Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตร

Published by educat tion, 2021-04-16 02:37:52

Description: การพัฒนาหลักสูตร

Search

Read the Text Version

190 1.1 งบประมาณสาหรับการวิจัยเพ่อื ศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู พนื้ ฐานสาหรบั การพฒั นาหลกั สูตร 1.2 งบประมาณสาหรับการอบรมครู และผู้ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการ ปรับปรุงหลักสูตร การดาเนินการต่าง ๆ รวมท้ังเทคนิควิธีการในการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับ บริบทของทอ้ งถิ่น 1.3 งบประมาณสาหรับการทดลองใช้หลักสตู รอย่างเป็นระบบและทั่วถึง ซง่ึ หากมีงบประมาณ ไมเ่ พียงพอในการทดลอง ยอ่ มสง่ ผลใหก้ ารพฒั นาหลกั สูตรไมม่ ปี ระสิทธิภาพ 1.4 งบประมาณสาหรับการปรับปรุงเปล่ียนแปลงแบบเรียน เช่น การจัดพิมพ์ตารา ชุดการสอน รวมท้งั คูม่ ือการใช้หลกั สูตรเพ่ือเผยแพรใ่ ห้ครบทุกสถานศึกษา 2. ปญั หาดา้ นบคุ ลากร บุคลากรท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษา ขาดความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกบั กระบวนการในการพฒั นาหลักสตู ร ดังน้ี 2.1 ครูผู้สอนไม่ทราบหรือไม่เข้าใจหรอื ไม่เห็นดว้ ยกับการแก้ไข ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงหลักสูตร เมื่อมีการเปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงหลักสูตรจึงจาเป็นต้องให้ครูรับทราบ และปฏิบัติตามโดยทั่วกันเพราะครู ส่วนใหญ่มิได้เป็นกรรมการในการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรโดยตรง ดังนั้นผู้ท่ีไม่ทราบจาเป็นต้องได้รับการ อบรมชแ้ี จงให้เข้าใจถงึ วัตถุประสงค์ เน้อื หาวชิ า วธิ สี อน การวัดผลและข้อปลกี ยอ่ ยอน่ื ๆ 2.2 ผู้บริหารสถานศึกษาบางส่วนอาจไม่เห็นด้วยกับการส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรเพราะ ต้องใช้งบประมาณจานวนมากในการสนับสนุนบุคลากร เช่น การฝึกอบรมวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ ท่รี องรบั การเปลีย่ นแปลงของหลักสูตร เปน็ ต้น 3. ปัญหาดา้ นวัสดุอุปกรณ์ ในการพัฒนาหลักสูตรย่อมก่อให้เกิดความเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลไกในการ จดั การเรียนการสอน จึงจาเปน็ ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ประกอบการสอนเพ่ิมขึน้ หรือหลากหลายมากขึ้น ซึง่ ใน สภาพความเป็นจริงแล้วหน่วยงานราชการที่มีหน้าท่ีให้การสนับสนุนอาจไม่สามารถผลิตให้พอเพียง ต่อความต้องการ และนอกจากนี้บางเนื้อหาวิชายังจาเป็นต้องใช้อาคารสถานท่ี โดยเฉพาะอย่างย่ิง การศึกษาสายอาชีพจาเป็นต้องมีเคร่ืองมือที่ครบครัน ดังน้ันเมื่อไม่มีความพร้อมหรือจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และส่ิงจาเป็นต่าง ๆ ได้อย่างเพียงพอ อาจส่งผลต่อการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรไม่เป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพเท่าทต่ี ้งั วตั ถปุ ระสงคไ์ ว้

191 4. ปญั หาดา้ นการบรหิ ารจดั การ ในข้ันตอนของการบริหารจัดการในการกระบวนการพัฒนาหลักสูตรย่อมต้องเก่ียวข้องกับ ผู้บริหารในระดับต่าง ๆ จานวนมาก และผลของการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหลักสูตรจะได้ผลหรือไม่ ย่อมขึ้นอยกู่ ับการบริหารจดั การของผู้บริหารเหล่าน้ี ซ่ึงปัญหาตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นมี ดงั นี้ 4.1 ผบู้ ริหารขาดความรบั ผิดชอบ ขาดการติดตอ่ ประสานงานท่ดี ี สง่ ผลให้การพฒั นาหลกั สตู ร ไมไ่ ด้ผลตามท่ตี ัง้ วตั ถุประสงคไ์ ว้ 4.2 ผู้บรหิ ารขาดความรเิ ริม่ ในการปรบั ปรงุ หลักสตู รให้เขา้ กับสภาพทอ้ งถิ่นของโรงเรียน 4.3 ผบู้ ริหารไม่สืบทอดเจตนารมณข์ องการพฒั นาหลกั สูตร 4.4 ผู้บริหารมีความยึดม่ันในความเคยชินดั้งเดิม และมักปฏิเสธที่จะรับการเปลี่ยนแปลง หรือไม่ยอมรับสิง่ ใหม่ ๆ ภาพรวมของศตวรรษท่ี 21 กับแนวโนม้ การพัฒนาหลักสูตร ดังที่เห็นพ้องกันว่า “ การศึกษา ” เป็นเครื่องมือพัฒนามนุษย์ให้สามารถอยู่ในสังคมโลก ที่เปลย่ี นแปลงไดอ้ ย่างมีความสุข โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกระแสความเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วในศตวรรษ ท่ี 21 ที่ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นความสามารถในการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องกับกระแสการเปล่ียนแปลงดังกล่าวได้นั้น “การพัฒนาหลักสูตร” นับเป็นกลไกสาคัญย่ิงท่ีจะ นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการพัฒนาการศกึ ษา ด้วยเหตุนีน้ ักปกครอง นักคดิ รวมท้งั นกั การศึกษาต่างได้แสดง ทรรศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษท่ี 21 ไว้อย่างน่าสนใจย่ิง สมควรที่จะได้นาไป ปรับประยกุ ต์เปน็ แนวทางในการพัฒนาหลักสตู รตอ่ ไป ก่อนท่ีจะได้กล่าวถึงแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 น้ัน จะขอนาเสนอสาระ เกี่ยวกับแนวคิดและบริบทของความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้เห็นภาพรวมโดยทั่วไป ของศตวรรษท่ี 21 และเชื่อมโยงไปยังแนวคดิ การพฒั นาหลกั สูตรตอ่ ไป ดังนี้ แนวคดิ หลกั ของศตวรรษท่ี 21 ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาในระหว่างคริสตศักราชท่ี 2001-2100 มีผู้สนใจแสดงทรรศนะ เก่ียวกับศตวรรษท่ี 21 ไว้ในมุมมองหลักเก่ียวข้องกับโลกในศตวรรษที่ 21 และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ซึง่ สรปุ เปน็ สาระสาคัญได้ดงั นี้

192 1. มมุ มองโลกในศตวรรษที่ 21 ด้วยมีผู้คาดการณ์เกี่ยวกับโลกในศตวรรษที่ 21 ไว้หลากหลายแง่มุมด้วยกัน จึงมีนักการศึกษาได้ พยายามหาข้อสรุปให้เห็นภาพรวมของโลกในศตวรรษท่ี 21 อาทิ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557ก: 2 - 4) ได้สรุป ไวเ้ ปน็ 7 ลกั ษณะ คอื 1.1 โลกเทคโนโลยี (Technologicalization) บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยี จะมีมากข้ึน คนจะอยู่กับเทคโนโลยีเป็นหลัก เทคโนโลยจี ะเข้าไปมีส่วนในการทางานของมนุษย์อย่างมาก ชวี ติ ของคนจะเดินไปตามเสน้ ทางของเทคโนโลยีเป็นหลกั 1.2 เศรษฐกิจการค้า (Commercialization & Economy) การเติบโตทางเทคโนโลยี จะทาให้เกิดผลผลิตทางเทคโนโลยีมากข้ึน อันจะนาไปสู่การค้าขายสินค้าเทคโนโลยี และใช้เทคโนโลยีเพ่ือ การคา้ ขายดว้ ยกนั ไป 1.3 โลกาภิวัตน์กับเครือข่าย (Globalization and Network) รูปแบบโลกาภิวัตน์ จะเปลี่ยนเป็นโลกาภิวัตน์ใหม่ท่ีเป็นกระแสตะวันออก เป็นโลกาภิวัตน์ท้องถิ่นท่ีจับมือกันเองในกลุ่ม เดยี วกนั จึงจาเป็นตอ้ งมกี ารส่ือความหมายใหม่ ๆ และร่วมมอื กันมากขึ้น 1.4 ส่ิงแวดล้อมและพลังงาน (Environment & Energy) ความสนใจและการเรียนรู้ ในสง่ิ แวดลอ้ มจะมีมากขน้ึ ในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะความย่ังยนื ของส่งิ แวดลอ้ มและการพฒั นาต่าง ๆ 1.5 ความเป็นเมือง (Urbanization) ความเป็นเมืองจะเกิดขึ้นชัดเจน และก่อให้เกิดการซื้อขาย สนิ คา้ ธุรกจิ การค้า การใช้เทคโนโลยตี า่ ง ๆ จะตามมา ดังจะเหน็ ได้จากตัวอยา่ งร้านสะดวกซื้อทมี่ ีอยู่ทว่ั ไป 1.6 คนจะอายุยืนข้ึน (Ageing & Health) ความก้าวหน้าทางยาและความรู้เรื่องการดูแล สุขภาพทาให้คนอายุยืนข้ึน สภาพที่ผู้สูงอายุมีมากขึ้นและอายุยืนยาวขึ้นตลอดเวลาจะปรากฏชัดเจนขึ้น คนรุ่นใหมจ่ ะอยกู่ ับคนร่นุ เกา่ อยา่ งไร จะเปน็ ปัญหาใหส้ ังคมในอนาคตตอ้ งคิดหาทางออกให้ชัดเจนขนึ้ 1.7 การอยู่กับตัวเอง (Individualization) สภาพสังคม การทางานและเทคโนโลยีจะทาให้คน ในสังคมอย่กู บั ตัวเองหรอื มลี กั ษณะเฉพาะตนเองมากยง่ิ ข้ึน จากมุมมองโลกในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าวข้างต้น จะพบว่าผู้คนท่ีจะอยู่ในโลกใหม่ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นโลกแห่งการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ จาเป็นต้องมีความรอบรู้ในศาสตร์หลายศาสตร์ ต้องมีความสามารถท้ังในด้านเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค มีความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนด้วยการปรับตัวให้อยบู่ นพื้นฐาน การเข้าใจตนเอง และรับรู้ถึงความ ต่างทงั้ แนวคิดและการปฏบิ ัตขิ องบุคคลรอบข้าง สามารถเรยี นรู้ทจ่ี ะอยู่ในสังคมโลกโดยรับผดิ ชอบรว่ มกัน ต่อสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานร่วมกัน ตลอดจนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพเพ่อื ความเจริญรว่ มกนั ของทั้งตนเองและเครือขา่ ยของประชาคมโลก

193 2. มมุ มองเก่ียวกบั ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 นักการศึกษาและนักคิดหลายท่าน อาทิ เบลลันกา (Bellanca, 2010) เบลลันกา และแบรนด์ท (Bellanca and Brandt, 2010) ทิศนา แขมมณี (2555) และไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557ก.) ได้กล่าวไว้ เกย่ี วกบั ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ซง่ึ สรปุ ไดเ้ ปน็ 7 ทักษะด้วยกนั ประกอบดว้ ย 2.1 ทักษะทางด้านเทคโนโลยี (Computing and ICT Literacy) เป็นทักษะท่ีเก่ียวกับ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ซ่ึงผู้เรียนและคนในยุคศตวรรษที่ 21 จะต้องเรียนรู้และใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะทักษะเกย่ี วกบั ข้อมูลข่าวสาร และการสอ่ื สารทีม่ ีการพัฒนาอย่างรวดเรว็ กว้างขวาง 2.2 ความสนใจใคร่รู้และมีจินตนาการ (Curiosity and Imagination) ผู้เรียนในอนาคต ในโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 จะต้องสนใจใฝ่รู้ในสิ่งใหม่ ๆ อยตู่ ลอดเวลา และมีจนิ ตนาการตอ่ ไปจากความรู้ทไี่ ด้รับ 2.3 การคิดวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา (Critical Thinking and Problem Solving) การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ส่ิงที่ได้ศึกษามาว่า อะไรดี ไม่ดี เหมาะสมหรือไม่ อะไรเป็นความจริง อะไรเป็น ความเขา้ ใจ โดยต้องให้ความสาคญั ควบคู่ไปกบั ทกั ษะในการแกป้ ญั หา 2.4 ความคิดสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรม (Creating and Innovation) ด้วยความ เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่างมากมายและรวดเร็วในศตวรรษที่ 21 การแก้ปัญหาหรือดาเนินการใด ๆ จาเป็นอยา่ งยงิ่ ตอ้ งใชค้ วามคดิ ใหม่ ๆ อย่างมาก ซ่งึ ตามด้วยนวตั กรรมที่เกิดขึน้ จากความคดิ ใหม่ ๆ นนั้ 2.5 ทักษะในการสื่อสารและร่วมมือกัน (Communication and Collaboration) ยุค ศตวรรษที่ 21 เป็นยคุ ของความร่วมมือ ยคุ ของเครือข่ายท่ีผู้คนติดต่อถึงกันผ่านเทคโนโลยีและการส่ือสาร ในรปู แบบใหม่ ๆ 2.6 การคิดในเชิงธุรกิจและทักษะประกอบการ (Corporate and Entrepreneurial Spirit) ซึ่งเป็นทักษะในเชิงของการดาเนินงานทางธุรกิจและการค้า ท่ีนับว่ามีความสาคัญในลักษณะของ โลกในยคุ ศตวรรษท่ี 21 2.7 ทักษะการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมและการสนใจต่อโลก (Cross-Cultural & Awareness) เป็นทักษะที่สะท้อนของความเป็นโลกยุคใหม่ท่ีผู้คนในสังคมโลกจาเป็นต้องรู้จักคนอื่น ๆ โดยเฉพาะในมมุ มองของวัฒนธรรมอ่ืน ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อการอยู่รว่ มกันและเป้าหมายในเชิงเศรษฐกิจ ไปพร้อม ๆ กันด้วย จากมุมมองในด้านทักษะสาคัญของผู้คนในศตวรรษท่ี 21 ดังกล่าวส่งผลให้เกิดความพยายาม ในการท่ีจะกาหนดทักษะท่ีพึงประสงค์ในเยาวชนไทยภายใต้บริบทของไทยเพื่อเป็นกรอบในการพัฒนา เยาวชนไทยให้สอดคลอ้ งกับความเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 ดังน้ี

