ ากษ เพือ่ พัฒนาคร้งั ตอไป พบวา นักเรียนเริ่มมคี วามเขา ใจและเรยี นรูไ ดต ามวยั สามารถปฏิบัติเลนดนตรไี ทยไดบ าง มี นกั เรียนบางคนท่ปี ฏิบตั ิไดชา จงึ ไดจดบันทกึ ไวเ ปน ขอมูลในการสอนตอ ไป

ปฏิบัติการสอนคร้ังที่ 3 สอนตอเนื่องจากครั้งทแ่ี ลว นกั ศึกษาแตละกลุมไดใ หน กั เรยี นทบทวนบทเรยี นทไ่ี ดสอนไปแลว พบวา นกั เรยี นทําไดม ากขึ้น และสนุกกับการเรียนดนตรีไทย จึงไดดาํ เนนิ การสอนตอ เน่ืองตามทไ่ี ดว างแผนไวแ ละมีการพฒั นา จากการสอนครัง้ ท่ีแลว ดังน้ี - นกั เรยี น ชน้ั อนุบาล 3 สอนกลองยาว ฝก การตีกลองยาวเปน จงั หวะ และใหนกั เรยี นท่ีตีไมไ ดมาเลนเคร่ืองดนตรี ผลไมท นี่ ักศกึ ษาไดป ระดษิ ฐขน้ึ - ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 – 2เรยี นเปา ขลยุ เบื้องตนตอ จากครั้งแรก และเพ่มิ การไลน ว้ิ ไลเสยี งจากเสยี งตา่ํ ไปหาเสยี งสงู และจากเสียงสูงลงมาหาเสยี งตํา่ - ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 3 เรยี นสซี อเบือ้ งตน (ซอดว ง ซออู) ปฏบิ ตั ลิ งน้ิวไลเ สยี งจากสายทมุ ไปสายเอกและจากสายเอก ลงมาสายทุม เพ่มิ แบบฝกไลเ สียงจาก เสียงโดตา่ํ ไปหาโดสงู จากเสยี งโดสูงไปหาเสยี งโดตา่ํ - ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 4 – 6 เรียนเครือ่ งดนตรี ซอดวง ซออู ขมิ ขลยุ ระนาดเอก ระนาดทมุ ฆอ งวงใหญ ตอเพลงแข กบรเทศ 2 ช้ันและชั้นเดยี ว เพิม่ จากครง้ั แรกจนจบบทเพลง เมอื่ กลับจากการลงพ้ืนทีส่ อนในครัง้ ที่ 3 นักศึกษาและอาจารยท ปี่ รกึ ษา ไดน าํ ผลการปฏิบัตมิ าทบทวนวิเคราะห วพิ ากษ เพ่ือพัฒนาครั้งตอไป พบวา นกั เรยี นสามารถเลนเคร่อื งดนตรีไดม ากข้ึน มที วงทาํ นอง และเสยี งท่ชี ัดเจนขนึ้ มนี ักเรียน บางคนที่ปฏิบัติไดชา จงึ ไดจ ดบันทกึ ไวเปน ขอมลู ในการสอนตอไป ภาพท่ี 15 สอนซอ ภาพที่ 16 สอนขลยุ ปฏิบตั ิการสอนคร้ังท่ี 4 ใหน ักเรียนท่ีเรียนแตล ะกลมุ ทบทวนบทเรยี นและฝกซอมเพลงใหแมนยาํ และเตรียม จดั รูปแบบการนําเสนอผลงานการแสดงแตล ะกลุม เพ่ือเปนการวัดและประเมินผลการสอน จากการลงพื้นทสี่ อนครง้ั ท่ี 4พบวา นกั เรยี นแตล ะกลุม มคี วามพรอมในการแสดงผลงาน

กิจกรรมการ บรรเลงรวมวงแสดงผลงาน ในวนั ท่ี 2 ตุลาคม 2561 ณ โรงเรยี นวัดโปง แรด จังหวดั จันทบุรี ประกอบดวย กิจกรรม ดังนี้ 1) กลา วรายงานโดยประธานนายธนวรรธนฉิมจ๋ิว 2) กลา วเปดงาน โดยทานผูอาํ นวยการ ลัดดาวัลย วิเศษะภูติ ผอู ํานวยการโรงเรียนวัดโปงแรด 3) มอบของที่ระลกึ ใหกับโรงเรียนวดั โปง แรด 4) กจิ กรรมนนั ทนาการ 5) การแสดงตกี ลองยาวโดยนกั เรยี นช้ันอนุบาล 3 6) การสาธิตการเปา ขลุยเบือ้ งตน โดยนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1 – 2 7) การสาธติ การสซี อเบื้องตน โดยนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3 8) การบรรเลงวงปพาทยผสมเคร่ืองสาย เพลงแขกบรเทศ 2 ช้นั และชั้นเดยี ว โดยนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาป ที่ 4 – 6 ภาพท่ี 17แสดงผลงานกลองยาวเดก็ อนบุ าลภาพที่ 18แสดงผลงานปฏิบตั ิซอเบ้อื งตน ภาพท่ี 19แสดงผลงานปฏบิ ัตขิ ลุยเบ้อื งตน ภาพท่ี 2 0แสดงผลงานบรรเลงรวมวง หลังจากกิจกรรมการแสดงผลงานเสร็จสิน้ แลว ไดมีการสัมภาษณผ ูอาํ นวยการและครูท่เี กีย่ วขอ ง พบวา - การสอนดนตรีเดก็ ปฐมวัย ประสบความสาํ เร็จเปนทน่ี า พอใจ และวงดนตรีสําหรับเดก็ ประถมศกึ ษาท่มี ีพนื้ ฐาน มาแลว สามารถบรรเลงไดอยางไพเราะ สว นนกั เรียนทีเ่ ร่มิ ฝกหัดเบอื้ งตนยังคงตอ งมกี ารสอนอยางตอเนอ่ื ง โดยใหค รผู สู อน ดนตรไี ทยของโรงเรียนเปน ผดู แู ลใหท บทวนอยางตอ เน่ือง

- กระบวนการสอนในระหวา งทไ่ี ปสอนในแตล ะสัปดาห ครูประจําช้นั ไดเ รยี นรูท ักษะการสอนและใหโ นตเพลงสําหรับ ใหน ักเรียนทบทวนในแตละวันกอ นกลบั บาน เพอื่ ใหจ าํ ไดอยา งแมนยํา และนําแนวทางการสอนทน่ี กั ศึกษาไดจ ดั ทาํ เปนเอกสาร ไปใชส อนอยา งตอ เนอื่ ง - การสอนดนตรีไทยใหกับชุมชน “โรงเรยี นวดั โปง แรด” เปน การสรางความยั่งยืนใหเกดิ ข้ึนกบั ชมุ ชน โดยครูสามารถ สอนดนตรีไทยไดแ ละนกั เรียนสามารถเลน ดนตรีไทยได ภาพที่ 21มอบของท่ีระลกึ ภาพที่ 22ทีมนกั ศกึ ษาและนักเรยี น ผลและอภิปรายผลการดาํ เนินงาน การจดั การความรขู องนักศึกษา เร่ือง การสอนดนตรไี ทยใหกับชมุ ชน “โรงเรยี นวัดโปง แรด” เปน การนําเนอื้ หาความรู และทักษะการสอนดนตรไี ทย ไปถายทอดใหกบั นักเรียนในระดบั ปฐมวัยและประถมศึกษา ทัง้ หมด จํานวน 45 คน โดย แบงเปน 3 กลุม ตามความพรอ มของผเู รยี น เพอื่ ใหเกิดการเรยี นรตู ามศกั ยภาพ ผเู รียนมีความสุขในการเรียน รูจักใชเวลาวา ง ใหเกิดประโยชน ผลจากการจดั การความรขู องนกั ศึกษาทาํ ใหไดคมู ือแนวทางการจดั กจิ กรรมการสอนดนตรีไทยใหก บั ชมุ ชน “โรงเรียนวดั โปง แรด” สาํ หรบั ใชเปน แนวทางในการจดั กิจกรรมสอนดนตรไี ทยใหกบั ชมุ ชน สามารถแบง ประเภทไดดงั น้ี 1. แนวทางการจดั กจิ กรรมการสอนดนตรไี ทยใหก ับชุมชน 1) ประชมุ วางแผน 2) ลงพืน้ ที่สาํ รวจขอ มูลเบ้อื งตนในสถานทท่ี ี่จะจดั กจิ กรรมการสอน โดยการรว มประชุมกับคณะครูอาจารย การ สมั ภาษณข อมูลจากทานผูอาํ นวยการ ฝายวชิ าการ ครู บคุ ลากรท่ีเกยี่ วขอ ง เพ่ือนาํ มาวางแผนรว มกบั คณะกรรมการของชุมชน และความรคู วามสามารถของนกั ศึกษาที่มีอยู 3) นําขอ มลู ท่ไี ดม าวางแผนในการดาํ เนนิ กจิ กรรมการสอนดนตรไี ทยใหกบั ชุมชน 4) ออกแบบการสอนแตละเคร่ืองมอื ใหเ หมาะสมตามพน้ื ฐานของผูเ รยี น 5) ลงพื้นท่ปี ฏบิ ตั ิกจิ กรรมการสอนตามทีก่ ําหนด ประกอบดวย - กิจกรรมนันทนาการ เกมส เพลง สรางความสัมพันธระหวางครูผสู อนกบั นักเรยี น และนกั เรยี นกับนกั เรียน - คดั แยกแบง นกั เรียนออกเปน 2 ระดับ ไดแก กลมุ นักเรยี น ระดบั ปฐมวัย และระดบั ประถมศึกษา ในกลุม ระดับประถมศกึ ษา ไดแ บง ออกเปน 2 กลุม คอื กลมุ ท่ียังไมเ คยเรยี น และกลุมทเ่ี ตยเรียนมาแลว 6) ทบทวนและปรับปรงุ การสอนตามความเหมาะสม 7) สรปุ และประเมนิ การสอนโดยจดั กิจกรรมแสดงผลงานตามลําดบั ดงั น้ี

7.1 การแสดงกลองยาวของเดก็ ปฐมวยั 7.2การสาธติ การปฏิบตั ขิ ลยุ เบ้อื งตน 7.3 การสาธติ การปฏิบัติซอดวงและซออูเ บอื้ งตน 7.4 การบรรเลงวงปพาทยผสมเคร่อื งสายเพลงแขกบรเทศ 2 ชน้ั และชั้นเดียว 2. แนวทางการสอนดนตรไี ทยในระดบั ปฐมวัยและประถมศกึ ษา แบงเปน 3 รปู แบบ 2.1 แนวทางการสอนดนตรไี ทยสําหรบั เด็กปฐมวัย มดี ังน้ี 1) เลือกประเภทของเครือ่ งดนตรีทเ่ี หมาะสมตามวัยของผเู รยี น 2) สอนใหนักเรยี นรูจกั ประเภทของเครื่องดนตรี 3) อธบิ ายถงึ เสยี งของเคร่อื งดนตรี โดยเลือกเสยี งทท่ี ําไดอยา งงา ย ๆ 4) สาธิตตใี หนักเรียนดูอยา งถูกตอ งทลี ะเสียงชา ๆ ชดั ๆ และใหนักเรียนรองเปลง เสยี งตามทเี่ สียงดนตรี ทาํ ซํ้า หลาย ๆ รอบ 5) สอนวิธีการปฏบิ ตั เิ บอ้ื งตน ตง้ั แตการนั่ง การใชม ือ การจับ การทาํ ใหเ กิดเสยี ง 6) สอนสอดแทรกใหเ ดก็ ๆ รจู ักเคารพและรกั เครือ่ งดนตรที ต่ี นเองเรยี น 7) ผสู อนชมเชยดวยการใหก ําลังใจ และชน่ื ชม ยกยอ ง ใหรางวัล 8) นาํ ส่ือเครอ่ื งดนตรีท่มี สี ีสันสวยงาม มาใชอยางบรู ณาการ 9) เม่ือเห็นวานกั เรียนเรม่ิ ไมม สี มาธจิ ึงไดใ หพ ักหรือเลานิทานใหฟ ง 10) นักเรียนมคี วามพรอมทจ่ี ะเรียนตอ จงึ ไดเพมิ่ เนื้อหา 11) ปรบั ปรงุ พฒั นาการสอนตามความเหมาะสม 12) สรปุ บทเรยี นโดยครแู ละนักเรยี นปฏบิ ตั พิ รอมกนั 13) ทบทวนบทเรยี น 14) วัดผลประเมินผลตามความเหมาะสม 2.2 แนวทางการสอนดนตรไี ทยเบ้ืองตนสําหรบั เด็กประถมศึกษา 1) สอนใหน กั เรยี นรจู กั ประเภทเคร่อื งดนตรี ทม่ี าของเครอ่ื งดนตรี 2) สอนการปฏิบัติเบือ้ งตน ตัง้ แต - การน่ัง โดยใหน ั่งพับเพียบ - บอกสว นประกอบของเครอ่ื งดนตรี - วิธกี ารจับเคร่ืองดนตรี วิธีการบรรเลง วิธกี ารทําใหเกิดเสียง 3) การฝกปฏบิ ัติตามวธิ ีการของเครอ่ื งดนตรแี ตล ะชนิด โดยทาํ เปนแบบฝก ปฏิบตั ิเคร่ืองดนตรีเบอ้ื งตน 4) ตอ เพลงงาย ๆ สาํ หรับฝกการไลน้วิ ไลเ สียง ไลมือ 5) ฝก ทบทวนดว ยตนเอง 6) ทดสอบการปฏิบตั โิ ดยครูผสู อน 7) สรุปบทเรยี น 8) วดั ผลประเมินผลเปนกลุมหรือรายบุคคล 2.3 แนวทางการสอนดนตรีไทยสําหรับเดก็ ประถมศึกษาท่ีเคยเรยี นมาแลว

1) ใหนกั เรียนทบทวนความรเู ดิมที่ไดเรยี นมาแลว เพ่อื ทีจ่ ะวเิ คราะหวา นกั เรยี นปฏิบัติเครอ่ื งดนตรีที่ตนเองเลอื ก เรยี นไดในระดับใด มีพ้นื ฐานการปฏิบัติอยา งไร นํามาเปน ขอ พจิ ารณาในการเลือกเพลงท่จี ะสอน หรือตอ งเสริมในการปฏบิ ตั ิ เคร่ืองดนตรอี ยา งไรบาง นํามาพฒั นาใหผ ูเ รยี นสามารถปฏบิ ตั ิเครือ่ งดนตรีไดอยางมีคณุ ภาพ 2) เมอ่ื ไดขอมูลแลว จึงพจิ ารณาเลอื กเพลงทีค่ นุ หู และงายสาํ หรบั การปฏิบตั ิ มีทวงทํานองที่ไพเราะ 3) ครูตอเพลงตามทไี่ ดกําหนด 4) ทบทวนใหปฏบิ ัตไิ ดอยา งถูกตองตามทาํ นอง 5) ฝกซอ มรวมวง 6) สรปุ บทเรียน 7) วัดผลประเมนิ ผลการเรียน 3. แบบฝก ปฏบิ ัตดิ นตรีไทย สาํ หรับเด็กปฐมวัย แบบฝก ปฏบิ ัตเิ บื้องตน สาํ หรับเดก็ ประถมศึกษา และแบบฝกปฏิบตั ิเพลง ไทยสําหรบั เด็กประถมศึกษาที่เคยเรยี นมาแลว ตัวอยางแบบฝก ตีกลองยาวสําหรบั เด็กปฐมวัย “โรงเรียนวัดโปง แรด” ลําดับที่ 1 - - - บอ ม - - - บอม - - - บอ ม - - - บอ ม - - - เพิง่ - - - เพงิ่ - - - เพงิ่ - - - เพ่ิง ลาํ ดับที่ 2 - - - บอ ม - - - บอม - - - บอ ม - - - บอ ม - - - เพง่ิ - - - เพิง่ - - - เพงิ่ - - - เพ่ิง ลําดับที่ 3 - - - บอม -เพิ่ง-บอม -เพง่ิ -บอ ม -เพงิ่ -บอ ม - - - บอ ม -เพิ่ง-บอม -เพิง่ -บอ ม -เพิ่ง-บอม จากการดาํ เนนิ กจิ กรรมการจัดการความรูของนกั ศกึ ษาเรอ่ื ง การสอนดนตรไี ทยใหกบั ชุมชน “โรงเรยี นวัดโปงแรด” พบวา เปนกิจกรรมทดี่ แี ละมีประโยชนตอ นักศึกษาทีม่ าสอนและตอ นักเรียนทไี่ ดเรยี นโดยในสวนของนกั ศึกษาไดฝก ทกั ษะการ สอน การทํางานอยางสรา งสรรค การแกไขปญ หา ความเปนผูน าํ สง ผลใหม คี วามเปนครูผูสอนดนตรไี ทยอยางมอื อาชีพ เปน การสบื ทอดวฒั นธรรมดา นดนตรีไทยใหอยูกับเยาวชนสรางคา นิยมทีด่ งี ามใหอยูกับชมุ ชนไดอยา งยั่งยนื ในสว นของนักศกึ ษา หลงั จากไดจ ดั กจิ กรรมเรยี บรอ ยแลว ไดมีการประชุมทบทวนและสรปุ การดําเนินกิจกรรม การ สอนดนตรไี ทยใหกับชมุ ชน “โรงเรยี นวดั โปง แรด” พบวา 1. นกั ศกึ ษาไดม ที กั ษะในการสอนดนตรใี นระดบั ปฐมวยั และในระดับประถมศกึ ษาไดเ ปน อยางดี โดยวัดไดจ ากการ แสดงผลงานของผเู รยี น นกั ศึกษานาํ ประสบการณไ ปปรบั ใชใ นการออกฝก ปฏบิ ตั กิ ารสอน หรอื สามารถนาํ ไปประกอบอาชพี ครู ในอนาคตได 2. ทางโรงเรียนวัดโปงแรด โดยทานผูอํานวยการลัดดาวัลย วิเศษะภตู ิ และคุณครูทกุ คนใหความรว มมือเปนอยางดี มี การเรียนรู สามารถนาํ ไปใชส อนและทบทวนเพลงชว งเวลาหลังเลิกเรียนกอ นกลับบา น ทาํ ใหช มุ ชนเกดิ การเรียนรูอยา งมสี ว น รว ม 3. นักเรียนรูจกั และเลนเครอ่ื งดนตรีไทยไดท กุ คนบรรลุตามวัตถุประสงคของโรงเรยี น 4. นกั ศกึ ษาไดป ระดิษฐเครือ่ งดนตรีผลไม ขึ้นใหม สําหรบั ใชสอนเด็กปฐมวยั อยา งสรางสรรค สรุป

