Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

BPI

Published by taweelap_s, 2019-05-21 02:38:52

Description: BPI

Search

Read the Text Version

4 บรหิ ารจัดการเชงิ ธรรมาภบิ าล โดยมีการใชเ ครอื่ งมือทางการบริหารจัดการตางๆ มาบูรณาการให การปฏิบัติงานในองคกรเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดและเปนไปตามนโยบายของสถานศึกษา กลาวไดวา การใหความสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลควบคูกับการพัฒนาคุณภาพของงานและองคกร เพื่อใหเปน “องคกรใหแหงการเรียนรู” จึงเปนกระบวนการที่สําคัญ ท้ังนี้ยังสอดคลองกับ ยุทธศาสตร นโยบายในการบริหารงานและแนวทางการจัดการเรียนรูของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ในป พ.ศ. 2558 – 2562 อีกดวย การรวบรวมองคค์ วามรู้ เรื่อง การสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทยใน ศตวรรษท่ี 21 เป็ นการศึ กษาเพื่อ จัดการความรูในองคกร (Knowledge Management ) ซงึ่ เปนเครอื่ งมือหนึ่งที่ใชจัดการกระบวนการเรียนรูท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลและนํามาประมวลผลเปนสารสนเทศท่ีเปนความรู เพ่ือพัฒนาองคความรู เปนแหลงขมุ ทรัพยทางปญญา และนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอองคกร ตลอดจนการ เผยแพรความรู อันจะนํามาซ่ึงข้อมูลในการวางแผนและปฏิบัติ วชิ าการวชิ าชพี ในสาขาท่ีปฏบิ ัตกิ ารสอนให้คงอยสู่ ืบไป วธิ ดี าํ เนนิ งาน การจดั การความรดู านการเรียนการสอน เรอื่ ง การสอนวชิ าชีพเคร่อื งสายไทยในศตวรรษ ที่ 21 ในสายการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีวัตถุประสงค คือ (1 )เพ่ือรวบรวมองคความรู เกยี่ วกบั แนวทางการปฏิบัตแิ ละกิจกรรมการสอนวชิ าชีพเครื่องสายไทย และ (2) เพื่อเผยแพรองค ความรูจากการแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติและกิจกรรมการสอนวิชาชีพ เครื่องสายไทย มีวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณแบบสนทนากลุม สัมภาษณแบบ เจาะลึก และการแลกเปลี่ยนเรียนรู เพ่ือคนหาแนวทางในการปฏิบัติและกิจกรรมการเรียนการ สอน จากครผู สู อนกลุมสาระการเรยี นรวู ชิ าชีพเคร่ืองสายไทย ภาควิชาดุริยางคไทย วิทยาลัยนาฏ ศิลป จํานวน 11 คน นําขอมูลมาแลกเปลี่ยนเรียนรู สรุปวิเคราะหเน้ือหา และนําเสนอผลการ จดั การเรียนรู โดยผา นกระบวนการดําเนนิ การจดั การความรู 7 ขน้ั ตอน มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1. การบง ช้ี หรือคน หาความรู แตงตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู ดานการเรียนการสอน เพื่อหาประเด็นความรู จากบุคลากรกลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพเครื่องสายไทย วิทยาลัยนาฏศิลป ในสายการสอนระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐานดําเนินการประชุมระดมความคิดเพื่อกําหนดหัวขอการจัดการความรู (Knowledge Mapping) คนหาองคความรูเก่ียวกับ “การสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทยในศตวรรษ ที่ 21” โดยมีจาํ นวนทั้งหมด 11 คน

5 คณะกรรมการการจัดการความรู ดานการเรียนการสอน ไดระดมความคิดเพื่อหา ประเด็นหัวขอ หลกั ทีจ่ ะดาํ เนนิ การจดั การความรู โดยไดประเด็นความรูท ี่ตอ งการศึกษา ดงั น้ี 1.1 แนวทางในการสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21ซ่ึงในการจัดการ องคความรูทัง้ 2 ประเด็นน้ี จะมแี นวคาํ ถามยอยเพ่อื การรวบรวมองคความรู เชน - แนวคดิ ในสอนวิชาชพี เครื่องสายไทยในศตวรรษท่ี ๒๑ ทานมีแนวคดิ อยางไร (ปญหาทเี่ กดิ ข้นึ ใน การเรียนการสอนเพือ่ การแกปญ หา สอ่ื นวตั กรรม การทําวิจยั เพื่อแกป ญ หา) - การวางแผนในการสอนวิชาชีพเครอื่ งสายไทยในศตวรรษที่ 21 (สอ่ื นวัตกรรม และโครงงาน) และวางแผนและลาํ ดับขั้นตอนในการสอนอยา งไรบาง 1.2 กระบวนการเรียนการสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21 - แนวทางในการปฏบิ ตั ิ - กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2 การสรางและแสวงหาความรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานวิจัย มีการระดมความคิดและแลกเปล่ียนเรียนรู ระหวางกัน รวมทั้งกําหนดหนาท่ีในการดําเนินงานสรางและแสวงหาความรู ในหัวขอเกี่ยวกับ “แนวทางการเขียนงานวิจัยเพ่ือการทําผลงานทางวิชาการดานดุริยางคไทย วิทยาลัยนาฏศิลป” กําหนดกิจกรรมการสัมภาษณแบบสนทนากลุม ระดมความคิด และการแบงปนความรูจาก คณะกรรมการจัดการความรูกลุมใหญ 2 คร้ัง ครั้งละประมาณ 60 นาที และทําการสัมภาษณ แบบเจาะลกึ เปน รายคน คนละ 2 – 3 ครง้ั ท้งั นี้ประธานจะเปนผดู ําเนินการ โดยมีเลขานุการเปน ผูจดบันทกึ คณะกรรมการการจัดการความรู ดานวิจัยรวมกันหาขอสรุปเก่ียวกับแนวทางและ กระบวนการเรียนการสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทยในศตวรรษที่ 21 โดยเลขานุการ คณะกรรมการ จัดการความรูนําขอมูลแตละคร้ัง นําเสนอในการประชุมเพื่อใหบุคลากรสามารถแลกเปลี่ยน เรยี นรู ท้ังนอ้ี าจจะมขี อเสนอแนะ หรือความรใู หมจ ากการประชมุ เพม่ิ เตมิ 3 การจัดการความรูใหเปน ระบบ ในการจัดการความรูใหเปน ระบบ คณะกรรมการการจัดการความรู ดา นวิจัย ไดนําขอมูล ท่ีไดจากการสรางและการแสวงหาความรูมาจัดระบบขอมูล ตรวจสอบขอมูลใหมีความสมบูรณ เรียบเรียง และสรุปเปนองคความรูเก่ียวกับ “การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21” เพอื่ ใหสามารถคน หาและนาํ ความรไู ปใชป ระโยชนไ ด

6 4 การประมวลและกลั่นกรองความรู ในการประมวลและกลั่นกรองความรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานการเรียน การสอน ไดดําเนินการวิพากษและแลกเปล่ียนความรูของคณะกรรมการฯ เพื่อดําเนินการจัดทํา เอกสารสรุปองคความรู ตรวจสอบความถูกตองของเน้ือหา แกไขขอบกพรอง ปรับภาษาเพ่ือให อานแลวเขาใจงาย จัดทํารูปเลมใหเปนมาตรฐาน โดยใหเนื้อหาใหมีคุณภาพสอดคลองกับความ ตอ งการของครู อาจารย 5 การแบง ปน แลกเปลยี่ นความรู จัดทําหนังสือเวียนเพื่อนําเสนอองคความรูเกี่ยวกับ “การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทย ในตวรรษที่ 21” จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูตามภาควิชาตางๆ เพื่อใหครูอาจารย ไดนําไปใช ประโยชนนอกจากนี้นําองคความรูเผยแพร ใน Blog KM ของวิทยาลัย และจัดนิทรรศการใน สัปดาหว ชิ าการของวิทยาลยั นาฏศลิ ป 6 การเขาถึงความรู คณะกรรมการการจัดการความรู ดานวิจัย ไดนําเอกสารการจัดการความรูที่ไดจาก การแลกเปลยี่ นเรยี นรู เรอื่ ง “การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21” จัดทําองคความรู ในรูปแบบของเอกสาร โดยมีกระบวนการในการเผยแพรองคความรูไปสูครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในภาควิชาตางๆ ในวิทยาลัยนาฏศิลป หลากหลายชองทาง เชน การประชุมสัมมนา การ เผยแพรในระบบเอกสารทางราชการผานบันทึกราชการ การเผยแพรผานเว็บไซด บอรด ประชาสัมพันธ และชองทางอื่นๆ ของวิทยาลัยนาฏศิลป เพ่ืองายตอการสืบคน ศึกษาคนควา และการใหข อเสนอแนะตางๆ 7 การเรยี นรู หลังจากการดําเนินการเผยแพรองคความรู เร่ือง “การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยใน ศตวรรษท่ี 21” ไดแกครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาควิชาตางๆ ในวิทยาลัยนาฏศิลป และ ผูสนใจผานชองทางตางๆ พบวา มีผูท่ีสนใจนําความรูที่ไดจากการจัดการความรูไปใชเปนใชเปน แนวทางในการปฏิบัติการสอน และแนวทางเปนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นอกจากน้ี คณะกรรมการการจัดการความรู ดานการเรียนการสอนไดนําผลจากการนําองคความรูไปใช มา แกไข ปรับปรุงองคความรูเดิมตามขอเสนอแนะตางๆ เพื่อใหมีความชัดเจน และมีความสมบูรณ ขององคค วามรู และจดั ทาํ บัญชผี นู ําองคความรูไ ปใชแ ลวประสบผลสําเรจ็ ตอไป สรุปผลการดําเนนิ งาน

7 การจัดการความรู ดานการเรียนการสอน เร่ือง “การสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทยใน ศตวรรษที่ 21” ในสายการสอนระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เปนการต้ังเปาหมายการจัดการความรู เพื่อพัฒนาวิทยาลัยนาฏศิลปใหเปนองคกรแหงการเรียนรู ท่ีเร่ิมตนจากการพัฒนางานพัฒนาคน เพอื่ มงุ สูอ งคกรกรการเรยี นรู โดยเฉพาะอยา งย่ิงในการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เปน กําลังในการพัฒนาวิทยาลัยนาฏศิลป การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษท่ี 21 เปน กระบวนการสรางแนวคิดของการเรียนรูสมัยใหม ท่ีผูเรียนมีอิสระในการรับรู และสรางศักยภาพ ใหผูเรียนรูจักหาความรูดวยตนเอง และช้ีนําการเรียนรูในลักษณะของการเปนผูแนะนําให คาํ ปรึกษา และพฒั นาวธิ ีในการสอนใหเพมิ่ มากพรอมท้ังการมีปฏิสัมพันธท่ีดีกับผูเรียน สรุปผลได ดงั น้ี 1. แนวทางในการปฏิบัติ ผูสอนกําหนดวัตถุประสงคท่ีตอบสนองตามความถนัดของ ผูเรียน เพ่ือกําหนดข้ันตอนการสอน การประเมินผล การใชสื่อ ใหเหมาะสมกับผูเรียน เพ่ือนํา ทักษะวิชาชีพไปใชในการดํารงชีวิต การออกแบบแผนการเรียนรูแบบบูรณาการ การเรียนรูท่ีจะ อยูรวมกัน การทํางานในแบบกลุม ตองมีวิธีการสอนที่มีความยึดหยุน ใจกวางสามารถรับฟง แลกเปลีย่ นแนวความคดิ กบั ผูเรยี น มกี ารปรับตัวใหเปนธรรมชาติเขากับผูเรียนสามารถเปล่ียนไป ไดตามสถานการณปจจุบัน เนนถึงความเปนจริง ทันตอระบบเทคโนโลยี มีความรูเพียงพอที่จะ ถา ยทอดใหผ ูเรียนไดน ําไปใชต อยอดในการสรา งสรรค ลดการสอนและเนนการเรียนรูใหมาก โดย ฝก ปฏบิ ัตจิ ากเหตุการณจรงิ โดยผสู อนตอ งทาํ หนา ทีเ่ ปนโคช คอยใหคาํ ปรึกษา ชี้แนะชองทางหรือ เครื่องมือในการเสาะแสวงหาความรู กระตุนใหผูเรียนเกิดคําถามหรือปญหาท่ีเกิดข้ึนจากตนเอง เพื่อสรางกระบวนการคิดควบคูกับทักษะปฏิบัติ นําไปสูแรงบันดาลใจในการเรียนรู การสืบคน เพ่ือพัฒนาและประยุกตใช โดยการสรางนวัตกรรมการสอน จัดกิจกรรมโครงการเก่ียวกับทักษะ วิชาชพี เพอ่ื ฝก ทกั ษะการคิดและการปฏบิ ัติ มงุ เนนการทาํ โครงงาน สรา งงานวจิ ัยในชนั้ เรยี น 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน ในการกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนผูสอนควรคํานึงถึง หลกั สําคัญ ดังน้ี ข้ันนํา 1) แจง วตั ถุประสงคใหผ เู รียนไดรับทราบ 2)กระตุนความสนใจโดยยกเหตุ สถานการณจริงหรือสถานการณใกลเคียง ขั้นสอน 1) สรางกรอบแนวคิด หลักการหรือแนวทาง ที่เก่ียวของกับทักษะการปฏิบัติ 2) ใชสื่อตางๆ สอดแทรกความรูในระหวาง เชน นวัตกรรม สื่อ มัลติมีเดีย ส่ือโซเซียล 3) แบงกลุมทํางานเปนทีม (จัดทําโครงงาน กิจกรรมโครงการ) ผูสอนให คําปรึกษา 4) ฝกการปฏิบัติ และแกไขดวยตนเอง จากความรูท่ีไดรับและการคนควาจากแหลง อ่ืนๆ เพ่ิมเติม ขั้นสรุป 1) นําเสนอผลงาน จากการคนควาหรือการทํางาน ในการจัดทําโครงงาน

8 กจิ กรรม หรือในบทเรียน 2) ประเมินผลครบคลมุ ดานความรู ดานทักษะ และดานคุณลักษณะอัน พึงประสงค บรรณานกุ รม วิจารณ พานิช. 2555. วิถีสรางการเรียนรูเพื่อศิษยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี- สฤษดิ์วงศ. วิจารณ พานิช. 2556. การสรา งการเรยี นรสู ศู ตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: มูลนธิ ิสยามกัมมาจล. อดุลย วังศรีคูณ. 2557. “การศึกษาไทยในศตวรรษท่ี 21 : ผลผลิตและแนวทางการพัฒนา”. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม. 8, 1: 1-16. นวพร ชลารักษ. 2558. “บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21”. วารสารวชิ าการมหาวิทยาลยั ฟารอสิ เทอรน . 9, 1: 64-71. พิมพพันธ เดชุคุปต และพเยาว ยินดีสุข. 2557. การจัดการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จินตนา สุจจานันท. 2556. การศึกษาและการพัฒนาชุมชนในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. วิโรจน สารรัตนะ. 2556. กระบวนทัศนใหมทางการศึกษากรณีทัศนะตอการศึกษาศตวรรษ ท่ี 21. กรงุ เทพฯ: ทิพยวิสทุ ธิ์. มารติน, เจมส. 2553. โลกแหงศตวรรษที่21. แปลจาก The Meaning of the 21rt Century โดยภาพร. กรงุ เพทฯ: ประพันธส าสน . สพุ รทิพย ธนภัทรโชติวัตร. 2557. “การพัฒนารปู แบบการจดั ประสบการณว ิชาชีพครูเพ่ือสงเสริม คุณลักษณะครูในศตวรรษท่ี 21.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา เศรษฐศาสตรบัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. ไพพรรณ เกียรติโชติชัย. 2545. กระบวนทัศนใหมแหงการศึกษาในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: การศึกษา.

1 รปู แบบการนําเสนอแนวปฏบิ ัติทดี่ ี โครงการประชมุ สัมมนาเครือขายการจดั การความรู ครัง้ ท่ี 12 “การจดั การความรูส ูม หาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management : Innovative University) บทความ ช่ือเร่อื ง การผลติ โพนเพอ่ื ธุรกิจชุมชน ช่ือ-นามสกุล นายกติ ติชยั รตั นพนั ธ หนว ยงาน วิทยาลัยนาฏศลิ ปพทั ลุง สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป กระทรวงวัฒนธรรม การจดั การความรดู า น ทํานบุ ํารุงศลิ ปวัฒนธรรมภมู ิปญ ญาทองถ่นิ เบอรโ ทรศพั ทมือถือ 089-8788002 e-Mail address Shokun_r@hotmail.com บทสรปุ ผูบ รหิ าร (Executive Summary) การจัดการความรูที่ตอบสนองยุทธศาสตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เพื่อมุงสูงานสรางสรรคและนวัตกรรม ผลการดําเนินกิจกรรมพบวา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป มีคลังความรู ประกอบดวย 4 ดานหลัก ๆ ดังนี้ คือ ดานการเรียนการสอน ดา นการวจิ ัย ดานทาํ นบุ าํ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรมภมู ิปญญาทองถน่ิ และดานสนับสนุน ในสวนขององคความรูดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทองถ่นิ ทส่ี ามารถตอบสนองยุทธศาสตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป มี 3 ประการคือ 1) การรวบรวมองคความรูและพัฒนา คลงั ความรขู องศิลปนแหงชาติและครูภูมิปญญาทองถิ่น 2) การนําองคความรูทางวัฒนธรรม (ดานดนตรี นาฏศิลป และทัศนศิลป) เพื่อนําไปสูการใชประโยชนเชิงพาณิชย และ 3) การนําองคความรูทางวัฒนธรรม (ดานดนตรี นาฏศิลป และทัศนศิลป) เพื่อตอยอด งานศิลป เปนเอกลักษณและอัตลักษณของทองถ่ิน รวมทั้งเปนผลิตภัณฑทางวัฒนธรรม สําหรับประเด็นความรูท่ีเลือกมาจัดทํา โครงการการจัดการความรูในปงบประมาณ 2561 คือ การรวบรวมองคความรูและพัฒนาคลังความรูของศิลปนแหงชาติและครู ภูมปิ ญญาทองถิ่น ซึ่งตอบสนองยุทธศาสตรท่ี 3 สรางสรรค ตอยอดงานศิลปเพื่อเปนเอกลักษณ อัตลักษณของทองถิ่น รวมทั้ง ผลิตภัณฑบริการทางวัฒนธรรม ในประเด็น กลยุทธท่ี 1 กระตุน สงเสริมใหมีการสรางสรรค ตอยอดงานศิลปและเปน ผลิตภณั ฑทางวัฒนธรรม โดยการจัดกจิ กรรมและจดั งบประมาณสนับสนนุ วทิ ยาลยั นาฏศิลปพัทลุง สถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป กระทรวงวฒั นธรรม เปนหนว ยงานสังกดั สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป ในสวนภูมิภาคมีพื้นท่ีรับผิดชอบหลักในการจัดการเรียนการสอน พรอมท้ังอนุรักษ เผยแพรศิลปวัฒนธรรม ดานนาฏศิลป ดนตรี และทํานุบาํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมภมู ปิ ญญาทอ งถิ่นภาคใต ในพน้ื ที่ 7 จงั หวัด คอื พทั ลุง สงขลา สตลู ตรัง ยะลา ปต ตานี และนราธวิ าส ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถีชวี ิตของชาวพทั ลุงมคี วามโดดเดน มีเอกลักษณเฉพาะตัว มคี วามเปนมายาวนานจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะประเพณแี ขงโพน-ลากพระ ท่เี ปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาวพัทลุง โพนถือเปนศิลปวัฒนธรรมทางดานดนตรี อยางหนึ่ง ในอดีตแตเดิมน้ันโพนมีบทบาทเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ในดานการบอกเวลาปฏิบัติกิจตาง ๆ ของพระสงฆ และ เปนอาณัติสัญญาณบอกเหตุรายหรือขาวสารใหชาวบานรู แตในปจจุบันโพนไดเขามามีบทบาททางสังคมและมีอิทธิพลตอการ ดํารงชวี ิตของชาวพัทลุงมากขึ้น

