92 แนวโนม้ ของการศึกษาไทยในอนาคต แนวโน้มของการศึกษาไทยในอนาคตจะเป็นการศึกษาเพื่อการพัฒนาคน พัฒนาสังคมเป็นพลังขับเคล่ือน และเป็นภูมิคุ้มกันให้คนไทยมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการดารงชีวิตอยู่ในโลกของการแข่งขันได้อย่างเท่า ทนั โดยมแี นวโน้มของการศกึ ษาดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ แนวโน้มดา้ นการศกึ ษา 1) ระดับการศึกษาโดยเฉล่ียจะสูงข้ึน ผู้คนต่างเข้าเรียนในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น เพ่ือพัฒนาความรู้และ ทกั ษะใหเ้ หมาะกบั เศรษฐกจิ ทเ่ี น้นแรงงานทม่ี ีความรคู้ วามสามารถเฉพาะเจาะจงในระดับสงู 2) ความเหลื่อมล้าด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ทาให้การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเข้าถึงคนไทยได้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการมีกองทุนกู้ยืม ประกอบกับการพัฒนาระบบการเรียนนอก ระบบและตามอธั ยาศัย สิง่ เหลา่ น้สี ง่ ผลให้ความเหล่ือมลา้ ด้านโอกาสทางการศึกษาลดลงในกล่มุ ประชาชนทั่วไป 3) โอกาสรับบริการทางการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพเพ่ิมขึน้ 4) การเพมิ่ ชอ่ งว่างด้านคุณภาพในการจัดการศึกษา 5) โอกาสทางการศึกษาในบางสาขาที่ไม่ใช่ความต้องการของตลาด ถกู จากัดอยูใ่ นเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่ง 6) การศึกษาสาหรบั กลุ่มคนทางานมากขึ้น 7) การเขา้ สู่การอาชีวศึกษามากขนึ้ 8) การศกึ ษานอกระบบมบี ทบาทมากขนึ้ 9) การผลิตบัณฑิตเกินความต้องการของตลาด ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ 1. การศกึ ษาท่ีเกดิ หลกั สตู รใหม่จานวนมาก 2. การศกึ ษาที่มีความเป็นสากล มีการเปดิ หลกั สตู รนานาชาติมากขึน้ 3. การศึกษาท่ผี ้เู รยี นเปน็ สาคญั 4. การมุ่งสอนวิชาการแต่ยงั ไม่สามารถปลกู ฝงั รักการเรียนรู้ 5. การสอนทกั ษะการคิดและทกั ษะทางอารมณ์ยังไม่มีคณุ ภาพ 6. การสอนคณุ ธรรมจรยิ ธรรมยงั ไม่มีคุณภาพ 7. การสอนภาษาต่างประเทศยังไมม่ ีคณุ ภาพ ด้านการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา 1) การศกึ ษาบนฐานอิเล็กทรอนิกส์ 2) การศึกษาท่ีมุง่ แสวงหาเอกลกั ษณด์ ้านคณุ ภาพหรือด้านความแตกต่าง 3) การศกึ ษาท่ีเชือ่ มโยงเปน็ เครอื ขา่ ย
93 4) การกา้ วส่กู ารเปน็ มหาวทิ ยาลัยในกากับของรัฐ 5) การศกึ ษาที่ซอ้ื ตน้ แบบ 6) การขยายตลาดการศกึ ษาไปยงั ตา่ งประเทศ 7) การพัฒนาสู่มหาวทิ ยาลยั เฉพาะทาง 8) การพัฒนาสมู่ หาวทิ ยาลัยที่มงุ่ ผลติ งานวจิ ยั 9) สถาบันการศกึ ษาท่แี ข่งขันไมไ่ ด้ต้องปิดตวั หรือควบรวมกิจการ 10) การศกึ ษามุง่ เชงิ พาณชิ ย์มากขึน้ 11) การศกึ ษาทีอ่ าจจะละเลยการบรกิ ารสังคม 12) การวิจัยยงั ไมพ่ ฒั นากา้ วหน้าไปเทา่ ทค่ี วร ดา้ นคร/ู คณาจารย์ 1) การท่ีครพู ฒั นาตนเองมากขนึ้ 2) ครูเกง่ ไหลออกจากระบบ 3) การเกดิ กลุ่มครู part time มากขึน้ ด้านทรพั ยากรและการลงทนุ เพื่อการศึกษา 1. การยังคงพง่ึ พิงการอดุ หนนุ จากรฐั สงู 2. การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใชท้ รพั ยากร 3. การขาดความสมดุลในการพฒั นา Hard ware soft ware และ People ware 4. ความเหลือ่ มลา้ ในการพัฒนาเทคโนโลยที างการศึกษาเพิ่มขนึ้ 5. การผลติ กาลังคนบางสาขายังไม่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการตลาด 6. การศึกษาทีส่ ถานประกอบการมบี ทบาทมากขน้ึ 7. การศกึ ษาทีภ่ าคประชาสงั คมมีสว่ นรว่ มมากขึน้ 8. การศึกษาทก่ี ระจายอานาจส่อู งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จากการวิเคราะห์การศึกษาในประเทศภายใต้การใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ รวมถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และในการพัฒนาการศึกษาที่ผ่านมา นั้นสามารถมองให้ เห็นถึงสภาพการศึกษาท่ียังไม่มีการพัฒนาอย่างชัดเท่าที่ควร ซึ่งจะมีแนวโน้มการศึกษาในอนาคตทั้งด้านบวกและ ด้านลบ ดงั น้ี
94 แนวโนม้ ด้านบวก 1. หลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจานวนมาก จากการเปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยีและการแข่งขันในด้าน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ทาให้คนในสังคมต้องการเพิ่มความรู้ความสามารถให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง จึงหันมา สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจ ดังน้ัน เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการ ของคนในสังคมสถาบันการศกึ ษาจึงมุ่งพฒั นาหลกั สูตรใหม่ ๆ และมีการพฒั นาหลักสตู รใหท้ นั สมัยตลอดเวลา 2. หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมากข้ึน เน่ืองจากสภาพยุคโลกาภิวัตน์ที่มีการเช่ือมโยงด้านการค้าและ การลงทนุ ทาใหต้ ลาดแรงงานในอนาคตต้องการคนท่ีมคี วามสามารถดา้ นภาษาต่างประเทศ สง่ ผลใหค้ วามต้องการ การศกึ ษาที่เป็นภาษาสากลมีมากขึน้ การเปดิ เสรที างการศึกษาเปน็ โอกาสให้สถาบนั การศึกษาจากตา่ งประเทศเข้า มาจัดการศึกษาในประเทศไทย และเปิดหลักสูตรภาษาต่างประเทศ กระตุ้นให้หลักสูตรการศึกษานานาชาติมี แนวโน้มได้รับความนิยมมากขึ้น แต่เน่ืองจากหลักสูตรนานาชาติมีค่าใชจ้ ่ายสงู ดังนั้น การเรียนในหลักสูตรน้ียังคง จากดั อยใู่ นกลมุ่ ผเู้ รียนท่ีมฐี านะดี 3. การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากข้ึน ปัจจุบันมีการเชื่อมโยงทั่วโลกส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้าย องค์ความรู้ กฎกติกา การดาเนินการด้านต่าง ๆ ทั้งการค้า การลงทุน การศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เชื่อมต่อถึงกัน ประกอบการเปิดเสรีทางการศึกษา ส่งผลให้เกิดการหลั่งไหลหลักสูตรการเรียนการสอน บุคลากร ด้านการสอน หลักสูตร จากสถาบันการศึกษาต่างประเทศเข้าสู่ไทย อันมีผลทาให้เกิดการเปรียบเทยี บและผลกั ดนั ให้สถาบันการศึกษาไทยต้องพัฒนาการ จัดการศึกษาท่ีมีความเป็นสากลท่ีเป็นที่ยอมรับ อีกท้ังการเปิดเสรีทางการ ค้าและการลงทุนกับนานาประเทศของไทย ได้ส่งผลให้เกิดความต้องการการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมในระดับ สากล 4. ความเหลื่อมล้าด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง เนื่องจากสภาพการเรียกร้องสิทธิมนุษยชนที่เป็น กระแสระดับโลกเกิดขึ้นควบคู่กับคล่ืน ประชาธิปไตยแผ่ขยายวงกว้างถึงไทย รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ส่งเสริมการ เพ่ิมสิทธิเสรีภาพแก่ประชาชน อีกท้ังสภาพการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนการสอนทาให้ช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเขา้ ถงึ คนได้อย่างกว้างขวาง 5. โอกาสรับบรกิ ารทางการศึกษาทมี่ ีคุณภาพเพิ่มขึน้ เม่อื เปดิ เสรที างการศึกษาก่อเกิดการแข่งขันในการ จัดการศึกษาทั้งจากสถาบันการศึกษาท้ังในและต่างประเทศมากข้ึน ในแง่บวกการเปิดเสรีทางการศึกษา เป็นการ สร้างโอกาสให้คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เนื่องด้วยสถาบันแต่ละแห่งจะแข่งด้านคุณภาพมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันอุดมศึกษาคุณภาพการศึกษาจะเพิ่มข้ึนค่อนข้างมาก จึงเป็นแรงกดดันให้ สถาบันอุดมศึกษาไทยตอ้ งพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้สงู ข้นึ
95 แนวโน้มดา้ นลบ 1. การเพ่ิมช่องว่างด้านคุณภาพในการจัดการศึกษา แม้ว่าสภาพการแข่งขันทางการศึกษาจะเป็นแรง ผลักให้สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เร่งพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น แต่เน่ืองจากทรัพยากรตั้งต้น ของแต่ละสถาบันการศึกษามีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นความรู้ความสามารถและปริมาณของบุคลากร การศึกษา งบประมาณ เงินทุน เทคโนโลยี สถานท่ี ความมีช่ือเสียง ฯลฯ ส่งผลให้โอกาสพัฒนาคุณภาพการศึกษา ย่อมแตกต่างกัน โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาขนาดเล็ก หรือสถาบันการศึกษาท่ียังไม่มีความพร้อม หรือมี ทรพั ยากรตั้งต้นไม่มาก ยอ่ มไม่มศี ักยภาพเพียงพอในการพฒั นาคุณภาพมากนัก 2. การผลิตบัณฑิตเกินความต้องการของตลาด เน่ืองจากความต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษามี สูงขึ้น และการพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลยั ในกากับของรัฐท่ีต้องหาเลีย้ งตนเอง มีอิสระในการบริหารและเปิด หลักสูตรเพื่อหาผู้เรียนเข้าเรียนให้ได้จานวนมาก ซ่ึงส่งผลกระทบระยะยาว คือ มีบัณฑิตจบเป็นจานวนมากเข้าสู่ ตลาดแรงงานไม่สามารถรองรับได้หมด โดยกลุ่มแรงงานระดับอุดมศึกษาที่ไม่มีคุณภาพหรือไม่จบจากสาขาท่ี ตลาดแรงงานต้องการ จะถูกผลักสู่แรงงานนอกระบบหรอื หาทางออกโดยเรียนต่อระดับสูงข้ึน ซึ่งอาจก่อเกิดภาวะ แรงงานระดับปริญญาโทและเอกไมม่ ีคุณภาพและลน้ ตลาดตามมาเชน่ กนั 3. การสอนทักษะการคิดและทักษะทางอารมณ์ยังไม่มีคุณภาพ สภาพเศรษฐกิจท่ีมุ่งแข่งขัน ทาให้การ จัดการศึกษามุ่งพัฒนาทางวิชาการเป็นสาคัญ ในขณะท่ีระบบการศึกษาไทยยังไม่สามารถพัฒนาทักษะการคิดของ ผู้เรียนได้เท่าท่ี ควร เน่ืองจากการเรยี นการสอนยังมุ่งสอนให้ผู้เรียนคิดตามส่ิงทผี่ ู้สอนป้อนความรู้มากกว่าการคิดส่ิงใหม่ ๆ ประกอบกับครูผู้สอนมีภาระงานมาก จนส่งผลต่อการพัฒนาบุคคลในด้านอ่ืน เช่น การพัฒนาเชิงสังคม การพัฒนา ทักษะทางอารมณ์ นอกจากนี้ การใช้เทคโนโลยีในกิจวัตรประจาวันหรือใช้ในการเรียนการสอน ทาให้การปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครกู บั ศิษยล์ ดลง ส่งผลให้ช่องทางการพัฒนาทักษะทางอารมณ์และทักษะทางสังคมของผู้เรยี นลดลงดว้ ย 4. การสอนคุณธรรมจริยธรรมยังไม่มีคุณภาพ แนวคดิ ของทุนนิยมที่มีแข่งขันได้แพร่กระจายไปท่ัวโลก ส่งผล ให้ผู้คนต่างมุ่งแข่งขัน และพัฒนาความรู้ความสามารถ เพื่อความก้าวหน้าในหน้าที่การงานและมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้น ประกอบกับสถาบันการศึกษาจานวนมากมุ่งพัฒนาความรู้ทางวิชาการ และประเมนิ ผลการเรียนที่ความสามารถทาง วิชาการ จนอาจละเลยการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม รวมถึง การไม่ได้มีผู้สอนที่รู้เชี่ยวชาญด้านการสอน คณุ ธรรมจรยิ ธรรมโดยตรงหรือมี คุณภาพ ย่อมส่งผลตอ่ คุณภาพการสอนของวชิ าคุณธรรมจริยธรรมได้ 5. การสอนภาษาต่างประเทศยังไม่มีคุณภาพ ยิ่งก้าวสู่โลกไร้พรมแดนมากขึ้นเท่าใด ผู้มีความรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ หรือภาษาจีนท่ีผู้คนส่วนใหญ่ในโลกใช้ติดต่อส่ือสาร เจรจาต่อรอง การค้า การศึกษา ฯลฯ ย่อมมีความได้เปรียบ ท้ังในเรื่องการติดต่อส่ือสารและความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน อย่างไรก็ ตาม ปัญหาที่พบคือ การสอนภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศของไทยยังไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร โดยเฉพาะ ภาษาอังกฤษแม้ปัจจุบันจะต่ืนตัวมากขึ้น แต่ยังไม่ก้าวหน้าไปมากเท่าท่ีควร เพราะทรัพยากรด้านบุคลากรสอน ภาษาตา่ งประเทศน้ีขาดแคลนมาก
96 การจดั การศึกษาต่างประเทศ การสร้างประชาคมอาเซยี นในปี พ.ศ. 2558 เปน็ นโยบายทเี่ กิดจากความร่วมมือและตกลงกันระหว่างผู้นา ประเทศในกลุ่มอาเซียน มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้กลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถแข่งขันกบั ภูมภิ าคอ่ืนและทันต่อ ความเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทง้ั ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สงั คมและวฒั นธรรม รวมทัง้ ดา้ นการศกึ ษาดงั ท่ีปรากฏใน ปฏิญญาว่าด้วย แผนงานสาหรับประชาคมอาเซียน ท่ีได้เน้นย้าความสาคัญของการศึกษาซ่ึงเป็นกลไกลสาคัญใน การนาอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 และในการขับเคล่ือนความร่วมมือด้านการศึกษาในกรอบอาเซียน ตามที่ระบุไว้ในร่างแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนน้ัน ได้กาหนดเป้าหมายในการ ดาเนินการเพื่อก้าวสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพ่ือสร้างแรงงานท่ีมี ประสิทธิภาพในการแข่งขัน โดยมีความสัมพันธอ์ ยา่ งใกล้ชิดกับประเทศในภมู ิภาคในขอบข่ายการศึกษา โดยเฉพาะ ความรว่ มมอื ดา้ นการศึกษา ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพอ่ื เสรมิ สร้างศักยภาพด้านเทคโนโลยีและทรัพยากร มนุษย์ในอาเซียน จากนโยบายดังกล่าว จะเห็นได้ว่า คุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ ได้ทวีบทบาทมากข้ึนต่อการ พัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอาเซียน ให้มีความเจริญก้าวหน้า และลงแข่งขันได้ในระดับสากลใน ยุคของสังคมฐานความรู้ในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี ผลการประเมินและจัดอันดับทางการศึกษาขององค์กรระหว่าง ประเทศไมว่ า่ จะเป็น สมาคมนานาชาติเพอ่ื การประเมนิ สัมฤทธผิ ลทางการศึกษา (International Association for the Evaluation of Educational-IEA) องค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development - OECD)หรือสถาบันนานาช าติเพื่อพัฒนาการจั ด การ (International Institute for Management Development- IMD)ต่างสะท้อนภาพการจัดการศึกษาของ ประเทศประเทศสิงคโปร์ และเวียดนาม ซ่ึงเป็นประเทศท่ีมีดชั นกี ารศึกษาที่สงู ในกลุ่มอาเซียน และยังมีการพัฒนา ทางดา้ นการศึกษาอยา่ งรวดเรว็ และมีนโยบายการจัดการศกึ ษาท่นี ่าสนใจอกี ดว้ ย นโยบายการศึกษาต่างประเทศ : ประเทศสงิ คโปร์ หากเปรียบเทียบเฉพาะสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศในด้านคุณภาพการศึกษาในอาเซียน พบว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นประเทศที่ครองแชมป์อันดับ 1 จึงเป็นท่ีน่าสนใจว่าผู้นาด้านการศึกษาอย่างสิงคโปร์ มี นโยบายอะไรที่ทาให้บุคลากรของประเทศมีคุณภาพ และมีวิธีการอย่างไรในการสร้างประเทศท่ามกลางความ หลากหลายทางเชื้อชาติ และความขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ให้กลายเปน็ ประเทศที่สามารถเกิดการพฒั นาได้ มากท่ีสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อศึกษาดูจะพบว่า สิงคโปร์ใช้นโยบาย “โรงเรียนแห่งการคิด และ ประเทศแห่งการเรียนรู้” เป็นกรอบวิสัยทัศน์ด้านการศึกษาเพ่ือเตรียมพลเมือของประเทศให้เป็นผู้ท่ีมี ความสามารถในการคิดและมีพันธสัญญาในการเอ้ือประโยชน์ให้เกิดความเติบโตและความเข้มแข็ งโดยใช้แนวคิด เรื่องชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ ช่วยเติมกรอบความคิดในการเปลีย่ นแปลงสิงคโปรใ์ ห้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น เด็กสิงคโปร์ มีโอกาสได้เรียนในระดับการศึกษาภาคบังคับข้ันพื้นฐานอย่างน้อย 10 ปี โดย 6 ปีแรก เป็นการศึกษาระดับ
97 ประถมศึกษา และอีก 4 ปีในระดับมัธยมศึกษานักเรียนต้องเข้าสอบการสอบวัดระดับชาติเมื่อเรียนจบช้ัน ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา หลังจากนัน้ จึงเขา้ สกู่ ารเรียนในสถาบันการศกึ ษาทีส่ ูงกว่าระดับมัธยมศึกษาอาทิเช่น การศึกษาก่อนเข้ามหาวิทยาลัย การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา และการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ตาม ความสามารถและความสนใจของแต่ละบุคคล ซ่ึงการจัดการศึกษาตามตามโครงสร้างระบบการศึกษาของสิงคโปร์ แบ่งออกเป็น ระดับต่างๆ ดงั น้ี การศึกษาระดับปฐมวัย : การศึกษาก่อนวัยเรียนนั้น ไม่จัดอยู่ในการศึกษาภาคบังคับ แต่ส่วนใหญ่ ผู้ปกครองมักนิยมใหบ้ ุตรหลานเขา้ รับการศึกษาระดับน้ี เพ่อื เตรียมความพร้อม 1-3 ปี แมว้ ่าการศกึ ษาระดับนี้จะมี เอกชนเป็นผู้จัดการ แต่กระทรวงศึกษาธิการคือผู้ท่ีกาหนดแนวทาง และควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด โดยมีกระทรวง พัฒนาชุมชน (Ministry of Community Development : MCD)ดูแลรับผิดชอบศูนย์เด็กปฐมวัย (Childcare Center) และกระทรวงศึกษาธิการดแู ลรับผิดชอบโรงเรยี นอนุบาล (Kindergarten) ระดับประถมศึกษา: แบ่งออกเป็นประถมศึกษาตอนต้น 4 ปี (ประถม 1-4) และประถมศึกษาตอนปลาย 2 ปี (ประถม 5-6) ประถมศึกษาตอนต้น: เน้นให้เด็กอ่านออกเขียนได้และคานวณได้ ร้อยละ 80 ของเวลาท้ังหมดของ หลักสตู ร มุ่งเน้นใหเ้ ด็กเรียนคณิตศาสตร์ และหลกั สูตร 2 ภาษา คือ เรยี นท้งั ภาษาองั กฤษ และภาษาแม่ ควบคู่กัน ไปเมอื่ จบประถมศึกษาปีที่ 4 จะมีการสอบวัดผลโดยใช้ขอ้ สอบมาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อศึกษาต่อใน ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย ประถมศึกษาตอนปลาย: เป็นช่วงท่ีมีความสาคัญมากเพราะนักเรียนจะถูกแยกออกเป็น 3 กลุ่ม ข้ึนอยู่กับ ความสามารถของแต่ละคน เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เด็กทุกคนจะต้องผ่านการทดสอบระดับชาติโดยคะแนนสอบ จะมสี ่วนสาคญั อย่างยิ่งต่อการศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา ท่มี ี 3 หลักสตู รให้เลือกตามความสามารถของเด็กแต่ละคน ระดับมัธยมศึกษา : แบ่งออกเป็น 3 แผนการเรียนตามความสามารถของนักเรียน ได้แก่ Special, Express และ Normal โดยแผนการเรียน Special และ แผนการเรียน Express น้ันใชเ้ วลาเรียน 4 ปี วชิ าท่ีเรียน ได้แก่ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และพลศึกษา เน้ือหาของ แผนการเรียน Special จะเรียนภาษาในขั้นสูงกว่าแผน Express หลังจากเรียนครบกาหนด 4 ปี นักเรียนจะต้อง สอบจบระดับช้ันมัธยมศึกษา หรือที่เรียกว่า การสอบ GCE ‘O’ Level (Singapore – Cambridge General Certificate of Education ‘Ordinary’ Level) ส่วนแผนการเรียนปกติ (Normal)ใช้เวลาเรียน 5 ปี แบ่งออกเป็น 2 แผนย่อยๆ คือ แผนการเรียนปกติ สายวิชาการ วิชาท่ีเรียนได้แก่ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ วรรณกรรมอังกฤษ ประวัติศาสตร์ และ