นกั ศึกษาชัน้ ปริญญาตรีปท ี่ 4 สาขาวิชาดนตรีคีตศลิ ปไ ทยศกึ ษา ไดด ําเนนิ กิจกรรมการจดั การความรูตามกระบวนการ 7 ข้ันตอน โดยนําระบบ PDCA มาใชด ําเนินงาน มกี ารประชุมวางแผนการทํางาน แบง หนาที่รบั ผิดชอบตามความรู ความสามารถของแตล ะคน มกี ารคน ควา รวบรวมขอมลู เรียนรนู ําหลกั การทฤษฎีตา ง ๆ มาปรบั ใชออกแบบวธิ ีสอนอยาง เหมาะสม การดาํ เนนิ กิจกรรมไดบ ูรณาการรว มกบั งานสโมสรนักศึกษา และอาจารยป ระจาํ หลักสูตร ลงพื้นที่สอนดนตรีไทย ใหกบั นักเรยี นในชน้ั อนบุ าล 3 สอนการตกี ลองยาว ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 1 –6 สอนเคร่อื งดนตรี ซอดว ง ซออู ขลยุ ขมิ จะเข ระนาดเอก ระนาดทมุ และฆองวงใหญ ในการดาํ เนนิ งานไดรับการสนับสนุนและกําลงั ใจจากคณะผูบริหารของวิทยาลัยฯ เปนอยางดี เมื่อเสรจ็ สิน้ การสอนทุกครงั้ ไดนาํ ผลการดําเนนิ งานมาสรปุ เพอื่ หาแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการสอนดนตรีไทย และกระบวนการทํางานตามขัน้ ตอนตา ง ๆ ใหม ีคณุ ภาพย่ิงขน้ึ ไดแ ก การสรา งแบบฝกตกี ลองยาวสําหรบั เดก็ ปฐมวัย การสรา ง เครอ่ื งดนตรผี ลไมส าํ หรับเด็กอนบุ าล 3 และการพัฒนาแบบฝกปฏิบตั เิ คร่ืองดนตรีไทยเบ้ืองตน สาํ หรบั เด็กประถมศึกษา นาํ ขอ ปรับปรงุ พัฒนาที่ไดว างแผนไวไ ปดําเนนิ การใชส อนดนตรไี ทยครั้งตอไป โดยผลท่ไี ดจ ากการดาํ เนนิ งานอยา งเปน ระบบ สงผลใหกจิ กรรมการสอนดนตรไี ทยประสบความสาํ เรจ็ ประเมินไดจ ากกจิ กรรมการแสดงผลงาน จากการจัดกิจกรรมการ สอนดนตรไี ทย “โรงเรยี นวดั โปงแรด” สามารถนาํ องคความรูไปตอยอดประดษิ ฐเคร่ืองดนตรี สรา งแบบฝกสาํ หรบั สอนดนตรี ในระดับปฐมวัยและประถมศกึ ษาเพอ่ื ใชเปนแนวทางในการสอนดนตรไี ทยใหมีคณุ ภาพตอไป ขอ เสนอแนะ 1. ควรมีกิจกรรมตดิ ตามการสอนอยา งตอ เนอื่ งทุกป 2. เพม่ิ ขอบขายการสอนดนตรไี ทยใหบริการชมุ ชนใหมากขนึ้ หลาย ๆ โรงเรยี น 3. การบรรเลงดนตรคี วรเทียบเสียงใหไดระดบั เสยี งไมเ พี้ยน 4. ควรเพิ่มระยะเวลาในการสอนใหมากกวานี้ เน่ืองจากนกั เรยี นสวนใหญไมเ คยเรียนดนตรีไทย 5. นําการแสดงผลงานของเดก็ ๆ ไปรว มกิจกรรมในวนั วิชาการของวทิ ยาลัยฯ

1 บทความการจัดการความรู้ ประจาปี งบประมาณ 2561 สถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์ ช่ือเร่ือง เทคนคิ การสร้างแรงบันดาลใจการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ ช่อื -สกลุ นายนพดล ไทรแก้ว และคณะ หน่วยงาน วิทยาลัยชา่ งศิลปนครศรีธรรมราช การจดั การความรดู้ า้ น การเรียนการสอน Email address [email protected] บทสรปุ การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของนกั ศึกษา มีท่ีมาที่แตกต่างกันออกไป โดยการสรา้ งสรรค์ ผลงานเกิดจากแรงบันดาลใจอันเป็นแรงผลักดันให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานออกมา ในงานศิลปะ ในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม องค์ประกอบศิลป์ วาดเส้น ภาพพิมพ์ และศิลปะไทย เป็นต้น ซึ่งแรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์ผลงานเกิดขึ้นจากหลายกรณี เช่น แรงบันดาลใจจาก ธรรมชาติ แรงบันดาลใจจากส่งิ ที่มนุษย์สร้างข้ึนท่ีอยู่แวดลอ้ มรอบตัวเรา เช่น ถนน อาคาร ชุมชน สังคม ความเชื่อ ความคิด วัฒนธรรม ประเพณี ผลงานศิลปะตัวอย่างที่ศิลปินสร้างข้ึน ประสบการณ์ในอดีต เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนจินตนาการ และความรู้สึกของ ผู้สร้างสรรค์ เป็นต้น แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจึงมีความสาคัญในการเรียน รายวิชาศิลปะ มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา แรงบันดาลใจอาจเกิดจาก ประสบการณ์ในอดีต ส่ิงแวดล้อมรอบตัว สังคม ที่ผู้เรียนได้สัมผัส อย่างไรก็ตามการสร้างสรรค์ ผลงานศลิ ปะ นักศกึ ษาจาเป็นตอ้ งศกึ ษาคน้ คว้า หาข้อมลู เชิงลึก เพือ่ ท่จี ะนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบ ผลงานศลิ ปะอันสะท้อนออกมาให้ปรากฏในผลงานศิลปะของตน ซึ่งหากนกั ศึกษาไม่มีแรงบันดาล ใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานจะส่งผลใหก้ ารทางานไม่ประสบความสาเรจ็ หรือไม่สามารถสร้างสรรค์ ผลงานได้ สง่ ผลต่อผลการเรยี น และความสาเรจ็ ในการเรยี น การจัดการความรู้เรอื่ ง เทคนิคการสร้างแรงบนั ดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ เป็น การจดั กระบวนการการจดั การความรู้ แบ่งปันความรู้ และแลกเปลย่ี นเรียนรูร้ ว่ มกันของนักศึกษา วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช ท่ีมีผลงานศิลปะเป็นที่ยอมรับ ได้รับรางวัลในการประกวด ระดับชาติ และนักศึกษาผู้มีผลการเรียนสูงสุดในช้ันเรียน จัดเป็นกระบวนการท่ีมุ่งพัฒนา กระบวนการทางความคิดของผู้เรียน สามารถพัฒนาความคิด การนาเสนอข้อมูล ผู้เรียนได้ใช้ ความคดิ เชิงเหตผุ ล วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ระหว่างกัน ซ่ึงเกดิ ประโยชน์แก่นักศึกษา ด้านการส่ือสาร การส่ือความท่ีดี ช่วยให้สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ สามารถ

2 เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษาในวิทยาลัย และผู้สนใจจากภายนอก เพื่อเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน และช่วยสร้างลักษณะนิสัยการค้นคว้าหาข้อมูลเพ่ือสร้างแรงบันดาลใจในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ ใหก้ บั นักศึกษา ตลอดจนนิสยั ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี นตลอดชวี ติ Summary Students’ Art creation come from different inspiration. Students can create their works of Art because they have inspiration for their working in Art subjects, such as Painting, Composition, Drawing, Print Making, and Thai Art. The inspiration comes from many ways, such as inspiration from nature, environment around us, such as streets, buildings, public, social, belief, thinking, culture, the example of works of art, experience, technology, materials, imagination, artists’ feeling, and so on. The inspiration is important for art creation. Art students should learn to have inspiration for their works of art creation. It can make them to be successful in art creation and they can improve their achievement studying. The knowledge management in the topic of Inspiring in Art Creation Technique is performed in knowledge management process. Students have knowledge sharing in group. We provided students who used to get reward from art contests in the national level, and students who get very good grades to learn and share their knowledge about inspiring in art creation technique. This performance is useful for students. They have more knowledge about inspiring in art creation technique, and they can learn about rational thinking, analytical thinking, critical thinking, good communication and presentation, and team work. This performance also guides students to learn about independent study, and lifelong learning. คาสาคญั Inspiration Creation Works of Art บทนา การวิวัฒนาการทางการศึกษาในปัจจุบันมีความแตกต่างจากการเรียนรู้ในอดีตเป็นอย่าง มาก โดยสภาพการเรียนรู้ในปัจจบุ ันมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การพัฒนาด้านเทคโนโลยี สารสนเทศส่งผลให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ตลอดเวลา และสามารถส่ือสารได้ทันที ท้ังนี้การพัฒนาความคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นสิ่งจาเป็นในการ พัฒนาทักษะชีวิตอย่างสมบูรณ์และสามารถให้ผู้เรียนดาเนินชีวิตอยู่ในอนาคตได้อย่างมีคุณภาพ ศิลปะมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้และศักยภาพของเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะการ แสดงออกทางด้านอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดและจินตนาการ การสร้างสรรค์กิจกรรมทัศนศิลป์ นอกจากจะเพ่ิมพูนประสิทธิภาพทางด้านความคิดสร้างสรรค์ การฝึกทักษะการเรียนรู้ในด้าน

3 ต่าง ๆ แล้ว ยังช่วยพัฒนาด้านมนุษยสัมพันธ์ และปลูกฝังระเบียบวินัยในการทางาน อีกท้ังเป็น สว่ นหนงึ่ ของการ ดารงรกั ษาวัฒนธรรม และสะทอ้ นถงึ ทกั ษะชีวติ ความเปน็ อยใู่ นสังคมปจั จบุ นั นักศึกษาสาขาศิลปกรรม วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราชจะต้องศึกษาตามหลักสูตร สาระวิชาประกอบด้วยวชิ าชีพ วิชาชพี เลอื ก วิชาศกึ ษาทั่วไป เพื่อพฒั นาทกั ษะความเป็นมนุษย์ ซ่งึ นักศกึ ษาผเู้ ข้ามาศึกษา ส่วนใหญ่เปน็ ผมู้ ีทักษะในวิชาศิลปะ ในขณะเดียวกันพวกเขาจะต้องศึกษา ทฤษฎีต่าง ๆ ให้ครบถ้วนจึงจะจบการศึกษา โดยท่ัวไปนักศึกษาจะประสบปัญหาการทางานใน วิชาศิลปะไม่ทัน ไม่ส่งงาน ขาดเรียนในรายวิชาศึกษาท่ัวไป ส่งผลให้เกิดการติด ร. ม.ส. หรือผล การเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ จากปัญหาดังกล่าววิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการทางานในรายวิชาศิลปะไม่ทันส่งตามกาหนดอันส่งผลกระทบให้เกิด ปัญหาอ่ืน ๆ ตามมา จึงได้ดาเนินงานจัดการความรู้สาหรับนักศึกษาเร่ืองเทคนิคการสร้างแรง บันดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ ซ่ึงสามารถสง่ เสริมใหน้ ักศึกษาสามารถค้นหาแนวทางใน การศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลและวิธีการสร้างความกระตือรือร้นอันเป็นแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นการจัดการความรู้ แบ่งปันความรู้ และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษาในวทิ ยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช ท่ีมีผลงานศิลปะเป็น ที่ยอมรับ ได้รับรางวัลการประกวดระดับชาติ และนักศึกษาผู้มีผลการเรียนสูงสุดในชั้นเรียน เพอื่ ทีจ่ ะนาองค์ความร้เู ผยแพร่ แบ่งปนั แลกเปล่ียนเรยี นรู้ อนั จะเกิดประโยชน์แก่นักศึกษา ท้ังใน วทิ ยาลยั ช่างศิลปนครศรีธรรมราช และสถาบันการศกึ ษาอ่ืนทไี่ ด้นาองค์ความรไู้ ปใช้ วิธดี าเนินการ การจัดการความรู้เร่ืองเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ มี วัตถุประสงค์เพ่ือ (1) รวบรวมองค์ความรู้เก่ียวกับเทคนิคการสรา้ งแรงบันดาลใจในการสรา้ งสรรค์ ผลงานศิลปะ (2)เพ่ือให้นักศึกษาได้แลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจใน การสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ และ (3) เพอื่ เผยแพร่องค์ความรู้ เรอื่ งเทคนิคการสร้างแรงบนั ดาลใจ ในการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ทัง้ ภายในสถานศึกษา และสถานศึกษาอน่ื ทีส่ นใจนาองค์ความรู้ไป ใช้ โดยการดาเนินงานจัดการความรู้ ไดด้ าเนินการ 7 ขนั้ ตอน ดังนี้ 1.การค้นหาความรู้ ดาเนินการประชุม ติดต่อประสานงาน เพ่ือค้นหานักศึกษาผู้มีความรู้ เกี่ยวกับ เทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ โดยเลือกนักศึกษาผู้ท่ีมี ผลงานศิลปะเป็นที่ยอมรับ ได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานศิลปะในระดับชาติ และนักศึกษา ผูม้ ผี ลการเรียนสงู สดุ ในชน้ั เรียน เป็นกรรมการและเปลี่ยนเรยี นรู้ 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ จัดประชุมเพ่ือให้คณะกรรมการ KM นาเสนอความรู้ เกย่ี วกับเทคนิคการสรา้ งแรงบันดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ 3.การจัดการความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบ นาข้อมลู ที่ได้จากการนาเสนอแลกเปล่ียนเรยี นร้ใู นแต่ ละครงั้ มา กล่นั กรอง และจดั หมวดหมู่ จัดพิมพเ์ ป็นเอกสาร 4.การประมวลและกลัน่ กรององค์ความรู้ คณะกรรมการ KM นาขอ้ มูลที่ได้จากการจดั

4 หมวดหมู่มาปรับภาษาใหเ้ ปน็ ภาษาทส่ี ามารถเขา้ ใจได้ง่าย จดั ทารูปเล่ม แจกจา่ ยแก่คณะกรรมการ เพื่อตรวจสอบแกไ้ ข 5.การแบง่ ปันแลกเปลีย่ นความรู้ นาองค์ความรทู้ ่ีจัดรปู เลม่ แจกจ่ายในห้องสมุดวิทยาลัยฯ เผยแพร่ ไปยังนักศกึ ษา ครู อาจารย์ และผู้สนใจ รวมท้งั แจง้ ให้ทราบถงึ ชอ่ งทางการเข้าถึงข้อมลู 6.การเข้าถึงความรู้ นาข้อมูลเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบเอกสาร ลงเวปไซด์วิทยาลัย เฟสบุ๊ค และไลน์กลุ่ม รวมทั้งประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เรอื่ งเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ แก่นกั ศึกษา ครู อาจารย์ ผู้สอนไดน้ าแนวทางไปประยกุ ตใ์ ช้ 7.การเรยี นรู้ ได้นาเสนอและประชาสัมพันธ์ในโอกาสการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของนกั ศึกษา นาเสนอหน้าเสาธงในการเขา้ แถวตอนเช้า และในการประชุมประจาเดือนเก่ยี วกับเทคนิคการสร้าง แรงบันดาลใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ สรุปและอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน สรปุ ผลการดาเนนิ งาน จากการนาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการซึ่งเป็นตัวแทนนักศึกษา ท่ีได้ คัดเลือกเป็นกรรมการ ผลที่ได้จากการจัดการความรู้เรื่อง เทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ การนาเสนอผลงานที่สะท้อนออกมาในรูปแบบผลงานศลิ ปะท่ไี ด้รบั รางวัลในการประกวด ผลงานศิลปะในระดับชาติ และผลงานศิลปะในรายวิชาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม องค์ประกอบศิลป์ วาดเส้น ภาพพิมพ์ และศิลปะไทยท่ีได้คะแนนสูงสุด ของนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาเจ้าของผลงาน ดังกล่าวได้นาเสนอแนวทางการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตน โดยได้ นาผลงานตวั อยา่ งท่แี สดงใหเ้ ห็นถงึ ท่ีมาของแรงบันดาลใจมานาเสนอจานวน 6 ผลงาน จากผลงาน ทงั้ สน้ิ จานวน 18 ผลงาน ดงั น้ี นายสิทธพิ งศ์ โยธา ชือ่ ผลงาน แต่...พลังงานไม่มวี ันตาย ขนาด 60 X 40 ซ.ม. เทคนคิ ส่ือผสม ใช้สงั กะสีและเศษไม้มา สร้างสรรคโ์ ดยการแปะ ปะติดเปน็ รูปทรง ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ ในการประกวด ผลงาน Energy Painting ปี 2561 หวั ข้อ “มพี ลังมีความสุข”จัดโดย กระทรวงพลังงาน แนวคิด บนแผ่นดินไทยน้ี พระองค์ทรงเดินทางไปเยี่ยมเยียนทุกข์สุขของราษฎร ได้ถามถึงปัญหา และความต้องการของราษฎร พระองค์ท่านจึงทรงสร้างสรรค์ส่ิงต่าง ๆ ข้ึนเพ่ือผลิตพลังงานในแต่

5 ละภูมภิ าคเพ่ือบรรเทาทุกข์ของประชาชน พลงั งานของพระองค์จึงเป็นส่งิ ทีย่ ัง่ ยืน ความทกุ ข์ที่มีจึง กลายเปน็ ความสุขตลอดมา แรงบันดาลใจ ไดแ้ รงบันดาลใจจากในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทที่ รงสรา้ งสิ่งต่าง ๆ ไว้เพ่ือบรรเทาทกุ ข์ บารงุ สขุ แก่ราษฎรชาวไทยไว้มากมาย นายศริ ชิ ัย ศรีสุวรรณ นางสาวอรพรรณ ศรเี พชรพูล ชื่อผลงาน ภมู ิใจไทยแลนด์ ขนาด 60 X 80 ซ.ม. เทคนคิ ภาพพมิ พ์ สอี คริลคิ (wood cut) ไดร้ ับรางวัลดีเดน่ ในการแข่งขัน ศิลปกรรม ปตท.ปี พ.ศ. 2561 แนวคดิ เป็นผลงานที่ตอ้ งการสอ่ื ใหเ้ ห็น ถึงความสามัคคีของชาวไทย โดยมี หมปู ่าเป็นผปู้ กป้องสมาชกิ ทัง้ 13 คน สร้างสรรค์ผลงานใหเ้ กดิ แทก็ เจอร์ (รอ่ งรอยตะปุ่มตะป่า) เพอ่ื สื่อถึงความยากลาบากของผ้ทู เี่ ข้าไป ช่วยเหลอื แรงบันดาลใจ เกิดจากการติดตามข่าวทีมหมูป่า แล้วได้ซึมซับถึงความสามัคคี ความร่วมมือของ ชาวไทยในการช่วยเหลอื ทีมหมปู า่ จงึ รูส้ ึกประทับใจและหยบิ ยกมาทางาน ขน้ั ตอนวิธกี ารทางาน 1.ร่างภาพใหไ้ ดร้ ูปแบบทชี่ ัดเจน 2.ร่างภาพลงบนไมท้ จ่ี ะแกะ 3.ทาการแกะไม้โดยใช้เทคนิค woodcut จนเสร็จ 4.ผสมสีอคลลิ ิคแลว้ ทาลงบนไม้ทลี ะช่อง 5.เก็บรายละเอียดของผลงาน นางสาวมณีรัตน์ รัตนสุภา ชื่อผลงาน ทาความดีเพื่อพอ่ ขนาด 56 X 76 ซ.ม. เทคนคิ สีชอลค์ นา้ มนั ขูดสี ไดร้ ับรางวัลดเี ดน่ ในการประกวดภาพ PMAC World Art Contest 2017 แนวคดิ เปน็ การรวมตัวกนั ของชาวบ้าน ในหมู่บา้ นท่ีมีความจงรักภกั ดีตอ่ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช

6 รวมตัวกันทาความดีสร้างฝายชะลอน้าไว้กักเก็บน้าเพ่ือความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ถวายแด่ท่าน เป็นครัง้ สดุ ท้าย ตามพระราชดารขิ องทา่ น ซงึ่ ทา่ นทรงเปน็ ต้นแบบในการทาความดี แรงบันดาลใจ ครั้งที่คนไทยร้องให้ เสียใจกันท้ังประเทศ คือวันที่รู้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชทรงสวรรคต ทว่าทุกคนร่วมกันทาความดีต่าง ๆ มากมายเพ่ือถวายแด่ท่านเป็น ครั้งสดุ ท้าย เหตกุ ารณ์ทไ่ี ด้ถ่ายทอดออกมานัน้ เป็นส่วนหน่ึงของการทาความดี ได้เหน็ ความสามคั คี กันของคนในชาติ ขั้นตอนวธิ ีการทางาน ในการทางานชิน้ นใ้ี ช้การขูดสี โดยใช้สีชอลค์ น้ามัน เลอื กสที ี่มีโทนสว่าง และสอี ่อนระบาย ลงไปในแต่ละที่ตามที่ได้ร่างภาพไว้ให้เต็มแผ่น และระบายทับลงไปอีกช้ันด้วยสีที่มีโทนเข้ม มืด ๆ เพ่ือ คุมโทนสีโดยรวมของงาน และใช้มีดหรือปากกาที่ไม่ใช้แล้วมาขูดขีด แล้วสีท่ีลงไว้ช้ันแรกจะ ปรากฏข้ึน เป็นเสน้ สว่าง เป็นลวดลายและรายละเอียดท่ีสวยงาม นายพรี วิชญ์ ใจหา้ ว ช่อื ผลงาน ออกเล งานวชิ า องคป์ ระกอบศลิ ป์ ขนาด 120 X 90 ซ.ม. เทคนคิ เพ้น, ส่ือผสม คะแนนทไ่ี ด้ A แนวคดิ ชาวประมงใตผ้ กู พันกับทอ้ งทะเลเปน็ อย่างมาก เม่ือเกดิ มาก็ได้เหน็ ไดอ้ ยู่ได้สมั ผสั กับ ท้องทะเลทตี่ ้องพงึ่ พากัน ทาเพ่ือเล้ยี งชีพ คา้ ขาย มากันตง้ั แตบ่ รรพบรุ ุษ พูดได้วา่ ทงั้ ปอี าจใชช้ ีวติ อยู่ ในพ้นื ทะเลมากกวา่ พืน้ แผน่ ดินใหญ่ ผมเลยได้นา เรือ่ งประมงออกเล มาถ่ายทอดเป็นงานศลิ ปะ โดย หาวัสดุอปุ กรณ์ที่อยู่รมิ หาดมาสร้างสรรคผ์ ลงาน ด้วย เพื่อให้ไดถ้ งึ ความร้สู กึ ของภาพ ข้ันตอนการดาเนินงาน 1.สเกต็ งานเพ่ือให้เห็นภาพโดยรวมเพอ่ื นาเอาไปทางานจรงิ 2.เมื่อสเก็ตผา่ นกม็ าร่างใสเ่ ฟรมทเี่ ตรียมไวต้ ามขนาดที่ต้องการ 3.ลงสีส่วนที่จะเพน้ ใหเ้ หมือนจรงิ 4.นาไม้ วสั ดุทเ่ี ก็บมาคอลลาสในงานให้เสมือนงานมีมิติออกมาสมจรงิ 5.เกบ็ รายละเอยี ด

7 นายโสภณวิชย์ ทองแก้ว ชือ่ ผลงาน ใต้รม่ พระบารมจี กั รีวงศ์ ขนาด 60 X 40 ซ.ม. เทคนิค สีอคลลิ คิ บนผา้ ใบ ได้รับรางวลั ชนะเลิศอันดับ 1 ในการประกวด ผลงานศิลปะภายใตห้ ัวข้อ ใต้รม่ พระบารมี จกั รีวงศ์ วทิ ยาลัยชา่ งศิลปนครศรีธรรมราช แนวคิด เป็นผลงานที่แสดงถึงพระกรณยี กจิ ของพระเจ้าอยู่หวั ในราชวงศจ์ ักรี ให้เหน็ ถงึ ความดีงามท่ีพระองค์ไดท้ าอย่างเหน็ดเหน่อื ย แรงบันดาลใจ พระกรณียกิจของพระเจา้ อยูห่ วั ทไ่ี ด้เห็นถึงความดงี ามที่พระองค์ไดท้ างาน ขน้ั ตอนวิธีการทางาน 1.สรา้ งแรงบันดาลใจทจ่ี ะอธิบายถงึ พระองคใ์ หไ้ ดม้ ากทีส่ ุด 2.ลงมือรา่ งภาพ วางองค์ประกอบของภาพให้ลงตัวใหม้ ากที่สุด 3.เร่มิ ลงสโี ดยการใชน้ ้าสอี คลลิ ิครองพ้ืนกอ่ นใชเ้ น้ือสี และเก็บรายละเอียดทีหลัง 4.เมื่อลงสีโดยรวมเสร็จแล้วก็เก็บรายละเอียดบนหน้าพระองค์ และเส้ือผ้าเพ่ือความ สมจริง นายสิรเิ วช ทองสกลุ ชอ่ื ผลงาน พระแม่ธรณี ขนาด 60 X 80 ซ.ม. เทคนิค การใชส้ ฝี นุ่ และใช้ลวดลายไทย ไดค้ ะแนน A+ เปน็ งานสรปุ ของวิชาลายไทย แรงบนั ดาลใจ การดูลวดลายของกระหนก อันสวยงามของเคร่ืองทรงของพระแมธ่ รณี และได้นามาผูกลาย แนวคดิ เปน็ ใช้ลายไทยมาผูกลายใหส้ วย และใชพ้ ระแม่ธรณีในการเป็นตัวผกู ลาย ขน้ั ตอนวิธที างาน 1. หาตัวผกู ลายทเ่ี ราสนใจ 2. ให้อาจารยแ์ นะนาเกยี่ วกับกระหนก และการผูกลาย 3. เรม่ิ วางโครงสรา้ งของลายต่าง ๆ 4. ใส่ลายละเอียดของลาย 5. ลงสีและเก็บลายละเอียด

8 สรุปผลการจดั การความร้ขู องนกั ศึกษา การจัดการความรู้นักศึกษา เร่ืองเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ จากการนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ ของนักศึกษา สามารถสรุปแนวทางการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ไดด้ งั น้ี 1.การเกิดแรงบันดาลใจในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ เกดิ จากสถานการณต์ ่าง ๆ ดังน้ี 1.1 แรงบันดาลใจเกิดจากประสบการณเ์ ดมิ เช่น การไดร้ ับการเลีย้ งดูในวยั เด็ก การศกึ ษา เล่าเรยี นหรอื การเรียนรู้จากอดตี ความทรงจาเดิม และประสบการณท์ ีอ่ ยใู่ นความทรงจา เปน็ ตน้ 1.2 แรงบันดาลใจที่เกิดจากสภาพแวดล้อมที่ตนอยู่อาศัย ครอบครัว สถานท่ี เหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ในสังคม ศิลปวฒั นธรรม และวิถีทางในการดาเนินชีวิตในครอบครัวและสงั คม เปน็ ตน้ 1.3 แรงบนั ดาลใจจากการไดร้ บั ฟงั ข้อมลู จากเรอื่ งเลา่ ขา่ วสารในชวี ติ ประจาวนั การเรียน การสอนในชั้นเรยี น และการแนะนาจากครผู สู้ อน เปน็ ตน้ 2.ท่ีมาในการเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ผลงานศลิ ปะ มีที่มาในการเริ่มต้นการสร้างสรรคผ์ ลงาน ดังน้ี 2.1 การได้รับมอบหมายงานในช้ันเรียนในรายวิชาชีพ เช่น วิชาวาดเส้น ภาพพิมพ์ องค์ประกอบศิลป์ ศิลปะไทย จิตรกรรมสีน้า ฯลฯ ซึ่งจะต้องทางานตามที่ได้รับมอบหมาย ครู อาจารยใ์ นบางรายวชิ ามีการสอนตามหลักทฤษฎีในเบื้องต้น หลังจากได้เรียนรู้ทฤษฎีแล้วจะมีการ มอบหมายงานให้รบั ผดิ ชอบ ซึง่ มีแนวทางในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ดงั นี้ - การมอบหมายงานตามหวั ขอ้ ท่ี ครู อาจารย์ผู้สอนกาหนด ขอยกตัวอยา่ งในบางรายวิชา เช่น วิชาองค์ประกอบศิลป์ ครู อาจารย์ผู้สอนได้กาหนดหัวข้อเรื่องให้ทางาน นักศึกษาต้อง สรา้ งสรรค์ผลงานให้สอดคล้องกบั หัวข้อเรื่อง เชน่ เรอ่ื งสง่ิ แวดล้อม นักศึกษาแต่ละคนจะพยายาม สรา้ งสรรค์ผลงานทเี่ กยี่ วข้องกบั สงิ่ แวดล้อมตามประสบการณ์เดิม โดยคิดเทคนคิ วธิ ีการสรา้ งสรรค์ ซึ่งผลงานของนักศึกษาจึงออกมาอย่างหลากหลาย และหากครู อาจารย์มอบหมายให้สร้างสรรค์ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในอาเซียน ผลงานที่นักศึกษาสร้างสรรค์ออกมาจะมาจากการค้นคว้าข้อมูล เพ่ิมเติม เช่น ศึกษาภาพเขียนของนักเขียนในประเทศอาเซียน หรืออ่านเรื่องราว หรือหาข้อมูลที่ เกี่ยวกับประเทศอาเซียน แล้วนามาสร้างสรรค์ผลงานโดยใชเ้ ทคนคิ วธิ ีการท่ีตนสนใจ มีความถนัด และเหมาะสมกับเรอื่ งราวท่นี าเสนอ - การมอบหมายงานตามหลกั วิชาการในรายวชิ า เชน่ วชิ าศิลปะไทย มกี ารมอบหมายงาน เกยี่ วกบั การผูกลาย เพื่อใหน้ ักศึกษาเกิดทักษะ ครู อาจารยผ์ ู้สอน จะมอบหมายใหเ้ ขียนลายซ้า ๆ หลายคร้ัง จนเกิดความชานาญ แล้วนาลายท่ีฝึกเขียนจนชานาญแล้วมาประยุกต์ใช้ในการ สร้างสรรค์การเขียนลาย การผกู ลายของแต่ละคน