2 การเก็บรวบรวมองคความรู เรื่องการผลิตโพนเพื่อธุรกิจชุมชน ของคณะกรรมการจัดการความรูดานทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ไดดําเนินการจัดเก็บองคความรูตามกระบวนการการจัดการความรูอยาง เปนระบบ ผลผลิตท่ีเกิดจากการดําเนินโครงการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เร่ืองการผลิตโพนเพื่อธุรกิจชุมชน โดย KM Team ดานภูมิปญญาทองถิ่น วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ท่ีไดดําเนินการจัดเก็บองคความรูตามกระบวนการจัดการความรู ท้ัง 7 ข้ันตอน กอใหเกิดองคความรูใหม คือรายละเอียดขั้นตอนการผลิตโพน จํานวน 22 ข้ันตอน มาตรฐานคุณลักษณะของโพน จาํ นวน 3 ขนาด ไดแก 1) โพนขนาดเล็ก ตัวหุนโพนมีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร ขนาดหนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 35-40 เซนตเิ มตร 2) โพนขนาดกลาง ตวั หนุ โพนมคี วามยาวประมาณ 70 เซนติเมตร ขนาดหนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 40-49 เซนติเมตร และ 3) โพนขนาดใหญ ตัวหุนโพนมีความยาวประมาณ 80 เซนติเมตร ขนาดหนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ตั้งแต 50 เซนติเมตร ขึ้นไป ผลจากการจัดการความรูไดนําไปใชพัฒนาการผลิตโพนภายในชุมชน ตลอดจนสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั่วประเทศ สามารถนํารายละเอยี ดมาตรฐานคณุ ลกั ษณะของโพน ไปใชป ระกอบการกําหนดคณุ ลักษณะและรายละเอียดเคร่ืองดนตรี พืน้ บา นภาคใต เพ่ือจดั ซือ้ จัดจางครภุ ัณฑสาํ หรับสถานศกึ ษา สงผลใหผ ูผ ลิตโพนและผูมสี วนเกีย่ วของกับการผลิตโพนภายในชุมชน มีรายไดเพ่ิมสูงขึ้น และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป มีระบบการจัดการความรูไปพรอม ๆ กับการพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของ บุคลากรของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป รวมทั้งจะสามารถปรับตัวและยืนหยัดอยูภายใตสังคมเศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge- Based Economy and Society - KBS) หรือ KM 4.0 ซึ่งเปนสังคมที่ต้ังอยูบนพื้นฐานของการใชความรูและภูมิปญญาของคนใน องคกรเพ่ือมงุ สูง านสรางสรรคและนวัตกรรมไดอยางสงา งาม Executive Summary The aims of the workshop on \"Implementing knowledge management 4.0 (KM 4.0) that to increase the efficiency and effectiveness of teaching, research, promoting local-wisdom, and non-academic staff development\" are 1. To develop understanding and successfully implement of KM process. 2. To create knowledge-sharing environment for academic staff and non-academic staff within Bunditpatanasilpa Institute. 3. To enhance staff 's positive attitude toward an improved both academic and professional job performance. 4. To develop a plan for knowledge management of academic work and management activities in the fiscal year 2018 to foster creativity and innovation in Bunditpatanasilpa Institute. The knowledge management workshop on - making southern musical instruments for enhancing and strengthening musical instruments making community's economy- by Local-Wisdom KM Team of Phatthalung Dramatics Arts College generates new knowledge including characteristic of southern musical instruments for Phon (such as Phon small size, Phon medium size, and Phon large size ) the process of these 3 musical instruments making, and the average price of these 3 musical instruments. The new knowledge from this workshop is played important role in developing musical instruments making community's economy. The education institutions also can apply the average price of the 3 music

3 instruments mention earlier for their procurement. As a resulted of these, musical instruments makers generate more income. Furthermore, Bunditpatanasilpa Institute has effective knowledge management system to improve staff performance, moving toward learning organization, sustainable development within knowledge-based economy and society (KBS) คําสําคญั โพน, ธรุ กิจชมุ ชน บทนํา วัฒนธรรมดานภูมิปญญาทองถิ่น เปนความรูที่มีคุณคาควรแกการรักษาไว ซ่ึงสอดคลองกับประเด็นยุทธศาสตร ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ท่ีสงเสริม สนับสนุน อนุรักษ พัฒนา สืบสานและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม โดยวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ซึง่ เปนสถาบนั การศึกษาวิชาชีพเฉพาะทาง ไดใหความสําคัญโดยการเขาไปมีสวนในการจัดเก็บองคความรูของครูภูมิปญญาทองถ่ิน เพ่ือใหไดข อ มูลทางวชิ าการทจ่ี ัดเก็บอยางเปน ระบบ โดยใชกระบวนการเชื่อมโยงความรูภูมิปญญาทองถ่ินกับการสรางคุณคากับสังคม ตามนโยบายและแผนพัฒนาของวิทยาลยั ฯ ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวพัทลุงมีความโดดเดน มีเอกลักษณเฉพาะตัว มีความเปนมายาวนานจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะประเพณีแขงโพน-ลากพระ ที่เปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาวพัทลุง โพนถือเปนศิลปวัฒนธรรมอยางหน่ึง ทางดานดนตรี ในอดีตแตเดิมนั้น โพน มีบทบาทเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ในดานการบอกเวลาปฏิบัติกิจตาง ๆ ของพระสงฆ และเปนอาณัติสัญญาณบอกเหตุรายหรือขาวสารใหชาวบานรู แตในปจจุบันโพนไดเขามามีบทบาททางสังคมและมีอิทธิพลตอ การดาํ รงชีวิตของชาวพัทลงุ มากขึ้น จงั หวัดพทั ลุง เปน ชุมชนท่มี คี วามเปนมาในอดีตยาวนาน มีวัฒนธรรมทองถ่ินที่หลากหลาย มีศิลปวัฒนธรรมพื้นบานที่ เกิดจากการผสมผสานและการแพรกระจายทางวัฒนธรรมจากภาคอื่น ๆ ชาวบานไดมีการสืบทอดความรู ประสบการณและ วัฒนธรรมของชุมชนมาแตอดีตในรูปแบบของวรรณกรรม ประเพณี พิธีกรรม ศิลปะการละเลนพื้นบาน หากแตปจจุบันการสราง หรอื ผลิตเครือ่ งดนตรีทใ่ี ชส ําหรบั การแสดงพ้นื บา นเหลานีโ้ ดยเฉพาะอยา งยิ่ง การผลิตโพนในจังหวัดพัทลุงเพื่อสรางรายไดใหกับคน ในชุมชนยังไมแพรหลายมากนัก เน่ืองจากการขาดการสงเสริมจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของอยางเปนระบบ ทั้งดานมาตรฐานการผลิต ทุน และการตลาด คณะกรรมการดําเนินการจัดการความรูดานภูมิปญญาทองถ่ิน เรื่อง“การผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน” (KM team) วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ไดเล็งเห็นความสําคัญและตระหนักถึงคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่นแขนงนี้ หลักสําคัญเพ่ือตองการ สงเสริมรายไดใหกับชาวบานในชุมชนท่ีเปนผูผลิตโพนในจังหวัดพัทลุง ใหมีรายไดเพ่ิมสูงข้ึนสามารถเลี้ยงตัวเองได จึงได ดําเนินการจดั เกบ็ องคค วามรจู ากกลมุ ภมู ปิ ญ ญาชาวบานทย่ี ังคงผลติ โพน สว นใหญเปน ผสู งู อายแุ ละมีจํานวนนอย เพื่อใหสามารถ เช่อื มโยงความรูภูมิปญญาดานการผลิตโพน การสรางคุณคาตอสังคม ตลอดจนสงเสริมรายไดใหกับผูคนชุมชน โดยวิธีการที่เปน รปู ธรรม เพื่อประโยชนข องการศึกษา ทงั้ นว้ี ทิ ยาลัยนาฏศิลปพทั ลุง จะไดนําองคความรูท่ีไดจากการดําเนินการในคร้ังน้ีไปปรับใช ในดานการจัดการเรียนการสอนและดานอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชนทองถ่ิน หนวยงาน และบุคคลท่ี สนใจตอไป กระบวนการ / วธิ ดี ําเนนิ การในอดีต การจัดการความรู (Knowledge Management : KM) เปนการรวบรวมองคความรูท่ีมีอยูกระจัดกระจายอยูในตัว บุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรูและพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้ง

4 ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ไดดําเนินการจัดการความรู ตามนโยบายของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป โดยวิทยาลยั ไดด าํ เนนิ การตาม 7 ข้ันตอน ของกระบวนการจัดการความรู ดงั นี้ 1.การบงชี้ความรู โดยแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการ (KM TEAM) เพื่อดําเนินการในการเลือกใชเครื่องมือในการ ดาํ เนนิ การ และพจิ ารณาวาควรจะจัดการความรูเร่ืองใด โดยตองสอดคลองกบั วสิ ัยทัศน และพนั ธกจิ ของสถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป 2.การสรางและแสวงหาความรู มีการกําหนดตัวบุคคลใหสอดคลองกับเร่ืองที่กําหนด และทําการแสวงหาความรู แตงต้ัง คณะกรรมการในการแสวงหาความรูและกําหนดกลมุ เปา หมายครภู ูมิปญญาทอ งถนิ่ ตามหัวขอที่จัดเกบ็ 3.การจัดความรูใหเ ปน ระบบ เม่ือดาํ เนินการสรางและแสวงหาความรเู รยี บรอ ยแลว นาํ ความรทู ี่ไดไ ปจดั เก็บอยางเปนระบบ 4.การประมวลและกลน่ั กรอง มกี ารดาํ เนินการจดั เอกสารใหเปน ระบบ เพ่ือปรับปรงุ เน้ือหาใหสมบรู ณ เหมาะสม 5.การเขา ถงึ ความรู ไดนาํ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื การใช Web board ในการเผยแพรความรู เพื่อใหกลุมสนใจ เขา ถึงขอ มูลไดงา ย 6.การแบง ปน แลกเปลีย่ นความรู ดําเนนิ การจัดใหม กี ารแลกเปลีย่ นความรู โดยสถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป 7.การเรียนรู โดยการนําความรทู ี่ไดไ ปประยุกตใชและนาํ ความรทู ี่ไดม าปรับปรงุ อยา งตอเน่ือง แนวปฏบิ ัตทิ ดี่ ี (วิธีการ/กระบวนการ/แนวทางการดาํ เนินงานที่ไดด ําเนนิ การตามหลัก PDCA ) ขั้นตอนกระบวนการในการจัดการองคความรูเรื่องการผลิตโพนเพื่อธุรกิจชุมชน คณะกรรมการ (KM TEAM) ดาน ทํานบุ าํ รุงศิลปวฒั นธรรมภมู ปิ ญญาทองถ่นิ วทิ ยาลัยนาฏศิลปพัทลงุ มขี ้นั ตอนการดาํ เนินงานตามลําดับ ดงั นี้ ขนั้ ตอนท่ี 1. การคนหาความรู วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง จัดประชุมกลุมเปาหมายประกอบดวย ผูบริหาร ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และนักศึกษา จํานวน 70 คน ในวันท่ี 18 ธันวาคม 2560 ณ หองประชุมอาคารเอนกประสงค วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง เพื่อ วางแนวทางการดําเนินการการจัดเก็บรวบรวมองคความรู ประจําปการศึกษา 2561 ซึ่งวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ไดรับมอบหมาย ใหดําเนนิ การจดั การความรูจํานวน 3 เรื่อง ไดแก การจัดการความรูดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น ดานการวิจัย และการจัดการความรูของนักศึกษา ซึ่งวิทยาลัยไดมอบหมายใหผูรับผิดชอบในแตและดานไปดําเนินการจัดประชุม คณะกรรมการดําเนินงานจัดการความรู (KM TEAM) ของวิทยาลัย (จัดประชุมวันท่ี 22 ธันวาคม 2560) และไดดําเนินการ แตงต้ังคณะกรรมการทํางานในแตละดาน ซ่ึงผูรับผิดชอบการจัดการความรูดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ิน ไดกําหนดคุณสมบัติของคณะทํางานโดยพิจารณาจากบุคลากรภายในวิทยาลัย ท่ีมีความรูทางดานดนตรีและการแสดงบานภาคใต และครูภูมิปญญาทองถิ่นหรือผูที่มีความรูเรื่องการผลิตโพนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ตอจากน้ันคณะกรรมการ (KM TEAM) ประชุมจดั ทาํ KM1 การจาํ แนกองคความรทู ีจ่ ําเปนตอ การผลกั ดนั ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรของสวนราชการ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป KM2 แผนการจัดการความรู (KM Action Plan) KM3 : กระบวนการจัดการความรู (KM Process) KM4 แผนการจัดการ ความรู (KM Action Plan) กระบวนการบริหารจัดการการเปล่ียนแปลง (Change Management Process) และจัดทําตัวบงช้ี ความรู Knowledge Mapping โดยระดมความคิดของคณะกรรมการเพื่อดําเนินการคนหาความรูท่ีมีความสําคัญและความ จําเปนตอ องคก ร

5 ขั้นตอนที่ 2. การสรางและแสวงหาความรู เมื่อ KM TEAM ไดกําหนดหัวขอ ขอบเขต และเคร่ืองมือที่ใชในการจัดการความรูเรียบรอยแลว จึงจัดประชุม คณะกรรมการเพื่อแบงภาระงานรับผิดชอบในสวนท่ีเกี่ยวของโดยมุงเนนจัดคนท่ีความรูความสามารถเหมาะสมตรงตาม ประเดน็ การจดั เกบ็ องคความรทู ัง้ 8 ประเดน็ แตง ต้งั ประธาน คณะทํางาน เลขา และผูชวยเลขา จากบคุ ลากรภายในวิทยาลัยที่ มคี ุณสมบัตเิ ปน ผูมคี วามรทู างดา นดนตรีพนื้ และการแสดงบา นภาคใต รวมจํานวน 9 คน และมีการกําหนดครูภูมิปญญาทองถิ่น ท่มี คี วามรูและสามารถในการผลติ โพน ประกอบดว ย 1. นายบญุ วัน เกลยี้ งเก้อื อายุ 67 ป 2. นายฉลอง นุมเรือง อายุ 52 ป 3. นายจรสั เกลย้ี งมาก อายุ 58 ป 4. นายศักด์ดิ า ชูแกว อายุ 47 ป เนื่องจากขน้ั ตอนและวธิ กี ารดําเนนิ การจัดเกบ็ องคความรเู ร่ืองการผลิตโพนเพอื่ ธุรกจิ ชุมชน มีท้ังองคความรูที่เปน ทฤษฎี เอกสาร และองคความรูที่เกิดจากกระบวนการถายทอดจากครูภูมิปญญาทองถ่ิน จึงมีขั้นตอนและระยะเวลาในการ ดําเนินการตางจากการจัดการความรูในหัวขอท่ัว ๆ ไป คณะกรรมการจึงไดกําหนดระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมการเรียนรูไว จํานวน 10 คร้งั ๆ ละ 1 วนั (ระหวางเดอื นมกราคม ถงึ เดือน มิถุนายน 2561) ครั้งที่ 1 คณะกรรมการไดดําเนินการจัดประชุมวางแผนในข้ันการบงชี้ความรูและการแสวงหาความรูโดยใช สถานทหี่ องประชมุ เลก็ วิทยาลัยนาฏศิลปพทั ลุง ครั้งที่ 2 คณะกรรมการไดดําเนินการจัดประชุมวางแผนเพ่ือแลกเปล่ียนความรูองคความรูที่มีอยูในตัวบุคคล ของคณะกรรมการ (KM TEAM) โดยใชส ถานทหี่ อ งประชมุ เล็ก วิทยาลัยนาฏศลิ ปพทั ลุง คร้งั ท่ี 3 คณะกรรมการลงพ้ืนทเ่ี ขตชุมชนปรางหมู อําเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง นัดหมายครูภูมิปญญาทองถิ่น สมั ภาษณขอมูลและแลกเปล่ียนเรยี นรูตามขอบเขตการจัดการความรใู นประเด็นเนอื้ หาทกี่ าํ หนดไว ครั้งท่ี 4 คณะกรรมการลงพื้นที่เขตชุมชนชัยบุรี อําเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง สัมภาษณขอมูลและ แลกเปล่ยี นเรยี นรกู บั ครูภมู ิปญ ญาทองถิน่ ตามขอบเขตการจัดการความรใู นประเด็นเน้ือหาท่กี าํ หนดไว ครั้งท่ี 5 คณะกรรมการลงพื้นที่เขตชุมชนคอกวัว อําเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง สัมภาษณขอมูลและ แลกเปลย่ี นเรยี นรกู ับครูภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ตามขอบเขตการจดั การความรูใ นประเดน็ เน้อื หาท่ีกําหนดไว

6 คร้ังที่ 6 คณะกรรมการลงพน้ื ทเ่ี ขตอําเภอเมอื งพทั ลงุ และเขตอาํ เภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง สัมภาษณขอมูล และแลกเปลีย่ นเรียนรูกบั ครูภมู ปิ ญญาทองถิ่น ตามขอบเขตการจัดการความรูในประเดน็ เนื้อหาทก่ี ําหนดไว ขั้นตอนที่ 3. การจัดการความรใู หเปน ระบบ หลังจากท่คี ณะกรรมการไดร วบรวมเอกสารที่เก่ียวของ และลงพ้ืนท่ีจัดเก็บขอมูลภาคสนามในเขตชุมชนตาง ๆ ของ จังหวัดพัทลุง เพ่ือจัดเก็บองคความรูเร่ืองการผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน นํามารวบรวมและแยกเนื้อหาตามขอบเขตการจัดการ ความรูครอบคลมุ ท้งั 8 ประเด็นแลว คณะกรรมการจึงนดั ประชมุ (11 มีนาคม 2561) เพื่อจําแนกประเด็นตาง ๆ และวิเคราะห กระบวนการท่ีเกี่ยวของกับการผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน จัดรวบรวมขอมูลในรูปแบบของเอกสารทางวิชาการ จําแนกตามหัวขอ เรียงตามลําดับ ดังน้ี 1) บทนํา 2) บทสรุปผูบริหาร 3) กระบวนการ/วิธีการดําเนินการ 4) การผลิตโพนเพื่อธุรกิจชุมชน และ 5) สรปุ อภิปรายผล และขอเสนอแนะการดาํ เนินงาน ขั้นตอนท่ี 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู หลังจากคณะกรรมการไดจัดการองคความรูท่ีไดจากการจัดเก็บใหเปนระบบแลวจึงนัดประชุม (13 พฤษภาคม 2561) ท่ี วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง และเชิญตัวแทนครูภูมิปญญาทองถ่ินจากชุมชนตางๆ ในจังหวัดพัทลุง ที่คณะกรรมการไดลงพ้ืนที่ไป เก็บขอมูล มาทําการตรวจสอบขอมูลประเด็นความรูการผลิตโพนเพื่อธุรกิจชุมชน ใหครอบคลุมตามหัวขอท่ีจัดเก็บ เพ่ือนําไป ปรบั ปรุงเนอ้ื หาใหมคี วามถกู ตองสมบูรณ และปรบั ปรุงรูปแบบของเอกสารใหไดม าตรฐาน จากนนั้ คณะกรรมการและครภู มู ปิ ญ ญาทองถิน่ รว มกันสรุปองคความรูเร่ืองการผลิตโพนเพื่อธุรกิจชุมชน ที่ไดจัดเก็บ และการกลั่นกรองความรูในครั้งนี้ตามหัวขอที่จัดเก็บ เพื่อนําไปสูการปรับปรุงเนื้อหาใหมีความถูกตองสมบูรณ และปรับปรุง รูปแบบของเอกสารใหไดม าตรฐานอีกครัง้ ข้นั ตอนท่ี 5. การเขา ถึงความรู จากการดําเนินการตามข้ันตอนและกระบวนการในการจัดการองคความรู เรื่องการผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน ในคร้ังนี้กอใหเกิดองคความรูและนําไปสูกระบวนการปฏิบัติท่ีดี พบวาการผลิตโพนเพ่ือสรางรายไดเสริมใหกับคนในชุมชน เปนอีกอาชีพหน่ึงที่สามารถสรางรายไดใหกับชุมชนในจังหวัดพัทลุง นอกเหนือจากอาชีพหลักซึ่งชาวบานสวนใหญจะมีอาชีพ