194 พิณสุดา สิริธรังศรี (2552: 124 - 135) ได้สรุปไว้ว่า จากแนวโน้มสภาพแวดล้อมท่ีกาลัง เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและอนาคตทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ลักษณะของการผลิตและบริการ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม สงิ่ แวดล้อม ประชากร และการเมืองการปกครอง ถ้าประเทศไทย ต้องการดารงอยู่ในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงหรือสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ภาพอนาคตคนไทยควรมี ลกั ษณะพงึ ประสงค์ ดังน้ี 1. ด้านรา่ งกาย มีสุขภาพดี และรจู้ กั รักษาสขุ ภาพใหแ้ ข็งแรงตามช่วงวัยและว่องไวในการทางาน 2. ด้านจิตใจ มีสุขภาพจิตดี มีจิตใจเข็มแข็ง ไม่หว่ันไหวต่อวิกฤตการณ์ได้ง่าย ทั้งวิกฤตการณ์ สว่ นตนและสงั คม 3. ด้านอารมณ์ มีอารมณ์ดี ม่ันคงบนพื้นฐานของการขัดเกลาและยึดมั่นทางศาสนา มีศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม 4. ด้านสังคม สามารถปรับตัวและเข้ากับผู้อื่นได้ มีจิตสาธารณะและจิตอาสา เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ มีน้าใจ มีความสามัคคี เป็นคนดี มีอาชพี และมคี วามปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ 5. ด้านความรู้ มีความรู้ในสาระวิชาและงานที่รับผิดชอบ มีความรู้เชิงสหวิทยาการ รู้ไกล รู้กว้าง รู้ลึกในสาขาวิชาท่ีตนถนัด และใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนและพัฒนางาน มีความใฝ่รู้ รักการอา่ น รกั การเรยี นรู้ และแสวงหาความรู้อย่างต่อไปเนอ่ื งตลอดชวี ิต 6. ด้านทักษะและความสามารถ มีทักษะและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร ได้หลายภาษา เพ่ือเป็นช่องทางการแสวงหาและพัฒนาความรู้และอาชีพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การทางาน การจัดการทั้งด้านตนเองและความรู้ มีทักษะชีวิต มีความขยันหม่ันเพยี ร ซื่อสัตย์สุจริต มวี ินัย อดทนและมุ่งม่ันในการทางานให้ประสบผลสาเร็จ ประหยัด รู้จักกลั่นกรองและเลือกดาเนินชีวิตท่ีถูกต้อง และเหมาะสม มีความสามารถในการแก้ปญั หาทัง้ เฉพาะหนา้ และระยะยาว 7. ด้านเจตคติและค่านิยม มีเจตคตแิ ละคา่ นิยมของการเป็นพลเมอื งไทยและพลโลกท่ีดี รักความ เป็นประชาธิปไตย พร้อมเผชิญต่อการเปลย่ี นแปลง 8. ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์และความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์มองการณ์ไกล และใช้ ประโยชน์จากความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ สร้างนวตั กรรมและนาไปสเู่ ป้าหมายอนาคตได้ วิจารณ์ พานิช (2557: 16-17) ได้กล่าวถึงทักษะในศตวรรษที่ 21 ว่าควรประกอบด้วย “ 3Rs + 8Cs + 2Ls ” โดยให้คาอธิบายไว้สรุปได้ว่า ทักษะการเรียน (Learning Skills) ต้องมี 3 องค์ประกอบคือ (1) Learning คือเรียนส่ิงใหม่ (2) Delearning หรือ Unlearning คือ การเลิกความเช่ือในเร่ืองเก่า และ (3) Relearning คือการเรียนสิ่งใหม่ น่ันคือต้องเปล่ียนชุดความรู้เป็นโลกสมัยใหม่เพราะมีความรู้เกิดข้ึนใหม่

195 มากมาย นอกจากน้ีความรู้เดิมหลายส่วนผิดและไม่เหมาะสมความรูใ้ หม่เป็นสิ่งท่ีดีกว่าสมบูรณ์กว่า ดังนั้น ทกั ษะการเรยี นรูต้ อ้ งประกอบด้วย 3 สว่ นดงั นี้ 1. ส่วนที่ 1 คือ “3Rs” ได้แก่ Reading คือ การอ่านออก (W)Riting คือ การเขียนได้ และ (A)Rithmatics คือ การคิดเลขเป็น โดยการเรียนรู้ตามแนวใหมต่ ้องตคี วามเพ่มิ เตมิ สรปุ ได้ว่า การอ่านออก หมายถึง ความสามารถอ่านได้ มีนิสัยรักการอ่าน อ่านแล้วเกิดสุนทรียะ เกดิ ความสุข จับใจความเป็น มที ักษะในการอ่านหลาย ๆ แบบ การเขียนได้ หมายถึง ความสามารถเขียนได้ โดยส่ือความหมายได้ ย่อความเปน็ รู้วิธีเขยี นหลาย ๆ แบบตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่แตกต่างกนั การคิดเลขได้ หมายถึง ความสามารถคิดเลขได้ และเรียนให้ได้ทักษะการคิดแบบนามธรรม (Abstract thinking) 2. ส่วนท่ี 2 คอื “8Cs” ไดแ้ ก่ Critical Thinking & Problem Solving คือ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแกป้ ญั หา Creativity & Innovation คือ ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม Collaboration, Teamwork & Leadership คือ ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา Cross - cultural Understanding คือ ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจต่อวัฒนธรรมต่างกระบวนทศั น์ Communication, Information & Media Literacy คือ ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และ รเู้ ท่าทนั สื่อ Computing & Media Literacy คือ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร Career & Learning Self-reliance คอื ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ Change คอื ทักษะการเปลี่ยนแปลง 3. ส่วนที่ 3 คอื “2Ls” ไดแ้ ก่ Learning Skills คือ ทักษะการเรียนรู้ และ Leadership คอื ภาวะผนู้ า ดวงจิต สนิทกลาง และเป่ียมพร ตังตระกูลไพศาล (2557: 48-49) ได้กล่าวถึง การพัฒนาทักษะ สู่ศตวรรษท่ี 21 เพ่ือให้เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ โดยหากต้องการให้เด็กไทยมีทักษะท่ีเท่าทันโลก จะต้อง สรา้ งและปลกู ฝงั วฒั นธรรมให้เด็กไทยอยู่ในวฒั นธรรมด้วยการมีทักษะที่พึงประสงค์ ตอ่ ไปน้ี 1. มเี อกลักษณ์ คดิ สร้างสรรค์ 2. ท้าทาย ขยนั หมัน่ เพยี ร

196 3. ประณตี 4. รอบคอบ มรี ะบบ 5. คดิ วิเคราะห์ใคร่ครวญ 6. มจี ติ สาธารณะ 7. ดีและเก่ง พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2558: 1) ไดก้ ลา่ วถึงเดก็ ไทยผู้มที ักษะในศตวรรษที่ 21 ควรมคี ุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม พร้อมการใช้เทคโนโลยอี ย่างมคี ณุ ภาพ โดยมีทักษะดังน้ี 1. การรหู้ นังสอื (Literacy) หรอื ทกั ษะการสอื่ สาร (Communicative skil-ls) 2. การรู้เร่ืองจานวน (Numeracy) 3. การใช้เหตุผล (Reasoning) 4. ทักษะการแก้ปัญหาเชิงสรา้ งสรรค์ (Creative problem solving skills) 5. ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical thinking skills) 6. ทกั ษะการทางานแบบร่วมมือร่วมใจ (Collaborative skills) 7. ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ (Computing skill) 8. ทักษะอาชพี และทกั ษะชวี ติ (Career and life skills) 9. ทักษะข้ามวฒั นธรรม (Cross-culture skills) เมื่อพิจารณาจากแนวคิดหลักของศตวรรษท่ี 21 ในมุมมองโลกในศตวรรษที่ 21 และมุมมอง ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 แลว้ กล่าวได้ว่าในศตวรรษท่ี 21 สังคมมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งมากมายหลายด้าน การทบ่ี ุคคลจะดารงชีวิตอยู่ในสังคมของศตวรรษท่ี 21 อยา่ งมคี วามสุขจาเป็นตอ้ งมีคุณลักษณะและทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 ซ่ึงสรุปได้ดังน้ี 1) มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 2) มีคุณลักษณะที่ เอื้อต่อการดารงตนในสังคม ได้แก่ คุณธรรมจริยธรรม กล้าหาญ ซื่อสัตย์ ม่ังคง อดทน มีทักษะทางอารมณ์ และ การปรับตัว 3) มีทักษะทางสังคม ได้แก่ ความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การทางานเป็นทีม ความเป็นผู้นา การเคารพและยอมรับในความแตกต่าง ความสามารถในการสื่อสารผ่านการพูดและการเรียน การตระหนัก ในความแตกต่างทางความคิดและมุมมอง สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้ง 4) ทักษะทางปัญญา ได้แก่ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์อยา่ งมีเหตุผล สามารถสรา้ ง จนิ ตนาการที่นาไปสู่การปฏิบัติได้จริง และความสามารถสร้างผลผลิตและนวัตกรรม 5) ทักษะการเรียนรู้ และพัฒนาตน ไดแ้ ก่ การเรียนรู้ในศาสตรต์ ่าง ๆ และมีทกั ษะทาง ICT สามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถ เข้าถึงข้อมูล มีทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีความมงุ่ มั่นท่ีจะพัฒนาตนเอง และมีทักษะการเรียนรู้จากภายใน และประการสาคญั คอื ทักษะการสรา้ งความรู้

197 แนวคิดการจดั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ดังไดก้ ล่าวแลว้ ว่าในศตวรรษที่ 21 ได้เกดิ การเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ ในทุกดา้ น การสรา้ งความ สมดุลในการดารงชีวิตอยู่ในสังคมแห่งการเปล่ียนแปลงได้อย่างเหมาะสม จาเป็นท่ีต้องทาให้บุคคลใน สังคมมีความพร้อมรับกับการปรับเปล่ียนดังกล่าว ซ่ึงเป็นท่ียอมรับกันว่า “การจัดการศึกษา” เป็นปัจจัย สาคัญในการสร้างความพรอ้ มให้แก่บุคคล ดังน้ัน การจัดการศกึ ษาจงึ นับเปน็ เรื่องเรง่ ด่วนของชาติทีต่ อ้ งให้ ความสาคัญเป็นลาดับต้นของประเทศเพอ่ื เป็นการเตรียมประชาชนเพื่ออนาคตทย่ี ั่งยืน ตอ่ ไป อย่างไรก็ตามด้วยความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 เป็นภาพรวมในระดับโลก ในที่น้ีจะได้ นาเสนอแนวคิดการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ท้ังของหน่วยงาน องค์กรระดับสากลที่เผยแพร่ไว้ และ แนวความคิดของนักการศึกษาไทย เพื่อนามาเป็นกรอบการปรับประยุกต์การดาเนินการในประเด็น ต่อไปน้ี 1. ความคาดหวงั ของสังคมเกีย่ วกบั การจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ศตวรรษที่ 21 เป็นยุคท่ีเต็มไปด้วยการแข่งขันอย่างไร้ขีดจากัด ลักษณะการเจริญเติบโตและ การเปล่ียนแปลงมีลักษณะที่เป็นการก้าวกระโดดในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเทคโนโลยีและข้อมูล ข่าวสาร จาเป็นที่ระบบการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพสูงสุด ในการดารงชีวิต ซึ่งในเรื่องน้ีนักการศึกษา จากห้องวิจัยทางการศึกษาเขตภาคกลางตอนเหนือและกลุ่มเมทิริ North Central Regional Educational Laboratory and Metiri Group (NCREL) (2003) ได้กลา่ วถงึ สมรรถภาพใน 4 ด้าน คือ 1.1 การรพู้ น้ื ฐานในยุคดิจติ ัล (Digital-age Literacy) 1.2 การคดิ เชิงประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์ (Inventive Thinking) 1.3 การส่อื สารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (Effective Communication) 1.4 ประสิทธิภาพการผลิตในระดบั สูง (High Productivity) โดยมรี ายละเอยี ดของสมรรถภาพ ดงั นี้ 1.1 การรู้พ้ืนฐานในยุคดิจิตัล ควรจัดการเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องกับศาสตร์และสาขาวิชา ที่เกี่ยวขอ้ งกบั พ้นื ฐานการดารงชวี ิตประจาวัน ได้แก่ 1.1.1 การรู้พื้นฐาน (Basic Literacy) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในการส่ือสาร และมี ความสามารถในการคิดคานวณในระดบั ทจี่ าเป็นกบั การดารงชวี ิต 1.1.2 การรู้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Literacy) ซึ่งเก่ียวข้องกับการระบุปัญหาทาง เศรษฐศาสตร์ รวมถึงการวิเคราะห์ผลกระทบของสภาพทางเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐ และการ ประเมินผลดผี ลเสยี

198 1.1.3 การรู้ด้านเทคโนโลยี (Technology Literacy) เป็นการเข้าใจว่าเทคโนโลยีคือ อะไร และจะเอาไปใชอ้ ย่างไรใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 1.1.4 การรู้ด้านทัศนศิลป์ (Visual Literacy) เป็นความสามารถในการตีความ การใช้ และการสรา้ งภาพวีดที ัศน์โดยใช้สื่อตา่ ง ๆ ในลกั ษณะทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การคิดขั้นสูง การตัดสินใจ การสอ่ื สาร และการเรียนรู้ 1.1.5 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) คือ ความสามารถในการใช้ การสังเคราะห์ การประเมนิ ขอ้ มูลทีไ่ ด้จาการใช้เทคโนโลยี 1.1.6 การร้ดู า้ นพหุวฒั นธรรม (Multicultural Literacy) เป็นความสามารถในการเขา้ ใจ เห็นคุณค่าของความเหมือน หรือความแตกต่างของประเพณี คณุ ค่า ความเช่ือ และวัฒนธรรมของตนเอง และของผูอ้ ่นื 1.1.7 การรู้ความตระหนักเกี่ยวกับโลก (Global Awareness) เป็นความเข้าใจ การมี ปฏสิ มั พันธ์ของส่วนตา่ ง ๆ ในสังคมของโลก 1.2 การคิดเชิงประดษิ ฐ์สร้างสรรค์ การคิดเชิงประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสติปัญญาใน การใช้เทคโนโลยี ในสถานการณ์ท่ีซับซ้อน และในการเข้าใจผลที่ตามมาจากการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ซ่ึงเป็นทักษะชีวิตใน ยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงครอบคลมุ ความสามารถตอ่ ไปน้ี 1. 2 . 1 ก าร ปรั บตัว แล ะจั ดก าร กับส่ิ งท่ี ซับ ซ้อ น (Adaptability and Managing Complexity) ซ่ึงเป็นความสามารถในการปรับความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมให้เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน และอนาคต รวมทั้งความสามารถในการจัดการกับเป้าหมายและข้อจากัดใน ด้านต่าง ๆ เช่น เวลา ทรัพยากร และระบบ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 1.2.2 การชี้นาตนเอง (Self-direction) เป็นความสามารถในการต้ังเป้าหมาย ท่ีเกี่ยวข้อง กับการเรียนรู้ การวางแผนเพ่ือบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ การจัดการกับเวลาและประเมินคุณภาพของการ เรยี นรู้และผลผลิตทเ่ี กดิ ขึน้ 1.2.3 ความกระหายใคร่รู้ (Curiosity) เป็นความปรารถนาที่อยากจะรู้หรือมีความสนใจท่ี นาไปสู่การสืบเสาะหาความรู้ 1.2.4 ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) เป็นความสามารถในการสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ ๆ ทั้ง ในระดับตนเองและสงั คม

199 1.2.5 ความกล้าเสี่ยง (Risk-taking) เป็นความต้ังใจที่จะทาผิดพลาดสวนกระแสกับความ คิดเห็นอื่น ๆ เพ่อื จัดการกับปญั หาท่ีไม่สามารถหาทางออกได้ ทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ การมีวฒุ ิภาวะ และทา ให้เกดิ ความสาเร็จขน้ึ 1.2. 6 ความคิดข้ันสูงและการมีเหตุผล (Higher - order Thinking and Sound Reasoning) เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางสติปัญญาในการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ แปลความ ตีความ ประเมนิ คา่ และสงั เคราะห์ เพือ่ นาไปใช้เกย่ี วกับการศกึ ษาและการแกป้ ัญหา 1.3 การสื่อสารอย่างมีประสิทธภิ าพ การสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพในยุคนี้ไม่ได้หมายถึง ความสามารถในการสร้างความหมาย โดยใช้ส่ือ เคร่ืองมือ และกระบวนการในการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกัน (Interactive Communication) เท่านนั้ แต่ยังครอบคลมุ ถงึ 1.3.1 การทางานเป็นกลุ่มและความร่วมมือ (Teaming and Collaboration) ซึ่งเป็น ความสามารถในการทางานร่วมกบั ผู้อืน่ ในการแก้ปัญหา สรา้ งส่ิงใหม่ ๆ จนเกิดการเรยี นรู้และมีความชานาญ 1.3.2 การมีมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal Skills) เป็นความสามารถในการอ่านและจัดการ กบั อารมณ์ แรงกระต้นุ และพฤตกิ รรมของตนเองและผู้อืน่ ในการมีปฏสิ ัมพันธ์และ ในสถานการณ์ต่าง ๆ 1.3.3 ความรับผดิ ชอบสว่ นตน (Personal Responsibility) เกย่ี วกบั ความรทู้ ีเ่ ก่ียวข้องกับ กฎหมายและประเด็นทางจริยธรรมที่เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีและการป ระยุกต์ใช้ในชีวิตได้อย่างสมดุล ซ่ือสตั ย์ และมีคุณภาพ 1.3.4 ความรับผิดชอบต่อสังคมและความเป็นพลเมืองดี (Social and Civic Responsibility) เกี่ยวกับความสามารถในการจัดการและใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และระบอบ ประชาธปิ ไตย 1.4 ประสทิ ธภิ าพการผลติ ในระดบั สงู ประสิทธิภาพการผลิตในระดับสูงในยุคนี้เกีย่ วข้องกับความสาเร็จของแรงงาน ในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1.4.1 การจัดลาดับ การวางแผน และการจัดการเพ่ือผลลัพธ์ (Prioritizing, Planning and Managing for Results) ซ่ึงเป็นความสามารถในการจัดการเพื่อบรรลุเป้าหมายของโครงการหรือการ แกป้ ญั หาที่วางไว้ 1.4.2 การใช้เคร่ืองมือในโลกแห่งความจริงอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Use of Real- World Tools) ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้เครอื่ งมือต่าง ๆ เพ่ือการสื่อสาร การทางานร่วมกัน การแก้ปัญหา เปน็ ตน้

200 1.4.3 ความสามารถในการผลติ งานทม่ี ีคุณภาพสูง (Ability to Produce Relevant, High - Quality Products) เป็นความสามารถในการผลิตผลงานท่ีมีคุณภาพ ด้วยเครื่องมือ ในปัจจุบันที่ได้ มาตรฐาน และสามารถนาไปใช้ได้จริง 2. กรอบความคิดเก่ยี วกับการจดั การศกึ ษาสาหรบั ศตวรรษที่ 21 องค์กรและนักการศึกษาได้ศึกษาลักษณะของสังคมในศตวรรษท่ี 21 และได้เสนอกรอบ แนวคิดเกย่ี วกบั การจัดการศึกษาสาหรับศตวรรษท่ี 21 ไวด้ งั น้ี 2.1 กรอบความคิดแนวการจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของภาคี เพือ่ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 องค์กรภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (Partnership for 21st Century Skills) ได้ ออกแบบและเสนอความคดิ องคร์ วมเกี่ยวกบั แนวทางจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี (เบลลนั กา และ แบรนด์ท (Bellanca & Brandt, 2010: 118-120)) 2.1.1 วิชาแกน โดยผู้เรียนต้องมีความรอบรู้และเรียนรู้จนมีความเช่ียวชาญใน วิชาแกน ต่าง ๆ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การอ่าน ศิลปะการใช้ภาษา ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และการปกครองและหน้าท่พี ลเมอื ง 2.1.2 แนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21 แนวคดิ สาคญั ที่สง่ ผลต่อความสาเร็จ ในการทางาน และการอยู่ร่วมกันในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ จิตสานึกต่อโลก ความรู้พื้นฐาน ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้พื้นฐานด้านพลเมือง ความรู้พ้ืนฐานด้านสุขภาพ ความรู้พื้นฐานด้าน ส่ิงแวดล้อม 2.1.3 ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม โดยผู้เรียนต้องได้รับการฝึกในด้านความคิด สร้างสรรค์ และนวัตกรรม ความคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา และการสื่อสารและ การทางาน รว่ มกัน 2.1.4 ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือและเทคโนโลยี โดยผู้เรียนต้องได้รบั ความรู้พนื้ ฐานด้าน สารสนเทศ ความรพู้ นื้ ฐานด้านสือ่ และความร้พู ้นื ฐานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศฯและการสอ่ื สาร (ICT) 2.1.5 ทักษะชีวิตและการทางาน โดยผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้เก่ียวกับความยืดหยุ่นและ ความสามารถในการปรับตัว ความคิดริเร่ิมและการช้ีนาตนเอง ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้าม วฒั นธรรม การเพิ่มผลผลติ และความรู้รบั ผิด และความเปน็ ผนู้ าและความรับผิดชอบ 2.1.6 ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย มาตรฐานและ การประเมิน การพฒั นาหลกั สตู รและการสอน การพัฒนาทางวชิ าชพี และสภาพแวดลอ้ ม การเรียนรู้

201 ทกั ษะ ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม ทกั ษะด้าน ชวี ติ และ วชิ าแกนและแนวคิดสาคัญ สารสนเทศ ในศตวรรษที่ 21 สื่อ และ การ เทคโนโลยี ทางาน มาตรฐานและการประเมนิ หลกั สตู รและการสอน การพัฒนาทางวชิ าชีพ วชิ าแกน สภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ - ภาษาองั กฤษ การอา่ น - เศรษฐศาสตร์ หรอื ศลิ ปะการใช้ภาษา - วิทยาศาสตร์ - ภาษาสาคญั ของโลก - ภูมิศาสตร์ - ศลิ ปะ - ประวตั ศิ าสตร์ - คณิตศาสตร์ - การปกครองและหน้าท่พี ลเมือง แนวคิดสาคญั ในศตวรรษท่ี 21 - จิตสานึกต่อโลก - ความรู้พ้นื ฐานด้านการเงิน เศรษฐกจิ ธรุ กจิ และการเป็นผูป้ ระกอบการ - ความรพู้ ื้นฐานด้านพลเมอื ง - ความรู้พื้นฐานดา้ นสขุ ภาพ - ความร้พู ืน้ ฐานดา้ นสงิ่ แวดล้อม

202 ทกั ษะการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม - ความคิดสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม - ความคดิ เชิงวพิ ากษ์และการแก้ไขปัญหา - การสือ่ สารและการรว่ มมือทางาน ทักษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี - ความร้พู ืน้ ฐานด้านสารสนเทศ - ความรู้พ้ืนฐานด้านสอ่ื - ความรู้พืน้ ฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) ทักษะชีวติ และการทางาน - ความยดึ หยุน่ และความสามารถในการปรบั ตวั - ความคิดรเิ รมิ่ และการช้ีนาตนเอง - ทักษะทางสังคมและการเรยี นรู้ข้ามวัฒนธรรม - การเพิ่มผลผลติ และความรู้รบั ผิด - ความเป็นผู้นาและความรับผิดชอบ ระบบสนับสนนุ การศกึ ษาของศตวรรษท่ี 21 - มาตรฐานและการประเมนิ ของศตวรรษท่ี 21 - หลกั สตู รและการสอนของศตวรรษท่ี 21 - การพัฒนาทางวิชาชพี ของศตวรรษที่ 21 - สภาพแวดล้อมการเรยี นรขู้ องศตวรรษท่ี 21 แผนภูมทิ ่ี 9.1 กรอบความคิดแนวการจดั การศกึ ษาเพ่ือการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 โดยภาคี เพ่อื ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (Bellanca & Brandt, 2010: 34) 2.2 กรอบแนวคิดการจดั การศึกษาเรยี นร้ทู ่ีครบวงจร และผลลัพธ์ ประเวศ วะสี (2549 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2555: 8-9) ได้นาเสนอความคิดเก่ียวกับ กระบวนการเรียนรคู้ รบวงจร เพอ่ื คลคี่ ลายวิกฤตแห่งยคุ สมยั ศตวรรษท่ี 21 โดยไดก้ าหนดทกั ษะการเรียนรู้ 6 ทักษะท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถอยู่ในสังคมในยุคศตวรรษท่ี 21 ได้อย่างดี ทาให้เกิดสานึกใหม่ เกิดความเคารพศักดิ์ศรี และคณุ ค่าความเปน็ คน เกิดความเข้มแข็งของชมุ ชน ประชาสังคม เกิดเศรษฐกิจ

203 พอเพียง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เพราะมีความสมดุลของสรรพสิ่ง สาหรับทักษะการเรียน 6 ประการ ประกอบดว้ ย 2.2.1 ทกั ษะการเรยี นรู้จากการทาจริง ปฏิบตั ิจริง 2.2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.2.3 ทกั ษะในการสรา้ งความรู้ 2.2.4 ทักษะการเรยี นรู้จากภายใน 2.2.5 ทกั ษะการจดั การ 2.2.6 ทักษะการจัดการความรู้ โดยนาเสนอเปน็ แผนภมู ิ ไดด้ งั น้ี 3 ความร้หู รอื ปญั ญาที่ สูงขึน้ 2 6 4 5 กระบวนการ กระบวนการ การจดั การ ทางวทิ ยาศาสตร์ จัดการความรู้ จิตตปญั ญา เป็นอทิ ธิ 1 ศกึ ษา เรียนรจู้ ากการ ทาจริง ปฏบิ ตั ิจริง ผล 5 การเคารพศกั ด์ศิ รี จติ สานกึ ใหม่ และคณุ คา่ ความเป็นคน สันติสุข เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการอยรู่ ว่ มกนั ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน และประชาสังคม แผนภมู ทิ ่ี 9.2 ระบบการเรียนรู้ที่ครบวงจรและผลลัพธ์ ประเวศ วะสี (2549 อ้างถงึ ใน ทิศนา แขมมณี, 2550: 8 - 9)