98 แผนการเรียนปกติ สายอาชีวะ วิชาท่ีเรียนได้แก่ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ อาหารและโภชนาการ และ การบริหารสานักงานเบ้ืองต้น หลักจากเรียนผ่านไป 4 ปีแล้วจะต้องสอบ GCE ‘N’ Level (Singapore – Cambridge General Certificate of Education ‘Normal’ Level) เม่ือสอบผ่านแล้วจึงสามารถเรียนต่อในปีที่ 5 จากนั้นจะตอ้ งสอบจบช้ันระดบั มัธยม คือ การสอบ GCE ‘O’ Level ระดับอุดมศึกษา: แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ Junior College และ Polytechnic สาหรับการเรียนแบบ Junior Collegeใช้เวลาเรียน 2 ปี โดยจะต้องเรียนทุกวิชาเพ่ือเตรียมตัวให้พร้อมสาหรับการเข้าเรียนในระดับ มหาวิทยาลัย เมื่อเรียนครบ 2 ปีจะต้องสอบจบระดับ หรือที่เรียกว่า การสอบ GCE ‘A’ Level (Singapore – Cambridge General Certificate of Education ‘Advanced’ Level) ซึ่งผลสอบจะเป็นตัวช้ีว่านักเรียนสามารถเข้า เรียนตอ่ ในมหาวิทยาลัยได้หรือไม่ สาหรบั ผู้ท่ีเลือกเรียนต่อสายอาชีพ หรือ Poly Technic นัน้ จะใช้เวลาเรียนทั้งหมด 3 ปีและจะไดร้ บั ประกาศนียบตั รหรืออนุปริญญาหลังจากเรียนจบ ระดับมหาวิทยาลัย : นักเรียนสามารถเลือกศึกษาต่อยังมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน หรือ มหาวิทยาลัยต่างชาติที่เข้ามาก่อตั้งในสิงคโปร์ได้ในทุกสาขาวิชาตามความถนัดหรือสนใจ หรือสามารถโอนย้ายไป เรียนต่างประเทศได้หากเป็นสถาบันที่มีข้อตกลงร่วมกัน การศึกษาระดับปริญญาตรี ใช้เวลาเรียน 3 ปี ระดับ ปริญญาโท ใชเ้ วลาเรียน 1-2 ปี ปรญิ ญาเอก ใชเ้ วลาเรยี น 3-5 ปตี ามลาดบั ระบบการศึกษาของสิงคโปร์มีเป้าหมายเพ่ือช่วยให้นักเรียนค้นพบความสามารถพิเศษ รับรู้และพัฒนา พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ที่คงทนตลอดชีวิต ปัจจัยท่ีส่งผลให้นักเรียนของสิงคโปร์มีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ มาจากการจัดหลักสูตรการศึกษาแบบองค์รวมและการศึกษาแบบกวา้ ง (Holistic and Broad-based Education) เพ่ือให้นักเรียนมีคุณลักษณะของผู้ที่อยู่ในสังคมแบบพหุวัฒนธรรมและพหุเชื้อ ชาติแบบสิงคโปร์ให้ผู้เรียนมีความสามารถทั้งทางด้านภาษาและการคิดคานวณอย่างสมดุล โดยเน้น 3 วิชาหลัก ต้งั แต่ในระดับประถมศกึ ษาคือ ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิชาพนื้ ฐาน (foundation subjects) มุ่งการรู้ภาษา การรู้คณิตศาสตร์ ความสามารถทางภาษาแบบสองภาษา วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ พลศึกษา หน้าที่พลเมือง คุณธรรมศึกษา และการศึกษาแห่งชาติ (National Education)โดย จัดการเรียนการสอนภายใต้แนวคิด “Teach Less – Learn More”หรือการมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสนุก จนเกิด ความสนใจและความมุ่งม่ันในการเรียน จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายและยืดหยุ่น เพื่อให้สอดคล้องกับ ความสามารถในการเรียนและสไตล์การเรียนรู้ของนักเรียน ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและค้นหาคาตอบด้วย ตนเอง ผ่านกิจกรรมที่เชอื่ มโยงกับชวี ิตจริง เข้าใจความรู้ลึกซ้ึง และสามารถเลือกใช้วิธกี ารต่างๆ อย่างหลากหลาย ในการแก้ปัญหาต่างๆ อย่างเหมาะสม นอกจากนั้น การเรียนรู้แบบกว้างและการเรียนรู้แบบองค์รวม ยั งช่วยให้
99 นักเรยี นพัฒนาทั้งด้านวิชาการ ดา้ นดนตรี ศลิ ปะ และกีฬาจากกจิ กรรมนอกหลักสูตรทโี่ รงเรยี นออกแบบไว้ รวมทงั้ การมีส่วนร่วมในการบริการชุมชน ซ่ึงนับเป็นส่วนช่วยให้นักเรียนมีความสร้างสรรค์มีความม่ันใจ และมีทักษะชีวิต ในการอยู่ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงสูง แต่ไม่ปรากฏในหลักสูตรว่า ประเทศสิงคโปร์เน้นการศึกษาหน้าท่ีพลเมือง และการส่งเสรมิ ประชาธิปไตย (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2555 : 234 - 262) ส่วน นโยบายสองภาษาเป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบการศึกษา โดยให้นักเรียนเรียนภาษาอังกฤษในฐานะ ภาษากลางที่ใช้ในการทางาน ตั้งแต่ระดับประถม เรียนภาษาแม่ (Mother Tongue) คือ จีน (แมนดาริน) มาเลย์ หรือทมิฬ (อินเดีย) ซ่ึงเป็นไปตามเชื้อชาติของผู้เรียนเพื่อให้ยังคงความเป็นชนชาติดั้งเดิมของตน มีวัฒนธรรม มรดก และค่านยิ มตามชนชาตเิ ดมิ ของตน แลว้ จงึ เพ่ิมการเรียนภาษาท่ี 3 ในระดบั มัธยมศึกษา ภาษาองั กฤษถูกเลือกใช้ ให้เป็นส่ือกลางในการเรียนการสอน เพื่อเตรียมความพร้อมในการเชื่อมเศรษฐกิจสิงคโปร์เข้ากับเศรษฐกิจโลก ขณะเดียวกันภาษาอังกฤษยังทาหน้าที่เป็นส่ือกลางเชื่อมโยงกลุ่มชาติพันธ์ุต่างๆ ในสิงคโปร์เข้าไว้ด้วยกัน นอกจากนี้ การเรียนการสอนของในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยของสิงคโปร์ ยังเน้นการให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ไม่ พ่ึงพาความรู้จากการสอนของอาจารย์ในชั้นเรียนแต่เพียงอย่างเดียว ซ่ึงกระตุ้นให้นักศึกษาต้องกระตือรือร้นใฝ่หา ความรู้ และมีความคิดริเร่ิมในวิชาน้ันๆ เป็นการเพ่ิมศักยภาพให้นักศึกษากล้าคิด กล้าแสดงออก และมีความคิดริเร่ิม (http://www.aecnews.co.th/sreport/read/606 : เขา้ ถึงข้อมูลวันท่ี 31 มกราคม 2557.)
100 ภาพที่ 3.1: โครงสรา้ งระบบการศกึ ษาประเทศสงิ คโปร์ ทม่ี า: http://www.learningcurve-th.com/singapore/ (สบื คน้ เม่อื 8 กุมภาพนั ธ์ 2557)
101 นอกจากการให้ความสาคัญกับการพัฒนานโยบายด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน สิงคโปร์ ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ดังน้ัน ในทุกระดับการศึกษา สถาบันการศึกษาของสิงคโปร์จะจัดให้มีวิชาเพื่อพัฒนาความเป็นผู้นา มีความตระหนักรู้ในตนเอง มีความ รับผิดชอบและช่ืนชมต่อประเพณีและวัฒนธรรมของประเทศ ตลอดจนเป็นประชากรท่ีใส่ใจในการสร้างความ เข้มแข็งต่อสังคม ชุมชน มีจิตใต้สานึกในความเปน็ ประชากรของประเทศอย่างแรงกล้า และกระตอื รือร้นในการทา หน้าที่พัฒนาบุคคลอื่นๆ ให้มีชีวิตที่ดีข้ึนรัฐบาลได้ลงทุนทางการศึกษา เพื่อให้ความเท่าเทียมกันในการเข้ารับ การศึกษานับแต่เร่ิมแรก เพ่ือจัดสรรเงินทุนส่วนหน่ึงให้เด็กทุกคนท่ีมีอายุ 6-16 ปี ไว้เป็นบัญชีเพ่ือการศึกษา สาหรับเดก็ ๆทกุ คน ซง่ึ เป็นเงินช่วยเหลือค่าใชจ้ า่ ยทางการศึกษาในแตล่ ะปี ทาให้เดก็ นกั เรียนในระดับประถมศึกษา ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรยี น เสียแต่ค่าใชจ้ ่ายอื่นๆ เพียงเล็กน้อยเท่าน้ัน แต่สาหรับเด็กนักเรยี นในระดับมัธยมศึกษาหรือ สูงกว่า จะไม่มีงบประมาณสนับสนุนเหมือนในระดับประถมศึกษา ผู้ปกครองเป็นผู้จ่ายค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่าย อน่ื ๆ อย่างไรกด็ ี โรงเรยี นและสถาบันการศึกษาต่างๆ จะมีการให้ทนุ การศึกษาแก่นกั เรียนท่ีเรยี นดที ่ีขาดแคลนทุน ทรัพย์อยู่ในทุกระดับ ในด้านการฝึกหัดครูและการพัฒนาครูได้มีการจัดตั้งสถาบันการศึกษาแห่งชาติ หรือ NIE – National Institute of Education ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนานยาง( Nanyuang Technological University)เพื่อปรับปรุงการฝึกหัดครูด้วยการจัดหลักสูตรต่างๆ ให้ครูเข้ามาอบรมในระยะสั้น เน้นให้ครูทาวิจัย จัดตั้งศูนย์วิจัยเพ่ือการศึกษา และกระตุ้นให้ครูบรรลุสมรรถนะสูงสุดของตน ตลอดจนส่งเสริม และประสานงานวิจัยให้กว้างขวาง สร้างแรงจูงใจต่างๆ เพื่อให้ผู้ที่เรียนดีได้เข้าสู่วิชาชีพครูมากข้ึน โดยมี กระทรวงศึกษาธิการทาหน้าที่สรรหาครูจากผู้จากผู้ท่ีจบการศึกษาในระดับต่างๆ และสร้างความแข็งแกร่งของ วิชาชีพครูโดยส่งเสริมโอกาสทางวิชาชีพครูในสายการเป็นครูผู้สอนให้สามารถขึ้นเป็นผู้นา/ผู้บริหารการศึกษา ส่งเสริมให้กลุ่มครูพัฒนาตนให้เป็นผู้เช่ียวชาญท่ีมีความรู้ความสามารถสูงในด้านศาสตร์การสอนและสนับสนุนครู แม่แบบ กล่าวคือ สนับสนุนให้ครูสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นครูอาวุโส เพ่ือให้มีครูต้นแบบในกา รพัฒนา ความสามารถในการสอนของเพื่อนร่วมงานในโรงเรียน นอกจากนั้น กระทรวงศึกษาธิการยังเพิ่มโอกาสสร้าง ความก้าวหน้าให้กับครูในการเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาด้านศาสตร์การสอน และมีส่วนร่วมในหลักสูตร ต่างประเทศในสาขาวิชาที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยนด้านการปฏบิ ัติ งานสอนที่เป็นเลิศและการวิจัยทาง การศึกษาระดับนานาชาติ จะเห็นได้ว่ารัฐบาลสิงคโปร์ ถือว่า “ครู คือหัวใจของการศึกษา” และทาให้เห็นเป็นที่ ประจกั ษ์ ดว้ ยการส่งเสรมิ อาชพี ครูให้เป็นทนี่ ิยมของสังคม มีเกยี รติ ไดร้ บั เงนิ เดือนสูง และมเี ส้นทางความกา้ วหน้า ในสายอาชีพตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว ครูทุกคนต้องเข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพครูจากสถาบัน NIE เป็นเวลา 1 ปีและ เมอื่ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ครูแลว้ กจ็ ะตอ้ งเขา้ รบั การประเมินและพัฒนาทุกๆปี หากไมผ่ ่านการประเมินในครั้งท่ี 3 ก็จะถกู ให้ ออกจากการเปน็ ครู จากการศึกษาโครงสรา้ งระบบและนโยบายการศกึ ษาของประเทศสงิ คโปร์ สามารถสรปุ ไดว้ ่า
102 ด้านผู้เรียน : ปัจจัยที่ส่งผลให้นักเรียนของสิงคโปร์มีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ จากการจัดหลักสูตรการศึกษาแบบองค์รวมและการศึกษาแบบกว้าง (Holistic and Broad-based Education) ใช้ผลการเรียน คะแนนสอบ มีส่วนสาคัญในการศึกษาต่อเน่ืองในระดับสูงขึ้น ตามหลักสูตรท่ีให้เลือก เรียน ด้านครู : รัฐบาลสิงคโปร์ ถือว่า “ครู คือหัวใจของการศึกษา” และทาให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ ด้วยการ สง่ เสรมิ อาชพี ครใู ห้เปน็ ทนี่ ิยมของสงั คม มีเกยี รติ ไดร้ บั เงินเดือนสูง และมเี สน้ ทางความกา้ วหนา้ ในสายอาชีพ ด้านการจัดการศึกษา : รัฐบาลให้ความสาคัญกับการศึกษาในระดับอนุบาลและประถมศึกษาอย่างมาก โดยรัฐช่วยเหลือค่าใช้จ่ายท้ังหมด แต่ในระดับมัธยมศึกษาข้ึนไปผู้ปกครองต้องรับผิดชอบในการจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายอ่ืนๆซ่ึงอาจทาให้เกิดปัญหากับผู้ปกครองท่ีมีฐานะไม่ดีที่จะทาให้นักเรยี นขาดโอกาสในการเรียนระดับ มัธยมศึกษาได้ถึงแม้สถานศึกษาจะให้ทุนการศึกษากับนักเรียนที่เรียนดีที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ก็ตาม ส่วนผู้เรียนท่ีมีผล การเรยี นปานกลางและอ่อนอาจจะขาดโอกาสทางการศึกษาได้ นโยบายการศึกษาตา่ งประเทศ : ประเทศเวยี ดนาม ประเทศเวยี ดนามเปน็ อีกหนึ่งประเทศท่ีมีการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ อย่างรวดเร็วในประเทศในภูมิภาค อาเซียนมาโดยตลอด ทาให้องค์การระหว่างประเทศหลายองค์กรคาดการณ์กันว่า เวียดนามจะเจริญก้าวหน้าขึ้น และจะก้าวข้ึนสู่ความเป็นผู้นาของประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้ การพัฒนาระบบการศึกษาเป็นประเด็นที่ รัฐบาลเวียดนามให้ความสนใจมากในฐานะเคร่ืองมือชิ้นสาคัญในการผลิตทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพ อันจะช่วย ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของเวียดนามให้เติบโตและพัฒนาได้อย่างยั่งยืน จากโครงการของภาครัฐใน ระยะแรกๆ หลังจากเวียดนามได้รับอิสรภาพในการปกครองตนเองจากฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2488 ส่วนใหญ่เป็น โครงการท่ีเน้นการเพ่ิมสัดส่วนประชากรที่รู้หนงั สือ ส่งผลให้ปัจจุบันอัตราการรู้หนังสอื โดยเฉลี่ยของชาวเวียดนาม อยู่ในระดับสูงถึงร้อยละ 90 เทียบกับร้อยละ 10 ในปี พ.ศ. 2488 เป็นที่น่าสังเกตว่าเวียดนามประสบความสาเร็จ ในการยกระดับการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะในระดับประถมศึกษา ซึ่งรัฐบาลเวียดนามได้ปรับปรุงกฎหมาย เก่ียวกับการศึกษาภาคบังคับมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2542 กาหนดให้เด็กอายุ 6-14 ปี ต้องเข้าเรียนใน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-5 โดยทางรัฐบาลจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ ซ่ึงนับว่ามีส่วนสาคัญที่ทาให้ชาวเวียดนาม สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ง่ายและทั่วถึงข้ึน การเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาของเวียดนามในชว่ งท่ีผา่ นมา ทาให้ สถานการณ์ด้านการศึกษามีความก้าวหน้าอย่างมีนัยสาคัญ กล่าวคือ สัดส่วนจานวนประชากรชาวเวียดนามที่เข้า เรียนในระดับประถมศึกษาเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 86 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 91 ในปี 2546 ขณะท่ีอัตราการเรียนต่อ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 78 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 88 ในปี 2546 เนื่องจากประชาชนสามารถ เข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น การจัดการและการบริหารการศึกษาของเวียดนามนั้นดาเนินไปภายใต้
103 กรอบวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของพรรคคอมมิวนิสต์ท่ีให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการศึกษา เพราะถือว่าการศึกษาและ การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญของประเทศ ระบบการศึกษาของประเทศเวียดนาม เป็นระบบการศึกษาแบบ 5-4-3 คอื การศกึ ษาระดับประถมศึกษาใช้เวลา 5 ปี มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 4 ปี และมัธยมศึกษา ตอนปลาย 3 ปี ตามลาดับ ส่วนการระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่อาจใช้เวลา 2-6 ปี การศึกษาทุกระดับ รวมถึงการศึกษา นอกโรงเรียนในเวียดนามอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงการศึกษาและการฝึกอบรม (Ministry of Education and Training of Vietnam : MOET)การศึกษาของประเทศเวียดนาม สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ 1) การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นการเน้นให้การศึกษาขั้นประถมศึกษาและช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นฟรี แต่อีก ส่วนหน่ึงจากการยกเลิกกฎระเบียบที่ควบคุมบทบาทของเอกชนในด้านการศึกษาและการส่งเสริมให้เอกชนเข้ามา จัดการศึกษาแบบกึ่งรัฐและการศกึ ษาโดยประชาชน ทาให้ในปัจจบุ นั มีสถานศึกษาทบี่ ริหารงานโดยภาคเอกชนเพ่ิม จานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในระดับอนุบาล สถานฝึกวิชาชีพ และระดับอุดมศึกษา ซึ่งสถานศึกษาเอกชน เหล่านี้มีรายได้จากค่าเล่าเรียนของนักเรียนอีกทั้งยังได้มีการปรับนโยบายที่อนุญาตให้สถานศึกษาเอกชนสามารถ เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการเรียนได้เอง แม้จะอยู่ในการควบคุมอย่างเข้มงวดโดยรัฐ แต่สถานศึกษาก็ยังสามารถ เรียกเก็บค่าบริการอื่นๆเพ่ิมเติมได้อีก ทาให้การดูแลและสนับสนุนค่าเล่าเรียนจากรัฐบาลไม่ครอบคลุมการเข้า ศึกษาในสถาบันการศึกษาเอกชน ท้ังนี้ การเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาของรัฐหรือเอกชน ขึ้นอยกู่ ับการตัดสินใจ ของผู้ปกครองและปัจจยั อ่ืน เช่น ฐานะทางสังคม ค่านิยม พ้ืนฐานครอบครัว ชื่อเสียงและคุณภาพของสถานศกึ ษา เป็นตน้ 2) การอุดมศึกษา ประกอบด้วย สถาบันการศึกษาเฉพาะทางและมหาวิทยาลัยจานวนมาก หลากหลาย สาขาความรู้ มีการเชื่อมโยงการวิจัยเข้ากับการเรียนการสอนในห้องเรียน สถาบันการศึกษาเหล่าน้ีจะถูกแบ่งออก ตามภาคส่วนต่างๆของระบบเศรษฐกิจ และมีบางส่วนขึ้นตรงกับกระทรวงที่รับผิดชอบตามสาขาเฉพาะทางของ สถาบันนั้นๆ มหาวิทยาลัยในเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ประเภท สองประเภทแรกเป็นการเรียนการสอนแบบปิด คือ มีการเข้าเรียนตามปกติ ประกอบด้วย1) มหาวิทยาลัยท่ีเน้นวิชาเฉพาะ เช่น เศรษฐศาสตร์ ศิลปะ วิศวกรรม และกฎหมาย 2) มหาวิทยาลัยแบบสหสาขาวิชา ส่วนประเภทที่ 3 คือ มหาวิทยาลัยท่ีเพ่ิงท่ีฮานอยและโฮจิมินซ่ึง เป็นมหาวิทยาลัยเปิด ในปัจจุบันมีความพยายามในการดาเนินการให้การศึกษาในส่วนน้ี สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของตลาด ด้วยการเพ่ิมปริมาณสถานศึกษา การเพ่ิมประสิทธิภาพและคุณภาพทางการศึกษา (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549ข: 80 - 81)
104 การพัฒนานโยบายการศึกษาล้วนถูกกาหนดโดยรัฐบาลเป็นหลัก เน่ืองจากประเทศเวียดนามมีการ ปกครองแบบคอมมิวนิสต์ สาหรับนโยบายทางการศึกษาของประเทศ รัฐบาลได้กาหนดทิศทางของการพัฒนา การศึกษาไว้ชัดเจนว่า การปฏิรูปการศึกษาต้องดาเนนิ ไปตามกรอบของ 3 แนวทาง อันได้แก่ 1) ต้องการยกระดับ สติปัญญาของประชาชน (To raise the people intellectual)เพ่ือให้ประชาชนชาวเวียดนามสามารถมีส่วนร่วม ตามทันกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ และมุ่งสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 2) ต้องการยกระดับ คุณภาพทรัพยากรมนุษย์ (To raise the quality of human)เพื่อให้ประชาชนเป็นแรงงานท่ีมีคุณภาพ และ3) สรรหา ส่งเสรมิ และใชป้ ระโยชน์จากกล่มุ อัจฉรยิ ะ (To detect, to store and make good use of talents)เพ่ือ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางศิลปะและวัฒนธรรม ทางสังคมและเศรษฐกิจ และ ทางด้านการผลติ และการจัดการของชุมชน ดว้ ยเหตุน้ี เวียดนามจงึ ไดป้ ฏริ ปู การศึกษาทกุ ระดบั อย่างจริงจัง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2529 เป็นต้นมา (ไพฑูรย์ สินลารัตน์ 2553, น.71) จากการศึกษาแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษา แห่งชาติระยะยาวสาหรับปี พ.ศ. 2544 – 2553 พบว่า รัฐบาลให้ความสาคัญกับการปรับปรุงคุณภาพของ การศึกษา มุ่งสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทาเป้าหมาย วิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับชั้น พัฒนาครู เพื่อให้ตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และให้ความสาคัญกับการอบรมบุคลากรทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง นอกจากนี้ ยังสนับสนุนให้ใช้การศึกษานอกระบบเป็นตัวขับเคล่ือนชุมชนไปสู่ สังคมการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนได้มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตามอัตภาพ และเปิดโอกาสให้ผู้ท่ี ทางานแลว้ ได้รับอบรมเรียนรู้จากหลักสตู รระยะส้ันเพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพในการผลิต เพมิ่ รายได้ และโอกาสในการ