7 เกษตรกรรม และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูคนในชุมชนใหดีข้ึน ตลอดจนสามารถเปนแหลงเรียนรูและสืบทอดมรดก ทางวัฒนธรรมของทองถ่นิ ไวไดเปนอยา งดี KM TEAM ดา นภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน ไดรวบรวมองคความรูไวในรูปแบบเอกสารทางวิชาการ และมีวิธีการกระจาย องคค วามรู เพอ่ื ใหเกดิ การนําไปใชประโยชนโ ดยอาศยั ชองทางท่ผี สู นใจสามารถเขา ถึงความรไู ดง า ยและสะดวก ดงั ตอไปนี้ - นําเสนอความรูท่ีไดจากการจัดเก็บตอบุคลากรของวิทยาลัย ในวาระการประชุมประจําเดือน โดยใชวิธีการ นาํ เสนอขอมูลองคความรูท ี่ไดแกผ รู ับโดยผรู ับไมไ ดรอ งขอ - จัดทําแผน พบั ประชาสมั พนั ธสรปุ ขอมูลท่เี ปนองคความรูทีไ่ ดจากการจดั เก็บ เผยแพรผ า น Webpage - สง เอกสารขอมลู ไปยังสถานศกึ ษา และหนว ยงานทีเ่ ก่ียวของ ในจงั หวัดพัทลงุ และจังหวัดอนื่ ๆ ในภาคใต ขน้ั ตอนที่ 6. การแบง ปน แลกเปลีย่ นเรยี นรู ข้ันตอนการแบงปนแลกเปล่ียนเรียนรูองคความรูเร่ืองการผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน คณะกรรมการนําองคความรู ที่ไดจากการจัดเก็บไปนําเสนอบนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู กับสถานศึกษาสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป จํานวน 18 หนวยงาน ทวั่ ประเทศ ภายใตโครงการ “การนําเสนอการจัดการองคความรู ของสถานศึกษาสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป” นอกจากนั้น คณะกรรมการยังมีวิธีการแบงปนแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยนําเอาองคความรูท่ีไดจากการจัดเก็บเผยแพรใหกับนักเรียน-นักศึกษา ของวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง เพื่อใชเปนขอมูลดานการจัดการเรียนรูภูมิปญญาทองถ่ิน และนําไปใชประโยชนดานอ่ืน ๆ ตามโอกาส และยังไดเปดโอกาสใหผูที่สนใจไดมีการแลกเปล่ียนเรียนรูทางส่ือออนไลน facebook Youtube เปดโอกาสใหผู เขา ชมเสนอขอคดิ เหน็ และตอบกระทคู ําถามตางๆทเ่ี กี่ยวขอ งอกี ทางหนึง่ ข้ันตอนที่ 7. การเรยี นรู นําองคความรูไปใชในการสงเสริมความเปนมาตรฐานในการผลิตโพนในจังหวัดพัทลุง เพ่ือสรางรายไดใหกับ ชาวบานในชุมชนใหเพิ่มสูงข้ึน ในดานการเรียนการสอนสรางคุณคาใหกับบุคลากรในองคกรมีมุมมองใหม ๆ ปรับเปล่ียน พฤติกรรมสามารถทําในส่ิงที่ไมเคยทํามากอนได คุณคาของผลผลิตและคุณคาของงานบริการเพิ่มขึ้น เพ่ิมชองทางการอนุรักษ สบื ทอด และเผยแพรฯ องคความรทู ่เี ปนภมู ปิ ญญาทอ งถิ่นไปใชต ามท่ีกลาวมาขางตน และนํากลับมาปรับปรุงแกไขใหเกิดความ สมบรู ณ สรุปและอภปิ รายผลการดาํ เนนิ งาน

8 การจัดการความรูเรื่อง “การผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน” โดยคณะกรรมการ KM วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม ไดดําเนินการตามแนวปฏิบัติท่ีดี มีวิธีการกระบวนการแนวทางการดําเนินงานท่ีได ดําเนนิ การตามหลกั PDCA สงผลใหการดําเนินการจัดเก็บองคความรูประสบผลสําเร็จ เกิดองคความรูใหม ไดแก กระบวนการผลิต/ วธิ ที าํ โพน รายละเอยี ดมาตรฐานคุณลักษณะของโพน และราคากลางของโพน จํานวน 3 ขนาด ตามรายละเอียด ดงั นี้ สรุปขั้นตอนกระบวนการผลติ /วธิ ีทําโพน 1.การคัดเลือกไมที่ทําโพน โดยทั่วไปมักนิยมคัดเลือกไมท่ีมีเน้ือแนนท่ีสุด เรียงตามนิยม คือ ไมตะเคียนทอง ไมพังตาน ไมขนนุ ไมตาลโตนด หรือทดลองใชไ มอ ่นื ที่มใี นทองถน่ิ แตค ณุ ภาพอาจไมดีเทา ไมด ังกลาวขางตน 2.การเตรียมไมทําโพน เลือกตนท่ีมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 1.5 ฟุต เปนอยางนอย ตัดไมเปนตอนใหความยาวพอ ๆ กบั เสน ผาศนู ยกลางของทอนไมห รือยาวกวาเล็กนอย นํามาถากดานนอก ใหม ีลกั ษณะสอบหวั สอบทา ย แตงผวิ ใหเรียบ 3.การขดุ เจาะรปู โพน ใชวิธีเดียวกับการขุดครกตําขาว มีลักษณะโคงมนท้ังสองดานไปทะลุถึงกันที่กึ่งกลางของไม มีรูทะลุ ขนาดสัดสวนเหมาะกับความใหญของโพน มีสวนโคงตรงสันกลางโพนเรียกวา “อกไก” ท้ังน้ีเพ่ือใหเกิดเสียงกองภายใน มีลักษณะคลายลําโพง ผิวดานในจะตองขุดเจาะใหเรียบในยุคใหมน้ีนิยมการกลึงภายในเพราะจะไดผิวที่เรียบกวาใชสิ่วเจาะ เหมอื นในอดีต ลักษณะการขดุ เจาะรปู โพน เจาะตามแนวยาวตรงจุดศูนยก ลางใหท ะลุ ทะลวงรูใหรูกวาง ขนาดอยางนอยพอกํา หมัดลอดไดใชเ ครอ่ื งมือขดุ แตง ภายในใหรูผายกวางออกเปนรูปกรวยทั้ง 2 หนา แตงอกไก กะความหนาตรงปากโพนทั้ง 2 หนา ประมาณเทานิ้วหัวแมมือ ใชเหล็กกลมเจาะรูรอบทั้งสองดานเพื่อใสลูกสัก รูจะเจาะหางจากขอบปากเขามาราว 2 นิ้ว เจาะหางกัน ราว 1.5 นว้ิ ขนาดรเู ล็กกวา ปลายนิว้ กอ ยเล็กนอ ย และเจาะรูที่กึง่ กลางโพนเพ่ือใสหว งเหลก็ สาํ หรับแขวน 4. อุปกรณและชน้ิ สว นตาง ๆ ในการหุมโพน 4.1 ลูกสัก ทําดวยไมไผตงที่แกจัด ตัดใหดานหน่ึงติดขอ อีกดานหนึ่งวัดใหไดขนาดสั้นกวารัศมีปากโพน ประมาณ 1.5 นิ้ว ผา เปน สเ่ี หล่ยี มจาํ นวนเทา กนั รใู สลูกสกั ที่เจาะไว เหลาใหกลมดานติดขอแตงใหหนาตักโคงมน ปากหัวทํามุม 90 องศา ตดั จากจุดบากราว 1 นวิ้ แตงใหเรยี ว นําไปตากแดดใหแหง กอ นนําไปตอกยึดหนังโพน 4.2 ปลอกหวายใชสาํ หรบั รัดหนังใหตึงกอนตอกลูกสกั ทาํ ดวยหวายเปน ขดกลมความยาวขนาดเทา เสนรอบวงของหนุ โพน 4.3 ไมเขยี้ วหมา ใชส ําหรับคลอ งเชือกดึงหนงั มลี กั ษณะปลายแหลมท้ังสองขาง 4.5. เชอื กดึงหนงั ใชดึงหนงั ใหต งึ ในการนวดหนงั แตกอ นใชไมระกาํ ปจจบุ นั ใชเชือกไนลอน 5. หนังหุมหนา โพน นยิ มใชหนังควายแกและผอมเนอ่ื งจากควายแกม ไี ขมนั ติดหนังนอย คุณภาพหนังบางเรียบสมํ่าเสมอ ความแกข องหนังมีความเหนียวทนทานใชไ ดน าน หนังหุมโพนอาจใชหนังวัวหรือหนังควายแลวแตความเหมาะสม ถาเปนโพน ขนาดใหญจะนิยมใชห นังควาย เนือ่ งจากผืนใหญแ ละหนากวาหนงั ววั การฟอกหนัง หนังที่นํามาใชฟอกจะตองเปนหนังสดไมแช นํา้ เกลือหรอื สิ่งอ่ืนใด ขูดดานท่ีมีเนื้อติดไขมันออก นํามาขึงใหตึง ตากใหแหง นําหนังที่ตากแหงสนิทแลวมาตัดใหไดขนาดตามความ ตองการ ตอจากนั้นนําไปแชนํ้าใหออนตัวประมาณ 1-3 วัน นําหนังมาฆาโดยการตําหนังใหนิ่ม (กรรมวิธีเฉพาะของชาง) เมื่อฆา หนงั ไดตามตอ งการแลวจึงนาํ หนังไปหุมหนากลองโพน 6. สถานท่ีวางโพนสําหรับหุม ปกเปนหลักไมขนาดสูง 1.5 เมตร 4 อัน เปนรูปส่ีเหล่ียมขนาดกวางกวาขนาดโพน เล็กนอย บากหัวไมดานในเปนมุม 90 องศาใหเสมอกัน (ถาบากไวกอนก็ตอกใหเสมอกัน) เล่ือยหรือตัดไมกระดานเปนรูปทรง กลมขนาดพอดีกับพ้ืนท่ี ระหวางไมหลักทั้ง 4 วางปูลงบนรอยบาก เรียกกระดานน้ีวา“แปน”หรือ “พ้ืน”สําหรับเปนท่ีวาง หุนโพน หางจากหลักไมทั้งสี่ออกไปราวสองเมตรปกหลักวางราวโดยรอบ ราวสูงจากพื้นไมเกินแนวแปน ราวแตละอันจะตอกดวย

9 ไมงา มหรอื เรยี กวา“สมอบก”อยางแข็งแรง ใชไมคันชั่งขนาดเทาขอมือยาว 2.5 เมตร ประมาณ7–8 อัน ใชเชือกหวายสําหรับผูกและ ดึงหนัง ขัน้ ตอนการหุมโพน วางโพนบนแปน นําหนังท่ีตัดเตรียมไวปดลงบนหนาโพนโดยใหหนังรอบ ๆ หนาโพนหอยลงมาระยะยาวเทา ๆ กัน ใช เหลก็ หรือมดี ปลายแหลมเจาะหนังใหท ะลุเปน คู ๆ หางกนั ราว 2–3 นิ้ว ใชไมสั้น ๆ ขนาดเทาดินสอ (ไมเข้ียวหมา) สอดรูแตละ คูไ ว นําเชือกรอ ยรูแตล ะคผู กู เปน บว งตามยาวเสมอขอบแปน ใหป ลายไมดานนอกดึงกดลง เอาเชอื กผูกยึดไวกับราวซึ่งมีสมอบก ยึดติดกับคันชั่ง ดึงไมคันชั่งใหแตละอันตึงพอ ๆ กัน เม่ือขึ้นหนาโพนเสร็จแลว จะตากลมท้ิงไวคอยชโลมน้ําและตีเปนระยะ ๆ เพ่ือใหหนังยึดตัว (อาจใชตนกลวยวางบนหนังหรือทานํ้ามันมะพราวแลวใชไมตีหรือนวดหนัง เปนกรรมวิธีของแตละชาง) จน หนงั ตงึ และไดเสียงทต่ี อ งการ ทกุ ครงั้ ท่ชี โลมนํ้าและตพี ยายามดงึ ไมค ันชัง่ ใหตึงทีส่ ุดเทาทีจ่ ะเปนได ทําเชนน้ีเปนระยะเวลา 2–3 วัน เม่ือหนังหนากลองตึงไดที่แลวนําปลอกหวายสวมทับ ตอกปลอกใหลดต่ําใตระดับรูลูกสัก ใชเหล็กตอกหนังรูลูกสักใหทะลุ แลวใชลูกสักใหตะขอหงายข้ึนบนตอกอัดลูกสักใหแนนทุกรูป ลดใหคันชั่งออกตัดหนังระหวางปลอกกับลูกสักโดยรอบเปนอัน เสร็จการหุมโพน 1 หนา การหุมหนาโพนอีกดานก็ใชวิธีการหุมเชนเดียวกัน เม่ือเสร็จแลวจึงลงน้ํามันหรือนวดและตี จะทําให หนังเกดิ เงางามหรอื เปน หนงั แกว เสยี งดงั ไมขาดสาย นําไปแขวนตามจุดท่ีตองการ หรือนํามาใสขา 3 ขา หรือ 4 ขา (ขาโพนทํา ดว ยไมเน้อื แข็ง ตามความเหมาะสมขนาดโพน) คณุ ลักษณะเฉพาะของโพนท่ีผลติ ในชุมชน 1. โพน (ขนาดเล็ก) คุณลักษณะเฉพาะ หุน ทําดวยไมตาล หรือไมเนื้อแข็ง ที่มีคุณสมบัติใกลเคียง ความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร ทาดวยแลค็ เกอรช กั เงาอยา งดีตลอดท้ังใบ หนากลองหุมหนาทั้งสองหนาดวยหนังควาย หนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 35-40 เซนติเมตร ขากลอง ทาํ ดวยไมเนอ้ื แข็งกลึงสวยงาม จํานวน 3 ขา ตอกยึดติดกับตัวกลอง ลูกสักหรือหมุดกลอง ทําดวยไมไผตง ไมโท หรือไมเนื้อแข็งชนิดอื่น ๆ .คุณภาพเสียงโพน ดังกังวาน ตามมาตรฐานเสียงโพนขนาดเล็ก ไมตีโพน ทํา ดว ยไมเ น้อื แข็ง เชน ไมสาวดาํ ไมต ะเคียนหิน ไมร กั เขา กลึง ยางดี จํานวน 1 คู 2. โพน (ขนาดกลาง) คุณลักษณะเฉพาะ หุน ทําดวยไมตาล หรือไมเนื้อแข็ง ที่มีคุณสมบัติใกลเคียง ความยาวประมาณ 70 เซนติเมตร ทาดว ยแลค็ เกอรชักเงาอยางดตี ลอดทัง้ ใบ หนากลองหุมหนังท้ังสองหนาดวยหนังควาย หนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 40-49 เซนติเมตร ขากลอง ทาํ ดว ยไมเนือ้ แข็งกลึงสวยงาม จํานวน 3 ขา ตอกยึดติดกับตัวกลอง ลูกสักหรือหมุดกลอง ทําดวยไมไผตง ไมโท หรือไมเนื้อแข็งชนิดอื่น ๆ คุณภาพเสียงโพน ดังกังวาน ตามมาตรฐานเสียงโพนขนาดกลาง ไมตีโพน ทํา ดวยไมเ นื้อแข็ง เชน ไมสาวดํา ไมตะเคียนหิน ไมรักเขา กลงึ ยางดี จํานวน 1 คู 3. โพน (ขนาดใหญ) คุณลักษณะเฉพาะ หุน ทําดวยไมตาล หรือไมเนื้อแข็ง ที่มีคุณสมบัติใกลเคียง ความยาวประมาณ 80 เซนติเมตร ทาดวยแล็คเกอรชักเงาอยางดีตลอดทั้งใบ หนากลองหุมหนังทั้งสองหนาดวยหนังควาย หนากลองมี เสนผาศนู ยกลางประมาณ 50 เซนติเมตร ข้ึนไป ขากลอง ทําดวยไมเน้ือแข็งกลึงสวยงาม จํานวน 3 ขา ตอกยึดติดกับตัวกลอง ลูกสักหรือหมุดกลอง ทําดวยไมไผตง ไมโท หรือไมเนื้อแข็งชนิดอ่ืน ๆ คุณภาพเสียงโพน ดังกังวาน ตามมาตรฐานเสียงโพน ขนาดใหญ ไมต ีโพน ทําดว ยไมเ นอื้ แข็ง เชน ไมส าวดาํ ไมต ะเคียนหิน ไมร ักเขา กลงึ ยา งดี จาํ นวน 1 คู

10 ผลกระทบทเี่ ปนประโยชนหรอื สรางคณุ คา วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง นอกจากมีหนาที่หลักในการจัดการศึกษาดานนาฏดุริยางคศิลปแลว หนาที่สําคัญหลักอีก ประการหน่ึง คือ การทํานุบํารุงรักษา อนุรักษ และสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่นภาคใตดานภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจน ดนตรีและการแสดงพื้นบานภาคใต โดยเฉพาะในพื้นท่ี 7 จังหวัดของภาคใตตอนลาง การจัดเก็บองคความรูเร่ืองการผลิตโพน เพ่อื ธรุ กิจชมุ ชน ถอื เปน งานสําคญั ที่จะสรา งประโยชนแ ละคณุ คา ใหก บั องคก รและชุมชน ในดา นตา ง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี 1. เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการสรางรายไดใหกบั คนในชมุ ชน 2. มีการอนุรักษ สืบทอด และเผยแพรภูมิปญญาทองถิ่นดานดนตรีพื้นบานภาคใต (โพน) ปองกันการสูญหายของ ภูมปิ ญญาแขนงนี้ 3. เพมิ่ ศักยภาพการแขง ขนั และความอยรู อดของวิถีวฒั นธรรมทอ งถ่ิน 4. บุคลากรขององคก รเกดิ การพัฒนา และองคกรเปนองคกรแหงการเรยี นรู 5. เพิ่มขดี ความสามารถในการตัดสินใจและการวางแผนดําเนินการเพ่ือที่จะอนุรักษภูมิปญญาพ้ืนบานไดอยางรวดเร็ว และเปน รูปธรรม 6. สรางความรัก ความสามัคคีปรองดองสมานฉันทระหวางบุคลากรภายในองคกร ครูภูมิปญญาทองถ่ิน ตลอดจน ชาวบานในชุมชนพน้ื ท่ภี าคใต 7. เพม่ิ คุณคาและมลู คาใหอ งคก รเปน แหลง ขอ มูล และสรางเครอื ขายใหก บั ผทู ่ีสนใจจากภายนอกเขามาศึกษาได 8. เปล่ยี นวัฒนธรรมอํานาจในแนวดิง่ ไปสวู ฒั นธรรมความรูในแนวราบ ใหทกุ คนไดม ีสิทธ์กิ ารเรียนรูเ ทา เทยี มกนั 9. สามารถกระตนุ การมสี ว นรวมในการอนรุ ักษศลิ ปวัฒนธรรมทอ งถน่ิ ภาคใต ใหเปนรปู ธรรมมากขน้ึ 10. รวบรวมองคความรูท ไ่ี ดจ ากการจดั เกบ็ ในรูปแบบของเอกสารทางวชิ าการ เพ่ือใชป ระโยชนในการศึกษาตอ ไป ปจจัยแหง ความสําเร็จ ปจจัยที่กอใหเกิดความสําเร็จในการดําเนินการจัดทําองคความรู เรื่อง “การผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน” จากการลง พื้นท่ีภาคสนามพบปะพูดคุยแลกเปล่ียนความรูกับครูภูมิปญญาชาวบานท่ียังคงผลิตโพนในจังหวัดพัทลุง ทําใหคณะกรรมการ ไดรับทราบถึงสภาพปญหาและแนวทางในการจัดการความรูดานภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวกับการผลิตโพน เพ่ือใชงานสนอง ความตองการของสังคมและจําหนาย ในอดีตที่ผาน ๆ มา ประเด็นหลักท่ีไดทราบจากการพูดคุยกับครูภูมิปญญาชาวบานท่ี ยงั คงผลิตโพนในจังหวัดพัทลุงอยูในปจจุบัน พบวากอนหนานี้ยังไมมีหนวยงานทางราชการหรือองคกรใด เขามาใหความรูดาน การตลาด หรือมาศึกษาและจัดเก็บขอมูลจากทานในลักษณะน้ีเพ่ือสงเสริมการมีรายไดของคนชุมชน การดําเนินการจัดเก็บ ขอมูลของคณะกรรมการ KM ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น ของวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ถือเปนหนวยงาน แรกท่ีใหความสนใจ และมีการจัดการความรูที่เปนระบบ กําหนดขอบเขตไวชัดเจน และนําเอาTechnology ท่ีทันสมัยมา ประยกุ ตใชกบั ขอ มลู ซึ่งนําไปสกู ารปฏิบตั ไิ ดจริง นอกจากนยี้ งั มีปจ จยั อนื่ ๆ ที่เกือ้ หนนุ ใหเ กดิ ผลสําเร็จ ดังน้ี 1. วฒั นธรรมและพฤตกิ รรมของคนในองคกร ที่มีเจคติที่ดีในการแบงปนความรู และนําความรูที่มีอยูเปนฐานในการ ตอ ยอดความรขู องคนรุนใหมตอไป คณะกรรมการมีความรูความสามารถเชิงลึกในหัวขอท่ีจัดเก็บ มีการทุมเท เสียสละเวลาใน การทํางาน มีเปาหมายเดยี วกัน และใหเ กียรติผรู ว มงาน 2. ครูภูมิปญญาทองถ่ิน เปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญดานการผลิตโพนของจังหวัดพัทลุงมาเปนระยะเวลาชานาน และ ใหความรว มมอื ในการจัดเก็บรวบรวมองคค วามรู เสียสละเวลาในการตรวจสอบประมวลและกล่ันกรองความรอู ยา งดียงิ่

11 3. เนื่องจากองคความรูดานภูมิปญญาทองถิ่นท่ีเก่ียวกับการผลิตโพนในจังหวัดพัทลุง เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่มี คุณคาของทองถ่ินยังไมมีหนวยงานใดเขาไปจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและนําออกเผยแพร จึงไดรับการตอบรับจากชุมชน ทอ งถน่ิ และผูสนใจเปนอยา งมาก 4. สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป ผูบ ริหาร ใหความสาํ คัญและสนับสนุนงบประมาณในการดําเนนิ การซง่ึ มคี าใชจ ายคอนขางสงู 5. ผูรับผิดชอบมีการวางแผนการจัดการความรู กําหนดตัวช้ีวัด วางแผนระยะเวลา ในการทํางาน เลือกและกําหนด กลมุ เปา หมายที่ชดั เจนตรงประเด็น และการดาํ เนินการเปน ไปตามระบบและขัน้ ตอนของหลักการจัดเกบ็ รวบรวมองคค วามรู ปญหา อุปสรรคและแนวทางการแกไข แนวทางแกไ ข องคกรควรสนบั สนนุ และแนะนาํ แหลงขอ มูลตางๆ ปญ หาและอปุ สรรค สําหรบั คนควา ขอมลู อาทิ หนงั สอื เอกสาร ตาํ รา 1. คณะกรรมการ มีความรคู วามชาํ นาญดา นทักษะ หรือแนะนาํ ผเู ชีย่ วชาญเพื่อเปนที่ปรึกษา การปฏิบัติ แตไมม คี วามถนดั ในเชิงทฤษฎี ควรเลือกเวลาทีเ่ หมาะสมสําหรบั ดาํ เนินงานตาม โครงการ เชน ชว งปดภาคเรียน เปนตน 2. คณะกรรมการแตล ะคนมภี าระทต่ี องรับผิดชอบ ชีใ้ หเหน็ ถงึ ความสาํ คัญและประโยชนของการพัฒนา หลายดา น หาเวลาทีว่ างพรอมตรงกันคอนขางยาก ศกั ยภาพตัวบุคลากรและองคกร รวมถึงรางวัลท่ีจะไดรับ 3. บคุ ลากร ไมอยากทาํ KM จดั สรร สื่ออุปกรณ Technology รองรับการใชง าน 4. องคกรไมม ี Technology ที่ทันสมยั รองรับการ สงเสริมใหมีการบรู ณาการองคค วามรดู า นภูมปิ ญญา ทาํ งานของคระกรรมการ ทอ งถ่ินมาปรบั ใชอยางเปนระบบ 5. องคก รยังขาดการบูรณาการการนาํ เอาภูมปิ ญญา ทอ งถน่ิ สูการเรียนการสอน การวจิ ัย และทาํ นบุ ํารงุ แสวงหาชองทาง เปดโอกาสการเรยี นรูหลากหลาย ศลิ ปวฒั นธรรมอยา งเปนระบบ ชองทาง 6. ชอ งทางการประชาสัมพนั ธใ หบุคคลทวั่ ไปเขา มา วิทยาลัย ควรชี้แจงผลการดําเนนิ งานผลความสาํ เรจ็ ศึกษาเรียนรูมีไมมากเทาท่ีควร ของงานใหท ป่ี ระชมุ ทราบ เพ่ือสรางขวัญและให 7. การยกยองชมเชยผลงานท่ีเกดิ ขึ้น ใหบ ุคคลทัง้ กาํ ลงั ใจผปู ฏบิ ตั งิ าน ภายในและภายนอกไดทราบ ยงั ไมเปนรปู ธรรม ความทา ทายตอ ไป ผลสาํ เรจ็ จากการดําเนนิ การจดั เก็บองคค วามรู เรอื่ งการผลติ โพนเพ่ือธุรกิจชุมชน ของวทิ ยาลัยนาฏศิลปพัทลุง นํามา ซึ่งความภาคภูมิใจของคนในองคกร สรางขวัญและกําลังใจใหกับคณะกรรมการดําเนินงานและผูมีสวนเกี่ยวของ สราง วัฒนธรรมองคกรที่สามารถดึงดูดคนเกงใหเขามาทํางานเพิ่มข้ึน อีกทั้งยังสรางแรงบันดาลใจใหเกิดการสรางงานดานการ อนรุ กั ษ สืบทอด ศลิ ปวฒั นธรรมและภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ สง ตอ ใหคนรุนหลัง การจัดเก็บขอมูลในคร้ังน้ีมีขอจํากัดในเรื่องของเวลา และงบประมาณ จึงไดขอมูลที่เกี่ยวของทั้งดานทุน การตลาด การเพ่ิมมูลคาเพียงบางสวนเทาน้ัน จากการพูดคุยกับครูภูมิปญญา ทอ งถน่ิ ทานมคี วามประสงคทจี่ ะใหหนว ยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เชน หนว ยงานราชการ พาณิชยจังหวัด พัฒนาชุมชน เขามา สง เสรมิ การสรางรายไดข องคนในชมุ ชนอยางจริงจงั ตลอดจนสง เสริมสนบั สนุนประเพณีวฒั นธรรมทอ งถนิ่ สืบไป

การจัดการงานศลิ ปเ พ่อื ธรุ กจิ ชมุ ชนบานตะปอนใหญ จ.จนั ทบรุ ี The art knowledge management for local business of Ban Tapon Yai, Chanthaburi - วาที่รอยตรชี ูชาติ สรอยสงั วาลย - นางนาํ้ ทพิ ย สรอยสงั วาลย ครูชาํ นาญการพิเศษ วิทยาลยั นาฏศิลปจนั ทบุรี chuchatsoi05@gmail.com ครชู ํานาญการพิเศษ วิทยาลัยนาฏศิลปจนั ทบรุ ี namtipsoisangwan@gmail.com บทสรุป องคความรูดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น เปนพันธกิจหนึ่งที่สําคัญของ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี การดําเนินงานสามารถตอบสนองยุทธศาสตรของสถาบันบัณฑิต- พัฒนศิลป ในยทุ ธศาสตรท่ี 3 อนรุ ักษ พัฒนา สืบสานและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม แนวทางหนึ่ง จากหลายๆ แนวทาง คือการดําเนินงานมีการลงพ้ืนท่ีและรวมกับภูมิปญญาทองถิ่นทําการศึกษา ศลิ ปวฒั นธรรมภูมปิ ญญาทองถ่ินและดําเนินการถอดเปนองคความรูรวมกัน ซ่ึงจะสะทอนคุณคาที่ เปนเอกลักษณ อัตลักษณของงานศิลปที่สามารถตอบสนองนโยบายดวยการพัฒนาศักยภาพของ ภมู ปิ ญญาทองถ่นิ และสนับสนนุ การจัดการงานศิลปเพอ่ื ธุรกจิ ชุมชนเพื่อนําไปใชประโยชนตอองคกร ทั้งภายในและภายนอก วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรีมีนโยบายในการดําเนินงานการจัดการความรูดานทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ิน อยางเปนระบบ เพื่อสงเสริมและพัฒนาการใหบริการทาง วิชาการท่ีหลากหลายแกชุมชนในทองถิ่นและสอดคลองกับความตองการของชุมชนดวย ชุมชน บานตะปอนใหญ จ.จันทบุรี เปนชุมชนแบบอยางท่ีมีความโดดเดนเรื่องการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ิน และชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จันทบุรี สามารถนําภูมิปญญา ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นมาผลักดันสูธุรกิจของชุมชนไดเปนอยางดี เปนที่ยอมรับทั้งในระดับจังหวัด และในระดบั ชาติ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี จึงใหความสําคัญในการจัดการความรู(Knowledge Management : KM) เร่ือง “การจัดการงานศิลปเพื่อธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จันทบุรี” ผลการดําเนินการการจัดการความรูเรื่องการจัดการงานศิลปเพ่ือธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จันทบรุ ี เปน แนวทางในการใหบริการเรื่องทํานบุ ํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมภมู ิปญญาทองถิ่นกับการสราง ธรุ กจิ ของชมุ ชนตางๆ ทีห่ ลากหลายไดใ นโอกาสตอ ไป คาํ สําคญั ธรุ กิจชมุ ชน การจัดการงานศิลป ชมุ ชนบานตะปอนใหญ

Summary The art knowledge sustainment of the local wisdom called the local strategy of Chanthaburi Dramatic Arts College. The procedure gives direct strategy of the college. It is the third: preservation, development and promotion. The process could be done by interviewing and data collecting on their art and culture wisdom from the community. Art unique can fulfill the strategy by sustain the efficiency of local wisdom and local business that provide internal and external benefits. The aim of Chanthaburi Dramatic Arts College is the systematic knowledge management of the local art sustainment and its preservation. By systematic process of the management, it delivers and develops the diverse academic service of local community. In according with the desire of the people in the Ban Tapon Yai community, it is a good mdel of their art preservation and their sustainment of their local wisdom. It can be used to enhance their business which be accepted in the province and nation. Chanthaburi Dramatic Arts College gives the community an important of the knowledge management. The art knowledge management for local business of Ban Tapon Yai, Chanthaburi gave the result of the study. It can be applied as a guideline of the service on the local wisdom preservation and the sustainment of local business on divers occasions. Keywords: Local business, Art knowledge management, Ban Tapon Yai community

บทนํา ชุมชนบานตะปอนใหญ ไดดําเนินธุรกิจการทองเที่ยวของชุมชนบานตะปอนใหญเปน แบบเชิงนิเวศ เชิงประวัติศาสตรนั้น ไดกําหนดใหทุกวันเสารจัดกิจกรรม ฟนฟูตลาดโบราณ กิจกรรมยอนอดีตความเจริญรุงเรือง ท่ีมีประวัติศาสตรมายาวนานกวา ๒๗๐ ปและการดําเนิน ธุรกิจดังกลาวนั้น ชุมชนบานตะปอนใหญมีการจัดการงานศิลปโดยนําศิลปะการแสดง นาฏศิลป – ดนตรี มาเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของกระบวนการสรางธุรกิจของชุมชนบานตะ ปอนใหญ แต กระบวนการ รูปแบบและสภาพปญหาในการจัดองคความรูการนํา ศิลปะการแสดงนาฏศิลป – ดนตรียังขาดความชัดเจน วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรีได ดําเนินการลงพื้นที่พบผูนําชุมชนและภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความพรอม ความตองการของชุมชนในการจัดการนําศิลปะการแสดงนาฏศิลป – ดนตรี และดําเนินการ ถอดเปนองคความรูรวมกัน ซ่ึงจะสะทอนคุณคาท่ีเปนเอกลักษณ อัตลักษณของงานศิลปที่ สามารถตอบสนองนโยบายดวยการพัฒนาศักยภาพของภูมิปญญาทองถิ่นและสนับสนุนการ จัดการงานศลิ ปเพื่อธรุ กิจชมุ ชนเพื่อนาํ ไปใชประโยชนต อ องคก รท้ังภายในและภายนอก วิธกี ารดําเนินงาน การจัดการความรเู รื่องการจัดการงานศิลปเพ่ือธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จันทบุรีมี กระบวนการดําเนนิ งานแลกเปล่ียนเรียนรู ของผูแทนจากบคุ ลากรของวิทยาลัยฯ โดยแตงตั้งเปน คณะกรรมการดําเนินงาน ประกอบดวย ประธาน กรรมการ เลขานุการ พรอมกําหนดหนาที่ใน การดําเนินกิจกรรมตามขั้นตอน จัดทําปฏิทินกําหนดการประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู จากน้ันได ดําเนินการจัดการประชุมแลกเปล่ียนเรียนรูโดยคณะกรรมการทุกทานไดเตรียมความรูที่จะ แลกเปล่ยี นเรยี นรรู วมกัน ตามแผนท่ีไดกําหนดไวในปฏิทิน คณะกรรมการดังกลาว ลงพื้นที่พบ ผูนาํ ชุมชนและภมู ิปญญาของชุมชนบา นตะปอนใหญเพ่ือทําการศึกษาการจัดการธุรกิจของชุมชน บานตะปอนใหญ เพื่อรวบรวมขอมูลเก่ียวกับความพรอม ศักยภาพของชุมชนและความตองการ รับการสนับสนุนจากวิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรีในการจัดการนําศิลปะการแสดงนาฏศิลป – ดนตรี ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการจัดการงานศิลปของขุมชนบานตะปอนใหญมาสนับสนุนการ จัดการธรุ กจิ ของชุมชน คณะกรรมการดาํ เนินการถอดเปนองคความรูรวมกัน และนําองคความรู ที่ไดนําเสนอในที่ประชุมของผูนําชุมชนและภูมิปญญาชุมชนบานตะปอนใหญเพื่อใหมีการ

ตรวจสอบองคความรูใหมีความถูกตอง นําองคความรูที่ไดมาเผยแพรผานท่ีประชุม จัดทํา เอกสารแผน พบั เพอื่ ชมุ ชนไดมรี ปู แบบในการจัดการงานศิลปเ พอ่ื ธุรกิจของชมุ ชนบานตะปอนใหญ และชุมชนบานตะปอนใหญไดนําองคความรูที่ไดมาดําเนินการอยางมีระบบและมีรูปแบบชัดเจน เปนชมุ ชนท่ีมีศักยภาพเปนแหลงศึกษาดูงานการนําองคความรูการจัดการงานศิลปเพ่ือธุรกิจของ ชุมชนแกช มุ ชนใกลเ คยี งและภูมภิ าคอน่ื ๆ การจัดการงานศลิ ปข องชุมชนบานตะปอนใหญ การจัดการงานศิลปของงชุมชนบานตะปอนใหญ จะเนนเรื่องการนําศิลปะการแสดง นาฏศิลป – ดนตรีมาจัดการเพ่ือธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญนั้น เปนการนําเสนอในรูปแบบที่ มีความจําเพาะและมีการปรับรูปแบบใหมีความนาสนใจ ซึ่งการนําศิลปะการแสดงนาฏศิลป – ดนตรีมาจัดการเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของกระบวนการสรางธุรกิจของชุมชนบานตะปอนใหญ เพื่อกระตุนการดําเนินกิจกรรมการคาขายภายในตลาดโบราณ ๒๗๐ ป และการดําเนินธุระ กิจการทองเท่ียวของชุมชนบานตะปอนใหญซึ่งเปนแบบเชิงนิเวศ เชิงประวัติศาสตรชม โบราณสถาน ชมภูมิประเทศ การเรียนรูวิถีชีวิตของชุมชนบานตะปอนใหญ รูปแบบการนํา ศิลปะการแสดงนาฏศิลป ดนตรี มานําเสนอในโอกาสตางๆของชุมชน พบขอพิจารณา ดังน้ี ๑. การจัดการแสดงสื่อใหเห็นวิถีชีวิตของชุมชนบานตะปอนใหญในอดีตและยังคง อนุรักษ สืบสานในปจจุบัน ไดแก การแสดงชักกะเยอเกวียนเพื่อสื่อถึงตํานานแหเกวียนผาพระ บาท” ประเพณีแหงศรัทธา ณ วัดตะปอนนอย วัดตะปอนใหญ วัดเกวียนหัก การแสดงหงส ฟางเพ่ือสื่อวิถีชีวิตการละเลนของหนุม สาวชวงฤดูการเก่ียวขาว ๒. การนําเสนอศิลปะการแสดงนาฏศิลป – ดนตรีมีรูปแบบที่นาสนใจทั้งในเรื่องลีลา การแสดงที่พัฒนาโดยนําแบบแผนของนาฏศิลปซึ่งมีความออนชอย โดยมีวิทยาลัยนาฏศิลป จันทบุรีใหการสนับสนุนการฝกซอม และออกแบบการนําเสนอใหสอดคลองกับบริบทของ ชุมชนบานตะปอนใหญเชน การรําฟอนชอนกุงมีเสียงดนตรีที่สนุกสนานและลีลา ทาทางสื่อสื่อ ถึงภูมิประเทศ และวิถีชีวิตปาชายเลนที่มีอาชีพจับกุงของชุมชนบานตะปอนใหญ อุปกรณการ แสดงท่ีประดิษฐจะใชสวนของตนจากไมในปาชายเลนของชุมชนมาทาํ ตะโพงชอนกุง เปนตน

๓. การพัฒนารูปแบบการแตงกายของผูแสดงใหสอดคลองกับบริบทของกิจกรรมนั้นๆ เนนการใชทรัพยากรในทองถิ่น เปนชุดการแตงกายแบบไทยๆซึ่งผูแสดงสามารถปฏิบัติงาน ธุรกิจคาขาย หรือปฏิบัติงานตามบทบทบาทในขณะประกอบงานธุรกิจของชุมชน ซึ่งชุดการ แสดงมีความสวยและงายตอการแตง เชน นุงผาโจงกระเบน หรือนุงซิ่น สวมใสเสื้อแขน กระบอก ชุดแสดงเปนชุดของผูแสดงที่สวมใสในงานบุญ งานเทศกาลของชุมชนซึ่งมีความ สวยงาม สวนเครื่องประดับชุดการแสดงและอุปกรณพรอมฉากการแสดงที่ประดิษฐขึ้นตาม แนวคิดการใชวัสดุในทอ งถน่ิ และสือ่ ถึงอาชีพชองชมุ ชน เชน ชาวนา ชาวสวน ๔. การจัดการงานศิลปเพ่ือสื่อถึงการละเลน ประเพณีในอดีต ที่คงสืบสานใหคงมีอยูใน ปจจุบันนัน้ ไดค ํานึงถงึ รูปแบบท่ีเกิดจากการประสานความคิดของสมาชิกทุกวัย มีความทันสมัย สามารถเลาเรื่องวิถีชีวิตของชุมชนตะปอนใหญ เสียงดนตรีมีประเภทเครื่องประกอบจังหวะ เชน กลองยาว สวนบทรองอาจแตงขึ้นใหมจะปรับเปลี่ยนตามโอกาสหรือเหตุการณเฉพาะการ ของชุมชนบานตะปอนใหญ เชน บทรองเพลงหงสฟางท่ีบทรองเพลงหงสฟางท่ีการนอมนํา โครงการในหลวงเพื่อการรณรงครักษาสิ่งแวดลอม หรือการแนะนําแหลงทองเที่ยว การแนะนํา สภาพภูมิศาสตรของชุมชนบานตะปอนใหญ ๕. การดําเนินการจัดการดานนาฏศิลป – ดนตรี นั้นชุมชนบานตะปอนใหญตองการให มีการพัฒนาทักษะ พัฒนาความสามารถนาฏศิลป – ดนตรี ของสมาชิกของชุมชนบานตะปอน ใหญ โดยเกิดจากผูนําของชุมชนรวมกับสมาชิกของชุมชนเสนอแนวคิด ประชุมรวมกัน รวม ปฏิบัติ รวมกันพัฒนารูปแบบการแสดงใหนาสนใจ มีความทันสมัย โดยอาศัยการมีสวนรวมของ องคภายนอกชุมชนบานตะปอนใหญไดแก วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรีมาทําการสอน ฝกซอมให สมาชิกผูสูงวัย ผูประกอบการของชุมชน ฝกซอมใหนักเรียนของโรงเรียนในชุมชนบานตะปอน ใหญ โรงเรียนของอําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ซึ่งการพัฒนาทักษะ และการพัฒนา ความสามารถนาฏศิลป – ดนตรีของสมาชิกในชุมชน ทําใหผูแสดงนาฏศิลป – ดนตรี ของ สมาชิกของชุมชนบานตะปอนใหญ ทําใหผูแสดงมีความหลากหลายวัยทั้งเยาวชน ผูสูงวัย และ หลากหลายอาชีพท้ังผูประกอบการคา ผูประกอบการเกษตร หรือผูประกอบอาชีพราชการก็มา ดาํ เนินการจัดการงานศิลปของชุมชนเอง เนื่องจากการฝกซอมจะดําเนินการชวงเลิกงาน หรือ

วันหยุด สงผลใหเกิดความยั่งยืน ทําใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง ตระหนักในบทบาทของ สมาชิกที่จะทําใหเกิดรายได ๖. การจัดการงานศิลปดวยการนํานาฏศิลป – ดนตรีมาจัดการธุรกิจของชุมชนทําให ไดรับความสนใจในวงกวางจากชุมชนสูจังหวัดและสูระดับประเทศ ดวยการจัดการดาน นาฏศิลป – ดนตรีนั้นมีความงาม มีความประณีต เกิดความสุนทรียะและเกิดความประทับใจ แกผูคนที่มาเย่ียมชมธุรกิจของชุมชนบานตะปอนใหญ สงผลใหเกิดการประชาสัมพันธ บอกเลา เรื่องราวของชุมชนบานตะปอนใหญผานสื่อในชองทางตางๆมีทั้ง face book, Line, Instagram, Messenger ซึ่งทําโดยผูที่มาเยี่ยมชมและสามารถประชาสัมพันธไดรวดเร็ว ลด ความใชจาย เพียงอาศัยการประทับใจในความงาม พอใจในความสุนทรียะ ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนนิ งาน จากการจัดการความรู พบวา การจัดการงานศลิ ปของชมุ ชนบา นตะปอนใหญ ท่ีเนนการ นาํ ศิลปะการแสดงนาฏศิลป – ดนตรีมาจัดการเพื่อธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญนั้น นอกจากมี การพัฒนารูปแบบการนําเสนอขางตนแลวชุมชนเพิ่มโอกาสใหมีขึ้นเปนประจําทุกสัปดาหโดยใช ลานถนนของตลาดทําการแสดง โดยผูประกอบการคาขายจะออกมารํากลองยาวตอนรับแขก ตางบานตางเมืองที่มาเยี่ยมชม และมาจับจายซื้อหาสิ้นคาพื้นบานของชุมชนดวย สิ่งนารักๆ เหลาน้ีนับเปนอีกเสนหหนึ่งของตลาดโบราณ ๒๗๐ ปที่ไดรับความสนใจมากยิ่งขึ้น จัดใหมีเวที การแสดงถาวรและลานศิลป เพื่อสนับสนุนธุรกิจการทองเที่ยวของชุมชน ชุมชนบานตะปอน ใหญยังมีแผนการจัดการเริ่มต้ังแตการฝกซอมของเยาวชนของสถานศึกษา การฝกของผูแสดง กลุมผสู งู วัย และกลุมผูป ระกอบการคา โดยคํานึงถึงความตองการและศักยภาพของคนในสมาชิพ ในชุมชนบานตะปอนใหญในดานงานศิลปทําใหเกิดเสนห ซ่ึงพบวาโดยพ้ืนฐานของสมาชิกใน ชุมชนเกี่ยวกับงานศิลปดานนาฏศิลปและดนตรีน้ันทั้งผูประกอบการคา ผูสูงวัย และเยาวชน ของชุมชนดะปอนใหญมีอุปนิสัยชอบรองรําทําเพลง มีความสนใจใหความสําคัญในการพัฒนา ตนเองเพ่ิมเติมท้ังความสามรถในการแสดงนาฏศิลปและดนตรี อีกท้ังผูนําชุมชนบานตะปอนใหญ รวมกันจัดทําแผนการดําเนินการ และติดตามผล ตลอดจนมีการเช่ือมโยงสมาชิกของชุมชน กับ ชุมชนอื่น และองคกรชุมชนตางๆ ใหสามารถทํางานรวมกัน เพื่อประสานประโยชนใหครอบคลุม มิตแิ ละพื้นท่ีใหกวางข้ึน และกําหนดปฏิทินตลอดทั้งปในการนําเสนอตามโอกาสวันสําคัญๆของ

ชุมชน ซ่ึงมีความหลากหลายของกิจกรรม ทั้งกิจกรรมศาสนา ประเพณีที่มีในโบราณใหมีการ ฟนฟู การนําชมแหลงทํากินของชุมชน นําชมโบราณสถานผานศิลปะการเลาเร่ือง เกิดการ ถายทอดองคความรูจากรุนผูสูงวัย สูรุนเยาว ในรูปของการจัดการงานศิลปของชุมชนบานตะ ปอนใหญ การจัดการงานศิลปของชุมชนบานตะปอนใหญดังกลาวขางตนสงผลใหการดําเนินการ ธุรกิจตลาดโบราณ ๒๗๐ ป งาน “มหาสงกรานตตะปอน ตํานานแหเกวียนผาพระบาท” ประเพณแี หง ศรทั ธา ณ วดั ตะปอนนอย วัดตะปอนใหญ วดั เกวยี นหกั งานยอนวันวาน หรรษา วิถีไทย@ตะปอนใหญ และธุรกิจการทองเที่ยวของชุมชนบานตะปอนใหญสามารถเพิ่มจุดขาย เพ่ิมรายไดใหชุมชนมีความมั่นคง พ่ึงพาตนเองเกิดความยั่งยืนไดดวยชุมชนเอง เนนการใช ทรัพยากรเฉพาะขอบเขตที่มีอยูไ มหวงั พงึ่ ทรพั ยากรจากทีห่ า งไกล สรุป การจัดการงานศิลปเพ่ือธุรกจิ ชมุ ชนบานตะปอนใหญ มจี ุดเดน ในเรอ่ื ง - มกี ารทําแผนประชาสัมพันธธรุ กจิ และการจัดการงานศลิ ป ทีม่ ีความหลากหลายชอ งทาง - ไดร บั การสนบั สนุนจากภาครัฐทั้งเรอ่ื งงบประมาณ รว มประชุมกลมุ ยอยและการนําเสนอ ขยายผลในระดับจังหวดั ระดบั ภาค - การทาํ งานทีป่ ระสานกันระหวางเจาหนาท่ปี กครองทองถน่ิ ผนู าํ ชุมชนหมบู า นตา งๆทัง้ ภายในและภายในชมุ ชน - การสรา งความเขา ใจ ใหคนในชุมชนเห็นความสาํ คัญของการจัดการงานศิลปเพื่อการ อนรุ กั ษ และสรา งรายไดส อดคลองกับศกั ยภาพของคนในชุมชน - มคี วามพรอมของบคุ ลากร ความพรอมของสถานที่ และมกี ิจกรรมที่หลากหลาย - มกี าํ หนดใหมีกจิ กรรม ดา นนาฏศลิ ป และดนตรี ของคนในชมุ ชนทุกครง้ั ในการ ประกอบการเปดตลาดในวาระพเิ ศษ การตอ นรบั แขกผูมาเยอื นในเทศกาลของชุมชน เชน งานมหาสงกรานตตะปอน งานบญุ ประเพณีฟน งานวดั ตะปอนใหญ งานยอนรอย วันวาน และการเขา มาเย่ียมชมศึกษาดงู านโดยผูเ ขาชมมสี ว นรว มการแสดงออกรวมกบั ผู ปรกอบธุรกิจคา ขายเชนการชักคะเยอ เกวยี นผาพระบาท

บรรณานกุ รม ประเวศ วะสี. 2535. การพัฒนาพลังสรางสรรคขององคกร. กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพหมอ ชาวบา น. วนั ชัย วฒั นศพั ท. 2543. การมีสว นรวมของประชาชนในการตัดสนิ ใจของชุมชน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกลา. วิจารณ พานชิ . 2548. การจดั การความรู ฉบบั นกั ปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันสงเสรมิ การจดั การ ความรเู พื่อสังคม. รังสรรค เครอื คํา. 2554. พฒั นา: หลักการและแนวคิดเก่ยี วกับการมีสวนรวมของประชาชนใน การพฒั นา. วารสารโครงการหลวง, 15(1), 53-58.

1 บทความการจดั การความรู้ ประจาปี งบประมาณ 2561 สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป์ ช่ือเร่ือง เทคนคิ การเขยี นรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ชอื่ -สกุล นางจฬุ าลกั ษณ์ สุทนิ หนว่ ยงาน วิทยาลยั ช่างศิลปนครศรีธรรมราช การจดั การความรดู้ า้ น การวจิ ัย การสรา้ งสรรค์ Email address Thaithat05@gmail.com บทสรุป การสร้างสรรค์ผลงานวิชาการด้านศิลปะ เป็นการทํางานสร้างสรรค์ศิลปะท่ีเน้นผลด้าน การปฏิบัติเป็นหลัก โดยให้ความสําคัญท้ังในส่วนของกระบวนการปฏิบัติ การทดลองในขณะ ปฏิบัติ และผลของการศกึ ษาทดลองที่ได้ทําการบันทึกข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ การทํางานสรา้ งสรรค์ โดยการปฏิบัติเป็นเคร่ืองมือที่นําไปสู่ความรู้ใหม่ ทั้งน้ีอาจเน้นถึงความรู้ที่ได้จากกระบวนการ ศึกษาและสร้างสรรค์ ที่แสดงออกด้วยความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของผลงาน (Originality) เป็น การพัฒนาความรู้ในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ โดยผลสรุปท่ีได้คืองานสร้างสรรค์ทางศิลปะ เป็น การศึกษาหรือการค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล คําตอบ หรือข้อสรุปท่ีจะ นําไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือการนําความก้าวหน้าทางวิชาการไปประยุกต์ใช้ในการ สร้างสรรค์ผลงาน ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวเกิดประโยชน์ในการนําไปใช้เพ่ือพัฒนาด้านการศึกษา การสร้างนวัตกรรมใหม่ การสร้างสรรค์หรืออนุรักษ์ด้านศิลปวัฒนธรรม หรือการพัฒนาผลงานใน ลกั ษณะงานสร้างสรรคท์ างศลิ ปะเพื่อขอตาํ แหน่งทางวิชาการ เป็นตน้ คาสาคญั : การเขียนรายงาน การสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ Summary Art academic creation is art experiment and art practice to find the results. The creators have to record the results systematically. Art creation by experiment and practice lead to the new knowledge, new innovation, and original works of art. The creators study from the technical methods to find information, answers, or conclusion that make them to find academic progress. The academic progress is useful for educational development, economic development, cultural development, and cultural conservation, and so on.

2 Keywords : Report Writing Art Creation บทนา การวจิ ยั และการสร้างสรรค์ จดั เป็นผลงานทางวิชาการท่เี ป็นพนั ธกิจหลักของสถานศึกษา ผลงานสร้างสรรค์จดั เป็นนวัตกรรมท่ีสําคัญที่ครู อาจารย์ผ้สู อนศิลปะจะต้องดาํ เนนิ การ โดยระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาได้กําหนดให้ครู อาจารย์ผู้สอนจะต้องทําผลงานวิจัย หรือผลงาน สร้างสรรค์อย่างน้อยปีละ 1 เร่ือง (คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ (2560) : 12) โดยปรากฏว่าตัวบ่งชี้ในมาตรฐานการประเมินด้านผลงาน สร้างสรรค์ของครู อาจารย์ผู้สอนยังไม่ประสบผลสําเร็จเท่าท่ีควร เน่ืองจากครู อาจารย์ส่วนใหญ่มี ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเป็นท่ีประจักษ์ แต่ยังขาดทักษะในการเขียนรายงาน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ (รายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยช่างศิลป นครศรธี รรมราช ประจาํ ปี 2560 : 35) การเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ เป็นการเขียนผลงานทางวิชาการท่ีเป็น เนื้อหาสาระซ่ึงมีวิธีการเฉพาะ โดยเน้ือหาสาระและความสําคัญของเร่ืองที่จะสร้างสรรค์ ประกอบด้วยหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตและวิธีการในการดําเนินการสร้างสรรค์ รวมไปถึงการวิเคราะห์ ประเมินผล อธิบายผลของงานสร้างสรรค์ โดยสรุปโครงสร้างในการ ดําเนินการเขียนรายงานผลงานสร้างสรรค์เมื่อเทียบเคียงกับวิธีการในการดําเนินงานวิจัย อาจ กล่าวได้ว่ามีส่วนท่ีเหมือนกันเม่ือเทียบเคียงกันกับระเบียบวิธีวิจัย แต่กรรมวิธีของงานสร้างสรรค์ ศิลปะวิชาการอาจจะมีวิธีการที่อิสระ มีการปฏิบัติการ มีข้ันตอน มีการสืบค้นข้อมูล ทบทวน อ้างอิงองค์ความรู้ทางศิลปกรรม มีการวิเคราะห์ปัญหา มีการสังเคราะห์องค์รวม ทางการ ปฏิบัติการให้สําเร็จเป็นงานสร้างสรรค์ และอาจนํามาวิเคราะห์แยกแยะเป็นสาระความรู้ ความหมายทางวิชาการในภายหลัง หรืออาจกําหนดแนวคิด เขียนวิเคราะห์ สังเคราะห์ไปพร้อม กับการทํางานสร้างสรรค์ ซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยธรรมชาติของการสร้างสรรค์ศิลปะในแต่ละ ความคิด บริบท และแนวทาง ผลสรุปสุดท้ายท่ีสําเร็จออกมาเป็นรูปแบบเอกสาร เนื้อหาสาระจะ เป็นการวิเคราะห์แยกแยะ และประเมินผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินแต่ละบุคคล เพื่อตอบคําถาม อธิบายความ ในหลักการและเหตุผลของการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตน โดยสรุปได้ชัดเจน เป็นรูปแบบเอกสาร ซ่ึงก็คือผลสรุปที่เป็นสาระองค์ความูร้ทางวิชาการในลักษณะผลงาน สร้างสรรค์ศิลปะ ซ่ึงเกิดประโยชน์ในการอนุรักษ์ หรือพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม หรือการสร้าง นวัตกรรมใหม่ เพ่ือการศึกษาค้นคว้า เรียนรู้ เพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา ด้านวิชาการ การ ค้นควา้ สิง่ ใหมเ่ พ่ือพัฒนาหรือต่อยอดทางธุรกจิ อนั ก่อใหเ้ กิดการพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจ สรา้ งรายได้ และเป็นการสืบทอดทางวัฒนธรรมของชนรนุ่ หลังตอ่ ไป (ปรชี า เถาทอง. www.mua.co.th) วธิ ดี าเนนิ การ การจัดการความรู้ เรื่องเทคนิคการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ มี วัตถุประสงค์เพ่ือ (1) รวบรวมองค์ความรู้เก่ียวกับเทคนิคการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ (2) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ เกี่ยวกับเทคนิคการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

3 ท้ังภายในและภายนอกองค์กร รวมท้ังประชาชนท่ัวไปที่สนใจนําองค์ความรู้ไปใช้ โดยการ ดําเนนิ งานจดั การความรู้ ได้ดาํ เนนิ การ 7 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1.การค้นหาความรู้ ดําเนินการประชุม ติดต่อประสานงาน เพอ่ื คน้ หาผูเ้ ช่ียวชาญเก่ียวกับ เทคนิคการเขยี นรายงานการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ เป็นกรรมการและเปลี่ยนเรยี นรู้ 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ จดั ประชมุ เพื่อให้คณะกรรมการ KM นําเสนอความรู้ 3.การจัดการความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบ นาํ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการนําเสนอแลกเปลีย่ นเรยี นร้ใู นแต่ ละครั้งมากล่นั กรอง และจัดหมวดหมู่ จัดพมิ พเ์ ป็นเอกสาร 4.การประมวลและกล่ันกรององค์ความรู้ คณะกรรมการ KM นาํ ข้อมลู ที่ไดจ้ ากการจัด หมวดหม่มู าปรบั ภาษาให้เปน็ ภาษาท่สี ามารถเขา้ ใจไดง้ ่าย จดั ทาํ รปู เลม่ แจกจา่ ยแก่คณะกรรมการ เพ่ือตรวจสอบแกไ้ ข 5.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยนําองค์ความรู้ท่ีจัดรูปเล่มแจกจ่ายในห้องสมุด วิทยาลัยฯ เผยแพร่ ไปยังนักศึกษา ครู อาจารย์ และผู้สนใจ รวมทั้งแจ้งให้ทราบถึงช่องทางการ เข้าถงึ ข้อมลู 6.การเข้าถึงความรู้ นําข้อมูลเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบเอกสาร ลงเวปไซด์ เฟสบุ๊ค และไลน์กลมุ่ รวมท้งั ประชาสมั พนั ธ์องค์ความรู้เรอ่ื งเทคนิคการเขยี นรายงานการสร้างสรรคผ์ ลงาน ศิลปะ แก่นักศึกษา ครู อาจารย์ ผู้สอน ได้นําแนวทางไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งประชาชนผู้สนใจนํา ความร้ไู ปใช้ 7.การเรียนรู้ ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญทําการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนําองค์ความรู้จากการ แลกเปลีย่ นเรียนรเู้ ผยแพร่แก่กลมุ่ เป้าหมาย และผสู้ นใจโดยทั่วไป สรุปและอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน สรุปผลการดาเนนิ งาน การนําเสนอองค์ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการความรู้ เร่ืองเทคนิคการ เขียนรายงานการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ สามารถสรุปประเด็นความรู้ได้ ดังน้ี เทคนิคการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ในรูปแบบมาตรฐาน ในรูปแบบที่ เป็นทางการ แบง่ ออกเป็น 5 บท ดงั น้ี -บทที่ 1 บทนํา ท่ีมา ความสําคัญของปัญหา ในบทน้ีเขียนโดยระบุให้เห็นถึงความสําคญั ความจําเป็นในการดําเนินการสร้างสรรค์ ซึ่งจําเป็นต้องสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ นโยบาย ยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย หรือการสร้างสรรค์ ของประเทศ ศึกษาเอกสาร ตํารา บทความที่เก่ียวข้อง นํามาใช้อ้างอิงให้เห็นความสําคัญ เขียน วัตถุประสงค์ และประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการดําเนินการสรา้ งสรรคอ์ ย่างชัดเจน และจะตอ้ งเขียนให้ ครอบคลมุ หวั ข้อในบทที่ 1 ซึง่ ประกอบด้วยท่ีมา ความสําคัญของปัญหา วัตถปุ ระสงค์ คําถามวิจัย นิยามศพั ท์ที่เก่ยี วขอ้ ง เป็นต้น

4 -บทท่ี 2 การเขียนในบทนี้เขียนเก่ียวกับเอกสารงานวิจัย หรือทฤษฎีการ สร้างสรรค์ที่เก่ียวกับงานสร้างสรรค์ท่ีได้ดําเนินการ เมื่อได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร หรือทฤษฎีท่ี เก่ยี วข้องแลว้ จงึ นําหลกั ทฤษฎีดังกล่าวมาใชส้ ร้างสรรคเ์ ป็นผลงานท่ีไดส้ รา้ งสรรค์ -บทท่ี 3 เขียนนําเสนอเกี่ยวกับเทคนิควิธีการท่ีดําเนินการสร้างสรรค์ ซ่ึงจะต้อง ระบุเทคนิควิธีการเพ่ือนําเสนอเกี่ยวกับแนวทางในการสร้างสรรค์ การใช้ทัศนธาตุหรือสื่อต่าง ๆ หรอื การทดลอง เช่น สือ่ วัสดุ เทคนคิ กระบวนการในการสร้างสรรค์ เพื่อเปน็ ผลการทดลอง หรือ คน้ หาส่ิงใหม่ ดําเนินการสร้างสรรค์ -บทท่ี 4 วิเคราะหผ์ ลทไ่ี ด้จากการสรา้ งสรรคต์ ามวิธกี ารในบทท่ี 3 ซึง่ จะมีภาพ ประกอบการสร้างสรรค์ ผลงานตามขั้นตอนและกระบวนการในการศึกษาทดลอง ปรากฏออกมา ดงั ตวั อย่างท่ผี ู้ นําเสนอไดน้ ําเสนอผลงานที่ไดจ้ ากการดําเนินการตามเทคนิควธิ ีการของแตล่ ะท่าน ที่ปรากฏในเอกสารสว่ น ของการแลกเปลย่ี นองคค์ วามรู้ -บทที่ 5 เป็นส่วนบทสรุปผลท่ีได้จากการสร้างสรรค์ ซึ่งสรุปผลการสร้างสรรค์ ท่ีได้จากบทท่ี 4 โดยมีวิธีดําเนินการจากบทที่ 3 มีวัตถุประสงค์ในการดําเนินการตามบทท่ี 1 ใช้ หลักทฤษฎีในการศึกษาจากบทที่ 2 และสรุปผลสอดคล้องกับงานสร้างสรรค์ที่มีความสอดคล้อง สัมพันธ์ กับการ สร้างสรรค์ของใครบ้างที่ตนที่ได้เขียนไว้ในหัวข้อซ่ึงอยู่ตอนสุดท้ายในบทที่ 2 ดงั น้ันจะเหน็ ได้ว่าการเขียนทั้ง 5 บทจะมีความสมั พันธก์ ันอยา่ งชัดเจน นอกจากนี้ในการเขียนรายงานการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ส่วนสําคัญนอกเหนือจากบท ที่ 1 – บทที่ 5 แลว้ จะต้องมีส่วนประกอบตา่ ง ๆ ที่สาํ คัญ ดงั น้ี -บรรณานุกรม หรือรายการอ้างอิงซ่ึงเป็นการอ้างถึงที่มาของเอกสาร ส่ือ หรือข้อมูลจาก ระบบออนไลน์ที่ผู้สร้างสรรค์ผลงานได้ศึกษาค้นคว้า โดยผู้เขียนต้องศึกษาหลักการเขียนอ้างอิง อยา่ งเปน็ ระบบ -หลักการต้ังค่าหน้ากระดาษ (Format) ในการจัดพิมพ์การเขียนรายงานการสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะ เช่นระยะขอบกระดาษ การวางย่อหน้า การกําหนดขอบกระดาษ ขนาดตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งหลักการต้ังค่าหน้ากระดาษมักจะกําหนดในคู่มือหลักการเขียนงานสร้างสรรค์ ในบาง สถาบันมีการจัดทําคู่มีอหลักการเขียนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จัดเป็นรูปเล่มเพื่อใช้เป็น แนวทางเดียวกันในการปฏิบัติซึ่งมีการกําหนดรายละเอียดส่วนประกอบต่าง ๆ ไว้ด้วย เช่น บทคัดยอ่ กติ ตกิ รรมประกาศ สารบญั ปกนอก ปกใน เปน็ ต้น -ภาคผนวก เป็นส่วนเพิ่มเติมรายละเอียดท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ท่ีจําเป็นจะ นําเสนอ เช่น รายละเอียดเก่ียวกับท่ีปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และ ประวตั ผิ ู้เขยี น เปน็ ต้น

5 การนาองคค์ วามร้ไู ปใช้ การจัดการความรู้เร่ือง เทคนิคการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ได้สําเร็จ ลุล่วงไปด้วยดีตามกระบวนการการจัดการความรู้ สง่ ผลให้เกดิ การนําองคค์ วามรู้ไปใช้ได้อย่างเป็น รปู ธรรม เช่น ครู อาจารย์ผู้สอนในวิทยาลัยชา่ งศลิ ปนครศรีธรรมราช ไดน้ ําองค์ความรู้ไปใช้ในการ เขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตน ซึ่งเป็นผลงานการเขียนรายงานในการศึกษาต่อ ระดับปริญญาโท นําองค์ความรู้ไปใช้ในการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามพันธกิจ ของวิทยาลัยฯ นําองค์ความรู้ไปใช้ในการเขียนรายงานเพ่ือขอตําแหน่งทางวิชาการ และนําไปใช้ ในการสอนหลักการเขียนรายงานการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ แก่นักศึกษาในวิทยาลัย ฯ นอกจากน้ีสถานศึกษาเครือข่ายที่ได้ทําการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และคณะ ได้นําองค์ความรู้ไปใช้ในการเขียนรายงานการ สร้างสรรค์ และเผยแพร่สู่นักศึกษาในมหาวิทยาลัยฯ และวิทยาลัยฯ ได้นําองค์ความรู้เผยแพร่แก่ ผสู้ นใจโดยทั่วไป ได้เข้าถงึ องคค์ วามรู้และนาํ องค์ความรไู้ ปใช้ ตวั อยา่ งผลงานสรา้ งสรรคท์ ่ีคณะกรรมการนาเสนอ ชื่อผลงาน จิตวญิ ญาณแหง่ วถิ ีชวี ติ ชาวเล: สองฤดู เทคนิค สอ่ื ผสม อวน,เชอื ก,ลกู ทุ่น,เย่ือกระดาษและสีอะคริลิค ขนาด 100 x 120 ซ.ม. ผู้สรา้ งสรรค์ นายชเู กยี รติ สุทิน

6 ชือ่ ผลงาน ธรรมชาติแดนใต้ เทคนิค ปน้ั อิพ็อคซี่ ขนาด 25 x13 x 27 ซ.ม. ผสู้ รา้ งสรรค์ นายวัชระ พงษไ์ พบูลย์ ชอ่ื ผลงาน สิงโตสแี ดง เทคนคิ ส่ือผสมสีบาตกิ ,ผา้ ,เทยี น,การสลดั สีและเทียน ขนาด 150 x 200 ซ.ม. ผูส้ ร้างสรรค์ นายพรี วฒั น์ อินนุพฒั น์

7 ผู้สร้างสรรค์ นางสาวกณั ฐิมา แสงอรุณ อภปิ รายผลการดาเนนิ งาน การจัดการความรเู้ ร่ืองเทคนิคการเขียนรายงานการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะได้ดําเนินการ ตามกระบวนการจัดการความรู้และสําเร็จลุล่วงไปด้วยดีโดยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญ และ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ โดยปัจจยั สาํ คัญแห่งความสาํ เรจ็ ได้แก่ 1. ความร่วมมือและความมุ่งม่ันของครู อาจารย์ คณะกรรมการจัดการความรู้ และ ผบู้ ริหารวทิ ยาลัยฯ ได้ร่วมกันผลักดนั ให้การดาํ เนนิ งานสําเร็จตามเปา้ หมาย 2. การกําหนดนโยบาย และการส่งเสริมด้านงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ ซึ่งถือเป็นอีกหน่ึงปัจจัยสําคัญที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรม เกิดประโยชน์แก่ อาจารย์ นักศึกษา สงั คม และประเทศชาติ บรรณานกุ รม คูม่ ือการประกันคุณภาพการศกึ ษา ระดับอาชีวศกึ ษา สถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป์. (2560). รายงานผลการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน วิทยาลยั ช่างศลิ ปนครศรีธรรมราช ประจําปี 2560. ปรชี า เถาทอง. เขา้ ถงึ จาก www.mua.co.th ................................................................

โครงการประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ฯ ครั้งที่12 “การจัดการความรูส้ มู่ หาวทิ ยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) ดา้ นการเรียนการสอน ชอ่ื เรื่อง/แนวปฏิบตั ิท่ดี ี รูปแบบการจดั การเรียนร้ดู นตรีไทยระดับประถมศกึ ษาสชู่ มุ ชน THE MODEL OF LEARNING MANAGEMENT IN THAI MUSIC FOR ELEMENTARY EDUCATION TO THE COMMUNITY ช่ือ-นามสกุล ผู้นาเสนอ นางธนันญภา บุญมาเสมอ E-Mail address : aphatsara2516@hotmail.com โทร. 089 2458589 ชอ่ื สถาบันการศกึ ษา วิทยาลยั นาฏศิลปจันทบุรี หน่วยงาน สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์ กระทรวงวัฒนธรรม เบอร์โทรสาร 039 313214

บทสรปุ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยระดับประถมศึกษาสู่ชุมชน เป็นการจัดเก็บองค์ความรู้ด้านการสอนดนตรีไทย จากครูผู้สอนที่มีประสบการณ์และทักษะการสอนนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 โดยจัดทาเป็นแบบฝึก ทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยเบื้องต้น ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย และจะเข้ เพ่ือนาไปใช้เป็นแนวทางในการสอนดนตรีไทย สาหรับนกั ศกึ ษาของวิทยาลยั นาฏศิลปจนั ทบรุ ี ระดับช้นั ปรญิ ญาตรีปที ี่ 4 – 5 ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนและ ฝึกประสบการณ์สอนในสถานศึกษา รวมทั้งครูผู้สอนดนตรีไทยในโรงเรียนและผู้ที่สนใจทั่วไป การนาแบบฝึกทักษะปฏิบัติ เครอื่ งดนตรีไทยเบ้ืองต้นไปใช้ ทาให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐานการปฏิบัติดนตรีไทยที่ถูกต้องอย่างเป็นขั้นตอนตามหลักการสอน มีความ เขา้ ใจและมีพฒั นาการทางการเรยี นดนตรไี ทยอย่างรวดเร็ว คาสาคัญ การจัดการเรียนรู้ ดนตรไี ทย ระดับประถมศึกษา ชุมชน Summary The model of learning management in Thai Music for elementary education level to the community is a collection of knowledge in teaching Thai music from experienced teachers and teaching skills to students in grade 4 – 6 by providing a basic practice of Thai musical instruments Saw U, Saw Dung, Klui, Chakhe to be used as a guideline for teaching Thai music for students of the Chanthaburi College of Dramatic Arts bachelor degree level 4 – 5 in practicing professional experience during study and practicing teaching experience in educational institutions including Thai music teachers in schools and those interested in general introduction to the practice of basic Thai musical instruments practice. Make the learners have the basics of performing Thai music correctly as a step by step instruction have understanding and development in learning Thai music quickly. Key Words : Learning Management Thai music Elementary education Community

บทนา วิทยาลยั นาฏศิลปจนั ทบรุ ี เป็นสถาบนั ท่จี ดั การศกึ ษาเฉพาะทางด้านนาฏศิลป์และดนตรีแห่งเดียวในภาคตะวันออก มีการกาหนดยุทธศาสตร์ ที่จัดการเรียนการสอน และพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ ไทยแลนด์ 4.0 โดยมีเป้าประสงคก์ ารสรา้ งคุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการ ดังน้ันนักศึกษาควรได้รับการส่งเสริมให้เป็นผู้ที่ มีทักษะการสอนอย่างครูมืออาชีพ โดยการเรียนการสอนนักศึกษามีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนในระดับช้ัน ปรญิ ญาตรปี ที ี่ 4 และฝกึ ประสบการณส์ อนในสถานศึกษา ระดับปริญญาตรีช้ันปีท่ี 5 โดยนักศึกษาต้องสอนดนตรีไทยในระดับ ประถมศึกษา การเรียนดนตรีไทย การปฏิบัติเบ้ืองต้นมีความสาคัญอย่างมาก หากได้รับการสอนท่ีถูกวิธีจะทาให้มีทักษะที่ดี นาไปสู่การปฏิบัติดนตรีในขั้นสูงต่อไปอย่างมีคุณภาพ ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษานาไปใช้เป็นแนวทางการสอนในระดับ ประถมศึกษา จงึ ได้เลอื กประเดน็ การจัดการความรู้ เรอ่ื ง รปู แบบการจัดการเรยี นร้ดู นตรไี ทยระดับประถมศกึ ษาสชู่ ุมชน เป้าหมายสู่ชุมชน ได้แก่ โรงเรียนในจังหวัดจันทบุรีท่ีมีการจัดการเรียนการสอนในระดับ ประถมศึกษาท่ีนักศึกษาไปฝึก ประสบการณ์สอน ทดลองสอน ได้นารูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยระดับประถมศึกษา ไปเป็นแนวทางและปรับใช้อย่าง เหมาะสมเป็นการวางรากฐานท่ีถูกต้อง เหมาะสมกับช่วงวัยของผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ดี ผู้เรียนปฏิบัติได้รวดเร็ว และมี ความสุขในการเรยี น วธิ ีการดาเนนิ งาน การจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน เร่ือง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยระดับประถมศึกษาสู่ชุมชน เป็นการ รวบรวมองค์ความรู้จากครูผู้สอนของภาควิชาดุริยางคศิลป์ ที่มีประสบการณ์ในการสอนดนตรีไทยให้กับเด็กนักเรียนในระดับ ประถมศึกษา เช่น สอนพิเศษ สอนภาคฤดูร้อน การบริการทางวิชาการ ฯลฯ ซ่ึง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ได้สามารถนาไปเป็น แนวทางในการใชส้ อนดนตรไี ทย ในโรงเรยี น หรือกิจกรรมโครงการบรกิ ารดา้ นการสอนให้กับชุมชน และยังเป็นแนวทางให้นักศึกษาท่ี เตรยี มฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ระหว่างเรียนและฝึกประสบการณ์สอน ได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการสอนดนตรีไทยได้อย่างมืออาชีพ โดยมีกระบวนการดาเนินงานเป็นขั้นตอน ดงั น้ี 1. คณะกรรมการจัดการความรู้ได้ประชุมร่วมกับคณะผู้บริหาร หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย เพื่อพิจารณาประเด็นเรื่อง ท่ีจะดาเนินการ KM ด้านการเรียนการสอน ที่มีความจาเป็นต่อการพัฒนานักศึกษาของวิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี ให้เป็น ครูมืออาชีพ จึงได้ประเด็นในเรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยในระดับประถมศึกษาสู่ชุมชน โดยองค์ความรู้ที่ได้ สามารถนาไปพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะการสอนดนตรีไทยให้เด็กนักเรียนในระดับประถมศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร ศกึ ษาศาสตรบัณฑิต ผลติ ครู 5 ปี โดยนกั ศึกษาทจี่ บจากวิทยยั นาฏศลิ ปจันทบรุ ี เป็นครสู อนอย่างมืออาชพี 2. เม่ือได้หัวข้อเรื่องแล้ว คณะกรรมการได้ประชุมปรึกษาหารือ เลือกคณะทางานที่มีคุณสมบัติตามท่ีกาหนดคือ มีประสบการณ์สอนดนตรีไทยให้กับนักเรียนในระดับประถมศึกษาเป็นอาจารย์ในงานสโมสร หรือครูผู้สอนที่มีความรู้ Active Learning จงึ ไดพ้ จิ ารณาเลอื กคณะกรรมการ ดังนี้ 1. นางธนันญภา บญุ มาเสมอ ประธานกรรมการ 2. นายสาทดิ แทนบุญ กรรมการ 3. นายสบุ นิ ศรที อง กรรมการ 4. นางภรภัทธ์ กุลศรี กรรมการ 5. วา่ ทีร่ ้อยตรีชูชาติ สร้อยสงั วาลย์ กรรมการ 6. นายบรรเลง พระยาชัย กรรมการ 7. นายกติ ตภิ พ จน่ั รอด กรรมการ 8. นายกฤษฎา นุม่ เจรญิ กรรมการ 9. นางสาวธนพัต ธรรมเจริญพงศ์ กรรมการและเลขานุการ

3. จากน้ันจึงได้กาหนดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ถึงแนวทางและวิธีการท่ีจะได้มาซ่ึงองค์ความรู้ โดยจัดเสวนา เชิญครู ผู้มีประสบการณ์สอนดนตรีในระดับประถมศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนมาเสวนาร่วมกับ คณะกรรมการ KM ของวทิ ยาลัยฯ โดยมีขอ้ สรุปถงึ แนวทางรว่ มกนั ดงั นี้ 1) กาหนดกลมุ่ เปา้ หมายผเู้ รยี นเปน็ นักเรียนในระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 2) กาหนดจดั ทาเป็นแบบฝึกการปฏบิ ตั ิเคร่อื งดนตรี กล่มุ เครอ่ื งสายไทย ได้แก่ ซอดว้ ง ซออู้ ขลุ่ย และจะเข้ 3) แบบฝกึ เร่มิ ต้งั แต่การฝึกหัดเบื้องตน้ (ระยะเวลา 2 คร้ัง ๆ 3 ชว่ั โมง) 4) แบบฝกึ ปฏิบตั เิ พลงสั้น ๆ ไดแ้ ก่ เพลงแขกบรเทศ 2 ช้ัน และช้นั เดยี ว 5) แบบฝกึ ปฏิบัติเพลงเบอ้ื งต้น ไดแ้ ก่ เพลงแป๊ะ 3 ชั้น 6) แบบฝึกปฏิบตั เิ พลงสนุกสนาน ไดแ้ ก่ เพลงพมา่ เขว เพลงเตย้ โขง เพลงตาลีกีปสั 7) แบบฝกึ ปฏิบัตเิ พลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี ภาพที่ 1 ประชุมคณะกรรมการ KM ภาพที่ 2 แลกเปลีย่ นเรยี นรตู้ ามประเด็น 4. เมอ่ื ไดก้ าหนดแนวทางร่วมกันแล้ว จึงได้เกบ็ ขอ้ มลู ประสบการณ์สอนของแต่ละท่านที่ได้สั่งสมมาอย่างยาวนาน โดย การสัมภาษณ์ สอบถาม ให้เล่าเร่ืองประสบการณ์สอนท่ีได้ประสบมา ตลอดจนข้อคิดต่าง ๆ ในการแกปัญหา เทคนิคการสอน ทัศนคติแนวความคิด ฯลฯ จากนั้นได้นามาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ให้เป็นระบบ สามารถค้นหาและนาไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว โดยจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จดั ทาเปน็ แผ่นเอกสารขอ้ มลู เผยแพรข่ ัน้ ตอนและกระบวนการสอนของแต่ละคนท่ีไดข้ ้อมลู มา 5. จากนัน้ ได้นาข้อมูลของแต่ละท่านมาวิพากษร์ ่วมกนั แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ประสบการณ์ จนกระทัง่ ตกผลึกเปน็ องค์ความรู้ ดงั นี้ แนวทางในการสอนดนตรีไทยเบื้องตน้ 1) สอนใหน้ กั เรยี นเกิดความรักและศรทั ธาในดนตรีไทย 2) สอนให้รู้จักประเภทของดนตรไี ทยและท่ีมา ต่าง ๆ 3) เลือกผู้เรยี นให้เหมาะสมกับเครอื่ งดนตรที เ่ี ล่น วยั ของผู้เรียน ความพร้อมของผู้เรยี น 4) ออกแบบการสอนเบื้องต้นโดยการทาเปน็ แบบฝึกใหน้ ักเรยี นปฏิบตั ิ 5) สอนการปฏบิ ตั ิเบ้ืองตน้ ต้ังแตก่ ารน่งั การเลน่ การจบั ฯลฯ 6) ตอ่ เพลงตามแบบฝกึ เพอ่ื ให้รู้และเข้าใจปฏบิ ตั ิเบื้องต้นได้

7) เมือ่ ปฏิบตั ิเบื้องตน้ ได้แลว้ จึงได้ต่อเพลงท่ีมที านองง่าย ๆ คุ้นหู โดยเลอื กเพลง ลาวจ้อย เพลงลาวเสี่ยงเทียน เพลงแขกบรเทศ 2 ชั้น และช้ันเดียว 8) เมอื่ แตล่ ะกลมุ่ ปฏบิ ัติจบเพลงแลว้ จงึ ได้นามาฝกึ ซ้อมรวมวงด้วยกนั และมเี ครื่องประกอบจังหวะ ตคี วบคุมจงั หวะ 9) ทบทวนบทเรียนท้งั หมด 10) บรรเลงรวมวง 6. จากนั้นได้จัดกิจกรรมให้นักศึกษาปริญญาตรีปีที่ 4 จานวน 14 คน มาเรียนรู้ วิธีการสอน การต่อเพลง เทคนคิ การสอน การใชจ้ ติ วทิ ยาในการสอนใหเ้ หมาสมกับวัยของนกั เรยี นในระดับประถมศึกษา ต้ังแต่การสอนปฏิบัติเบื้องต้น การต่อเพลง ตามลักษณะวิธีปฏิบัติท่ีถูกต้องของเคร่ืองดนตรีแต่ละชนิด ได้แก่ ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย และจะเข้ โดยให้นักศึกษา เลอื กเครอ่ื งมือตามความถนัดและวิชาเอกของตนเอง และให้มีการแลกเปลี่ยนสอนเคร่ืองดนตรีท่ีไม่ใช่เครื่องมือเอกของตนเอง ซึ่งทาให้นักศึกษามีความแม่นยา มีความมั่นใจ มีความรู้ที่หลากหลายสามารถนาไปถ่ายทอดให้กับนักเรียนระดับประถมศึกษา ได้อย่างดี 7. ใหน้ กั ศกึ ษาปรญิ ญาตรี มาเปน็ ครชู ว่ ยสอนร่วมกับครูประจาการ ในกิจกรรมการสอนโครงการค่ายศิลปะ (การสอน ดนตรไี ทย) ที่วิทยาลัยนาฏศลิ ปจันบุรี จดั ขน้ึ ในวันที่ 18 - 19 สงิ หาคม 2561 ภาพท่ี 3 สอนขิม ภาพที่ 4 สอนป่พี าทย์ 8. เมือ่ เสรจ็ สิ้นกจิ กรรมการสอนโครงการค่ายศิลปะ (การสอนดนตรีไทย) แล้ว จึงได้ ประชุมเพื่อแลกเปล่ียนความรู้ถึง ผลทเี่ กดิ ขึ้น ข้อดี ข้อทีค่ วรพฒั นา และปรบั ปรุงรูปแบบการสอนใหม้ ีความสมบูรณ์มีประสิทธภิ าพยงิ่ ขน้ึ 9. จัดสัมมนาในหัวข้อ เรื่อง เทคนิคและวิธีการสอนดนตรีไทยในยุค 4.0 โดยบูรณาการร่วมกับรายวิชาสัมมนา ดนตรไี ทยทีน่ กั ศกึ ษาได้จัดโครงการสมั มนาดนตรีไทย ภาพที่ 5 วิทยากร ภาพที่ 6 นกั ศกึ ษาเข้าร่วมกจิ กรรม

10. จากนั้นนาข้อมูลท้ังหมดมารวบรวม จัดทาเป็นเอกสารแนวทางการสอนดนตรีไทยเบ้ืองต้น ของเครื่องดนตรี ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย และจะเข้ โดยผ่านการกล่ันกรองตรวจสอบข้อมูลจากคณะกรรมการ แล้วเผยแพร่ให้กับนักศึกษาผ่านทาง ไลนก์ ลุ่ม เว็ปไซต์ และจดั ทาเปน็ เอกสาร ผลและอภปิ รายผลการดาเนินงาน จากการดาเนินการจัดการความรู้ (KM) ด้านการเรียนการสอน เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยระดับ ประถมศึกษาสู่ชุมชน ท่ีได้กาหนดในระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 เน่ืองจากผู้เรียนในระดับนี้มีความพร้อมที่จะรับรู้ เข้าใจ และสามารถรับผิดชอบตนเองได้แล้ว ดังน้ันจึงได้สรุปองค์ความรู้ท่ีได้ แบ่งเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ แนวทางการสอน ดนตรีไทยเบ้ืองตน้ และการสอนดนตรไี ทยเบอ้ื งตน้ โดยใชแ้ บบฝึกสาหรบั นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 แนวทางในการสอนดนตรไี ทยเบื้องตน้ 1. สอนใหน้ ักเรียนเกดิ ความรักและศรทั ธาในดนตรีไทย 2. สอนให้รู้จักประเภทของดนตรไี ทยและทมี่ า ต่าง ๆ 3. เลือกผู้เรียนใหเ้ หมาะสมกับเคร่อื งดนตรีทีเ่ ล่น วยั ของผเู้ รียน ความพรอ้ มของผ้เู รยี น 4. ออกแบบการสอนเบือ้ งต้นโดยการทาเป็นแบบฝึกใหน้ ักเรยี นปฏิบัติ 5. สอนการปฏิบัตเิ บ้ืองตน้ ต้งั แต่การนงั่ การเลน่ การจบั ฯลฯ 6. ตอ่ เพลงตามแบบฝกึ เพื่อให้รูแ้ ละเข้าใจปฏิบตั เิ บือ้ งต้นได้ 7. เมือ่ ปฏิบตั ิเบอ้ื งต้นได้แลว้ จึงไดต้ ่อเพลงทมี่ ีทานองง่าย ๆ คุ้นหู เชน่ เพลงลาวจ้อย เพลงลาวเสี่ยงเทยี น เพลงแขกบรเทศ 2 ช้ัน และช้นั เดียว 8. เมือ่ แตล่ ะคนปฏบิ ตั จิ บเพลงแล้วจงึ ไดน้ ามาฝึกซอ้ มรวมวงดว้ ยกนั และมเี คร่ืองประกอบจงั หวะตีควบคมุ จังหวะ 9. บรรเลงรวมวง การสอนดนตรีไทยเบื้องต้นโดยใช้แบบฝกึ สาหรับนักเรยี นระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 4 -6 การเรียนดนตรีไทย การปฏิบัติเบื้องต้นมีความสาคัญอย่างมาก หากได้รับการสอนที่ถูกวิธีจะทาให้มีทักษะที่ดี นาไปสู่การปฏิบัติดนตรีในข้ันสูงต่อไปอย่างมีคุณภาพ ซ่ึงในการสอนดนตรีไทยเบ้ืองต้นน้ีจะเป็นการฝึกหัดเครื่องดนตรีท่ีอยู่ใน วงเครือ่ งสายไทย จานวน 4 ชนิด ไดแ้ ก่ ซอดว้ ง ซออู้ ขลุ่ยเพียงออ และจะเข้ ดงั แบบฝึกทักษะปฏิบัติเครอื่ งดนตรี ดังน้ี

1. แบบฝกึ ทกั ษะปฏิบตั เิ คร่ืองดนตรี “ซอด้วง” เบ้ืองตน้ ตวั อยา่ งแบบฝึก การฝึกทกั ษะการสี “สายเปล่า” 1) สายเปล่า สายท้มุ 4 พยางค์ และสายเอก 4 พยางค์ สายเอก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ร - - - ร - - - ร - - - ร สายทุ้ม - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - - - - - - - - - - - - - - 2) สายเปลา่ สายท้มุ 2 พยางค์ และสายเอก 2 พยางค์ สายเอก - - - - - - - - - - - ร - - - ร - - - - - - - - - - - ร - - - ร สายทุ้ม - - - ซ - - - ซ - - - - - - - - - - - ซ - - - ซ - - - - - - - - 3) สายเปลา่ สายท้มุ 1 พยางค์ และสายเอก 1 พยางค์ สายเอก - - - - - - - ร - - - - - - - ร - - - - - - - ร - - - - - - - ร สายทุม้ - - - ซ - - - - - - - ซ - - - - - - - ซ - - - - - - - ซ - - - - 2. แบบฝึกทกั ษะปฏิบตั เิ ครือ่ งดนตรี “ซออู้” เบ้อื งตน้ ตวั อยา่ งแบบฝกึ การฝึกทักษะการสี “สายเปลา่ ” 1) สายเปลา่ สายทุม้ 4 พยางค์ และสายเอก 4 พยางค์ สายเอก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ สายทมุ้ - - - ด - - - ด - - - ด - - - ด - - - - - - - - - - - - - - - - 2) สายเปล่า สายทมุ้ 2 พยางค์ และสายเอก 2 พยางค์ สายเอก - - - - - - - - - - - ซ - - - ซ - - - - - - - - - - - ซ - - - ซ สายทุ้ม - - - ด - - - ด - - - - - - - - - - - ด - - - ด - - - - - - - - 3) สายเปลา่ สายทุ้ม 1 พยางค์ และสายเอก 1 พยางค์ สายเอก - - - - - - - ซ - - - - - - - ซ - - - - - - - ซ - - - - - - - ซ สายทุ้ม - - - ด - - - - - - - ด - - - - - - - ด - - - - - - - ด - - - -

3. แบบฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิเคร่อื งดนตรี “ขลยุ่ ” เบอ้ื งตน้ (ขลยุ่ เพยี งออ) ตวั อยา่ งแบบฝึก การฝึกทกั ษะการเป่าตาแหนง่ น้ิว “ล่าง - กลาง – สงู ” 1) ปิดเปิดนวิ้ ล่าง – กลาง – บน ลกั ษณะไล่ระดับเสยี ง ตา่ ไปสู่เสียง สงู มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ด มอื ซ้าย - - - ด - - - ด - - - ด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 2) ปิดเปิดนวิ้ บน – กลาง – ลา่ ง ลักษณะไล่ระดับเสียง สูง ไปส่เู สียง ตา่ มอื ขวา - - - ด - - - ด - - - ด - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - ซ - - - - มือซา้ ย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ด 3) ปิดเปิดนวิ้ ล่าง – กลาง – บน ลักษณะไล่เรียงเสยี ง ต่า ไปสู่เสียง สูง มอื ขวา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ด มอื ซา้ ย - - - ด - - - ร - - - ม - - - ฟ - - - - - - - - - - - - - - - - 4) ปิดเปิดนวิ้ บน – กลาง – ล่าง ลักษณะไล่เรียงเสียง สูง ไปสู่เสียง ตา่ มือขวา - - - ด - - - ท - - - ล - - - ซ - - - - - - - - - - - - - - - - มือซา้ ย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฟ - - - ม - - - ร - - - ด 4. แบบฝึกทกั ษะปฏิบตั เิ ครือ่ งดนตรี “จะเข”้ เบ้ืองต้น ---ด ตัวอย่างแบบฝึก การฝึกดีดสายเปล่าทีส่ ายเอก ---- ---ข สายเอก - - - ด - - - ด - - - ด - - - ด - - - ด - - - ด - - - ด สายทมุ้ สายลวด น้วิ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ไม้ดดี - - - อ - - - ข - - - อ - - - ข - - - อ - - - ข - - - อ หมายเหตุ ทุกแบบฝกึ ควรฝึกฝนซ้าๆ จนเกดิ ความชานาญ และสามารถฝกึ ได้ท้งั ในและนอกเวลา

สรปุ การจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยระดับประถมศึกษาสู่ชุมชน เป็นองค์ความร้ทู ี่เก่ยี วกบั การสอนดนตรีไทยเบื้องต้นสาหรับสอนนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เป็นเคร่ืองดนตรี ในวงเครื่องสาย ได้แก่ ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย และจะเข้ โดยได้สร้างเป็นแบบฝึกทักษะปฏิบัติเคร่ืองดนตรีเบ้ืองต้น วิธีการสอนดังกล่าว สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการสอนดนตรีไทยได้เป็นอย่างดี เป็นประโยชน์กับนักศึกษาที่ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพและฝึกประสบการณ์สอน หรือสาหรับครูท่ีสอนในระดับประถมศึกษาตลอดจนผู้ที่สนใจทั่วไป การปฏิบัติดนตรีไทยแต่ละเคร่ืองมือ จะมีรูปแบบที่เป็นลักษณะเฉพาะท้ังวิธีการปฏิบัติการบรรเลง ท่วงทานอง จึงมี ความจาเป็นท่ีจะต้องเร่ิมฝึกเรียนอย่างเข้าใจและถูกหลักวิธีการ จากผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ในการสอน จะทาให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และมพี นื้ ฐานท่ีดีในการเรียนดนตรไี ทยในระดับทีส่ ูงข้ึน ขอ้ เสนอแนะ จากการดาเนินกิจกรรม และนาแนวทางการสอนดนตรีไทยเบ้ืองต้นไปถ่ายทอดให้กับนักศึกษาของวิทยาลัยนาฏศิลป จันทบุรี โดยนาแบบฝึกไปใช้สอนนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา พบว่า สามารถทาให้นักเรียนมีความเข้าใจและ เกิดการเรียนรู้ จดจาได้ดี สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีได้รวดเร็วข้ึน ทั้งยังนาไปท่องจาและทบทวนด้วยตนเองได้ จึงเห็นว่า ควรจัดทาแบบฝกึ เบอื้ งต้นสาหรบั เครื่องดนตรีชนิดอืน่ ดว้ ย เชน่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ เปน็ ตน้

การนําเสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี โครงการประชมุ สมั มนาเครือขายการจดั การความรูฯ คร้ังที่ 12 “การจัดการความรูสมู หาวิทยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management : Innovative University) สาํ หรับอาจารย ชอื่ เร่ือง/แนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ี การจดั การความรูสชู มุ ชนดว ยวงมโหรีอีสาน The Knowledge for Community by Mahoree Ensemble ช่ือ-นามสกุล ผนู าํ เสนอคนที่ 1 นายโยธนิ พลเขต ผูนาํ เสนอคนที่ 2 นายสทุ ธิพงษ นามประสพ ชื่อสถาบันการศกึ ษา สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป หนวยงาน วิทยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอ็ด เบอรโทรศพั ทมอื ถือ 0844746282 เบอรโ ทรสาร 043511244 E-Mail address tong251236@gmail.com

การจัดการความรูสูชมุ ชนดว ยวงมโหรอี ีสาน The Knowledge for Community by Mahoree Ensemble นาย.โยธิน พลเขต นายสุทธิพงษ นามประสพ บทสรุป การจัดการความรูสูชุมชนดวยวงมโหรีอีสานคณะ KM Teamไดเห็นความสําคัญของวงมโหรี อีสาน เนอ่ื งจากวงมโหรีอีสานถอื เปน องคค วามรูทอ่ี ยูในตัวบุคคล โดยเฉพาะบทเพลงในวงมโหรีอีสาน ของนายคําตา หมื่นบุญมีความสําคัญและนาสนใจดังกลาวมาขางตน คณะ KM Teamเล็งเห็น ความสําคัญของวงมโหรีอีสานที่ยังมีการบรรเลงอยูในจังหวัดรอยเอ็ดจึงสนใจศึกษาเรื่องดังกลาว โดยมีวัตถุประสงคคือ 1) เพ่ือจัดเก็บองคความรูในวงมโหรีอีสาน 2) เพ่ือถายทอดองคความรูดานวง มโหรีอีสานสูชุมชน ในดานขอมูลตางๆท่ีเก่ียวกับมโหรีอีสาน บทเพลง รูปแบบการแสดง พิธีกรรม ความเช่ือ รวมท้ังบทบาทความสัมพันธของวงมโหรีอีสานกับสังคม ดวยเหตุผลดังกลาวน้ีจึงเปนแรง บันดาลใจใหคณะ KM Teamทําการศึกษาคนควาเร่ืองวงมโหรีอีสานบานเทียมแข อําเภอจตุรพักตร พิมาน จังหวัดรอยเอ็ด เลือกศึกษาเฉพาะวงมโหรีอีสานบานเทียมแขน้ี ซึ่งเปนวงมโหรีท่ีมีช่ือเสียงใน ทองถ่ิน และยังเปนที่รูจักของสังคม และจังหวัดรอยเอ็ด คณะ KM Teamไดเล็งเห็นถึงความสําคัญ และตองการอนุรักษเชิดชูศิลปวัฒนธรรมทองถ่ินใหเปนที่รูจักแพรหลาย จึงนําองคความรูดังกลาวไป เผยแพรใหแก นักเรียน นักศึกษา และเยาวชนหรือผูที่มีความสนใจดานวงมโหรีอีสานในเขตจังหวัด รอยเอ็ดพรอมท้ังทําหนังสือราชการขอความอนุเคราะหใหนําองคความรู เร่ืองการจัดการความรูสู ชุมชนดวยวงมโหรีอีสานไปใชในทําวงมโหรีในชุมชน และจัดพิมพเนื้อหาเผยแพรทางเว็บไซตเพื่อให หนวยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป ตลอดจนผูที่สนใจมา ศึกษาวงมโหรีอีสาน การนําองคความรูดานวงมโหรีอีสานไปเผยแพรนั้น เปนการสงเสริมสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมและเปนประโยชนสําหรบั ผูท่ีจะศึกษาคน ควา ขอ มูลเกย่ี วกบั เรอื่ งวงมโหรีอสี านสืบตอไป คําสาํ คัญ : วงมโหรีอสี าน

Summary The management of the Mahoree Ensemble silver lump KM Team Saw the importance Side bolt Because of the show Considered as a body of knowledge By the poem of Mahoree Ensemble Is a verse that has content about knowledge History Buddhism Moral and moral aspects And now, Mahoree Ensemble million You are already very old If there is no recording or data storage Those knowledge may be lost along with the person With the objective of 1) To store the Mahoree Ensemble 2) To transfer knowledge about the Mahoree Ensemble's silver bolt Knowledge transfer The Lam's Bolt, Mahoree Ensemble, Million Baht Has brought the knowledge to be distributed to Students and youth People who are interested in Mor Lam Or those who are interested in Mahoree Ensemble in Roi Et Province Along with making official books, asking for help, bringing knowledge The management of the Mahoree Ensemble Used in the training of Mahoree Ensemble And published on the website for government agencies Personnel of the College of Student Affairs As well as those interested in studying the Mahoree Ensemble The introduction of knowledge in the management of Mahoree Ensemble To publish and study To promote and preserve the culture and arts. Key words : Mahoree Ensemble. บทนาํ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เปนภาคที่มีการละเลนและการแสดงที่เปน เอกลักษณของตนมากมาย แบงออกไปกลุมวัฒนธรรมได 3 กลุม ไดแก กลุมวัฒนธรรมโคราชเปน วัฒนธรรมของชาวไทยโคราชที่อาศัยอยูในจังหวัดนครราชสีมา อําเภอนางรอง อําเภอหนองก่ี อําเภอ ลําปลายมาศ และอําเภอเมืองของจังหวัดบุรีรัมย มีการละเลน และการแสดงท่ีเปนหลักคือ ลิเกและ เพลงโคราช กลุมวัฒนธรรมกันตรึม เปนวัฒนธรรมของชาวไทยเขมร และชาวไทยกวยที่อาศัยอยูใน จังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ อําเภอประโคนชัย อําเภอกระสัง อําเภอบานกรวด อําเภอสตึก และอําเภอ เมืองจังหวัดบุรีรัมย มีการละเลน และการแสดงที่เปนหลัก คือเจียมกันตรึม และปพาทย กลุม วัฒนธรรมหมอลาํ เปนวัฒนธรรมของชาวไทยลาวท่ีอาศัยอยูในจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร มุกดาหาร นครพนม หนองคาย เลย ขอนแกน อดุ รธานี สกลนคร รอยเอ็ด กาฬสินธุ มหาสารคาม ชัยภูมิ อําเภอ ราศีไศล อําเภอกันทรารมย และอําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ อําเภอรัตนบุรี และอําเภอทาตูม ขิง

จังหวัดสุรินทร อําเภอพุทไธสง อําเภอลําปลายมาศ อําเภอหนองก่ี อําเภอละหารทราย อําเภอสตึก อําเภอคูเมือง และอําเภอเมืองของจังหวัดบุรีรัมย อําเภอบัวใหญ อําเภอสุงเนิน และอําเภอประทาย ของจังหวัดนครราชศรีมา มีการละเลน และการแสดงท่ีเปนหลัก คือหมอลํา หมอแคน (เจริญชัย ชน ไพรโรจน. 2529:1 ) จารุวรรณ ธรรมวตั ร (2530 : 58) กลาววา ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี เปน รากฐานสําคัญที่ทําใหความเปนชาติดํารงอยูอยางม่ันคง กางสืบทอดมรดกทางสังคม การอนุรักษ รวมทงั้ การเปล่ยี นแลงในสว นทอี่ นั ควรบางประการของรูปแบบ เพื่อความเหมาะสมในสถานการณของ สังคมในปจจุบัน เปนความสุขุมรอบคอบ ในการใชปญญาเพื่อแสดงถึงเอกลักษณของวัฒนธรรมของ กลุม ชนในแตล ะภูมิภาค ดนตรีศิลปะแขนงหน่ึง ที่สะทอนใหเห็นถึงวัฒนะธรรมของแตละภาคท่ีมีเอกลักษณเปนของ ตนเอง ในดินแดนแถบภาคอีสานยังมีวงดนตรีชนิดหน่ึงเรียกวา “มโหรีอีสาน” ซ่ึงยังคงอยูในจังหวัด รอยเอ็ดเปนทองถิ่นที่ปรากฏการบรรเลงดนตรีชนิดนี้ ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะตัว คือมีปซอ กลอง ฉาบ ใหญ ฉาบเล็ก และกรับ บรรเลง ในสมัยโบราณวงมโหรีอีสานไดมีบทบาทอยูในวิถีชีวิตของชาวบาน เปนดนตรีที่ใชในการบรรเลงในงานพิธีกรรมตางๆ ยกตัวอยางเชนงานศพ งานแตงงาน งานบวช รวม ไปถึงงานร่นื เริงตางๆไดรับความนิยมแพรหลายในยุคหน่ึงในแถบ อําเภอจตุรพักตรพิมาน อําเภอปทุม รัตน อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในปจจุบันบทบาทของวงมโหรีอีสานไดลดลงหลังจากไดรับ กระแสนิยมทางดานวัฒนธรรมตะวันตก ผูคนจึงหันไปนิยม และเลือกที่จะช่ืนชมในสิ่งท่ีสนใจและมี ความทนั สมยั มากกวา เชน วงโปงลาง หมอลําประยุกต (หมอลําซ่ิง) เปนตนบทบาทของวงมโหรีอีสาน จึงลดลง จนเกือบจะสูญหาย (สุกรี เจรญิ สุข. 2538 : 8) จากผลงานที่เคยไดรับรางวัลตาง ๆ อยางมากมายทําใหนายคําตา หมื่นบุญมี มีชื่อเสียงโดง ดังเปนท่ียอมรับของประชาชนและหนวยงานตาง ๆ อยางมากมายโดยเฉพาะในดานวงมโหรีอีสาน คณะผูดําเนินงานไดเห็นความสําคัญขององคความรูในวงมโหรีอีสานผูนี้ จึงเกิดแรงบันดาลใจท่ีจะ ศึกษาเปนองคความรูใหมและเปนการอนุรักษศิลปะการแสดงพื้นบานอีสานซ่ึงเปนวัฒนธรรมทองถิ่น คณะผดู าํ เนินงานหวังเปนอยา งยง่ิ วา จะเปนโยชนต อ การสบื ทอดวงมโหรอี ีสาน การศึกษาวงมโหรีอีสาน การอนุรักษศ ิลปวฒั นธรรมของชุมชน ซึ่งเปนมรดกของชาตใิ หค งอยูสืบไป วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน 1. การคนหาความรู วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปรอยเอด็ มอบหมายใหบ ุคลากรของวิทยาลัย นายโยธนิ พลเขต เป็นคณะ KM Team เขา รวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปจัดขน้ึ เมือวันที่ 1-2 กุมภาพันธ 2561 เพื่อรวม

กาํ หนดการบงช้ีความรูและ ประเด็นความรูท่ีจําเปน ในการเขารวมสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื บงชี้ความรูและประเด็นความรูท่ีจำเป็นนั้น คณะ KM Team วทิ ยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ดไดกำหนดประเด็นความรูที่สอดคลองกับประเด็น ยุทธศาสตรของ วิทยาลัยในดานการสงเสริมสนับสนุนการสรางงานวิจัย งานสรางสรรค นวัตกรรม องคความรูดาน ศิลปวฒั นธรรมภูมิปญญาทองถิ่น มี ก า ร เ ผ ย แ พ ร ใ ห เปนท่ี ยอมรับทั้งในและตางประเทศ มาเป็นตัวกำหนดประเด็นความรู และเปาหมาย ในการจัดการ ความรูคอื “การจัดการความรูสูชุมชนดวยวงมโหรีอีสาน”เพ่ือนำองคค วามรูท่ีได มาพัฒนา เทคนิคการบรรเลงของวงมโหรีและนํามาถายทอดสูชุมชน โดยมีเปาหมายในการจัดการความรู ประกอบดวย ปราชญชาวบาน และบุคลากร ของวิทยาลยั นาฏศลิ ปรอ ยเอด็ จากการกำหนดประเด็นความรู คณะ KM Team ไดรวมกนั จัดทําแผนการจัดการ ความรู เสนอตอสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป และแตงต้งั คณะกรรมการการจัดการดานความรูโดย คัดเลือกจาก ปราชญชาวบาน จำนวน 2 คน เม่ือแตงตั้งคณะกรรมการจัดการความรูเสร็จเรียบรอ ยแลว จึงประชุมคณะกรรมการ เพื่อจัดทํา Knowledge Mapping หากวาความรูใดมีความสําคัญตอการเปาปมโหรีอีสาน ซ่ึง สามารถแยกออกเปน ประเด็นในวงมโหรอี ีสานไดดังนี้ 1.กลวิธีการบรรเลงเครือ่ งดนตรีในวงมโหรอี ีสาน 2.การประสมวงและหลกั วธิ กี ารบรรเลงวงมโหรอี ีสาน 2. การสรางและแสวงหาความรู คณะ KM Team ไดลงพื้นที่เก็บขอมูลโดยการสัมภาษณและการบันทึกภาพข้ันตอนวิธีการ บรรเลงวงมโหรีอีสานโดยละเอียดตั้งแตเร่ิมตนทําจนถึงกระบวนการจัดรูปแบบเพลงมโหรีอีสานโดย การเขียนโนตเพลงทางปมโหรีและทางซอใหอยูในหองเพลงท่ีสมบูรณ ขั้นแรกคือ การศึกษาประวัติ และผลงาน บทเพลงทใี่ ชในวงมโหรีอสี าน และโอกาสที่ใชในการบรรเลง จากน้ันจึงเลือกบทเพลงมโหรี ท่ีมีความนาสนใจ เปนเพลงท่ีเปนประโยชนตอการศึกษาและสังคม แลวจึงไดนํามาจดบันทึกโดยการ ถา ยทอดขอ มลู จากนายคาํ ตา หม่ืนบุญมีองคความรูของวงมโหรีอีสานท่ีไดนํามาจัดการความรูสามารถ แบงประเภทไดดังนี้ 1. รูปแบบการบรรเลงวงมโหรีอีสาน 2.เพลงมโหรีอีสาน แลวจึงนํามาจัดใหอยูใน รปู แบบหอ งเพลงทีส่ ามารถอา นไดงาย และสามารถบรรเลงไดถ กู ตอ งของจังหวะวงมโหรีอีสาน

ภาพที่ 1 การสัมภาษณนายคําตา หมนื่ บญุ มี การจัดเสวนาเร่ืองการจัดการความรสู ชู มุ ชนดว ยวงมโหรอี ีสานท่ีหองSOUND LAB อาคาร เทพลีลาวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ดโดยเชิญปราญที่มีความรูดานวงมโหรีอีสานท่ีมีช่ือเสียงจำนวน2 คนรวมท้ังนักศึกษาสาขาวชิ าศิลปะดนตรีและการแสดงพืน้ บา น มารวมเสวนาแลกเปล่ยี นความรูใน ประเด็นการจดั การความรสู ูชุมชนดว ยวงมโหรอี สี านโดยมีรองผูอำนวยการเป็นประธานรวมฟงการ เสวนาในครง้ั น้ี และในการเสวนามีประธานคณะกรรมการ KM Team เป็นผูดาํ เนินรายการเชิญ ปราชญชาวบานดานวงมโหรีอีสานรวมพูดคุยแลกเปลี่ยนเทคนิคในแตละประเด็นทีละคนโดยไมมี การจับเวลาในขณะทปี่ ราชญชาวบา นดานวงมโหรสี านแตละทานพูดถึงเทคนิคและกระบวนการ บรรเลง กระบวนการถา ยทอดองคความรูดานวงมโหรอี ีสานการคณะKMTeamไดน ําภาพการเรียนรู การศกึ ษานอกพืน้ ท่ี ท่ีไดลงพื้นท่ีเก็บขอมูลไวมานําเสนอบนจอเพื่อใหทุกคนไดเห็นกระบวนการ ข้ันตอนการทําบรรเลงวงมโหรีออยางละเอยี ดชดั เจน

ภาพที่ 2 การเสวนาแลกเปล่ียนความรูในประเด็นการจัดการความรสู ูช ุมชนดว ยวงมโหรอี ีสาน ของนายคําตา หมืน่ บุญมี การนําขอมูลที่ไดจากการลงพื้นท่ีเก็บขอมูลและการจัดเสวนาท่ีไดบันทึกในรูปแบบวีดีโอและ บันทึกเสียงไวมาเรียบเรียง และเขียนออกมาเปนความเรียงจัดเน้ือหาใหเปนหมวดหมู เขียนรายงาน ตามประเด็นหวั ขอท่กี าํ หนด ภาพที่ 3 กิจกรรมขนั้ การเรยี นรู การถายทอดองคความรู โดยจัดทําเอกสารรูปเลมเพื่อมอบใหแก บุคลากรของวิทยาลัยนาฏ ศลิ ปรอ ยเอด็ ท่รี ว มสมั มนานําองคค วามรูทไี่ ดไปใชในการศึกษาวงมโหรีอสี านในคร้ังตอไป และจัดพิมพ เอกสารเผยแพรใหแก นักเรียน นักศึกษา และเยาวชนหรือผูที่มีความสนใจดานวงมโหรีอีสานในเขต จังหวัดรอ ยเอ็ดพรอ มทง้ั ทาํ หนงั สือราชการขอความอนุเคราะหใ หนําองคค วามรู เรอื่ งการจัดการความรู สูชุมชนดวยวงมโหรีอีสาน ไปใชในการถายทอดองคความรูสูชุมชน และแจงกลับมายังคณะกรรมการ เพอ่ื คณะกรรมการ เพ่ือคณะกรรมการจะติดตามผลการการนาํ ไปใชจัดพมิ พเผยแพรทางเว็บไซตเพื่อให หนวยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ตลอดจนผูท่ีสนใจมาศึกษาวง มโหรอี สี าน โดยตองแจงใหค ณะกรรมการทราบเพ่ือคณะกรรมการจะไดด ําเนนิ การติดตามการนาํ ไปใช 3. การจดั ความรใู หเปนระบบ

ในการจัดการความรูเรื่องการจัดการความรูสูชุมชนดวยวงมโหรีอีสานใหเป็นระบบ นั้น คณะ KM Team ไดนำความรูที่ไดจากการลงพื้นที่สัมภาษณแ ละจากการเสวนาแลกเปลี่ยน เรียนรูในขั้นตอนการสรางและแสวงหาความรูในแตละคร้ังมาจัดใหเปนหมวดหมู จำนวน 2 ครั้ง คือวันที่ 3 มีนาคม 2561 และวนั ที่ 25 มิถุนายน 2561 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู คณะ KM Team ไดนำความรูที่จัดหมวดหมูมาปรับปรุงภาษาใหเป็นภาษาที่อานแลว เขา ใจงาย มกี ารตรวจสอบโดยนำเอกสารท่ีปรับปรุงภาษาเสร็จเรียบรอยแลว มาใหผูทมี่ ีความ เช่ียวชาญและไมมีความรูในเรอื่ ง การทำวงมโหรีอีสาน เพ่ือตรวจสอบวาภาษาที่ใชสามารถอาน เขาใจไดงายหรือไม แลวนำกลับมาแกไ ขขอบกพรอ งอีกครั้ง 5. การเขา ถึงความรู คณะ KM Team จัดทําเอกสารรูปเลมเพอ่ื มอบใหแกชางแคนปราชญชาวบาน บุคลากร ของวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ดที่รวมสัมมนานำองคความรูที่ไดไปใชในการทําแคนในคร้ังตอไป และ จัดพิมพเอกสารเผยแพรใหแกผูที่มีความสนใจทางดานวงมโหรีอีสานและปราชญชาวบานในเขต จังหวัดรอยเอ็ดพรอมท้ังทำหนังสอื ราชการขอความอนุเคราะหใหนำองคค วามรูเร่ืองการจัดการ ความรูสูชุมชนดวยวงมโหรีอีสานไปใชในถายทอดความรูดานวงมโหรีอีสาน และแจงกลับมายัง คณะกรรมการ เพื่อคณะกรรมการจะติดตามผลการนําไปใชจัดพิมพเผยแพรทางเว็บไซตเพื่อให หนวยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นักเรียน นักศกึ ษา ปราชญผูเช่ียวชาญดานวงมโหรี อีสาน ตลอดจนผูสนใจมาศึกษาวิธีการบรรเลงวงมโหรีอีสานเลือกเครื่องดนตรีท่ีตนเองสนใจและ นำไปทดลองใชโดยตองแจงใหคณะกรรมการทราบเพื่อคณะกรรมการจะไดดําเนินการติดตามการ นําไปใช

ภาพท่ี 4 การถา ยทอดองคความรูสูช ุมชน 6. การแบง ปน แลกเปล่ยี นความรู คณะ KM Team จัดทาํ เว็ปบล็อกเพ่ือเปิดโอกาสใหบุคลากรท่ีมีขอสงสัย ไดซักถามโตตอบ กนั โดยคณะกรรมการคอยตอบขอสงสัย 7. การเรยี นรู คณะ KM Team คอยติดตามประเมินผล การนำความรูท่ีไดไปใชประโยชนในการจัดการ ความรูสชู มุ ชนดวยวงมโหรีอีสาน สรุปผลและอภิปรายผลการดาํ เนินงาน จากการดําเนินกิจกรรมการถายทอดการจัดการความรูสูชุมชนดวยวงมโหรีอีสาน พบวา กลมุ เปาหมายท่ีเปน เยาวชนรนุ ใหม สถานศึกษา และหนวยงานตาง ๆ ไดหันมาใหความสนใจและรวม สงเสริมในดานศิลปวัฒนธรรมพื้นบานอีสานมากขึ้น และใหการตอบรับเปนอยางดี โดยเฉพาะเพลง มโหรีอีสาน เปนเพลงที่มคี วามไพเราะหาฟงไดย าก จงึ สามารถทจี่ ะนําไปใชในการเรียนการสอนได เชน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ในกิจกรรมชุมนุมวงโปงลาง ชมรมแคนวงไดทํานองเพลงมโหรีอีสานไป ประยุกตใชในการเรียนการสอน นํามาบรรเลงในรูปแบบของวงโปงลางใหเปนท่ีรูจักแพรหลายในสื่อ ออนไลนไดถายทอดใหกลุมเปาหมายไดเรียนรูเร่ืองศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบานอีสาน ดานกระบวนในการ บรรเลงวงมโหรีอีสาน จึงทําใหนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และผูท่ีสนใจไดความรูจากเน้ือหาของวง มโหรอี ีสาน ดานรูปแบบการบรรเลง ดานเพลงมโหรีอีสาน ดานโอกาสที่ใชในการรและยังชวยขัดเกลา จติ ใจใหม งุ เนน ปฏิบัติตนใหเปนคนดสี บื ไป

บรรณานกุ รม จารุวรรณ ธรรมวัตร. เรื่องบทบาทของหมอลําตอสังคมอีสาน ในชวงก่ึงศตวรรษ. มหาสาคาม สถาบนั วจิ ัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2528. เจริญชัย ชนไพโรจน. ดนตรพี ืน้ บา นอีสาน. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รมหาสารคาม 2529. (อัดสําเนา) สุกรี เจรญิ สขุ . ดนตรีชาวสยาม. กรุงเทพฯ : 2538.