204 2.3 กรอบแนวคิดเกี่ยวกบั ภาพการศกึ ษาไทยในอนาคต พิณสุดา สิริธรังศรี (2552) ได้จัดทาวิจัยเรื่อง ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10 - 20 ปี ซึ่งสรุปเป็นภาพอนาคตการศกึ ษาไทยที่พงึ ประสงค์ ดังนี้ 2.3.1 มุ่งพัฒนาปัจเจกบุคคลให้มีความรู้ ทักษะ สติปัญญา ความฉลาดทางอารมณ์ การปรับตวั เพ่ืออยู่ร่วมในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข มีทักษะชวี ิต และมีภูมิคุ้มกัน ดารงตน เป็นพลเมืองไทย และพลโลกที่ดี 2.3.2 มุ่งเน้นการพัฒนามันสมองและสติปญั ญาของมนุษย์ตั้งแตก่ ่อนวัยเรียนจนกระทั่งถึงวัย ผู้สูงอายุ เพื่อใช้ปัญญาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคน สร้างโอกาสและเพ่ิมมูลค่าของชีวิต สังคมและ ประเทศชาติ 2.3.3 ส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสมองและสติปัญญาควบคู่กับสภาวะแห่ง คุณธรรม จรยิ ธรรม ทม่ี ีความสมบรู ณ์อยา่ งเป็นองค์รวม 2.3.4 ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเรียนร้ดู ว้ ยกระบวนการวจิ ัยอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต ทุกเพศทุกวัย มกี ารใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้/การเรียนรู้ได้อย่างเท่ากนั 2.3.5 ส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ และความเป็นมนุษย์ที่สามารถดารงชีวิตอยู่ในโลกของ การแข่งขันได้อย่างรูเ้ ทา่ ทันและมีความสุข 2.3.6 ก่อให้เกิดความเข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืน มีจิตอาสา จิตสาธารณะ ส่งเสริมการใช้ ปัญญาอย่างมีเหตุผล ส่งเสริมความสามัคคีปรองดองในสังคม ขจัดความขัดแย้ง ทาให้คนมีความเป็น มนษุ ย์และมจี ติ ใจสงู 2.3.7 ส่งเสริมความเป็นผู้มีคุณธรรม โดยมีหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนและ การประเมินผลจะตอ้ งเนน้ ทง้ั ความรแู้ ละคุณธรรมควบคู่กันไปอยา่ งบรู ณาการ 2.3.8 ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่ผ่าน กระบวนการเรียนร้อู ย่างเปน็ ระบบ ทัง้ ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั 2.3.9 เปน็ กลไกกอ่ ให้เกดิ ความเจรญิ กา้ วหน้า และการพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยนื 2.3.10 เปิดโอกาสให้คนทุกหมู่เหล่า ทุกเพศวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนาได้ศึกษา ในทุก สถานท่ี ทุกเวลา ทุกโอกาสอย่างเท่าเทียมและเป็นไปอย่างมีคุณภาพ เป็นการศึกษาท่ีเอื้อต่อคนทุกคนใน สังคม 2.3.11 ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้อย่างทั่วถึง ผู้เรียนทุกเพศทุกวัย สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ทุกเวลา ทุกท่ี ทุกโอกาส รวดเร็ว ทันท่วงที ด้วยเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ท่ีได้รับ การพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดเวลา

205 2.3.12 สถานศึกษามีการแข่งขันกันเชิงคุณภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับความต้องการการ พัฒนาทางเศรษฐกจิ /สังคม ในยุคเศรษฐกิจสงั คมฐานความรู้ 2.3.13 บทบาทการจัดการศึกษาของรัฐลดลงและบทบาทขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และเอกชนเพม่ิ มากข้นึ 2.3.14 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมจะเข้ามามีส่วนส่งเสริมการ จัดการศึกษามากข้ึน เกิดการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ การพัฒนาสมองของมนุษย์ การรักษามันสมอง ของผู้สงู วยั ใหม้ ีสุขภาพสมองยืนยาวด้วยกระบวนการทางการแพทย์ที่ทันสมยั 2.3.15 ผู้สูงวัยจะได้รับการเตรียมการด้วยการศึกษาตลอดชีวิตและการใช้ประโยชน์จาก สมอง ภูมิปัญญา และประสบการณ์ของผู้สูงวัยมาใช้สนับสนุนการศึกษาทั้งในรูปของผู้ทรงคุณวุฒิ ครู ภูมปิ ัญญา และแหลง่ เรียนรทู้ ่เี ปน็ ทรัพยากรบคุ คลอนั มคี า่ ของชาติ 2.3.16 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา มีวิสัยทัศน์ ความรู้ คุณธรรม ทักษะ และ เจตคติที่ดตี ่อการศึกษา ผ่านกระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพอย่างเชี่ยวชาญ มีความ รักและศรัทธาในวิชาชพี มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ เปน็ ผู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ เป็นที่ยอมรับและศรัทธาของหน่วยงาน วงการวชิ าชพี และสังคม และมีสถาบันผลิตครูท่ีมีศาสตรข์ องการ ผลติ ดาเนินการอยา่ งเข้มข้น 2.3.17 ผูเ้ รยี น มีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง มีความรู้ และผ่านการขัดเลาสติปัญญาตามช่วงวัย มภี ูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งทางจิตใจและอารมณ์ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ และเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการส่อื สารได้หลายภาษา มที ักษะในการใช้เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรู้ ใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น มีความสามารถในการจัดการตนเองและแก้ปญั หาตนเองไดอ้ ย่างร้เู ท่าทนั มีความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและ สังคม และอยใู่ นโลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ได้อย่างมีความสขุ 2.4 กรอบแนวคดิ การจดั การศึกษาในเชงิ สร้างสรรคแ์ ละผลิตภาพ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557ข: 25 - 29) ได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ “การจัดการศึกษาในเชิง สรา้ งสรรคแ์ ละผลิตภาพ” ซ่ึงเปน็ ภาพรวมในการจดั การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ดังน้ี 2.4.1 การเรยี นร้แู นวคดิ และลักษณะสงั คมไทยอย่างวเิ คราะห์วจิ ารณ์ ในช่วงศตวรรษท่ี 21 ควรต้องศกึ ษาแนวคิดและวัฒนธรรมไทย อยา่ งเข้มข้น ลกึ ซึ้งและ วิเคราะห์วิจารณ์มากยิ่งขึ้น เพ่ือให้สามารถเรียนรู้และอยู่ในสังคมใหม่ได้อย่างเท่าทันและสามารถคิดตาม การเปล่ียนแปลงไดอ้ ยา่ งเพยี งพอ

206 2.4.2 การเขา้ ใจวฒั นธรรมอาเซยี นและวัฒนธรรมตะวนั ตกในเรอ่ื งทม่ี าและผลกระทบ การศึกษาในช่วงศตวรรษท่ี 21 ต้องเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสมัยใหม่อย่างลึกซึ้งท้ังในเชิง ทม่ี าและผลกระทบ เพอื่ จะได้เข้าใจการเปล่ยี นแปลงและมองเหน็ ผลกระทบของความเปลย่ี นแปลงนั้น ๆ ได้ 2.4.3 การรูจ้ กั ตนเองพรอ้ มมองเห็นคุณค่าทแ่ี ท้จริงของสิง่ ของและนวตั กรรม การส่งเสริมให้รู้จกั ตนเอง ทาให้สามารถพฒั นาตนเองและอยู่รว่ มกับสังคมได้อยา่ งเข้าใจ ควบค่ไู ปกบั การรูจ้ กั คณุ คา่ ทแ่ี ทจ้ รงิ ของส่งิ รอบตัว ดว้ ยการพฒั นาความสามารถในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ 2.4.4 การตามทนั กระบวนการผลิตใหม่และสามารถผลติ เองได้อย่างกว้างขวาง ในโลกยุคใหม่ท่ีมุ่งธุรกิจการค้าและมาพร้อมกับนวัตกรรมใหม่ ๆ จึงจาเป็นต้องตามให้ ทนั กับกระแสใหม่ และพร้อมท่ีจะคิดใหม่ มองสิ่งรอบตัวใหม่ ขณะเดียวกัน ก็สามารถพัฒนาผลผลิตจาก สิง่ ใหม่ได้ดว้ ย 2.4.5 การเข้าใจผ้อู ืน่ และร้วู ธิ กี ารในการนาการเปลยี่ นแปลงรว่ มกัน การส่งเสริมให้รู้จักผู้อ่ืนทั้งในสังคมของเราเองและสังคมอื่น ๆ เพราะในโลกยุคใหม่ทาให้ โลกเล็กลง ไม่สามารถหลีกเล่ียงการรู้จักผู้อื่น ดังน้ันเม่ือรู้จักแล้วต้องพร้อมท่ีจะช่วยกันคิดและพัฒนา สภาพแวดล้อมไปพรอ้ มกัน จงึ จาเป็นอย่างย่ิงทจี่ ะปลูกฝงั นสิ ัยเชงิ รกุ (Productive) ให้มีขนึ้ ในสังคมด้วย 2.4.6 การออกแบบและรว่ มพฒั นาทศิ ทางของสังคมทีเ่ หมาะสมได้ ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ความเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนเสมอและเป็นไปอย่างรวดเร็ว ผู้คน ในศตวรรษนี้จึงต้องพร้อมกับการเปล่ียนแปลงและร่วมมีบทบาทในการเปลี่ยนสังคมและโลกไปพร้อม ๆ กนั (Futuristic Mind) 2.4.7 มคี วามเขม้ แขง็ ในจรยิ ธรรม ความรับผดิ ชอบและความดงี าม ความรู้ผิดชอบนับเป็นฐานหลัก เพราะความรับผิดชอบจะมาควบคู่กับสิทธิของผู้คนท่ีมี ต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม ในขณะเดียวกันความรับผิดชอบจะเป็นพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม รวมถึง การได้เปรียบผอู้ นื่ และโลกอืน่ จึงต้องได้รับการพฒั นาให้มีอยา่ งพอดี จากสาระที่นาเสนอกรอบแนวคิดการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าวข้างต้น จะเห็น ได้ว่า การจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ต้องคานึงถึงการพัฒนาให้ประชากรของโลกมีความสามารถใน การแข่งขัน โดยความสาเร็จของประชากรท่ีเกิดขึ้นมีปัจจัยมาจากการมีความรู้และทักษะท่ีสาคัญ และมี การจดั การศึกษาที่มุ่งผสมผสานวิชาแกนกับแนวคดิ สาคญั ตา่ ง ๆ ของศตวรรษที่ 21 และทกั ษะต่าง ๆ เพ่ือ เตรยี มความพร้อมให้ผเู้ รียนกอ่ นออกไปสโู่ ลกของการทางาน โดยท่ีผู้เรียนต้องไดร้ ับการส่งเสรมิ ให้มีความรู้ ในเน้ือหาและทักษะท่ีจะประยุกต์ใช้และปรับเปลี่ยนความรู้เหล่านั้นให้เข้ากับเป้าหมายที่เป็นประโยชน์ และสร้างสรรค์ รวมทั้งส่งเสริมให้มีความต่อเนื่องตามเน้ือหาและสภาพการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป จึงอาจ

207 กล่าวได้ว่า การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงมิใช่ห้องเรียนท่ีมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีเนื้อหาวิชาท่ี หลากหลาย แต่ยังต้องรวมถึงการสร้างจิตสานึกต่อโลก มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในการใช้ เทคโนโลยีดีจิตัล มีความรู้ มีทักษะชีวิตและการทางาน นอกจากน้ันประชากรในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ยังต้องสนใจเร่ืองของการประเมินหลักสูตร การพัฒนาทางวิชาชีพและสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 การพฒั นาหลกั สตู รในศตวรรษท่ี 21 จากท่ีได้กล่าวถึงแนวคิดหลัก กรอบแนวคิดต่าง ๆ และการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 แสดง ให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของความเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย ซ่ึงระบบการศึกษาจะเป็นปัจจัย ทเี่ ออ้ื อานวยตอ่ ความสาเรจ็ ของการดารงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 และดังทไี่ ด้กลา่ วไวแ้ ลว้ ในตอนตน้ ของบทน้ี ว่า ในระบบการจัดการศึกษาที่จะถ่ายทอดแนวคิด หลักการ สาระสาคัญของเนื้อหา คุณลักษณะของโลก สงั คม บุคคล รวมท้ังองค์ประกอบอ่นื ๆ ของพัฒนาการในทุก ๆ ดา้ น เพ่ือการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของสังคม และโลกภายใต้ความเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ทเี่ กิดข้ึน สาหรบั สาระในบทน้ีได้น้อมนาแนวคดิ ของพระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยตุ โต) ท่ีนาหลักธรรม คาสั่งสอน ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามากล่าวในแง่มุมทางการศึกษาได้อย่างน่าสนใจ พร้อมกันน้ีได้อัญเชิญพระ ราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่สะท้อนถึงแนวพระราชดาริเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการสอนมานาเสนอ รวมท้ังได้นาแนวคิด เก่ียวกับประเด็นสาระต่าง ๆ ท่ีนาไปเช่ือมโยงกับบริบทของการจัดการในปัจจุบันของศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรีสะอ้าน และศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ มานาเสนอเพ่ือประมวลเป็นแนวโน้ม ของการพัฒนาหลกั สูตรในศตวรรษท่ี 21 ว่าควรเปน็ ไปในลักษณะเช่นไร ทั้งน้ีองคผ์ ู้นาเสนอและผู้นาเสนอ ทคี่ ัดเลอื กมาคร้ังน้ีบางท่านอาจมิได้กล่าวอย่างตรงไปตรงมาเก่ียวกบั การพัฒนาหลักสตู ร แต่อาจวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เห็นแนวคดิ จากข้อเสนอ ตา่ ง ๆ ดงั กล่าว สรปุ ไดด้ ังน้ี แนวคดิ ในการพัฒนาหลักสูตรและการสอนในอนาคตของพระธรรมปฎิ ก แนวคิดของพระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่นามากลา่ วในทีน่ ้ี ไดต้ ัดตอนมาจากงานเขยี นของทา่ น ในหนังสือ “การศึกษากับการวิจัยเพื่ออนาคตของประเทศไทย” โดยท่านกล่าวถึงแนวทางการให้ การศึกษา ซ่งึ พอจะอนมุ านมาใชเ้ ปน็ แนวคดิ ในการพัฒนาหลักสตู รและการสอน ไดด้ ังนี้

208 …คนเราจะมีชีวิตที่ดีงามได้ต้องเรียนรู้ เพราะคนเป็นสัตว์ท่ีต้องฝึก ฉะน้ันหัวใจของพุทธศาสนาในทางปฏิบัติจึงเรียกว่า สิกขา คือ การศึกษา ซ่ึงมี 3 ด้าน คือ พฤติกรรม จิตใจ และปัญญา จึงเรียกว่า ไตรสิกขา (การศึกษา 3 ด้าน) ชีวิตมนุษย์ต้องอยู่ด้วยการศึกษา จึงจะเป็นชีวิตท่ีดีได้ ศึกษาไป จนกระทัง่ เก่งดมี สี ุขจรงิ … (พระธรรมปิฎก, 2542: 90 - 91) …เวลาน้ีสังคมไทยมีปัญหาเร่ืองคุณภาพคนอย่างหนัก คนไทยมี ลักษณะอย่างไรบ้าง อาจจะต้องมองในแง่ร้ายให้มาก เพื่อการช่วยกันแก้ไข ปรับปรงุ คนไทยปจั จบุ นั นม้ี ีลักษณะ 1. เป็นคนประมาท คือ เป็นคนท่ีหลงระเริง เพลิดเพลิน ปล่อยตัว ไม่รู้จักใช้ เวลาให้เป็นประโยชน์ ไม่เร่งรัดจัดทาเร่ืองที่ควรทา เฉื่อยชา ชอบผดั เพ้ยี น 2. เปน็ คนขาดความใฝร่ ู้ 3. เป็นคนออ่ นแอ อาจจะเรยี กว่า ไม่สสู้ ่งิ ยากก็ได้ … (พระธรรมปฎิ ก, 2542: 87) …คนในสังคมที่สร้างสรรคพ์ ัฒนามาบนฐานของความใฝร่ ู้สู่สงิ่ ยาก จะ มีลักษณะท่ีทุกข์ได้ยากแต่สุขได้ง่าย ส่วนคนท่ีได้รับการบารุงบาเรอเต็มที่จน เคยตัวหรือจนกลายเป็นวัฒนธรรมก็จะเป็นคนท่ีมีลักษณะทุกข์ได้ง่ายและสุข ได้ยาก เพราะว่าพอเกิดมาก็เจอกับสภาพบารุงบาเรอสะดวกสบาย จน กลายเปน็ สภาพปกติ ดงั น้นั พอขาดอะไรนิดเดยี วกท็ กุ ข์ทนั ที… (พระธรรมปฎิ ก, 2542: 48) …อนาคตของประเทศไทยที่พึงประสงค์จะเป็นอย่างไร ถ้าเรามี แรงจูงใจถูกตอ้ งท่เี รียกวา่ ฉนั ทะ คอื มุ่งจะหาความจรงิ ใหไ้ ดแ้ ละทาให้มนั ดีให้ ได้ อันนี้จะไม่ใช่เป็นเพียงเพ่ืออนาคตของประเทศไทยเท่านั้น แต่จะหมายถึง อนาคตของประเทศไทยที่เป็นไปเพื่ออนาคตของมนุษย์ชาติทั้งหมด เราจะไม่ มองเพียงเพ่ืออนาคตของประเทศไทยด้วน ๆ แต่จะต้องมองถึงอนาคตของ ประเทศไทยชนิดท่ีเอ้ือต่ออนาคตของมนุษยชาติ เพื่อมนุษยชาติท่ีอยู่ร่วมเย็น เปน็ สขุ มสี นั ติสขุ ทั่วกนั … (พระธรรมปิฎก, 2542: 51)

209 …อนาคตของประเทศไทย จะต้องถูกยกมาพิจารณาและมาตกลงกัน ใหไ้ ด้ เราอาจจะต้องแบ่งว่า อนาคตของประเทศไทยน้ัน 1. เพ่ือเอาชนะการแข่งขันในเวทีโลก เช่น เพื่อชนะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หรือในภาคเอเชียทงั้ หมด ตลอดจนชนะในโลกท้ังหมด 2. เพือ่ อนาคตของประเทศไทยท่ีจะชว่ ยนาโลกไปส่คู วามดงี าม และสันติสขุ … (พระธรรมปิฎก, 2542: 51 - 52) …เมื่อจะเอาชนะก็ต้องหาทางที่จะตีผู้อ่ืนลงให้ได้ นี่แหละคือ กระแส ความคิดท่ีครอบงาโลกในปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแห่งความสาเร็จ เรา จะต้องข้ามพ้นระบบแข่งขัน และวัฒนธรรมแห่งความสาเร็จน้ีไปโดยมุ่งสู่ จุดหมายว่า ทาอย่างไรจะให้ชีวิตดีงาม ให้สังคมดี และให้โลกนี้ดีด้วยเหตุนี้จึง ต้องวางจดุ หมาย 2 ข้ัน คือ ข้ันใหส้ าเร็จ ได้แก่ ขน้ั ชนะการแข่งขันระหวา่ งประเทศหรือในเวทีโลก เปน็ ตน้ ข้ันให้ดี คือ ไม่ใช่เพียงให้สาเร็จ แต่ต้องให้เกิดความดีงามแก่ชีวิต และ สร้างสรรค์โลกให้ดีงามมีสันติสขุ ด้วย… (พระธรรมปิฎก, 2542: 52 - 53) จะเห็นได้ว่าแนวคิดของพระธรรมปิฎกข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญของการศึกษา 3 ด้าน คือ พฤติกรรม จิตใจ และปัญญา เพ่ือให้เกิดคุณลกั ษณะ เก่ง ดี และมี ความสขุ อย่างไรก็ตามมีความ น่าห่วงเกี่ยวกับคุณลักษณะของคนไทยในสังคมปัจจุบันที่เป็นไป ในด้านลบ 3 ประการ คือ ประมาท ขาดความใฝ่รู้ และอ่อนแอ ส่งผลให้บุคคลเหล่าน้ัน ดารงชีวิตอยู่ในความทุกข์ ซึ่งแนวทางแก้ปัญหาใน เบอื้ งต้นคือ ต้องมีแรงจูงใจท่ีม่งุ จะหาความจริงและลงมือกระทา โดยอาจมีจดุ หมายหลักใน 2 ประการ คือ การทาใหส้ าเร็จ และการทาให้ดีงามแก่ชีวิต ในเชิงสร้างสรรค์โลกใหม้ สี นั ติสุขในเวลาเดยี วกนั จากสรุปแนวคิดของท่านพระธรรมปิฎกดังกล่าว อาจสังเคราะห์เป็นแนวทาง ในการพัฒนา หลกั สูตรในศตวรรษที่ 21 ไดด้ งั นี้ 1. ด้านการสรา้ งและปรบั ปรุงหลกั สูตร ในการสร้างและปรับปรุงหลักสูตร ควรคานึงถึงการกาหนดกรอบของโครงสร้างเน้ือหาท่ี ครอบคลุมองค์ประกอบทางการศึกษา 3 ด้าน ที่เรียกว่า ไตรสิกขา ประกอบด้วยเน้ือหา ทางด้านการปฏิบัติ (พฤติกรรม) ด้านคุณธรรมจริยธรรม (จิตใจ) และด้านสาระความรู้ (ปัญญา) ทั้งนี้ ควรเพิ่มจุดเน้นเนื้อหาสาระใน

210 เรื่องคุณลักษณะสาคัญ ๆ อาทิ ความใฝ่รู้ ความอดทน ความไม่ประมาท รวมท้ังความพอใจในส่ิงท่ีกระทา โดย ใหผ้ ู้เรยี นคานงึ ถึงความเจริญกา้ วหน้าในส่วนรวมระดับโลกมิใชค่ านึงถึงประโยชน์ทีจ่ ะเกิดในระดับบุคคล 2. ดา้ นการนาหลกั สูตรไปใช้ ในการนาหลักสูตรไปสู่การจัดการเรียนการสอน ควรเน้นการสร้างความเข้าใจถึงการเรียนรู้ โดย การปฏิบัติจริง ในสถานการณ์ที่หลากหลายทั้งที่เอ้ืออานวยและไม่เอ้ืออานวย เพ่ือสร้างพลเมืองท่ีมีความ แข็งแกร่ง อดทน อีกทั้งการจัดกิจกรรมให้เกิดการแข่งขันในสังคมและในระดับโลกในยุคศตวรรษท่ี 21 ที่มี เป้าหมายให้เกดิ ความดงี ามแกช่ ีวติ และ มสี นั ติสขุ ต่อส่วนรวม แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีวิเคราะห์จากพระราชดารัสเก่ียวกับการศึกษา เน้ือหาสาระการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ กระแสพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่อัญเชิญมาเสนอในท่ีน้ีเป็นพระราชดารัสเกี่ยวกับการศึกษา เน้ือหาสาระ การเรียนรู้ และ กระบวนการเรียนรู้ที่ ทรงพระราชทานเน่ืองในวโรกาสต่าง ๆ ซ่ึงแม้ว่าจะมีห้วงของเวลาที่แตกต่างกันก็ตาม แต่สะท้อนให้เห็นถึงแนวพระราชดาริที่สุขุม ลึกซ้ึง กว้างไกล และมีความเป็นสากลที่สามารถน้อมนามา พิจารณาไตร่ตรอง และนาไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษาของทั้งในส่วนตน สังคม ประเทศชาติ และโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างดียิ่ง ดังจะได้นามาเสนอไว้ ณ ท่ีน้ี ดังน้ี (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหง่ ชาต,ิ 2540) …การแบ่งการศึกษาเป็นสองอย่าง คือ การศึกษาวิชาการอย่าง หนึ่ง วิชาการน้ันจะเป็นประโยชน์แก่ตัวเองและแก่บ้านเมือง ถ้ามาใช้ ต่อไปเม่ือสาเร็จ การศึกษาแล้ว อีกอย่างหนึ่งขั้นท่ีสองก็คือ ความรู้ท่ีจะ เรียกได้ว่า ธรรม คือ รู้ในการวางตัว ประพฤติและความคิด วิธีคิด วิธีท่ี จะใช้สมองมาทาเป็นประโยชน์แก่ตัว ส่ิงท่ีเป็นธรรม หมายถึง วิธี ประพฤติปฏบิ ัติ คนที่ศึกษาในทางวิชาการและศึกษาในทางธรรมก็ต้องมี ปัญญา แต่ผู้ใช้ความรู้ในทาง วิชาการทางเดียว และไม่ใช้ความรู้ในทาง ธรรม จะนบั ว่าเปน็ ปญั ญาชนไม่ได…้ (พระราชดารัส เมอ่ื วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2513)

211 …ในการปฏบิ ตั ิงานใด ๆ ผูป้ ฏิบตั จิ ะต้องทราบ ต้องเข้าใจแจ่มแจ้งถึงปัญหาและวิชา ความรู้ทัง้ ปวงอนั เกยี่ วข้องกับชวี ติ มนษุ ยอ์ ยา่ งทัว่ ถงึ จึงจะสามารถนาทฤษฎีมาดดั แปลง ใชใ้ หเ้ หมาะกับสภาพการณ์ และสามารถเลือกแนวทางการปฏบิ ัติให้เกิดผลมากทสี่ ุดได้… (พระราชดารัส เมื่อวนั ท่ี 22 มกราคม พ.ศ. 2517) …วิชาการทัง้ ปวงน้ันถงึ จะมีประเภทมากมายเพียงใดก็ตาม แต่เมื่อ นามาใช้สร้างสรรค์สงิ่ ใดก็ต้องใชด้ ้วยกัน หรือต้องนาประยุกต์เข้าด้วยกัน เสมอ อย่างกับอาหารท่ีเรารับประทาน กว่าจะสาเร็จข้ึนมาให้ รับประทานได้ ต้องอาศัยวิชาประสมประสานกันหลายอย่าง และต้อง ผ่านการปฏบิ ตั มิ ากมายหลายอยา่ งหลายตอน ดังนั้นวิชาต่าง ๆ มีความสัมพันธ์ถึงกันและมีอุปการะแก่กัน ท้ังฝ่าย วิทยาศาสตร์ และฝ่ายศิลปศาสตร์ ไม่มีวิชาใดใช้ได้โดยลาพัง หรือเฉพาะ อย่างได้เลย… (พระราชดารัส เมื่อวันท่ี 3 สิงหาคม พ.ศ. 2521) …ความรู้ท่ีจะศึกษามี 3 ส่วน คือ ความรู้วิชาการ ความรู้ ปฏิบัติการ และความรู้คดิ อ่านตามเหตุผลความเป็นจรงิ อีกประการหนึ่ง ต้องมีความจริงใจและบริสุทธ์ิใจ ไม่ว่าในงาน ในผู้ร่วมงาน หรือในการ รักษาระเบียบ แบบแผน ความดีงาม ความถูกต้องทุกอย่าง ประการท่ี สามตอ้ งฝึกฝนใหม้ คี วามหนกั แน่นท้ังภายในใจ ในคาพูด… (พระราชดารัส เม่ือวนั ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2530) จากพระราชดารัสข้างต้น หากวิเคราะห์ตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรแล้ว จะสะท้อนให้เห็นแนว พระราชดาริใน 2 ดา้ นใหญ่ ๆ ทน่ี าไปสู่การพฒั นาหลักสตู รและการสอนได้ดงั น้ี 1. ด้านการสร้างและปรับปรุงหลักสตู ร ในการสร้างและปรับปรุงหลักสูตรและการกาหนดเนื้อหาสาระความรู้ ควรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ความรู้ทางวิชาการ ทักษะการคิด และคุณธรรม โดยความรู้น้ัน ๆ ประกอบด้วย ความรู้ทางวิชาการ ความรู้ ปฏิบัติการ และความรู้คิดอ่านตามเหตุผล ความเป็นจริง ท้ังนี้สาระทั้ง 3 ส่วนจะต้องนามาบูรณาการกัน และมี ความสมดุลทงั้ ด้านทฤษฎแี ละการปฏบิ ัติ

212 2. ดา้ นการนาหลกั สตู รไปใช้ ในการนาหลักสูตรไปใช้ในการสอน การท่ีจะถ่ายทอดสาระความรู้ไปยังผู้เรียนนั้นควรเน้น กระบวนการเรียนรู้ท่ีก่อให้เกิดปัญญา กล่าวคือ เป็นการเรียนรู้ที่อาศัยการขบคิดพิจารณา การเรียนรู้จาก การปฏิบัติฝึกฝนจนเกิดความชานาญ โดยสามารถนาทฤษฎีมาดัดแปลงเพื่อใช้ในชีวิตจริงได้อย่าง เหมาะสม แนวคิดในการพฒั นาหลักสูตรในอนาคตของ ศาสตราจารย์ ดร.วิจติ ร ศรสี ะอ้าน ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรีสะอ้าน นักบริหารการศึกษา ที่นาระบบการศึกษาทางไกลมาใช้ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จนได้รับการกาหนดจาก UNESCO ให้เป็นสถาบันที่เป็นต้นแบบของ มหาวิทยาลัยท่ีใช้ระบบการสอนทางไกลโดยใช้ส่ือประสมในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค ได้แสดงความ คดิ เห็นเก่ียวกบั อนาคตการศึกษาไทยในสองทศวรรษ สรปุ ได้ ดงั นี้ (วจิ ิตร ศรีสะอา้ น, 2539: 126 – 133) 1. ปัจจัยทมี่ อี ิทธิพลตอ่ การกาหนดทศิ ทางการศึกษา จากการวิเคราะห์สภาพการณ์ต่าง ๆ ในช่วงปัจจุบัน วิจิตร ศรีสะอ้าน ได้ชี้ให้เห็นปัจจัยที่มีผล ต่อการกาหนดทศิ ทางการศึกษา 2 ประการคอื 1.1 กระแสโลกาภวิ ัตนท์ ีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ สงั คมโลกและสงั คมไทย ในยุคท่ีกระแสโลกาภิวัตน์กาลังมีอิทธิพลอย่างมากในสังคมโลก และสังคมไทย อาจมี ผลกระทบต่อการดารงความเป็นไทย และเปน็ คนในยุคโลกาภิวตั น์ได้ด้วย ซ่ึงเมอื่ พิจารณาในแง่การศกึ ษา แล้วเราถอื ว่า กระแสโลกาภวิ ัตน์ มอี ทิ ธพิ ลต่อสังคมโลกและสงั คมไทยในศตวรรษใหม่ 1.2 ความกา้ วหน้าทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารโทรคมนาคม ความก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารโทรคมนาคม จะมีอิทธิพลต่อชีวิต ความเป็นอยู่ และทาให้สังคมไทยเป็นสังคมข่าวสาร เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เป็นเร่ืองท่ีก่อให้เกิด พฤติกรรม และค่านิยมสากลในด้านต่าง ๆ อาทิ ค่านิยมประชาธิปไตย ค่านิยมด้านสิทธิมนุษยชน และ ค่านยิ มดา้ นอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม เป็นต้น 2. การเสรมิ สร้างปัจจยั เพอื่ การแข่งขนั ในระดบั โลก ในสภาวะโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว อันเนื่องมาจากความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีการสื่อสาร ส่งผลให้นานาประเทศต้องเสริมสร้างความพร้อมที่จะเผชิญกับ การแข่งขันในทุก ทางเพือ่ ใหค้ งอยูไ่ ดใ้ นสงั คมโลก ปจั จยั ที่ต้องเสริมสรา้ งขึน้ เพ่ือการแข่งขนั ดังกลา่ ว ประกอบดว้ ย

213 2.1 การสรา้ งคุณภาพของประชากรและกาลังคน กล่าวคือ ถา้ ชาตใิ ด มีประชากรท่ีมคี ุณภาพสูง มกี าลงั คนทเ่ี พยี งพอและมคี ุณภาพ เช่น มีความสามารถในการแขง่ ขันสูง เปน็ ต้น 2.2 การสรา้ งขดี ความสามารถในการจดั การ 2.3 การมีระบบสารสนเทศทส่ี มบูรณ์เพยี งพอในการตัดสนิ ใจ 2.4 การมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถพ่ึงตนเองได้ กล่าวคือ มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ของการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นเกษตร อุตสาหกรรมหรือแม้แต่ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน 3. แนวโนม้ ของการพัฒนาหลกั สตู ร จากทัศนะของ วิจิตร ศรีสะอ้าน ดงั กล่าวข้างต้น ชใ้ี หเ้ ห็นว่าการจัดการศึกษาในอนาคตทจ่ี ะนา ประเทศไทยขึ้นสู่เวทีโลก และดารงความเป็นไทยไว้ด้วยอย่างสมดุล และไม่ขัดกันในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 นัน้ ควรมแี นวโนม้ ในการดาเนนิ การพัฒนาหลกั สูตรที่เออื้ อานวยให้เกดิ การพัฒนาการศกึ ษา ดังนี้ 3.1 การศึกษาจะต้องเป็นการศึกษาตลอดชีวิต กล่าวคือ บุคคลต้ังแต่เกิดจนจบชีวิต จะต้องการ ปัจจัยทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและการงาน จนกล่าวได้ว่า “การศึกษาเป็นปัจจัยที่ 5 ของการ ดาเนินชวี ิต” 3.2 การศึกษาเป็นการศึกษาสาหรับทุกคน จากท่ีกล่าวแล้วว่าสังคมและชาติต้องการให้คนมี คุณภาพสูง บุคคลจึงให้ความสาคัญกับโอกาสทางการศึกษาและถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน ดงั นนั้ จงึ เรียกร้องตอ้ งการโอกาสและความเสมอภาคในการรบั การศกึ ษา 3.3 การศึกษาเพ่ือพัฒนาค่านิยม ในยุคปัจจุบันจาเป็นต้องรู้เท่าทัน ซ่ึงกันและกัน ดังนั้น การศึกษาจะต้องเน้นให้คนเข้าใจตนเอง เข้าในสังคมของตน เข้าในปรัชญาชีวิต ปรัชญาสังคม เข้าถึง คุณธรรม จริยธรรมของสังคม แนวคิดในการพฒั นาหลกั สูตรในอนาคตของ ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักด์ิ เจรญิ วงศศ์ กั ด์ิ ศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ นักเศรษฐศาสตร์ ผู้มีปรัชญาชีวิตท่ีลึกซึ้ง และโลก ทัศน์ท่ีกว้างไกล ได้แสดงวิสัยทัศน์เกี่ยวกับประเทศไทยในอนาคต ในด้านต่าง ๆ ไว้หลายด้าน อาทิ ด้าน สงั คมไทย การเมืองไทย เศรษฐกิจไทย การศึกษาไทย และดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาหรับทัศนะท่ี เกี่ยวข้องกับการศึกษาน้ัน สรุปได้ว่า (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2541: 163 – 167) การศึกษาควรมุ่ง สรา้ งสรรคพ์ ฒั นาคน ผ่านทางการยกระดับอดุ มการณท์ างการศึกษาของประชาชนใน 3 ข้นั ดังน้ี

214 ขน้ั ที่ 1 การศกึ ษาเพอื่ อัตตา การศึกษาเพื่ออัตตา คือ การศึกษาเล่าเรียนวิชาเพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการประกอบอาชีพ ซึ่งหาก ผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้จนเกดิ ความซาบซึ้งและเห็นคุณค่าของวชิ าความรู้และนาความรมู้ าใช้ให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ชีวิต การงานของตนและสังคมส่วนรวมก็จะเป็นสิ่งดี แต่มักปรากฏว่า ผู้เรียนนาความรู้ความสามารถไปใช้เพื่อ ประโยชน์ของตนและเอาเปรียบคนที่ไม่มีความรู้มากข้ึน จึงกลายเป็นการศึกษาที่ส่งเสริมความเห็นแก่ตัว ของคนในสงั คม ขั้นที่ 2 การศึกษาเพือ่ ชีวา การศึกษาเพ่ือชวี า คือ การศึกษาท่ีมุ่งสรา้ งลกั ษณะชีวติ ที่ดีงาม และคนท่ีสมบรู ณแ์ บบ ต้ังมน่ั อย่ใู น หลักคุณธรรม จริยธรรม และมีความเข้าใจในความเป็นมนุษย์อย่างถูกต้อง อยู่ร่วมกับผู้อื่นและสร้างสรรค์ ประโยชนร์ ่วมกนั ได้อยา่ งมีความสขุ ขั้นที่ 3 การศึกษาเพ่อื ปวงชน การศึกษาเพ่ือปวงชน คือ การศึกษาเพื่อยกระดับจิตใจผู้เรียนให้สูงข้ึน ปลดปล่อยความเห็นแก่ตัว เสียสละ และสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมมากขึ้น เป็นการศึกษาที่ขัดเกลาให้บุคคลสามารถเป็นผู้นาท่ีรับ ใชป้ วงชนไดอ้ ยา่ งแท้จริง จากทัศนะของเกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์ ดังกล่าวข้างต้น หากวิเคราะห์ตามแนวทาง การพัฒนา หลักสูตรแล้วจะสะท้อนให้เหน็ วา่ การพัฒนาหลักสูตรควรมจี ุดเนน้ ดงั นี้ 1. ดา้ นการสรา้ งและปรับปรุงหลักสูตร ในการพฒั นาหลักสูตร ควรมจี ดุ หมาย เนื้อหาสาระ และการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทม่ี ุ่ง สร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้คนมีลกั ษณะ “คิดเปน็ วิเคราะหเ์ ป็น และ ประยกุ ตใ์ ช้เป็น” 2. ดา้ นการนาหลกั สตู รไปใช้ ในด้านการนาหลักสูตรไปใช้ในการสอน ต้องบริหารจัดการให้หลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นน้ัน เป็นหลักสตู รในลกั ษณะ “ปวงชน” กล่าวคอื ใหโ้ อกาสและความเสมอภาคในการเข้ารบั การศึกษา ได้ตาม ความสามารถและศกั ยภาพของแต่ละคน เพือ่ นาความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนและสงั คม ขอ้ เสนอแนวทางการพฒั นาหลักสตู รในศตวรรษท่ี 21 ด้วยแนวคิดของพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) แนวพระราชดาริในองค์พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีได้น้อมนาและอัญเชิญมา รวมทั้งแนวคิดของ นักการศึกษาต่าง ๆ ดังได้กล่าวแล้ว ประกอบกับการพิจารณาสภาวการณ์ท่ีผ่านมาและสภาพการณ์ใน ปัจจุบนั สามารถนามาสรุปเปน็ ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรในอนาคต ได้ดังนี้

215 1. ในด้านการสรา้ ง และ/หรือการปรับปรุงหลักสูตร ในสภาวะของโลกยุคโลกาภิวัตน์ท่ีเป็นโลกไร้พรมแดน การแพร่ขยายองค์ความรูจ้ ากจุดหนง่ึ ของ โลก สามารถทะลุผ่านพรมแดนไปยังภูมิภาคอื่นของโลกได้อย่างรวดเร็ว อันเป็นผลมาจากความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีสารสนเทศ หากพิจารณาบริบทของโลกในศตวรรษท่ี 21 ในปัจจุบันอาจคาดการณ์ได้ว่า หลักสูตรในอนาคตควรเป็น “หลักสูตรระยะสั้นและจบเร็ว เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มาก รวดเร็ว และลงทุนน้อย” โดยมปี จั จยั ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการสร้างและปรับปรงุ หลกั สูตร ดังน้ี 1.1 ปจั จยั พืน้ ฐานในการสรา้ งและปรบั ปรงุ หลักสูตรและการนาหลกั สูตรไปใช้ ประกอบดว้ ย 1.1.1 บริบทโลก กล่าวคือ นักพัฒนาหลักสูตรและการสอนจะต้อง ทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ เก่ียวกับบริบทหรือส่ิงแวดล้อมของโลกในศตวรรษท่ี 21 เป็นเบื้องแรก เพื่อศึกษาว่ามีส่ิงใดท่ีต้องเรียนรู้ และเตมิ เตม็ ในส่ิงท่ีขาด โดยใหม้ ีความเช่ือมโยงกบั บรบิ ทใหมข่ องโลกในยุคศตวรรษท่ี 21 ทง้ั ในด้านเนอื้ หา สาระหลัก 9 วิชา ได้แก่ ภาษาอังกฤษและศิลปะการใช้ภาษา ภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภมู ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และการปกครองและหนา้ ทพ่ี ลเมือง รวมท้ังแนวคิด สาคัญ 5 ด้าน ได้แก่ จิตสานึกต่อโลก ความรู้พื้นฐานด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการประกอบการ ความรู้พนื้ ฐาน ดา้ นพลเมอื ง ความร้พู นื้ ฐานดา้ นสุขภาพ และความรู้พืน้ ฐานด้านส่ิงแวดล้อม 1.1.2 แนวคิดพื้นฐานด้านการศึกษาของโลกตะวันตก และโลกตะวันออก กล่าวคือ นักพัฒนา หลักสูตรควรบูรณาการพ้ืนฐาน แนวคิดในการจัดการศึกษาของอารยธรรมตะวันตกกับอารยธรรม ตะวนั ออก ซง่ึ ควรอยภู่ ายใต้ฐานคิด 5 ประการ คือ 1.1.2.1 ชีวิตคือการเรยี นรู้ โดยมีจดุ เนน้ ที่การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต 1.1.2.2 การเรยี นร้แู บบบรู ณาการในลักษณะองคร์ วมของความรู้ 1.1.2.3 การเรียนรู้มีลกั ษณะ “การเรียนรู้จากภายใน” ด้วยการควบคุมตนเอง ขัดเกลาตนเอง และมที ักษะในการตรวจสอบคณุ ธรรมของตนเองได้ตลอดเวลา 1.1.2.4 การกาหนดเป้าหมายของการศกึ ษา คอื อสิ รภาพแห่งชีวิต โดยใช้ความร้ใู นการปลด ทุกข์ ในวถิ ีทางทถ่ี กู ตอ้ งและสรา้ งสรรค์ 1.1.2.5 การสง่ เสริมแนวคิดในเชิงธรรมชาตนิ ิยม ทั้งน้ีมุ่งหวังให้ผู้เรียนท่ีเป็นผลผลิตของหลักสูตรและการสอนจะได้รับการขัดเกลาจิตใจให้อ่อนโยน มแี นวคดิ ร่วมกนั ในการสร้างสนั ติภาพ และสนั ติสุขในสงั คมโลก

216 1.2 คณุ ลกั ษณะทต่ี ้องการเนน้ ให้เกดิ ในผเู้ รียน เพอื่ ให้สอดรบั กบั บรบิ ทของไทยและบรบิ ทของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างผสมกลมกลืนกัน ท้ังในด้านอารยธรรมตะวันตกและตะวันออก อาจสรุปเป็นคุณลักษณะท่ีต้องการเน้นให้เกิดในผู้เรียนใน ภาพรวม คือ มุ่งให้ผู้เรียนมีความเป็นตัวของตัวเอง สามารถรับรู้ได้โดยไม่จากัด ไม่ยืดติดกับทฤษฎีและมี เสรีภาพในการตัดสินใจ มีความสามารถในการสร้างความรอบรู้ด้วยตนเอง โดยบูรณาการกับประสบการณ์ ตรงทไี่ ด้รับ ทง้ั นผ้ี ู้เรียนควรมคี ณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานแหง่ การเรยี นรู้ 5 ประการ คือ 1.2.1 เรียนร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง 1.2.2 เรียนรไู้ ดม้ ากและรวดเรว็ 1.2.3 เรียนรู้ดว้ ยรูปแบบทีห่ ลากหลาย 1.2.4 เรยี นรไู้ ด้ตลอดเวลาอยา่ งต่อเนอื่ ง 1.2.5 สามารถเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาได้งา่ ยและทั่วถงึ 2. ในดา้ นการบริหารจดั การหลกั สตู ร การบริหารจัดการหลักสูตร ต้องใช้เทคโนโลยีเป็นฐานในการสร้างองค์ความรู้ การถ่ายทอด ความรู้ จัดเก็บความรู้ และสื่อสารความรู้ โดยคานึงถึงความแตกต่างขององค์ความรู้ ท้ังในการจัด การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. ในดา้ นการประเมินหลกั สตู ร ดังท่ีกล่าวไว้แล้วว่า การศึกษาในอนาคตมุ่งเน้นการสร้างปัญญาด้วยตนเองเป็นสาคัญ แต่อย่างไร ก็ตามหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ควรมีความสมดุลระหว่างความเป็นท้องถิ่น และความเป็นสากล ดังน้ันกรอบ แนวคดิ ในการประเมนิ หลกั สตู รควรอยู่ภายใต้ขอบเขตการประเมิน 3 ด้าน คือ 3.1 การประเมนิ หลกั สตู รในขอบเขตดา้ นความรทู้ ไ่ี ดร้ ับ 3.2 การประเมนิ หลกั สูตรในขอบเขตด้านทักษะท่ีเกดิ ข้ึน 3.3 การประเมินหลักสูตรในขอบเขตดา้ นคุณลักษณะเฉพาะหรือคุณลกั ษณะชวี ติ ทตี่ ้องการเน้น

217 บทสรุป ในการพัฒนาหลักสูตรซ่ึงประกอบด้วยกระบวนการหลัก 3 ประการ คือ การสร้างหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ และการประเมนิ หลกั สตู ร อาจเกิดปญั หาในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรดังกลา่ วใน 4 ประเด็นหลัก ๆ ได้แก่ ปัญหาด้านงบประมาณในการดาเนินการ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และปัญหาด้านการบริหารหลักสูตร ดังน้ันผู้ที่รับผิดชอบต่อกระบวนการในการพัฒนาหลักสูตร จึงควรหาแนวทางขจัดปัญหา หาทางหลีกเลย่ี ง หรือหาทางปอ้ งกันเพื่อมิให้ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้น รวมท้ัง กาหนดกลไกในการการแกป้ ัญหาดังกล่าวในกรณีท่ปี ัญหาในการพฒั นาหลกั สตู รเกิดขน้ึ หลักสูตรเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาการศึกษา ในส่วนของการศึกษานั้น ควรวางแผนการ จัดการศึกษาไว้ล่วงหน้า โดยการวางแผนดังกล่าวอาศัยข้อมูลในปัจจุบันและการคาดการณ์แนวโน้มใน อนาคต ดังน้ันหากพิจารณาในมุมมองของศตวรรษที่ 21 ในการพัฒนาหลักสูตร จึงควรกาหนดแนวโน้ม ของหลกั สูตรในช่วงศตวรรษที่ 21 ด้วย โดยพจิ ารณาถึงลักษณะและแนวโนม้ ความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ใน ศตวรรษท่ี 21 สาหรบั แนวโน้มของหลกั สูตรในศตวรรษที่ 21 นัน้ อาจมลี กั ษณะดังน้ี 1. ด้านการสร้างและ/หรือการปรับปรุงหลักสูตร ในส่วนของหลักสูตรควรมีลักษณะเป็น หลักสูตรระยะสั้น เอ้อื ให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้มาก รวดเร็ว และลงทนุ น้อย ในการพฒั นาหลักสูตรดังกล่าวต้อง คานึงถึงปัจจัยพื้นฐานด้านบริบทโลก แนวคิดพื้นฐานด้านการศึกษาของโลกตะวันตกและโลกตะวันออก คณุ ลักษณะที่ตอ้ งการเน้น รวมท้งั การกาหนดเนอื้ หาสาระของหลกั สตู รท่คี วรเปน็ ลกั ษณะสหวทิ ยาการ 2. การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รด้วยการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในศตวรรษท่ี 21 เป็นฐาน 3. การประเมินหลักสูตรภายใต้ขอบเขต 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ที่ได้รับ ด้านทักษะท่ีเกิดขึ้น และดา้ นคุณลักษณะชีวติ ที่ต้องการเนน้ เอกสารอา้ งองิ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ. (2541). มองฝันวันข้างหน้า: วิสัยทัศน์ประเทศไทย ปี 2560. กรุงเทพฯ: ซคั เซส มเี ดีย. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สานักงาน. (2540). ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ไอเดยี สแควร.์ ดวงจิต สนิทกลาง และเปี่ยมพร ตังตระกูลไพศาล. (2557).เติบโตเต็มศักยภาพ สู่ศตวรรษที่ 21 ของการศึกษา ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2555). “บัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21: การปรับหลักสูตรและการสอน” เอกสาร ประกอบการประชมุ เชงิ วิชาการของราชบัณฑิตยสถานรว่ มกับมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์.

218 บุญเลี้ยง ทุมทอง.(2553).การพัฒนาหลักสูตร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2542). การศึกษากบั การวจิ ัยเพอ่ื อนาคตของประเทศไทย. (พิมพค์ รงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: สหธรรมกิ . พิณสุดา สิริธรังศรี. (2552). รายงานการวิจัยเร่ือง ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10-20 ปี. กรุงเทพฯ: พมิ พ์ดกี ารพมิ พ์. พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดสี ขุ . (2558). รูเ้ นือ้ หากอ่ นสอนเก่ง การเปลยี่ นวัฒนธรรม คณุ ภาพในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . วิจารณ์ พานิช. (2557). การสรา้ งการเรียนรู้สู่ศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: เจริญการพิมพ์ จากัด. วิจิตร ศรีสะอ้าน. (2539). อนาคตการศึกษาไทยในสองทศวรรษ. ใน เมืองไทยในปี 2560: อนาคต เมืองไทยในสองทศวรรษหนา้ . (หนา้ 126-133). กรงุ เทพฯ: ซัคเซส มีเดีย. ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน์. (2557ก). เติบโตเต็มตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่ 21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . _________. (2557ข). ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันออก. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธุรกจิ บัณฑติ . สนุ ีย์ ภู่พนั ธ์.(2546).แนวคดิ พน้ื ฐานการสร้างและการพัฒนาหลกั สตู รยุคปฏิรูปการศึกษาไทย. เชยี งใหม:่ โรงพิมพ์แสงศลิ ป์. Bellanca, James. (2010). Enriched Learning Projects: A Practical Pathway to 21st Century Skills. Indiana: Solution Tree Press. Bellanca, James and Brandt, Ron. (eds)., (2010). 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Indiana: Solution Tree Press. North Central Regional Educational Laboratory & The Metiri Group. (2003). enGauge: 21st Century Skills: Literacy in the Digital Age. [Online]. Available from: http://www.pict.sdsu.edu/engauge 21st. pdf [accessed 2014 January 6].

219 บรรณานกุ รม กนษิ ณฐ์ า ทองดี. (2553). สรปุ พัฒนาการหลกั ของหลักสูตรการศกึ ษาไทย. (ขอ้ มลู ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.learners.in.th/blogs/posts/410600. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2556. กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ.(2545). รายงานการวจิ ัยเรื่องการพัฒนาและการใช้คอมพวิ เอตณเ์ พ่ือการ เรยี นการสอน: กรณศี กึ ษาโรงเรยี นประถมศึกษา. กรงุ เทพฯ: ครุ ุสภา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: องคก์ ารรับส่ง สนิ ค้าและพัสดภุ ัณฑ์ (รสพ.). ________. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนมุ สหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. ________. (2561). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ ตัวชว้ี ัดฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธกิ าร. เกรกิ ทว่ มกลาง และจินตนา ทว่ มกลาง.(2555). การพฒั นาสอ่ื /นวตั กรรมทางการศึกษาเพ่อิ เล่อื นวทิ ยฐานะ. กรุงเทพฯ: บริษัทเยลโลก่ ารพิมพ์ (1988) จากดั . เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศกั ดิ์. (2541). มองฝนั วนั ข้างหนา้ : วิสัยทศั น์ประเทศไทย ปี 2560. กรงุ เทพฯ: ซคั เซส มเี ดยี . เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://chainan1.blogspot.com/2012/01/blog-post_11. Html. คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต,ิ สานกั งาน. (2540). ทฤษฏีการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ไอเดีย สแควร.์ ________. (2545). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟคิ . ฆนัท ธาตทุ อง. (2556). การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: เพชรเกษมการพิมพ.์ จรยิ า เหนยี นเฉลย.(2549). เทคโนโลยีการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สือ่ เสรมิ กรุงเทพ. ใจทพิ ย์ เชอื้ รตั นพงษ.์ (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลกั การและแนวปฏบิ ตั .ิ กรุงเทพฯ: อลนี เพลส. ชมพนั ธ์ กุญชร ณ อยุธยา. (2541). เอกสารเก่ียวกบั การพฒั นาหลักสูตร. กรงุ เทพฯ: โรงเรยี นครทู หาร กอง การศกึ ษา, กรมยทุ ธศึกษาทหารอากาศ กองบญั ชาการฝกึ ศึกษาทหารอากาศ. ชลยิ า ลมิ ปยิ ากร.(2548). เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: สานกั สง่ เสริมวชิ าการ สถาบันราชภฏั ธนบุรี. ชวลิต ชกู าแพง.(2559). การวจิ ยั และพัฒนาหลักสูตร แนวคดิ และกระบวนการ.กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

220 ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์. (2546). รายงานวจิ ยั สภาพและปัญหาการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาในสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาพษิ ณุโลก เขต1. พษิ ณโุ ลก: กลุ่มนิเทศติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต1. ชยั วัฒน์ สุทธิรัตน์. (2556). การพัฒนาหลกั สตู ร ทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ัติ. กรงุ เทพฯ: วีพรินท์. ________. (2559). การพฒั นาหลกั สูตร ทฤษฎีสู่การปฏิบตั .ิ (พิมพ์ครัง้ ท่ี 5). กรุงเทพฯ: วพี รินท.์ ________. (2560). การพฒั นาหลกั สูตร: ทฤษฎสี ู่การปฏบิ ตั .ิ (พมิ พค์ ร้ังที่ 6). กรุงเทพฯ: วีพรนิ ท์. ชยั อนันทร์ นวลสุวรรณ.์ (2555). ประวัติหลกั สูตรและการศึกษาไทย. (ขอ้ มูลออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://chainan1.blogspot.com/2012/01/blog-post_11. Html. สบื ค้นเมอื่ 20 กนั ยายน 2556. ชาญเจรญิ ซอ่ื ชวกรกุล. (2550). การดาเนินงานประกนั คณภาพภายในเพื่อรองรบั การประเมิน ภายนอกรอบท่ี สองของโรงเรยี นโปงหลวงวทิ ยารัชมงั คลาภิเษก จังหวัดลาปาง. (การคน้ ควา้ แบบอสิ ระ ศึกษาศาสตร มหาบณั ฑติ ) เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ชศู กั ดิ์ ติวุตานนท์. (2546). การศึกษาสภาพและปญั หาการนาภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา: ศึกษากรณเี ฉพาะโรงเรียนนาร่องและโรงเรยี นเครือข่ายใน สังกดั สานักงานการประถมศึกษาจังหวดั พิษณโุ ลก. การศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. ฐรี ะ ประวาลพฤกษ์. (2538). การพฒั นาบคุ คลและการฝกึ อบรม. กรงุ เทพฯ: สานกั งานสภาสถาบันราชภฎั . ดนุชา ปนคา. (2556). “การวจิ ัยและพฒั นาหลกั สตู รตามทฤษฎีการศึกษาเพ่อื สงั คมท่ีดกี วา่ ”. วารสารศิลปากร ศกึ ษาศาสตร์วจิ ยั . 5(2), 322-334. ดวงจติ สนิทกลาง และเปยี่ มพร ตังตระกูลไพศาล. (2557).เตบิ โตเตม็ ศกั ยภาพ ส่ศู ตวรรษที่ 21 ของการศกึ ษาไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ดาราวรรณ สุวรรณชฎ. (2540). ความคดิ เห็นของนายทหารสญั ญาบัตรเหลา่ สารบรรณที่มีต่อการฝึกอบรม หลกั สตู รช้นั นายร้อยเหลา่ สารบรรณ กองบญั ชาการทหารสงู สุด. (ปริญญานพิ นธก์ ารศึกษา มหาบัณฑติ ). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ ถาวร คาทะแจ่ม. (2545). การบริหารจัดการหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 ของโรงเรยี น เครือข่ายการใช้หลกั สตู ร จงั หวัดลาพนู . (วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต). เชยี งใหม:่ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. ทศั นีย์ ชาติไทย และคณะ (2557). แก่นการศึกษา. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ ทิศนา แขมมณ.ี (2540). “การประเมนิ หลกั สตู ร”. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. (พิมพ์ครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ________. (2550). รูปแบบการเรยี นการสอนทางเลือกท่หี ลากหลาย. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั .

221 ________. (2555). “บณั ฑติ ศึกษาในศตวรรษท่ี 21: การปรับหลกั สตู รและการสอน” เอกสารประกอบการประชมุ เชงิ วชิ าการของราชบณั ฑิตยสถานรว่ มกับมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์. ________. (2556). ศาสตรก์ ารสอน: องค์ความรู้เพ่อื การจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ. (พิมพ์ครง้ั ที่ 15). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ธนภัทร จันทรเ์ จริญ. (2557). พพิ ฒั นาการหลกั สตู รและการศกึ ษา. ใน แกน่ การศึกษา. หน้า 27-51. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑติ ย์. ________. (2561). การพฒั นาหลักสตู ร. ในเอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการพฒั นาหลักสตู ร คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา. กรงุ เทพฯ: สหธรรมมิก. ธารง บัวศร.ี (2532). ทฤษฎหี ลกั สตู ร. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพรา้ ว. ________. (2542). ทฤษฎีหลกั สูตร การออกแบบและพฒั นา. (พิมพ์คร้งั ท่ี 2). กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา. บญุ ชม ศรีสะอาด. (2555). การพัฒนาหลกั สูตรและการวิจยั เกีย่ วกบั หลักสูตร. กรงุ เทพฯ: สวุ รี ิยาสาส์น. บุญเลี้ยง ทมุ ทอง. (2553). การพฒั นาหลักสูตร. (พิมพค์ รั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ประสทิ ธิ์ บรรณศิลป.์ (2545). การศกึ ษาความพรอ้ มในการใชห้ ลกั สูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐานของผู้บรหิ าร สถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกดั กรมสามัญศกึ ษา จังหวดั พิจิตร. การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. พิษณโุ ลก: มหาวทิ ยาลัย นเรศวร. แฝงกมล เพชรเกลย้ี ง. (2559). เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการพฒั นาหลกั สูตรและการจัดการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตโต). (2542). การศึกษากับการวิจัยเพอื่ อนาคตของประเทศไทย. (พมิ พค์ รัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: สหธรรมิก. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน:์ ฉบบั ประมวลศพั ท์. (พิมพค์ รง้ั ที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. พชิ ติ ฤทธิจ์ รญู . (2560). หลักการวัดและประเมินผลการศกึ ษา.(พิมพค์ รง้ั ที่ 11). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . พณิ สุดา สิริธรงั ศร.ี (2552). รายงานการวิจยั เรอ่ื ง ภาพการศกึ ษาไทยในอนาคต 10-20 ปี. กรงุ เทพฯ: พิมพด์ ี การพมิ พ์. พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2558). รู้เนอ้ื หาก่อนสอนเกง่ การเปลย่ี นวฒั นธรรมคณุ ภาพใน ศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต.์ (2544). การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั : แนวคดิ วิธีและเทคนคิ การสอน. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรปุ๊ แมเนจเมนท์.

222 พศิ ิษฐ์ ตัณฑวณชิ . (2558). แนวคิดในการจาแนกพฤตกิ รรมการเรียนรตู้ ามวตั ถุประสงค์การจดั การศึกษาด้าน พทุ ธิพสิ ยั ตามแนวคดิ ของบลูมและคณะฉบบั ปรบั ปรงุ . วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง. 3(2). 13-25. ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์. (2553). CCPR กรอบคดิ ใหมท่ างการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์. ________. (2554). การจดั การหลักสตู รและการสอน. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 3). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ________. (2557ก). เตบิ โตเต็มตามศกั ยภาพสูศ่ ตวรรษที่ 21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ________. (2557ข). ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวให้พน้ กบั ดักของตะวันออก. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ . ________. (2559). คิดเพอ่ื ครู. กรุงเทพฯ: วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย.์ มณนภิ า ชตุ บิ ุตร. (2546). สรุปการประเมนิ หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544: กระบวนการนา หลักสูตรไปใช.้ กรุงเทพฯ: หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานการประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร มณนภิ า ชุตบิ ุตร. (2538). แนวทางการใชภ้ ูมิปญั ญาท้องถิน่ ในการจดั การเรียนการสอน. หมบู่ ้าน, 7(87): 5. มนสชิ สทิ ธิสมบรู ณ์. (ม.ป.ป.). ศาสตร์หลักสตู ร. พิษณโุ ลก: มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. (2555). ประมวลสาระชุดวชิ าการประเมนิ ผลหลกั สูตรและการเรยี นการสอน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. นนทบุรี: โรงพมิ พ์สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. ราชบณั ฑติ สถาน. (2556). พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554. (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. รุจรี ์ ภู่สาระ และจนั ทรานี สงวนนาม. (2545). การบริหารหลกั สูตรในสถานศึกษา. กรงุ เทพฯ: บุ๊คพอยท.์ วชั รี บรู ณสิงห์. (2544). การบรหิ ารหลกั สตู ร. (พิมพค์ รัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง. วฒั นาพร ระงบั ทุกข์. (2542). แนวการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ. กรงุ เทพฯ: ม.ป.ท. วารี ถิระจิตร. (2530). การพฒั นาการสอนสงั คมศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. วจิ ารณ์ พานิช. (2557). การสร้างการเรยี นรู้ส่ศู ตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: เจรญิ การพิมพ์ จากดั . วจิ ติ ร ศรสี ะอ้าน. (2539). อนาคตการศกึ ษาไทยในสองทศวรรษ. ใน เมืองไทยในปี 2560: อนาคตเมอื งไทยใน สองทศวรรษหนา้ . (หนา้ 126-133). กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย. วชิ ยั วงษ์ใหญ.่ (2523). พฒั นาหลกั สตู รและการสอน: มติ ใิ หม่. กรงุ เทพฯ: ร่งุ เรืองธรรม. ________. (2525). พัฒนาหลกั สูตรและการสอน–มิติใหม.่ (พมิ พ์ครั้งท่ี 3). กรงุ เทพฯ: สุวรี ยิ าสาสน์ . ________. (2535). การพฒั นาหลกั สตู รแบบครบวงจร. กรงุ เทพฯ: สุวีริยาสาสน์ .

223 ________. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนภาคปฏบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ: สวุ ีรยิ าสาสน์ . ________. (2542). พลงั เรียนรู้ในกระบวนทัศนใ์ หม.่ กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนค รนิ ทรวิโรฒ. ________. (2550). “หลกั สตู รสถานศึกษา” สารานุกรมวชิ าชพี ครู: เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระ เจา้ อยูห่ วั เนอื่ งในโอกาสฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 60 ป.ี กรงุ เทพฯ: สานกั งานเลขาธิการครุ ุสภา. ________. (2554). การพฒั นาหลกั สตู รอดุ มศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท อาร์ แอนด์ ปร้ินส์ จากดั . วิชาการ, กรม. (2546). รายงานการศกึ ษาความพรอ้ มการใช้หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ปีการศกึ ษา 2546. กรุงเทพฯ: องคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.). วิทวัฒน์ ขัตตยิ ะมาน และอมลวรรณ วีระธรรมโม. (2549). การพฒั นาหลักสตู ร. สงขลา: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ . วทิ วัส รุ่งเรอื งผล, กฤษฎารตั น์ วฒั นสวุ รรณ และสุรตั น์ ทรี ฆาภบิ าล. (2562). “การพัฒนาหลกั สูตรและแนว ทางการสอน เพอ่ื สรา้ งนักการตลาดสปู่ ระเทศไทย 4.0”. วารสารสังคมวิจัยและพฒั นา. 1(1), 1-27. วโิ ฬฏฐ์ วฒั นานมิ ติ กลู . (2559). การพัฒนาหลักสูตรและการสอน ปจั จัยความสาเร็จของการจัดการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: สหธรรมมกิ . ศักดศ์ิ รี ปาณะกลุ และคณะ. (2556). หลักสตู รและการจัดการเรียนร้.ู (พมิ พค์ ร้งั ที่ 3). กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. สงดั อทุ รานนั ท์. (2532). พนื้ ฐานและการพัฒนาหลกั สตู ร. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: มิตรสยาม. สนั ต์ ธรรมบารุง. (2527). หลกั สตู รและการบรหิ ารหลักสูตร. กรงุ เทพฯ: การศาสนา. สาโรช บวั ศร.ี (2514). ข้อคิดเกี่ยวกับปรชั ญาการศกึ ษาไทย: ความคิดบางประการทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมการฝึกหัดครู. สทิ ธิพล อาจอินทร์. (2563). การพัฒนาหลักสูตร. (พมิ พ์ครั้งท่ี 5). ขอนแกน่ : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . สิริพัชร์ เจษฏาวโิ รจน์. (2559). การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา. (ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่). สุจรติ เพยี รชอบ. (2548). E Learning การพฒั นาหลกั สตู ร. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สุชรี า มะหเิ มือง. (2559). แนวโนม้ ภาพอนาคตการศึกษาและการเรยี นรขู้ องไทยในปี พ.ศ. 2573. กรุงเทพฯ: สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. สุเทพ อว่ มเจริญ. (2556). การพฒั นาหลกั สูตร: ทฤษฎีและการปฏิบตั .ิ นครปฐม: ภาควชิ าหลกั สตู รและ วิธีสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. สุนทร โคตรบรรเทา. (2553). การพฒั นาหลักสตู รและการนาไปใช้. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน. สนุ ีย์ ภูพ่ ันธ.์ (2546). แนวคิดพืน้ ฐานการสรา้ งและพฒั นาหลกั สูตร. เชียงใหม:่ เดอะโนวเ์ ลจ เซน็ เตอร์.

224 ________. แนวคิดพ้ืนฐานการสร้างและการพฒั นาหลกั สตู รยคุ ปฏิรปู การศกึ ษาไทย. เชียงใหม่: โรงพมิ พแ์ สง ศิลป์. สุมติ ร คณุ านกุ ร. (2533). หลักสตู รและการสอน. กรงุ เทพฯ: ชวนพมิ พ์. หรรษา นลิ วเิ ชยี ร. (2547). การพฒั นาหลกั สตู รโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานหลกั การและแนวปฏบิ ตั .ิ ปัตตาน:ี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์. อมรา เลก็ เริงสิทธุ์. (2540). หลักสตู รและการจดั การมัธยมศึกษา. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: ฝ่ายเอกสารและ ตารา สถาบันราชภักสวนดสุ ิต. อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2546). หลกั การสอน. (พมิ พค์ รั้งท3่ี ). กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ อารวี รรณ เอย่ี มสะอาด. (2559). การพัฒนาหลักสตู ร. กรุงเทพฯ: PROTEXTS.COM บริษัท แดเนก็ ซ์ อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จากัด. อารวี รรณ เอ่ียมสะอาด. (2559). ปรัชญาการศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์และผลติ ภาพ. กรงุ เทพฯ: วิทยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย์. อานาจ จนั ทรแ์ ปน้ . (2532). การพฒั นาหลักสูตร ทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ัติ. เชยี งใหม่: ส.ทรพั ยก์ ารพิมพ์. Alexander, W. M. (1981). Curriculum planning for better teaching and learning (4 th ed.) New York: holt, Rinehart and Winston. Amstrong, D. G. (1989). Developing and documenting the curriculum. Boston: Allyn and Bacon. Armstrong, G., & Kotler, P. (2003). Marketing and introduction. (6th ed.). New Jersey: Pearson Education. Beauchamp, G. A. (1981). Curriculum Theory. (4th ed). Liiinois: F. E. Peacock Publisher. Bellanca, James. (2010). Enriched Learning Projects: A Practical Pathway to 21st Century Skills. Indiana: Solution Tree Press. Bellanca, James and Brandt, Ron. (eds)., (2010). 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Indiana: Solution Tree Press. Bigge. M. L. (1982). Learning theories for teachers. (4th ed.). New York: Harper & Row, Publishers. Conbach, L. J. (1971). Essentials of Psychological Testing. (3rded). New York: Harper & Row.P161. Dave, R. H. (1969). Taxonomy of Educational Objective and Achievement Testing. London: University of London Press. Dewey, J. (1969). Philosophy, Education, and Reflective Thinking. In Thomas O.Buford Toward a Philosophy of Education. pp.180-183.

225 ________. (1997). Democracy and Education. New York: The Free Press. p.76. Eisner, E. W. & Vallance, E. (1974). Conflicting conceptions of curriculum. Berkeley CA: McCutchan. Gagné, R.M. & Briggs, L. (1974). Principles of Instructional Design. New York: Holt, Rinehart and Winston. Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. (3rd.ed). New York: McGraw Hill. Hass. G. (1977). Curriculum Planning: A New Approach. Boston: Allyn and Bacon. Krathwohl, D. R., Bloom, B.S. & Masia, B.B.(1964).Taxonomy of Educational Objectives. The classification of educational goals-Handbook II: Affective Domain. New York: McKay. Lall. G. R. & Lall, B. M. (1983). Ways children learn. Illinois: Charles C. Thomas Publishers. McNeil, John D. (1981). Curriculum: A Comprehensive Introduction. Boston: Little, Brown and Company. Moore, A. (2015). Understanding the School Curriculum: Theory, Politics and Principles. London: Routledge. North Central Regional Educational Laboratory & The Metiri Group. (2003). enGauge: 21st Century Skills: Literacy in the Digital Age. [Online]. Available from: http://www.pict.sdsu.edu/engauge 21st. pdf [accessed 2014 January 6]. Oliva. P. F. (1982). Developing the curriculum. New York: Harper Collins. Ornstein. A. C. (1993). Curriculum Foundations, Principles and lssues. (2nd ed.). Boston: Allyn and Bacon. ________. (2013). Curriculum: foundations, principles, and issues. Boston: Pearson. Pavlov. I. P. (1849 - 1936). Lectures on Conditioned Reflexes. New York: International Publishers. Pratt, D. (1980). Curriculum Design and Development. New York: Harcout Brace Jovanovich. Saylor, J. G. & Alexander, W. M. (1974). Planning Curriculum for School. New York: Holt, Rinehart and Winston. Saylor. J. G., & Oliva, P. F. (2013). Developing the curriculum. Boston: Ma: Pearson. Shiman David A. and Ann Lieberman. (May, 1974). “A Non-Model for School Change.” The Education Forum. 38(4), 441. Smith, B., Stanly, W., & Shores, H. (1950). Fudamentals of Curriculum Development. New York: Harcount Brace.

226 Stake, R. E. (1967). “The Countenence of Education Evaluation” . Teacher College Record. 68 April1967). Stufflebeam, D. L., Foley, W. J., Gephart, W. J., Guba, E. G., Hammond, R. L., Merriman, H. O., & Provus, M. M. (1971). Educational evaluation and decision making. Itasca. IL: Peacock. Taba, H. (1962A). Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace & World, INC. ________. (1962B). Curriculum: Theory and Practice. Javanovich: Harcourt, Brace. Tyler, R. (1949). Basic Principle of Curriculum and Instruction: Syllabus for Education 305. Chicago: The University of Chicago Press. Tyler, R. W. (1969). Basic principle of curriculum and instruction. University of Chicago press. ________. (1971). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicaco: The University of Chicaco Press. Wheeler, D. K. (1974). Curriculum Process. London: University of London Press. Wiggins G. & Mc Tighe, J. (1998). Understanding by design. Prentice Hall, Inc. Wood. G. H. (1990). Teaching for Democracy educational Leadership 48. (3rd ed.). 32 -37.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook