140 1. รูปแบบการวิจัยพัฒนา (Research and Development Model) เป็นรูปแบบที่นิยมกันมาก รปู แบบการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ เป็นการพัฒนาและการวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตรหรือโปรแกรมการเรียนต่าง ๆ จากมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานต่าง ๆ เมื่อมีการตรวจสอบคุณภาพแล้วจึงทาการเผยแพร่ไปยัง หน่วยงานต่อไป โดยการฝึกอบรมให้กับบุคคลอื่นต่อ ๆ กันไป รูปแบบนี้มีจุดอ่อนที่ผู้ใช้หลักสูตรอาจไม่มี ความเขา้ ใจหากมไิ ดร้ บั การอบรมเกีย่ วกับหลักสูตรน้ันกอ่ นนาไปใช้ 2. รูปแบบการพัฒนาแบบผสมผสาน (Integrative development Model) รูปแบบการพัฒนา นี้ดาเนินการกับผู้สอนภายในห้องเรียนหลังจากน้ันจึงออกไปสู่สังคมภายนอก โดยผู้สอนร่วมวิเคราะห์ สภาพปัญหา จากน้ันผู้นาในการพัฒนาหลักสูตรจะเสนอแนะให้ผู้สอนเห็นแนวทางการแก้ปัญหานั้น ซ่ึง เป็นการผสมผสานความคิดต่าง ๆ ท่ีจะนาไปสู่การปฏิบัติต่อไป จุดอ่อนของรูปแบบน้ีคือ การสิ้นเปลือง เวลาในการดาเนินการ และการเปล่ียนแปลงเจตคติ ทักษะของผู้สอน และการสร้างความสัมพันธ์ในการ ทางานร่วมกนั อีกดว้ ย 3. รูปแบบการใช้ตัวกลางสาหรับการเปลี่ยนแปลง (The change agent Model) เป็นรูปแบบท่ี ใช้บุคคลเป็นตัวกลางในการเปล่ียนแปลง เช่น การให้ผู้บริหารโรงเรียน ผู้อานวยการศูนย์พัฒนาหลักสูตร หรือกลุ่มคณะทางาน เป็นตัวกลางในการนาการเปลี่ยนแปลง แต่รูปแบบน้ียังมีข้อถกเถียงว่า ใครจะเป็น ตัวกลางท่กี อ่ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงทด่ี ีท่ีสุด 4. การเปล่ียนแปลงโดยไม่มีรูปแบบ (The non model for change) ไชแมนและไลเบอร์แมน (Shiman and Lieberman, 1974) วิจัยสรุปว่า การเปลี่ยนแปลงภายในโรงเรียนไม่มีรูปแบบแต่อย่างใด ซึ่งเขาได้เสนอแนะว่า การเปลี่ยนแปลงไม่ควรเร่ิมจากเป้าหมาย ความสาคัญ การจูงใจ หรือการ ประเมินผล แต่ควรจะดาเนินการตามสภาพที่เป็นอยู่อย่างแท้จริงของโรงเรียนแต่ละแห่ง โดยมีการ ประเมินทางเลอื กตา่ ง ๆ ให้เหมาะสมกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการของโรงเรยี นแตล่ ะแหง่ ดว้ ย ท้ังนี้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้หลักสูตรที่มีหลายรูปแบบนี้ นักพัฒนาหลักสูตรต้อง พิจารณาจุดเด่นและจุดด้อยของแต่ละรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่โดยรวมแล้วโรงเรียนส่วนใหญ่มักใช้ รูปแบบการเปลี่ยนแปลงโดยไม่มรี ูปแบบ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงภายในโรงเรียนที่ไม่มีรปู แบบตายตวั แต่ จะเป็นการดาเนนิ การตามสภาพของโรงเรยี นแตล่ ะแห่งน้นั เอง
141 บทสรุป การนาหลักสูตรไปใช้น้ันจาเป็นต้องดาเนินการอยา่ งเป็นระบบ มกี ารวางแผนและกาหนดข้ันตอน ท่ีชัดเจน มอบหมายหน้าท่ีในการดาเนินงาน และรวบรวมข้อมูลเพื่อนาไปใช้ปรับปรุง พัฒนาได้อย่าง ทนั ท่วงที การนาหลักสูตรไปใช้มีภาระงานที่สาคัญ 3 ประการด้วยกัน คือ งานบริหารและบริการหลกั สตู ร งานดาเนินการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร และงานสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การใชห้ ลักสูตร ซ่ึงจะชว่ ยให้การ นาหลักสตู รไปใชป้ ระสบความสาเรจ็ ตามจดุ มุ่งหมายทก่ี าหนดไว้ หากแต่ปัญหาในการนาหลักสูตรไปใช้ก็มี หลายประการด้วยเช่นกันไม่ว่าจะเป็นปัญหาเชิงระบบการดาเนินการ หรือปัญหาบุคลากรที่เก่ียวข้อง หากแต่บุคคลทุกฝ่ายท่ีมีบทบาทหน้าที่ในการนาหลักสูตรไปใช้ต้องปฏิบัติหน้าท่ีของตนเองอย่างเข้มแข็ง และสมบูรณ์แล้ว ย่อมส่งผลให้การใช้หลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีปัญหาน้อยท่ีสุด และประสบ ความสาเร็จอยา่ งแท้จริงได้ เอกสารอา้ งอิง ใจทิพย์ เช้ือรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชา บรหิ ารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ฆนัท ธาตุทอง. (2556). การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: เพชรเกษมการพมิ พ.์ ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2546). รายงานวิจัย สภาพและปัญหาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใน สถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต1. พิษณุโลก: กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาพิษณุโลก เขต1. ชัยวฒั น์ สุทธริ ัตน.์ (2556). การพฒั นาหลกั สูตร ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ: วพี รนิ ท.์ ชศู กั ด์ิ ติวุตานนท์. (2546). การศึกษาสภาพและปัญหาการนาภูมิปญั ญาท้องถ่ินมาใช้ในการจดั กิจกรรม การเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา: ศึกษากรณีเฉพาะโรงเรียนนาร่องและโรงเรียน เครือข่ายในสังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. พษิ ณโุ ลก: มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. ถาวร คาทะแจ่ม. (2545). การบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ของ โรงเรียนเครือข่ายการใช้หลักสูตร จังหวัดลาพูน. (วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต). เชยี งใหม:่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
142 ประสิทธิ์ บรรณศิลป์. (2545). การศึกษาความพร้อมในการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของ ผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดพิจิตร. การศึกษา ค้นควา้ ด้วยตนเอง การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก: มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2554). การจัดการหลักสูตรและการสอน. (พิมพ์คร้ังที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . มณนิภา ชุติบุตร. (2546). สรุปการประเมินหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544: กระบวนการนาหลักสูตรไปใช้. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงานการประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร รุจีร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม. (2545). การบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: บุค๊ พอยท.์ วัชรี บูรณสิงห์. (2544). การบริหารหลักสูตร. (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามคาแหง. วิชาการ,กรม. (2546). รายงานการศึกษาความพร้อมการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ปกี ารศึกษา 2546. กรุงเทพฯ: องค์การรบั ส่งสนิ ค้าและพสั ดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.). วชิ ยั วงษ์ใหญ.่ (2542). พลงั เรียนรู้ในกระบวนทศั น์ใหม.่ กรุงเทพฯ: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. สงัด อทุ รานันท์. (2532). พน้ื ฐานและการพฒั นาหลักสูตร. (พมิ พ์ครัง้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: มิตรสยาม. อมรา เล็กเริงสิทธุ์. (2540). หลักสูตรและการจัดการมัธยมศึกษา. (พิมพ์ครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ: ฝ่าย เอกสารและตารา สถาบันราชภักสวนดุสิต. McNeil, John D. (1981). Curriculum: A Comprehensive Introduction. Boston: Little, Brown and Company. Shiman David A. and Ann Lieberman. ( May, 1974) . “A Non-Model for School Change.” The Education Forum. 38(4), 441.
143 บทท่ี 6 การประเมนิ และปรับปรงุ หลักสูตร จิตตวสิ ทุ ธ์ิ วมิ ุตติปญั ญา บทนา การประเมินหลักสูตรเปน็ ขั้นตอนในการศึกษาคุณค่าของหลักสูตรว่าดีหรอื ไม่เพียงใดและมีความ บกพร่องในส่วนไหน เพือ่ นาผลการประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรในโอกาสต่อไป การประเมินหลกั สูตรนน้ั มี ขอบเขตและระยะการประเมินแตกต่างกันออกไป แล้วแต่จุดประสงค์ของการประเมิน เช่น การประเมิน เอกสารหลักสูตรในระยะก่อนนาหลักสูตรไปใช้ การประเมินการใช้หลักสูตรในขณะท่ีดาเนินการใช้ หลักสูตร หรือประเมินสัมฤทธ์ิผลของหลักสูตร และประเมินระบบหลักสูตรหลังจากการใช้หลักสูตรแล้ว การประเมินผลหลักสูตรน้ันต้องกาหนดลงไปให้แน่ชัดว่าต้องการประเมินอะไร ขอ้ มูลท่นี ามาประเมินต้อง เชื่อถือได้ การวเิ คราะห์ผลการประเมินต้องทาอย่างรอบคอบและเป็นระบบเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตามเปา้ หมาย 1. ความหมายของการประเมนิ หลักสตู ร การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการรวมรวมขอ้ มลู สารสนเทศตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ เกยี่ วกับ หลักสูตรเพ่ือนามาตัดสินคุณค่าหรือคุณภาพของหลักสูตรนั้น นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมาย ของการประเมนิ หลกั สูตรไวต้ า่ ง ๆ กนั ดงั นี้คอื สุจริต เพียรชอบ (2548: 64) กล่าวถึงการประเมินหลักสูตรไวว้ ่าเป็นกระบวนการที่สาคัญเพราะ เป็นการหาคาตอบว่าหลักสูตรสัมฤทธิผลตามท่ีได้ต้ังจุดมุ่งหมายไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด อะไรเป็น สาเหตุ ผปู้ ระเมนิ หลักสูตรจะต้องเปน็ ผู้ท่ีมคี วามรู้ดีทง้ั ทางด้านหลักสูตรและด้านการประเมนิ ผลซ่ึงจะต้อง เน้นการประเมินท้ังโปรแกรมการศึกษา มิใช่แต่เพียงผลการเรียนปีสุดท้ายเท่านั้น แต่ควรประเมินผลการ เปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผู้เรียนดว้ ย สุมิตร คุณานุกร (2533: 198) กล่าวถึงการประเมินหลักสูตรไว้ว่า การประเมินผลหลักสูตรคือ การหาคาตอบว่าหลักสูตรสัมฤทธิผลตามที่กาหนดไว้ในความมุ่งหมายหรือไม่มากน้อยเพียงใด และอะไร เป็นสาเหตุ การประเมินหลักสูตรเพื่อตดั สินสมั ฤทธิผลของหลกั สูตรนั้นมขี อบเขตรวมถึง (1) การวิเคราะห์
144 ตัวหลักสูตร (2) การวิเคราะห์กระบวนการของการนาหลักสูตรไปใช้ (3) การวิเคราะห์สัมฤทธิผลในการ เรยี นของนกั เรียน (4) การวิเคราะหโ์ ครงการประเมนิ หลกั สตู ร สันต์ ธรรมบารุง (2527: 138-139) ได้อธิบายสรุปว่า การประเมินหลักสูตรเป็นการพิจารณา คณุ ค่าของหลกั สูตร โดยอาศัยการรวบรวมข้อมูล และใช้ข้อมูลจากการวดั ผลในแงต่ า่ ง ๆ ของสิ่งท่ปี ระเมิน เพ่ือนามาพิจารณาร่วมกันและสรุปว่าหลักสูตรที่สร้างขึ้นมาน้ันมีคุณค่าประการใด มีคุณภาพดีข้ึนหรือไม่ เพียงไร หรือได้รับผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้หรือมีส่วนใดท่ีจะต้องปรับปรุงแก้ไขต่อไป และนาเสนอ ผู้บริหารผู้มีอานาจวินิจฉัยส่ังการดาเนินต่อไป หรือการประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการใน การศึกษาส่วนประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรอันได้แก่หลักสูตร จุดมุ่งหมาย โครงสร้างจุดประสงค์การ เรยี นรู้ เน้อื หา กิจกรรม ส่ือการเรียนการสอน วธิ สี อนและการจัดผลว่าจะสมั พนั ธ์กนั หรอื ไม่ วชิ ัย วงษ์ใหญ่ (2523: 192) ให้ความหมายของประเมินหลักสตู รไว้ว่า การประเมินหลกั สูตรเป็น การพิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตรโดยใช้ผลจากการวัดในแง่มมุ ต่าง ๆ ของสิ่งทีป่ ระเมิน เพ่ือนามา พจิ ารณารว่ มกนั และสรุปวา่ จะใหค้ ณุ คา่ ของหลักสตู รท่ีพัฒนาขึ้นมาน้ันว่าอย่างไร มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใด หรือได้ผลตรงตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดหรือไม่ มสี ่วนใดที่จะต้องปรบั ปรุงแก้ไข กู๊ด (Good, 1973: 209) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การประเมินหลักสูตรคือการประเมินผลของ กิจกรรมการเรียนภายในขอบข่ายของการสอนที่เน้นเฉพาะจุดประสงค์ของการตัดสินใจใจความถู กต้อง ของจุดมุ่งหมาย ความสัมพันธ์และความต่อเน่ืองของเน้ือหาและผลสัมฤทธ์ิของวัตถุประสงค์เฉพาะ ซึ่ง นาไปสู่การตัดสินใจในการวางแผนการจัดโครงการต่อเนื่องและการหมุนเวียนของกิจกรรมโครงการตา่ ง ๆ ท่ีจะจดั ใหม้ ีข้ึน ครอนบาช (Cronbach, 1971: 231) ให้ความหมายว่า การประเมินหลักสูตรคือการรวบรวม ขอ้ มลู และการใช้ข้อมลู เพ่ือตดั สินใจเรือ่ งโปรแกรมหรือหลกั สตู รการศกึ ษา สตัฟเฟิลบีม และคณะ (Stufflebeam, 1971: 128) ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรว่า การประเมินหลักสูตรคือ กระบวนการหาข้อมูล เก็บข้อมูล เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหา ทางเลอื กท่ีดีกวา่ เดมิ จากความหมายของการประเมินหลักสูตรท่ีกล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า การประเมินหลักสูตรคือ กระบวนการในการพิจารณาตัดสินคุณค่าของหลักสูตรว่าหลักสูตรนั้น ๆ มีประสิทธิภาพอย่างไร เม่ือ นาไปใชแ้ ล้วบรรลจุ ุดมงุ่ หมายท่ีกาหนดไว้หรือไม่ มีอะไรที่ตอ้ งแกไ้ ขเพื่อนาผลท่ีได้มาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ใน การตดั สินใจหาทางเลอื กท่ดี ีกว่าตอ่ ไป
145 2. ความจาเป็นของการประเมินหลกั สูตร หลังจากท่ีได้จัดทาหลักสูตรแล้วนาหลักสูตรไปใช้จัดการเรียนการสอนแล้ว จะต้องมีการติดตาม ผลว่าหลักสูตรท่ีนาไปใช้แล้วได้ผลประการใด มีปัญหา ข้อบกพร่อง และอุปสรรคในการใช้อย่างไร แม้ว่า ก่อนท่ีจะนาหลักสูตรไปใช้จะได้ทาการตรวจสอบคุณภาพแล้วก็ตาม แต่ในการตรวจสอบคุณภาพนั้น บางครง้ั ไม่ได้ดาเนินการในสภาพการณ์จริงอย่างครบถ้วน ดังน้นั เมือ่ นาหลักสูตรไปใชจ้ ริงอาจจะพบปญั หา ข้อบกพรอ่ งและอุปสรรคอีกได้ ซึ่งจาเป็นต้องมกี ารประเมินหลักสูตรหลงั การใช้เพอื่ จะได้แก้ไขปรบั ปรงุ ส่ิง ทเี่ ป็นปญั หา ขอ้ บกพรอ่ ง และอุปสรรคเหลา่ น้ัน และทาให้หลักสูตรนน้ั เปน็ หลักสตู รท่ีดีตอ่ ไป การวัดและประเมินผลการเรียนรู้นับว่าเป็นองค์ประกอบของหลักสูตรที่สาคัญอีกประการหน่ึง เน่ืองจากการวดั และประเมินผลการเรียนรู้จะมีประโยชนส์ าหรับครูในการนาผลการประเมินการเรียนรู้ไป ปรบั ปรุงการเรยี นการสอน หรืออาจใช้ประโยชนใ์ นการวิจัย และพฒั นาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมาก ย่ิงขึ้น หรือเพ่ือใช้ผลการประเมินการเรียนไปกระตุ้นความพร้อมและแรงจูงใจในการเรียนให้แก่ผู้เรียน หรืออาจจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้บริหารในการใช้เพ่ือตัดสินใจเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล เช่น การ ประเมินความดคี วามชอบหรอื การเล่ือนตาแหนง่ ของผู้สอน เปน็ ตน้ ดังนั้น การกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ไว้ในหลักสูตรจึงต้องกาหนดไว้ให้ ชดั เจนเพ่อื เป็นแนวทางสาหรบั ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องในการวางแผนการประเมินผู้เรียนอย่างมีหลักการ มี ระบบ รวมทั้งช่วยให้ผเู้ รียนสามารถทราบลว่ งหน้าเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการเรยี นได้อกี ด้วย หลักการในการดาเนินการวัดและประเมินผลนั้นต้องทาอย่างเป็นระบบ มีความเชื่อมั่นเป็นกลาง และมีความยุติธรรม ด้วยเคร่ืองมือที่เหมาะสมกับการประเมิน สามารถวัดพฤติกรรมได้ ประเมินในส่ิงท่ี ปฏิบัติจริงได้ ใช้ข้อมูลจากหลายแหล่งประกอบกัน และให้ผู้เก่ียวข้องให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน รวมทง้ั มกี ารนาผลท่ไี ด้มาสะท้อนและปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในปัจจุบันเน้นท่ีจะประเมินตามสภาพจริง ซ่ึงเป็นการ ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ใช้วิธีการที่หลากหลาย โดยเน้นการประเมินทักษะการคิดท่ีซับซ้อน ทักษะการทางาน ความสามารถในการแก้ปัญหาและการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัตใิ นสภาพจริง โดย มผี ู้เก่ียวข้องในการประเมินจากหลายฝา่ ย ใจทิพย์ เช้ือรัตนพงษ์ (2539) ได้อธิบายว่า การพัฒนาหลกัสูตรประกอบด้วยสามมิติ (Dimensions)คือ มิติท่ีหน่ึงการวางแผนจดัทา หรือยกร่างหลกัสูตร (Curriculum planning) มิติท่ีสอง การใช้หลักสูตร (Curriculum implementation) และมิติสุดท้ายการประเมินผลหลักสตู ร (Curriculum evaluation) การพัฒนาหลกัสูตรใหม่คุณภาพไ้ด้นั้นย่อมขึ้นอยู่กับว่า แต่ละมิติมีประสิทธิผลมากน้อย เพียงใด นอกจากน้ียังมีผู้รู้หรือนกัการศึกษาหลาย ๆ ท่านไดก้ล่าวถึงรูปแบบของกระบวนการพัฒนา
146 หลกัสูตรไว้ต่างกันรวมท้ังแนวทางในการประเมินหลักสูตรทั้งระบบดังน้ันจึงมีความสาคัญในการพัฒนา ผู้เรียนใหป้ ระสบความสาเรจ็ (ชมพันธ์ กุญชร ณ อยธุ ยา.2541: 1) ตลอดถึงการประกนั คุณภาพการศึกษา ท่ีสะท้อนการบริหารจัดการหลักสูตรและการวัดประเมินผลอย่างเป็นระบบ (ชาญเจริญ ซื่อชวกรกุล, 2550) 3. จุดมุ่งหมายของการประเมนิ หลกั สูตร การประเมินหลักสตู ร มีจดุ มุง่ หมายเพ่อื 1. หาคุณค่าของหลกั สตู ร: หลกั สูตรนน้ั สนองจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู รไวห้ รอื ไม่ และสนองความ ต้องการของสังคมเพียงใด 2. ตัดสินเกี่ยวกับรูปแบบ การสอนและการบริหารหลักสูตร: การวางเค้าโครงและรูปแบบของ หลักสตู ร การสอนตามหลักสูตร และการบริหารงานเก่ียวกบั หลกั สูตร เป็นไปในทางท่ีถูกต้องหรือไม่ 3. วัดคุณภาพผลผลิต: ผูท้ เ่ี รยี นจบตามหลกั สตู รมีคุณภาพเพยี งใด 4. ปรับปรุงหลักสูตร: หลักสูตรมีข้อบกพร่องท้ังหมดอะไรบ้าง และระหว่างการดาเนินการใช้ หลักสูตรมีปัญหาอุปสรรคในแต่ละส่วนของหลักสูตรอะไรบ้าง นาข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุง แกไ้ ขหลกั สตู ร หรอื พิจารณาว่าควรจะใชห้ ลักสูตรตอ่ ไปอีกหรอื ไม่ 4. ขอบเขตของการประเมนิ หลักสูตร ในการประเมนิ หลักสตู รจะตอ้ งประเมนิ ให้ครบทงั้ ระบบของหลกั สูตร ประกอบด้วย 1. การประเมินเอกสารหลักสูตร ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่าง หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้าง เนื้อหา ประสบการณ์เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ เกณฑ์การจบหลักสูตร ตรวจสอบการใช้ภาษาในเอกสารหลักสูตรว่าส่ือสารได้ตรงกันหรือไม่ ข้อกาหนด หรือแนวทางการใช้หลักสูตรมีความชัดเจนเพียงใด วางแผนการจัดการศกึ ษาตามหลักสูตรนี้เหมาะสมกับ กลุ่มเปา้ หมายและระดบั การศึกษาเพยี งใด 2. การประเมนิ ระบบของหลักสตู ร 2.1. ประเมินจุดมุ่งหมายในระดับต่าง ๆ คือจุดมุ่งหมายของหลักสูตร จุดประสงค์ของกลุ่มวิชา จุดประสงค์รายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ในระดับการสอน เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมกับผู้เรียน กับ สภาพแวดล้อม ระดับความพอเของความคาดหวงั
147 2.2. ประเมินการจัดเน้ือหาหลักสูตร คือความเหมาะสมของสัดส่วนเนื้อหาความรู้และ ประสบการณ์การเรียนรู้ ความเหมาะสมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ เนอ้ื หาความรู้และไดร้ ับประสบการณ์ 2.3. ประเมินการสอนของผู้สอน คอื ความสามารถและความถูกต้องในการปรับหลกั สตู รมาใชใ้ น ชั้นเรียน ความรู้ความสามารถในเนื้อหาวิชาท่ีสอน การเตรียมการสอน การใช้เทคนิคการสอนการใช้ส่ือ การสอนและใช้เทคนิคการวัดผลและประเมินผล สอนตามแนวทางของหลักสูตรหรือไม่ ความสัมพันธ์กับ ผเู้ รยี นและการสร้างบรรยากาศในชัน้ เรียนเป็นอย่างไร รบั ผิดชอบ และการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ี ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงค์ของวิชาและจดุ มุง่ หมายของหลกั สตู ร 2.4. ประเมินระบบการบริหารและการจัดการหลักสูตร คือ ประเมินความพร้อมในการใช้ หลักสตู ร โครงสร้างและระบบของสถาบัน การดาเนินงานของสถาบัน การจดั อาคารสถานท่ี งบประมาณ หน่วยบรกิ ารการศึกษา เชน่ หอ้ งสมดุ งานแนะแนว โรงฝกึ งาน ฯลฯ และการจดั เวลา 2.5. ประเมินโปรแกรมการประเมินผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน คือ ความสอดคล้องของวิธีการ ประเมนิ ผลการเรียนกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ความเหมาะสมของระยะเวลาการประเมินความถูกต้อง ตามหลักวชิ าการประเมินผลการเรียน 3. การประเมินผลผลิต ติดตามผลผู้สาเร็จการศึกษาในด้านความรู้ความสามารถและทักษะใน การปฏิบัติงาน เจตคติต่อวิชาชีพ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการปรับตัวกับสภาพงานและ สภาพแวดล้อมท่ัวไป ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ ความกระตือรือร้นในการแสวงหาความก้าวหน้า ในการประกอบอาชีพและในชวี ิตส่วนตวั 5. กระบวนการประเมินหลักสตู ร ในการประเมินหลักสตู ร (วิชัย วงษ์ใหญ่, 2523) มีการดาเนนิ การตามขั้นตอนดังนี้ 1. การวางแผนการประเมินหลักสูตร เป็นการวางแผนว่าจะประเมินหลักสูตรท้ังระบบ หรือ ประเมินหลกั สูตรเฉพาะระบบย่อยอันใดอนั หนึ่งเช่นประเมนิ เฉพาะการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น แล้ว กาหนดแผนการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างท่ีจะเป็นผู้ให้ข้อมูล ระยะเวลาการเก็บข้อมูลและเกณฑ์การ วิเคราะหข์ อ้ มูล 2. การรวบรวมข้อมูล ได้แก่การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง การจัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่และการ เตรยี มการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูล คือการนาข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาวิเคราะห์ตามเกณฑ์และวิธีการวิเคราะห์ ขอ้ มูลท่วี างแผนไว้
148 4. การรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการรายงานผลตามข้อมูลจริงที่พบพร้อมท้ังปัญหา อปุ สรรค และข้อควรปรับปรุงแกไ้ ข 6. ปัญหาในการประเมินหลักสตู ร การประเมินหลักสูตรเป็นงานท่ีมีขอบเขตกว้างขวาง มีข้ันตอนในการปฏิบัติงานหลายขั้นตอน และต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ดังน้ัน ในการประเมินหลักสูตรจึงมักพบกับปัญหาในแต่ละข้ันตอน หรอื แตล่ ะกระบวนการที่แตกต่างกนั ไป ปญั หาทมี่ กั พบโดยทว่ั ไปในการประเมนิ หลกั สตู รมีดงั น้ี 1. ปัญหาด้านการวางแผนการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรมักไม่มีการวางแผน ลว่ งหนา้ ทาใหข้ าดความละเอียดรอบคอบในการประเมนิ ผล และไมค่ รอบคลุมสง่ิ ทตี่ ้องการประเมิน 2. ปญั หาด้านเวลา การกาหนดเวลาไม่เหมาะสม การประเมินหลักสูตรไม่เสรจ็ ตามเวลาทีก่ าหนด ทาใหไ้ ด้ขอ้ มูลเนนิ่ ช้าไม่ทนั ตอ่ การนามาปรบั ปรงุ หลกั สตู ร 3. ปัญหาด้านความเช่ียวชาญของคณะกรรมการประเมิน หรือไม่มีความเชี่ยวชาญในการ ประเมินผล ทาให้ผลการประเมินท่ีได้ไม่น่าเชื่อถือ ขาดความละเอียดรอบคอบ ซ่ึงมีผลทาให้การแก้ไข ปรับปรงุ ปญั หาของหลักสูตรไม่ตรงประเด็น 4. ปัญหาด้านความเท่ียงตรงของข้อมูล ข้อมูลท่ีไม่ใช่ในการประเมินไม่เท่ียงตรง เน่ืองจากผู้ ประเมินมีความกลัวเกี่ยวกับผลการประเมิน จึงทาให้ไม่ได้เสนอข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง หรือผู้ถูก ประเมินกลวั ว่าผลการประเมนิ ออกมาไม่ดี จงึ ใหข้ อ้ มลู ที่ไม่ตรงกบั สภาพความเป็นจรงิ 5. ปัญหาด้านวิธกี ารประเมิน การประเมินหลักสูตรส่วนมากมาจากประเมินในเชิงปริมาณ ทาให้ ได้ขอ้ ค้นพบทีผ่ วิ เผินไมล่ ึกซ้งึ จึงควรมีการประเมินผลท่ใี ชว้ ธิ กี ารประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพควบคู่ กัน เพ่ือให้ได้ผลสมบรู ณ์และมองเห็นภาพทีช่ ัดเจนย่ิงข้นึ 6. ปัญหาด้านการประเมินหลักสูตรทง้ั ระบบ การประเมนิ หลักสูตรทั้งระบบมีการดาเนนิ งานน้อย มาก ส่วนมากมักจะประเมินเฉพาะด้าน เช่น ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในด้านวิชาการ (Academic Achievement) เป็นหลกั ทาใหไ้ มท่ ราบสาเหตทุ ่ีแน่ชัด 7. ปัญหาด้านการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเน่ือง คณะกรรมการประเมินหลักสูตรหรือผู้ที่ เกี่ยวข้องมกั ไมป่ ระเมินหลักสูตรอยา่ งต่อเน่อื ง 8. ปัญหาด้านเกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การประเมินหลักสูตรไมช่ ัดเจน ทาให้ผลการประเมินเป็น ท่ียอมรบั และไมไ่ ดน้ าผลไปใช้ในการปรบั ปรุงหลักสตู รจรงิ จัง
149 7. รปู แบบการประเมินหลักสตู ร รูปแบบการประเมินหลักสูตรนั้นได้มีนักวิชาการด้านหลักสูตรได้คิดไว้หลายรูปแบบดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ซึ่งผู้ประเมินหลักสูตรจะเลือกใช้ให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรในแต่ละ ครง้ั ได้ แบบที่ 1: รูปแบบการประเมินความสอดคล้อง-ผลที่เกิดข้ึนของสเต้ก (The Stake Congruence-Contingency Model) รูปแบบน้ีคิดขึ้นโดย โรเบิร์ต อี สเต้ก (Robert E. Stake) ให้ตีตารางแบ่งออกเป็น 12 ช่องโดย แต่ละช่องจะสามารถกรอกข้อมูลเข้าไปได้ ข้อมูลในแต่ละช่องจะแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องของสิ่งท่ี ต้องการประเมินผลและในขณะเดยี วกนั จะชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธข์ อง ตวั แปรตา่ ง ๆ ที่มีอิทธิพลตอ่ การ บริหารงานหลักสูตร ดังนั้นรูปแบบน้ีจึงช่วยประเมินในด้านความสอดคล้อง และความสัมพันธ์ของตัวแปร ในหลกั สตู รได้มากเป็นพิเศษ ตัวอย่างตารางการประเมนิ หลักสตู รของสเต้ก ดังนี้ ตารางท่ี 6.1 การประเมินหลกั สตู รของสเต้ก ข้อมูลทใี่ ชใ้ นการประเมินหลักสูตร เกณฑ์ในการวเิ คราะหห์ ลกั สูตร ผลท่ี ผลท่ี มาตรฐาน ท่ีมาของหลกั การ คาดหวงั เกิดขึน้ ที่ใช้ ตัดสิน 1) สง่ิ ทม่ี มี าก่อน - บุคลิกและนสิ ยั ของนักเรยี น - บุคลิกและนสิ ัยของครู - เน้ือหาสาระของหลักสตู ร - วสั ดุอุปกรณ์การสอน - บรเิ วณโรงเรียน - ระบบการจดั โรงเรยี น - ชมุ ชน
150 ขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการประเมินหลักสูตร เกณฑใ์ นการวเิ คราะห์หลกั สูตร ผลที่ ผลที่ มาตรฐาน ทม่ี าของหลกั การ คาดหวงั เกดิ ข้นึ ท่ใี ช้ ตดั สนิ 2) กระบวนการในการสอน - การสือ่ สาร - เวลาท่จี ดั ให้ - ลาดับของเหตกุ ารณ์ - การให้กาลงั ใจ - บรรยากาศ 3) ผลทเ่ี กิดขน้ึ - สัมฤทธิผ์ ลของนกั เรยี น - ทัศนคตขิ องนกั เรยี น - ทักษะต่าง ๆ ของนักเรยี น - ผลทมี่ ตี อ่ ครู - ผลทม่ี ตี อ่ สถานศกึ ษา (ทม่ี า: Armstorng. 2003: 280) จากรปู แบบการประเมินหลักสตู รของสเต้ก จะเหน็ ไดว้ า่ ข้นั ตอนในการประเมินหลกั สูตร คอื 1. การตั้งเกณฑใ์ นการวเิ คราะหห์ ลักสูตร สเต้ก ได้เสนอหัวขอ้ ของเกณฑ์ที่จะใชใ้ นการประเมินหลักสตู รไว้ 3 หัวขอ้ คือ เร่ืองเกีย่ วกบั สงิ่ ที่ มีมาก่อน กระบวนการในการสอน และผลที่เกดิ ขึ้น เกณฑ์ของ เสต้ก นี้นับวา่ แตกต่างกบั ของผู้อน่ื ตรงที่ว่า เสตก้ ไม่ไดพ้ ิจารณาแต่ผลทเี่ กิดข้นึ แต่เพยี งอย่างเดยี ว เพราะการประเมินผลที่ไดร้ ับเท่านั้นไมเ่ พยี งพอท่จี ะ ประเมินว่า หลักสตู รท่ีจัดนน้ั ดีหรือไม่เพียงใด เพราะผลที่ได้น้ันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอกี หลายอย่าง เป็น ต้นว่า หากผ้เู รียนไม่สามารถบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่วางไวก้ ม็ ไิ ด้หมายความวา่ หลกั สูตรนนั้ เป็นหลกั สตู รท่ี ไม่ดี การที่ผู้เรียนไม่สามารถเรียนได้ตามที่ต้องการอาจจะมาจากองค์ประกอบทางด้านเวลา เช่น ให้เวลา แกผ่ ูเ้ รยี นนอ้ ยไป เวลา ท่ีจัดให้ไมเ่ หมาะสม เป็นต้น
151 ดังนั้น การท่ีจะดูผลที่ได้รับ และนามาประเมินค่าหลักสูตรน้ันเป็นการไม่เพียงพออาจจะไม่ สามารถช่วยชี้ช่องทางของการปรับปรุงหลักสูตรน้ันแต่อย่างใด ด้วยเหตุนี้ สเต้ก จึงได้เสนอว่า ควรมีการ พิจารณาขอ้ มูลเพื่อประเมนิ หลักสูตรถึง 3 ด้านดว้ ยกันคอื ก) ดา้ นส่ิงท่ีมมี ากอ่ น ด้านนี้หมายถึง ส่ิงใด ๆ ก็ตามท่ีเก่ียวข้องกบั ผลที่ได้รับจากหลักสูตรที่มอี ยู่ กอ่ นท่ีจะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น ในทีน่ ้ี สเต้ก ได้จาแนกหัวข้อสาคัญ ๆ ออกเป็น 7 หัวข้อ ดงั ในตาราง ชอ่ ง 1) ขา้ งต้น ข) ด้านกระบวนการในการสอน ด้านนี้หมายถึงปฏิสมั พนั ธ์ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนระหว่างครูกบั ผู้เรยี น ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูกับผู้ปกครอง ฯลฯ ซ่ึงนับว่าเป็นกระบวนการท่ีมีอิทธิพลต่อการศึกษาตามหลักสูตร น้นั ๆ ในด้านนี้ สเตก้ ไดจ้ าแนกหัวขอ้ ย่อยออกเปน็ 5 หัวขอ้ ดงั ในตารางช่องท่ี 2) ขา้ งต้น ค) ด้านผลท่ีเกิดข้ึน ด้านน้ีหมายถึงผลท่ีเกิดข้ึนจากการใช้หลักสูตรนั้น มี 5 หัวข้อดังในตาราง ชอ่ งที่ 3) ข้างต้น 2. การหาข้อมูลมาประกอบ หลังจากท่ีได้ต้ังเกณฑ์ข้ึนมาเพื่อนาเป็นแนวทางในการประเมินหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินผลกลัก สูตรจะต้องทาการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีอยู่ มาประกอบการพิจารณา ข้อมูลที่นามาพิจารณาตามแบบ ตัวอยา่ งของ สเต้ก นีม้ ีอยู่ด้วยกัน 4 หมวด คือ ก) ผลที่ตอ้ งการหรือผลทคี่ าดหวัง ซ่ึงไดแ้ ก่ จุดมงุ่ หมายและจุดประสงคต์ า่ ง ๆ ข) ผลท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงได้มาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น จากการสังเกต การทดลอง การสัมภาษณ์จาก แบบสอบถาม จากรายงานและการตดิ ตามผลวิธีต่าง ๆ ค) มาตรฐานท่ีใช้ซึ่งได้แก่เกณฑ์ต่าง ๆ ผู้เชี่ยวชาญ เช่น ครู นักบริหารเช่ือว่าควรจะใช้ผู้เรียน ผปู้ กครอง ฯลฯ เหน็ วา่ ควรจะใช้ ง) ที่มาของหลักการตัดสินใจ เช่น ค่านิยมต่าง ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเช่ือต่าง ๆ เปน็ ตน้
152 3. วธิ ีใชต้ ารางในการประเมินหลกั สตู ร เร่ิมต้นด้วยการพิจารณาข้อมูลท้ัง 4 หมวด ตามเกณฑ์ที่ต้ังข้ึน เช่น จากตารางแบบตัวอย่างของ สเต้ก ถ้าพิจารณาในแนวนอน จะเร่ิมที่ด้านส่ิงท่ีมีมาก่อน ข้อบุคลิกและนิสัยของผู้เรียน เราก็จะพิจารณา ว่า ผลท่ีคาดหวังหรือวัตถุประสงค์ ในด้านน้ีคืออะไร และนามาเปรียบเทียบกับผลที่เกิดขึ้นว่า ตรงหรือ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด และผลท่ีเกิดข้ึนน้ัน ใช้มาตรฐานอะไรวัดและถืออะไรเป็นหลัก ในการตัดสิน ข้อมลู ตามทคี่ าดหวัง ความสอดคลอ้ ง ข้อมูลตามผลท่ีเกิดข้นึ ด้านส่งิ ทีม่ มี ากอ่ น ความสอดคล้อง ดา้ นสิ่งท่ีมีมาก่อน ความสัมพนั ธ์ ความสอดคลอ้ ง ความสัมพันธ์ ด้านกระบวนการในการสอน ด้านกระบวนการในการสอน ความสมั พนั ธ์ ความสมั พันธ์ ด้านผลทเี่ กดิ ข้นึ ด้านผลท่เี กดิ ข้ึน ภาพท่ี 6.1 การวเิ คราะหถ์ ึงความสอดคล้องกบั ความสมั พันธ์ของหลักสูตร Armstrong (2003: 280 - 283) การวิเคราะห์ถึงความสอดคล้องกับความสัมพันธ์ของหลักสูตรนี้ จะเป็นแนวทางช้ีให้เห็นถึง ข้อบกพรอ่ งต่าง ๆ ซึ่งจะมสี ว่ นช่วยในการปรับปรุงหลักสตู รได้ (Armstorng, 2003: 280-283)
153 แบบที่ 2: รูปแบบบการประเมินหลักสูตรของไฟ เดลตา คัปปา หรือรูปแบบซิป (The Phi Delta Kappa Committee Model or CIPP Model) รูปแบบคล้ายคลึงกับรูปแบบแรกในแง่ท่ีเน้นเก่ียวกับการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์และความ สอดคลอ้ งของส่ิงท่ีบรรจุอยูใ่ นหลกั สูตร แตแ่ บบท่ี 2 น้ี ให้หวั ข้อท่ตี ่างไปจากแบบท่ี 1 เล็กน้อย ดังภาพ การประเมิน ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น การประเมินผล บรบิ ท ปัจจยั ป้อนเขา้ กระบวนการ ผลิต CONTEXT INPUT PROCESS PRODUCT EVALUTION EVALUATION VALUATION EVALUATION ภาพท่ี 6.2 การประเมนิ หลักสูตรของไฟ เดลตา คปั ปา หรอื รปู แบบซิป (Armstrong, 2003: 277) การประเมินบริบท เป็นการประเมินการตัดสินใจในการวางแผนก่อนการใช้หลักสูตรความ ต้องการและความจาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และจุดประสงค์ใน ระดบั ต่าง ๆ ท่ีสนองตอบตอ่ ความตอ้ งการและความจาเปน็ ซ่งึ อาจประเมนิ โดยการวเิ คราะห์ระบบ สารวจ ทบทวนเอกสาร รับฟงั ความคิดเหน็ สมั ภาษณ์ ทดสอบและวนิ ิจฉัย และใช้เทคนคิ เดลฟาย (Delphi) การประเมินปัจจัยป้อนเข้า เป็นการประเมินแผนการใช้หลักสูตรโครงสร้างของหลักสูตร การ ตัดสินใจเลือกเนื้อหา การจัดลาดับเน้ือหา เทคนิควิธีการที่เลือกใช้ ทรัพยากรบุคคล ส่ือการเรียนรู้ งบประมาณ และการกาหนดการใชห้ ลักสูตร ซึง่ อาจประเมนิ โดยการประเมนิ จากสภาพจริงในการเย่ยี มชม โปรแกรม และการสารวจความคดิ เห็น การประเมินกระบวนการ เป็นการประเมินกระบวนการใช้หลักสูตร กระบวนการสอนของครู กิจกรรมต่าง ๆ ในสถาบัน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร ระบบการบริหารจัดการหลักสูตรท้ังหมดและ ความสอดคล้องของการใช้หลักสูตรกับการออกแบบหลักสูตร ซึ่งอาจประเมินโดยการตรวจสอบ สังเกต และสอบถามความคดิ เห็น การประเมินผลผลลัพธ์ เป็นการประเมินว่าหลักสูตรบรรลุเป้าหมายหรือไม่หลังจากได้ใช้หลักสูตร แล้วหรืออยู่ระหว่างการใช้ ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างบริบท ปัจจัยป้อนเข้า และกระบวนการประเมิน คุณคา่ ของผลผลติ และระบบหลกั สตู รทั้งหมด ซึ่งอาจประเมินโดยการวัดผลลัพธ์ตามเกณฑ์ที่กาหนด ประเมิน จากการตดั สินคุณค่าของผมู้ สี ่วนร่วมหรือผู้ที่เก่ยี วข้องกบั หลักสตู ร (Armstrong, 2003: 277-280)
154 จากรปู แบบนี้ จะเห็นวา่ วิธีการประเมนิ หลักสูตรคอื การท่ีผปู้ ระเมินหลกั สูตรจะทาการประเมินดา้ น ต่าง ๆ ท้ัง 4 ด้านดังกล่าว แล้วนามาเทียบกันดูว่า มีความสอดคล้องและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตวั อย่างเชน่ ในด้านจดุ มุ่งหมายหากต้องการจะสร้างเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นนักประชาธิปไตยแล้ว ก็นามา เทยี บดูวา่ ระบบโครงสร้าง และการบริหารหลักสูตรเปน็ ระบบที่เออื้ ต่อการช่วยให้ผู้เรียนเป็นนกั ประชาธปิ ไตย หรือไม่ และจะดูต่อไปว่า การจัดการเรียนการสอนเป็นไปในวิถีทางท่ีช่วยเสริมความเป็นนักประชาธิปไตย เพียงใด และผลท่ีเกดิ ขึ้นจริง ๆ สอดคล้องกันอย่างไร จากการเทียบข้อมูลตามหัวข้อดังกล่าว จะสามารถช่วย ให้ผู้ประเมินหลักสูตรได้เห็นว่าหลักสูตรนั้น ๆ มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกันเพียงใดและมีจุดใดที่ควร แกไ้ ข แบบที่ 3: รูปแบบการประเมินความไม่สอดคล้องของโพรวัส (Provus’s discrepancy evaluation model) SC D Decision Making P ภาพที่ 6.3 รูปแบบของมลั คลั ม์ โพรวัส (Malcolm Provus) (Armstrong, 2003: 280) S = Standard เป็นข้ันแรกของการดาเนินการประเมินหลักสูตรกล่าวคือ ผู้ประเมินจะต้องตั้ง มาตรฐานของสง่ิ ทตี่ ้องการวดั ไว้เสียก่อน P = Performance หลังจากท่ีได้ดาเนินงานข้ันแรกเสร็จลงไปแล้ว ผู้ประเมินจะต้องรวบรวม ข้อมูลในเร่ืองของสิ่งท่ีต้องการวัดมาให้เพียงพอ ข้อมูลท่ีรวบรวมควรเป็นข้อมูลท่ีแสดงให้เห็นเป็น พฤติกรรมท่ชี ัดเจน C = Compare เม่ือตั้งมาตรฐานและรวบรวมข้อมูลเสร็จแล้ว ก็นาข้อมูลนั้นมาเปรียบเทียบกับ มาตรฐานทต่ี ง้ั ไว้ D = Discrepancy จากการเปรียบเทียบข้อมูลกับมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ ผู้ประเมินจะพบว่ามี ช่องวา่ งอะไรระหวา่ งผลที่เกิดข้นึ กบั ผลทค่ี าดหวงั
155 Decision - Making ผู้ประเมินจะส่งผลการประเมินไปให้ผู้ท่ีจะต้องตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตรเพื่อทา การตัดสินใจอย่างใดอย่างหน่ึงเช่น จะหยุดใช้หลักสูตรนั้นหรือไม่ จะปรับปรุงอะไร หรือเปลี่ยนแปลง ซ่ึง ขั้นตอนการประเมินดังกลา่ วสามารถอธบิ ายเปน็ รูปแบบได้ดังนี้ (Armstrong, 2003: 284 - 286) เกณฑ์มาตรฐาน การปฏบิ ตั จิ ริง เปรยี บเทยี บ ความสอดคล้อง/ไม่สอดคลอ้ ง ระหว่างการปฏิบตั จิ รงิ กบั เกณฑม์ าตรฐาน ตัดสนิ ใจ ยกเลิก ปรับปรุง ภาพที่ 6.4 กระบวนการในการตัดสนิ ในการประเมินของโพรวสั (Armstrong, 2003: 286) รูปแบบการประเมินหลักสูตรของโพรวัส นี้นับว่าให้ความสะดวกแก่ผู้ประเมินหลายประการ ผู้ ประเมินผลสามารถท่ีจะหยิบยกขอ้ มลู ใดขอ้ มลู หนึ่ง เชน่ การสอนแต่ละเรือ่ ง หรือกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึง มาประเมินโดยเฉพาะ โดยดาเนินการตามกระบวนการข้างต้น หรือจะประเมินทง้ั 5 ดา้ น คอื การประเมิน การออกแบบ (Design) การประเมินการจัดทา (Installation) การประเมินกระบวนการ (Process) การ ประเมินผลผลติ (Product) และการประเมินงบประมาณทใ่ี ช้ไป (Cost) โดยเปรียบเทยี บกับมาตรฐาน แบบท่ี 4: รูปแบบการประเมินผลการฝึกอบรมของเคิร์ก แพททริค สาหรับพัฒนาทรัพยากร มนษุ ย์ (Kirkpatrick’s Training Evaluation Model for Human Resource Development) โดนัล เคิร์ก (Donald L. Kirkpatrick) ได้เสนอรูปแบบการประเมินโปรแกรมการฝึกอบรม (training programs) โดยให้ประเมิน 4 ระดับ คอื
156 1. ประเมินปฏิกิริยาของผู้เรียน (Reaction of Students) ได้แก่ การประเมินความคิด ความรู้สึก เกี่ยวกบั การฝึกอบรม และประสบการณ์การเรียนรู้ทจ่ี ัดในโปรแกรม โดยใชแ้ บบสอบถามหลังการฝึกอบรม 2. ประเมินการเรียนรู้ (Learning) เป็นการประเมินความร้แู ละความสามารถท่ีเพ่ิมขึ้น โดยมีการ ประเมินเปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกอบรมด้วยแบบทดสอบ และอาจใชก้ ารสมั ภาษณร์ ว่ มด้วย 3. ประเมินพฤติกรรม (Behavior) เป็นการประเมินขอบเขตของพฤติกรรมและความสามารถท่ี พัฒนาขึ้น รวมถึงการนาประสบการณ์จากการฝึกอบรมไปใช้และประยุกต์ใช้ในงาน เมื่อกลับไปทางาน หลังจากรับการฝึกอบรมแลว้ โดยใช้การสังเกตและสัมภาษณ์เพ่ือประเมินการเปลี่ยนแปลงและร่วมมือใน การประเมินกับหวั หนา้ งาน 4. ประเมินผลลัพธ์ (Results) เป็นการประเมินผลการพัฒนาความสาเร็จของผู้ได้รับการฝึกอบรมแล้ว ที่มีผลต่อองค์กรหรือชุมชน โดยประเมินจากผลที่เกิดเป็นรูปธรรม เช่น ประเมินเป็นขนาด ผลประกอบการ ร้อยละ ระดบั คณุ ภาพ การรบั รองมาตรฐาน การเพ่ิมผลผลติ รายไดบ้ ุคลากร ปริมาณขอ้ ผดิ พลาด เปน็ ต้น จะเห็นได้ว่าการประเมินโปรแกรมฝึกอบรมจะเน้นการประเมินผลที่เกิดแก่ตัวผู้เข้ารับอบรมที่จะ ส่งผลถึงหน่วยงาน ชุมชน สังคม และอาจสะท้อนถงึ ตวั หลักสตู รด้วย 8. การปรบั ปรุงหลกั สูตร คุณภาพการศึกษาจะเป็นอย่างไรน้ัน ตัวชี้วัดท่ีสาคัญคือคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งสะท้อนถึง กระบวนการในการหล่อหลอมและการสร้างประสบการณ์เรียนรู้ท่ีมีความหมาย ตลอดถึงการนาไปใช้ใน อนาคตอย่างเกิดประโยชน์และเจริญงอกงาม ในโลกของอนาคตท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและ ความต้องการของมนุษย์ที่เพิ่มมากขึ้น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงมีบทบาทสาคัญต่อการกาหนดและ ปรับปรุงหลักสูตรให้มีความเท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงในอนาคตและศตวรรษที่ 21 ซ่ึงการจัดการศึกษา ในศตวรรษท่ี 21 ต้องคานึงถึงการพัฒนาให้ประชากรของโลกมีความสามารถในการแข่งขัน โดย ความสาเรจ็ ของประชากรท่เี กดิ ข้ึนมีปจั จัยมาจากการมีความรู้และทักษะที่สาคัญ และมีการจดั การศกึ ษา ที่มุ่งผสมผสานวิชาแกนกับแนวคิดสาคัญต่าง ๆ ของศตวรรษท่ี 21 และทักษะต่าง ๆ เพ่ือเตรียมความ พร้อมให้ผู้เรียนก่อนออกไปสู่โลกของการทางาน โดยที่ผู้เรียนต้องได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ในเนื้อหา และทักษะท่ีจะประยุกต์ใช้และปรับเปล่ียนความรู้เหล่าน้ันให้เข้ากับเป้าหมายที่เป็นประโยชน์และ สร้างสรรค์ รวมทั้งส่งเสริมให้มีความต่อเน่ืองตามเนื้อหาและสภาพการณ์ท่เี ปลี่ยนแปลงไป จึงอาจกล่าว ได้ว่า การจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 จึงมิใช่ห้องเรียนที่มีเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีเน้ือหาวิชาท่ี หลากหลาย แต่ยังต้องรวมถึงการสร้างจิตสานึกต่อโลก มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในการใช้ เทคโนโลยีดีจิตัล มีความรู้ มีทักษะชีวิตและการทางาน นอกจากนั้นประชากรในโลกยุคศตวรรษที่ 21
157 ยังต้องสนใจเร่ืองของการประเมินหลักสูตร การพัฒนาทางวิชาชีพและสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 บทสรปุ ในการพัฒนาหลักสูตรจะต้องมีการประเมินหลักสูตรเพ่ือตรวจสอบว่าหลักสูตรที่นาไปใช้แล้วน้ัน ยงั คงมีประเดน็ ใดทต่ี ้องปรับปรงุ อีกบา้ ง หรอื สมควรจะใชห้ ลกั สูตรนั้นตอ่ ไปหรอื ไม่ โดยอาศัยวธิ ีการต่าง ๆ ในการประเมินหลักสูตร โดยผู้ประเมินสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรเป็นหลัก เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อมลู ทีเ่ ปน็ จริงนามาวเิ คราะห์และสรปุ ชใ้ี ห้เหน็ ข้อบกพร่องต่าง ๆ นาไปเปน็ ข้อมูลในการพฒั นา หลักสูตรในโอกาสต่อไป ในการประเมินหลักสูตรอาจดาเนินการเป็นระยะ ๆ ระหว่างการใช้หลักสูตรได้ และเมื่อใช้หลักสูตรเสร็จสิ้นหรือครบวงจรแล้วต้องมีการประเมินรวบยอดอีกครั้งหนึ่ง ประเมินให้ครบทุก องค์ประกอบของหลักสูตรและท้ังระบบของหลักสูตรด้วย และผลจากการประเมินหลักสูตรย่อมมี คุณประโยชน์ทั้งต่อผู้บริหารและผู้ใช้หลักสูตรตลอดจนประสิทธิภาพของการศึกษา หากมีการประเมิน อย่างมีระบบ มีเป้าหมาย และมีวิธีการที่ชัดเจนเป็นที่น่าเช่ือถือ เม่ือนาไปปรับปรุงแล้วย่อมเป็น หลักประกันว่าหลักสูตรจะมีคุณภาพ เอกสารอา้ งอิง ใจทพิ ย์ เช้ือรตั นพงษ.์ (2539). การพัฒนาหลกั สตู ร: หลกั การและแนวปฏบิ ัต.ิ กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์อลนี เพรช. ชมพันธ์ กญุ ชร ณ อยธุ ยา. (2541). เอกสารเก่ียวกับการพัฒนาหลกั สูตร. กรงุ เทพฯ: โรงเรยี นครูทหาร กองการศึกษา, กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กองบัญชาการฝึกศกึ ษาทหารอากาศ. ชาญเจริญ ซ่ือชวกรกุล. (2550). การดาเนินงานประกันคณภาพภายในเพ่ือรองรับการประเมิน ภายนอก รอบที่สองของโรงเรียนโปงหลวงวิทยารัชมังคลาภิเษก จังหวัดลาปาง. (การค้นคว้าแบบอิสระ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต) เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ฐรี ะ ประวาลพฤกษ์. (2538). การพฒั นาบุคคลและการฝึกอบรม. กรงุ เทพฯ: สานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. ดาราวรรณ สวุ รรณชฎ. (2540). ความคดิ เห็นของนายทหารสญั ญาบตั รเหลา่ สารบรรณที่มีต่อการฝึกอบรม หลกั สูตรช้นั นายรอ้ ยเหล่าสารบรรณ กองบัญชาการทหารสูงสุด. (ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑติ ). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ วิชัย วงษใ์ หญ.่ (2523). พัฒนาหลักสตู รและการสอน. กรุงเทพฯ: รุง่ เรืองธรรม.
158 ทิศนา แขมมณ.ี (2540). “การประเมินหลักสูตร”. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 4). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สุจรติ เพียรชอบ. (2548). E Learning การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สันต์ ธรรมบารงุ . (2527). หลกั สูตรและการบรหิ ารหลกั สูตร. กรงุ เทพฯ: การศาสนา. สมุ ติ ร คณุ านกุ ร. (2533). หลักสูตรและการสอน. กรงุ เทพฯ: ชวนพมิ พ์ . Armstrong, G., & Kotler, P. (2003). Marketing and introduction. (6th ed.). New Jersey: Pearson Education Conbach, L. J. ( 1971) . Essentials of Psychological Testing. (3rded). New York: Harper & Row.P161. Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York:McGraw - Hill Book Company. Washington,D.C.:Office of Vocational and Adult Education (ED). Stake, R. E. ( 1967) . “The Countenence of Education Evaluation” . Teacher College Record. 68 (April1967). Stufflebeam, D. L., Foley, W. J., Gephart, W. J., Guba, E. G., Hammond, R. L., Merriman, H. O., & Provus, M. M. (1971). Educational evaluation and decision making. Itasca. IL: Peacock.
159 บทท่ี 7 การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา อารวี รรณ เอี่ยมสะอาด บทนา การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เป็นกระบวนการที่มีเป้าหมายที่สาคัญเพ่ือให้ ได้หลักสตู รทีน่ ามาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงคือ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพตรงตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ ดังน้ันผู้ท่ีรับผิดชอบในการการ ออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จึงจาเป็นต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับการออกแบบและการ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา มปี ระเดน็ ท่ีสาคญั ดงั นี้ 1. การออกแบบและการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา 2. แนวโน้มของหลักสตู รสาหรับพฒั นาผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21 3. ข้นั ตอนการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา แตล่ ะประเดน็ มีสาระสาคญั ดังน้ี 1. การออกแบบและการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การออกแบบและการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา หมายถึง การออกแบบหลักสูตรที่สถานศึกษา หรือโรงเรียนพัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับสภาพท้องถ่ินและธรรมชาติของผู้เรียนในสถานศึกษานั้น ๆ โดยมี โครงสร้างของหลักสูตรท่ีเป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มีการกาหนดสาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซ่ึงกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับ การศึกษาข้นั พ้ืนฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยศกึ ษาความสัมพันธ์ของ การพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานดงั ภาพที่ 7.1
160 ภาษาไทย: ความรู้ ทักษะและ คณติ ศาสตร์: การนาความรู้ทักษะ วิทยาศาสตร์: การนาความรแู้ ละ วัฒนธรรมการใชภ้ าษา เพ่อื การ และกระบวนการทางคณิตศาสตรไ์ ป กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ไปใช้ ใชใ้ น การแก้ปญั หา การดาเนนิ สอ่ื สาร ความชืน่ ชม การเห็นคณุ คา่ ชวี ิต และศกึ ษาตอ่ การมเี หตมุ ผี ล ในการศกึ ษา ค้นควา้ หาความรู้ และ มเี จตคติทดี่ ตี ่อคณติ ศาสตร์ ภูมปิ ัญญา ไทย และภูมิใจในภาษา พัฒนาการคิดอยา่ งเปน็ ระบบและ แกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคดิ สรา้ งสรรค์ ประจาชาติ อย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล คดิ วิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ: ความรู้ องคค์ วามรู้ ทกั ษะสาคัญ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม: ทกั ษะ เจตคติ และวฒั นธรรม และคณุ ลกั ษณะ การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสังคม การใชภ้ าษาต่างประเทศในการ โลกอยา่ งสนั ตสิ ุข การเปน็ พลเมอื งดี ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา สอื่ สาร การแสวงหาความรู้ การเหน็ คณุ คา่ ของทรพั ยากรและ ขน้ั พนื้ ฐาน สิง่ แวดล้อม ความรักชาติ และภมู ใิ จ และการประกอบอาชีพ ในความเปน็ ไทย การงานอาชพี และเทคโนโลย:ี ศิลปะ: ความรแู้ ละทกั ษะในการ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา: ความรู้ ทกั ษะ ความรู้ ทักษะ และเจตคตใิ นการ คิดริเร่ิม จนิ ตนาการ สรา้ งสรรค์ และเจตคตใิ นการสรา้ งเสริมสุขภาพ งานศิลปะ สนุ ทรยี ภาพและการ ทางาน การจัดการ การดารงชวี ติ เหน็ คณุ คา่ ทางศิลปะ พลานามัยของตนเองและผอู้ ื่น การ การประกอบอาชีพ และการใช้ ปอ้ งกนั และปฏบิ ัตติ อ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ผี ล เทคโนโลยี ตอ่ สขุ ภาพอยา่ งถกู วิธแี ละทกั ษะในการ ดาเนนิ ชีวิต ภาพท่ี 7.1 ความสัมพนั ธ์ของการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2551: 10)
161 2. แนวโน้มของหลกั สตู รสาหรับพฒั นาผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 จากแนวคิดสาคัญของการพัฒนาคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกระบวนการทางการศึกษา ซึ่งเครื่องมือสาคัญของการจัดการศึกษา คือ หลักสูตร โดยนัยดังกล่าวนี้การจัดหลักสูตรจึงต้องให้ สอดคล้องกับบริบทของสังคมและเป้าหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในขณะนั้น ในปัจจุบันนี้คือ ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงของการ เปลย่ี นแปลงทางสังคม และความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การจัดหลักสูตรเพื่อพัฒนาทรัพยากร มนุษย์จึงต้องพัฒนาให้บุคคลมีศักยภาพท่ีสามารถดารงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งคนในศตวรรษท่ี 21 นี้จะต้องมีทักษะท่ีสาคัญและแตกต่างจากในอดีตท่ีผ่านมา ทกั ษะเพ่อื การดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 กาหนดไวว้ ่า บคุ คลตอ้ งมีทกั ษะอยา่ งนอ้ ย 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. ทักษะด้านความรู้ จะต้องมีความรู้เก่ียวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับ การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และความรดู้ ้านสิ่งแวดลอ้ ม (Environmental Literacy) 2. ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่โลกการ ทางานท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึนในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ปญั หา การส่อื สารและการร่วมมือ 3. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้านคือ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกย่ี วกับสื่อ และความร้ดู า้ นเทคโนโลยี 4. ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ ผู้เรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเร่ิมสร้างสรรค์และ เป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และ ความรับผดิ ชอบเชอ่ื ถือได้ (Accountability) และภาวะผู้นาและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) การพัฒนาให้เกิดทักษะทั้ง 4 ด้าน ดังกล่าว ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยวิธีการเรียนรู้ 3R x7C ซึ่ง 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได)้ , และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) และ 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ แก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทั กษะด้ านความร่ วมมื อ การท างานเป็ นที ม และภาวะผู้ น า)
162 Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสารสารสนเทศ และรู้เท่าทัน ส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้) จากแนวคิดทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้าง รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นท่ี องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน เพ่ือใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่ง ความเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความ ร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (Partnership For 21st Century Skills) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซ่ึงได้พัฒนากรอบแนวคดิ เพือ่ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ เฉพาะดา้ น ความชานาญการและความรู้เทา่ ทันด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกนั เพือ่ ความสาเร็จของผู้เรียนท้งั ด้าน การทางานและการดาเนินชวี ิต (อารวี รรณ เอ่ียมสะอาด, 2559: 17-18) ดงั ภาพท่ี 7.2 ภาพท่ี 7.2 กรอบแนวคดิ เพ่ือการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 (21st Century Learning Framework) อารีวรรณ เอ่ียมสะอาด (2559: 18)
163 กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นทยี่ อมรับในการสร้างทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นท่ี ยอมรับอย่างกว้างขวางเน่ืองด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทีจ่ ะช่วยผู้เรียนได้เตรียม ความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้งระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21 ดงั นั้น การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตอ้ งก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21” (21st Century Skills) จากทักษะท่ีต้องพัฒนาคนในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าวน้ัน ในการจัดหลักสูตรและการเรียนการ สอน “สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ปัจจบุ ันการเรียนรู้สาระวชิ า (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นควา้ เอง ของ ศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนสามารถประเมินความ ก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้” ซึ่ง สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และ ภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ และ ประวัตศิ าสตร์ โดยวิชาแกนหลักน้จี ะนามาสู่การกาหนดเปน็ กรอบแนวคิดและยทุ ธศาสตร์ สาคัญต่อการหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อ สาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเน้ือหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่ง ศตวรรษท่ี 21 เขา้ ไปในทุกวชิ าแกนหลกั (อารีวรรณ เอ่ยี มสะอาด, 2559: 18-19) ในทานองเดียวกัน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2559: 47-50) ได้ให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัด การศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 บนพ้ืนฐานของ UNESCO’s Guidelines ที่ได้ให้ ขอ้ เสนอแนะไว้ว่า คนรุ่นใหม่ต้องมีลักษณะ 4 อย่าง (Four pillars) คือ (1) Learning how to learn (2) Learning how to do (3) Learning how to work (4) Learning how to be ซึ่งในการจัดหลักสูตร การศึกษาจะต้องชี้ชัดลงไปว่า ต้องให้ผู้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้อย่างวิเคราะห์ วิจารณ์ (Learning how to learn critically) รู้วิธีทาอย่างสร้างสรรค์ (Learning how to do creatively) รู้วิธีทางานอย่างมี ความก้าวหน้า (Learning how to work constructively) และรู้วิธีอยู่ด้วยกัน (Learning how to be wisely) โดยนยั ดังกล่าวน้ี คนในศตวรรษท่ี 21 จึงต้องมคี ุณลกั ษณะ 4 ประการ คอื 1. Smart consumer เป็นคนที่รู้จักคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณในการเลือกอย่างมีเหตุผล ไม่ หลงตามคาโฆษณา และไมต่ ามกระแสสังคมโดยไม่มองตนเอง
164 2. Break-though Thinking สามารถคิดสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ ขนึ้ ได้ในสงั คมไทยดว้ ยตนเองแล้ว พัฒนาตามความคิดนั้นหรือพัฒนาผลงานจากความคิดน้ัน ๆ ได้เพื่อให้ได้ผลงานที่อยู่บนพื้นฐานของ สงั คมไทย รวมท้ังสามารถคิดพัฒนาผลงานต่อยอดจากตา่ งประเทศได้ดว้ ย 3. Social concerned หมายถึงการมีความรู้สึกร่วมได้ร่วมเสียกับสังคม มีสานึกทางสังคม ตระหนักว่าปัญหาและทางออกของสังคมจะต้องเป็นความรับผิดชอบร่วมกัน ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการ แก้ไขสังคมไทยและสังคมโลกไปพร้อม ๆ กัน 4. Thai Pride มคี วามภาคภูมิใจในวฒั นธรรมของตนเองควบคไู่ ปกบั การเห็นคุณคา่ ของคนอ่นื จากคุณลักษณะทั้งสี่ประการดังกล่าว ประมวลเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ที่ เรยี กวา่ CCPR Model ได้ดงั นี้ C: Critical Mind มองสังคมรอบดา้ น รูท้ ม่ี าท่ีไป และ เข้าใจเหตแุ ลผล C: Creative Mind คดิ ตอ่ ยอดจากทม่ี ีอยู่ ประยกุ ต์และใช้ประโยชน์ และมองประเด็นใหมไ่ ด้ P: Productive Mind คานึงถึงผลผลิต มีวิธกี ารและคณุ ภาพ และคณุ ค่าของผลงาน R: Responsible Mind นึกถึงสังคมและประเทศชาติ มีจิตสานึกสาธารณะ และมีคุณธรรม จริยธรรม / ความดีงาม การกาหนดคุณลักษณะของผู้เรียนดังกล่าว ได้นามาใช้เป็นพื้นฐานของหลักสูตรตาม CCPR Model ท่กี าหนดเนอื้ หาสาระทีต่ ้องให้ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรู้ ไว้ สป่ี ระการ คือ ประการแรก เรียนความรู้ท่ัวโลกและภูมิปัญญาไทยและขณะเดียวกันต้องเรียนนวัตกรรมใหม่ ของโลก เพือ่ ให้ทนั กบั การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขน้ึ ประการที่สอง ต้องให้ศึกษาทางเลือกโดยเฉพาะอย่างยิ่งอนาคตเป็นโลกท่ีมีทางเลือก หลากหลาย ประการทสี่ าม เรยี นรกู้ ารวิเคราะห์นวัตกรรมใหมข่ องโลก ประการทสี่ ี่ เรียนรกู้ ระบวนการท่ีจะแสวงหาความรใู้ หม่ จากแนวคิดของหลักสูตรเพ่ือพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าว จึงสามารถกล่าวได้ว่า หลักสูตรในศตวรรษที่ 21 จะเป็นหลักสูตรท่ีแตกต่างจากหลักสูตรแบบเดิม และมีความโดดเด่นท่ีมีเน้ือหาของ หลักสูตรที่เป็นสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ในลักษณะที่เป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) เนื้อหาของหลักสูตรเน้นการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนให้เป็นผู้ที่คิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์และ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อย่างมีเหตุผล และเป็นประโยชน์ต่อการดารงชีวิตทั้งต่อตนเองและสังคม นอกจากนั้น เนื้อหาของหลักสูตร นอกจากเนื้อหาท่ีเป็นองค์ความรู้เดิมแล้ว ยังต้องสร้างเนื้อหาใหม่ที่ตอบต่อความต้องการ ของสังคม เชน่ เน้อื หาเกี่ยวกับการดูแลผสู้ งู อายุเพราะสงั คมกาลังเป็นสงั คมผสู้ ูงอายุ เป็นตน้
165 3. ขน้ั ตอนการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นความจาเป็นที่ทุกสถานศึกษาต้องพึงปฏิบัติตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มี ข้ันตอนการพัฒนาหลักสูตร ดงั นี้ 1. วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) ประวัติและปรัชญาการศึกษา 2) สังคมและ วัฒนธรรม 3) ความรเู้ กีย่ วกบั ผู้เรียน 4) ทฤษฏีการเรียนรู้ 5) ธรรมชาตขิ องเนอื้ หาสาระ 6) ความต้องการ ของสถานศึกษา นกั เรยี นและผู้ปกครอง และ 7) ขอ้ มูลของสถานศกึ ษา เป็นตน้ 2. ประชุมช้แี จงคณะผู้บรหิ ารและคณะครใู นสถานศกึ ษาในการพฒั นาหลักสตู ร 3. จดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการแบบมสี ว่ นรว่ มแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยมขี ้ันตอนสาคัญดงั น้ี 3.1 แจกเอกสารทส่ี าคญั 1) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2) มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 3) มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 3.2 กาหนดวิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ ของสถานศึกษาร่วมกนั 3.3 แบ่งกลมุ่ ตามสาระการเรียนรแู้ ตล่ ะระดบั ช้นั และดาเนินการ ดังตารางท่ี 7.1 ตารางท่ี 7.1 โครงสร้างหลักสตู ร วชิ า................... ชัน้ ........................โรงเรยี น............. หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ สาระสาคญั นา้ หนัก (ชม.) ตัวช้ีวดั คะแนน (100)
166 3.4 เขียนคาอธิบายรายวิชา ให้พิจารณาคาสาคัญจากมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด โดยเขียน ให้ครบ 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้ (Knowledge – K) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1.1) เนื้อหาสาระของ วิชานกั คิด คอื สาระวชิ าท่ผี เู้ รยี นต้องเรยี นรู้ ประกอบดว้ ยเครอ่ื งมอื ชว่ ยคดิ กระบวนการคดิ ทักษะการคดิ และ 1.2) ความรู้บูรณาการ คือ สาระเรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นสภาพการณ์ท่ีกาหนดสภาพแวดล้อมรอบตัว ปัญหาในชีวิตประจาวัน ที่ถูกนามาคิด ซ่ึงเนื้อหาจะเป็นสาระของวิชาใดก็ได้ จึงเป็นความรู้เชิงบูรณาการ 2) ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process-P) คือ กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนากระบวนการ คิดที่เน้นการฝึกปฏิบัติจริง ได้สร้างผู้เรียนให้เกิดทักษะชีวิต และ 3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute- A) คือ คุณลักษณะท่ีปลูกฝังของรายวิชา ได้แก่ ใจกว้าง ขยัน ใฝ่เรียนใฝ่รู้ กระตือรือร้นช่าง คดิ ผสมผสาน ขยนั ตอ่ สู้ อดทน เปน็ ธรรม ม่ันใจในตนเอง ชา่ งวิเคราะห์ กล้าคดิ กลา้ เสย่ี ง มนี า้ ใจ น่ารกั น่า คบ เป็นต้น คาสาคัญของเนื้อหาสาระบ่งบอกให้ทราบว่า ผ้เู รียนหรอื นักเรียนจะต้องเรยี นรู้เน้อื หาสาระใดบา้ ง สว่ นคาสาคัญในเรื่องทักษะกระบวนการนั้น มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติ รวมทั้งคุณลักษณะที่ต้องการปลูกฝังให้ เกิดแก่ผู้เรียนเพื่อให้บรรลุมาตรฐานที่กาหนด ส่วนคาอธิบายรายวิชาควรประกอบไปด้วย ช่ือรายวิชา รหสั วชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดบั ช้ัน จานวนเวลา หรอื จานวนหน่วยกิต ดังตวั อย่าง คาอธบิ ายรายวิชา............... ชั้น............................. ยอ่ หนา้ แรก ดา้ นความรู้ ยอ่ หน้าท่ี 2 ด้านทักษะ/ กระบวนการ ยอ่ หนา้ ท่ี 2 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั รวม........................... ตัวชี้วัด 4. รวบรวมและจัดทารูปเล่มหลักสูตรสถานศึกษาโดยรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกช้ันปี รวมทัง้ ตรวจสอบความเรยี บร้อย 5. คณะกรรมการสถานศึกษาประเมินหลกั สูตรสถานศึกษาตามตัวอย่างตารางที่ 7.2 (อารีวรรณ เอย่ี มสะอาด, 2559)
167 ตารางท่ี 7.2 แบบประเมนิ เอกสารหลักสตู รสถานศึกษา ไม่มี มี / ระดบั คุณภาพ องคป์ ระกอบหลกั (0) ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก (1) (2) (3) (4) 1. วิสัยทัศน์ 2. จดุ หมาย 3. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 4. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด 8 กลุ่มสาระฯ/ กิจกรรม พฒั นาผเู้ รยี น 6. โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา/เวลาเรียน 7. รายวิชาตามกลมุ่ สาระการเรยี นรูพ้ ืน้ ฐาน 8. คาอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนรู้พืน้ ฐาน 9. หนว่ ยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรูพ้ ้ืนฐาน 10. รายวิชาเพิ่มเติม 11. คาอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ 12. โครงสร้างรายวชิ า 12. หน่วยการเรียนรู้สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ (ถา้ มี) 13. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (แนะแนว,ชมุ นมุ ,เพ่อื สังคม) 14. การจัดการเรียนร้แู ละการส่งเสริมการเรยี นรู้ 15. สื่อและแหลง่ เรียนรู้ 16. การวดั และประเมนิ ผล 17. การบริหารจดั การหลกั สตู รสถานศกึ ษา 18. มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดแทรกคุณธรรมนาความรู้ และประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/ประวัติศาสตร์/ อาชีพในชมุ ชน รวม เฉล่ีย
168 จุดเด่นทพี่ บ ........................................................................................................................... .......................... จดุ ทต่ี อ้ งพัฒนา ............................................................................................................................. ........................ บทสรปุ การออกแบบและการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา หมายถึง การทสี่ ถานศกึ ษาพัฒนาหลักสูตรของ ตนเองสอดคล้องกับบริบทของตนเอง โดยมีโครงสร้างของหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 แนวโน้มของหลักสูตรสาหรับพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงของการเปลี่ยนแปลงทาง สังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ต้องพัฒนาบุคคลให้มีมีทักษะอย่างน้อย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ทักษะด้านความรู้ 2)ทักษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม 3) ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี และ 4) ทกั ษะด้านชีวิตและอาชพี ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สรุปดังนี้ 1) วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน 2) ประชุมช้ีแจงคณะผู้บริหารและคณะครูในสถานศึกษาเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร 3) จัดประชุมเชิง ปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วมแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ 4) รวบรวมและจัดทารปู เล่มสถานศึกษาโดยรวมทุก กลมุ่ สาระการเรียนรู้และทกุ ช้นั ปี และ 5) คณะกรรมการสถานศกึ ษาประเมินหลักสูตร เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. ไพฑรู ย์ สินลารตั น์. (2559). คิดเพอ่ื ครู. กรุงเทพฯ: วิทยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย.์ อารีวรรณ เอ่ียมสะอาด. (2559). ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัย ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบณั ฑติ ย.์ _____. (2559). การพฒั นาหลักสูตร. กรงุ เทพฯ: PROTEXTS.COM บริษัท แดเนก็ ซ์ อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จากดั .
169 บทท่ี 8 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน และหลักสูตรสถานศกึ ษา ธดิ ารัตน์ ตนั นิรัตร์ บทนา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เกดิ จากหน่วยงานทางด้านการศึกษา ที่รับผิดชอบได้ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 พบว่า มีจุดดี เช่น 1) ช่วยส่งเสริมการกระจายอานาจทางการศึกษา ทาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตนเอง และ 2) มีแนวคิดและ หลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังสะท้อนสภาพ ปัญหาและความไม่ชัดเจนหลายประการ เช่น 1) ความไม่ชัดเจนของเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับหลักสูตร 2) กระบวนการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่การปฏิบัติไม่ชัดเจน 3) ความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับ สถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 4) สถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระการเรียนรู้และผล การเรยี นร้ไู วจ้ านวนมาก ทาใหห้ ลักสูตรมีเนอ้ื หาจานวนมาก 5) การวัดประเมนิ ผลการเรยี นรยู้ ังไมส่ ะทอ้ น มาตรฐานการเรียนรู้เท่าที่ควร 6) การจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษา และการเทียบโอนผลการ เรยี นยังพบปัญหาในการดาเนนิ งาน และ 7) คณุ ภาพในดา้ นความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลกั ษณะ พึงประสงคย์ งั ไมไ่ ดต้ ามเปา้ หมายที่กาหนดไว้มากนกั (วิโฬฏฐ์ วฒั นานมิ ิตรกลู , 2559: 40-42) 1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จากปัญหาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้ทบทวน และปรับปรุงเป็นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการ สาคญั ดงั น้ี (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551: 1-3) 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนไว้เป็นเป้าหมายของการจัดกระบวนการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมาย โดยส่งเสริมให้เรียนรู้จากการเผชิญหน้ากับสถานการณ์ การได้ สัมผัสสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์และธรรมชาติ ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกให้คิดเป็น ทาเป็นแก้ปัญหาเป็น รกั การอา่ น และใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี นอยา่ งตอ่ เนื่อง
170 2. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดชั้นปีของ แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูผู้สอนมองเห็นผลคาดหวังท่ีต้องพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มี ความรู้ ความสามารถ และทักษะท่ีสาคัญของแต่ละชั้นปี และต่อเนื่องจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดังนั้น การจัดทาสาระการเรียนรู้ การกาหนดเนื้อหา การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน และ การวัดประเมินผลการเรียนรู้ จะต้องสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือใช้ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน และเทียบโอน ผลการเรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3. การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้เอง มีส่วนร่วมในการสร้างผลการ เรียนรู้ที่มีความหมายแก่ตนเอง ผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ เน้นประโยชน์สูงสุดท่ีจะเกิดแก่ผู้เรียน และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนา ผเู้ รียนจนเตม็ ศกั ยภาพตามความถนดั และความสนใจเปน็ รายบุคล 4. การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุเปา้ หมายตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดช้ันปีจะต้องใช้ กระบวนการการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการทางสังคม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการบูรณาการ ฯลฯ กระบวนการท่ีผู้สอนต้องฝึกฝนให้ผู้เรยี นเกิดการ เรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองจนบรรลมุ าตรฐาน การเรยี นรขู้ องหลกั สตู รอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ผู้สอนต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับวยั ผู้เรียน แล้ว จึงเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ แหล่งเรียนรู้ เคร่ืองมือ และวิธีการวัดและประเมินผลท่ีมี คุณภาพ เพือ่ พัฒนาผู้เรยี นไปส่เู ปา้ หมายการเรียนร้ทู ี่กาหนดไว้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเต็มตามศักยภาพ ของผเู้ รยี นแตล่ ะคน กระทรวงศึกษาธิการ (2551: 4-30) จึงได้กาหนดส่วนประกอบสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น และการวัดประเมนิ ผล ซง่ึ มีความสัมพันธ์กันเป็นระบบ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รียน การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพ และการเรยี นรู้ ตลอดชวี ิต ดงั ภาพที่ 8.1
171 วิสยั ทศั น์ คุณลักษณะ กิจกรรมการเรียนการสอน เปา้ หมาย อนั พึงประสงค์ 67 มาตรฐานการเรยี นรู้ 2,190 ตวั ชว้ี ดั 8 ประการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น 5 ข้อ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ ศกึ ษาต่อ การวดั และประเมินผล ประกอบอาชีพ คณุ ภาพผูเ้ รยี น การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ภาพท่ี 8.1 ส่วนประกอบสาคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2551: 4-30) จากภาพท่ี 8.1 วิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่งึ เปน็ กาลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ทม่ี ีความสมดุลท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้คณุ ธรรม มีจติ สานึกในความเป็น พลเมืองไทย และพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขมีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษา หรือต่อการประกอบอาชีพ โดยม่งุ เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มศักยภาพ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพฒั นาผ้เู รยี นให้มีคุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก ดังนี้ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2) ซ่ือสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งมั่นในการทางาน 7) รักความเปน็ ไทย และ 8) มจี ติ สาธารณะ
172 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน จานวน 5 ข้อ ได้แก่ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทศั นะของตนเอง เพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสังคมรวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัด และ ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารพิจารณาจากความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใชว้ ิธีการสื่อสารท่มี ีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิด สร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเป็นระบบเพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่อื การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และ การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไข ปัญหาและมีการตัดสนิ ใจทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อตนเองสังคมและส่ิงแวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนนิ ชีวติ ประจาวันการเรียนร้ดู ้วยตนเองการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องการทางานและการอยู่รว่ มกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งอย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม รวมทั้งการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรม ทไ่ี ม่พงึ ประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การส่ือสารการ ทางานการแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ณุ ธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ หมายถึง ส่ิงที่ผู้เรียนรู้และสามารถทาอะไรได้ตามท่ีกาหนดไว้ มาตรฐานการ เรียนรู้มี 2 ประเภท ได้แก่ 1) มาตรฐานวิชาการ (Academic Standard) เป็นส่ิงที่ผู้เรียนต้องรู้และเข้าใจ อย่างลึกซึ้งและสามารถทาได้ในช่วงเวลาท่ีกาหนด และ 2) มาตรฐานการปฏิบัติ (Performance Standard) เป็นผลการปฏบิ ัตหิ รือระดับความสามารถทผี่ เู้ รียนจะต้องแสดงออก ตัวช้ีวัดมีลักษณะการเขียนที่ประกอบด้วยคากริยา และประเด็นของสาระหลัก โดยระบุสิ่งที่ผู้เรียน ต้องรู้และปฏิบัติได้รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ซึ่งต้องมีความสอดคล้อง กบั มาตรฐานการเรียนรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจงและเป็นรูปธรรม รวมทั้งนาไปใช้กาหนดเนื้อหาสาระการจัดทา หนว่ ยการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรู้ และเป็นเกณฑ์สาหรบั การวดั ประเมินผล เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผ้เู รียน
173 ตารางท่ี 8.1 เปรียบเทยี บเวลาเรียน จาแนกตามระดบั การศกึ ษา ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลักสูตรเป็นรายปี มีเวลาเรียน หลักสูตรเป็นรายภาค มีเวลา หลักสูตรเป็นรายภาค มีเวลา วนั ละไมเ่ กนิ 5 ช่ัวโมง เรียนวนั ละไมเ่ กิน 6 ชั่วโมง* เรียนวนั ละไมน่ ้อยกว่า 6 ชัว่ โมง* * ใช้เกณฑ์ 40 ช่วั โมงตอ่ ภาคเรยี น มีค่าน้าหนกั เทา่ กบั 1 หน่วยกิต หลักการจัดการเรียนรู้ 1. ยดึ หลักผ้เู รียนมคี วามสาคญั เชอื่ ว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ 2. จัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นหลัก ใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับผเู้ รยี นรายบุคคล 3. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ใช้วิธีการ กิจกรรมสื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมิน ผลที่ เหมาะสมกับผู้เรียน สื่อการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้เป็นตัวกลางสาหรับส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมี ประสทิ ธิภาพ เช่น สอื่ ธรรมชาติ สอื่ สิง่ พิมพ์ สอ่ื เทคโนโลยี ตลอดจนเครอื ขา่ ยการเรียนรูท้ ี่มใี นทอ้ งถ่ิน การ ใช้สื่อการเรียนรู้จะต้องเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและรูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ของผ้เู รียนแต่ละคน การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ มี 4 ระดบั ไดแ้ ก่ 1. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ เน้นการ วัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนเป็นรายปี รายภาค รวมท้ัง การอา่ น วเิ คราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามาตรฐานการเรียนรู้ เพอื่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลพ้นื ฐานสาหรับการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา 4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ ท่ีสถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนท่ีเรียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เขา้ รบั การประเมิน
174 การตัดสินผลการเรยี น 1. ผู้เรียนต้องมเี วลาเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นท้งั หมด 2. ผู้เรยี นต้องได้รบั การประเมนิ ทุกตัวชว้ี ัด และผา่ นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด 3. ผู้เรยี นตอ้ งได้รบั การตดั สนิ ผลการเรียนทกุ รายวชิ า 4. ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น การพิจารณาเล่ือนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่ หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งน้ีให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผ้เู รียนเป็นสาคัญ เกณฑ์การจบการศึกษา ตารางท่ี 8.2 เปรยี บเทียบการเกณฑ์การจบการศึกษา จาแนกตามระดับการศึกษา ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนเรียนสาระพื้นฐาน และ ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและ ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและ สาระ/กิจกรรมเพ่ิมเติม ตาม เพิ่มเติมโดยเป็นวิชาพ้ืนฐาน 66 เพ่ิมเตมิ โดยเปน็ รายวชิ าพน้ื ฐาน โครงสร้างเวลาเรียนท่ีหลักสูตร หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติม 41 ห น่ ว ย กิ ต แ ล ะ ร า ย วิ ช า แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด เพ่ิ มเ ติ มต า มที่ ส ถา น ศึก ษ า กาหนด กาหนด ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินสาระ ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอด ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอด พื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมิน หลกั สตู รไม่น้อยกวา่ 77 หน่วยกิต หลักสตู รไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด เป็นสาระพ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต เป็นสาระพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และสาระเพมิ่ เติมไมน่ ้อยกว่า 11 และสาระเพ่มิ เติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต หน่วยกิต ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน วเิ คราะหแ์ ละเขียน ในระดับทผ่ี ่านเกณฑก์ ารประเมินตามสถานศกึ ษากาหนด ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ในระดบั ทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ผเู้ รียนเขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นและมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศกึ ษากาหนด
175 การเทียบโอนผลการเรยี น การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรียนที่ สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่อง ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับการเทียบโอนควรกาหนด รายวิชา จานวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม การเทียบโอนผลการเรียนสามารถ ดาเนินการได้ดังนี้ 1) พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอ่ืน ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน 2) พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบดว้ ยวิธีต่าง ๆ ทง้ั ภาคความรแู้ ละภาคปฏบิ ตั ิ และ 3) พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ บทบาทผ้สู อนและผูเ้ รียน ผสู้ อนและผเู้ รยี นมีบทบาทหนา้ ทีท่ ี่แตกตา่ งกนั มรี ายละเอียดดงั ตาราง ตารางท่ี 8.3 เปรียบเทยี บบทบาทผสู้ อนและผเู้ รยี น บทบาทผู้สอน บทบาทของผู้เรียน 1. วิเคราะห์ผู้เรียนและนาข้อมูลมาวางแผนการ 1. กาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ วางแผนและ จัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับความต้องการและ รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง โดยผู้เรียนต้อง ความสนใจของผ้เู รยี น วิเคราะหค์ วามตอ้ งการของตนเอง 2. กาหนดผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ การคิด 2. แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึง สังเคราะห์ความรู้ ต้ังคาถามและหาแนวทาง ประสงค์ แก้ปัญหาด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ 3. ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการ 3. ลงมือปฏิบัติ สรุปส่ิงท่ีเรียนรู้ด้วยตนเองและ พฒั นาสมอง และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ 4. จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ และระบบ 4. มีปฏิสัมพันธ์ในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมกับ การดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น กลุ่มเพือ่ นและผ้สู อน 5. เลือกใช้ส่ือเทคโนโลยีภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ 5. ประเมินและพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่าง เหมาะสมกับกจิ กรรมการเรียนรู้ ต่อเนื่อง ควรประเมินระหว่างเรียน เพราะจะทา 6. ใช้วธิ ีการประเมินตามสภาพจริง ควรเลือกวิธีการ ให้ทราบปัญหาและแก้ปญั หาได้ทันที ประเมินให้สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 7. นาผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียน และ ปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้
176 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศเม่ือวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เริ่มใช้ในโรงเรียนต้นแบบการใช้ หลักสูตรและโรงเรียนที่มีความพร้อมในปีการศึกษา 2552 และเริ่มใช้ในโรงเรียนท่ัวไปในปีการศึกษา 2553 ตัวอยา่ งความแตกต่างของหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 กบั หลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มดี ังตาราง (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2544, 2551) ตารางท่ี 8.4 เปรียบเทียบข้อมูลในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลักสตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 พทุ ธศักราช 2551 การกาหนดหลกั การของหลักสูตร 1) เปน็ การศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ 1) เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาเพื่อความเปน็ เอกภาพ มุ่งเน้นความเปน็ ไทยควบคู่ความเป็นสากล ของชาติ มีมาตรฐานการเรยี นรู้ เป็นเปา้ หมาย 2) เป็นการศึกษาเพื่อปวงชนท่ีประชาชนทุกคนจะ สาหรับพฒั นาเยาวชนใหม้ ีความรู้และคุณธรรมบน ไดร้ ับการศกึ ษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน พืน้ ฐานความเปน็ ไทย ควบคู่กับความเป็นสากล โดยสังคมมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา 2) เปน็ หลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน 3) ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พฒั นาและเรียนรู้ดว้ ย ทปี่ ระชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยา่ ง ตนเองอยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวิต โดยถือวา่ ผ้เู รียน เสมอภาคและมีคุณภาพอยา่ งเท่าเทียมกัน มคี วามสาคญั ทส่ี ดุ สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ 3) เปน็ หลกั สูตรการศึกษาท่ีตอบสนองการ และเต็มตามศักยภาพ กระจายอานาจให้สงั คมมีสว่ นรว่ มในการจัด 4) เป็นหลักสตู รที่มีโครงสรา้ งยดื หยุน่ ท้งั ดา้ นสาระ การศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับสภาพ และความ เวลา และการจดั การเรียนรู้ ตอ้ งการของท้องถนิ่ 5) เปน็ หลักสตู รทจี่ ัดการศึกษาไดท้ ุกรปู แบบ 4) เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาท่ีมีโครงสร้างยดื หยนุ่ ท้งั ครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมายสามารถเทยี บโอน ด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจดั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้และประสบการณ์ 5) เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นมี ความสาคัญท่ีสดุ 6) เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาทีจ่ ัดการศึกษาได้ ทกุ รูปแบบ ครอบคลุมทกุ กลุ่มเปา้ หมายสามารถ เทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์
177 หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 พุทธศกั ราช 2551 การกาหนดจดุ หมายของหลักสูตร 1) เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏบิ ัตติ าม 1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนับถือ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เหน็ คุณค่า มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ ของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของ 2) มีความคดิ สร้างสรรค์ ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน พระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ รักการเขยี น และรักการคน้ คว้า 3) มีความรู้อันสากล รู้เทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลงและ 2) มีความรู้อันเป็นสากล มีทักษะในการจดั การ ความเจรญิ ก้าวหน้าทางวิทยาการมีทักษะและ ทักษะกระบวนการคดิ ทักษะในการดาเนนิ ชีวิต ศักยภาพในการจัดการการส่ือสาร และการใช้ เทคโนโลยี ปรบั วธิ กี ารคิดวิธีการทางานได้ ทักษะในการส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี เหมาะสมกับสถานการณ์ 3) มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มสี ขุ นสิ ยั และ รักการออกกาลงั กาย 4) มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทาง 4) มีจิตสานึกในการเปน็ พลเมืองไทย และพลโลก คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ทักษะการคดิ การสร้าง ยดึ มนั่ ในวิถีชวี ติ และการปกครองในระบอบ ปญั ญา และทักษะในการดาเนินชวี ติ ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็น 5) รกั การออกกาลังกาย ดูแลตนเองให้มีสุขภาพ ประมุข และบคุ ลิกภาพทดี่ ี 6) มีประสิทธภิ าพในการผลติ และการบริโภคมี 5) มีจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและ คา่ นิยมเปน็ ผู้ผลติ มากกวา่ เป็นผบู้ ริโภค ภมู ปิ ญั ญาไทย การอนุรักษ์และพฒั นาสิง่ แวดล้อม มจี ติ สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์ และสรา้ งสิ่งท่ีดี 7) เข้าใจในประวัตศิ าสตร์ของชาติไทย ภมู ิใจใน งามและอยูร่ ่วมกันในสงั คมอย่างมีความสขุ ความเปน็ ไทย เป็นพลเมืองดียดึ ม่ันในวิถีชวี ิตและ การปกครองในระบบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 8) มจี ิตสานึกในการอนุรักษภ์ าษาไทย ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภมู ิปญั ญาไทย ทรพั ยากรธรรมชาติ และพฒั นาสง่ิ แวดล้อม 9) รักประเทศชาตแิ ละท้องถิ่น มุ่งทาประโยชนแ์ ละ สรา้ งสงิ่ ทดี่ งี ามให้สงั คม
178 หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 พทุ ธศกั ราช 2551 โครงสร้างหลักสตู ร โครงสรา้ งหลกั สูตรกาหนดเป็น 4 ช่วงช้นั ดงั นี้ โครงสรา้ งหลกั สูตรกาหนดเป็น 3 ระดบั ดังนี้ ช่วงชัน้ ท่ี 1 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 (ป.1-3) 1) ระดับประถมศกึ ษา (ป.1-6) ช่วงชั้นท่ี 2 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 (ป.4-6) 2) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.1-3) ชว่ งชั้นท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 (ม.1-3) 3) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) ชว่ งช้ันท่ี 4 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 (ม.4-6) กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้ 1. กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้ 76 มาตรฐาน 1. ปรบั ปรงุ มาตรฐานการเรยี นร้ใู ห้มีความชัดเจน 2. กาหนดมาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชั้น โดยกาหนด ลดความซ้าซ้อน โดยลดลงเหลอื 67 มาตรฐาน ชว่ ง ๆ ละ 3 ปี ซึ่งเปน็ คุณภาพของผ้เู รยี นเมื่อจบ 2. กาหนดตวั ช้ีวดั ชน้ั ปีสาหรบั การศึกษาภาค ชัน้ ป.3 ซึง่ เปน็ คุณภาพของผู้เรยี นเมื่อจบชนั้ ป.3 บงั คบั (ป.1- ม.3) และตัวชีว้ ดั ช่วงชนั้ สาหรับ ป.6 ม.3 ม.6 และใหส้ ถานศึกษานาไปเปน็ กาหนด มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม. 4-6) เพ่ือชว่ ยให้การ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง ซึ่งทาใหข้ าดเอกภาพและ จดั การเรยี นรแู้ ละการวดั และประเมินผลมี มีปญั หาในการเทียบโอนผลการเรียนรู้ เปา้ หมายท่ีชดั เจนในแตล่ ะระดบั ชั้น กจิ กรรม เพมิ่ เติมกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 1. กิจกรรมแนะแนว ก) ระดับประถมศกึ ษา รวม 6 ปี 60 ชั่วโมง 2. กจิ กรรมนกั เรยี น ประกอบด้วย - กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญ ข) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ รวม 3 ปี 45 ชว่ั โมง ค) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายรวม 3 ปี 60 ประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร ชว่ั โมง - กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม การวดั และประเมินผล และการจบหลกั สตู ร 1. หลกั สูตรกาหนดใหส้ ถานศึกษากาหนดเกณฑ์ 1. หลกั สตู รแกนกลางฯ กาหนดเกณฑก์ ลางการ การจบหลักสูตรเอง รวมทัง้ จัดทาแนวทางการวดั จบหลักสตู ร การตัดสนิ ผลการเรยี นการใหร้ ะดบั และประเมินผลตามเกณฑ์ ท่สี ถานศกึ ษากาหนด ผลการเรยี น การรายงานผลการเรยี น และ เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีกระทรวงควบคุม เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษาจดั ทาแนวปฏบิ ตั ิการวดั และ ประเมินผลการเรียน
179 หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 พุทธศกั ราช 2551 2. การตดั สินผลการเรยี น 2. การตัดสินผลการเรียน - ระดับประถมศึกษา และมธั ยมศึกษาตอนตน้ - ระดับประถมศึกษา ตดั สินผลการเรียนเปน็ รายปี ตัดสินผลการเรยี นเป็นรายปี - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ตดั สนิ ผลการเรียน - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ตดั สิน เปน็ รายภาค ผลการเรียนเป็นรายภาค จากข้างต้น สรุปลักษณะของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มี รายละเอียดดังนี้ 1) เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาและท้องถ่ินนาไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 2) มีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดเป็นเป้าหมายของการ พัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รียน และ 3) ใช้เปน็ กรอบทิศทางสาหรับการจัดการศึกษาทุกรปู แบบและทกุ กลุ่ม ของผ้เู รียนในระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (วโิ ฬฏฐ์ วฒั นานิมติ รกลู , 2559: 42) 2. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงใช้มาเป็นเวลานานกว่า 8 ปี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาได้ดาเนินการ ติดตามผลการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองในหลายรูปแบบทั้งการประชุมรับฟังความคิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใช้หลกั สูตรของโรงเรียนการรับฟังความคิดเหน็ ผ่านเวบ็ ไซต์ของสานกั วิชาการและ มาตรฐานการศึกษารายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับหลักสูตรและการใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ผลจากการศึกษาพบว่า มีข้อดี เช่น กาหนด เป้าหมายการพัฒนาไว้ชัดเจนมีความยืดหยุ่นเพียงพอให้สถานศึกษาบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาได้ สาหรับปัญหาที่พบส่วนใหญ่เกิดจากการนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สกู่ ารปฏิบัติในสถานศึกษาและในห้องเรียน นอกจากนี้ การศกึ ษาข้อมูลทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซ่ึงเกิดขึ้นในช่วงเวลาของการ ปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลกท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเช่ือมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยจัดทา บนพื้นฐานของกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ซึง่ เปน็ แผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืน รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศ 4.0 ซึ่งยุทธศาสตร์ ชาติน้ี ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมน่ั คง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสรา้ ง ความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้าน
180 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บรหิ ารจดั การภาครัฐ เพ่ือมุ่งส่วู ิสัยทัศนแ์ ละทิศทางการพฒั นาประเทศความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืนเป็นประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประเด็นท่ีสาคัญเพ่ือแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างแท้จริงตามยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนคือการเตรียมความ พร้อมด้านกาลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพทุน มนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนใหเ้ หมาะสมตามช่วงวัย เพื่อให้เติบโตอยา่ งมีคุณภาพการพัฒนาทักษะที่ สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ของคน ในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสมการเตรียมความพร้อมของกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ี จะเปลี่ยนแปลงในอนาคตตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ดังน้ัน เพ่ือให้การ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงได้อยา่ งเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงมีคาส่ังให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ยกตัวอยา่ งคาสง่ั ท่ีสาคัญ ดังน้ี (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2561) 1. คาส่ัง ที่ สพฐ. 1239/2560 เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันท่ี 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560 โดยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ คือ นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ มรี ายละเอียดดังน้ี เพ่ือให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็นการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคนให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การยกระดับ คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษท่ี 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวิตอย่าง สรา้ งสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
181 ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เง่ือนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับ ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ใหเ้ ปน็ ไปดงั น้ี 1. ปีการศึกษา 2561 ใหใ้ ช้ในช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 และ 4 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 และ4 2. ปีการศกึ ษา 2562 ให้ใชใ้ นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 2 4 และ 5 และชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 2 4 และ 5 3. ต้ังแตป่ กี ารศกึ ษา 2563 เป็นตน้ ไป ให้ใชใ้ นทุกชัน้ เรียน ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมีอานาจในการยกเลิก เพิ่มเติม เปล่ียนแปลง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. คาสั่ง สพฐ. ที่ 922/2561 เรื่อง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีอานาจในการยกเลิก เพ่ิมเติม เปลี่ยนแปลงหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวิธีการจัดการศึกษา ดังน้ัน เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียนได้เหมาะสมกับบริบทและจุดเน้นของสถานศึกษา จึงปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนให้มีความยืดหยุ่น ทั้งนี้ ควรคานึงถึง ศักยภาพและพัฒนาการตามช่วงวัย ของผู้เรยี นและเกณฑก์ ารจบหลักสูตร มีรายละเอยี ดดงั น้ี
182 ตารางที่ 8.5 เปรยี บเทียบการปรับปรงุ โครงสรา้ งเวลาเรียน จาแนกตามระดบั การศึกษา ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปรับเวลาเรยี นพน้ื ฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ไดต้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับบรบิ ท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผเู้ รยี น โดยจัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์ ต้จัดเวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับ จัดเวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับ จัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับ สาระประวัติศาสตร์ 40 ช่ัวโมง สาระประวัติศาสตร์ 40 ชั่วโมง สาระประวัติศาสตร์ รวม 3 ปี ตอ่ ปี และตอ้ งมีเวลาเรียนพื้นฐาน ต่อ ปี แ ล ะ ต้ อ งมี เ ว ล า เ รี ย น 80 ช่ัวโมงต่อปี และมีเวลาเรียน รวม จานวน 840 ชั่วโมงต่อปี พ้นื ฐานรวม จานวน 480 ชวั่ โมง พื้นฐานรวม 3 ปี จานวน 1,640 และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตาม ต่อปี หรือ 22 หน่วยกิตต่อปี ชั่วโมง หรือ 41 หน่วยกิต และ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตาม ผู้ เ รี ย น ต้ อ ง มี คุ ณ ภ า พ ต า ม ท่กี าหนด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ี ที่กาหนด และสอดคล้องกับ กาหนด และสอดคล้องกับเกณฑ์ เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร การจบหลักสูตร จัดเวลาเรียนเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับ จุดเน้นและ ความพร้อมของสถานศึกษา และเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร *เฉพาะระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับสาระการเรยี นรู้พ้ืนฐาน ในกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยและกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จดั เวลาสาหรับกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น จานวน 120 ชั่วโมงต่อปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวม 3 ปี จานวน 360 ชัว่ โมง จัดเวลาเรยี นรวมทงั้ หมด ให้เปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษา ทัง้ น้ี ควรคานึงถึง ศกั ยภาพ และพฒั นาการตามช่วงวยั ของผเู้ รียนและเกณฑ์การจบหลกั สตู ร จากขา้ งต้นสรปุ ไดว้ ่า หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 มกี ารเปล่ียนแปลงจากหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ดงั น้ี 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีการปรับปรุง คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ ใน สาระภูมิศาสตร์ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี มกี ารย้ายสาระที่ 2 การออกแบบ และเทคโนโลยี และสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาเป็นสาระที่ 4 ของกลุ่มสาระการ เรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
183 2. การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ยังคงมีรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติม เหมือนเดิม แต่ในส่วนของรายวิชาเพ่ิมเติม มีการกาหนดผลการเรียนรู้ในหลักสูตร ให้มีความชัดเจนและ ง่ายสาหรับการนาไปใช้มากยงิ่ ข้ึน โดยมีรายละเอียดดังน้ี 2.1 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ แบง่ รายวิชาออกเป็น 2 รายวิชา ไดแ้ ก่ รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ทีก่ าหนดสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กาหนดมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ ตัวช้ีวัด สาหรับผู้เรียน ชั้น ป.1-ม.3 และ ม.4-6 แผนการเรียนอื่น ๆ จานวน 3 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ และสาระท่ี 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ที่กาหนดสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กาหนดผลการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยง กับมาตรฐานการเรียนรู้ในสาระที่ 1-3 และผลการเรียนรู้ในสาระแคลคูลัส สาหรับผู้เรียนช้ัน ม.4-6 แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ทั้งน้ีรายวิชาเพ่ิมเติมอ่ืน ๆ สามารถเปิดสอนได้ตามความพร้อมและจุดเน้นของโรงเรียน ตาม ความต้องการและความถนัดของผเู้ รียน โดยโรงเรียนกาหนดผลการเรียนรขู้ องรายวชิ านน้ั ๆ 2.2 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ แบ่งรายวชิ าออกเป็น 2 รายวชิ า ได้แก่ รายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน ท่ีกาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด สาหรับผเู้ รียนชน้ั ป.1-ม.3 และ ม.4-6 แผนการเรียนอื่น ๆ จานวน 4 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ และสาระท่ี 4 เทคโนโลยี ซึง่ ประกอบดว้ ย การออกแบบและเทคโนโลยี วทิ ยาการคานวณ วิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม ท่ีกาหนดสาระการเรยี นร้เู พ่ิมเตมิ และกาหนดผลการเรียนรู้ สาหรบั ผู้เรียน ช้ัน ม.4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ จานวน 4 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ 1) สาระชีววิทยา 2) สาระเคมี 3) สาระฟิสิกส์ และ 4) สาระโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ท้ังนี้รายวิชาเพิ่มเติมอื่น ๆ สามารถเปิดสอนได้ตามความพร้อมและจุดเน้นของโรงเรียน ตาม ความต้องการและความถนัดของผเู้ รยี น โดยโรงเรียนกาหนดผลการเรยี นรขู้ องรายวิชาน้ัน ๆ 2.3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมมีการตัดเนื้อหา เพิ่มเนื้อหา เปลี่ยนคา และข้อความบางส่วน และปรับสาระภูมิศาสตร์ที่ให้ความสาคัญกับการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ (Geo-Literacy) ซึ่งเน้นความรู้ทางภูมิศาสตร์ ความสามารถทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์และกระบวนการทาง ภูมศิ าสตร์
184 3. การจัดรายวิชาตามโครงสร้างของหลักสูตรและการปรับหลักสูตรสถานศึกษา ยังคงมีรายวิชา พ้ืนฐานและเพ่ิมเติมเหมือนเดิม แต่ต้องมีการเปิดรายวิชาใหม่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เน่ืองจากมีการย้ายสาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร จากกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาเป็นสาระที่ 4 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ซ่ึงประกอบด้วย มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี และ มาตรฐาน ว 4.2 วทิ ยาการคานวณ โดยเฉพาะวชิ าคอมพวิ เตอร์เดิม ทจ่ี ะต้องเปลีย่ นรหสั วชิ าจาก \"ง\" มาเปน็ \"ว\" จากข้างต้น แสดงให้เห็นว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 มีการปรับปรงุ ข้อมูลในบางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพื่อให้พฒั นาศักยภาพของผเู้ รยี นให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และการปรับปรุงดังกล่าว จึงมีผลทาให้มีการเปลี่ยนแปลงใน หลักสตู รสถานศกึ ษาดว้ ย 3. หลกั สตู รสถานศกึ ษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาเป็นแหล่งของการแสวงหาความรู้จงึ ต้องมีหลักสูตรเป็น ของตนเอง คอื หลักสูตรสถานศึกษาต้องครอบคลุมภาระงานการจัดการศกึ ษาทกุ ด้านหลกั สูตรสถานศึกษา จึงประกอบด้วยการเรียนรู้ท้ังมวลเป็นประสบการณ์อ่ืน ๆ ท่ีสถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพ่ือพัฒนา ผู้เรียนซ่งึ เกดิ จากการมสี ว่ นร่วมของบุคลากรและผูเ้ ก่ยี วข้องทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแบบแผนหรือแนวทางหรือข้อกาหนดของการจัดการที่จะพัฒนาให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถโดยส่งเสริมให้แตล่ ะบุคคลพัฒนาไปสู่ศักยภาพสงู สดุ ของตนรวมถึงระดับข้ัน ของมวลประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้สะสมซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนนาความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ ประสบการณ์สาเรจ็ ในการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง รจู้ ักตนเอง มีชวี ิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่าง มีความสขุ ความสาคญั และความจาเป็นของหลกั สตู รสถานศึกษา สถานศึกษาจาเป็นต้องจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาตามกรอบของห ลักสูตรแกนกลางท่ี กรมวิชาการกาหนดไว้ พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ, 2545: 9) “… มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานเพอ่ื ความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชีวิต และ การประกอบอาชีพตลอดจนเพอ่ื การศึกษาต่อ
185 ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าท่ีทาสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ใน วรรคหน่ึงในสว่ นทเี่ กยี่ วกับสภาพปัญหาในชุมชนและสงั คม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงคเ์ พอ่ื เป็นสมาชิกทดี่ ขี องครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ…” จากมาตรา 27 ระบุข้อความท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา ในการนา หลักสูตรไปใช้โดยตรง ซึ่งกาหนดไว้ว่า ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแนวทาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบ อาชีพ ตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อ และให้สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีหน้าท่ีจัดทาสาระของหลักสูตรตาม วัตถุประสงค์ในวรรคหน่ึงในส่วนที่เก่ียวกับปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพือ่ เปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ จากข้างต้นจะเห็นได้ว่า สถานศึกษามีหน้าท่ีจัดทาสาระของหลักสูตร จากหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในส่วนที่เกี่ยวกับปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพอ่ื เป็นสมาชิกทด่ี ขี องครอบครัว ชมุ ชนและประเทศชาติ รวมทั้งทาหลักสตู รใหเ้ ปน็ ไปตามความ ต้องการของผู้เรียน โดยมณนิภา ชุติบุตร (2538: 5) ไดเ้ สนอแนวทางการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการ จดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษาดงั นี้ 1. เนน้ การศึกษา วิเคราะห์ ทาความเขา้ ใจวิธคี ิดและความคิดของภมู ิปัญญาท้องถน่ิ 2. นากระบวนการหรือแนวคิดของภมู ิปัญญาท้องถิ่นมาจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษา 3. นากระบวนการคดิ ของภูมิปญั ญาชาวบ้านมาเสรมิ สรา้ งกบั แนวคิดแบบวิทยาศาสตร์ 4. สรา้ งกระบวนการคิด หลายมุมโดยสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนได้คิดอย่างอสิ ระแล้วเช่ือมโยงกับชีวิตจริง 5. ให้ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ มีสว่ นร่วมในการจดั ทาหลกั สตู ร หลักสูตรท่ีสร้างข้ึนจาเป็นต้องมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา และสนองความต้องการของ สังคมที่ใช้หลักสูตรนั้น ๆ โดยเหตุน้ี หลักสูตรท่ีสร้างขึ้นมุ่งหมายในการใช้ในชุมชนแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยเฉพาะ ก็ย่อมสามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคมได้มากที่สุด ท้องถิ่นและชุมชนมีสภาพท่ี แตกต่างกัน เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วการจะทาหลักสูตรระดับชาติไปใช้กับท้องถิ่นก็ไม่ทันกับ ความเจริญของเทคโนโลยี สถานศกึ ษาจงึ ต้องจัดทาหลกั สูตรสถานศกึ ษาเอง
186 จุดมงุ่ หมายท่ีสาคัญของหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1. หลักสตู รสถานศกึ ษาควรพัฒนาผูเ้ รียนให้เรียนรอู้ ย่างมีความสุข เพอ่ื ให้มคี วามรู้ความสามารถ มที กั ษะการเรยี นท่ีสาคญั ๆ มกี ระบวนการคิดอย่างมีเหตุมีผล มโี อกาสใชข้ ้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยี สื่อสาร หลักสูตรสถานศึกษาควรส่งเสริมจิตใจที่อยากรู้อยากเห็น สร้างความมั่นใจและให้กาลังใจในการ เรยี นรแู้ ละเปน็ บคุ คลทส่ี ามารถเรียนรไู้ ด้ตลอดเวลา 2. หลักสูตรสถานศึกษาควรส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความเข้าใจและศรัทธาในความเชื่อของตน ความเชื่อและวัฒนธรรมท่ี แตกต่างกัน มีอิทธิพลต่อบุคคลและสังคมสถานศึกษาควรต้องพัฒนาหลักคุณธรรมและความอิสระของ ผ้เู รียน มีความพร้อมในการเป็นผู้บริโภคที่ตัดสินใจแบบมขี ้อมูลและเป็นอสิ ระเข้าใจในความรบั ผิดชอบท่ีมี ต่อสังคมโดยรวม สามารถช่วยพัฒนาสังคมให้ความเป็นธรรม มีความเสมอภาค มีความตระหนัก เข้าใจ และยอมรับที่ตนดารงอยู่ได้ ยึดมั่นในข้อตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนท้ังในระบบส่วนตน ระดับ ท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับโลก หลักสูตรท่ีมีความหลากหลายตามสภาพและบริบทของท้องถิ่นท่ี แตกตา่ งกัน แตก่ ม็ ีความเชอ่ื มโยงกบั สาระการเรยี นรจู้ ากหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน วิชัย วงษ์ใหญ่ (2550: 2) หลักสูตรสถานศึกษาที่ดีต้องครอบคลุมภาระงานการจัดการศึกษาทุก ด้านของสถานศึกษา ประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) วิสัยทัศน์ โดยสถานศึกษาจาเป็นต้อง กาหนดวิสัยทัศน์เพ่ือมองอนาคตว่า โลกและสังคมรอบ ๆ จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร สถานศึกษาจะต้อง ปรับหลักสูตรอย่างไร จึงจะพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน 2) พันธกิจ 3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4) จุดหมาย 5) โครงสร้าง 6) คาอธิบายรายวิชา 7) หน่วยการ เรียนรู้ 8) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 9) ระเบียบการวัดและประเมินผล และ 10) คณะกรรมการบริหาร หลักสตู รสถานศึกษา ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็จของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คือ การทาความเข้าใจ กระบวนการของการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาทุกขั้นตอน ในเชงิ ทฤษฎีหรือเชงิ หลักการไม่เปน็ เรื่องยาก แตอ่ ย่างใด เมือ่ นาขั้นตอนและกระบวนการน้ันไปดาเนินการ มกั จะเกิดปญั หาและมีอุปสรรคอยู่เสมอ ซึง่ มี ตัวอย่างให้เห็นอยู่เสมอ ความล้มเหลวของสถานศึกษาในการดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาจะ ข้ึนอยกู่ บั ตัวแปรหรอื เง่อื นไขหลายประการ ไดแ้ ก่ 1. ความสามารถในการบริหารจัดการหลักสูตร เพราะการบริหารจัดการเป็นหวั ใจสาคญั ของการ พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา หลักสตู รของสถานศกึ ษามคี ุณภาพและประสิทธิภาพหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับปจั จัย การบริหารจดั การหลกั สตู รอย่างเปน็ ระบบ
187 2. การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของผู้เก่ียวข้อง เพราะการพัฒนาหลักสูตรทั้งทางตรงและทางอ้อม ทงั้ ผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรยี น ผปู้ กครอง และชุมชน เน่อื งจากหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานเปน็ หลักสตู ร ที่กระจายอานาจการจัดการศึกษาแก่สถานศึกษา ทั้งในด้านการบริหารวิชาการ การบริหารจัดการ และ การใช้หลักสูตร เป็นกระบวนการนาหลกั สูตรแกนกลางในระดับชาติไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา จึงต้อง ไดร้ ับการสนบั สนุน ส่งเสรมิ และร่วมมือจากบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งทุกระดบั 3. การมีส่วนร่วมของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง เพราะการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาจะประสบ ผลสาเร็จได้ด้วยดี จะต้องได้รับความร่วมมือและการมีส่วนร่วมในการดาเนินงานจากบุคลากรทุกฝ่าย ท้ัง ในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน บิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลหรือหน่วยงานในชุมชน ได้แก่ องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอืน่ จากข้างต้น หลักสูตรสถานศึกษามีความจาเป็นอย่างย่ิง ดังน้ัน ควรต้องได้รับการประเมินและ ปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาให้มคี ุณภาพมากยิ่งข้ึน เช่น วางแผนปรับปรุงหรือจัดทาหลกั สูตรใหม่ จัดหา และจัดสรรงบประมาณ เป็นต้น เพื่อให้การจัดการศึกษาของแต่ละสถานศึกษามีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลสูงสุด บทสรปุ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการปรับปรุงจากหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 และได้มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงได้อย่าง เหมาะสม กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ มีคาส่ังใหใ้ ช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ท่ีม่งุ พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลงั ของชาติใหเ้ ป็นมนษุ ย์ที่มีความสมดุลท้ัง ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ มคี วามรู้และทกั ษะพืน้ ฐาน รวมทง้ั เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือให้จัดการศึกษาเหมาะสมกับ บริบทของแต่ละสถานศึกษา สถานศึกษาจึงนาข้อมูลสภาพที่เป็นปัญหาหรือความต้องการในชุมชนและ สังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์มาจัดทาสาระของหลักสูตร และจัดการเรียนรู้ที่เน้น ตามความสามารถ ความถนดั ความสนใจของผู้เรียน โดยยึดหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐานเป็นกรอบหรือ แนวทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขึ้น ดังน้ัน หลักสูตรสถานศึกษาเป็นหัวใจสาคัญสาหรับการจัด การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ
188 เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2544). หลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: องค์การ รับส่งสนิ คา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (รสพ.). _____. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชมุ นุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. _____. (2561). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560). กรงุ เทพฯ: กระทรวงศึกษาธกิ าร. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สานักงาน. (2545). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ี แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟคิ . มณนิภา ชุตบิ ุตร. (2538). แนวทางการใช้ภมู ิปัญญาท้องถ่ินในการจัดการเรียนการสอน. หมบู่ ้าน, 7(87): 5. วิชัย วงษ์ใหญ.่ (2550). “หลกั สูตรสถานศึกษา” สารานุกรมวิชาชพี คร:ู เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั เนอ่ื งในโอกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี. กรงุ เทพฯ: สานกั งานเลขาธกิ าร ครุ ุสภา. วโิ ฬฏฐ์ วัฒนานมิ ิตกูล. (2559). การพัฒนาหลกั สตู รและการสอน ปจั จัยความสาเร็จของการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: สหธรรมกิ .
189 บทที่ 9 ปญั หาและแนวโน้มการพฒั นาหลักสตู รในศตวรรษท่ี 21 วิโฬฏฐ์ วัฒนานมิ ติ กูล บทนา ในการพัฒนาหลักสูตรดังได้กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า เป็นกระบวนการดาเนินงานที่จาเป็นต้องมี ปัจจัยเกื้อหนุนต่าง ๆ อีกทั้งต้องกาหนดกระบวนการทางานอย่างรัดกุมภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนจาก ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องและจาเป็นต้องได้รับการประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นหากการดาเนินการใน ส่วนใดขาดความสมบูรณ์ย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องกันทั้งระบบของการพัฒนาหลักสูตร สาหรับเน้ือหา สาระในบทน้ีจึงนาเสนอให้เห็นปัญหาในการพัฒนาหลักสูตรในแง่มุมต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ การพัฒนาหลักสูตรได้พิจารณาและหลีกเล่ียงหรือหากลไกในการป้องกันมิให้เกิดปัญหาดังกล่าว และ เพื่อให้กระบวนการพัฒนาหลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับความเปลี่ย นแปลงของโลกผู้เขียน ไดน้ าเสนอแนวโน้มการพฒั นาหลกั สูตรในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้เป็นข้อมลู และกรอบแนวทางในการพัฒนา หลกั สูตร ตอ่ ไป ปญั หาในการพัฒนาหลักสูตร จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าการพัฒนาหลักสูตรประกอบด้วยกระบวนการหลัก 3 ประการ คือ การสร้างหลักสูตร การนาหลกั สตู รไปใช้ และการประเมินหลักสูตร ดังนั้นปัญหาในการพัฒนาหลักสูตรใน ภาพรวมน้ันจึงมักมีปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรดังกล่าว ซ่ีงสามารถสรุปได้เป็น 4 ประเด็นหลัก ๆ ได้แก่ ปัญหาด้านงบประมาณในการดาเนินการ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และปัญหาด้านการบริหารหลักสูตร ดังท่ีสุนีย์ ภู่พันธ์ (2546: 311-313) และบุญเล้ียง ทมุ ทอง (2553: 354-355) ไดก้ ล่าวไวอ้ ย่างสอดคลอ้ งกนั สรปุ ได้ ดงั นี้ 1. ปัญหาด้านงบประมาณ การพัฒนาหลักสูตรมีการจัดเตรียมงบประมาณสาหรับการดาเนินงานที่ไม่เพียงพอสาหรับ การดาเนินการต่าง ๆ ดงั นี้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238