105 เปลยี่ นงาน ตลอดจนลดอตั ราการไม่รู้หนังสือในกลุ่มผู้ใหญ่โดยเฉพาะ ในท้องถิ่นท่ีหา่ งไกล ในปจั จุบัน เวียดนามยัง ได้จัดทาแผนปฏิบัติแห่งชาติระยะยาวด้านการศึกษา ท่ีเรียกว่า “National Education for All Action Plan 2003-2015”โดยได้รับความร่วมมือจาก UNESCO ในฐานะเคร่ืองมือของรัฐบาลในการปรับตัวเชิงนโยบายใน ระดับมหภาคให้สอดคล้องกับแนวทางการศึกษาเพื่อมวลประชา (Education for All) ท่ีครอบคลุมการยกระดับ โครงสร้าง คุณภาพ การจัดชั้นเรียน และลดความสูญเปล่า (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2553) ตลอดจนแนวนโยบายของ รัฐบาลในการปรับปรุงภาคการศึกษาใหท้ ันสมัย โดยแผนปฏิบัติดงั กลา่ วมีกรอบแนวทางที่สร้างความสอดคลอ้ งกัน ระหว่างเป้าหมายทางการศึกษา 3 ด้านหลัก คือ การเข้าถึงการศึกษา คุณภาพทางการศึกษา และการบริหาร จัดการทางการศึกษา ในการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่มหลัก คือ 1) กลุ่มการดูแลและการศึกษาปฐมวัย 2) กลุ่ม ประถมศึกษา 3) กลุ่มมัธยมศึกษาตอนต้น และ 4) กลุ่มการศึกษานอกระบบ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549ข, น.32) สาเหตุที่สาคัญที่ทาให้การปฏิรูปการศึกษาของเวียดนามเป็นไปอย่างรวดเร็ว คือ ผู้นาประเทศมี ความมุ่งมั่นและชดั เจนในเรื่องของการศึกษามาโดยตลอด และเล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนาท้ังปวง ตลอดจนมุ่งมั่นที่จะขจัดความไม่รู้ของคนในชาติให้หมดไป เพ่ือสร้าง ความทัดเทียมนานาชาติ นโยบายที่สาคัญของเวียดนามในการจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสริมคุณภาพอีกประการหนึ่ง คือ การระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งในทางวิชาการและทรัพยากร ยกตัวอย่างเช่น รัฐบาลเองเปิดหลักสูตรพิเศษให้ ประชาชนต้องเรียน เอกชนก็ร่วมมือกันจัดการศึกษาที่มีความเป็นกันเองมากขึ้น บริษัทและโรงงานเปิดสถานฝึกอบรม ของตนเอง (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2553, น.74) ประเทศเวียดนามจึงเป็นอีกประเทศหน่ึงท่ีให้ความสาคัญกับวิชาชีพครู เป็นอย่างมาก และมีนโยบายท่ีจะใช้ครูเป็นตัวผลักดันคุณภาพการศึกษา โดยการปรับระบบการผลิตครูคร้ังใหญ่ เพ่ือ ผลิตครูท่ีมีคุณภาพ ในหลากหลายสาขา หลายระดับเพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม และเพียงพอกับ ความต้องการครูในประเทศ มีการสร้างแรงจูงใจให้คนเก่ง คนดี เข้ามาเป็นครู นักเรียนท่ีศึกษาอยู่ในสถาบันการผลิตครู จะได้รับทุนการศึกษา ครูจะได้รับการเล่ือนขั้นเล่ือนตาแหน่ง มีการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะให้แก่ครูตาม ความเหมาะสม เพ่ือสร้างมาตรฐานของครูและการประกันคุณภาพครูในด้านตา่ งๆ นอกจากน้ี สังคมเวียดนามเป็นสังคมที่ส่งเสริมคนเก่งหรือผู้มีความสามารถพิเศษมาตั้งแต่สมัยที่มี การแข่งขันสอบเป็นจอหงวนหรือขุนนางผู้มีความรู้ จนกลายเป็นวัฒนธรรมท่ีสืบเน่ืองมาถึงปัจจุบัน สังคมและชาว เวียดนามในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่ให้ค่านิยมเร่ืองการศึกษาเล่าเรียนสูง สนับสนุนและช่ืนชมคนเก่งหรือคนท่ีมี ความสามารถพิเศษ รวมท้ังมองว่าคนเหล่านี้จะเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติ ระบบการศึกษาของ เวียดนามจึงมีการสรรหาและส่งเสริมผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษโดยเฉพาะทางด้านคณิตศาสตร์ และ วทิ ยาศาสตร์อยา่ งเปน็ ระบบต่อเน่ืองตั้งแตร่ ะดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย โดย มีการจัดชั้นเรียนพิเศษ และโรงเรียนพิเศษให้นักเรียนเหล่าน้ีได้เรียนกับครูที่ดี กล่าวคือ แทบทุกตาบล ทุกอาเภอ ทุกจังหวัด จะมีการจัดต้ังโรงเรียนสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ โดยโรงเรียนจะรับนักเรียนทั้งสองกลุ่ม คือ นักเรียนปกติและนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษ ซึ่งจะถูกคัดเลือกและแบ่งตามรายวิชาท่ีนักเรียนมีความสามารถ
106 และสนใจเป็นพิเศษ จากนนั้ จะจัดให้มีการเรียนเพิ่มเติมในวชิ านั้นๆ แบบเจาะลึก ส่วนการเรยี นในรายวิชาอ่ืนๆนั้น จะเรียนตามหลกั สูตรปกติ (วิทยากร เชียงกลู , 2553 : 110 ) นโยบายการศึกษาต่างประเทศ : ประเทศญ่ปี ่นุ ระบบการศกึ ษาในประเทศญปี่ ่นุ ประเทศญปี่ ุน่ เปน็ ประเทศท่มี มี าตรฐานการศึกษาในระดับสูง โดยได้รับต้นแบบมาจากระบบการศึกษาของ หลายประเทศ เชน่ ประเทศอังกฤษ ฝร่งั เศส และอเมริกา โดยแบ่งระดับการศึกษาออกเปน็ ระดับอนุบาล (Kindergarten/Yochien) อายตุ า่ กว่า 6 ปี แมว้ ่าระดับอนบุ าลไม่ใชภ่ าคบังคับ แตก่ ารศกึ ษาในระดับนีก้ ลับมผี ู้เขา้ เรียนเพม่ิ ข้ึนเรื่อย ๆ จึงทาใหร้ ัฐบาล ตงั้ เป้าหมายในการเพ่มิ ศกั ยภาพของการศึกษาระดบั นม้ี ากขน้ึ ระดบั ประถม (Elementary School/shogakkou) อายุ 6-12 ปี เริ่มต้ังแต่ผู้เรียนอายุ 6-12 ปี การศึกษาระดับนี้เป็นการศึกษาภาคบังคับสาหรับชาวญี่ปุ่น โดยโรงเรียน รฐั บาลมกี ารกาหนดยูนิฟอร์มให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นโรงเรยี นของรัฐ มเี พียงร้อยละ 5 เทา่ นน้ั ทเ่ี ปน็ โรงเรยี นเอกชน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (Lower Secondary School/chugakkou) อายุ 12-15 ปี เป็นระดับการศึกษาเพ่ือเตรียมเข้าสู่การเรียนในระดับมัธยมปลาย เน่ืองจากเด็กส่วนใหญ่จะใช้เวลาอยู่ใน ชมรม กจิ กรรม และการเรยี นของโรงเรียนเปน็ หลัก ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (Upper Secondary School/koutougakkou) อายุ 15-18 ปี เป็นระดับการศึกษาที่ไม่บังคับในประเทศญี่ปุ่น แต่อย่างไรก็ตามร้อยละ 94 ของผู้เรียนที่จบการศึกษาใน ระดับมัธยมตอนต้นจะเข้าเรียนต่อ โดยการเรียนในระดับน้ีจะต้องมีการสอบเข้าเช่นเดียวกับการสอบเข้า มหาวิทยาลัยในประเทศต่าง ๆ และนักเรียนที่จบจากโรงเรียนบางโรงเรียนจะสามารถเข้ามหาวิทยาลัย ระดับประเทศโดยตรง เข่น University of Tokyo แต่สาหรับนักเรียนที่ไม่อยากเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยส่วน ใหญจ่ ะเข้าวทิ ยาลัยเทคนิคเชน่ เดยี วกับระบบการศึกษาในประเทศไทย ระดับมหาวทิ ยาลัย (University) อายุ 18-20 ปี หรือ 22 ปี มหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นจะกาหนดหลกั สูตรและระยะเวลา ดังนี้ ระดบั ปรญิ ญาตรใี ช้เวลา 4 ปี ระดับ ปริญญาโทใช้เวลา 2 ปี และระดบั ปรญิ ญาเอกเวลา 3 ปี การเรียนระดบั มหาวิทยาลัยจะเร่ิมภาคการศึกษาในเดือน เมษายนของแต่ละปี โดยแบ่งภาคการศึกษาเป็นภาคการศึกษาที่ 1 (เดือนเมษายน – เดือนกันยายน) และภาค การศกึ ษาที่ 2 (เดอื นกันยายน – เดือนมนี าคม)
107 ประเทศญ่ีปุ่นได้จัดต้ังองค์กรวิชาชีพครูข้ึนโดยใชช้ ื่อว่าสมาคมครูแหง่ ประเทศญี่ปุ่น The Association of Teachers of Japanese: ATJ) มีลักษณะเป็นเอกชน (นิติบุคคล) ระดับนานาชาติ ทางานโดยไม่หวังผลกาไรและ ไมย่ ุ่งเก่ยี วกับการเมือง มีบทบาทหนา้ ทใี่ นการควบคมุ และกาหนดมาตรฐานครู ส่งเสริมสนบั สนุนการพัฒนาวิชาชีพ ครู ให้คาปรึกษาด้านวชิ าการ การอบรมให้การศึกษา กาหนดเกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถของครู กาหนด มาตรฐานผสู้ าเร็จการศกึ ษา ตดิ ตาม การเรียนการสอน การอบรมครู และพัฒนาการเตรียมครูต้นแบบญ่ีปุ่น การบริหารจัดการขององค์กร บริหารงานในรูปของคณะกรรมการ ใช้การติดต่อสื่อสารกับสมาชิกและระหว่างสมาชิกผ่านทางออนไลน์ แฟ็กซ์ โทรศพั ท์ อเี มล์ และตดิ ต่อโดยตรงท่สี านักงาน ประเทศญ่ปี นุ่ ไดม้ กี ารจัดต้ังกระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กฬี า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ข้ึนใหม่ และ จัดโครงสร้างการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับกระทรวง ระดับท้องถิ่น และระดับสถานศึกษา โดยกระทรวง ทาหน้าที่ด้านนโยบาย และการสนับสนุนส่งเสริมทรัพยากรและวิชาการ จัดทาหลักสูตรแห่งชาติ และมาตรฐาน การศึกษา ท้องถ่ินระดับจังหวัด ทาหน้าท่ีรับผิดชอบการจัดการศึกษาของจังหวัดในภาพรวม แต่แบ่งระดับความ รับผิดชอบระหว่างจังหวัดและเทศบาล โดยระดับจังหวัดจัดการศึกษาระดับ อาชีวศึกษา และมัธยมศึกษาตอน ปลายส่วนท้องถิน่ ระดบั เทศบาล ทาหน้าท่ีจดั การศึกษาภาคบังคับต้ังแต่ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนตน้ สาหรับ สถานศึกษา มีหน้าท่ีจัดการศึกษา โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษา ทาหน้าที่สนับสนุนการทางานของสถานศึกษา อานาจบริหารสถานศกึ ษาเป็นอานาจของผบู้ ริหารเปน็ ส่วนใหญ่ ผบู้ ริหาร และครู ต้องมีใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาของจงั หวัด เปน็ ผู้ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ในการนี้ กฎหมายว่าด้วยการออกใบอนุญาตประกอ บ วิชาชีพ ได้กาหนดใหม้ ีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี 3 ประเภท คอื 1) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแบบปกติ ออกให้กับครูท่ัวไป ท่ีจบทางครู ซ่ึงมี 3 ระดับ คือ ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพช้ันสูง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพช้ันหน่ึง และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพช้ันสอง ตามคุณสมบัติ และสาขาท่ีเรียน/สอน 2) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแบบพิเศษ ท่ีออกให้กับผู้ท่ีไม่มีวุฒิทางครูแต่มีประสบการณ์ และเช่ียวชาญในสาขาใดสาขาหน่ึงและไม่เป็นผู้สอนเต็มเวลาและ 3) ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสนับสนุน ออก ใหก้ ับครผู ูช้ ว่ ยหรือผทู้ าหน้าทีส่ นบั สนนุ การเรยี นการสอน สาหรับผู้บริหารสถานศึกษา ปัจจุบันนอกจากจะเป็นผู้ท่ีอยู่ในวงการศึกษาแล้ว บุคคลภายนอกสามารถ สมัครเข้ามาเป็นผู้บริหารสถานศึกษาได้ โดยลดเง่ือนไขด้านใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ แต่อยู่บนเงื่อนไข 2 ประการคือ 1) ต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์เก่ียวข้องกับการศึกษาไม่น้อยกว่า 10 ปี และ 2) มีความจาเป็นต้อง ปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการโรงเรียน โดยมีการจัดอบรมเพื่อให้เข้าบริบทและธรรมชาติของการจดั การศกึ ษา ทาให้เกดิ ความคล่องตัวทางการบรหิ ารสถานศกึ ษาให้บรรลผุ ลสาเรจ็ จากประสบการณ์ทางการบริหารจากภายนอก และนามาปรับใชก้ บั สถานศกึ ษา มากขึ้น
108 สาหรับครู ครู มิใช่ข้าราชการ แต่เป็นพนักงานครูของจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นครูในสถานศึกษาสังกัดจังหวัด หรือเทศบาล ท่ีมาจากการคัดเลือกและแตง่ ตั้งและการจัดสรรงบประมาณของคณะกรรมการการศึกษาจังหวัดโดย การสนับสนุนจากรัฐบาลหรือส่วนกลาง ในการน้ี คณะกรรมการการศึกษาจังหวัดมีหน้าท่ีบริหารงานบุคคล โดย ภาพรวมทั้งการออกใบอนุญาตวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา การสรรหา/จัดสอบคัดเลือก การพัฒนา และ การให้ออก รวมทง้ั การจา่ ยเงินเดือนค่าตอบแทน โดยมอบหมายใหผ้ ู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการการศึกษา จังหวัดเป็นผู้จัดสอบ โดยมีการรับฟังความเห็นและความต้องการของคณะกรรมการการศึกษาเทศบาล และ สถานศึกษา ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งด้วย และจากการท่ีญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับอาชีพครูว่าเป็นวิชาชีพชัน้ สงู ในการสอบบรรจุครู จงึ ได้มกี ารจัดสอบอยา่ งเขม้ ข้น ทั้งการสอบขอ้ เขยี น สมั ภาษณ์ ทดสอบสมรรถนะ เจตคติ และ คณุ สมบัติอืน่ ๆ (วรัยพร แสงนภาบวร, 2550) เพือ่ ใหไ้ ด้ครดู ีทม่ี คี ณุ ภาพมากที่สดุ สาหรับเงินเดือนและค่าตอบแทนครู กฎหมายของท้องถ่ินกาหนดให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ การศึกษาจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ โดยมีกฎหมายว่าด้วยงบประมาณแผ่นดินเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพ่ือการศึกษาภาค บังคับ กาหนดให้ส่วนกลางรับผิดชอบร่วมกันกับท้องถ่ินในสัดส่วนท่ีใกล้เคียงกันคร่ึงต่อครึ่งดังกล่าวข้างต้น และ เนื่องจากวิชาชีพครูญ่ีปุ่นถือว่าเป็นวิชาชีพชั้นสูงและให้ความสาคัญว่าเป็นบุคคลสาคัญท่ีสุดต่อคุณภาพของผู้เรียน จึงมีการกาหนดให้เงินเดือนครูสูงกวา่ ข้าราชการอื่น ทั้งน้ี เป็นไปตามกฎหมายธารงรักษาบุคลากรทางการศึกษาใน การศึกษาภาคบังคบั รวมท้งั การให้เงินเพ่ิมพเิ ศษ รอ้ ยละ 9 และโบนสั ประจาปอี ีก 5 เดอื น ขน้ึ อยู่กับผลงานและ ความรับผิดชอบของครูแต่ละระดับ ตลอดจนค่าตอบแทนและสวัสดิการอ่ืนๆ แต่ท้ังนี้ กฎหมายห้ามมิให้ ครูไปทาอาชีพเสรมิ อย่างอืน่ หรือแม้แต่การสอนพเิ ศษเพือ่ ให้ครทู ่มุ เทเพื่อเดก็ และการเรยี นการสอนอย่างเต็มท่ี สาหรับการพัฒนาครู กฎหมายกาหนดให้ครทู ุกคนต้องได้รบั การพัฒนา โดยครูบรรจุใหม่ต้องมีการพฒั นา ตนเองภายใต้การนิเทศดูแลของครูพี่เลี้ยงและผู้บริหาร และต้องผ่านการทดลองการปฏิบัติงาน 1 ปี ในทานอ ง เดียวกัน ครูท่ีมีประสบการณ์การเรียนการสอนมาแล้ว10 ปี ก็ต้องได้รับ การพัฒนาเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และทักษะ ใหม่ในการเรียนการสอนดว้ ย สาหรับการประเมนิ การทางาน ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาทาหนา้ ทีป่ ระเมินผู้บริหาร สถานศกึ ษา และผู้บริหารสถานศึกษาทาหนา้ ทีป่ ระเมนิ ครูและบุคลากร ทางการศึกษาในสงั กดั แล้วแต่กรณี (1) การติดตามประเมินผล กาหนดใหม้ ีมาตรฐานการศกึ ษาชาติ ในสถานศกึ ษา ทุกระดบั ทั้งดา้ นขนาดห้องเรยี น อาคารสถานท่ี คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และหลักสตู รใน การติดตามประเมินผลสถานศึกษา เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาต้นสังกัด ทั้งระดับจังหวัดและ เทศบาล นอกจากน้ัน ยังมีระบบการประเมินตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษาของญีป่ ่นุ
109 เน้นการประเมินตนเองเป็นหลัก สาหรับการประเมินภายนอกเป็นไปตามความสมัครใจของสถานศึกษาที่ จะขอรับการประเมินภายนอกหรือไม่ ส่วนกระทรวงการศึกษาฯ จะทาหน้าท่ีประเมินผลภาพรวม และจัดทา รายงานสถิติการศึกษาแห่งชาติเผยแพร่ต่อสาธารณชน (2) การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีการเปิดโอกาสให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง และประชาชนเข้ามาเป็นกรรมการ สถานศึกษาที่เป็นภาคประชาชนโดยตรง เพ่ือสะท้อนและเสนอความตอ้ งการทางการศึกษาแก่สถานศึกษา รวมท้ัง การให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนทาหน้าที่เสนอแนะและให้ความเห็น หรือการสนับสนุนการ ทางานของผู้บริหารในรูปของการประชุมคณะครู ท่ีกาหนดไว้ชัดเจน ให้ทุกโรงเรียนต้องฟังความเห็นในท่ีประชุม ดังกล่าว ทาให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยภาพรวม สถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานของญป่ี ุ่น มีความพร้อมในการบรหิ ารจัดการ ทง้ั ด้านบคุ ลากรเงนิ ความรู้ และเทคโนโลยี อยา่ งสงู กล่าวคือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ญ่ีปุ่นให้ความสาคัญกับครูว่าเป็นบุคคลสาคัญท่ีสุดในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน จึงส่งเสริมให้ครูเป็นครูมืออาชีพ ครูและผู้บริหารทุกคนต้องได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และมีความ พิเศษของใบอนุญาตตามประเภทของครู สะท้อนถึงการให้ความสาคัญ นอกจากนั้น ครูแต่ละคนยังต้องผ่านการ ทดลองปฏิบัติงานเมอื่ เริม่ ปฏิบตั งิ านแลว้ 1 ปี ครูไดร้ บั เงินเดือน (พณิ สุดา สริ ธิ รังศรี, 2556) ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การพัฒนาการศกึ ษาของประเทศไทย จากนโยบายทางการศึกษาของ สงิ คโปร์ และเวยี ดนาม มขี ้อเสนอแนะสาหรบั จดั การศึกษาเพื่อการพัฒนา การศกึ ษาของประเทศไทย ดังนี้ 1. การพัฒนาระบบการศึกษาไทยควรให้ความสาคัญในการเตรียมพร้อมเชิงรุก รัฐควรลงทุนด้าน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มากข้ึน เพ่ือรับมือกับแนวโน้มโลกาภิวัตน์ท่ีไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ โดยมุ่งการพัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสม่าเสมอต่อเนื่อง ดึงศักยภาพของบุคลากรภายในสถาบันการศึกษามาใช้ให้ มากข้นึ มกี ารสนับสนุนทุนวิจัยและการสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมือระหว่างสถาบัน 2. กาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศที่ชัดเจน โดยรัฐควรกาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศให้ชัดเจนว่า จะไปในทิศทางใดจึงจะสามารถพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าทันต่อสภาพยุคโลกาภิวัตน์ เพ่ือให้การจัดการศึกษา สนับสนนุ เปา้ หมายน้ัน อย่างไรก็ตามการพัฒนาการศึกษาไม่ควรมีเป้าหมายเพียงเพื่อการสนับสนุนดา้ นเศรษฐกิจเท่าน้ัน แต่ต้องเป็นการสร้างความเจริญท่ีย่ังยืนให้กับประเทศ โดยการพัฒนาควรยึดหลักการพัฒนาควบคู่กับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 9 รว่ มด้วย 3. กาหนดทศิ ทางการพฒั นากาลังคนบนความต้องการของประเทศ เพือ่ รองรับกระแสโลกาภวิ ัตน์ แตต่ อ้ ง ตั้งอยู่บนพื้นฐานความต้องการในการพัฒนาประเทศ เช่น การเปิดหลักสูตรต่างๆ มิใช่เป็นเพียงตามความต้องการ ของผเู้ รียนหรือเพ่ือการแขง่ ขนั ระหว่างสถาบนั การศึกษา เป็นต้น
110 4. ด้านการพัฒนาครู ควรมุ่งพัฒนาคุณภาพครูอย่างจริงจังและเข้มงวด เนื่องจากครูเป็นปัจจัยสาคัญท่ี ส่งผลสาเร็จในการจัดการศึกษา ควรให้ความสาคัญกับบทบาทครูและงานของครูให้มากข้ึน เพราะจากการศึกษา บทเรยี นจากประเทศต่างๆ ท่ีมีนโยบายการศกึ ษาท่ีประสบความสาเรจ็ พบวา่ ประเทศทมี่ นี โยบายด้านการศึกษาท่ี ประสบความสาเร็จ ต่างให้ความสาคญั กบั การพัฒนาครทู งั้ สนิ้ 5. การพัฒนาหลักสูตรมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เน้นการสร้างเจตคติในการเป็น พลเมอื งทดี่ มี ีศีลธรรม ควบคู่กบั การพฒั นาทกั ษะการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ และคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ 6. ควรพัฒนาผู้เรียนให้คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ ควบคู่กับการมีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสาธารณะใน การช่วยเหลอื และแบ่งปันส่สู งั คม 7. กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาให้ชัดเจน ตลอดจนแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาให้พร้อม โดยให้ ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานหรือ องคก์ รตา่ งๆท้ังภาครัฐและเอกชน ซึง่ จะทาให้การจัดการศกึ ษามีความเข้มแข็งและเกดิ ประสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น 8. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหวา่ งสถานศึกษากับชุมชนให้มากข้นึ ชุมชนถอื ว่าเป็นแหล่งเรยี นรู้และ วิจยั เพราะชุมชนุ เปน็ พนื้ ท่ีท่ีสามารถสร้างการเรียนรจู้ ากปญั หาจริงในชุมชนที่สอดคล้องกบั บรบิ ทของชุมชน สังคม และรวมถงึ ประเทศ 9. ส่งเสรมิ การศกึ ษาคน้ คว้าวิจัย การสร้างนวตั กรรม และการแลกเปลีย่ นเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ 10. เพ่ิมความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ในหลักสูตรการเรียนการสอน และปรับปรุงให้ทันสมัย ทันต่อ การเปล่ียนแปลงของสังคมโลก 11. มีการพัฒนาคนให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะ สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ท่ีมีคุณค่า นาไปใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่างสงู สดุ 12. พัฒนาคนให้มีคุณภาพมีทักษะและความสามารถที่หลากหลาย เช่น ความรู้ด้านเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ การบริหาร การจดั การ ฯลฯ 13. การตดิ ตามผลการดาเนนิ งานในทกุ ฝา่ ย ทุกระดับ เพอื่ นาผลการประเมนิ ไปพัฒนางานใหด้ ยี ่ิงขนึ้ ท้ังนี้ ในการกาหนดทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษาไทยมีปัจจัยที่สาคัญ เช่น ด้านเทคโนโลยี ด้าน เศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรม ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนบุคคลความตระหนักของบุคคลในสังคมที่มีต่อ การศึกษา แต่ส่ิงสาคัญที่สุด คือ นโยบายและระบบการเมืองของประเทศไทย มีอิทธิพลต่อการพัฒนาการศึกษา เป็นอย่างมาก เพราะในการการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยนั้นขึ้นอยู่กับวิสัยทัศน์ จุดยืน และผู้นาประเทศ ตลอดจนผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบด้านการศึกษา ที่จะให้ความสาคัญ ผลักดันและสนับสนุนให้เกิดการ ขับเคลื่อนในการพัฒนาระบบการศึกษาไทย จากการศึกษาบทเรียนจากประเทศที่มีนโยบายด้านการศึกษาท่ี ประสบความสาเร็จท้ังประเทศสิงคโปร์ และเวียดนาม ต่างให้ความสาคัญกับการพัฒนาการจัดการศึกษาอย่าง จรงิ จังทั้งส้ิน อนั จะส่งผลใหก้ ารจดั การศึกษาของประเทศเกิดการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนต่อไป
111 เอกสารอ้างองิ พิณสดุ า สริ ธิ รงั ศรี. (2556). รายงานการวิจัยและพัฒนา เรื่องรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์. ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน.์ (2553). การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของประเทศจีนและเวียดนาม. พิมพค์ รั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วรัยพร แสงนภาบวร. (2550). รายงานการวจิ ัยเรือ่ ง การกระจายอานาจทางการศึกษาของประเทศญ่ปี ุ่น. กรงุ เทพฯ: สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. วทิ ยากร เชียงกลู . (2553). การสงั เคราะหผ์ ลการวจิ ยั ปฏริ ูปการศึกษาของประเทศ ฟินแลนด์ นวิ ซแี ลนด์ เกาหลใี ต้ สหรฐั อเมรกิ า สหราชอาณาจักร จีน เวยี ดนาม และไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ภาพพิมพ์. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2549ก). รายงานการวิจัยการศึกษาแนวโน้มเพ่ือ การวิจัยและพัฒนาการศึกษาสาหรบั อนาคต. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟคิ จากัด. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2549ข). รายงานการวิจัย เร่ือง การวจิ ยั เปรียบเทยี บ การปฏิรปู การศึกษาประเทศในกลมุ่ อาเซียน. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ. สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2555). รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชกิ องค์กรระดับชาติ. กรงุ เทพฯ : บริษทั พรกิ หวาน กราฟฟิค จากัด.
113 บทท่ี 4 บรบิ ทการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา อโนทัย แทนสวสั ด์ิ การจัดการศึกษา นบั ว่ามบี ทบาทสาคัญและจาเปน็ ในการพัฒนาประเทศให้กา้ วหน้า มีความ ม่ันคง รวมถงึ การมีเสถียรภาพในทุกด้าน สามารถแข่งขนั กบั นานาประเทศได้ หากการจัดการศึกษามีกลไกที่มี ประสิทธิภาพย่อมส่งผลให้คุณภาพการศึกษาเกิดขึ้นโดยส่งผลโดยตรงกับผู้เรยี นซึ่งเป็นผลสะท้อนโดยตรงของ การจดั การศึกษา นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ได้มีการแบ่งตามยุคสมัย โดยมีการจัดการศึกษาไทยแบ่งออกเปน็ 2 ช่วง กล่าวคือ ช่วงที่ 1 การจัดการศึกษาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475-2542 และช่วงท่ี 2 การจัดการศกึ ษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ (พรรณอร อชุ ุภาพ, 2561) ดงั มีรายละเอียดตอ่ ไปน้ี ช่วงท่ี 1 การจัดการศึกษาหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475-2542 ผลจาก การเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. 2475 ไดส้ ่งผลต่อการจัดการศึกษา เพ่อื ใหพ้ ลเมืองมี ความรู้และเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยอย่างจริงจัง อีกท้ังรู้จักคิดหา เหตุผลด้วยตนเอง มีจรรยา มารยาท มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่ท้ิงขนบธรรมเนียมประเพณีไทย รู้จักประกอบอาชีพท่ีเหมาะสม และมุ่ง แก้ไขความผิดพลาดในการรับราชการมาเน้นวิชาชีพ จึงกาหนดแนวการจัดการศึกษาขึ้นมาเรียกว่า แผน การศึกษาชาตแิ ละมคี วามเป็นมาตามลาดบั ดังนี้ 1. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2475 เป็นการวางแนวทางการจัดการศึกษาในสมัยพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสาระสาคัญ ดังนี้ (วิไล ต้ังจิตสมคิด, 2557, น.13-15) (1) ความมุ่งหมายของ การศึกษามุ่งให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาท่ีเหมาะสมกับบุคคลในสายสามัญและสายวิสามัญ (2) การจัดการ ศึกษา เน้นการพัฒนาให้เหมาะสม 3 ส่วน ได้แก่ พุทธิศึกษา จริยศึกษา และพลศึกษา (3) ประเภทการศึกษา แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื สามัญศกึ ษาและวสิ ามญั ศกึ ษา (4) ระดบั การศึกษามี 3 ระดบั คือ ระดับประถมศึกษา แบ่งออก 2 สาย คือ สายสามัญมี 4 ชั้น (ประถมปีท่ี 1-4) และสายวิสามัญมี 2 ช้ัน (ประถมปีท่ี 5-6) ระดับ มัธยมศกึ ษา แบง่ ออก 2 สาย คือ สายสามัญมี 2 ตอน ตอนต้นมี 4 ชนั้ (มธั ยมปีที่ 1-4) และตอนปลายมี 4 ชัน้ (มัธยมปีท่ี 5-8) และสายวิสามัญศึกษา มีตอนเดียว 4 ชั้น (มัธยมศึกษาปีที่ 5-8) และระดับอุดมศึกษาไม่ กาหนดช้นั และ (5) การศึกษาภาคบังคับ มีการบงั คับ 6 ชัน้ ปี กล่าวคอื การเรยี นตอ่ มัธยมสายสามัญต้องเรียน ช้ันประถมปีท่ี 4 แล้วจึงไปต่อช้ันมัธยมปีท่ี 1 หรือถ้าไม่เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาต้องเรียนให้จบช้ันประถมปีท่ี 5-6 ก่อน แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2475 นกั เรียนตอ้ งเสยี เวลาเรยี นในสายสามัญถงึ 12 ปี และยังจะต้องเรียน ต่อในสายวิสามัญอีก ซ่ึงเมื่อรวมด้วยกันแล้วจะเห็นว่าแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2475 กาหนดเวลาเรียน เปน็ เวลานานมากจงึ ไดย้ กเลิก
114 2. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2479 เป็นแนวทางการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีสาระสาคัญดงั นี้ (1) จุดมุ่งหมายทั่วไป เพื่อให้พลเมืองมีความรตู้ ามระบอบ รัฐธรรมนูญ มีการเรียนทั้งสายสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาและเพ่ือการพัฒนาศักยภาพของเด็กให้สมบูรณ์ ท้ังด้านพุทธิศึกษาเน้นด้านความรู้ความสามารถด้านจริยศึกษามีศีลธรรมอันดีและด้านพลศึกษาเน้นความมี สุขภาพร่างกายสมบูรณ์ (2) ระดับการศึกษา มี 5 ระดับ คือ ระดับมูลการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศกึ ษา ระดบั เตรยี มอุดมศึกษาและระดับอุดมศึกษา (3) ประเภทของการศกึ ษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื ประเภทสามัญศึกษา ไดแ้ ก่ การศึกษาวชิ าทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานความรู้ทวั่ ๆ ไป แบ่งการศึกษาออกเปน็ ชน้ั ประถม ปีท่ี 1-4 ช้ันมัธยมต้นปีท่ี 1-3 และ ชั้นมัธยมปีท่ี 4-6 และประเภทอาชีวศึกษา กาหนดให้เรียนเพ่ือให้มีความรู้ สาหรับการประกอบอาชีพ จากสามัญศึกษาทุกช่วงจนสุดประโยคนั้น ๆ (4) การศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็น การศึกษาท่ีต่อจาก ช้ันเตรียมอุดมศึกษา ดังนั้น ผู้ที่สาเร็จชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้วจะต้องเรียนสาเร็จช้ันเตรียม อุดมศึกษาก่อน (5) การศึกษาภาคบังคับจัดอยู่ในชั้นประถมศึกษา 1-4 ท่ีเด็กทุกคนต้องเข้าเรยี นตามกฎหมาย ว่าด้วย การประถมศึกษา และ (6) นโยบายการจัดการศึกษา รัฐอนุญาตให้ส่วนต่าง ๆ จัดการศึกษาได้ เช่น เทศบาล หรอื เอกชน 3. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494 มีสาระสาคัญดังน้ี (วิไล ต้ังจิตสมคิด, 2557,น.17-18) (1) ความมุ่งหมายของการศึกษา ต้องการให้พลเมืองได้รับการศึกษาพอเหมาะกับอัตภาพเป็นพลเมืองดี ร่างกายแข็งแรง อนามัยสมบูรณ์ มีความรู้ความสามารถประกอบอาชีพและจิตเป็นประชาธิปไตย ศึกษาอยู่ใน โรงเรียนจนอายุย่างเข้าปีที่ 15 เป็นอย่างน้อย มีการศึกษาพิเศษกับการศึกษาผู้ใหญ่ด้วย (2) องค์ความรู้ใน การศึกษา ประกอบด้วยจริยศึกษา พลศึกษา พุทธิศึกษา และหัตถศึกษา (3) ประเภท การศึกษา แบ่งเป็น การศึกษาช้ันอนุบาล ประถม มัธยม เตรียมอุดม และอาชีวช้ันสูง อุดมศึกษาและมหาวิทยาลัย และ (4) แนว การจัดการศึกษาของรัฐ ถือเป็นกิจกรรมอันดับแรกของรัฐท่ีสนับสนุน การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และศิลป ศาสตร์ และยอมใหค้ ณะบุคคลหรอื เอกชนจดั การศึกษาไดใ้ นส่วนทต่ี ่ากวา่ อดุ มศึกษา 4. แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2503 นับเป็นคร้ังแรกที่ใช้ช่ือว่าแผนการศึกษา แห่งชาติ โดยจดั ให้สอดคล้องกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ และมีการยกมาตรฐานการศกึ ษาภาค บังคบั ใหส้ ูงข้ึนจากเดิม 4 ปีเป็น 7 ปี และเน้นหตั ถศึกษาเป็นพิเศษ สว่ นการจดั สาย อาชวี ศกึ ษาหรือการศึกษา ระดับต่ากว่าอุดมศึกษาสามารถจัดได้กว้างขวางขึ้นเพ่ือพัฒนากาลังคน ในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งแผนฯ มี สาระสาคญั ดงั น้ี คือ (วไิ ล ต้งั จติ สมคิด, 2557,น.18-19) (1) จดุ ม่งุ หมายของการศึกษา เพ่ือสนองความตอ้ งการ ของสังคมและบุคคลเป็นพลเมืองดี มีศีลธรรมและวัฒนธรรม มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ สุขภาพ สมบูรณ์ มีความเป็นประชาธิปไตย มีจริยธรรม พลศึกษา และหัตถศึกษา (2) ระดับการศึกษา มี 4 ระดับ คือ ระดับอนุบาลศึกษาภาคบังคับจัด 2 ชั้น หรือ 3 ช้ัน หรือจัดชั้นเด็กเล็ก 1 ชั้นในโรงเรียนประถมศึกษา ระดับ ประถมศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ประถมศึกษาตอนต้น 4 ชั้นและประถมศึกษาตอนปลาย 3 ชั้น (3) มัธยมศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย แต่ละส่วนไม่เกิน 3 ชั้น และระดับอุดมศึกษา เป็นการศึกษาวิชาชีพหรือวิชาการศึกษาข้ันสูงและการวิจัย โดยผู้ที่เข้าศึกษาต้อง เป็นผู้ท่ีสาเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญหรือสายอาชีพ (4) การจัดอาชีวศึกษา จัดอยู่ในระดับ
115 มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา สาหรับระดับมัธยมศึกษานั้นจัดให้เรียนท้ังมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา ตอนปลาย (5) การศึกษาภาคบังคับ มีกฎหมายบังคับให้เด็กเรียนอยู่ในโรงเรียนจนกว่าจะพ้นเกณฑ์บังคับ ซ่ึง ในสถานศึกษาของรัฐจะไม่เก็บค่าเล่าเรียน และจัดการศึกษาสงเคราะห์ให้แก่ผู้ท่ีได้รับการยกเว้นในการศึกษา และ (6) แนวการจัดการศึกษา เป็นหน้าที่ของรัฐอันดับแรก สถานศึกษาของเอกชนเป็นไป ตามขอบเขตที่ กฎหมายบัญญัติและจัดในระดับท่ีต่ากว่าอุดมศึกษา และใน พ.ศ. 2512 ได้มีการแก้ไขให้เอกชนจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาได้ นอกจากน้ีมีการสนับสนุนให้มีการศึกษาผู้ใหญ่ การวิจัย ในศิลปวิทยาสาขาต่าง ๆ ให้ สถานศกึ ษาท้ังปวงใช้ผ้สู อนทมี่ ีคุณวฒุ ิหรอื ความชานาญเหมาะสมแต่ละประเภทของระดบั ของการศึกษา 5. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 เป็นการปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาวะ การเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของโลก โดยมีสาระสาคัญดังน้ี (วิไล ตั้งจิตสมคิด, 2557, น.21-22) (1) จุดมุ่งหมายของการศึกษา มุ่งให้ความสาคัญกับการศึกษาในระบบและนอกระบบ อย่างเท่า เทียมกัน (2) มุ่งจัดการศึกษาต่อเน่ืองตลอดชีวิตเพ่ือให้สอดคล้องกับปัจจุบันและความเป็นจริง ของสังคมไทย เหน็ คณุ คา่ ของระบอบการปกครองประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์เป็นประมุข ภาคภูมิใจในวฒั นธรรมไทย รู้จักสทิ ธิ หนา้ ที่ และเสรีภาพในกรอบของกฎหมาย และมคี วามรบั ผิดชอบ ตอ่ ความปลอดภยั ของประเทศชาติ และยึดมั่นในหลักธรรมชาติทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา (3) ระบบ การศึกษาเป็น 6:3:3 คือ ประถมศึกษา มีตอนเดียว 6 ชั้น มัธยมศึกษามี 6 ขั้น แบ่งเป็นมัธยมตอนต้น 3 ช้ัน และมัธยมตอนปลาย 3 ช้ัน การศึกษา ระดับอุดมศึกษามีต้ังแต่ปริญญาตรีถึงปริญญาเอก การศึกษาภาคบังคับเร่ิมเข้าเรียนตั้งแต่อายุย่างเข้าปีที่ 6-8 และมุ่งกระจายอานาจการบริหารสถานศึกษาที่สอดคล้องกับระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจและระบบ สังคมของประเทศ เน้นการผลิตครูที่มีความรู้และมีคุณธรรมยึดมั่นในระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมุข และเนน้ การระดมสรรพกาลงั ทงั้ ภาครัฐและเอกชนรว่ มกนั จดั การศึกษา 6. แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535 ได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาวะการ เปลย่ี นแปลงของสงั คม เศรษฐกจิ และการเมือง โดยวางแนวทางการจดั การศึกษาไว้ 5 ด้าน คอื (1) มีเครือข่าย การเรียนและบริการการศึกษาเพ่ือปวงชน (2) เนื้อหาสาระและกระบวนการเรียน การสอน (3) ครูและ บุคลากรทางการศึกษา (4) การบริหารและการจัดการ และ (5) ทรัพยากรและ การลงทุนเพ่ือการศึกษา โดย การจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 4 หมวด ได้แก่ (วิไล ตั้งจิตสมคิด, 2557, น.23-28) หมวด 1 หลักการและ ความมุ่งหมาย เน้นความสมดุล 4 ประการ คอื ดา้ นปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสงั คม หมวด 2 ระบบการศึกษา ใช้ระบบ 6 : 3 : 3 คือ เรียนระดับประถมศึกษา 6 ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย 3 ปี หมวด 3 แนวนโยบายการศึกษา เพื่อส่งเสริมการศึกษาให้กับทุกกลุ่มทุกคน ให้เอกชนจัด การศึกษาทุกระดับเพ่ิมขึ้น และมีการระดม จัดสรรและใช้ทรัพยากรทางการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและ เป็นธรรม และหมวด 4 แนวทางการศึกษา กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาไว้ 5 ประการ ได้แก่ (1) การจัด เครอื ข่ายการเรยี นรู้ (2) เนอ้ื หาสาระ และกระบวนการเรยี นรู้ (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา (4) การบริหารและ การจัดการ และ (5) ทรัพยากรและการลงทนุ เพือ่ การศึกษา
116 ช่วงที่ 2 การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ นับว่าเป็นกฎหมาย การศึกษาฉบับแรกของประเทศ เป็นการนาเอาแนวคิดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มาเป็น ทิศทางการพัฒนาคน เช่น แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 และกรอบการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) ซงึ่ มีสาระสาคัญดังนี้ 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 เป็นกฎหมายการศึกษาทไี่ ด้ประกาศใช้ใน พ.ศ. 2542 ต่อมาไดแ้ ก้ไข เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 เพื่อวางนโยบาย การจัดการ ศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน โดยกาหนดแนวทางการจัดการศึกษาไว้ 9 หมวด 78 มาตรา สรุปได้ดังนี้ (พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553, : ออนไลน์) หมวด 1 บททั่วไป ประกอบดว้ ย 4 มาตรา กล่าวถึงความมุ่งหมายและหลักการ ดงั น้ี 1.1 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข (มาตรา 6) 1.2 กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเก่ียวกับการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญา เป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ ด้วยตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง (มาตรา 7) 1.3 การจัดการศึกษายึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต โดยสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา รวมทง้ั การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรเู้ ป็นไปอย่างตอ่ เน่ือง (มาตรา 8) 1.4 การจัดโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาต้องมีเอกภาพด้านนโยบายและมีความ หลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอานาจสู่เขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินที่มีมาตรฐานการศึกษาและระบบประกันคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ใน การจัดการศึกษา รวมทั้งการมีสว่ นร่วมของบคุ คล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคม (มาตรา 9) หมวด 2 สิทธแิ ละหนา้ ท่ีทางการศกึ ษา ประกอบด้วย 5 มาตรา 2.1 การจัดการศึกษาต้องให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอภาคกันในการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปีท่ีจัดอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพ ไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยคานึงถึงความสามารถของแต่ละบุคคล รวมทงั้ ผู้บกพร่องทางรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม หรือรา่ งกายพิการ หรือทพุ พลภาพหรือบุคคลท่ี ไมส่ ามารถพ่งึ ตวั เองได้หรือไมม่ ผี ดู้ ูแล ต้องมีสิทธแิ ละโอกาสได้รับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานเปน็ พเิ ศษ (มาตรา 10)
117 2.2 บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลตามความพร้อมของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องคก์ รเอกชน องค์วชิ าชพี สถาบนั สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอื่นมีสิทธิจัด การศึกษาข้ันพื้นฐานและได้รับการสนับสนุนจากรัฐในการอบรมเลี้ยงดู หรือผู้ซึ่งดูแลบุตรเพ่ือการลดหย่อน ภาษหี รือยกเวน้ ภาษสี าหรบั ค่าใช้จา่ ยการศกึ ษา (มาตรา 11-14) หมวด 3 ระบบการศกึ ษา ประกอบด้วย 7 มาตรา ดังนี้ 3.1 การศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย การศกึ ษาในระบบมี 2 ระดบั คอื การศึกษาข้นั พน้ื ฐานและการศึกษาระดับอดุ มศึกษา การศกึ ษาภาค บังคับจานวน 9 ปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่ 7 เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จนอายุย่างเข้าปีท่ี 16 เว้นแตส่ อบไดช้ นั้ ปที ี่ 9 ของการศกึ ษาภาคบังคบั ท่กี าหนดในกฎกระทรวง (มาตรา 15-17) 3.2 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศกึ ษาข้นั พื้นฐานใหจ้ ัดในสถานศึกษา เช่น ศูนยเ์ ด็กเล็ก โรงเรียนและศูนย์การเรียนรู้การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรือ หน่วยงานที่เรียกช่ืออย่างอื่น การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน และสถานประกอบการ โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการ ทงั้ นกี้ ระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนว่ ยงานอ่ืนของรฐั อาจจัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการ และความชานาญของหน่วยงานนั้นได้โดยคานึงถึงนโยบายและมาตรฐาน การศึกษาของชาติ ตลอดจน หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง (มาตรา 18-21) หมวด 4 แนวการจดั การศึกษา ประกอบดว้ ย 9 มาตรา ดงั น้ี 4.1 การศึกษาต้องยึดหลักผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้และถือวา่ ผเู้ รียนมคี วามสาคัญทีส่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็ม ศักยภาพ (มาตรา 22) การศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอ้ งเน้นทง้ั ความรู้ คณุ ธรรม กระบวนการเรยี นรู้และการบูรณาการตามความเหมาะสม เช่น ความรู้เร่ืองเกย่ี วกับตนเองและสังคม ได้แก่ ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่าง ถูกต้อง การประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมีความสุข (มาตรา 23) การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้จัด เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล การฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการและการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหา การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรไู้ ด้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น รักการอ่าน และการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังการปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาและสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัด บรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและการอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความ รอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไป พร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ รวมท้ังการเรียนรู้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุก
118 สถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนา ผเู้ รียนตามศกั ยภาพ (มาตรา 24) 4.2 การดาเนินงานและจัดต้ังแหล่งการเรียนรู้ทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พพิ ธิ ภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสตั ว์ สวนธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศนู ย์การกฬี า และนนั ทนาการ โดยมีแหลง่ ข้อมลู และแหลง่ การเรียนรู้อย่างเพียงพอและมปี ระสิทธิภาพ (มาตรา 25) มกี าร ประเมินผ้เู รียนโดยพจิ ารณาจากพัฒนาการของผ้เู รียน ความประพฤติ การสังเกตพฤตกิ รรม การเรยี น การร่วม กิจกรรม และการทดสอบควบคู่กับกระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรูปแบบ การศึกษาด้วยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย (มาตรา 26) 4.3 คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีหน้าที่กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาเพื่อ ความเปน็ ไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพือ่ การศึกษาต่อ ส่วนสาระของหลักสูตรทั้งท่ีเป็นวิชาการและวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรับผิดชอบต่อสังคม (มาตรา 27) สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องมุ่ง พัฒนาวิชาการวิชาชีพชั้นสูงและการค้นคว้าวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ ทั้งน้ีสถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชนและองค์กรเอกชน เพ่ือส่งเสริมความ เข้มแข็งของชุมชน โดยการจัดการศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสารและการเลือกสรรภูมิ ปญั ญาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการ สนับสนุนให้มกี ารแลกเปล่ียนประสบการณ์และการพฒั นาระหว่าง ชุมชน (มาตรา 28-29) 4.4 กระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ต้องส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพ่ือ พฒั นาการเรียนรู้ทีเ่ หมาะกับผเู้ รียนในแตร่ ะดับการศึกษา (มาตรา 30) หมวด 5 การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา กาหนดแนวทางปฏบิ ตั ิไว้ ดังนี้ 5.1 กระทรวงมีอานาจหน้าที่ส่งเสริมและกากับดูแลการศึกษาทุกประเภท กาหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา และจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มี 4 องค์กรหลัก ได้แก่ สภา การศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา และคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (มาตรา 31-32) 5.2 สภาการศึกษา มหี น้าทีเ่ สนอแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นโยบายและมาตรฐานการศกึ ษาต่อ คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา และคณะกรรมการการ อุดมศึกษาท่ีสอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ รวมท้ังมีการ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศกึ ษาโดยคานงึ ถึงคณุ ภาพและความเป็นเลศิ (มาตรา 33-36) 5.3 การบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ยึดเขตพ้ืนที่การศึกษาโดยคานึงถึงระดับ ของการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามจานวนสถานศึกษา ประชากร วัฒนธรรมและความเหมาะสม ยกเว้นการจัด การศึกษาข้ันพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของสภาการศึกษาเพื่อ กาหนดเขตพื้นท่ีการศึกษา และการแบ่งเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ส่วนการกาหนดให้ สถานศึกษาแห่งน้ันอยู่ในเขตพื้นท่ีการศึกษาใดให้ยึดระดับการศึกษา ของสถานศึกษาน้ันเป็นสาคัญ และ
119 กระทรวงอาจจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดังน้ี (1) การศึกษาข้ันพื้นฐานสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทาง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ (2) การศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีจัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย (3) การศึกษาขั้น พ้ืนฐานสาหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และ (4) การศึกษาทางไกลเพื่อให้บริการในหลายเขตพ้ืนที่ การศกึ ษา (มาตรา 37) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแล จัดต้ัง ยุบรวม หรือเลิก สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา ประสานและส่งเสริมองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นใหส้ ามารถจัดการศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ มาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัวองค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบท่ี หลากหลายในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา คณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษา ประกอบด้วยผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผูแ้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผแู้ ทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู ผแู้ ทนสมาคมผปู้ ระกอบวิชาชีพ บริหาร การศึกษา ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการ ดารงตาแหน่ง และการพ้นจากตาแหน่ง ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงให้ผู้อานวยการสานักงานเขต พ้ืนทีก่ ารศึกษาเปน็ กรรมการและเลขานุการ ส่วนสถานศกึ ษาเอกชนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นวา่ จะอยู่ ในอานาจหน้าที่ของเขตพ้ืนที่การศึกษาใดให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยคานาแนะนาของ คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน (มาตรา 38) 5.4 กระทรวงมกี ารกระจายอานาจการบริหารและจัดการศกึ ษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยตรง และให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ากว่าปริญญาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาทาหน้าที่กากับและส่งเสรมิ สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วยผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กร ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของ สถานศึกษา ผู้แทนพระภกิ ษุ ผู้แทนองค์กรศาสนาอืน่ ในพื้นที่และผทู้ รงคุณวุฒิ ทง้ั นจี้ านวนกรรมการ คุณสมบตั ิ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและตาแหน่งให้เป็นไปตามท่ี กาหนดในกฎกระทรวง ให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ กรรมการและเลขานุการ (มาตรา 39-40) การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิจัดการระดับหน่ึงหรือ ทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของท้องถ่ิน โดยกระทรวงต้องประสานและ ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐานการศึกษา รวมทัง้ การเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนนุ (มาตรา 41-42)
120 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนมีความเป็นอิสระ เป็นนิติบุคคล และมี คณะกรรมการบรหิ ารประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน ผูร้ บั ใบอนญุ าต ผแู้ ทนผู้ปกครอง ผแู้ ทนองค์กร ชุมชนผู้แทนครู ผู้แทนศิษย์เก่าและผู้ทรงคุณวุฒิ สามารถจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา ตามท่ีกฎหมายกาหนด โดยรฐั กาหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจนเก่ียวกบั การมีสว่ นรว่ มของเอกชนในด้าน การศึกษาและให้การสนับสนนุ ด้านเงนิ อดุ หนุน การลดหยอ่ นหรือการยกเว้นภาษีและสิทธิประโยชน์อย่างอ่ืนที่ เปน็ ประโยชน์ในการศึกษาแก่สถานศึกษาเอกชนให้มมี าตรฐานและสามารถพง่ึ ตนเองไดโ้ ดยมีการกากับติดตาม การประเมนิ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของรัฐ (มาตรา43-46) หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศึกษา ประกอบดว้ ย จานวน 5 มาตรา ดังนี้ 6.1 มีระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพนอก (มาตรา 47) โดย ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่าง ต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อ สาธารณชนเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตราการศึกษา เพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก (มาตรา 48) 6.2 ใหส้ านกั งานรับรองมาตราฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา ประเมนิ การจดั การศึกษา ของสถานศึกษาโดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการและแนวการจัดการศึกษาตามที่กาหนดไว้ใน พระราชบญั ญัติฯ และมกี ารประเมินภายนอกทุกแห่งอยา่ งน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี นับต้งั แต่ทาการประเมินคร้ัง สุดท้าย (มาตรา 49) ทั้งน้ี สถานศึกษาต้องให้ความร่วมมือจัดเตรียมเอกสาร หลักฐานต่าง ๆ เก่ียวข้องกับ สถานศึกษา ตลอดจนจัดบคุ ลากร คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมท้ังผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกบั การปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษาตามคาร้องของสานักงานรับรองมาตราฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เพ่อื ประเมินคุณภาพภายนอก (มาตรา 50) 6.3 ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด ให้สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทาข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงาน ต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะท่ีกาหนด หากมิได้ดาเนินการดังกล่าวให้ สานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือคณะกรรมการ อุดมศึกษาเพ่อื ดาเนนิ การในการปรับปรงุ แก้ไข (มาตรา 51) หมวด 7 คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย 6 มาตรา ดังนี้ 7.1 มีระบบการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและ มาตรฐานทีเ่ หมาะสมกับการเป็นวชิ าชีพชั้นสูง โดยการกากับและประสานใหส้ ถาบันที่ทาหนา้ ท่ีผลติ และพัฒนา ครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการเตรียมบุคลากรใหม่ และการพัฒนาบุคลากรประจาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐจัดสรรงบประมาณและจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งเพียงพอ (มาตรา 52)
121 7.2 องค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา (คุรุสภา) มีฐานะเป็น องค์กรอิสระ ภายใตก้ ารบรหิ ารของสภาวิชาชพี ในกากับของกระทรวง มอี านาจหนา้ ที่กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กากับการปฏิบัติตามาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ซ่ึงไม่ใช้บังคับแก่บุคลากรทาง การศึกษาที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้บริหารระดับเหนือเขตพ้ืนที่การศึกษา วิทยากรพิเศษ คณาจารย์ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และผ้บู รหิ ารการศกึ ษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา (มาตรา 53) 7.3 ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษา ของรัฐและระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นข้าราชการในสังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยยึดหลักการกระจายอานาจบริหารงานบุคลากรสู่เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ทั้งน้ีเป็นไปตามที่ กฎหมายกาหนด (มาตรา 54) 7.4. กฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เก้ือกูลอื่น สาหรับ ข้าราชการครูเพ่ือให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพโดยมีกองทุนเสริม คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนงานริเร่ิมสร้างสรรค์ผลงานดีเด่น และเป็น รางวลั เชิดชเู กยี รตคิ ณุ ครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ ไปตามกฎกระทรวง (มาตรา 55) 7.5 การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนามาตรฐานและ จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของข้าราชการหรือพนักงานของรัฐในสถานศึกษา ระดับ ปรญิ ญาท่เี ป็นนิติบุคคลให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตัง้ สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยนา ประสบการณ์ ความรอบรู้ ความชานาญและภูมิปัญญาท้องถ่ินของบุคคลดังกล่าวมาใช้เพ่ือให้เกิดประโยชน์ ทางการศึกษาและยกย่องเชดิ ชูผทู้ ่สี ง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษา (มาตรา 56-57) หมวด 8 ทรพั ยากรและการลงทุนเพอื่ การศกึ ษา ประกอบดว้ ย 5 มาตรา ดงั นี้ 8.1 การจัดระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงินและทรัพย์สินทั้งจากรัฐ องค์กรการปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืนและต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษา สถานศึกษาของรัฐที่ เป็นนิติบุคคลมีอานาจในการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ สถานศึกษา ท้ังที่เป็นราชพัสดุตามกฎหมายว่าด้วยท่ีราชพัสดุและท่ีเป็นทรัพย์สินอื่น รวมท้ังจัดหารายได้จาก บริการของสถานศึกษาและเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา ท่ีไม่ขัดหรือแย้ง กับนโยบายวัตถุประสงค์และภารกจิ หลักของสถานศึกษา บรรดารายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล รวมทั้ง ผลประโยชน์ที่เกิดจากราชพัสดุ เบ้ียปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิด สัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทาของที่ดาเนินการโดยใช้เงินงบประมาณ ให้สถานศึกษาสามารถจัดสรรเป็น ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาน้ัน ๆ ได้ตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด (มาตรา 58-59)
122 8.2 การจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืนของประเทศ เช่น จัดสรรเงินอุดหนุนท่ัวไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลท่ีเหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษา ข้ันพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนที่มา จากครอบครัวท่ีมีรายได้น้อยตามความเหมาะสมและความจาเป็น สอดคล้องกับความจาเป็นในการจัด การศึกษาสาหรับผู้เรยี นท่ีมีความต้องการเป็นพิเศษแตล่ ะกลุ่มตามนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติและ ภารกิจของสถานศึกษา โดยให้มีอิสระในการบริหารงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งน้ีให้คานึงถึง คุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา การจัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนท่ัวไปให้ สถานศกึ ษาระดับอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นนิตบิ ุคคล สถานศกึ ษาในกากับของรัฐหรือองค์กรมหาชน การจดั สรร กองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่า ให้สถานศึกษาเอกชนเพ่ือพ่ึงตนเองได้ การจัดต้ังกองทุนเพ่ือพัฒนาการศึกษาของรัฐ และเอกชนโดยมีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่าย งบประมาณ การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษาและคุณภาพมาตรฐาน การศึกษา โดยหน่วยงานภายในและหนว่ ยงานของรฐั มหี น้าท่ีตรวจสอบ (มาตรา 60-62) หมวด 9 เทคโนโลยีทางการศึกษา ประกอบด้วย 7 มาตรา ดังนี้ 9.1 จัดสรรคลื่นความถี่ ส่ือตวั นาและโครงสร้างพนื้ ฐานอื่นที่จาเปน็ ต่อการสง่ วิทยุกระจายเสียง วทิ ยโุ ทรทศั น์ วทิ ยุโทรคมนาคมและการส่ือสารในรูปอน่ื เพื่อใชป้ ระโยชนส์ าหรับการศึกษาในระบบ การศึกษา นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยให้มีการทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจาเป็น มีการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการ ส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ วัสดุอุปกรณ์และ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา รวมท้งั การพัฒนาขีดความสามารถในการผลติ การจัดให้มเี งินสนับสนุนการผลิตและ มกี ารให้แรงจงู ใจแก่ผ้ผู ลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาอยา่ งเสรีและเป็นธรรม (มาตรา 63-64) 9.2 การพัฒนาบุคลากรท้ังด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพ่ือให้ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อให้ ผู้เรียน มีความรู้และทักษะเพียงพอท่ีจะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่าง ต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ และมีสทิ ธไิ ด้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา (มาตรา 65-66) 9.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการผลิตเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพ่ือให้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรยี นรู้ มีการระดมทุนเพ่ือจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทาน และผล กาไรที่ได้จากการดาเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคมจากทุกฝ่ายท่ี เก่ียวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน รวมท้ังให้มีการลดอัตราค่าบริการเป็นพิเศษในการใช้ เทคโนโลยีดังกล่าว และให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริมและประสานการ วิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมท้ังการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้เทคโนโลยี เพอื่ การศกึ ษา (มาตรา 67-69)
123 การจัดการศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560-2579) การจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579) มุ่งจัดการศึกษาให้คนไทย ทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ โอกาสและความเสมอภาคการศกึ ษาที่มคี ุณภาพ พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาท่ีมี ประสทิ ธภิ าพและพัฒนากาลังคนให้มสี มรรถนะในการทางานที่สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของตลาดงานและ การพัฒนาประเทศ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560ข : ก) ทั้งนี้สืบ เน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงท้ังทางด้านสังคม เศรษฐกิจบนฐานความรู้และการยกระดับมาตรฐาน การครอง ชีพใหส้ งู ขนึ้ ท่ามกลางกระแสการเปลยี่ นแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์สู่การเปล่ียนแปลงท่สี ่งผลต่อสังคมไทย และการศกึ ษาดงั นี้ (สานักนโยบายและแผนงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, 2543, น. 7-8) 1) กระแสเศรษฐกิจเสรีระบบทุนนิยม ส่งผลให้โลกกลายเป็นระบบเศรษฐกิจเดียวกัน และ การให้ความสาคัญกับนโยบายการค้าเสรีมากข้ึน มีการแข่งขันทางการค้าอย่างรุนแรงท่ัวโลก กลุ่มประเทศท่ีมี อานาจตอ่ รองทางเศรษฐกิจสูงยังคงแผ่อานาจทางเศรษฐกจิ และการคา้ เอาเปรียบ ประเทศดอ้ ยอานาจกวา่ แม้ จะมีความพยายามในการจัดระเบียบทางค้าโลกในรอบอุรุกวัย (GATT-Uruguay Round ) และมีการจัดตั้ง องค์การค้าโลก (World Trade Organization, WTO) เพ่ือดูแลการค้าของโลกให้เป็นธรรมขึ้น แต่การแข่งขัน ทางการค้าก็ยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น กลุ่มประเทศที่มีอานาจทางเศรษฐกิจจะสร้างกติกาโลกให้ธุรกิจการค้าเปิด เสรี และใช้กลไกท่ีไม่ใช่ ด้านภาษีศุลกากรมากีดกันการค้ามากข้ึน เช่น การกาหนดมาตรฐานสินค้า มาตรฐาน สาธารณสุข มาตรฐานความปลอดภัย มาตรฐานสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชน ฯลฯ ประเทศต่าง ๆ เร่ิม รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจโดยมุ่งเปิดเขตการค้าเสรีภายในกลุ่มอานาจของรัฐชาติค่อย ๆ เร่ิมลดลงแต่มีการเพ่ิม อานาจรัฐภูมิภาคขึ้น ซ่ึงกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคที่สาคัญ ได้แก่ สหภาพยุโรป (European Union, EU) เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North America Free Trade Area, NAFTA) และกลุ่มความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในเอเชียและแปซิฟิก (Asia Pacific Economic Cooperation, APEC) นอกจากนี้ยังมีการรวมตัว ของกลุม่ เล็ก ๆ ได้แก่ เขตการคา้ เสรอี าเซยี น (ASEAN Free Trade Area, AFTA) แตล่ ะเขตต่างพยายามสร้าง สายสัมพันธ์กับภูมิภาคอื่น ๆ เพ่ือขยายฐานเศรษฐกิจให้ กว้างขวางขึ้น และด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี ทันสมัย ทาให้ระบบเศรษฐกิจมีการจัดการท่ีทันสมัย ด้วยเทคโนโลยี องค์กรธุรกิจมีขนาดเล็กลง ต้นทุนการ ผลิตลดลง ผผู้ ลติ และผู้บริโภคสือ่ สารถึงกนั ไดโ้ ดยตรงไมจ่ าเปน็ ต้องผา่ นคนกลาง 2) กระแสสังคมและการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย การล่มสลายของลัทธิการเมือง สังคม นิยม ส่งผลให้ลัทธิการเมืองค่ายประชาธิปไตยกลายเป็นกระแสโลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายไปท่ัวโลก มีการ เรียกรอ้ งและปกปอ้ งสทิ ธิมนุษยชนโดยเฉพาะสิทธิของเด็ก สตรี และผู้ดอ้ ยโอกาสตามมามากขึ้น มกี ารเรียกร้อง สิทธิทางการเมือง การปกครองตนเอง จนในหลาย ๆ กรณีได้เกิดการต่อสู้ทางการเมือง ในประเทศต่าง ๆ เชน่ สหภาพโซเวยี ต ยูโกสลาเวยี 3) กระแสวฒั นธรรม โดยเฉพาะวฒั นธรรมบริโภคนยิ มของโลกทนุ นยิ มไดแ้ พรก่ ระจายทั่วโลก มากข้นึ โดยผา่ นทางสือ่ มวลชนประเภทตา่ ง ๆ ทง้ั โทรทศั นท์ ี่ส่งผ่านดาวเทยี มหรอื ใยแก้ว
124 4) กระแสส่ิงแวดล้อม การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมได้ส่งผลกระทบต่อดุลยภาพของ ส่ิงแวดล้อม ท่ัวโลก ก่อให้เกิดขบวนการปกป้องและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น กลุ่ม Green peace เพ่ือใหค้ นและธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมสามารถอยรู่ ว่ มกนั ได้อย่างผสมผสานกลมกลืนและเก้ือกูลกนั 5) กระแสวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการผลิตของระบบเศรษฐกิจ ท่ี ใชแ้ รงงาน เขม้ ขน้ ไปสู่การผลติ ที่ใช้ความร้ทู าใหว้ ถิ ีการดารงชวี ิตและรสนิยมของมนุษยเ์ ปล่ียนแปลงไป 6) กระแสข่าวสารข้อมูลและการเรียนรู้จากความก้าวหน้าของการสื่อสารโทรคมนาคมและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้การแสวงหาและการกระจายข่าวสารข้อมูล รวมทั้งการเรียนรู้สะดวกง่ายและ รวดเรว็ ในหลายรูปแบบก่อให้เกิดการแข่งขันกันอย่างรุนแรงเพื่อชิงการได้เปรียบในทางเศรษฐกจิ รวมทั้งความ บาดหมางระหว่างประเทศ เกิดปญั หาเผ่าพันธุ์ ปญั หาความขัดแยง้ ทางวฒั นธรรม นอกจากนก้ี ระแสวัฒนธรรม และข่าวสารข้อมูลที่ขาดการกล่ันกรองไหลผ่านส่ือในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ธุรกิจบันเทิง โฆษณา อาจจะ ก่อให้เกิดวัตถุนิยม บริโภคนิยม ความฟุ้งเฟ้อต่าง ๆ และการครอบงาทางวัฒนธรรมโลกปัจจุบันและอนาคต โดยภาพรวมแล้วจะเป็นโลกแห่งความรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศจะเป็นตัวแปรท่ีสาคัญท่ีสุดในเชิงความ ได้เปรยี บในการแขง่ ขนั เพอื่ การพฒั นาประเทศ ในทกุ ๆ ดา้ น อย่างไรก็ตาม แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมไทยในอนาคตที่สาคัญมี 4 มิติ ดังนี้ มิติท่ี 1 สังคมแห่งปัญญาชน (Intellectual society) ต้องส่งเสริมให้มีความรู้และการเรยี นรู้ ที่เหมาะสม ซ่ึงอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาควรเป็นผู้นาทางความคิด เพราะอยู่ในสถานภาพทางสังคมท่ีสูง สามารถคดิ แก้ปญั หาสงั คมได้มากกวา่ มิตทิ ี่ 2 สังคมวิทยาศาสตร์ (Scientific society) การพัฒนา ประเทศให้ เจริญก้าวหน้าตามตะวันตกน้ัน ต้องอาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือช่วยให้การดาเนินชีวิต ของมนุษย์มคี วามสะดวกสบาย มิตทิ ี่ 3 สังคมแหง่ ความเป็นพลเมืองดี (Civil society) การปฏิบัติตามกฎหมาย และกระบวนการกฎหมายเพ่ือให้พลเมืองมีจิตสาธารณะ มีความเอื้ออาทรต่อเพ่ือนมนุษย์และสามารถ ช่วยเหลือตนเองหรือกลุ่มในการปกป้องผลประโยชน์ของสาธารณะ และมิติท่ี 4 สังคมแห่งนักบุกเบิกทาง เศรษฐกิจและการจัดการ (Entrepreneurial Society) เดิมสังคมไทยยึดติดกับจิตวิญญาณมากกว่าวัตถุนิยม ทาให้สังคมไม่เคลื่อนไหวกลับหยุดน่ิงอยู่กับที่ ไม่มีการเส่ียงภัย ซ่ึงแตกต่างสังคมตะวันตกท่ีมีผู้บุกเบิกทาง เศรษฐกิจและการจัดการ ดังนั้นในปัจจุบันและอนาคตสังคมไทยได้รับอารยธรรมตะวันตกมากข้ึนจึงก้าวไปสู่ สังคมแหง่ นกั บกุ เบกิ ทางเศรษฐกิจและการจัดการ (วชิ ัย ตันศิริ, 2539, น. 143-146) หลักการสาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีสาระสาคญั ดังนี้ 1. ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อเนื่องมาตั้งแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 เพื่อให้เกิด บูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณและมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหาร จดั การความเสยี่ งทด่ี ี ซงึ่ เปน็ เงอื่ นไขจาเปน็ สาหรบั การพัฒนาทย่ี ่ังยนื โดยมงุ่ เน้นการพฒั นาคนใหม้ ีความเป็นคน ทสี่ มบรู ณ์ สังคมไทยเป็นสงั คมคุณภาพ สร้างโอกาสและมีท่ียนื ได้ดาเนนิ ชวี ติ ทดี่ ีมีความสขุ และอยูร่ ่วมกันอย่าง สมานฉันท์ ในขณะท่ีระบบก็เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพและมีเสถียรภาพ การกระจายความม่ังคั่ง
125 อย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม เป็นการเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ชุมชน วถิ ชี ีวติ ค่านยิ ม ประเพณีและวฒั นธรรม 2. ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะท่ีพัฒนาคนให้มีความ เปน็ คนทส่ี มบรู ณ์มีวินัย ใฝร่ ู้ มคี วามรู้ มที ักษะ รับผิดชอบตอ่ สังคม มจี ริยธรรมและคุณธรรม พฒั นาคนทุกช่วง วัยและเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับ สงิ่ แวดล้อมอย่างเก้ือกูล 3. ยึดวิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ฉบับที่ 12 ที่ว่า “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคงั่ ยัง่ ยนื เป็นประเทศท่ีพัฒนาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” อนั เปน็ คติพจน์ ประจาชาติว่า “มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” ที่สนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ ได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตยและ บรู ณภาพแห่งเขตอานาจรัฐ การดารงอยอู่ ยา่ งม่ันคงย่งั ยืนของสถาบันหลักของชาติ การอยรู่ ่วมกันในชาติอย่าง สันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความม่ันคงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคมอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความย่ังยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความม่ันคงทางพลังงาน อาหารและน้า สามารถรักษาผลประโยชน์ของชาติ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอ้ มระหว่างประเทศและการอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติ ประสานสอดคล้อง กันดา้ นความมน่ั คงในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลกอย่างมีเกยี รติและศักดิ์ศรี ประเทศไทยไม่เป็นภาระ ของโลกและสามารถเกอื้ กูลประเทศที่มีศักยภาพทางเศรษฐกจิ ดอ้ ยกว่า 4. ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทย พ.ศ. 2579 ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีมาเป็นกรอบ ของการพัฒนาดังนี้ เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและย่ังยืน บนฐานการพัฒนาที่มีความ เหลื่อมล้าน้อย คนไทยเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เป็นพลเมืองที่มีวินัย ต่ืนรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีความรู้ มีทักษะและทัศนคติท่ีเป็นค่านิยมที่ดี มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ มีความเจริญเติบโตทาง จติ วิญญาณ มีจิตสาธารณะ มคี วามเปน็ พลเมืองไทย พลเมอื งอาเซียน และพลเมอื งโลก ประเทศไทยมบี ทบาท ที่สาคัญในเวทีนานาชาติ ระบบเศรษฐกิจตั้งอยู่บนฐานของการใชน้ วตั กรรมดิจทิ ัล สามารถแข่งขันในการผลติ ได้และค้าขายเป็น เป็นสังคมประกอบการ มีฐานการผลิตและบริการท่ีมีคุณภาพ เป็นท่ีต้องการในตลาดโลก เป็นฐานการผลิตและบริการที่สาคัญ เช่น การให้บริการคุณภาพท้ังด้านการเงิน ระบบโลจิสติกส์ บริการด้าน สุขภาพ และท่องเท่ียวคุณภาพ เป็นครัวโลกที่มีคุณภาพและปลอดภัย เป็นฐานอุตสาหกรรมและบริการ อัจฉริยะ ท่ีเป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคตท่ีใช้นวัตกรรม ทุนมนุษย์ทักษะสูงและเทคโนโลยีอัจฉริยะมาต่อยอด ฐานการผลิตและบริการท่ีมีศักยภาพ ในปัจจุบันและพัฒนาฐานการผลิตและบริการใหม่ ๆ เพ่ือให้ระบบ เศรษฐกจิ สงั คม และประชาชน มคี วามเป็นอัจฉรยิ ะ 5. ยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหล่ือมํล้าและขับเคล่ือนการเจริญเติบโต จากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม เพื่อมุ่งเน้นการสร้าง ความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีครอบคลุมทั่วถึง เพ่ิมขยายฐานกลุ่มประชากรช้ันกลางให้กว้างข้ึน โดยเพิ่มผลิต ภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปญั ญา และการพัฒนานวัตกรรม อันเป็นหัวใจสาคัญ ในการขับเคล่ือนการ
126 พัฒนาทกุ ภาคส่วนในสังคมไทย ขยายฐานคนชนั้ กลาง การสร้างสงั คมท่ีมีคณุ ภาพ มธี รรมาภิบาล และเป็นมิตร ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม 6. ยึดหลักการให้ความสาคัญกับการใช้กลไกประชารัฐท่ีเป็นการรวมพลังขับเคลื่อนจากทั้ง ภาครัฐ เอกชนและประชาชนให้สามารถดาเนินการให้เกิดข้ึนอย่างมีผลสัมฤทธ์ิภายใต้กรอบการจัดสรร งบประมาณ การติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดินและการติดตาม ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการตามจุดเน้นในการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีในระดับสาขาการผลิตและบริการ และจังหวัดที่เป็นจุด ยุทธศาสตร์สาคญั ในด้านตา่ ง ๆ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) มีแนวทางเพ่ือให้เกิดผลท่ีชัดเจน ในการจัดการศึกษาไว้ 4 ประการสาคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ โดยกาหนดแนวปฏิรูปไว้ 2 ประการ คือ ประการแรก การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้ท่ีได้มาตรฐาน เช่น มีระบบเรียนรู้และการ วัดประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นมาตรฐาน และประการที่สอง การผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีคุณภาพทั้ง สมรรถนะและความรู้ความสามารถโดยพัฒนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualification Framework) เน้นการปฏิบัติในสัดส่วนมากกว่าทฤษฎีและการเรียนรู้งานอาชีพ จะเห็นได้ว่ารัฐบาลได้พยายามขับเคลื่อน นโยบายในการพัฒนาผู้เรียน เช่น โครงการลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ ซึ่งมีเป้าหมายขับเคล่ือนนโยบายเพ่ือเพม่ิ เวลารู้ลงสู่การปฏิบัติของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการ เรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้นและผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ มี ความสุขในการเรียนรู้อย่างแท้จริง (2) การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ ท่ีมีระบบประกันและรับรองคุณภาพ มาตรฐานวิชาชีพครูและสถาบันผลิตครูสาหรับการอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่เชื่อมโยงความสามารถในการ สอน รวมทั้งการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมผลผลิตเชงิ พาณิชย์ การพัฒนาครูต้องเช่อื มโยงความสามารถในการ จัดการเรียนการสอนและเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ (3) การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่ง เรียนรู้ยุคใหม่เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตและมีคุณภาพ รวมทั้งสร้าง สภาพแวดล้อมของชุมชนเพื่อเอ้ือต่อการศึกษาและเรียนรู้ และการระดมทรัพยากรบุคคล เช่น ภูมิปัญญา ท้องถ่นิ ปราชญ์ชาวบ้านและผู้ทรงคุณวุฒิ และ (4) การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการใหม่ เน้นการกระจาย อานาจการจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา พัฒนาระบบบริหารตามเขตพื้นท่ีการศึกษาและองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่นเพือ่ สรา้ งความเข้มแขง็ และความพร้อม และมีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล สรุปได้ว่า ในการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบันนั้น ตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาข้ันประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับช้ัน) การศึกษาข้ันมัธยมศึกษา ตอนต้น 3 ปี (3 ระดับช้ัน) และการศึกษาข้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับช้ัน) หรอื ระบบ 6-3-3 นอกจากนั้นระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียนการศึกษานอก ระบบโรงเรียน และ การศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่ พิจารณาแบ่งแยก การศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาใน
127 ระบบ การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการ เรียนการสอนท่ี ภาษาอังกฤษใช้คาว่า \"Modes of learning” ฉะน้ัน แนวทางใหม่คือสถานศึกษาสามารถจัด ได้ท้ัง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่า การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย คอื (1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของการศึกษา การวดั และการประเมินผล ซึ่งเปน็ เง่อื นไขของการสาเรจ็ การศึกษาท่ีแนน่ อน (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัด การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเง่ือนไขสาคัญของการสาเร็จ การศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ บคุ คลแต่ละกลมุ่ (3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอ้ มและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดลอ้ ม หรอื แหลง่ ความรู้อ่ืนๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหน่ึงหรือท้ังสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอน ผลการเรียนท่ี ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจาก สถานศึกษาเดียวกัน หรือไม่ก็ตาม รวมท้ังจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจาก ประสบการณก์ ารทางาน การสอน และจะส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาจดั ไดท้ ้ัง 3 รปู แบบ การศกึ ษาในระบบมสี องระดบั คือ การศึกษาข้ันพื้นฐานและการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา 1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซ่ึงจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน ระดับอดุ มศึกษา การ แบ่งระดบั และประเภทของการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ใหเ้ ปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือ การเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง การศกึ ษาในระบบท่ีเปน็ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานแบ่งเปน็ 3 ระดบั 1) การศึกษากอ่ นระดบั ประถมศกึ ษา เปน็ การจดั การศกึ ษาให้แก่เด็กทม่ี ีอายุ 3 - 6 ปี 2) การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา โดยปกตใิ ชเ้ วลาเรยี น 6 ปี 3) การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา แบ่งเปน็ สองระดับ ดังน้ี - การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ โดยปกตใิ ชเ้ วลาเรยี น 3 ปี - การศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยปกตใิ ช้เวลาเรยี น 3 ปี แบ่งเปน็ สองประเภท ดังนี้ 1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อใน ระดับอดุ มศกึ ษา 2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบ อาชพี หรือ ศึกษาตอ่ ในระดบั อาชพี ชัน้ สูงตอ่ ไป
128 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบง่ เปน็ สองระดับ คอื ระดบั ต่ากวา่ ปรญิ ญาและระดบั ปริญญา การใช้ คาวา่ \"อดุ มศกึ ษา\" แทนคาวา่ \"การศกึ ษาระดับมหาวทิ ยาลยั \" กเ็ พ่อื จะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับ ประกาศนยี บตั รหรอื อนุปรญิ ญา ที่เรียนภายหลงั ท่ีจบการศึกษาขั้นพ้นื ฐานแล้ว ท้ังนี้การศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปีโดยให้เด็กซ่ึงมีอายุย่างเข้าปีท่ีเจ็ดเข้าเรียนใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจน อายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์ และวิธีการนับอายใุ หเ้ ป็นไป ตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง การศึกษาภาคบังคับน้ันต่างจากการศึกษาข้ันพ้ืนฐานซ่ึงการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่บังคับให้ ประชาชนต้องเข้าเรียน แต่เป็นสิทธ์ิของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็น หนา้ ทีข่ องพลเมืองตาม มาตรา 69 ของรัฐธรรมนญู จากแนวคิดที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า การจัดการศึกษาของไทยมีการปรับปรุงให้ทันสมัย เพ่ือพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ดังนั้นหากผู้ทาหน้าท่ีในการ บริหารประเทศเปน็ ผู้มีความรูค้ วามสามารถ รวมถึงการมีวิสยั ทศั น์ในการบริหารการศึกษาอย่างจริงจงั รวมถึง มีความซื่อสัตย์ จริงใจย่อมส่งผลให้การจัดการศึกษาของประเทศมีความเข้มแข็งและพัฒนาต่อไปอย่างไม่ หยดุ ย้ัง ในบทนี้ขอนาเสนอตัวอย่างของรูปแบบการจัดการศึกษาท่ีเปน็ การศึกษาทางเลือก การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั การศึกษาทางเลอื ก การศึกษาทางเลือก (Alternative Education) เป็นอีกรูปแบบหน่ึงของระบบการจัด การศกึ ษาในประเทศไทยที่มีท้งั การศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย สาหรบั การจัดการศึกษาระดับ ขั้นพ้ืนฐานสาหรับเด็กกลุ่มเป้าหมายเฉพาะของสถาบันสังคม (บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันศาสนาและสถาบันทางสังคมอื่น) (สานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2560ก) การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรา 3 พระราชบัญญัติน้ีไม่ใช้บังคับกับการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยซึ่งดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนตาม กฎหมายท่ีเกยี่ วกับสถาบนั อุดมศึกษาทีไ่ ด้บญั ญัติไว้แลว้ ในมาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ ประกอบด้วย การศึกษานอกระบบ หมายถึง กิจกรรมการศึกษาที่มีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและ วัตถุประสงค์ของการเรียนรทู้ ่ีชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรยี นหรือฝึกอบรมที่ยดื หยนุ่ และหลากหลายตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายนั้นและมีวิธีการวัดผล และประเมินผลการเรียนร้ทู ม่ี ีมาตรฐานเพือ่ รบั คณุ วฒุ ิทางการศึกษาหรอื เพ่ือจดั ระดับผลการเรียนรู้
129 การศึกษาตามอธั ยาศัย หมายถงึ กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจาวันของบุคคล ซึง่ บุคคล สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อมและ ศักยภาพในการเรียนรขู้ องแต่ละบคุ คล สถานศึกษา หมายความวา่ สถานศกึ ษาทีจ่ ดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย “ภาคีเครือข่าย” หมายความว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและองค์กรอ่นื รวมทัง้ สถานศึกษาอื่น ที่มิได้สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีส่วนร่วมหรือ มีวัตถุประสงค์ ในการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั นอกจากนี้ยังกล่าวถึงใน มาตรา 5 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาให้ บุคคลได้รับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติ โดยให้บุคคลซ่ึงได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไปแล้วหรือไม่ก็ตามมีสิทธิได้รับการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยได้แล้วแต่กรณี ท้ังน้ีตามกระบวนการและการ ดาเนินการทไ่ี ด้บญั ญตั ิไว้ในพระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา 6 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ยึด หลักดังตอ่ ไปน้ี (1) การศกึ ษานอกระบบ (ก) ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง ทั่วถึง เป็นธรรม และมคี ณุ ภาพเหมาะสมกับสภาพชีวติ ของประชาชน (ข) การกระจายอานาจแกส่ ถานศึกษาและการให้ภาคเี ครอื ข่ายมีสว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรู้ (2) การศกึ ษาตามอธั ยาศัย (ก) การเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้เรียน ทุก กลุ่มเปา้ หมาย (ข) การพัฒนาแหล่งการเรียนรใู้ หม้ ีความหลากหลายทั้งสว่ นท่ีเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ส่วนท่ีนาเทคโนโลยมี าใช้เพื่อการศกึ ษา (ค) การจัดกรอบหรือแนวทางการเรยี นรูท้ เี่ ปน็ คุณประโยชน์ต่อผ้เู รยี น มาตรา 2 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบให้ดาเนินการเพ่ือเป้าหมายในเร่ือง ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ประชาชนไดร้ ับการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ืองเพื่อพัฒนาศักยภาพกาลงั คนและสงั คมทใ่ี ชค้ วามรู้ และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนาท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความมั่นคงและคุณภาพชีวิต ท้ังนี้ ตามแนวทางการพฒั นาประเทศ
130 (2) ภาคีเครอื ข่ายเกดิ แรงจูงใจและมีความพร้อมในการมีสว่ นร่วมเพ่ือจัดกิจกรรมการศกึ ษา มาตรา 8 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัยให้ดาเนินการเพ่ือเป้าหมายใน เรอ่ื งดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ผเู้ รยี นไดร้ ับความรู้และทักษะพ้ืนฐานในการแสวงหาความรทู้ ่ีจะเอ้ือต่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ (2) ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระท่ีสอดคล้องกับความสนใจและความจาเป็นในการยกระดับคุณภาพ ชวี ติ ทั้งในด้านการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม (3) ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์และเทียบโอนผลการเรียนในระบบและ การศึกษานอกระบบ มาตรา 9 ใหก้ ระทรวงศึกษาธิการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาการศกึ ษาตามอธั ยาศัยโดย ใหค้ วามสาคญั แก่ผเู้ ก่ยี วข้องตามบทบาทและหนา้ ทด่ี ังต่อไปน้ี (1) ผู้เรียน ซึ่งเป็นผู้ท่ีได้รับประโยชน์ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้เลือกรับบริการได้ หลากหลายตามความต้องการของตนเอง (2) ผู้จัดการเรียนรู้สาหรับการศึกษานอกระบบและผู้จัดแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัยมีการ ดาเนินการที่หลากหลายตามศักยภาพเพื่อตอบสนองความต้องการโดยบูรณาการความรู้ ปลูกฝังคุณธรรมและ คา่ นยิ มทด่ี ีงาม (3) ผู้ส่งเสริมและสนับสนุน ซึ่งเป็นผู้ท่ีเอ้ือประโยชน์ให้แก่ผู้เรียนและมีการดาเนินการท่ี หลากหลายเพอ่ื ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนื่อง มาตรา 10 เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ส่วนราชการ หนว่ ยงานของรฐั ท่เี กีย่ วข้องและภาคเี ครือข่ายอาจดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุน ในเร่อื งดงั ตอ่ ไปนี้ (1) สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาท่ีจาเป็นสาหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยและการชว่ ยเหลือด้านการเงินเพอื่ การจดั การศึกษานอกระบบ (2) การจัดการศึกษา การพัฒนาวิชาการและบุคลากร การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเพื่อ การศึกษาและการยกย่องประกาศเกียรติคุณสาหรับผู้จัดการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย (3) สิทธิประโยชนต์ ามความเหมาะสมให้แกผ่ สู้ ง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษานอกระบบ (4) การสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนของการศึกษาตาม อธั ยาศยั สามารถเขา้ ถงึ ได้ตามความเหมาะสม (5) ทรัพยากรอื่นที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการเพ่ือให้บุคคลและชุมชนได้เรียนรู้ตามความ สนใจและความต้องการทส่ี อดคล้องกับความจาเป็นในสังคมของการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรา 11 เพ่ือประโยชน์ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ให้สว่ นราชการและหนว่ ยงานของรฐั ที่เกย่ี วข้องร่วมมือกบั ภาคีเครอื ข่ายเพื่อดาเนินการ ดังต่อไปน้ี
131 (1) จัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือการเรียนรู้ เช่น แหล่งการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนชุมชน ส่ือ และเทคโนโลยีท่ีหลากหลายเพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นมโี อกาสเข้าถึงการเรียนรู้ (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของภาคีเครือข่าย เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและการ พัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง (3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่าย ได้รับโอกาสในการจัดสรรทรัพยากรและเข้าถึง แหล่งเงนิ ทนุ เพ่ือการดาเนนิ งาน มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี ให้คณะกรรมการมีอานาจ หนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปน้ี (1) กาหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ท่ีสอดคลอ้ งกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2) กาหนดแนวทางการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศเพ่ือการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (4) เสนอแนะต่อรัฐมนตรีในการจัดทาและการพัฒนาระบบการเทียบโอนผลการเรียนจาก การเรยี นร้ใู นการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (5) ปฏิบัติงานอื่นใดตามท่ีพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการหรอื ตามทีค่ ณะรฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา 14 ให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยข้ึนใน สานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน.” โดยมีเลขาธิการ สานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เรียกโดยย่อว่า “เลขาธิการ กศน. ซึ่งมีฐานะเป็น อธบิ ดีและเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ พนักงานและลกู จา้ งและรบั ผิดชอบการดาเนนิ งานของสานักงาน สานักงานมอี านาจหน้าที่ดังตอ่ ไปน้ี (1) เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และรับผิดชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ (2) จัดทาข้อเสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ต่อคณะกรรมการ (3) ส่งเสริม สนับสนุนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การพัฒนา หลกั สตู รและนวัตกรรมทางการศึกษา บคุ ลากรและระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีเกย่ี วข้องกบั การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย (4) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ และการเทียบระดับการศกึ ษา
132 (5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ องค์กรอื่นรวมตัว กันเป็นภาคีเครือข่ายเพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อธั ยาศัย (6) จัดทาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การ เรียนชุมชนและแหล่งารเรียนรู้อ่ืน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเน่ืองของ ประชาชน ห้องสมดุ ประชาชน (7) ดาเนินการเกี่ยวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดานินงานการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (8) ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่บัญญัติให้เป็นอานาจหน้าท่ีของ สานกั งาน หรือตามท่รี ัฐมนตรมี อบหมาย มาตรา 15 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดทุกจังหวดั ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ในกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ ปลัด กรุงเทพมหานคร เลขาธิการ กศน. ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ผู้แทน กระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงแรงงาน ผูแ้ ทนกระทรวงสาธารณสุข และผทู้ รงคุณวฒุ ิ ซงึ่ รฐั มนตรีแต่งตั้ง จานวนแปดคนเป็นกรรมการ ซ่ึงในจานวนนี้จะต้องแต่งต้ังจากผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชน ที่เก่ียวข้องกับงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจานวนไม่น้อยกว่าห้าคน และให้ ผู้อานวยการสานักงาน กศน. กทม. เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร (2) ในจังหวัดอนื่ ให้มคี ณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวัด เกษตรจังหวัด แรงงานจังหวัด พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด นายกองค์ ผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังจานวนแปดคนเป็น กรรมการ ซึ่งใน ในภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องกับงานการศึกษานอกระบบและการศึกษ จานวนไม่น้อยกว่าห้าคน และให้ผูอ้ านวยการสานักงาน กศน. คุณสมบัติ วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและการ ประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเร่ือง แนวทางการจัดการศึกษาทางเลือกเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายประเทศไทย 4.0 (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560ก) นั้น ได้องค์ ความร้ขู องการจดั การศึกษาทางเลือกโดยรวม ดงั น้ี
133 1. กระบวนการท่ีจะทาให้เด็กต้นพบศักยภาพตนเองด้วยวิธีการท่ีหลากหลายสอดคล้องกับ เพศ วัย วัฒนธรรม เป็นหัวใจและจุดเร่ิมต้นของการจัดการศึกษาให้กับเด็ก/ผู้เรียน โดยมีหลักการ/ กระบวนการท่ี สาคัญมากมายตามบริบทของผู้เรียนรายบุคคลรวมทั้งต้นทุนทางสังคมวัฒนธรรมและ ส่ิงแวดลอ้ มของผเู้ รยี น - ครู/ผู้จัดการศึกษา/สถานศึกษาต้องมีหลักคิดพ้ืนฐานที่จะต้องเคารพความเป็นมนุษย์ซ่ึง ธรรมชาติ มคี วามแตกต่างหลากหลายตามบริบทนิเวศ วัฒนธรรม เชอ้ื ชาติ เผ่าพนั ธฯ์ุ ลฯ - กระบวนการทีจ่ ะต้องฟงั เดก็ ดว้ ยหัวใจไม่ใชฟ่ งั แตเ่ สียงและการแสดงออกทางกายภาพ - กระบวนการสงั เกต \"แวว\" หรือ \"ศกั ยภาพ” ที่อยใู่ นตัวเด็กให้เจอด้วยความอดทนและให้ โอกาสและเวลาแกเ่ ด็กในการแสดงออก - ครู/ผู้จัดการศึกษาต้องมีสมุดบันทึกกระบวนการเรียนรู้และบันทึกต้นทุนชีวิตของเด็ก รายบคุ คลโดยการมสี ว่ นร่วมของผเู้ รียน ผู้ปกครองและผูเ้ ก่ยี วขอ้ งอืน่ ๆ 2. กระบวนการให้เด็กได้เรียนรู้เต็มศักยภาพ เป็นกระบวนการสาคัญอีกประการหนึ่งท่ีครู/ ผู้จัดการ ศึกษาและสถานศกึ ษาจะต้องดาเนนิ การในการระดมทรพั ยากรตา่ งๆ มาหนนุ เสรมิ ทกั ษะกระบวนการ เรียนรู้ให้ เด็ก/ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มศักยภาพ เช่น ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะการแสวงหาคาตอบ ทกั ษะการสร้างความรู้ใหม่ ทักษะการคดิ ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะการงานอาชีพ เปน็ ต้น 3. การศึกษาเพื่อสร้างเสริมผู้เรียนให้เป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคมบนฐานชุมชนท้องถ่ิน ธรรมชาติ และวัฒนธรรม ในการสร้างความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืนให้กับตนเอง ชุมชนและประเทศชาติไป พร้อมกัน ซึ่งเป็นการยกระดับแนวความคิดสิทธิเชิงซ้อนทางการศึกษาและการพัฒนาสังคมท่ีมีทักษะวิธีการ และเป็น นวัตกรรมของผู้ประกอบการยุค 4.0 ท่ีพัฒนารายได้เพื่อตนเองและแบ่งปนั ชุมชน สังคมและเป็นมิตร กบั สิ่งแวดล้อมอยา่ งเปน็ ธรรมและเขม็ แข็งไปพรอ้ มกัน 4. การระดมพลังปัญญาด้วยการประสานพลังพหุภาคีในการสร้างกระบวนการพหุปัญญาบน ฐานพหุ วัฒนธรรมและธรรมชาติ คือ รากฐานและกระบวนการจัดการการศึกษาท่ีมั่นคงและย่ังยืน ซึ่งตอบ โจทยท์ ี่ว่า การศกึ ษาเป็นเรื่องของทกุ คน ทุกเพศ วัย และทกุ ระดบั และเกดิ ขน้ึ ไดท้ ุกหนทุกแหง่ ทุกเวลาตั้งแต่อยู่ ในครรภ์ จนถึงเชิงตะกอน 5. การสร้างสรรค์และพัฒนาสถานศึกษา ชุมชน สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ครอบครัว สถานที่ ทางานให้เหมาะสมกับผู้เรียนท่ีจะยกระดับการเรียนรู้ในส่ิงที่ใกล้ตัวและขยายเชื่อมโยงไปสู่สิ่งท่ี กว้างไกล หลากหลายซับซ้อนมากขึ้นเพื่อที่จะเติบโตพร้อมเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ของชุมชน ทอ้ งถน่ิ ภมู ิภาค ประเทศชาติ อาเซยี นและของโลก 6. แนวคิดการศึกษาทางเลือกบนฐานนิเวศการเรียนรู้ซึ่งเป็นเครือข่ายความสัมพันธ์ของชีวิต และ บริบทแวดล้อมท่ีโยงใยกันไว้ด้วยข่ายใยของการเรียนรู้ ระบบนิเวศการเรียนรู้หนึ่งๆจึงมีท้ังธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตของผู้คนภูมิสังคม ภูมิวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ประวัติศาสตร์ การผลิต สัมมาชีพและองค์ รวมท้ังหมดแห่งการดารงชีวิตของผู้คนและสังคมถ่ินฐาน ภายในระบบนิเวศธรรมชาติคือความหลากหลาย
134 สมดุล งอกงามและยั่งยืน ภายในระบบนเิ วศการเรียนรู้คือการเคารพต่อองค์รวมทั้งหมดแหง่ การดารงชวี ิตของ ผ้คู นและสงั คมถนิ่ ฐานเพ่อื นาไปสู่การพฒั นาท่ยี ่งั ยืนและภูมิทัศน์การเรยี นรซู้ ่ึงเปน็ ภาพรวมของพ้นื ที่การ เรียนรู้ ร่วมของมนุษย์พ้ืนท่ีใดพ้ืนที่หน่ึงที่รับรู้ด้วยสายตา(Co-Learning Space: CLS) และพ้ืนที่ร่วมของ เครือข่าย มนุษย์ที่โยงใยในระบบนิเวศการเรียนรู้และพื้นที่การเรียนรู้ต่างๆเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้(Co Learning Commนnity) ท่ีมีทั้งเชื่อม/ร่วม/ผสาน/ถักทอ/ข้าม/ตัด/ถ่วงดุลกันอย่างสมดุลและเหมาะสม คือ นวัตกรรม การศึกษาไทย จากที่กล่าวมาข้างต้นน้ัน จะเห็นได้ว่า ท้ังในพระราชบัญญัติการศึกษาการส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงงานวิจัยดังกล่าวข้างต้นน้ัน มีการส่งเสริมสนับสนุนในเร่ืองของ การศึกษาที่ครอบคลุมความต้องการและความจาเป็นของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันไปตามบริบทของสังคม เศรษฐกิจและสภาพแวดลอ้ ม
135 เอกสารอา้ งอิง พรรณอร อุชุภาพ. (2561). การศกึ ษาและวิชาชพี คร.ู กรุงเทพฯ : สานักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ราชกิจจานุเบกษา. (2551). พระราชบัญญัติการศึกษาการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั . เลม่ 125 ตอนที่ 41 ก 3 มีนาคม 2551 วิชยั ตนั ศิริ. (2539). โฉมหนา้ การศึกษาไทยในอนาคต : แนวคดิ และเน้ือหาวเิ คราะห.์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิไล ต้ังจิตสมคิด. (2557). ความเป็นครู. พมิ พ์ครงั้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์. สานักนโยบายและแผนงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. (2543). หัวใจของการปฏริ ปู การศกึ ษาตาม แนวพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560ก). แนวทางการจดั การศกึ ษาทางเลือกเพอ่ื ยกระดับคุณภาพ ผเู้ รียนตามนโยบายประเทศไทย 4.0. รายงานการวจิ ยั . กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธกิ าร. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ข). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟิค.
137 บทท่ี 5 การเปลยี่ นแปลงการศึกษาตามบริบท อโนทยั แทนสวัสดิ์ การศึกษาในปัจจุบันน้ันทั้งในส่วนของการจัดการศึกษาเกิดการเปล่ียนแปลงทั้งในส่วนของ ตัวผู้เรียน ผู้สอน นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนและสภาพแวดลอ้ มซึ่งประกอบด้วยสังคม เศรษฐกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงาน ส่ิงต่างๆ เหล่านี้มีบทบาทและมีอิทธิพลอย่างมาก ในการจัดการศึกษาของไทยท่ีผ่านมา จากอดีตจนถึงปัจจุบันนั้น พบว่า การหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการศึกษาไทยน้ัน ต้องเร่ิมจากการปฏิรูป การศกึ ษาก่อน ทัง้ นี้สืบเนอื่ งจากการปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษทส่ี อง (พ.ศ.2552-2561) สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภา การศึกษาได้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาโดยพบปัญหาที่ต้องเร่งปรับปรุงแก้ไขและสานต่อ หลายด้านในส่วนท่ีเป็นบริบททางการศึกษาได้สรุปไว้ดังน้ี (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2552 อ้างถึงใน สมหมาย ปวะบุตร, 2558) ปัญหาการศึกษาท่ีพบจากการปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษท่ี 2 1) ด้านการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน และสถานศกึ ษา 1) สถานศึกษาขั้นพื้นฐานไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของ สมศ.รอบแรกถึง ร้อยละ 65 (จากสถานศึกษา 3 หม่ืนแห่งท่ัวประเทศ) และต่อมามีการประเมินรอบสองอีก ก็ยังมีสถานศึกษาท่ีต้องได้รับการ พฒั นาอีกถงึ ร้อยละ 20.3 2) สัมฤทธผิ ลการเรียนของนักเรยี นในวชิ าหลัก มีคา่ เฉลยี่ ตาํ่ กว่าร้อยละ 50 3) ผู้สําเร็จอาชีวศึกษาและอุดมศึกษามีความสามารถและสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของผใู้ ช้ และขาดทักษะความร้พู นื้ ฐานทจี่ ําเปน็ 2) ด้านการผลิตและพัฒนาครูอาจารย์ 1) นโยบายจํากัดอัตราคนภาครัฐและมาตรการจูงใจให้ครูออกก่อนเกษียณ (ปี 2543- 2549) มี ผลให้วงการการศกึ ษาตอ้ งสญู เสียอตั ราครไู ปถึง 53,948 อัตรา 2) บณั ฑติ ครุศาสตร/์ ศกึ ษาศาสตร์บางส่วนจบแล้วไม่เปน็ ครูอาจารย์ 3) ครูสอนไมต่ รงวฒุ ิ 4) ขาดแคลนครใู นบางพน้ื ที่
138 5) ในอนาคตอีกประมาณ 5-10 ปี จะมีครูประจําการเกษียณมากกว่าร้อยละ 50 จําเป็นต้องมี การเตรยี มวางแผนผลิตครูรองรบั 6) การคัดเลือกบุคคลมาเป็นครู พบว่าผู้เข้าเรียนคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ แม้จะมี จํานวน มาก แตส่ ว่ นใหญ่มกั จะเลือกเรยี นไว้เป็นอนั ดบั ทา้ ยๆ เป็นความจําเปน็ ต้องเรียนดงั นัน้ จึงไมไ่ ด้คนเกง่ และมใี จรักมา เปน็ ครู 7) ด้านการพฒั นาครู ขาดระบบการพฒั นาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพต่อเน่ือง ขาดการดูแลเอาใจใส่ 3) ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและจัดการศึกษาและการส่งเสริมการมีส่วนร่วม รวมท้ังการ กระจายอาํ นาจ 1) แม้จะมีกฎกระทรวง และหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอํานาจ แต่หน่วยปฏิบัติยังไม่มีอิสระ และความคล่องตัวในการบรหิ ารงานและจัดการศกึ ษาเทา่ ท่คี วร 2) การจดั การศกึ ษาของเอกชนยังไม่การขยายตวั เท่าท่ีควร 3) สถานประกอบการและสถาบันตา่ ง ๆ มีสว่ นร่วมจดั การศึกษาเพ่ิมขึน้ แตย่ ังมีสัดส่วนน้อยมาก 4) การเพิม่ โอกาสทางการศึกษา 1) ทอ้ งถ่นิ ไมม่ คี วามพรอ้ มในการจดั การศกึ ษาปฐมวัย 2) เดก็ ทเ่ี ขา้ เรียนการศกึ ษาภาคบังคบั ออกกลางคันมาก 3) เด็กไม่นยิ มเรยี นอาชวี ศึกษา 4) การให้บริการการศึกษาแกผ่ ูด้ อ้ ยโอกาสยังไม่ทัว่ ถึง 5) การจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ยังไม่มีกลไกที่ชัดเจน ขาดองค์ ความรู้ เครอ่ื งมือในการจัดการ 5) การผลติ และพัฒนากาํ ลงั คน 1) ผู้สําเร็จอาชีวศึกษากว่าร้อยละ 70 ศึกษาต่อปริญญาตรี ทําให้ขาดแคลนกําลังคนระดับกลาง อย่างต่อเน่อื ง 2) ผู้สําเร็จขาดความรู้และทักษะท่ีจาํ เป็น 3) การผลติ คนด้านสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตรเ์ กินความต้องการทาํ ใหบ้ ัณฑิตจบใหม่ตกงาน 6) ด้านการเงินเพื่อการศึกษา 1) ความด้อยประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารจดั การและการใชท้ รพั ยากรเพ่ือการศึกษา 2) กลไกของรัฐไม่เอ้ือให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาและ ระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3) การจดั สรรงบประมาณตามความต้องการปัจจัยการผลติ ไมส่ มั พันธก์ บั ผลผลิต
139 4) การบริหารภายใตก้ ฎระเบียบทางราชการที่มีความตึงตัวสูง ทําให้สถานศึกษาขาดแรงจงู ใจใน การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อการแข่งขนั 7) ด้านเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา 1) มีปญั หาการดาํ เนินการเนื่องมาจากขาดการพฒั นาเนื้อหาผ่านสื่อท่ีมคี ุณภาพ 2) ขาดการพัฒนาการเรยี นการสอนและการพฒั นาผู้สอน 3) ครูและนักเรียนนาํ ความรดู้ ้านเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาไปใชใ้ นกระบวนการเรียนการสอนและ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองน้อย 4) สถานศึกษามีจํานวนคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ไม่เพยี งพอ 8) ดา้ นกฎหมายการศกึ ษา 1) กฎหมายการศึกษาอยู่ระหว่างดาํ เนินการหลายฉบับ 2) กฎหมายการศึกษาท่ีมีผลใชบ้ ังคับแลว้ ยังไม่สามารถใช้บังคบั ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3) การบริหารจัดการศกึ ษาบางเรอ่ื งยงั ขาดกฎหมายรองรบั 4) หน่วยงานส่วนกลางบังคับใช้กฎหมายการศึกษา โดยเน้นโครงสร้างองค์กรมากกว่าการปฏริ ปู คุณภาพการเรยี นการสอน 9) ดา้ นการศึกษาตลอดชีวิต 1) การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ยังขาดเนือ้ หาและวธิ ีการทเ่ี หมาะสม 2) ขาด การปรับปรุงกฎระเบียบท่ีจะเอื้ออํานวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) การศึกษาตลอดชีวิตยังไม่เป็นวิถี ชวี ติ ของคนในชาติ ปญั หาการศกึ ษาท่ีพบจากโครงการวจิ ัยทางการศึกษา อัมมาร สยามวาลา และคณะ (2555) ได้ศึกษายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อ สรา้ งความรับผิดชอบ พบปัญหาของระบบการศกึ ษาไทยดังน้ี 1) ปัญหาของระบบศึกษาไทยไม่ได้เกิดจากการขาดทรัพยากรอีกต่อไป แต่เป็นปัญหาการใช้ ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ใช้ทรัพยากรมากแต่ผลสัมฤทธิ์ตํ่า ดังที่ข้อมูลช้ีว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่าน มา งบประมาณกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพิม่ ขึ้นกว่า 2 เทา่ และไมน่ อ้ ยกวา่ ประเทศ อื่นในภูมิภาคเอเชีย ขณะทร่ี ายได้ ตอ่ เดือนของครูที่มวี ฒุ ิการศึกษาปริญญาตรีและสอนในโรงเรียน รัฐก็เพม่ิ สงู ขึน้ จากประมาณ 1.5 หมืน่ บาทในพ.ศ. 2544 เป็นประมาณ 2.4-2.5 หมื่นบาทในพ.ศ. 2553 และครูมีรายได้ไม่น้อยกว่าอาชีพอื่นอีกต่อไป แต่ในทาง ตรงกันข้าม ผลคะแนนการทดสอบ มาตรฐานของนักเรียนไทยท้ังในระดับประเทศและระดับนานาชาติกลับมี แนวโนม้ ลดตํ่าลง
140 2) ใจกลางของปัญหาคือ การขาดความรับผิดชอบ (Accountability) ของระบบ การศึกษา ตลอดทกุ ขั้นตอน นอกจากนั้น ระบบการศกึ ษาของไทยยังมีความเหล่ือมลา้ํ ของคุณภาพการศึกษาในระดับสูง และ ระบบการเรียนการสอนไม่เหมาะกบั บริบทของศตวรรษที่ 21 3) หัวใจสําคัญของการปฏิรูประบบการศึกษาจึงอยู่ท่ี (1) การสร้างระบบความรับผิดชอบ (Accountability) เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยให้โรงเรียนมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อผู้ปกครองและนักเรียน มากขึ้น โรงเรียนควรมีอิสระในการบริหารจัดการ และพ่อแม่ สามารถเป็นผู้เลือกโรงเรียนให้ลูกตามข้อมูลคุณภาพของ โรงเรียนที่ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณะ (2) การปรับหลักสูตร สื่อการสอนและการพัฒนาครู เพ่ือให้นักเรียนเรียนรู้ อย่างเหมาะสมกับ บริบทของศตวรรษที่ 21 และ (3) การลดความเหลื่อมลํ้าของคุณภาพการศึกษา โดยปรบั การจัดสรร งบประมาณให้พ้ืนท่ีท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมเพ่ิมมากข้ึน และสร้างระบบให้ความ ช่วยเหลือโรงเรียน ครู และ นักเรียนทม่ี ีปญั หา และในงานวจิ ัยชน้ิ น้ีเสนอแนวทางการปฏริ ูประบบการศึกษา 5 ด้าน ได้แก่ (1) หลักสูตร สื่อการสอนและเทคโนโลยี ซึ่งคณะนักวิจัยเสนอว่าให้ต้ังทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) เป็นเปา้ หมายหลัก และปรับเนอื้ หา สมรรถนะ (ทักษะ) และคุณลักษณะท่ีพึงปรารถนาของ นักเรียนให้สอดคล้องกับเป้าหมายดังกล่าว โดยปฏิรูปหลักสูตรให้มี ลักษณะกระชับ ช่างคิด และบูรณาการ อัน ไดแ้ ก่ เน้นแนวคดิ หลกั และคําถามสาํ คัญในสาระการ เรยี นรู้ เรยี นรู้ผ่านโครงงานและการทํางานเป็นทมี สนบั สนุน การใช้ ICT ในการหาความรู้ด้วย ตนเอง พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดข้ันสูง และสามารถเช่ือมโยงองค์ความรู้ ต่าง ๆ เข้าด้วยกันได้ นอกจากน้ันหลักสูตรควรมีความยืดหยุ่นโดยให้แต่ละโรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรให้ สอดคล้องกับบริบทของตนได้ ทั้งนี้ ควรมีการลดจํานวนชั่วโมงการเรียนในห้องเรียน และเพ่ิมการใช้วิธีการสอนที่ หลากหลายเหมาะกับการพัฒนาทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เชน่ การเรยี นรู้ผ่านโครงการและการแก้ปัญหา รวมถงึ มี การใช้เทคโนโลยีนําเสนอเนื้อหาอย่างทันสมัย มีปฏิสัมพันธ์ส่วนร่วม และใช้สนับสนุนการเรียนรู้ในรูปการสร้าง ความรดู้ ว้ ยตนเอง (Constructivism) และกา เรียนรู้ผา่ นเครอื ข่าย (Connectivism) (2) การปฏริ ูประบบการวัดและประเมินผลการเรยี น ซึง่ คณะนักวจิ ัยเสนอให้มีการปฏริ ูป การทดสอบ มาตรฐานในระดับประเทศ โดยปรับจากระบบ O-NET และอื่น ๆ ในปัจจุบัน มาเป็นการทดสอบเพ่ือวัดความรู้ความ เข้าใจและทักษะ (Literacy-Based Test) ซ่ึงสามารถประยุกต์เน้ือหาเข้ากับโจทย์จริงในชีวิตประจําวนั ได้ และนําผลการ ทดสอบมาตรฐานระดับประเทศแบบใหม่ไปสร้างความรับผิดชอบในระบบการศึกษา เช่น การประเมินผลงานของครู การประเมินสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและเข้าช่วยเหลือสถานศึกษาท่ีมีปัญหา และการประเมินผลและให้รางวัล แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา นอกจากนั้น ให้มีการปฏิรูประบบการจัดเก็บ เปิดเผย และรายงานผลการสอบ ต่อสาธารณะ เพือ่ เปน็ ฐานข้อมูลในการกําหนดนโยบายของรัฐและการเลือกสถานศึกษาของ ผูป้ กครอง นอกจากนั้น ในระดับโรงเรียน คณะนักวิจัยเสนอให้มีวิธีการวัดและประเมินผลที่ หลากหลายต้ังแต่แฟ้มงาน โครงงานการสอบวัดความรู้ การแก้ไข ปัญหาชีวิตจริง ในทางที่ช่วย พัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักเรียน โดยการประเมินผลการเรียนในระดับ
141 โรงเรียนควรเป็นการประเมินผลเพื่อเสริมสรา้ งการเรียนรู้และวเิ คราะหผ์ เู้ รียน (Formative Test) ซึ่งเป็นการประเมินผล ระหวา่ งทางตลอดการเรียนรู้ (3) การปฏิรูประบบพัฒนาคุณภาพครู ซ่ึงในส่วนของการฝึกอบรมครู คณะนักวิจัย เสนอว่า รฐั ตอ้ งปรับบทบาทจากผ้จู ัดหามาเป็นผกู้ าํ กับดูแลคณุ ภาพและการจดั การความรู้ โดยให้ โรงเรยี นเป็นหนว่ ยพฒั นา หลัก ได้รับการจัดสรรงบประมาณและมีอํานาจในการตัดสินใจเลือก หลักสูตรและผู้อบรมเอง และให้ความสําคัญ กับการนําความรู้ไปสู่การปฏิบัติจริง การพัฒนาครูใหม่ และการสนับสนุนให้เกิดระบบชุมชนเรียนรู้ทางวิชาการ ร่วมกัน (Professional Learning Community) ในส่วนของระบบผลตอบแทนครู คณะนักวิจัยเสนอให้การเลื่อน ข้ันเงินเดือนและวิทยฐานะของครูส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับพัฒนาการของผลการทดสอบมาตรฐานแบบใหม่ของนกั เรียน (โดยคํานึงถึงระดับต้ังต้นของคะแนน) เพื่อให้ครูรับผิดชอบต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนมากขึ้น นอกจากน้ัน การประเมินครูควรใช้วิธีสังเกตการณ์ร่วมกับการพิจารณาเอกสาร กําหนดให้มีการประเมินคงสภาพวิทยฐานะ ทกุ 5 ปี และปรบั ลดงานธรุ การของครูลงใหเ้ น้นหน้าทใ่ี นการสอนเป็นสาํ คญั (4) การประเมินคุณภาพสถานศึกษา ซึ่งคณะนักวิจัยชว้ี ่า ระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษา ควรใช้การประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียนเป็นหน่วยหลักในการประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพ ส่วนระบบการ ประเมินคุณภาพสถานศึกษาภายนอกของส่วนกลางควรเป็นเพียงหน่วยเสริม โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ควรปรับบทบาท มาเป็นหน่วยสนับสนุนด้านความรู้ให้แก่โรงเรียนกําหนดกฎ กติกาขั้นตํ่าเท่าที่จําเป็นเพ่ือกํากับคุณภาพของการประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียน และมีบทบาทในการ ประเมินตามระดับปัญหา (Risk-Based Inspection) เพ่ือแยกโรงเรียนที่มีปัญหามาให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนา คณุ ภาพโดยคดั แยกจากคะแนนการทดสอบมาตรฐานระดบั ประเทศแบบใหม่ของนักเรยี น รวมถึงมีบทบาทในการ ประเมนิ เฉพาะเรื่อง (Thematic Inspection) โดยเลอื กบางประเด็น เชน่ การใช้เทคโนโลยี ประกอบการเรียนการ สอน หรอื สมุ่ ประเมินในระดับพืน้ ท่หี รือประเทศ (5) การปฏิรูประบบการเงินเพ่ือการศึกษา ซ่ึงงานวิจัยพบว่า ปัญหาด้านการเงินในระบบ การศึกษาในปัจจุบนั คือ งบประมาณส่วนใหญ่จ่ายไปยังฝ่งั อุปทาน (สถานศึกษา) มากกว่าด้านอุปสงค์ (งบอุดหนนุ รายหัว) ซึ่งไม่เอ้ือต่อการสร้างความรับผิดชอบ และโรงเรียนรัฐได้รับการอุดหนุน มากกว่าโรงเรียนเอกชนเท่าตัว อีกท้ังเงินอุดหนุนดังกล่าวก็ไม่ช่วยลดความเหลื่อมล้ําระหว่างโรงเรียนในเขตร่ํารวยและยากจนเท่าท่ีควร คณะ นักวิจัยจึงเสนอว่า การปฏิรูปควรมีวัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างความรับผิดชอบและลดความเหล่ือมล้ําระหว่างพื้นท่ี โดยมีการกําหนดเป้าหมายคะแนน การทดสอบมาตรฐานข้ันต่ําของนักเรียนท่ีต้องการและจัดสรรเงินอุดหนุน จํานวนมากกว่าให้แก่โรงเรียนในเขตพ้ืนที่ด้อยโอกาส เพ่ือลดความเหลื่อมลํ้าด้านทรัพยากร จากนั้นนําข้อมูล ผลสอบมาตรฐานของนักเรียนที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับคะแนนเป้าหมายท่ีกําหนดไว้เพื่อประเมินผลการทํางาน และ ให้รางวัลแก่ผู้บริหาร นอกจากนี้ ในระยะยาวควรปรับเปลี่ยนงบประมาณด้านการศึกษาไปสู่ ระบบการเงินด้าน อุปสงค์มากข้นึ เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั การสร้างความรับผดิ ชอบทางการศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240