9 2.2 การส่งผลงานประกวด เมื่อได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการส่งผลงานประกวด นักศึกษาได้ อ่านรายละเอียดเก่ียวกับหัวข้อท่ีหน่วยงานจัดประกวดกาหนด ซึ่งส่วนใหญ่มีการกาหนดหัวข้อ กาหนดระยะเวลาในการส่งผลงาน แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานเกิดจากการหาข้อมูล จากหัวข้อที่กาหนด เช่น หัวข้อเรื่องเก่ียวกับราชวงค์จักรี ผู้สร้างสรรค์มีความรู้เดิมและหาความรู้ หรือรายละเอียดเพิ่มเติมแล้วนามาสร้างสรรค์ผลงาน หรือหัวข้อพลังงาน ผู้สร้างสรรค์ต้องคิด สร้างสรรค์ผลงานให้สอดคล้องกับหัวข้อโดยการศึกษาข้อมูลด้านพลังงานแล้วนามาสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะ การกาหนดหัวข้อเรื่องการประกวดในบางคร้ังจะกาหนดหัวข้อกว้าง ๆ เช่น หัวข้อ ภูมิใจไทยแลนด์ ผู้สร้างสรรค์ผลงานก็จะนาความประทับใจท่ีได้รับรู้ในสังคม ข้อมูลข่าวสาร ประจาวัน และศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมแล้วนามาสร้างสรรค์ ดังภาพประกวดท่ีสื่อออกมา เกย่ี วกบั 13 หมูปา่ เป็นต้น 3. แนวคิดเกี่ยวกับการสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ การเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ประการแรกเกิดจากความรู้และ ประสบการณ์เดิม ส่ิงสาคัญคือต้องศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมเพื่อให้สามารถสร้างสรรค์และสื่อให้ เห็นถึงความแท้จริง ความชัดเจน ความมีเอกลักษณ์เฉพาะ และสร้างความประทับใจ ความ นา่ สนใจใหเ้ กดิ ขนึ้ ในผลงานสร้างสรรค์ ซ่งึ อาจเกิดจากการใชเ้ ทคนิควิธกี ารที่เหมาะสม หรือการสง่ั สมทักษะ และปรึกษาครู อาจารย์ และสิ่งสาคัญท่ีขาดไม่ได้คือความมุ่งมั่น ขยัน พยายามเพ่ือให้ งานที่ตนสร้างสรรค์มีความสมบูรณ์ และมีประสทิ ธิภาพ การนาองคค์ วามร้ไู ปใช้ การจัดการความรู้เรื่องเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ได้ สาเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดตี ามกระบวนการการจดั การความรู้ สง่ ผลให้เกิดการพัฒนาในการสรา้ งสรรค์ ผลงานศิลปะอย่างมีประสิทธิภาพของนักศึกษา มีการเผยแพร่องค์ความรู้อย่างเป็นรูปธรรม เกิด การต่อยอดในการนาองค์ความรู้ไปถ่ายทอดแก่นักศึกษาในวิทยาลัย โรงเรียนเครือข่าย อาจารย์ ผู้สอนศิลปะ และผู้สนใจโดยท่ัวไป รวมท้ังได้เผยแพร่ไปสู่การจัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษา ในวิทยาลัย ส่งผลให้นักศึกษาในวิทยาลัยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น และได้รับรางวัลในการ ประกวดผลงานศิลปะในระดับชาติอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ีผลการจัดการความรู้สามารถใช้เป็น แนวทางแก่นักศึกษาในรุ่นต่อไปและผู้สนใจจากภายนอก ได้นาความรู้เก่ียวกับเทคนิคการสร้าง แรงบันดาลใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ไปใชใ้ นการสร้างสรรคผ์ ลงานอย่างแพร่หลาย อภิปรายผลการดาเนินงาน การจัดการความรู้เรื่องเทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ นักศึกษามีกระบวนการดาเนินงาน ดังนี้ 1.เทคนิคในการทางานให้สร้างสรรค์แนวทางท่ีเปน็ เอกลักษณ์ของตัวเอง ใฝห่ าความรโู้ ดย การศึกษาผลงานศิลปิน จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือในห้องสมุด จากเวปไซต์ หรือ

10 สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปะ เป็นต้น รวมท้ังศึกษาการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจากเพ่ือน รุ่นพ่ี รุ่นน้อง หรือให้ครูผู้สอนปฏิบัติให้ดู สังเกตวิธีการ หรือกระบวนการสร้างสรรค์แล้วคิดวิเคราะห์ ดัดแปลงเปน็ ของตนเอง 2.หลังจากศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลตามข้อ 1 เรียบร้อยแล้ว ก็ดาเนินการสร้างสรรค์ ผลงานให้สอดคล้องกับหัวข้อท่ีได้รับ ดาเนินงานตามขั้นตอน โดยเร่ิมจากการเตรียมความพร้อม ของวัสดุอุปกรณ์ แล้วทาการร่างภาพหรือสเกตภาพ หลังจากนั้นให้เพื่อนช่วยดู หรือให้อาจารย์ ผู้สอนแนะนา แล้วลงมือปฏิบัติงานต่อไป แล้วให้เพื่อนและอาจารย์ดูเพ่ือขอคาแนะนาในการ ทางาน ปรบั ปรุงแก้ไข ต่อยอดจนผลงานลงตวั และเสร็จสมบูรณ์ 3.วางแผนเร่ืองเวลาในการทางานเป็นเรื่องสาคัญ ต้องให้งานเสร็จทนั เวลา โดยใหค้ วาม สาคญั กับวชิ าเรยี นแตล่ ะวชิ า แบ่งเวลาอยา่ งเหมาะสม และลาดับความสาคัญในการทางาน มีขอบเขตเวลาในการทางานโดยต้องเฉลี่ยให้ครอบคลมุ ครบถ้วนทกุ วิชา เพื่อให้สามารถสง่ งาน ไดท้ นั ตามกาหนดในทุกวชิ าเรยี น หรอื ในการสง่ ผลงานประกวด ปัจจยั แห่งความสาเร็จ 1. ความร่วมมือและความมุ่งม่ันของครู อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาที่ได้รับคัดเลือก เป็นคณะกรรมการการจดั การความรู้ รว่ มกนั ผลักดนั ให้การดาเนนิ งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 2. การได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ซึ่งถือเป็นอีกหน่ึงปัจจัย สาคญั ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดองคค์ วามรู้ท่ีเป็นรปู ธรรม เกดิ ประโยชนแ์ กน่ ักศกึ ษา สังคม และประเทศชาติ บรรณานกุ รม ชูเกียรติ สทุ นิ : แรงบนั ดาลใจจากวถิ ีชวี ิตชาวประมงค.์ 2561.วทิ ยาลัยช่างศิลปนครศรธี รรมราช : นครศรธี รรมราช. ชลูด นิ่มเสมอ : ผลงานขนาดเลก็ บนกระดาษ http:2//oknation.nationtv.tv/blog/u- sabuy/2009/12/28/entry-1 http:2//oknation.nationtv.tv/blog/u-sabuy/2009/12/28/entry-1 ................................................................

ช่ือเรอ่ื ง เทคนิคการตีบทของนาฏศลิ ปไทย ช่อื – นามสกุลผนู ําเสนอ นางสาวณฐั พร แกว จันทร นางสาวเบญจา กําจาย หนว ยงาน วิทยาลยั นาฏศิลปสโุ ขทยั การจดั การความรูด าน การจัดการความรสู ําหรบั นกั ศึกษา เบอรโ ทรศัพทม ือถอื 0911529025 0913822559 E-mail address [email protected] [email protected] บทสรปุ การจัดการความรูเรื่อง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย จัดทําขึ้นภายใตประเด็นยุทธศาสตรการ พัฒนาการการจัดการการศึกษาดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลปและคีตศิลป ใหมีคุณภาพและเปนมาตรฐานเปนท่ี ยอมรับระดับชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือรวบรวมเทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทยเพื่อจัดทําคูมือการสอน และเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน จากวัตถุประสงคดังกลาววิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยไดมอบหมายให คณะกรรมการการจัดการความรูดําเนินการแตงตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการความรูดานการเรียนการสอน เพื่อประชุมหาคลังความรูวาความรูใดบางท่ีมีความสําคัญตอเทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย จัดใหมีการ แลกเปล่ียนความรู นําองคความรูท่ีไดมาจัดเปนหมวดหมู และนําความรูปรับปรุงภาษาใหอานแลวเขาใจงาย นําองคความรูที่ผานการประมวลผลและกล่ันกรองแลวมาจัดเปนคูมือการสอนและใหบุคลากรนําไปใชในการ เรียนการสอน การจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เปนการรวบรวมเทคนิคการตีบทของ ครูผูสอน ตั้งแตพ้ืนฐานองคประกอบของนาฏศิลป ไดแก นาฏยศัพท ภาษาทานาฏศิลป แมทา แมบทใหญ จารตี นาฏศิลปไทย ในการดําเนินการจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เม่ือกล่ันกรองความรูแลวจึง จัดทําเปนคูมอื เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทยและสรางเพจ facebook ใชชื่อวา “ทิงนองนอย” ท่ีมีภาพใน รปู แบบ info graphic เปน ความรทู ี่สามารถเผยแพรและเขาถึงไดงาย ครูและโรงเรียนตางๆสามารถนําความรู ไปใชในการเรียนการสอนใหเกิดประโยชนได และเพื่อเปนการพัฒนาการจัดการศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป สุโขทัยจะดําเนินการจัดการความรูเก่ียวกับเทคนิคการสอนในแขนงตางๆใหครูผูสอนไดนําองคความรูไป พัฒนาการสอนและพฒั นาคุณภาพผูเรียนตอ ไป Conclusion Knowledge management techniques for the interpretation of Thai classical dance is prepared under the theme of the development of dance and music education

management, to be of national quality and standard. The objective is to gather techniques and to create a teaching manual for teaching Thai classical dance and to develop teaching and learning. From these objectives, Sukhothai College of Dramatic Arts has assigned the Knowledge Management Committee to prepare a knowledge management plan. A sub- committee on knowledge management for teaching and learning has also been appointed to find a knowledge base for any knowledge that is necessary and important to the technique of teaching dance, provide knowledge exchange and bring knowledge acquired into categories. Bring the knowledge that has been categorized and improve the language into a language that is easy to understand. Bring the knowledge that has been processed and scrutinized to be used as a teaching manual and for the personnel to use in teaching and learning. Knowledge management techniques for the interpretation of Thai classical dance is a collection of techniques for teachers from the basic elements of dance in interpretation, such as dance definition, dance steps, Mae Bot Yai master and traditional Thai dance. In the implementation of knowledge management techniques for the interpretation of Thai classical dance, when scrutinizing the knowledge, then create a manual of the Thai dance technique and create a facebook page, called \"Ting Nong Noy\", which contains both images and text in the form of info graphic, which can be published and accessed easily. Teachers and general personnel can use this useful knowledge online and other schools can used in teaching. And to develop educational management, Sukhothai College of Dramatic Arts will conduct knowledge management on various teaching techniques for teachers to apply the knowledge to develop teaching and quality development of learners. บทนํา ศกั ยภาพเปนส่งิ หน่ึงทีส่ ามารถพฒั นาหรือปรากฏใหเ ปนท่ีประจักษ คุณสมบตั ิน้ีตอ งผานการฝกฝน ทักษะใหเ กดิ ความชาํ นาญเพื่อเกิดการพัฒนาความสามารถของมนษุ ยใหเ ต็มศักยภาพ การศกึ ษาเปน กระบวนการอยางหนึง่ ทส่ี ง ผานความรู ทักษะ จารีตประเพณแี ละคานิยมท่ีสงผา นมารุน สูรนุ เพ่อื ใหมนษุ ยไดเรยี นรูส ่งิ แวดลอ มและการอยูร ว มกนั ในสงั คม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

พุทธศกั ราช 2551 ไดจ ดั การศกึ ษากลมุ สาระศลิ ปะท่ีชว ยพัฒนาผูเรยี นมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มี สนุ ทรียภาพ ความมีคณุ คาซ่งึ สงผลตอ คุณภาพชีวิตมนษุ ยชว ยพัฒนาผเู รียนท้ังดานรางกาย จติ ใจ อารมณและ ปลูกฝงใหผเู รยี นเห็นคุณคา มรดกทางวฒั นธรรม ซึ่งการเรียนนาฏศลิ ปไทยนน้ั เปน การเรยี นทต่ี อ งฝกฝน ทางดานทักษะพิสัย จติ พิสัย พทุ ธพิ ิสัยในการจําและใหเกิดความเขา ใจองคประกอบของนาฏศิลปไทยไดแก นาฏยศพั ท ภาษาทา นาฏศลิ ป แมทา แมบ ทใหญใหส ามารถวเิ คราะหองคป ระกอบตา งๆเพอื่ พัฒนาศักยภาพ เกดิ ความสามารถในดานการตีบท และสงั เคราะหการตบี ทเพ่ือนาํ ไปใชสรา งสรรคป ระดิษฐท ารําในการแสดง ท้ังทีม่ ีบทรอ งหรือไมมีบทรอง นอกจากน้นั ผเู รียนสามารถใชวธิ ีการตีบทในการแสดงโขนตอนท่มี บี ทพากษ – เจรจารวมถงึ การแสดงละครไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ แตปจจบุ นั ผเู รยี นไมส ามารถเขาถึงการตบี ทได จึงไม สามารถประดิษฐท า รําสรางสรรคแ ละทาํ ใหการแสดงไมไดอยางมปี ระสิทธิภาพมากนัก รวมถงึ เปน สาเหตุท่ีไม สามารถสอบชิงทุนการศึกษา ทม่ี กี ารทดสอบโดยการใชวธิ ีการตีบทในการราํ ได นักศกึ ษาปรญิ ญาตรปี ท่ี 3 จึง คดิ ที่จะศกึ ษาและรวบรวมเทคนิคการตีบทของนาฏศลิ ปไทยเพ่ือเพิ่มความรแู ละทกั ษะดานการตีบทใหแก นกั เรียนนกั ศึกษาวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสโุ ขทัย และครูผูสอนนาฏศลิ ปสังกดั เขตพนื้ ท่ีการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานในการ ประดิษฐแ ละสรางสรรคง านนาฏศลิ ปเ พื่อเกดิ ประโยชนตอ วชิ าชีพที่ตนเรยี นและสามารถสรา งสรรคผ ลงาน ทางดา นนาฏศลิ ปท่สี ามารถนําไปใชในโอกาสตา งๆเชน การแสดงความยินดี การประกวดแขง ขัน และเปนการ เผยแพรศ ลิ ปวัฒนธรรมท่ีมนุษยค ดิ ริเร่ิมสรางสรรคปลกู ฝง ใหเ ห็นคณุ คาและสบื สานมรดกวัฒนธรรม วทิ ยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป เปนสถาบันที่สบื สาน อนรุ กั ษ รวมท้งั เผยแพร วัฒนธรรม โดยทางวทิ ยาลยั นาฏศิลปสโุ ขทยั เล็งเห็นความสาํ คัญของการพฒั นาศักยภาพบุคคลทีอ่ ยูในองคกร ใหม ีความชํานาญและมีประสิทธิภาพเชนกนั คําสําคัญ เทคนคิ การตบี ท, นาฏศลิ ปไทย วธิ กี ารดําเนินงาน ในการจัดการความรเู รอ่ื ง เทคนิคการตีบทของนาฏศลิ ปไ ทย ไดดําเนนิ การแผนการจัดการความรูทั้ง 7 ขัน้ ตอน ซึ่งมกี ระบวนการดงั ตอ ไปนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 การคนหาความรู ในการจัดการความรูประจําปงบประมาณ พ.ศ.2561 วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย ไดรับมอบหมายให นักศึกษาปริญญาตรีช้ันปที่ 3 เปนคณะ KM Team เพื่อเปนผูดําเนินงาน โดยนางเกษร เอมโอด เปนครูท่ี ปรกึ ษาเพื่อผลักดนั ใหก ารจัดการความรเู ปนไปตามแผนทีก่ ําหนดโดยคณะ KM Team ไดดําเนินการเพื่อคนหา ความรดู ังน้ี

1. คณะ KM Team ไดดําเนินการประชุมเพ่ือคนหาความรูท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนาองคกร และ เหมาะสมท่ีจะนํามาเปนประเด็นความรู ท่ีควรนํามาสูการจัดการความรู ซึ่งคณะ KM Team ไดเล็งเห็น ความสําคัญของศักยภาพของนักเรียน นักศึกษาที่ควรพัฒนาในการตีบทการแสดงนาฏศิลปเพ่ือพัฒนาฝมือ ทางดานวิชาชีพ และสามารถนําความรูมาประดิษฐสรางสรรคทารํา ซึ่งประเด็นความรูที่คณะ KM Team จะ นํามาจัดการความรู คอื เทคนคิ การตีบทของนาฏศิลปไทย เพราะตรงตามแผนกลยุทธการพัฒนาวิทยาลัยนาฏ ศิลปสุโขทัย พ.ศ. 2561 ดานการเรียนการสอน ซ่ึงจําเปนตอการผลักดันประเด็นยุทธศาสตรของวิทยาลัย ใน ดา นการพฒั นาการจดั การศึกษาดา นนาฏศลิ ป ใหม ีคณุ ภาพและมาตรฐานเปน ทีย่ อมรบั ระดับชาติ 2. คณะ KM Team จัดทําแผนการจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เพื่อ กําหนดรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จของกิจกรรมเปาหมาย กลมุ เปา หมาย และผรู บั ผดิ ชอบในแตละกิจกรรม สําหรับเปนตัวกําหนดในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จ ตามท่ีแผนกําหนด 3. คณะ KM Team ดําเนินการแตงต้ังคณะทํางาน การจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการตีบทของ นาฏศลิ ปไทย โดยคัดเลอื กจากนักศึกษาช้ันปรญิ ญาตรีปท ่ี 3 วทิ ยาลยั นาฏศิลปสโุ ขทยั จาํ นวน 30 คน 4. คณะ KM Team ดําเนินการจัดประชุมคณะทํางาน การจัดการความรูเรื่อง เทคนิคการตีบทของ นาฏศิลปไทยเพ่ือกําหนดขอบเขตเน้ือหา กําหนดสถานท่ี กําหนดเวลา และกําหนดครู ผูมีประสบการณดาน การสอนนาฏศิลปใหกับผูพิการ ที่คณะทํางานจะดําเนินการจัดเก็บองคความรู ซึ่งในการประชุมคณะทํางาน การจัดการความรู ไดกําหนดเนื้อหาที่จะดําเนินการจัดการความรูเก่ียวกับเทคนิคการสอนนาฏศิลปสําหรับผู พิการ โดยจะลงพื้นที่เพื่อเก็บองคความรูจากครูผูมีประสบการณดานการสอนนาฏศิลปใหกับผูพิการจํานวน 5 ทาน ไดแ ก 1. นางฉตั รดา ย้ิมแยม 2. นางเหมือนขวญั สวุ รรณศลิ ป 3. นายอฐธน เดชะกูล 4. นายภมู รินทร มณวี งษ 5. นายบดนิ ทร เจนาวนิ ขัน้ ตอนที่ 2 การสรา งและแสวงหาความรู ในข้ันตอนการสรางและแสวงหาความรูเรื่อง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เปนองคความรูที่ สามารถแสวงหาความรูจากบุคคลภายในหนวยงานได โดยแสวงความรูจาก ครูวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย ซ่ึง เปน ผทู ่มี ปี ระสบการณในการสอนนาฏศลิ ปไ ทย 10 ปข้ึนไป และมีประสบการณในการแสดงโขน ละคร 5 ทาน ดังมีรายชื่อขางตน

โดยคณะทาํ งานการจัดการความรูเ รื่อง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย ไดลงพ้ืนท่ีเพ่ือสัมภาษณครู ผูมีประสบการณดานการสอนนาฏศิลปและมีประสบการณในการแสดงโขน ละคร โดยใหครูไดอธิบายถึง เทคนิคการตีบทนาฏศิลปไทย โดยคณะทํางานจะทําการบันทึกองคความรูดวยเคร่ืองบันทึกเสียง เครื่อง บนั ทึกภาพและการจดบนั ทกึ ขอ มูล ข้ันตอนที่ 3 การจัดความรใู หเปนระบบ ในกระบวนการการจดั การความรใู หเปน ระบบนั้นคณะทํางานไดน าํ ความรูท่ไี ดจากการลงพืน้ ทมี่ าถอด ความ และจัดใหเปนหมวดหมูไดแ ก จารีตของนาฏศลิ ปไ ทย นาฏยศพั ทเบื้องตน ภาษาทา นาฏศิลป ความหมายของคาํ หลักคํากลอน ลกั ษณะบทรองและทาํ นอง แมทา แมบทใหญ ตามที่ไดก าํ หนดไวใน Knowledge Mapping ขั้นตอนท่ี 4 การประมวลและกล่ันกรองความรู ในการประมวลและกล่ันกรองความรูคณะทํางานการจัดการความรูไดนําขอมูลที่ไดดําเนินการจัดการ ใหเปนหมวดหมูแลว นัน้ มาดาํ เนินการตามขน้ั ตอนดังนี้ 1. นาํ ประเด็นความรทู จ่ี ัดหมวดหมแู ลว มาปรบั ปรุงภาษาใหส ามารถอา นเขาใจไดง ายและสะดวกตอ การนาํ ไปใช 2. นาํ เอกสารท่ีกลนั่ กรองแลว ใหบคุ ลากรดา นภาควิชานาฏศิลปและอาจารยท ีป่ รึกษาการจดั การ ความรู เพ่ือตรวจสอบความถูกตองขององคความรูทีไ่ ดและใหคาํ เสนอแนะ 3. คณะ KM Team นําเอกสารทผี่ านการตรวจสอบแลว มาแกไ ขขอบกพรอง ขนั้ ตอนที่ 5 การเขา ถงึ ความรู 1. เผยแพรความรูผานชองทางท่ีหลากลายรูปแบบ โดยเผยแพรผานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก เพจ Facebook เว็บไซตข องวทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสุโขทยั ข้นั ตอนที่ 6 การแบงปนแลกเปลย่ี นความรู คณะทํางานการจัดการความรู นําองคความรูท่ีจัดทําเปนรูปเลมมอบใหแกบุคลากรของวิทยาลัยและ ประชาสมั พันธใ หแกบุคลากรทราบถงึ ชองทางในการเขา ถึงขอ มูล และจัดกิจกรรมสมั มนาเรื่อง เทคนิคการสอน

นาฏศิลปส าํ หรับผพู กิ าร โดยใหคณะทาํ งานการจัดการความรเู รื่อง เทคนิคการสอนนาฏศิลปสําหรับผูพิการ มา ถายทอดองคค วามรใู หแ กบ ุคลากร นักเรยี น นักศกึ ษา ของวิทยาลัยนาฏศลิ ปสโุ ขทยั ขั้นตอนที่ 7 การเรยี นรู 1. จัดการสมั มนาโดยเชญิ คณะบคุ ลากรภาควิชานาฏศิลป วทิ ยาลยั นาฏศิลปสุโขทัยทม่ี ีประสบการณ ในการสอนนาฏศลิ ปไทย 10 ปข ้ึนไปและมปี ระสบการณในการแสดงโขน ละคร มาบรรยายประสบการณ เพิม่ เติมและแลกเปลย่ี นความรเู พอื่ ใหน ักศึกษาไดม โี อกาสพูดคยุ ซกั ถามขอสงสยั และแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ 2. ใหนักเรยี นและนักศกึ ษาทุกคนรวมรบั ฟง การสัมมนา ผลและอภิปรายผลการดําเนนิ งาน การจัดการความรูเรื่อง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เปนการจัดการความรูดานการเรียนการ สอน ซึง่ มวี ัตถปุ ระสงคด งั น้ี 1. เพอ่ื รวบรวมเทคนคิ ของครูผสู อนท่ใี ชใ นการสอนนาฏศิลปไ ทย 2. เพอ่ื จดั ทาํ คมู ือเทคนคิ การตีบทของนาฏศิลปไ ทย 3. เพือ่ เผยแพรค วามรูเทคนิคการตบี ทของนาฏศลิ ปไทย ผลการดําเนนิ งาน จดั การความรู เรอื่ ง เทคนคิ การตีบทของนาฏศลิ ปไทย ซึ่งไดดําเนินการโดยการลงพื้นท่ีและเก็บขอมูล ของนักศึกษาช้ันปริญญาตรีปที่ 3 วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย จํานวน 3 คร้ัง และไดนําองคความรูที่ไดจากการ สมั ภาษณบุคลากรมาจัดใหเปนระบบไวใน Knowledge Mapping จึงเกิดเปนองคค วามรูที่มีความชัดแจงและ นํามาจัดเปนคูมือการตีบทของนาฏศิลปไทย เพ่ือเผยแพรใหกับบุคลากรนําไปใชเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ซง่ึ มีผลการดําเนนิ งานตามวตั ถุประสงค ดงั นี้ จารตี ของนาฏศิลปไทย จารตี นาฏศลิ ป หมายถึง ระเบียบแบบแผนขอปฏิบตั ิทีส่ ืบทอดกันมาจากรุนสูรุน และเปนจารีตท่ีเหลา นาฏศิลปนยึดม่ันปฏิบัติอยางเครงครัด และจารีตแตละยุคสมัยทําใหสะทอนถึงพัฒนาการของศิลปวัฒนธรรม ในยุคน้ันอีกดว ย จารีตนาฏศิลปโดยรวมแลว สามารถแยกได 3 อยา งคอื ขอหาม ขอปฏิบตั ิ เคลด็ ลาง คา นยิ ม 1. ขอ ปฏบิ ตั ิ

เปนจารีตท่ีควรปฏิบัติท้ังในการแสดงและการปฏิบัติตนท่ัวไป เชน เร่ิมการแสดงโขนและ ละคร ที่เปนตอนตัวแสดงจะเริ่มออกฉากเม่ือปพาทยทําเพลงวาเพื่อเปนการโหมโรง ตําแหนงของ นักแสดงก็เปนสวนท่ีสําคัญ จะเห็นไดวา ตัวละครนางจะอยูทางขวาของตัวพระ ยักษ ลิงซึ่งตัวละคร ดังกลาวเปนผูชาย ผูหญิงท่ีเปนตัวนางจะอยูทางขวาเสมอ เหตุผลท่ีวาเวลาตัวผูชายจะตีบทเขาคู สวนมากจะมีความถนัดดานขวาและเพ่ือความคลองตัวจึงใหตัวนางผูหญิงอยูขวา รวมไปถึงเรื่องการ แบงแยกฝายทัพ ฝายธรรมะจะอยูดานขวาของเวที อธรรมจะอยูดานซาย ดวยความเช่ือของศาสนา พราหมณท ใ่ี หค วามสาํ คัญของมือขวาหรือการเวียนขวา (ทักษณิ าวรรต) ซึง่ ใชในพิธีมงคล เราเลยไดรับ อิทธิพลขอปฏิบัติมา ผูที่จะปฏิบัติตามขอปฏิบัติของจารีตไดนั้นจะตองเขาใจหัวใจหลักของจารีตและ จากประสบการณที่ผใู หญคอยสอนและแนะนาํ ผูน อย 2. ขอ หา ม เปนขอหามทีค่ รูคอยเตือนศษิ ยถึงสิ่งที่ไมควรทําประกอบดวยหลักเหตุผลท่ีใชไดจริงเชน หาม นําหัวโขนยักษซอนบนหัวลิง ดวยเหตุผลความเช่ือวาทั้งสองหัวอยูคนละฝายกันจึงเกิดการสูรบกันทํา ใหหัวโขนมรี อยขดี ขว นเหมอื นการสูรบ แตอีกแงคิดหนึง่ ครูทา นจะสอนใหเรารูจักการเก็บรักษาหัวโขน มีการแยกประเภทเพื่อความเปนระเบยี บเรียบรอ ยและปลกู ฝง ใหเรารูจักการรักษาส่ิงของ หรือขอหาม การนอนในเครื่องแตงกายใครปฏิบัติถือเปนพวกธรณีสาร ซึ่งเปนเร่ืองอัปมงคล แตเพราะดวยเหตุผล ที่วา อาจทาํ ใหเ คร่ืองแตงหายชํารุดเสยี หายไดแ ละหากนอนสบายหลับสนิทจะออกฉากการแสดงไมทัน เพอ่ื ปองกันเหตุการณน้ีดวย ขอหามสรางข้ึนเพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหายและเปนอันตรายตอผู แสดงหรือส่ิงของการแสดงน้นั เอง 3. เคลด็ ลาง เคล็ดลางคือความเช่ือท่ีศิลปนใหความสําคัญเปนพิเศษ เปนส่ิงท่ีจะตองปองกันไมใหเกิดข้ึน หากเกิดขึ้นจะถือวาเปนความอัปมงคล โดยจะมีวิธีแกเคล็ดลางเพื่อเรียกขวัญกําลังใจในการแกไขวิธี ตางๆซ่ึงเราไดรับความเช่ือจากศาสนาพราหมณและพุทธศาสนาเชน หัวหลุดกลางโรง ศีรษะท่ีนํามา สวมถอื วา เปรยี บเสมอื นหัวของเราเมื่อเกิดหลุดออกถือเปนลางไมดี ดวยสาเหตุที่วาเวลาสวมศีรษะจะ มีการผูกเชือกรัดคาง หรือคาบเชือกอยางแนนหนาซ่ึงเปนเร่ืองที่ควรเกิดข้ึนยาก หากเกิดข้ึนจึงถือวา เปน เร่ืองไมดีและยังทําใหการแสดงน้ันเสียภาพที่งดงามอีกดวย ยังทั้งมีเรื่องความเชื่อแมวดําเดินผาน โรงจะเปน เรอื่ งไมดี แตดวยเหตุผลท่ีแมวเปนสัตวท่ีมีนิสัยตกใจงายจึงกลัววา การแสดงที่เกิดเสียดังจะ ทาํ ใหแมวไปตะกยุ ตะกายทําใหผาหรือเครือ่ งแตง กายเสียหาย

4. คานยิ ม เปน การปฏบิ ตั พิ ฤตกิ รรม ของสมาชิกในสังคมท่ยี ึดเปน แนวทางมาตรฐานในการปฏิบัติซึ่งชาว นาฏศลิ ปจะมกี ารปฏบิ ตั ิตนท่ีมลี ักษณะพเิ ศษทีป่ ลกู ฝง จริยธรรมตา งๆทไ่ี มเ ห็นในวิชาชีพอ่ืนมากนักเชน คานิยมความกตัญูกตเวทิตา เปนจริยธรมท่ีปลูกฝงการรูพระคุณเปนขอที่ขาดไปไมไดหากขาด จริยธรรมขอนี้ถือวาอยูรวมกับสังคมไมไดจึงกอใหเกิดพิธีไหวครูทําใหลูกศิษยไดมากราบไหว ขอสมา ลาโทษในส่งิ ที่ตนทาํ ผดิ พลาด คา นยิ มเรอ่ื งสาํ นกึ หนาที่และรูจักฐานะของตน จึงทําใหบุคคลกลายเปน คนนอบนอมถอ มตนเพราะรูจ กั วาตนเองเปนใครทําหนาที่อะไร เปนศิษยตองเคารพครู รุนพี่หรือคนท่ี อายุมากกวา คานิยมความสามัคคี หากเราเครพผูอ่ืนเราก็จักอยูรวมกันไดดวยการชวยเหลือ และมี น้าํ ใจซึง่ กนั และกนั คา นยิ มสดุ ทายคือ การใหอภยั ซ่ึงกันและกัน ทั้งกายวาจาและใจเปนการขอสมาลา โทษกับเพื่อนรวมการแสดง เพ่ือหลีกเล่ียงการขุนเคืองซ่ึงจะไปเชื่อมโยงกับวิธีปฏิบัติของพระสงฆคือ การปลงอาบัติ ทีพ่ ระสงฆท ี่อยูรว มกนั สามารถตกั เตือน หรือสารภาพผดิ เพ่อื ใหอ ภัยและแกไ ขสิง่ น้ันได จะเห็นไดวา เมื่อเราเขาใจหัวใจของจารีตนาฏศิลป และปฏิบัติตามแนวทาง สังคมนาฏศิลปก็จะมี ความสุขอยูร ว มกันไดดว ยความเขา ใจซงึ่ กนั และกัน นาฏยศัพทเบอ้ื งตน นาฏยศพั ทเปน ศัพทท ่ใี ชเ รยี กทารําและเปนพ้ืนฐานของการราํ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. นามศัพท หมายถงึ ศัพทท่เี รืยกชือ่ ทารํา หรือชื่อทา ทีบ่ อกอาการการกระทาํ ของผนู ั้น เชน วง จบี สลัดมอื มว นมือ คลายมือ กรายมือ ฉายมอื ปาดมือ กระทบ กระดก ยกเทา กาวเทา ประเทา ตบเทา กระทงุ กระเทาะ จรดเทา แตะเทา ซอยเทา ขยั่นเทา ฉายเทา สะดุดเทา รวมเทา โยตวั ยักตวั ตีไหล กลอ มไหล 2. กิรยิ าศพั ท หมายถงึ ศัพททีใ่ ชเ รยี กในการปฏบิ ตั ิบอกอาการกริ ยิ า แบงออกเปน 2.1 ศพั ทเ สรมิ หมายถึง ศัพทท ่ใี ชเรยี กเพื่อปรับปรุงทาทีใหถ ูกตองสวยงาม เชน กนั วง ลดวง สงมือ ดงึ มือ หกั ขอ หลบศอก เปด คาง กดคาง ทรงตัว เผน ตวั ตึงไหล กดไหลด ึงเอว กดเกลียวขา ง ทบั ตัว หลบ เขา ถีบเขา แข็งเขา เปดสน ชกั สน 2.2 ศพั ทเ ส่อื ม หมายถงึ ศัพททใี่ ชเรียกช่ือทาราํ หรอื ทวงทีของผูราํ ท่ีไมถูกตองตามมาตรฐาน เพื่อใหผรู ํารูตัวและแกไขทา ทีของตนใหดี เชน วงลา วงควํา่ วงเหยยี ด วงหกั วงลน คอดม่ื คางไก ฟาดคอ เกร็งคอ หอบไหล ทรุดตัว ขยม ตวั เหล่ยี มลา รําแอ ราํ ลน ราํ เลอ้ื ย รําล้ําจงั หวะ รําหนว งจังหวะ 3. นาฏยศพั ทเ บ็ดเตลด็ หมายถึง ศัพทต า งๆ ที่ใชเรียกในภาษานาฏศิลป นอกเหนือจากนามศัพท และกริ ิยาศพั ท เชน จีบยาว จบี ส้ัน ลักคอ เดินมือ เอยี งทางวง คนื ตวั ออ น เหลย่ี ม เหล่ยี มลาง แหลงทมี่ า http://www.banramthai.com/html/character.html

ภาษาทานาฏศลิ ป ภาษาทานาฏศิลปเปนภาษาทาที่ส่ือความหมาย อากัปกิริยาตางๆหรือเปนการรวบรวมทานาฏยศัพท มาเรยี งรอยใหเ ปนภาษาทานาฏศิลปใหเ กิดความสวยงาม มี 2 ประเภทดงั น้ี ทา ธรรมชาติ คอื ทาที่เลียนแบบจากธรรมชาติใหเกิดความสวยงามขึ้น เชน ฝนหลวง ในแมบ ทใหญไมมี คํานี้ เพราะฉะนั้นเราจะตองประดิษฐข้ึนมาใหม นาฏยประดิษฐ แตถามันประดิษฐไมไดมันตองเปนทา ธรรมชาติ สมมตุ ิวาเราจะทําเปน จีบดา นบนแลวก็พรมลงมาขา งลาง นาจะเปนทาเรียนแบบธรรมชาติ คือถาเรา มองวา สายฝนในเปน เชิงทั่วไป กค็ อื ฝนตก มีเมด็ ฝนรว งลงมาจากทองฟา พรมน้วิ ลงมา เพราะฉะนั้นการท่ีจะทํา ใหทาธรรมชาติสวยข้ึนก็คือ เปนจีบ เปนเม็ดฝน แลวก็ลงมาถึงพ้ืน และทาเดิน แบบธรรมชาติมันไมไดมีความ สวยงาม เราก็ตองแปลงใหม ันสวยๆ กเ็ ปน การกรดี นว้ิ กรีดมือ กาวเทาใหเปนจังหวะ ทารองไห คนเรารองไหก็ มักจะกมหนา ปาดน้ําตา เอามือมาปอง หรือจะยิ้ม ยิ้มอยางเดียวถาเปนละครไทย คนท่ีอยูขางหลังเขาจะไม เห็น จะตองใชมอื ขน้ึ มาแทนเหมอื นรมิ ฝปาก ทําใหเหน็ ชดั เจนข้นึ สวนนาฏยประดิษฐ เปนสรางสรรคทาใหเกิดความสวยงาม เชนระบําเทวีศรีสัชนาลัย คือทาท่ีเกิดขึ้น ใหม ท่ีเราเปน คนคิดเอง ไดจากภาพจําลกั ษณและจนิ ตนาการผสมผสานกันใหเกิดนาฏยประดิษฐที่สวยงาม ซึ่ง เปนทาท่ีเกิดขึ้นมาใหม เรียกวา ทานาฏยประดิษฐ ซ่ึงไมเคยมีทาเกิดขึ้นมากอน และกับทาธรรมชาติ มัน แตกตาง เพราะฉะนั้น สองแบบน้ีสามารถนํามาประกอบการตบี ทได แมบทใหญ รําแมบทเปนการรวบรวม ทาจากเพลงชา เพลงเร็วซ่ึงเปนแมแ บบของการฝก หดั นาฏศิลปมาเรียบเรยี ง ใหเปนกระบวนทา โดยตั้งช่อื ทาราํ และผูกเปน บทกลอน นับเปนขัน้ ตอนที่ตอ จากการเรียนเพลงชา เพลงเรว็ แมบ ทมี 2 แบบ แบบแรกทใ่ี ชรํากันท่วั ไป กบั อีกแบบแมบ ทนางนารายณหรอื แมบทเลก็ มเี นอ้ื เพลงดงั นี้ เน้อื เพลงแมบ ทใหญ สอดสรอ ยมาลา ชานางนอน เทพประนม ปฐม พรหมสี่หนา กังหันรอ น แขกเตา เขา รงั พระรถโยนสาร มารกลบั หลัง ผาลาเพยี งไหล พสิ มยั เรียงหมอน มงั กรเรยี กแกวมุจลนิ ทร กระตายชมจนั ทร พระจนั ทรทรงกลด ทา พระรามโกง ศลิ ป เยื้องกราย ฉุยฉายเขาวงั หลงไหลไดส ิ้น หงสลนิ ลา กนิ นรราํ ซํา้ ชา งประสานงา รํายวั่ ชกั แปงผัดหนา ภมรเคลา มัจฉาชมวารนิ เหราเลน นาํ้ บวั ชฝู ก ทาสงิ โตเลนหาง นางกลอมตัว พระนารายณฤ ทธิ์รงคขวางจักร ลมพัดยอดตอง บังพระสรุ ยิ า พระลกั ษณแผลงอิทธิฤทธิ์ นาคามว นหาง กวางเดนิ ดง ขดั จางนาง ทานายสารถี ชางหวา นหญา หนมุ านผลาญยกั ษ กินนรฟอนฝงู ยงู ฟอนหาง

ตระเวนเวหา ขมี่ า ตคี ลี ตโี ทนโยนทบั งขู วา งคอน รํากระบส่ี ที่ า จนี สาวไส ทาชะนรี ายไม ทิ้งขอน เมขลาลอ แกว กลางอัมพร กนิ นรเลียบถ้ํา หนงั หนาไฟ ทาเสอื ทาํ ลายหาง ชา งทาํ ลายโรง โจงกระเบนตเี หลก็ แทงวิไสย จรดพระสุเมรุ เครือวลั ยพ นั ไม ปราไลยวาด คดิ ประดิษฐทาํ กระหวดั เกลา ข่ีมาเลียบคา ย กระตายตองแรวแคลวถาํ้ ชกั ซอสามสาย ยา ยลํานํา เปน แบบราํ แตก อนที่มมี า เนื้อเพลงแมบทนางนารายณ หรอื แมบ ทเล็ก เทพนมปฐมพรหมส่ีหนา สอดสรอยมาลาเฉดิ ฉิน ทัง้ กวางเดนิ ดงหงสบนิ กินรินเรยี บถํา้ อาํ ไพ อีกชานางนอนภมรเคลา ทัง้ แขกเตา ผาลาเพียงใหล เมขลาโยนแกว แววไว มยเุ รศฟอนในอาํ พร ยอดตองตอ งลมพรหมนิมติ ร ทัง้ พิศมยั เรยี งหมอน ยา ยทามจั ฉาชมสาคร พระสีก่ รขวา งจักรฤทธิรงค ฝา ยวานนทกกร็ ําตาม ดว ยความพศิ มัยไหลหลง ถึงทานาคามว นหางวง ชต้ี รงถูกเพลาทนั ใด แมท า แมทาเปนกระบวนการในการใชท ารําฝกหัดนาฏศิลปไทย ซ่ึงประกอบดว ยตัวโขนยกั ษ และโขนลิง ท่ี ใชในการฝกพื้นฐานมคี วามแตกตา งของทาทางตามลกั ษณะกริ ยิ าของตัวแสดง กระบวนทา รําทใ่ี ชใ นการฝกหัดนาฏศิลปโ ขนของฝา ยยักษ ประกอบดวย กระบวนทาเรมิ่ ตน ต้งั แต “ทา นง่ั ไหว” จนถงึ “ทาบาก” เรียกวา “หัวแมทา” หรอื “กระบวนแมท า ตอนตน ” จากนน้ั จงึ เรมิ่ แม ทา 1 จนจบแมท า 5 กระบวนทารําแมทาลงิ นัน้ ประกอบดวยทาทเ่ี รยี กวา ทาที่ 1 ถงึ ทา ที่ 7 การฝกหดั แมทา ลงิ และได กําหนดขนั้ ตอนไว 2 ชวง คอื “คร่งึ ทาแรก” และ “คร่ึงทา หลัง” คร่ึงทา แรก มี 90 ทา สว นครงึ่ ทาหลงั ทา ทาง สวนใหญจ ะเนนอากปั กริยาของลิง มักเปน ทา ทางเบ็ดเตล็ด เชน ทา จบั แมลงวนั ทาจับหมัด ทาเลนแมลงและ เลนหมัด เปนตน ความหมายของคํา การตบี ทน้นั จะตอ งเขาใจบทประพันธหรอื ความหมายของคาํ ท่ีจะสือ่ ถึงส่ิงตางๆ จะตอ งมคี วามรดู าน ภาษาไทยควบคกู บั ดานนาฏศิลป เพราะในวรรณคดไี ทยจะไมมคี ําท่แี ปลตรงตวั สว นใหญจ ะเปน คาํ ราชาศัพท

และคาํ พอ งรปู คําพองเสียงหรอื คําท่ีมคี วามหมายเหมือนกัน แตเรยี กตางกันเพ่ือเพิม่ ความไพเราะของภาษา ผู ทต่ี บี ทจงึ ตองมีทักษะความรทู างภาษาและความหมายของคํา เมอ่ื เขาใจถึงความหมายจงึ จะสามารถนําทา มาตี บทตามคํารอ งได เชน คาํ วา นภา คอื ทองฟา ควรจะใชท าอะไร สมมุตวิ า มีการตบี ทไปแลว กลาวถึงคาํ วา นภา ภรณ จึงใชท า กางอําภรได แตถาทาน้ถี ูกใชไ ปแลว สามารถทาํ ทาอ่นื หรือ นาฏยประดิษฐไดอ ีก คือช้แี ลว มอง บน หรือกาวไขวแ ลว ก็มองบน หรอื สะดดุ ช้ีดึง คือสามารถเอานาฏยประดษิ ฐ หรอื แมบท ทา ธรรมชาติมาใช แต ถา มคี วามหมายลึกกวา น้ี ผทู ี่คิดตองมีความชาญฉลาดในการแปลความ หรือสุนทรยี ะในการแปลความ หลักคาํ กลอน บทและคําประพนั ธท่นี ํามาใชในการตีบทของละครน้ันเปนกลอนบทละคร กลอนหก กลอนแปด สวน โขนการพากยใชกาพยยานี11 และกาพยฉบัง16 เพราะฉะนั้นในการรวมคําใหเกิดความหมายภายใน 1 วรรค จะใชทา 2 ทาในการตีบทเชน พระลออดิลกเลิศเฉิดฉวี การแบงคําคือ พระลออ/ดิลกเลิศเฉิดฉวี ซ่ึงคําวา พระลอ จะใชก ารจีบเขา อก สวนดิลกเลิศเฉิดฉวี ใชทาท่ีมีความหมายสูงศักด์ิในแมบทใหญ เชน ทาสอดสูงเปน ตน สว นการตบี ทของโขน 1 วรรค จะใชทา 1 ทาจะเปนการตีบททายคํารอง ตามความเหมาะสมของตัวละคร และบทกลอน ผตู ีบทจําเปนตองเขาใจฉันทลักษณข องกลอนดังน้ี ลกั ษณะบทรองและทํานอง ความสําคัญของการบรรจุเพลงเปนส่ิงสําคัญ เมื่อบทประพันธมีการเพ่ิมทํานอง การรองจะทําใหบท ประพันธนั้นมีการเอ้ือน ซึ่งจะสอดคลองกับการนําทารํามาตีบท จากหัวขอหลักคํากลอน 1 วรรค ใชทา รํา 2 ทา แตหากมีการเอื้อนจะตองเพ่ิมทาอีก 1 – 2 ทาท่ีไมมีความหมาย เรียกวา ทาเช่ือม เชน ทาเลน มือ สะบดั มอื สะบัดจีบ หรือเลนเทา หรือวาเปล่ียนทาน้ันเปนทาอ่ืน บทรองและทํานองจะมีความแตกตางกัน ตามประเภทของละคร ที่แตล ะละครจะมีเอกลกั ษณ สาํ เนยี งหรอื การใชภ าษาแตกตา งกัน ผูตีบทจะตองมีความ ชาํ นาญเร่ืองเพลง หากรอ งเพลงไดย ง่ิ เปนการเสรมิ ใหเ ขา ใจเพลงและปฏิบัติทาราํ ได สรปุ ผลการดําเนินงาน เมอ่ื ผูฝ กตีบทเขา ใจถงึ องคป ระกอบของนาฏศลิ ปเชน จารตี ของนาฏศลิ ปไ ทย นาฏยศัพท เบอ้ื งตน ภาษาทา นาฏศิลป ความหมายของคาํ หลกั คํากลอน ลกั ษณะบทรอ งและทํานอง แมทา แมบทแลว การหมนั่ ฝก ซอม การใสใ จและใฝเ รียนรู พัฒนาศกั ยภาพของตนเองเปนสง่ิ สําคัญ ทําใหเ กิดประสบการณท จ่ี ะ ทําใหช ํานาญการตบี ทมากยง่ิ ขน้ึ อีกดวย ในการจัดการความรูนั้นเมื่อเสร็จกระบวนการแลวเพ่ือใหเปนประโยชนและตอบสนองตามความ ตองการของสงั คมไทยในยคุ 4.0 ไดม กี ารนําองคค วามรูมาประยุกตใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน หรือ ใชสรางสื่อท่ีจะชวยใหการทํางานเปนไปไดสะดวกและดีขึ้น ซ่ึงในการจัดการความรูครั้งน้ีนั้น ผูสนใจสามารถ

นําสื่อคูมือเทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย ไปใชใหเกิดประโยชนและพัฒนาตอยอดในรูปแบบของ สื่ออิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอรชวยสอน CAI , WBI , e-Learning ,E-Book , E-Training , Learning Object , Line โดยทางคณะทํางานไดจัดสรางเพจ facebook เพื่อเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับเทคนิคการตีบท โดยใชช อื่ วา “ทงิ นองนอย” ทีม่ ที ั้งภาพในรูปแบบ info graphicsและขอ ความบรรยายท่สี ามารถเขา ถงึ ไดง าย

บทความการจดั การความรู ประจําปง บประมาณ ๒๕๖๑ สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป ชอื่ เร่อื ง แนวทางการเตรียมตัวนกั ศึกษาฝกประสบการณว ชิ าชพี ครูสอดคลองกบั การเรียนรใู น ศตวรรษที่ ๒๑ ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศลิ ป หนวยงาน ฝายอุดมศึกษาคณะทาํ งานการจัดการความรูในสว นของนกั ศกึ ษา บทสรุปผูบรหิ าร การจัดการความรูเร่ืองแนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพครูสอดคลองกับการ เรยี นรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ของนกั ศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาปริญญาตรีช้ันปท่ี ๑-๔ มีการเตรียมตัวในการฝกประสบการณวิชาชีพครูในระดับปริญญาตรีช้ันปท่ี ๕ และเพ่ือลดปญหาในการ ฝกประสบการณวิชาชีพครูในระดับปริญญาตรีชั้นปที่ ๕ เพื่อใหผลการฝกมีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ ตามนโยบายของฝา ยการจัดการศกึ ษาระดับอุดมศึกษาและเพื่อใหนักศึกษามีคุณลักษณะตามวัตถุประสงคของ หลกั สูตร โดยกลุมเปาหมายในครง้ั น้ี คือ นักศกึ ษาปรญิ ญาตรชี ั้นปท่ี ๑-๔ วิทยาลยั นาฏศิลป Knowledge management approach to prepare student teachers is consistent with learning in the 21st Century 21 's The college of dramatic Arts students and are intended to give undergraduate students the first year 1-4 are preparing for training teachers in the.Quench undergraduate first year 5 and to minimize problems in training teachers in the undergraduate class year 5, training effectiveness and efficiency. Management policy, higher education, and to provide students with the features of the course objectives. This time the target is, by a group of undergraduate students into the first year 1-4 The college of dramatic Arts students. คําสาํ คัญ แนวทางการเตรียมตวั /นกั ศกึ ษาฝก ประสบการณว ิชาชีพครู/การเรยี นรูในศตวรรษที่ ๒๑ Guidelines for preparation / Students of training, professional experience / Learning in the 21st

บทนาํ การจัดการศึกษาในวิทยาลัยนาฏศิลป มี ๒ ระดับ คือ ๑. การศึกษาขั้นพื้นฐานในหลักสูตรพื้นฐาน วิชาชีพวิทยาลัยนาฏศิลป พ.ศ. ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน และหลักสูตรพ้ืนฐานวิชาชีพวิทยาลัยนาฏศิลป พ.ศ.๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๒. ระดับอุดมศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตร บัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลปไทยศึกษา ๕ ป ตามหลักสูตรหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตดังกลาว อยูในคณะ ศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ซึ่งมีปรัชญาวา “ครูสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป คือ ครูที่มีความรู ความ ชํานาญ ในสาขาวิชานาฏศิลปไทยและศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีคุณธรรมจริยธรรม คิดริเริ่มสรางสรรค งาน นาฏศิลป นวัตกรรม และงานวิจัย สามารถประยุกตใชใหเกิดประโยชนแกสังคม ประเทศชาติ และอยางหนึ่ง คือ ใหผูเรียนไดรับรูถึงบทบาทหนาที่และภาระงานครู คุณลักษณะของครูที่ดี คุณธรรมและจริยธรรมของ วิชาชีพครูตามมาตรฐานของวิชาชีพครู รวมถึงการสรางจิตสํานึก และการปลูกฝงจิตวิญญาณความเปนครู อีก ท้ังนําทฤษฎี ทกั ษะและศาสตรท เ่ี กี่ยวขอ งมาบูรณาการ ประยุกตใชไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล ตามหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตัฒนศิลป กําหนดใหมีการการฝก ประสบการณวิชาชีพครูของนักศึกษาในช้ันปท่ี ๕ เปนเวลา ๒ ภาคการศึกษา ภาคละ ๖ หนวยกิต การฝก ประสบการณวิชาชีพครูท่ีผานมาประสบปญหาท่ีแตกตางกันไป เนื่องจากนักศึกษา ไมมีการเตรียมตัว ทําให เกิดการเสียเวลา แกไขปญหาไมทัน ภาวะเครยี ด เปน ตน ดังนนั้ เพอ่ื ลดปญ หาและผลกระทบตอ การออกฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษาช้ันปที่ ๕จึงควรมี การจดั ทาํ เอกสารเพือ่ เปนแนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาสูการฝกประสบการณวิชาชีพครูใหนักศึกษาทุกชั้นป โดยศกึ ษาจากปญหา และแนวทางการแกปญ หา จากครผู ูด แู ลงานฝก ประสบการณวชิ าชพี และนักศึกษาท่ีออก ฝกประสบการณวิชาชีพครู นํามาจดั ทาํ เอกสารเพอ่ื เปนแนวทางในการฝกประสบการณวชิ าชีพครู ทําใหผลการ ฝกมีท้งั ประสทิ ธผิ ลและประสิทธภิ าพ นกั ศึกษามีศักยภาพ มีสมรรถนะในสาขาวิชาทีศ่ กึ ษา และมีคุณลักษณะท่ี พงึ ประสงค ตามท่ีหลักสตู รกาํ หนด

วิธีการดาํ เนนิ งาน ในบทนี้จะกลาวถึงข้ันตอนและวิธีการจัดการความรูในเร่ืองของวิธีการจัดทําแนวทางการเตรียมตัว นักศกึ ษาฝก ประสบการณว ชิ าชีพครู โดยนําขน้ั ตอนของการจัดการความรู KM มาใชโดยมีกระบวนการจัดการ ความรู (Knowledge Management Process ) ดังนี้ ๑. การบง ชีค้ วามรู หมายถงึ การกาํ หนดนิยามของส่ิงท่ีองคกรตองการใหบุคลากรเรียนรเู พือ่ บรรลุเปา หมายขององคกร ๒. การสรา งและแสวงหาความรู หมายถงึ สรา งความรูใหมๆ และนาํ ความรทู ีเ่ ราตองการมาจัดเก็บรวบรวม ๓. การจดั ความรูใหเปนระบบ หมายถงึ การนาํ ความรูทีร่ วบรวมมาจดั ประเภท เพ่อื สะดวกตอการคน หาและใชงาน ๔. การประมวลและกลน่ั กรองความรู หมายถึง การทาํ ใหเนื้อหาความรมู คี วามสมบรู ณ ๕. การเขา ถงึ ความรู หมายถึงการนําความรูมาใชง านใหส ามารถเขาถึงขอมูลไดง า ย ๖. การแบง ปนแลกเปล่ียนความรู หมายถงึ มีการแบง ปน ความรูใหก นั ๗. การเรียนรู หมายถงึ นาํ ความรูมาใชใหเ กิดประโยชนแ ละชวยพฒั นาองคกร จะทําใหเ กิดการเรียนรู ประสบการณ ใหม และหมุนเวยี นไป โดยคณะทํางาน มวี ิธกี ารจัดทาํ แนวทางการเตรยี มตัวนกั ศึกษาฝกประสบการณวชิ าชีพครู ดงั นี้ ๑. การบง ชคี้ วามรู ทมี นกั ศกึ ษา ไดระดมความคดิ เพื่อหาประเดน็ หัวขอ หลกั ที่จะดําเนินการจัดการความรู โดยไดประเด็น ความรูท่ีตองการศึกษา คือการศึกษาเก่ียวกับปญหาของการออกฝกประสบการณวิชาชีพครูสอดคลองกับการ เรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป จะดําเนินการจัดการความรู โดยไดประเด็นความรูท่ี ตอ งการศึกษา ดงั นี้ ๑.๑ ปญหาท่นี ักศึกษาฝกสอนพบมากที่สุด ๑.๒ แนวทางการแกไ ขปญหาท่พี บ ๒. การสรางและแสวงหาความรู มีการกําหนดหนาท่ีในการดําเนินงานสรางและแสวงหาความรู ในหัวขอ แนวทางการเตรียมตัว นักศึกษาฝกประสบการณวชิ าชพี ครู สอดคลองกบั การเรยี นรใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป

มีการระดมความคิดและแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน และการสัมภาษณคุณครูที่ดูแลในเร่ืองการฝก ประสบการณวิชาชีพครู และมกี ารสัมภาษณนกั ศึกษาปริญญาตรีช้ันปที่ ๕ ในปปจจบุ นั ทก่ี าํ ลังฝกประสบการณ วิชาชพี ครวู าพบปญหาอะไรบา งและมีแนวทางแกไขอยางไร ๓. การจดั ความรใู หเ ปน ระบบ นําขอมูลที่ไดจากการสรางและการแสวงหาความรูมาประมวลผลขอมูล ตรวจสอบขอมูลใหมีความ สมบูรณ เรียบเรียง สรุปและเรียงลําดับวาปญหาใดท่ีพบมากท่ีสุดและมีวิธีใดในการแกไขปญหา เปนองค ความรูเกีย่ วกบั แนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพครูสอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษ ท่ี ๒๑ ของนกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั นาฏศลิ ป เพ่ือใหส ามารถคน หาและนาํ ความรูไปใชประโยชนได ๔. การประมวลและกล่นั กรองความรู ในการประมวลและกล่ันกรองความรู คณะนักศึกษาทีมKm ไดดําเนินการวิพากษและแลกเปล่ียน ความรู เพ่ือดาํ เนนิ การจัดทาํ เอกสารสรปุ องคความรู ตรวจสอบความถูกตองของเน้ือหา แกไขขอบกพรอง ปรับ ภาษาเพอ่ื ใหอ า นแลว เขา ใจงา ย จัดทําเปนรปู เลม ๕. การแบงปนแลกเปล่ียนความรู ทําหนังสือเปนแนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพครู สอดคลองกับการเรียนรูใน ศตวรรษท่ี ๒๑ ของนักศกึ ษาวิทยาลัยนาฏศิลป ๖. การเขาถึงความรู คณะนักศึกษาทมี Km ไดนาํ เอกสารการจัดการความรูท่ีไดจากการแลกเปลย่ี นเรยี นรู เร่อื ง แนวทาง การเตรียมตวั นกั ศกึ ษาฝกประสบการณวชิ าชพี ครู สอดคลองกบั การเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ของนกั ศึกษา วิทยาลยั นาฏศิลป จดั ทําองคความรูใ นรูปแบบของเอกสาร โดยมกี ระบวนการในการเผยแพรองคความรูไ ปสู นักศึกษาในระดบั ช้ันปริญญาตรปี ท่ี ๑-๔ ๗. การเรยี นรู หลังจากการดําเนินการเผยแพรองคความรู เรื่อง แนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาฝกประสบการณ วิชาชีพครู สอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป พบวา มีผูที่สนใจนํา ความรูที่ไดจากการจัดการความรูไปใชเปนใชเปนแนวทางในการเตรียมตัวกอนออกฝกสอน และ คณะ นกั ศกึ ษาทีมKm จะนําผลจากการนําองคค วามรูไปใช มาแกไข ปรับปรุงองคความรูเดิมตามขอเสนอแนะตางๆ เพื่อใหม ีความชัดเจน และมีความสมบูรณขององคค วามรู

สรุปผลการดาํ เนนิ การ การจัดการความรู ดานการวิจัย เรื่อง “แนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพครู สอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป” เปนการตั้งเปาหมายการจัดการ ความรเู พื่อพัฒนาวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปใหเ ปนองคก รแหง การเรยี นรู ที่เริ่มตนจากการพัฒนางานพัฒนาคน เพ่ือมุง สูองคกรการเรียนรู โดยเฉพาะอยางย่ิงในการพัฒนาการเตรียมตัวรับมือการฝกประสบการณวิชาชีพครูจอง นกั ศึกษา จดั วาเปน แรงจูงใจประการหน่ึงทสี่ ง ผลใหร ะบบการศกึ ษามคี วามเจริญกาวหนาทง้ั ผเู รียนและผสู อน ขอ เสนอแนะ ควรจัดกิจกรรม/เสวนา/แลกเปล่ียนเรียนรูระหวางผูที่ฝกประสบการณวิชาชีพครู ครูผูสอน ครูผูชวย เพ่อื การพัฒนานักศึกษาใหเ ตรยี มตัวและเตรียมพรอมแกป ญหา กอนออกไปฝก ประสบการณว ิชาชีพครู

การนําเสนอแนวปฏิบตั ิที่ดี โครงการประชุมสมั มนาเครอื ขายการจดั การความรฯู ครัง้ ท่ี 12 “การจดั การความรูส มู หาวิทยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management : Innovative University) สาํ หรบั นกั ศกึ ษา ช่อื เรื่อง/แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี การจดั การกลอนลาํ ของหมอลําสมชาย เงินลา น The Knowledge Klonlam of Molam Somchai Ngernlan ช่ือ-นามสกุล ผูน ําเสนอคนที่ 1 นายทรงพล หนอกระโทก ผนู าํ เสนอคนท่ี 2 นายพงษพฒั น เหมราช ช่อื สถาบนั การศึกษา สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป หนว ยงาน วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปรอ ยเอด็ เบอรโทรศพั ทมอื ถือ 0996185539 เบอรโทรสาร 043511244 E-Mail address [email protected]

การจดั การกลอนลาํ ของหมอลําสมชาย เงินลา น The Knowledge Klonlam of Molam Somchai Ngernlan นายทรงพล หนอกระโทก นายพงษพัฒน เหมราช บทสรปุ การจัดการกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน คณะ KM Team ไดเห็นความสําคัญในดาน กลอนลาํ เนอ่ื งจากการแสดงหมอลาํ ถือเปนองคความรูท่ีอยูในตัวบุคคล โดยเฉพะกลอนลําของหมอลํา สมชาย เงินลาน เปนกลอนลําท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรูดานประวัติศาสตร ดานพุทธศาสนา ดาน ศลี ธรรม และคณุ ธรรม จริยธรรม และปจ จุบันหมอลาํ สมชาย เงนิ ลา นทานอยูในวยั ชรามากแลวหากไม มีการบันทึกหรือจัดเก็บขอมูล ความรูเหลาน้ันอาจจะสูญหายไปพรอมกับตัวบุคคลได โดยมี วัตถุประสงคคือ 1) เพ่ือจัดเก็บกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน 2) เพ่ือถายทอดองคความรูดาน กลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน การถายทอดองคความรูดานกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน ไดนําองคความรูไปเผยแพรใหแก นักเรียน นักศึกษา และเยาวชนหรือผูที่มีความสนใจดาน หมอลาํ ในเขตจงั หวัดรอ ยเอด็ พรอ มทงั้ ทาํ หนงั สอื ราชการขอความอนเุ คราะหใหนําองคความรู เรื่องการ จัดการกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน ไปใชในการฝกหัดหมอลํา และจัดพิมพเผยแพรทาง เวบ็ ไซตเพื่อใหหนว ยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา หมอลํา ตลอดจนผูที่สนใจ มาศึกษาการลาํ ของหมอลําสมชาย เงินลาน การที่ไดน ําองคความรูดา นการจัดการกลอนลําของหมอลํา สมชาย เงนิ ลา นไปเผยแพรแ ละศึกษา เปน การสงเสรมิ และสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมใหคงอยูสบื ไป คําสําคญั กลอนลํา หมอลาํ Summary The management of the Lam Lam Somchai silver lump KM Team Saw the importance Side bolt Because of the show Considered as a body of knowledge By the poem of Lam Lam Somchai money Is a verse that has content about knowledge History Buddhism Moral and moral aspects And now, Mor Lam Somchai million You are already very old If there is no recording or data storage Those knowledge may be lost along with the person With the objective of 1) To store the Lam Lam of Somchai money 2) To transfer knowledge about the Lam Lam Somchai's silver bolt Knowledge transfer The Lam's Bolt, Somchai Somchai, Million Baht Has brought the knowledge to be distributed to Students and youth People who are interested in Mor Lam Or those

who are interested in Mor Lam in Roi Et Province Along with making official books, asking for help, bringing knowledge The management of the Lam Lam verse of Somchai million Used in the training of Mor Lam And published on the website for government agencies Personnel of the College of Student Affairs As well as those interested in studying the Lam Lam Somchai money The introduction of knowledge in the management of Lam Lam Somchai's money To publish and study To promote and preserve the culture and arts. Key words : Lam, Mor Lam.

บทนํา หมอลําเปน มหรสพพ้ืนบา นทีส่ าํ คัญท่สี ดุ ของชาวอีสาน คําวา “ลาํ ” แปลวา “ขับรอง” มาจาก คําเดิมวา “ขับลํานํา” ท้ังนี้วิเคราะหไดจากหลักฐานท่ีปรากฏในทองถ่ินตาง ๆ ของชาวไทยและชาว ลาว ดังน้ีคือ ในภาคเหนือของไทยใชคําวา “ขับ” เชน ขับซอ ซึ่งหมายถึงการขับรองที่ประสานดวย เสยี งซอ แตป จจุบันนิยมเรียกตาเพียงวา “ซอ” เชน ซอจับนก ซึ่งหมายถึงขับรองชมธรรมชาติ แทนที่ จะเรียกวา ขับซอจับนก ในตอนเหนือของลาว ใชคําวา “ขับ” เชนเดียวกัน เชน ขับง่ึม ขับซําเหนือ ขับทุมหลวงพระบาง ขับเซียงขวาง ในภาคอีสานของไทยใชคําวา “ลํา” เชนลําพื้น ลํากลอน ลําหมู และลําซ่ิง สว นในภาคใตข องลาวใชค ําวา “ลํา” เชน ลําบานซอก ลํามหาชัย ลําสีพันดอน และลําคอน สะหวัน สวนในภาคกลางของไทยเดิมใชคําวา “ขับลํานํา” ปจจุบันใชคําวา “ขับรอง” (เจรญิ ชัย ชนไพโรจน และ สทิ ธศิ กั ดิ์ จําปาแดง. 2543 : 1) จารุวรรณ ธรรมวัตร (2530 : 58) กลา ววา ลํากลอนเปนเพลงพื้นบานภาคอสี านทม่ี บี ทบาทให การศึกษาแกผูฟงเปนอยางมาก ในยุคกอนสงครามโลกคร้ังท่ี 2 โดยพ้ืนฐานของศิลปนที่เรียกวา “หมอลํา” น้ันไดรับการศึกษาและการฝกฝนมาอยางดีจนมีคํากลาววา “นักปราชญผูรูบปานเจาพอ แตกลํา” ขั้นตอนหน่ึงของการลํากลอนเปนการลําแขงขันความรูกัน เรียกวาลําประชัน โดยหมอลําจะ ผลัดกนั ถาม ผลัดกนั ตอบโตคดีโลกคดธี รรม ทนี่ าสนใจใหส ารประโยชน หมอลําเปนศิลปะการแสดงพื้นบาน ท่ีมีบทบาทดานการใหความรูทางโลก ทางธรรมและ ความบันเทิง เปนส่ือในการบันทึกพฤติกรรมของคนไทยในสังคม เปนส่ือในการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีและความเช่ือ ตาง ๆ จึงเห็นไดวาหมอลําเปนศิลปะการแสดงท่ีผูกพันกับชีวิตคนไดสืบมา หลายช่ัวอายุจนกระท่ังถึงปจจุบัน ลํากลอนเปนการลําที่ใชบทกลอนโตตอบระหวางหมอลําฝายชาย และหมอลาํ หญงิ ในเร่อื งราวตา ง ๆ โดยมีแคนเปนเคร่ืองดนตรีประกอบ กอนที่จะทําการแสดงทุกคร้ัง จะตอ งมกี ารไหวค รู เพื่อเปนการเคารพครูซ่ึงเปนผูถายทอดวิชาความรูและถือเปนขนบประเพณีที่ตอง ยดึ ปฏิบัติ เนื้อหาสาระของการลํามีหลายประเภท เชนกลอนเกี้ยวพาราสี กลอนศีลธรรม กลอนนิทาน กลอนพรรณนาธรรมชาติ และกลอนที่เก่ียวของกับวิชาการตาง ๆ นอกจากนี้เนื้อหาของกลอนลํายัง เปนเรื่องที่ประเทืองปญญาและอารมณ เนื้อหาสาระมีบาเกิดมาจากวรรณกรรม พุทธศาสนา นิทาน พื้นบาน และคําสอนโบราณของชาวอีสานมักจะนิยมแทรกซอนเน้ือหาท่ีมีคติธรรมขอคิด เตือนใจ โวหารท่ีคมคาย บางคนอาจแทรกเนื้อหาดวยเร่ืองเพศไวบางเพ่ือความสนุกสนาน (วันเพ็ญ แสงพันธุ. 2545 : 1) หมอลําสมชาย เงินลาน เปนศิลปนหมอลําระดับแนวหนาอีกคนหนึ่งที่ไดรับความนิยมจาก มหาชนจนประสบความสําเร็จในดานอาชีพหมอลําโดยไดรับการยกยองจากศิลปนหมอลํา ผูรับชมรับ ฟงหลายทาน และสถาบันตาง ๆ จึงทําใหหมอลําสมชาย เงินลาน ไดรับรางวัลนาคราชทองคํา เชิดชู เกียรติศิลปนพื้นบานอีสานประจําป 2552 สาขาดนตรีและนาฏยศิลป (หมอลําเพลิน) สถาบันวิจัย

ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และไดรับรางวัล โลเชิดชูเกียรติศิลปนมรดก อีสาน สาขาศิลปะการแสดง ประจําป 2556 เน่ืองในวโรกาสคลายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษมรดกไทย หมอลําสมชาย เงินลาน เปนหมอลําท่ีมี ความชํานาญในการลําและสามารถลําไดหลายประเภท เชน ลํากลอน ลําเพลิน ลําพ้ืน ลําสินไซ และ หนังประโมทัย หมอลําสมชาย เงินลาน เปนหมอลําที่มีฝปากคารมท่ีดี มีปฏิภาณ ไหวพริบ และมี นํ้าเสียงท่ีดี ในการแสดงหมอลําของหมอลําสมชาย เงินลาน มีการลําท่ีเปนเอกลักษณเฉพาะตัว และ เนือ้ หาของกลอนมกี ารสอดแทรกคตธิ รรม หลกั ธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาไวในกลอนลําอีกดวย จึงสามารถดึงดูดจิตใจอารมณ ของผูฟงการแสดงหมอลําของหมอลําสมชาย เงินลาน ไวไดเปนอยางดี จากผลงานที่เคยไดร ับรางวลั ตาง ๆ อยางมากมายทําใหหมอลําสมชาย เงินลาน มีช่ือเสียงโดง ดงั เปน ท่ียอมรบั ของประชาชนและหนว ยงานตาง ๆ โดยเฉพาะในดานหมอลํากลอน คณะผูดําเนินงาน ไดเหน็ ความสําคญั ของวาทลําและวาดฟอนของศลิ ปนหมอลาํ กลอนผนู ้ี จึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะศึกษา เปนองคความรูใหมและเปนการอนุรักษศิลปะการแสดงพื้นบานอีสานซ่ึงเปนวัฒนธรรมทองถิ่นคณะผู ดําเนินงานหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนโยชนตอการสืบทอดหมอลํากลอน การศึกษาหมอลํากลอนการ อนุรกั ษศ ลิ ปวัฒนธรรมของชมุ ชน ซ่ึงเปนมรดกของชาตใิ หคงอยสู ืบไป วิธีการดําเนินงาน 1. การคน หาความรู วิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด มอบหมายใหบุคลากรของวิทยาลัย นายโยธิน พลเขต เปน คณะ KM Team เขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปจัดขึ้นเม่ือวันที่ 1-2 กุมภาพันธ 2561 เพ่ือรวมกําหนดการบงชี้ความรูและ ประเด็นความรทู ี่จาํ เปน ในการเขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือบงช้ีความรูและประเด็นความรูที่จําเปนน้ันคณะ KM Team วิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด ไดกําหนดประเด็นความรูท่ีสอดคลองกับประเด็นยุทธศาสตร ของวทิ ยาลัยในดานการสงเสริมสนับสนุนการสรางงานวิจัย งานสรางสรรคนวัตกรรม องคความรูดาน ศิลปวัฒนธรรมเปนที่ยอมรับทั้งในและตางประเทศมาเปนตัวกําหนดประเด็นความรู และเปาหมาย ในการจดั การความรูคือ “การจัดการความรูกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน” เพ่ือนําองคความรู ที่ไดมาพัฒนารูปแบบการเรียนกลอนลําและนํามาถายทอดสูชุมชน โดยมีเปาหมายในการจัดการ ความรูประกอบดว ย ปราชญชาวบา น และบคุ ลากรของวทิ ยาลยั นาฏศิลปะรอ ยเอด็ จากการกําหนดประเด็นความรูคณะ KM Team ไดรวมกันจัดทําแผนการจัดการความรู เสนอตอสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป และแตงตั้งคณะกรรมการการจัดการดานความรูโดยคัดเลือกจาก ปราชญชาวบาน จํานวน 1 คน และบุคลากรของวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด ท่ีมีความรูในดานหมอลํา

เมื่อแตงตั้งคณะกรรมการจัดการความรูเสร็จเรียบรอยแลว จึงประชุมคณะกรรมการเพื่อจัดทํา Knowledge Mapping หากวาความรูใดมีความสําคัญตอการจัดการความรูเรื่องกลอนลํา ซึ่งสามารถ แยกออกเปนประเด็นในการจัดการกลอนลาํ ไดดงั นี้ 2. การสรางและแสวงหาความรู คณะ KM Team ไดล งพ้ืนทเี่ กบ็ ขอ มูลโดยการสัมภาษณแ ละการบันทึกภาพขั้นตอนวิธีการ ลําโดยละเอียดต้ังแตเริ่มตนจนถึงกระบวนการจัดรูปแบบกลอนลําใหอยูในหองเพลง ข้ันแรกคือ การศึกษาประวัติและผลงาน วาดฟอนแมบท และกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน จากน้ันจึง เลือกกลอนลําท่ีมีความนาสนใจ มีเน้ือหาสาระดานความรู ดานประวัติศาสตร ดานพระพุทธศาสนา ดานศีลธรรม และคุณธรรม จริยธรรม เปนกลอนที่เปนประโยชนตอการศึกษาและสังคม แลวจึงได นํามาจดบันทึกโดยการถายทอดขอมูลจากหมอลําสมชาย เงินลาน กลอนลําที่ไดนํามาจัดการความรู จําแนกประเภทไดดังนี้ 1. กลอนลําทางคดีโลก 2. กลอนลําทางคดีธรรม แลวจึงนํามาจัดใหอยูใน รูปแบบหอ งเพลงทส่ี ามารถอานไดง า ย และอานกลอนลาํ ไดถ กู ตองของจังหวะกลอนลาํ ภาพที่ 1 การสัมภาษณห มอลําสมชาย เงินลา น คณะ KM Team ไดจัดเสวนาเพื่อการจัดการกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน ที่หอง ประชมุ อาคารเทพประสิทธ์ิ วิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด โดยเชิญหมอลําสมชาย เงินลาน และบุคลากร ของวิทยาลัยท่ีมีความรูดานหมอลํา รวมทั้งนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะดนตรีและการแสดงพ้ืนบาน มารว มเสวนาแลกเปล่ยี นความรใู นประเดน็ การจัดการ “กลอนลํา” ของหมอลําสมชาย เงินลาน โดยมี รองผูอํานวยการเปนประธานรวมการเสวนาในครั้งน้ี และการเสวนามีประธานคณะกรรมการ KM Team เปนผูดําเนินรายการเชิญหมอลําปราชญชาวบานแตละทานพูดถึงความรูดานกลอนลํา

คณะ KM Team ไดน าํ รปู แบบของกลอนลําท่ีไดลงพ้ืนที่เก็บขอมูลไวมานําเสนอบนจอเพ่ือใหทุกคนได เห็นข้ันตอนการจดั การกลอนลําอยา งละเอยี ดชัดเจน ภาพที่ 2 การเสวนาแลกเปลยี่ นความรูในประเดน็ การจัดการ “กลอนลาํ ” ของหมอลาํ สมชาย เงนิ ลาน การนําขอมูลท่ีไดจากการลงพื้นท่ีเก็บขอมูลและการจัดเสวนาที่ไดบันทึกในรูปแบบวีดีโอและ บันทึกเสียงไวมาเรียบเรียง และเขียนออกมาเปนความเรียงจัดเนื้อหาใหเปนหมวดหมู เขียนรายงาน ตามประเด็นหัวขอ ที่กาํ หนด ภาพที่ 3 การบันทึกวดี ิโอ 3. การจัดความรูใหเ ปน ระบบ ในการจัดการความรู เรื่องการจัดการ “กลอนลํา” ของหมอลําสมชาย เงินลาน ใหเปน ระบบน้ัน คณะ KM Team ไดนําความรูที่ไดจากการลงพ้ืนท่ีสัมภาษณและจากการเสวนาแลกเปล่ียน เรียนรูในขั้นตอนการสรางและแสวงหาความรูในแตละคร้ังมาจัดใหเปนหมวดหมู จํานวน 2 ครั้ง คือ วันท่ี 20 มิถุนายน 2561 และวันที่ 8 กรกฎาคม 2561 นํามาจัดระบบโดยจําแนกตามลักษณะกลอน

ลําคือ กลอนลําทางคดีโลก และกลอนลําทางคดีธรรม ลงเว็บไซตวิทยาลัยเพื่อใหผูสนใจสามารถมา ศกึ ษากลอนลําได 4. การประมวลและกลน่ั กรองความรู คณะ KM Team ไดนําความรูที่จัดหมวดหมูมาปรับปรุงภาษาท่ีอานแลวเขาใจงายมีการ ตรวจสอบโดยนําเอกสารที่ปรับปรงุ ภาษาเสรจ็ เรยี บรอย มาใหผ ทู ม่ี คี วามเช่ียวชาญและมีความรูในดาน หมอลํา เพอ่ื ตรวจสอบวาภาษาทใี่ ชสามารถอา นเขาใจงายหรอื ไม แลว นาํ มาแกไขขอบกพรองอีกครัง้ 5. การเขา ถึงความรู การถายทอดองคความรู โดยจัดทําเอกสารรูปเลมเพ่ือมอบใหแก หมอลํา บุคลากรของ วิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด ท่ีรวมสัมมนานําองคความรูท่ีไดไปใชในการศึกษากลอนลําในคร้ังตอไป และจัดพิมพเ อกสารเผยแพรใหแก นกั เรียน นักศึกษา และเยาวชนหรือผูที่มีความสนใจดานหมอลําใน เขตจังหวัดรอยเอ็ดพรอมท้ังทําหนังสือราชการขอความอนุเคราะหใหนําองคความรู เรื่องการจัดการ กลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน ไปใชในการฝกหัดหมอลํา และแจงกลับมายังคณะกรรมการ เพ่ือคณะกรรมการ ติดตามผลการการนําไปใช จัดพิมพเผยแพรทางเว็บไซตเพื่อใหหนวยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นกั เรยี น นกั ศึกษา หมอลํา ตลอดจนผูท่สี นใจมาศกึ ษาการลําของหมอลําสมชาย เงนิ ลา น โดยตอ งแจงใหคณะกรรมการทราบเพ่ือคณะกรรมการจะไดด าํ เนนิ การติดตามการนําไปใช ภาพที่ 4 การถา ยทอดองคค วามรสู ชู มุ ชน 6. การแบงปนแลกเปล่ียนความรู คณะ KM Team จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการแสดงลํากลอนของหมอลําสมชาย เงินลาน โดยเชญิ นักเรียน นักศึกษาและผูที่สนใจเขารวมกิจกรรมดังกลาว โดยถือวาเปนการแลกเปล่ียนเรียนรู ดา นกลอนลําของหมอลาํ สมชาย เงนิ ลา น 7. การเรยี นรู หลังจากกิจกรรมแบงปนแลกเปลี่ยนความรู คณะ KM Team ไดติดตามประเมินผล ผเู ขา รวมกจิ กรรม เกี่ยวกบั การนําความรทู ่ีไดรบั ไปใชประโยชนใ นการศกึ ษากลอนลาํ ประเภทตา ง ๆ

สรปุ ผลและอภิปรายผลการดาํ เนนิ งาน จากการดําเนินกิจกรรมการถายทอดองคความรูการจัดการกลอนลําของหมอลําสมชาย เงนิ ลา น พบวา กลุม เปาหมายทเ่ี ปน เยาวชนรนุ ใหม สถานศกึ ษา และหนว ยงานตาง ๆ ไดหันมาใหความ สนใจและรวมสงเสริมในดานศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบานอีสานมากข้ึน และใหการตอบรับเปนอยางดี โดยเฉพาะกลอนลําของหมอลําสมชาย เงินลาน เปนกลอนลําที่มีเน้ือหาที่เปนความรูในดาน ประวัติศาสตร ดานภูมิศาสตร ดานพระพุทธศาสนา ซ่ึงสามารถที่จะนําไปใชในการเรียนการสอนใน กลุม สาระตา งๆ เชน กลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ไดนํากลอนประวัติศาสตร ชาตไิ ทยไปประยุกตใชในการเรียนการสอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยนําหลักการประพันธกลอน ไปประยุกตใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และในการถายทอดองคความรูดานกลอนลําได ถา ยทอดใหกลมุ เปา หมายไดเรยี นรเู ร่อื งศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบานอีสาน ดานกระบวนการลํา และเน้ือหา ของบทกลอน จึงทําใหนักเรียน นักศึกษา และผูท่ีสนใจไดความรูจากเน้ือหาของบทกลอน ดาน ประวัตศิ าสตร ดานศีลธรรม ดานพระพุทธศาสนา และยังเปนการขัดเกลาจิตใจใหมุงเนนปฏิบัติตนให เปน คนดสี ืบไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook