192 ประเมนิ ตัวบ่งช้ที จ่ี ะประเมิน แหล่งขอ้ มลู /แหล่งท่สี ามารถให้ขอ้ มูลได้ วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เครอ่ื งมือท่ีใช้ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วธิ ีวเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู เกณฑ์ระดบั คุณภาพของผลการประเมิน การสรปุ และรายงานการประเมินคุณภาพภายใน การรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการเสนอ ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจาก 15 มาตรฐาน แล้วนาผลไปใช้ใน การพัฒนา โดยสถานศึกษาต้องนาข้อมูลมาสรุปรวม และจัดทาเป็นสารสนเทศ เพ่ือนาไปใช้ในการปรับปรงุ การ ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง การรายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา อาจรายงานได้ หลายลกั ษณะ ทั้งนข้ี ึ้นอยู่กับวัตถปุ ระสงค์ของการรายงาน หากต้องการรายงานหน่วยงานต้นสังกัด รายงานต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการดาเนินงาน อาจจัดทาเป็นเอกสารรายงานผลฉบับสมบูรณ์ หาก ต้องการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ อาจรายงานในรูปของเอกสารแผ่นพับ จดหมายขา่ ว ซึง่ เปน็ การนาเสนอเฉพาะ ประเด็นสาคัญโดยสรุป หรือประเด็นที่ต้องการรายงาน หรือประชาสัมพันธ์ ทั้งน้ี สถานศึกษาแต่ละแห่ง สามารถเลือกวิธีรายงานไดต้ ามความเหมาะสมของบรบิ ทของแตล่ ะสถานศึกษา การวางแผนการประกนั คุณภาพการศึกษา และการนาแผนสูก่ ารปฏิบัติ การวางแผนการประกนั คุณภาพ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษามีความจาเปน็ ต่อการจัดการศึกษา เพื่อพฒั นาคนใหม้ คี ุณภาพ เพือ่ ทาให้ ศักยภาพท่ีมีอยู่ในตัวคนได้รับการการพัฒนาอย่างเต็มท่ี ทาให้เป็นคนที่รู้จักคิดวิเคราะห์รู้จักแก้ปัญหา มี ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักพึ่งตนเอง และสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ดังนั้น การ วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา และการนาแผนสู่การปฏิบัติจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง และการ ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาจะประสบความสาเร็จได้ ข้ึนอยู่กับผู้บริหาร ซึ่งจะต้องมีบทบาทและ หนา้ ทีส่ าคญั ในการพฒั นาการประกันคณุ ภาพการศึกษาในโรงเรียน โดยมีจุดเริ่มต้นของการดาเนนิ งาน ดงั นี้ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการประกันคณุ ภาพ การประกันคุณภาพเริ่มต้นท่ีความพยายามของผู้บริหาร ครูและผู้เรียนในการปรับปรุงสง่ิ ที่เปน็ อย่ใู ห้ ดีข้ึนตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่า (Base-Line Standards or Bench Marks) ให้เพื่อขึ้นเร่ือยๆ ตามวิสัยทัศน์ที่เป็นเกณฑ์สูงสุดท่ีต้องการไปให้ถึง(Kite-mark) ภายใต้เงื่อนไข ทรัพยากร สังคมวัฒนธรรม เวลาและโอกาส โดยถือว่าเป็นภารกิจประจาของวัฒนธรรมองค์การ จน กลายเป็นวัฒนธรรมคณุ ภาพ (Quality Culture) ขององค์การและสถานศกึ ษานน้ั ๆ (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน, 2550)
193 หลกั การสาคญั ของการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาไดแ้ ก่ 1. การมีส่วนร่วม (Participation) โดยเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) กับผลการจัด การศึกษาของสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วมประเมิน และร่วมรับผิดชอบ กบั การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา 2. การเสริมสร้างพลัง (Empowerment) โดยสร้างความรู้ทักษะ และความม่ันใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วน เสยี เพือ่ สร้างโอกาสใหเ้ กดิ การมีสว่ นร่วมอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล 3. การกระจายอานาจ (Decentralization) สถานศึกษาจะพัฒนาคุณภาพให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลได้อย่างเต็มที่ ต่อเม่ือสถานศึกษาเองต้องมีความเป็นอิสระเพียงพอท่ีจะคิดและตัดสินใจ ท้ังด้าน การบริหาร วิชาการ และการใช้จ่ายงบประมาณ ซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีต้องการให้มีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษาสู่สถานศึกษาและ ท้องถน่ิ ใหม้ ากทส่ี ุด 4. การสร้างจิตสานึกความรับผิดชอบ (Accountability) สถานศึกษาต้องสร้างให้ทุกคนมีสานึกใน หน้าท่ีของตนที่มีต่อการศึกษา เช่น หน้าที่ของความเป็นพ่อแม่ ครู เป็นต้น นอกจากนี้ กระบวนการทางาน และผลงานของสถานศกึ ษาแห่งน้นั ตอ้ งสามารถตรวจสอบได้ทุกเทอ่ื โดยสงั คมและประชาชน 5. การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเน่ือง (Continuous Quality Improvement) การตรวจสอบท้ัง ภายในและภายนอกในบริบทของการประกันคุณภาพ มจี ุดประสงคส์ าคัญเพอื่ ให้ไดข้ ้อมูลย้อนกลับสาหรบั ใช้ใน การวางแผน เพ่อื การปรับปรงุ คณุ ภาพอย่างตอ่ เน่ือง บทบาทของผบู้ รหิ ารกบั การประกันคุณภาพการศกึ ษา 1. การเตรียมความพรอ้ มของบุคลากร ผู้บริหารสถานศึกษา จะต้องจัดให้บุคลากรในสถานศึกษามีความพร้อม โดยอาจดาเนินการ ใน 3 เรื่องคือ การสรา้ งความตระหนกั การสรา้ งเสริมความรู้ และการกาหนดความรบั ผิดชอบดังรายละเอียด ต่อไปน้ี (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน, 2550) 1.1 การสร้างความตระหนัก ถึงคุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม ให้กบั บุคลากรซง่ึ ไดแ้ ก่ ครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน เกิดความตระหนักเหน็ ความสาคัญและความจาเป็น ของการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา โดยใช้เทคนิควธิ ดี งั น้ี 1.1.1 สร้างทมี งานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 1.1.2 ให้บุคลากรที่เก่ียวข้องทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมความคิด ร่วมกัน วางแผน และร่วมกันทางาน 1.1.3 สร้างมนุษยสัมพันธ์ในการดาเนินงาน เสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้เกิดข้ึนกับ ผรู้ ่วมงาน มีภาวะผ้นู าทางวชิ าการ 1.2 การสรา้ งเสรมิ ความรู้และทักษะเก่ียวกับการประกนั คณุ ภาพภายใน 1.2.1 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการโดยให้ทุกคนได้เข้าร่วมประชุม เชิงปฏิบัติการ ถ้า สามารถหาบุคลากรทม่ี ีความสามารถจะเป็นแกนนาได้ ก็ควรมอบหมายใหแ้ กนนาเป็นผรู้ บั ผิดชอบในเรือ่ งนี้
194 1.2.2 ในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการนั้น ควรแบ่งเป็นช่วง ๆ ตามกิจกรรมท่ีดาเนินการใน แต่ละชว่ ง ดงั นี้ ช่วงแรก เน้นเน้ือหาเก่ียวกับภาพรวมของระบบการประกันคุณภาพภายใน กระบวนการบริหารงานคุณภาพ แล้วเร่ิมเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษา และแผนปฏบิ ัติการ ในแต่ละปี จากน้ันใหร้ ่วมกันปฏิบตั จิ รงิ ในการวางแผนพฒั นาและแผนปฏบิ ตั ิการ ช่วงท่ี 2 เน้นเน้ือหาเก่ียวกับการกาหนดกรอบและว่างแผนการประเมิน การสร้าง เครื่องมือ จากนั้นกด็ าเนนิ การรวบรวมข้อมลู ตามกรอบและแผนการประเมิน ช่วงที่ 3 เน้นเน้ือหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการประเมิน และ การเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Study Report) โดยจัดประชุมปฏบิ ตั ิการหลังจากที่บุคลากรมี การปฏบิ ตั งิ าน และมีการประเมินตนเองตามแผนไปแล้วระยะหน่งึ 1.3 การกาหนดความรบั ผิดชอบ โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการ 1.3.1 ผู้บริหารมีความจาเปน็ ที่จะต้องแต่งตง้ั คณะกรรมการ โดยมอบหมายใหบ้ ุคลากรเขา้ ร่วมเป็นกรรมการ เพ่ือช่วยกันจัดทาแผน ดาเนินการพัฒนา และประเมินคุณภาพ ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับงานท่ี รบั ผดิ ชอบตามภารกิจของตน 1.3.2 การต้ังคณะกรรมการ ควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหาร และให้บุคลากร รับผดิ ชอบในส่วนท่ีเกย่ี วข้องกบั งานในภารกิจของตนเอง จะทาใหร้ ะบบการประกนั คุณภาพภายในหล่อหลอมเข้ากับ การทางานตามภารกิจของบุคลากร ซ่ึงจะก่อให้เกิดประสทิ ธิภาพ และมีความเชื่อมโยงกันในการพัฒนาคุณภาพดา้ น ต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ด้านบคุ ลากร ดา้ นกระบวนการ และดา้ นผู้เรยี น อันจะก่อใหเ้ กดิ การพัฒนารอบดา้ นครบทกุ ด้าน 2. การศกึ ษาข้อมูล ข้อมูลสารสนเทศมีความสาคัญในการตัดสินใจดาเนินงานต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผน การศึกษาและการกาหนดนโยบาย ซึ่งต้องมีข้อมูลที่มีคุณภาพ ถูกต้องครบถ้วนและทันสมัย จึงจะช่วยในการ วางแผน การบริหารจัดการ และการตัดสินใจดาเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับการาประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษาน้ีจะตอ้ งมีการศึกษาข้อมลู สารสนเทศ เช่น 2.1 ผลการดาเนินการและการประเมนิ ตนเองในรอบปที ่ีผา่ นมา 2.2 นโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัด และหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง 2.3 ขอ้ มูลสารสนเทศของโรงเรียนตนเอง 2.4 ความคิดเหน็ ของบุคลากรในโรงเรยี นและชุมชน 3. การเตรียมระบบหรือแนวคดิ เกย่ี วกับระบบประกนั คุณภาพทางการศกึ ษา ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา มกี ารดาเนินงานประกันคุณภาพ 3 ขน้ั ตอน คอื 1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เป็นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพและการพัฒนา สถานศกึ ษาใหเ้ ขา้ ส่มู าตรฐาน ซง่ึ ประกอบดว้ ย การกาหนดมาตรฐานดา้ นผลผลติ ปจั จยั และกระบวนการ การพฒั นาเข้าสมู่ าตรฐาน หมายถึง การพฒั นาปจั จยั ต่างๆ ท่สี ่งเสรมิ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
195 2. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เป็นการตรวจสอบและตดิ ตามผลการดาเนนิ งานให้ เปน็ ไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด ประกอบดว้ ย การประเมนิ ความกวา้ หน้าของการจัดการศกึ ษา การติดตามและตรวจสอบจากหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง การปรบั ปรุงคุณภาพสถานศึกษาที่มีคณุ ภาพไม่ถงึ เกณฑ์มาตรฐานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง 3. การประเมนิ คณุ ภาพ (Quality Assessment) เป็นการประเมนิ คุณภาพของสถานศึกษา โดย หนว่ ยงานท่ีกากบั ดูแลในเขตพืน้ ที่ และหนว่ ยงานต้นสังกดั ในส่วนกลาง ประกอบดว้ ย การทบทวนคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา การประเมนิ เพ่ือรองรบั มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวมหรือการาประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ดังน้ันการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน จงึ เป็นกระบวนการบริหารจดั การเพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานท่ีตอ้ งการโดยผบู้ ริหารและครูในสถานศึกษาร่วมกนั กาหนดเปา้ หมายท่ีชัดเจน ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ต้องให้หลักการบริหารทเ่ี ป็นระบบครบวงจร แบบ PDCA คือ 1. รว่ มกนั วางแผน (Plan) 2. รว่ มกนั ปฏบิ ตั ติ ามแผน (Do) 3. ร่วมกนั ตรวจสอบ (Check) 4. รว่ มกนั ปรับปรงุ /นาไปใช้ (Action) ภาพที่ 7.2 แสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษากับแนวคดิ การบริหารทเี่ ปน็ ระบบ ครบวงจรแบบ PDCA ที่มา: สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (2550) อ้างองิ จาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25
196 หลักการสาคัญของการประกันคุณภาพภายใน หลักการสาคญั ของการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ได้แก่ 1. จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือ การที่สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุง คณุ ภาพให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษา โดยเปา้ หมายท่สี าคัญอยทู่ ก่ี ารพัฒนาคุณภาพให้เกิดขนึ้ กบั ผเู้ รยี น 2. การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารจัดการและการทางาน ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา โดยสถานศึกษาจะต้องวางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการท่ีมีเป้าหมาย ชดั เจน ทาตามแผน ตรวจสอบประเมนิ ผล และพฒั นาปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง เปน็ ระบบ มีความโปร่งใส และมี จิตสานกึ ในกาสรพฒั นาคณุ ภาพการทางาน 3. การประกันคุณภาพเป็นหน้าท่ีของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู อาจารย์ และบุคลากรอ่ืน ๆ ในสถานศึกษา โดยในการดาเนินงานจะต้องให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน เขตพ้ืนท่ี หรือหน่วยงานที่กากับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตาม ประเมินผล พัฒนาปรับปรุง ช่วยกนั คิด ชว่ ยกันทา ชว่ ยกันผลักดันใหส้ ถานศึกษามีคุณภาพ เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้รับ การศึกษาท่ดี ีมคี ุณภาพ เปน็ ไปตามความต้องการของผู้ปกครอง สงั คม และประเทศชาติ 4. การดาเนนิ งานและการเขียนรายงาน ขั้นตอนการดาเนินการประกนั คณุ ภาพภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายในเป็นเรื่องเดียวกับกระบวนการบริหารงานอย่างมีคุณภาพหรือ วงจร PDCA ซึ่งเป็นระบบที่ผสมผสานอยู่ในกระบวนการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่ เกดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจาวนั นนั่ เอง ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารและการ ทางาน จะตอ้ งคานึงถึงเง่ือนไขสาคญั ที่จะทาให้ประสบความสาเรจ็ ในการดาเนินงาน ซ่ึงผู้บริหารจะตอ้ งมีความ ตระหนกั เขา้ สมสี ่วนส่งเสริม สนบั สนุน และร่วมคิดร่วมทา รวมท้ังจะตอ้ งมกี ารทางานเปน็ ทีม โดยบุคลากรทุก คนในสถานศึกษาต้องได้รับการเตรียมความพร้อมให้มองเห็นคุณค่า และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพภายใน และดาเนินการอย่างต่อเนื่องร่วมกับทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอก สถานศกึ ษา โดยมกี ารตดิ ตามและกากบั ดแู ลการดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในอยา่ งเป็นระบบ ในการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ควรมีการเตรียมการเพื่อสร้างความพร้อมให้แก่บุคลากร และจัดให้มีกลไกในการดาเนินงาน บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้องจึงร่วมกันวางแผน ร่วมกัน ปฏบิ ตั ิ ร่วมกนั ตรวจสอบ และรว่ มกันปรบั ปรงุ โดยมีขั้นตอนการดาเนินงานทั้งหมด ดงั แผนภาพดงั ต่อไปนี้ 4.1 ขน้ั การเตรียมการ เป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากรเพื่อสร้างความตระหนัก พัฒนาความรู้และทักษะ แต่งต้ัง คณะกรรมการรับผิดชอบ ดังภาพที่ 8.3
197 ภาพที่ 7.3 แสดงขั้นตอนการดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน ท่ีมา: สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (2550) อา้ งองิ จาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25
198 4.2 ขน้ั การดาเนนิ การ ประกอบด้วยข้ันตอนหลัก 4 ข้ันตอน คือ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบ ประเมินผล และการพฒั นาปรับปรุง ซึ่งทกุ ฝ่ายจะต้องดาเนินการรว่ มกันในทุกขั้นตอน โดยมรี ายละเอียดแต่ละ ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. การวางแผน (Plan) การวางแผนเปน็ การคิดเตรยี มการไว้ล่วงหน้า เพื่อจะทางานให้สาเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การ ดาเนินงานมปี ระสทิ ธิภาพ สถานศกึ ษาควรมีการจดั ทาแผนตา่ ง ๆ คือแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏบิ ัติ การประจาปี แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร และสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของสถานศกึ ษา แผนการ ประเมินคุณภาพการศึกษา แผนงบประมาณ ทั้งรายรับและรายจ่ายของสถานศึกษา ซ่ึงแผนต่าง ๆ มีความ เช่ือมโยงกัน ดงั นี้ แผนทจ่ี ดั ทาในสถานศกึ ษา เพอ่ื ประกันคุณภาพภายใน แผนพัฒนา แผนปฏบิ ตั ิการ แผนการจัดการเรยี น แผนการประเมิน แผนงบประมาณ คณุ ภาพการศึกษา ประจาปี การสอนตามหลักสตู ร คุณภาพการศึกษา ภาพที่ 7.4 ความสัมพนั ธเ์ ชื่อมโยงของแผนต่าง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาควรจดั ทา ที่มา: สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (2550) อ้างองิ จาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25 ในการจัดทาแผนต่าง ๆ นั้น ควรวางแผนการประเมินผลไปพร้อมกันด้วย เพ่ือใช้กากับตรวจสอบการ ปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนเพียงใด โดยมีการตั้งเป้าหมาย วิธีการ รูปแบบ ในการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล แผนการประเมินที่ดี ควรสอดคล้อง เป็นส่วนหน่ึงของการทางาน ดังนั้นโรงเรียนจึงมีข้ันตอนการวางแผน ดัง ภาพตอ่ ไปน้ี
199 ภาพที่ 7.5 แสดงข้นั ตอนการวางแผน ทม่ี า: สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (2550) อ้างองิ จาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25 การกาหนดเป้าหมาย 1. ศึกษาวิเคราะหข์ ้อมลู กอ่ นการวางแผน ข้อมูลตา่ ง ๆ ทีค่ วรวิเคราะห์ คือ เปา้ หมายหรอื มาตรฐานหลักทีเ่ ปน็ ความต้องการส่วนรวมของสังคมและประเทศชาติ สภาพเศรษฐกิจ สังคมของท้องถ่ินและชุมชน ทั้งในด้านสภาพท่ัวไป ปัญหาความต้องการและ แนวโน้มการพัฒนา ซง่ึ เป็นเป้าหมายหรอื มาตรฐานเฉพาะ ขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศึกษาท่ีแสดงภาพของสถานศกึ ษาตามความเป็นจริง ไดแ้ ก่ สถิตขิ ้อมูล พื้นฐาน ความสามารถในดา้ นต่าง ๆ ของสถานศึกษา 2. วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดเป้าหมายของสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาความสอดคล้อง ขอข้อมลู ตา่ ง ๆ และการสงั เคราะหเ์ พ่ือประสานความตอ้ งการของฝา่ ยต่าง ๆ ตามภาพดงั นี้
200 ภาพท่ี 7.6 การกาหนดเปา้ หมายของสถานศึกษา ที่มา: สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (2550) อ้างอิงจาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25 3. การจัดอันดับความสาคัญของเป้าหมาย จะช่วยให้การวางแผนมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการต้ัง ประเดน็ เพ่ือพจิ ารณาความตอ้ งการในดา้ นต่าง ๆ 4. กาหนดแนวทางการดาเนินงานหรือวิธีปฏิบัติงาน คือการนาเป้าหมายท่ีมีลักษณะเป็นความคิดเชิง นามธรรม มาทาให้เป็นรปู ธรรมในทางปฏิบตั ิ โดยคดิ โครงการหรือกิจกรรมทจี่ ะทาให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ รวมกาหนดตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จให้ชดั เจนด้วย 5. การกาหนดระยะเวลา การกาหนดระยะเวลาจะชว่ ยใหก้ ารทางานมีประสทิ ธิภาพ เพราะผ้ปู ฏิบตั จิ ะ ได้ทราบวา่ งานใดควรดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ อยา่ งไร 6. การกาหนดงบประมาณควรคิดงบประมาณท่ีจะต้องใช้ในการจัดซ้ือวัสดุ อุปกรณ์ รวมท้ัง ค่าตอบแทน และคา่ ใช้จ่ายอน่ื ๆ ทีจ่ ะเป็นในการดาเนนิ โครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ 7. การกาหนดผู้รับผิดชอบการกาหนดผู้รับผิดชอบที่เหมาะสม ในการดาเนินการแต่ละข้ันตอน เป็น ปจั จยั สาคญั ทจ่ี ะชว่ ยให้แผนดงั กล่าวสามารถดาเนินการใหบ้ รรลุเปา้ หมายไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 2. การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do) บุคลากรร่วมกันดาเนินการตามแผนท่ีจัดทาไว้ โดยในระหว่างการดาเนินงานต้องมีการเรียนรู้เพ่ิมเติม ตลอดเวลา และควรมุง่ เนน้ ประโยชนท์ ี่จะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ควรดาเนินการดงั น้ี ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหบ้ ุคลากรทุกคนทางานอยา่ งมีความสขุ จัดสง่ิ อานวยความสะดวก สนับสนุนทรพั ยากรเพื่อใหก้ ารปฏิบตั งิ านเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ กากับ ติดตาม (Monitoring) ทั้งระดับรายบุคคล รายกลุ่ม รายฝ่าย เพ่ือกระตุ้นและส่งเสริมให้มี การดาเนนิ งานตามแผน
201 ให้การนิเทศ ผู้บริหารควรให้การนิเทศ เพ่ือให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ทงั้ ในเรื่องการจัดการเรยี นการสอน การประเมินตนเอง และทักษะในด้านต่าง ๆ 3. การตรวจสอบประเมนิ ผล (Check) การประเมินผล เป็นกลไกสาคัญที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา เพราะจะทาให้ได้ข้อมูลย้อนกลับ ที่จะ สะท้อนให้เห็นถงึ การดาเนินงานที่ผ่านมาว่าบรรลุเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ ต้องมีการปรบั ปรงุ แกไ้ ข โดยเฉพาะการ ประเมินตนเอง ซ่ึงเป็นการประเมินที่มุ่งเพื่อการพัฒนา ซ่ึงกิจกรรมท่ีต้องดาเนินการประกอบด้วย การวาง กรอบการประเมนิ การจดั หา/จัดทาเคร่ืองมอื การเก็บรวบรวมข้อมลู การวิเคราะหข์ ้อมูล การแปลความหมาย และการตรวจสอบ/ปรบั ปรุงคณุ ภาพการประเมิน ดงั แผนภาพต่อไปน้ี ภาพที่ 7.7 แสดงกิจกรรมการตรวจสอบประเมินผลภายใน ท่มี า: สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (2550) อา้ งองิ จาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25 การวางกรอบการประเมิน เพ่ือเป็นการกาหนดแนวทางในการประเมิน และควรเชื่อมโยงกับ เป้าหมายคุณภาพหรือมาตรฐานการศกึ ษาท่รี ะบุในแผนพัฒนาและแผนปฏิบตั ิการ การจัดหา / จัดทาเครื่องมือ ประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้อง เอกาหนดเคร่ืองมือท่ีจะใช้เก็บ รวบรวมขอ้ มลู โดยมขี ้ันตอนดังแผนภาพต่อไปนี้
202 ภาพท่ี 7.8 แสดงการจดั หา/จัดทาเครื่องมือ ทีม่ า: สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (2550) อา้ งองิ จาก http://jatuporn.ucoz.com/load/1/24-1-0-25 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ซึง่ มแี นวทางดังนี้ 1. การรวบรวมขอ้ มูล ใช้ขอ้ มูลท่สี ถานศึกษามีอยแู่ ล้ว เก็บข้อมลู ใหม่ เก็บจากหลาย ๆ แหลง่ เพื่อตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถือชว่ งเวลาท่เี กบ็ ข้อมูล เกบ็ ตามเวลาทสี่ อดคล้องกบั การทางานตามปกติ ในชว่ งเวลาเดียวกัน ไมค่ วรระดมเก็บข้อมูลทกุ อย่างพรอ้ มกันจานวนมากความครอบคลมุ ของ กลมุ่ เปา้ หมาย ขอ้ มลู เพอ่ื พัฒนาปรบั ปรุงเปน็ รายบุคคล ต้องเกบ็ ข้อมูลทุกคน ขอ้ มูลภาพรวมของสถานศึกษา หรอื ขอ้ มูลจากผ้ปู กครอง ชุมชน เกบ็ จากกลุ่มตัวอย่าง
203 2. การวิเคราะห์ข้อมลู การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผรู้ บั ผดิ ชอบร่วมกนั พจิ ารณากรอบการวิเคราะห์ข้อมูลแตล่ ะประเดน็ และมีวิธกี าร วเิ คราะหข์ อ้ มลู เช่น การวิเคราะห์ข้อมลู เกยี่ วกบั ผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล การวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนในภาพรวม การแปลความหมายข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ จะ นามาใชป้ ระโยชน์ไดต้ อ้ งนามาแปลขอ้ มูลกอ่ น โดยการเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ทีก่ าหนด 3. การตรวจสอบ / ปรับปรงุ คณุ ภาพการประเมนิ สถานศึกษาดาเนินการประเมินตามแผนทก่ี าหนดไว้แลว้ ก็จะต้องมีกาตรวจสอบ กระบวนการและผล การประเมิน เช่น ด้านความเหมาะสม ความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือ โดยผู้บริหารมีการตรวจสอบใน ระหว่างการนิเทศ และประชุมร่วมกับคณะกรรมการเพื่อให้คาปรึกษาแนะนาในการปรับปรุงและพัฒนา กระบวนการประเมินคุณภาพให้มปี ระสิทธภิ าพ 4. การนาผลการประเมินมาปรับปรงุ งาน (Action) การปรับปรุงการปฏบิ ตั ิงานของผู้บรหิ ารและบุคลากร การวางแผนในระยะต่อไป การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ การประเมินผล เม่ือมีการดาเนินงานตามข้ันตอนต่าง ๆ แล้ว การประเมินผลการดาเนินงานก็เป็นวิธีหนึ่งท่ีจะทาให้ ทราบว่า การดาเนินงานในแตล่ ะขั้นตอนมีปัญหา อุปสรรค จะมีการดาเนินการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคน้ัน ๆ อย่างไร ตอ้ งมกี ารประเมนิ ผลเป็นระยะ ๆ เพ่อื ปรบั ปรุง แก้ไขปัญหาอปุ สรรคไปด้วย โดยเนน้ ทเี่ ป้าหมายคือตัว นักเรยี นเปน็ สาคญั 4.3 ขน้ั การเขยี นรายงาน เป็นข้นั ทีจ่ ดั ทารายงานประเมินผลตนเองประจาปี หรอื รายงานคุณภาพการศึกษาประจาปดี าเนินการ ดงั นี้ รวมรวมผลการดาเนนิ งานและประเมินตนเอง วเิ คราะหต์ ามมาตรฐาน เขยี นรายงาน 5. ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ จากการดาเนินงานในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษานนั้ มีปญั หา และอปุ สรรคดงั น้ี
204 5.1 บุคลากร/ สถานศึกษา 1) บคุ ลากรยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจในการประกันคุณภาพภายในสถานศึก 2) บุคลากรไมม่ ีความรใู้ นการจัดทาเครื่องมือในการประเมิน 3) บคุ ลากรไม่ได้ให้ความรว่ มมือในการดาเนนิ การประกันคุณภาพอย่างเตม็ ท่ี 4) ดา้ นผ้ปู กครอง และชมุ ชน ยังขาดความร่วมมือเท่าที่ควร 5) สถานศึกษายงั เก็บข้อมลู สารสนเทศไม่เปน็ ระบบ 6) สถานศึกษาขาดการเกบ็ ข้อมลู ทเ่ี ปน็ จรงิ 5.2 งบประมาณ 1) งบประมาณไมเ่ พียงพอ 2) การจัดหาเครอ่ื งมือการประเมนิ ยังไม่ทันสมัย 5.3 การดาเนินงาน 1) การดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ยังไมเ่ ปน็ ระบบ 2) ขาดการวางแผนทด่ี ี 3) ระยะเวลาในการประเมินไม่เหมาะสม กระชัน้ ชิด 5.4 การจดั ทารายงาน รปู เล่มของการรายงานไมเ่ ป็นระบบและมีตัวอย่างที่เหมาะสม ขอ้ เสนอแนะ 1) จัดอบรมให้ความรแู้ ก่บุคลากรทงั้ ในสถานศึกษาและในชมุ ชน หรือผูท้ ่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ งทง้ั หมด 2) สร้างความตระหนักและใหเ้ ห็นถงึ ความสาคัญของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา 3) ปรับปรงุ ระบบการดาเนนิ งานการประกันคุณภาพการศึกษาอยเู่ สมอ 4) จดั สรรงบประมาณให้เพียงพอ 5) จัดหาวสั ดอุ ุปกรณ์ให้เพยี งพอ จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่าการวางแผนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเปน็ กระบวนการพัฒนา ปรับปรุงการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งระบบท่ัวทั้งองค์การโดยทุกกิจกรรมที่เป็น สว่ นประกอบ หลกั ของระบบการจดั การศึกษาดาเนินการรว่ มกนั เพื่อมุ่งสเู่ ป้าหมายเดียวกัน คือ ผู้เรยี นทกุ คนมี คุณภาพ ผลสัมฤทธ์ิสูงขึ้น และมีคุณลักษณะตามมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากนี้การ วางแผนเพ่ือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษายังเป็นกระบวนการท่ีมีขั้นตอนเป็นระบบเพ่ือที่จะสร้างหรือปรับแต่ง วิสัยทัศน์จัดลาดับความสาคัญเชิงภารกิจ กาหนดรูปแบบและวิธีการจัดระบบองค์การและการบริหาร สถานศึกษา ท้ังนี้ก็เพื่อท่ีจะช่วยกันกาหนดทิศทางท่ีจะทาให้กระบวนการเรียนการสอนตอบสนองความ ต้องการของชุมชนและสังคมได้ดีย่ิงข้ึน การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างถูกหลักวิชาการและ การ ตัดสินใจท่ีอาศัยข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพด้านต่าง ๆ จะนาไปสู่กระบวนการ ปฏิรูป สถานศึกษาซ่ึงเปน็ นโยบายสาคญั ของการปฏิรปู การศกึ ษา
205 สรุป การประกันคุณภาพภายในเกี่ยวข้องกบั การดาเนินการทีส่ าคัญ 3 ขน้ั ตอนดังน้ี 1) การควบคมุ คุณภาพ (Quality Control ) เป็นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเพื่อให้สถานศึกษาตลอดจนหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องใช้เป็นเป้าหมายและเป็นเครื่องมือในการพัฒนาซึ่งหลักปฏิบัติทั่วไปมาตรฐานจะกาหนดโดยองค์ คณะบุคคล ผู้เชย่ี วชาญ หรือ ผู้มีประสบการณ์ 2) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เปน็ การตรวจสอบ และติดตามผลการดาเนินการจัดการศึกษาว่าเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาที่กาหนดข้ึนมากน้อย เพียงไร และมีข้ันตอนการดาเนินการท่ีจะทาให้เชื่อถือได้หรือไม่ว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีคุณภาพ และ 3) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) เป็นการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาโดยบุคลากรของ สถานศึกษาหรือโดยหน่วยงานที่กากับดูแลในเขตพ้ืนที่และหน่วยงานต้นสังกัดในส่วนกลางที่มีหน้าที่กากับดูแล สถานศึกษา ทั้งนี้ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพน้ีจะกระทาอย่างเป็นระบบ โดยมีกฎเกณฑ์และแนวทางการ ดาเนินการที่ชัดเจน มีการนาผลการประเมินในทุกข้ันตอนมาใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ และการปฏิบัติ เพ่อื ให้เกิดการ ปรับปรงุ พฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง (Continuous Improvement)
206 เอกสารอา้ งองิ คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. (2554). กำหนดหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั กำรประกนั คณุ ภำพภำยในระดบั กำรศกึ ษำขัน้ พืน้ ฐำน พ.ศ.2554. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน. (2550). แนวทำงกำรนำมำตรฐำนกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำนสกู่ ำร ปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ. (2543). แนวทำงกำรประกนั คุณภำพภำยในสถำนศึกษำ : เพื่อ พรอ้ มรับกำรประเมนิ ภำยนอก. กรุงเทพ ฯ: พมิ พด์ ี
207 บทที่ 8 ระบบสารสนเทศเพอื่ การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา กฤษดา ผอ่ งพทิ ยา ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาและเป็นสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร ดังน้ันระบบสารสนเทศจึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีช่วยให้สถานศึกษาสามารถดาเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ เห็นสภาพปัจจุบัน สภาพการเปลี่ยนแปลงและสภาพของปัญหาในสถานศึกษา ช่วยในการวางแผนการดาเนินงาน และประกอบการตัดสินใจในการบริหารงานรวมถึงสามารถกาหนดแนวทางในอนาคตได้อย่างถูกต้อง สาหรับ การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาน้ันจาเป็นต้องใช้สารสนเทศในการดาเนินงาน ในบทนี้จะกล่าวถึง ความหมายของระบบสารสนเทศ ข้ันตอนการดาเนินงานหลักของการจัดระบบสารสนเทศท่ีดีในสถานศึกษา วิธีดาเนินการของการจัดระบบสารสนเทศ กระบวนการจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา และ ความสาคัญของระบบสารสนเทศท่มี ีต่อการประกนั คุณภาพการศึกษา ความหมายของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศมีคาศัพท์อยู่ 2 คาคือ สารสนเทศ (Information) และข้อมูล (Data) ซ่ึง ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ซ่ึงอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริงเหล่านี้เป็นส่ิงท่ี เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ได้ประมวลผล วิเคราะห์หรือจัดกระทา จึงทาให้ข้อมูลไม่สมบูรณพอที่จะนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจ เชน่ จานวนห้องเรยี น จานวนนกั เรียน น้าหนัก สว่ นสูง เกรดเฉล่ีย คะแนนวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนระดับชาติ (NT, O-NET) ผลการประเมินตัวชีว้ ัดตามมาตรฐานหลักสตู รสถานศึกษา เปน็ ต้น ส่วน สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่าง ๆ จนอยู่ใน รูปแบบที่มีความหมายที่สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจหรือนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ เช่น อัตราส่วนครูต่อ นักเรียน การเปรียบเทียบผลการดาเนินงานตั้งแต่เร่ิมดาเนินการ การจัดเรียงลาดับคะแนนของนักเรียน ร้อยละ ของนักเรียนที่มีผลการเรียนต้ังแต่ระดับ 3 ข้ึนไป ร้อยละของนักเรียนท่ีผ่านการประเมินคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาในระดับดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน เป็นต้น (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2554ก, น. 23) ดังน้ัน สารสนเทศของสถานศึกษา เกิดจากการนาข้อมูลที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของครู บุคลากรใน สถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง มาจัดประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจัดหมวดหมู่ การเรียงลาดับ การแจงนับ การวิเคราะห์ การใช้สูตรทางคณิตศาสตร์เพ่ือคานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
208 ค่าความแปรปรวน เป็นต้น ซึ่งผลท่ีได้จากการจัดกระทาด้วยวิธีการต่าง ๆ จะเป็นสารสนเทศ สามารถนาเสนอได้ หลายรปู แบบ เชน่ บรรยายเป็นความเรยี ง ตาราง แผนภาพ กราฟ เปน็ ตน้ ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลให้อยู่ ในรูปสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์ รวมถึงการจัดเก็บรักษาให้สะดวกต่อการใช้งาน สารสนเทศที่มีการจัดเก็บอย่าง เป็นระบบสามารถนาไปใช้สนับสนุนการบริหารและการตัดสนิ ใจในการทั้งในระดับผู้ปฏิบัติและระดับผู้บริหาร เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทีต่ รงกนั ได้ กระบวนการพฒั นาระบบสารสนเทศของสถานศกึ ษาเปน็ ไปตามภาพท่ี 5.1 ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการข้อมลู ตามมาตรฐานการศกึ ษา เก็บรวบรวมขอ้ มูล การประมวลผลหรือการวิเคราะหข์ ้อมลู ตรวจสอบ ไม่ผ่าน ปรบั ปรุง/ การจัดทาสารสนเทศ ผ่าน พฒั นา การนาข้อมลู สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ การจดั เกบ็ ข้อมูลสารสนเทศ รายงานผลระบบ ภาพที่ 8.1 กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศของสถานศกึ ษา ทมี่ า: สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน, 2554ก, น. 25
209 ขนั้ ตอนการดาเนินงานหลักของการจัดระบบสารสนเทศทด่ี ใี นสถานศกึ ษา การจัดระบบสารสนเทศท่ีดีในสถานศึกษาต้องมีกระบวนการหรือข้ันตอนท่ีมีคุณภาพและตรงกับ ความต้องการของผู้ใช้ ข้ันตอนการดาเนินงานหลักของการจัดระบบสารสนเทศโดยทั่วไป มี 5 ขั้นตอน คือ 1) การรวบรวมข้อมูล 2) การตรวจสอบข้อมูล 3) การประมวลผลข้อมูล 4) การนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ และ 5) การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ แต่ละขั้นตอนมีรายละเอียด (สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน, 2554, น. 26-28) ดงั น้ี 1) การรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ จะตอ้ งกาหนดรายการข้อมลู ท่ีต้องการ วิธีการจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเคร่ืองมือในการจัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและแหล่งข้อมูล เช่น แบบสารวจ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบบันทึก แบบสังเกต เป็นต้น รวมถึงกาหนดเวลา ผู้รับผิดชอบใน การจัดเก็บ ซ่ึงต้องคานึงถึงข้อมูลที่ตรงกับความต้องการที่กาหนดไว้และมีความเชื่อถือได้ สาหรับการกาหนด รายการข้อมูลท่ีต้องการ อาจศึกษาจากมาตรฐานการศึกษาในระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรแกนกลางข้ันพื้นฐาน เปน็ ต้น หลังจากน้ันจึงกาหนดวิธีการและเครื่องมือสาหรับรวบรวมข้อมูลให้มีความสอดคล้องกัน เช่น ใช้วิธีการ รวบรวมข้อมูลดว้ ยการสอบถาม เครื่องมือท่ีใช้ควรเป็นแบบสอบถาม หรอื ใช้วธิ กี ารรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เครื่องมือทใ่ี ช้ควรเป็นแบบสงั เกต เป็นตน้ 2) การตรวจสอบข้อมูล ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ก่อนจะนาไปประมวลผลน้ัน ควรมีการตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของขอ้ มลู ก่อน โดยพิจารณาจากความถกู ต้อง ความสมบูรณ์ ความเป็นปจั จบุ นั ของข้อมลู 3) การประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูลเป็นการนาข้อมูลมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบท่ีสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ หากข้อมูลเป็นสารสนเทศอยู่ แล้วก็นามาจัดกลุ่ม ตามลักษณะและประเภทของสารสนเทศ ซึ่งการประมวลผลอาจเป็นการจัดหมวดหมู่ การเรยี งลาดับ การแจงนบั ค่าสถติ ิท่นี ิยมใช้ เช่น คา่ รอ้ ยละ อัตราส่วน สัดส่วย ค่าเฉลย่ี คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน การแจกแจงความถ่ี 4) การนาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ ข้อมลู ทีป่ ระมวลผลหรือจัดทาสารสนเทศมาแลว้ อาจนาเสนอ เปน็ ตาราง กราฟ บรรยาย ข้นึ อยู่กับความเหมาะสมของการนาไปใช้และลักษณะของสารสนเทศนนั้ 5) การจดั เก็บขอ้ มลู และสารสนเทศ การจัดเกบ็ ไว้ในส่อื ตา่ ง ๆ อย่างเปน็ ระบบ สะดวกในการค้นหา เพื่อนามาใช้ประโยชน์ อาจเก็บเป็นแฟ้มเอกสารหรือแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ตามศักยภาพของสถานศึกษา ซ่ึงต้อง สะดวกต่อการค้นหา ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน การนาข้อมูลไปประมวลใหม่ รวมถึงการนาสารสนเทศไป ใช้ประโยชน์
210 วธิ ีดาเนินการของการจัดระบบสารสนเทศ สถานศกึ ษาท่ีมรี ะบบสารสนเทศสมบรู ณ์ ครบถ้วน เป็นปัจจบุ ัน ใชไ้ ดส้ ะดวกและตรงกับความต้องการ ช่วยให้สถานศึกษาสามารถดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล นอกจากจะช่วยในการวางแผน การดาเนินงานและการตัดสินใจแล้ว ยังนาไปสู่การพัฒนาแนวคิดและสร้าง ทางเลือกใหม่ ๆ ในการดาเนินการต่าง ๆ ด้วย ซ่ึงวิธีดาเนินการของการจัดระบบสารสนเทศแบ่งออกเป็น 3 ระบบ (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน, 2554ก, น. 29) ดังนี้ (1) ระบบทาด้วยมือ (Manual System) เป็นระบบท่ีเก็บโดยการใช้เอกสารในรูปแบบต่าง ๆ ข้อดี คือ ค่าใช้จา่ ยนอ้ ย ส่วนข้อเสียคือ การเรียกใช้ไมส่ ะดวกและไม่ทันการ หากจัดระบบแฟ้มเอกสารไมเ่ หมาะสม (2) ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi-Automation) เป็นระบบที่ใช้มือทาส่วนหน่ึงและใช้เครื่องกลส่วน หนึ่ง น่นั คอื ส่วนท่ีเป็นเอกสารต่าง ๆ ทาด้วยมอื และสว่ นทีส่ รา้ งระบบสารสนเทศใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้ามา ช่วย ระบบนี้จะทาได้ดีก็ต่อเม่ือส่วนท่ีทาด้วยมือทาได้สมบูรณ์แบบ ได้แก่ การกรอกข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง มี ระบบควบคุมตรวจสอบอย่างดี ข้อดีคือ ค่าใช้จ่ายไม่สูง การฝึกอบรมบุคลากรไม่มากนัก ส่วนข้อเสียคือ หาก รปู แบบเอกสารและการปฏิบตั งิ านไม่เหมาะสม การกรอกข้อมูลผดิ พลาด จะทาใหก้ ารดาเนินการล่าช้า (3) ระบบอัตโนมัติ (Full- Automation) ระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ดาเนินงาน ซึ่งต้องมี การออกแบบให้เข้ากับลักษณะงาน เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีสร้างมาจะมีลักษณะและขนาดของเครื่อง แตกต่างกนั การจัดระบบสารสนเทศท่ีครบถ้วน ถูกต้อง และใช้งานได้ทันเวลาในทุกสถานการณ์ของสถานศึกษา นอกจากจะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว ไม่ว่าสถานศึกษาน้ันจะมีขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือ ขนาดเล็ก อยู่ในเมืองหรืออยู่ในชนบทก็ตาม หากการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้แฟ้มเอกสารไว้ดว้ ย ก็ จะทาให้กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ย่ิงข้ึน การจัดเก็บสารสนเทศโดยใช้แฟ้มเอกสาร อาจแบ่งออกได้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน, 2554, น. 29) ดงั นี้ แฟ้มข้อมูลหลกั เป็นข้อมลู พ้ืนฐานท่ีแบ่งเป็นหลายแฟม้ ตามโครงสร้างของงาน แฟม้ ขอ้ มลู ยอ่ ย เปน็ แฟ้มข้อมูลใหม่ ๆ ของแฟม้ ขอ้ มลู หลกั แตย่ ังอาจต้องปรับให้เป็นปัจจุบัน แฟ้มดัชนี เป็นแฟ้มเลขดชั นีท่รี ะบุวา่ ขอ้ มลู ใดอยู่ส่วนไหนของข้อมูลหลกั แฟม้ ตารางอา้ งองิ เป็นแฟม้ รวบรวมขอ้ มูลในลกั ษณะตารางเพื่อประโยชน์ในการใช้อา้ งอิง แฟม้ ข้อมลู สรุป เป็นแฟม้ รวบรวมขอ้ มลู ในรูปแบบของการสรุปผล แฟ้มข้อมูลสารอง เป็นการสร้างแฟม้ สารองข้อมลู สาคัญๆ เพอ่ื ประโยชน์ในกรณที ่ีขอ้ มลู เดมิ สญู หาย
211 กระบวนการจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา สถานศึกษาควรมีแนวทางในการดาเนินการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ (สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน, 2554ก, น. 31-36) ดังนี้ 1. การจัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานของสถานศึกษาท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา 2. กาหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ครอบคลุมเป็นปัจจุบัน สะดวกต่อ การเขา้ ถงึ และการใหบ้ ริการ 3. นาขอ้ มูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหารและการพัฒนาการเรียนการสอน แตล่ ะแนวทางในการดาเนินการ มรี ายละเอยี ดดังนี้ 1. การจัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานของสถานศกึ ษาทีเ่ อื้อต่อการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา 1.1 ภารกิจในการบรหิ ารสถานศกึ ษา การบริหารและการจัดการศึกษาท้ังด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหาร งบประมาณ และการบริหารงานท่ัวไปในสถานศึกษามีภารกิจเป็นไปตามตารางที่ 5.1 แสดงภารกิจการบริหาร และการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา การจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษามีความสาคัญและจาเป็นในการดาเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ โดยเป็นระบบ สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันและสามารถเรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศได้ตลอดเวลา เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจในการดาเนินการต่าง ๆ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ในการดาเนนิ การดังกล่าวข้างตน้ ผู้ท่ีเกย่ี วข้องควรศึกษาแนวคดิ และดาเนนิ การทั้งสองส่วนควบคู่ กันไปเพื่อนาไปจัดโครงสรา้ งหรือระบบบริหารงานของสถานศึกษาให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ในการบริหารและจดั การศึกษา ตามแผนภาพที่ 8.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกัน คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
212 ตารางท่ี 8.1 ภารกิจการบริหารและการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา : การบรหิ ารงานวชิ าการและบุคคล วิชาการ บุคคล - การพฒั นาหรอื การดาเนนิ การเกี่ยวกับการใหค้ วามเห็น - การวางแผนอตั รากาลงั การพัฒนาสาระหลกั สตู รท้องถ่นิ - การจัดสรรอตั รากาลังขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร - การวางแผนงานด้านวชิ าการ ทางการศึกษา - การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา - การสรรหาและบรรจุแตง่ ตง้ั - การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา - การเปลยี่ นตาแหนง่ ใหส้ ูงข้ึน การยา้ ยข้าราชการครูและ - การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ บุคลากรทางการศกึ ษา - การวดั ผลประเมินผลและดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียน - การดาเนินการเกีย่ วกบั การเลือ่ นข้นั เงนิ เดือน - การวิจยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา - การลาทุกประเภท - การนิเทศการศกึ ษา - การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน - การแนะแนว - การดาเนินการทางวินยั และการลงโทษ - การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา - การสงั่ พกั ราชการและการสง่ั ให้ออกจากราชการไว้ก่อน - การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแขง็ ทางวชิ าการ - การรายงานการดาเนินการทางวินยั และการลงโทษ - การประสานความร่วมมือในการพฒั นาวิชาการกบั สถานศึกษา - การอุทธรณ์และการรอ้ งทกุ ข์ และองคก์ รอน่ื - การออกจากราชการ - การส่งเสรมิ และสนับสนนุ งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครวั - การจดั ระบบและการจัดทาทะเบียนประวตั ิ องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการและสถาบนั อื่นท่ีจัด - การจดั ทาบญั ชีรายชอื่ และใหค้ วามเหน็ เก่ียวกับ การศกึ ษา การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ - การจดั ทาระเบยี บและแนวปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั งานดา้ นวชิ าการของ - การส่งเสริมการประเมินวทิ ยฐานะข้าราชการครูและ สถานศกึ ษา บุคลากรทางการศกึ ษา การส่งเสรมิ และยกยอ่ ง - การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรียนเพอ่ื ใชใ้ นสถานศึกษา เชิดชูเกยี รติ - การพฒั นาและใชส้ ่ือเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา - การสง่ เสรมิ มาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชีพ - การพัฒนาและส่งเสรมิ ให้มแี หล่งเรียนรู้ - การส่งเสรมิ วินยั คณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา - การรเิ รม่ิ สง่ เสรมิ การขอรบั ใบอนุญาต - การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา การดาเนินการเกยี่ วกบั การบรหิ ารงานบุคคลให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
213 ตารางท่ี 8.2 ภารกจิ การบรหิ ารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา : การบริหารงบประมาณและบริหารท่วั ไป งบประมาณ บรหิ ารทวั่ ไป - การจดั ทาแผนงบประมาณและคาขอตง้ั งบประมาณเพือ่ เสนอ - การพัฒนาระบบและเครอื ขา่ ยข้อมลู สารสนเทศ ต่อปลดั กระทรวงศึกษาธิการหรอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการ - การประสานงานและพฒั นาเครอื ข่ายการศกึ ษา การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานแล้วแต่กรณี - การวางแผนการบริหารงานการศกึ ษา - การจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการใช้จา่ ยเงนิ ตามท่ไี ด้รับจดั สรร - งานวจิ ัยเพอื่ พัฒนานโยบายและแผน งบประมาณจากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน - การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองค์กร โดยตรง - การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน - การอนมุ ัตกิ ารใชจ้ ่ายงบประมาณท่ีได้รับจดั สรร - งานเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา - การขอโอนและการขอเปล่ียนแปลงงบประมาณ - การดาเนินงานธรุ การ - การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ - การดูแลอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อม - การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ - การจดั ทาสามะโนผเู้ รยี น - การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใช้ผลผลติ จากงบประมาณ - การรับนกั เรยี น - การระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพ่อื การศกึ ษา - การเสนอความเห็นเก่ยี วกบั เร่ือง - การปฏิบัติงานอนื่ ใดตามที่ไดร้ บั มอบหมายเกี่ยวกบั กองทุนเพอื่ การจดั ตงั้ ยบุ รวมหรือเลิกสถานศกึ ษา การศกึ ษา - การประสานงานการจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ - การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา และตามอธั ยาศัย - การวางแผนพสั ดุ - การระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา - การกาหนดรูปแบบรายการ หรือคณุ ลกั ษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ์ - การทัศนศกึ ษา หรอื ส่งิ กอ่ สรา้ งที่ใชเ้ งนิ งบประมาณเพอื่ เสนอต่อปลดั กระทรวง - งานกิจการนักเรยี น ศึกษาธิการหรอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน - การประชาสมั พนั ธ์งานการศกึ ษา แล้วแตก่ รณี - การสง่ เสรมิ สนับสนุนและประสาน - การพัฒนาระบบขอ้ มลู และสารสนเทศเพอื่ การจัดทาและจดั หา การจัดการศกึ ษาของบคุ คล ชุมชน องค์การ หน่วยงาน พัสดุ และสถาบนั สังคมอืน่ ทจี่ ดั การศกึ ษา - การจัดหาพสั ดุ - งานประสานราชการกับส่วนภูมภิ าคและส่วนท้องถิ่น - การควบคมุ ดูแล บารุงรักษาและจาหนา่ ยพัสดุ - การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน - การจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรัพยส์ นิ การเบกิ เงนิ จากคลงั - การจัดระบบการควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน - การรับเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการจา่ ยเงิน - แนวทางการจดั กจิ กรรมเพ่ือปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมในการ - การนาเงินสง่ คลงั ลงโทษนักเรียน - การจัดทาบญั ชี การเงิน - การจัดทารายงานทางการเงินและงบการเงิน
214 ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา นามาใช้พัฒนาคณุ ภาพใหไ้ ดต้ าม มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ระบบบรหิ าร - โรงเรยี น - หอ้ งเรียน - นักเรยี น ระบบสารสนเทศ การบริหารงานวชิ าการ ข้อมูล ศึกษาและวิเคราะห์ ไม่ผ่าน การบรหิ ารงานบคุ คล ปัจจัย ต้องการข้อมูลสารสนเทศ การบริหารงบประมาณ กระบวนการ การบริหารงานทว่ั ไป ผลผลติ เกบ็ รวบรวมข้อมลู ผลลัพธ์ ตรวจสอบ ปรับปรุง/ พฒั นา ผ่าน การประมวลผลหรือการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การจัดทาสารสนเทศ การนาขอ้ มลู สารสนเทศไปใชป้ ระโยชน์ ภาพท่ี 8.2 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบรหิ ารและ การจัดเกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศ สารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา รรารายงานผลระบบสารสนเทศ ทีม่ า: สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554ก, น. 39
215 2. การกาหนดผ้รู ับผดิ ชอบและจัดระบบสารสนเทศ 2.1 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศท่ีส่งผลต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ต้องมีการกาหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ การดาเนินการดังกล่าว ควรคานึงถึงหลักการมีส่วนร่วมของผู้ปก ครอง ชุมชน องค์กร หรือหน่วยงานในท้องถ่ิน รวมถึงหลักธรรมาภิบาล การกระจายอานาจ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ อีกท้ังบุคลากรทุกกลุ่มงานควรมีการรับรู้หรือร่วมงานอย่างท่ัวถึง ดังน้ัน ผู้บริหารจึงมีบทบาทหน้าที่ในการบริหารงาน ข้อมูลสารสนเทศให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2554ก, น. 40) ดงั นี้ 1) คัดเลือกบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถในด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีข้อมูล สารสนเทศให้มีหน้าที่จัดทาข้อมูลตามระบบการใช้โปรแกรมข้อมูลสารสนเทศให้เข้ารับการอบรมในโปรแกรมต่าง ๆ ท่หี น่วยงานตน้ สังกัดจดั ขนึ้ 2) จัดระบบติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากรท่ีได้รับการแต่งตั้งให้กรอกข้อมูลและปรับปรุง ข้อมลู ให้เป็นปจั จุบนั 3) ให้การสนับสนุนบุคลากรในสถานศึกษาให้ได้การอบรมพัฒนาทักษะด้านการใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศในดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง 4) มีบทบาทในการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลสารสนเทศที่สถานศึกษาจัดทาขึน้ กอ่ นนาไปใช้ 5) สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้และสามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศที่ สถานศึกษาจัดทาขึ้นได้ด้วยตนเอง มีการจัดทาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไว้บริการและให้เจ้าหน้าท่ีจัดทาข้อมูล สารสนเทศในดา้ นตา่ ง ๆ เป็นผู้แนะนาขัน้ ตอนการสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศ การกาหนดผ้รู ับผดิ ชอบ ควรจัดทาคาสั่งมอบหมายงานให้ชัดเจนให้เป็นไปตามความเหมาะสมกับ บริบท สภาพแวดล้อม และจานวนบุคลากร สาหรับการดาเนินการน้ัน สถานศึกษาที่มีบุคลากรจากัดอาจเชิญ บุคลากรในท้องถ่นิ ไดแ้ ก่ ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง ผ้ทู ีม่ ีความสามารถเฉพาะดา้ นหรือผทู้ ่สี นใจเข้ามามีสว่ นร่วมตาม หลกั การมีสว่ นร่วมตามทีก่ ลา่ วมาข้างต้น การแบ่งผู้รับผิดชอบสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ในท่ีน้ีขอเสนอเป็น 2 ระดับ คือ 1) ระดับห้องเรียน และ 2) ระดับสถานศึกษา โดยใช้หลัก PDCA (Plan-Do-Check-Act) และความสอดคล้องกับภาระงานของ สถานศึกษาท่ีมี 4 งาน คือ งานวิชาการ งานบุคลากร งานงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป ตัวอย่างของการแบ่ง ผ้รู บั ผิดชอบ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน, 2554ก, น. 42-43) มดี งั น้ี
216 ระดบั ห้องเรยี น งาน ผรู้ ับผดิ ชอบหลัก 1. ข้อมูลสารสนเทศผู้เรยี นด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดา้ นคุณลกั ษณะ ครูประจาช้ัน/กล่มุ สาระการเรียนรู้ อนั พงึ ประสงค์ แหลง่ เรยี นรู้/ภูมิปญั ญาท้องถิน่ เป็นตน้ 2. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 3. จัดทา/จดั หาสอื่ และแหล่งเรยี นรู้ 4. จดั การเรียนรู้ ครผู ู้สอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้/ 5. วดั และประเมนิ การจดั การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 6. สรุปผล/จัดทารายงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ระดับสถานศกึ ษา ผรู้ ับผิดชอบหลัก ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและ งาน ผ้รู ับผิดชอบแต่ละงาน 1. ข้อมูลสารสนเทศ ผู้รับผิดชอบแตล่ ะงาน - งานวชิ าการและมาตรฐานด้านผูเ้ รียน - งานบคุ ลากร - งานงบประมาณ - งานบริหารท่วั ไป 2. จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจาปี/โครงการ/กิจกรรม 3. ดาเนินการตามแผนฯ/โครงการ/กิจกรรม 4. นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ 5. สรุป/จดั ทารายงานประจาปี ข้อสังเกต : ขอ้ มลู สารสนเทศทุกด้านควรรวบรวมย้อนหลงั อย่างน้อย 3 ปี และมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในหลายมาตรฐานอาจใชข้ ้อมลู สัมพนั ธก์ ัน 2.2 การจัดระบบสารสนเทศใหเ้ ป็นหมวดหมู่ สถานศึกษามีข้อมูลกระจัดกระจาย มากมายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ตามภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ ของครูและบุคลากรแต่ละคน ทาให้ยุ่งยากไม่สะดวกในการนาไปใช้ หรือมีข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ตรงกับความ ตอ้ งการของผใู้ ช้ซ่ึงทาให้ไม่เกดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา
217 การปฏิบตั ิงานตามภาระหนา้ ที่และความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละคนส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ในการจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการประเมินคุณภาพผู้เรียนน้ัน สถานศึกษาควรรวบรวมผลการดาเนินงานของ สถานศึกษาให้ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และควรเก็บข้อมูลสารสนเทศย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปีเพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศที่สมบูรณ์ โดยสถานศึกษาต้องเร่ิมต้นจากการนาผลการประเมินของการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษาผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัติงานประจาปี และผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตาม นโยบายพิเศษ มาวเิ คราะหจ์ ัดเดน่ จดุ ควรพัฒนา ซึง่ รูปแบบของการเกบ็ ระบบข้อมูลสารสนเทศทาไดห้ ลายรูปแบบ โดยรูปแบบการจัดเก็บระบบข้อมูลสารสนเ ทศที่ย กตัว อย่างมานี้เป็ น เพี ยงแนวทางใน การ ดาเนิ นการเ ท่ าน้ั น สถานศึกษาสามารถนาไปปรับใช้กับสถานศึกษาของตนเองตามความเหมาะสมและสภาพของสถานศึกษาน้ัน ๆ ตัวอย่างมี (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน, 2554ก, น. 45-55) ดงั น้ี รูปแบบที่ 1 จดั ระบบตามลกั ษณะขอ้ มูล ได้แก่ 1) ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา สภาพการบริหารและ การจัดการตามโครงสร้างการบริหารและภารกิจ ศักยภาพของสถานศึกษา ความต้องการของสถานศึกษา แนวโน้มใน การพฒั นาท้องถิน่ แนวทางการจดั การศกึ ษา การมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษา/ชุมชน/คณะนกั เรียน เปน็ ต้น 2) ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของผู้เรียน สุขภาพอนามัยของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ผลการประเมินการอ่าน การวเิ คราะห์ รูปแบบการเรียนรูข้ องผเู้ รียน เป็นต้น 3) ข้อมูลสารสนเทศท่ีเกิดจากการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี ได้แก่ ผลดาเนินงาน ตามเปา้ หมายของโครงการ/กิจกรรมตา่ ง ๆ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) เปน็ ต้น รปู แบบท่ี 2 จัดระบบเพ่ือเตรียมพร้อมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก ได้แก่ 1) ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ผลจากรายงานประจาปีของสถานศึกษา ยอ้ นหลงั อยา่ งน้อย 3 ปีติดตอ่ กัน) 2) ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีย้อนหลังอยา่ งน้อย 3 ปีติดตอ่ กัน 3) ผลการจดั การเรยี นรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาย้อนหลังอยา่ งนอ้ ย 3 ปีติดตอ่ กัน รปู แบบที่ 3 จดั ระบบตามลักษณะข้อมลู สารสนเทศท่จี าเป็นเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1) ข้อมูลสารสนเทศพ้ืนฐานของสถานศึกษา ได้แก่ ข้อมลู มั่วไปของสถานศึกษาสภาพการบริหารและ การจัดการตามโครงสร้างการบริหารและภารกิจศักยภาพของสถานศึกษา ความต้องการของสถานศึกษา แนวทางการจดั การศึกษาการมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา/ชมุ ชน/คณะนกั เรียน
218 2) ข้อมูลสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับผู้เรียน ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน คุณลักษณะ ทพี่ ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น ผลงานและการแสดงออกของนักเรียน รูปแบบการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น 3) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการ สอน การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน การจัดกิจกรรมแนะแนว การวจิ ยั ในช้นั เรยี น 4) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ได้แก่ สภาพและบรรยากาศการเรียนรู้ ทรัพยากร และสง่ิ อานวยความสะดวก การพฒั นาบคุ ลากร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถานศึกษากบั ผูป้ กครองและชุมชน 5) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการรายงาน ได้แก่ คุณภาพผู้เรียน คุณภาพด้านการจัดการเรียน การสอน คณุ ภาพด้านการบรหิ ารจดั การ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน รปู แบบที่ 4 จดั ระบบตามภารกิจการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและบุคลากร 1) งานวิชาการ ข้อมูลที่สาคัญ ได้แก่ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวิชาการ การพัฒนา หลกั สตู รของสถานศกึ ษา แหล่งเรียนรแู้ ละภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน การพัฒนาการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล การวิจยั ในชั้นเรียน การนิเทศการเรียนการสอน การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาส่ือ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาวิชาการ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียนทุกด้าน (สรุปรวบรวมมาจากครูประจาชั้น / กลุม่ สาระการเรยี นร้)ู รายงานโครงการ/กจิ กรรม เป็นตน้ 2) งานบุคลากร ข้อมูลท่ีสาคัญ ได้แก่ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านบุคลากร ข้อมูลทุกด้าน ของครู เช่น อายุของบุคลากร อายุราชการ วุฒิการศึกษา การศึกษาต่อการพัฒนาวชิ าชพี การศึกษาต่อการเข้ารับ การพัฒนาหรือฝกึ อบรม รายงานโครงการ/กิจกรรม เปน็ ต้น 3) งานงบประมาณ ขอ้ มูลทสี่ าคญั ได้แก่ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านแผนและงบประมาณ การจดั สรรงบประมาณ การดาเนินงานตามแผน รายงานการเบิก-จ่ายหรือใช้งบประมาณ การจดั ซ้ือจัดจ้าง การเบิกจ่าย พสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ การจัดทาบัญชี รายงานประจาปี เป็นตน้ 4) งานบริหารทั่วไป ข้อมูลท่ีสาคัญ ได้แก่ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านงานบริหารท่ัวไป ระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ ระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร ข้อมูลเกี่ยวกับอาคารสถานท่ี สิ่งอานวย ความสะดวกและสภาพแวดล้อม งานกิจการนักเรียน ข้อมูลระบบสารบรรณ ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการ สถานศกึ ษา การบนั ทึกการประชมุ ของสถานศกึ ษา รายงานโครงการ/กจิ กรรม เป็นต้น 3. การนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ 3.1 การใช้ประโยชนจ์ ากการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการระบบสารสนเทศในสถานศกึ ษาในรูปของ โปรแกรมประยุกต์ พัฒนาโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษข้ันพื้นฐาน เป็นการนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ ประโยชน์ เช่น โปรแกรมเพ่ือการจัดเก็บบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา (O-BEC)
219 โปรแกรมระบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา (School Management Information System: SMIS) โปรแกรมเพ่ือบันทกึ ประมวลผลและรายงานขอ้ มลู ครุภัณฑ์รายโรงเรียน (M-OBEC) โปรแกรมเพื่อ บันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสิ่งก่อสร้างรายโรงเรียน (B-OBEC) โปรแกรมเพ่ือบันทึกประมวลผลและ รายงานข้อมูลเก่ียวกับบคุ ลากรในสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา (P-OBEC) เป็นต้น 3.2 การใชป้ ระโยชน์จากระบบข้อมลู สารสนเทศทั่วไป 1) กรณีทป่ี ระมวลจากการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศด้านตัวบุคคล สามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน แตล่ ะด้าน ดังน้ี (1) ด้านผู้เรียน ได้แก่ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สุขภาพอนามัย คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ การอา่ น การเขียน การคิดวเิ คราะห์ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ข้อมลู นักเรยี นรายบคุ คล เปน็ ตน้ การใช้ประโยชน์ ได้แก่ - การจัดทาแผน/โครงการ/กิจกรรมด้านวชิ าการ/กจิ กรรมนักเรียน/การบริหารจัดการศึกษา - การจัดตงั้ การจดั สรรงบประมาณเพือ่ พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น การวางแผนทางการศึกษา - การประกันคุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอก - การนิเทศตดิ ตามผลรายงานประจาปี - การพัฒนาผเู้ รยี น การพัฒนาการเรียนการสอน - การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง การหา/จัดทา สอ่ื เทคโนโลยแี หลง่ เรยี นรู้ - การจัดทาผลงานทางวชิ าการ เป็นตน้ (2) ดา้ นงานบรหิ ารบุคคล การใชป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก่ - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร (การพัฒนาวิชาชีพ การอบรมเพ่ือพัฒนา การพฒั นาการจดั การเรียนร้)ู - ด้านวิชาการ (การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามการประกันคุณภาพ ภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การบรหิ ารจดั การศึกษา) - ดา้ นงบประมาณ (การจัดต้งั จดั สรรงบประมาณ) - ด้านบริหารทั่วไป (การวางแผนทางการศึกษา รายงานโครงการ/กิจกรรม การจัด สภาพแวดล้อม/บรรยากาศการเรียนการสอน) เป็นต้น
220 (3) ด้านงานบริหารบคุ คล การใช้ประโยชน์ ได้แก่ - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร (การพัฒนาวิชาชีพ การอบรมเพ่ือพัฒนา การพฒั นาการจดั การเรยี นร)ู้ - ด้านวิชาการ (การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามผลการประกันคุณภาพ ภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การบรหิ ารจดั การศกึ ษา) - ด้านงบประมาณ (การจัดต้งั จัดสรรงบประมาณ) - ด้านบริหารท่ัวไป (การวางแผนทางการศึกษา รายงานโครงการ/กิจกรรม การจัด สภาพแวดล้อม/บรรยากาศการเรียนการสอน) เป็นต้น (4) ดา้ นงานงบประมาณ การใชป้ ระโยชน์ ได้แก่ - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านงบประมาณ การจดั ต้ัง จดั สรรงบประมาณของงาน 4 งาน - การนิเทศติดตามผล การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การบรหิ าร จัดการศึกษา (5) ด้านงานบรหิ ารทว่ั ไป การใชป้ ระโยชน์ ได้แก่ - การจดั ทาแผน/โครงการ/กจิ กรรมด้านบริหารทัว่ ไป - งานด้านวชิ าการ (การจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานท่ีเพ่ือเอื้อต่อการเรยี นรู้) การประกัน คณุ ภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การนิเทศติตดตามผลรายงานประจาปี เป็นต้น การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศของแต่ละงาน แต่ละด้านไม่ได้แยกส่วนจากกัน บางงาน อาจใช้ข้อมูลสารสนเทศร่วมกันและข้อมูลสารสนเทศระบบหนึ่งอาจใช้ได้กับงานหลายงาน ข้ึนอยู่กับการวิเคราะห์และ ประโยชน์ของผใู้ ช้ รวมถงึ วตั ถปุ ระสงค์และการออกแบบการจัดเกบ็ ข้อมลู ของสถานศึกษาด้วย ความสาคัญของระบบสารสนเทศทมี่ ตี ่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นการดาเนินกจิ กรรมเพื่อสร้างความม่ันใจต่อผู้ปกครอง ชมุ ชน และสงั คม ที่มีต่อสถานศึกษา ซ่ึงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ การควบคุมคุณภาพ การศึกษา การตรวจสอบทบทวนและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพการศึกษา แต่ละ
221 ขั้นตอนจาเป็นต้องใช้สารสนเทศในการดาเนินงาน โดยความสาคัญของระบบสารสนเทศในแต่ละขั้นตอน (กรม สามัญศกึ ษา, 2542) มดี ังนี้ 1. ระบบควบคุมการศึกษา ประกอบด้วย การกาหนดมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน การศึกษา การดาเนินงานของสถานศึกษาจาเป็นต้องมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับสภาพทั่วไปของท้องถิ่นที่เป็นท่ตี ั้ง ของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ศักยภาพของสถานศึกษา แผนการพัฒนา นโยบายและแนวการพัฒนา ดา้ นต่าง ๆ ของหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ที่จะนาไปสู่การกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษาได้อยา่ งเหมาะสมสอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่น ศักยภาพของสถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษาระดบั ชาติ และสามารถดาเนินการ พัฒนาเข้าสู่มาตรฐานการศกึ ษาทก่ี าหนดได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2. ระบบตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาจาเป็นต้องมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับ ปัจจัยในการดาเนินงาน กระบวนการการบริหารจัดการ ได้แก่ คุณลักษณะของผู้เรียนท่ีจะเอื้อต่อการประเมิน ภายในท่ีสถานศึกษาทั้งท่ีสถานศึกษาดาเนินการและจากหน่วยงานต้นสังกัด รวมถึงข้อมูลสารสนเทศท่ีแสดงถึง จุดเด่นและจุดด้อยที่ต้องการพัฒนาของสถานศึกษาซึ่งเป็นผลจากการประเมินผลภายในจะนาไปสู่การส่งเสริม คุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาด้วย 3. ระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาจาเป็นต้องมีสารสนเทศท่ีแสดงถึงบริบทของ สถานศกึ ษา ปจั จยั ในการดาเนนิ งานของสถานศึกษา กระบวนการในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา รวมถึงผลผลิต น่ันคือ คุณลักษณะของผู้เรียนท่ีจะช่วยให้การประเมินคุณภาพท้ังระบบของสถานศึกษาเป็นไปได้อย่างสะดวก ราบร่ืน สรปุ สถานศกึ ษามภี าระงานทั้งงานการสอน งานนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด และการประสานความร่วมมือ กับหน่วยงานอ่ืน ๆ เพ่ือให้การบริหารจัดการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยส่งผลให้การศึกษาบรรลุเป้าหมายมี ประสทิ ธิภาพ ซง่ึ การบริหารจัดการดังกล่าวจะมีคุณภาพประสิทธิภาพไดต้ ้องเป็นการบรหิ ารท่ีมีข้อมูลสารสนเทศท่ี เป็นองค์ประกอบการดาเนินการของสถานศึกษา เพราะเป็นเครื่องมือสาคัญของผู้บริหารท่ีจะช่วยในการวางแผน การตัดสนิ ใจ และการดาเนนิ งาน ดงั นนั้ การบริหารสถานศึกษาจาเปน็ ต้องมรี ะบบข้อมูลสารสนเทศ และในปจั จุบัน ระบบสารสนเทศมีบทบาทต่อการศึกษามากขึ้น รวมถึงหน่วยงานต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับการบริหารระบบข้อมูล สารสนเทศให้มีความพร้อมในการใช้งานได้ทันที ในทางกลับกันหากสถานศึกษาไม่ได้จัดเก็บให้เป็นระบบย่อมมี ผลกระทบกับการบริหารงานที่ทาให้ได้ข้อมูลไม่ถูกต้องไมท่ นั กับเหตุการณ์และไม่เพียงพอต่อการใช้งานอันจะส่งผล ให้การบริหารการปฏบิ ัติงานของสถานศึกษา
222 เอกสารอ้างอิง กรมสามัญศกึ ษา. (2542). พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542. กรงุ เทพฯ: คุรสุ ภาลาดพร้าว. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2554ก). การจัดรับบริหารและสารสนเทศภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553.
223 บรรณานุกรม กรมสามญั ศึกษา. (2542). พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542. กรงุ เทพฯ: ครุ ุสภาลาดพรา้ ว. กฤษณพงศ์ กีรติกร. (2552). วกิ ฤตกิ ระบวนทัศน์มโนทัศน์เพ่ือการปฏริ ูปการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: สานกั งาน คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา. กฤษมนั ต์ วัฒนาณรงค์. (2554). พัฒนาการทางการสอน 5 แบบจากอดีตสู่ปัจจบุ นั . คน้ เมื่อ 10 กรกฎาคม 2557, จาก http://www.sahavicha.com/?name-article&file=readarticle&id=2232 กวนิ ทรเ์ กียรติ นนธ์พละ. (2552). แนวทางในการใช้ทรัพยากรทางการศึกษาร่วมกันของสถานศึกษาในเขต พื้นทก่ี ารศึกษาเพชรบรุ ี เขต1. วทิ ยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรด์ ุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . กติ มิ า ปรดี ีดิลก. (2520). ปรัชญาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. กติ มิ า ปรีดดี ลิ ก. (2523). ปรัชญาการศกึ ษา เลม่ 1. กรงุ เทมหานคร: ประเสริฐการพิมพ.์ กีรติ บญุ เจอื . (2519). ปรัชญาสาหรับผู้เริม่ เรยี น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ . เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2528). “ศึกษาและวิเคราะหป์ รัชญาการศึกษาลทั ธิอัตถิภาวนิยม” วารสารครุศาสตร์.14, 2 (ตลุ าคม-ธนั วาคม 2528): 66. ขนษิ ฐา สุวรรณฤกษ.์ (2548). การศกึ ษาและความเป็นครไู ทย. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุร.ี คณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน. (2554). กาหนดหลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ัติเกี่ยวกบั การประกันคุณภาพภายในระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2554. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. จกั รกฤษณ์ พุทธะ. (2556). การระดมทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาขนาดเลก็ สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 36. วทิ ยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า การบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย. จนิ ดา ยญั ทพิ ย์. (2528). ความสัมพันธ์ระหวา่ งแนวคดิ ทางปรัชญาการศึกษากับแบบการเรียนของนสิ ติ ระดับ บณั ฑติ ศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ชวาล แพรัตกลุ . (2518). เทคนคิ การวัดผล. พมิ พค์ ร้ังที่ 6. กรงุ เทพฯ: วฒั นาพานิช. ซี อี เอ็ม โจด. (2523). ปรชั ญา. วทิ ย์ วิศทเวทย.์ (แปล) กรงุ เทพฯ: โครงการตาราฯ สมาคมสงั คมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย. ฐิตพิ งษ์ ธรรมานสุ รณ์ และคณะ. (2522). พ้ืนฐานการศึกษา (ศึกษา 111). กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์. ณฐั พร คามะสอน. (2531). การเปรียบเทยี บแนวคดิ ทางปรัชญาการศกึ ษาระหวา่ งผู้บรหิ าร โรงเรียน มัธยมศกึ ษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เตือนใจ ชยโครต. (2555). บทบาทการบรหิ ารทรพั ยากรทางการศึกษาของนายกองค์การบริหาร สว่ นตาบลจงั หวัดบรุ รี มั ย์. วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย.์
224 ทองปลวิ ชมชน่ื . (2529). ปรัชญาการศึกษานอกระบบโรงเรยี น. นครปฐม: มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ทองหล่อ วงษธ์ รรมา. (2555). พ้นื ฐานปรัชญาการศึกษา : ภมู ิปญั ญาของตะวนั ออกและตะวันตก. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์. บรรจง จันทรสา.(2522). ปรัชญากับการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพไ์ ทยวัฒนาพานิช. ปรชี า คมั ภีรปกรณ์ และคณะ. (2556). การบรหิ ารทรพั ยากรทางการศึกษา. ในประมวลชุดวชิ าการบริหาร ทรัพยากรทางการศึกษา. หนว่ ยที่ 1. พิมพค์ ร้ังที่ 8. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ปานทพิ ย์ ศุภนคร. (2542). ปรัชญาเบื้องตน้ . (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาแหง. เปรมชยั สโรบล. (2550). ปจั จัยการบริหารที่มีอทิ ธพิ ลต่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า. ดุษฎนี ิพนธ์ปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. พรรณอร อุชุภาพ. (2561). การศึกษาและวชิ าชพี คร.ู กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . พร้อมพรรณ อุดมสนิ . (2533). การวัดผลและประเมินผลการเรยี นการสอนคณิตศาสตร.์ กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . พระราชวรมนุ ี (ประยุทธ์ ปยุตโต). 2525. ปรชั ญาการศึกษาไทย. (พิมพ์ครง้ั ที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง. พระอัครเดช ญาณเตโช โลภะผล. (2557). พุทธปรัชญาการศึกษา Buddhist Philosophy of Education. วารสารอเิ ล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวตั กรรม. ปที ี่ 4 ฉบบั ที่ 2 ก.ค. - ธค. 2557. สบื คน้ จาก https://e-jodil.stou.ac.th/Page/Home.aspx. พชั ณียา หานะพันธ.์ (2557). การศึกษาสภาพ ปญั หาและแนวทางแก้ปัญหาการบรหิ ารทรพั ยากรทาง การศึกษาของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 31 และ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาสงั กดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดนครราชสมี า. วทิ ยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา. พชิ ติ ฤทธ์จิ รูญ. (2553). หลักการวดั และประเมนิ ผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งท่ี 6. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เดอรม์ ิสท.์ พิณสุดา สริ ิธรงั ศร.ี (2556). รายงานการวิจยั และพัฒนา เร่ืองรูปแบบการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ข้ันพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกจิ บณั ฑิตย์. พมิ พ์พรรณ เทพสเุ มธานนท์ และคณะ. (2555). ปรัชญาการศึกษาเบ้ืองต้น. (ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่) กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคาแหง. เพมิ่ วธุ บบุ ผามาตะนงั . (2543). ครูไทยในสหสั วรรษใหม.่ วารสารวิชาการ. กระทรวงศกึ ษาธิการ. ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ (2529). ปรัชญาการศกึ ษาเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น.์ (2553). การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศจีนและเวียดนาม. พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ไพฑูรย์ สินลารัตน.์ (2556). ปรชั ญาการศกึ ษาเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8) กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
225 ฟาฏนิ า วงศเ์ ลขา. (2558). ส่อื การเรียนรรู้ ูปแบบใหม่ ในโลกยคุ ดจิ ิตอล. สืบคน้ จาก https://nooyuisutthida.wordpress.com) ภทั รา นคิ มานนท.์ (2543). การประเมินผลการเรียน. กรงุ เทพมหานคร: ทิพยวสิ ทุ ธ์ิ. ภิญโญ สาธร. (2521). หลกั การศึกษา. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์สภุ า. เมธี ปลิ ันธนานนท.์ (2523). ปรัชญาการศกึ ษาสาหรับครู. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . มลู นิธิชัยพัฒนา. (2552). เศรษฐกจิ พอเพยี ง. สืบค้นจาก http://www.chaipat.or.th/site_content/item/19- 2009-10-30-07-44-57.html รตั นา ตันบนุ เต็ก (2530). ปรชั ญาการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร. ราชกิจจานุเบกษา. (2551). พระราชบัญญัติการศึกษาการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั . เลม่ 125 ตอนท่ี 41 ก 3 มนี าคม 2551 ลออ การุญยวณิชและคณะ. (2518). “การศึกษาพัฒนาการ” วิธสี อนทั่วไป. กรุงเทพฯ: สานักพิมพร์ ุ่งเรืองธรรม. ลิขิต ธรี เวคิน. (2552). “ความเปน็ มาของระบบการศกึ ษาไทย.” ผจู้ ัดการ, 14 ตลุ าคม 2552. วรพงษ์ เถาว์ชาลี. (2556). ประสิทธภิ าพการบรหิ ารสถานศึกษาทสี่ มั พนั ธ์กบั การเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ของโรงเรยี นมธั ยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. วรวิทย์ วศินสรากร. (2549). ปรชั ญากับการศึกษาเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. วรัยพร แสงนภาบวร. (2550). รายงานการวิจยั เรื่อง การกระจายอานาจทางการศึกษาของประเทศญป่ี ุ่น. กรุงเทพฯ: สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. วจิ ิตร เกิดวิสษิ ฐ์. (2520). ปรชั ญาการศกึ ษาของพระพทุ ธศาสนาฝา่ ยเถรวาท. วทิ ยานพิ นธอ์ กั ษรศาสตรมหา บัณฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วจิ ติ ร ศรสี อ้าน. (2525). ความพยายามในการแสวงหารปู แบบทเี่ หมาะสมของมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวทิ ยาลัย. วิชยั ตันศิร.ิ (2539). โฉมหนา้ การศึกษาไทยในอนาคต : แนวคดิ และเน้อื หาวิเคราะห์. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . วิเชียร เกตุสิงห์. (2517). การวดั ผลการศึกษา. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ. วทิ ย์ วศิ ทเวทย์ (2523) .ปรชั ญาการศึกษา:แนวคิดทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พเ์ จรญิ วิทย์การพมิ พ.์ วิทยากร เชยี งกูล. (2553). การสงั เคราะหผ์ ลการวจิ ยั ปฏริ ูปการศึกษาของประเทศ ฟินแลนด์ นวิ ซแี ลนด์ เกาหลีใต้ สหรฐั อเมรกิ า สหราชอาณาจกั ร จนี เวยี ดนาม และไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ภาพพิมพ์. วไิ ล ตั้งจิตสมคดิ . (2557). ความเป็นครู. พมิ พ์ครง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.์ ศกั ดา ปรางค์ประทานพร. (2526). ปรัชญาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2550). การจัดการและพฤตกิ รรมองคก์ าร. กรงุ เทพฯ : ธีระฟลิ ์มและไซเท็กซ.์
226 ศภุ ร ศรีแสน. (2526) ปรชั ญาและแนวคิดทางการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: อภิชาตการพมิ พ์. สถติ ย์ วงศ์สวรรค์. (2537). ปรชั ญาเบือ้ งตน้ . (พมิ พค์ รง้ั ที่ 2). กรงุ เทพฯ: รวมสาส์น. สมใจ ดัสกรณ.์ (2559). ความคิดเหน็ ของบุคลากรต่อการบรหิ ารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา ในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารจดั การการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาฬสินธุ์. สมนึก พวงพวา.(2531). ปรัชญาการศกึ ษาตามความต้องการของอาจารยว์ ิทยาลัยครสู หวทิ ยาลยั ทวาราวดแี ละสหวิทยาลยั ทกั ษิณ. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑติ , สานักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สมนึก ภัททยิ ธน.ี (2535). การประเมนิ ผลและสรา้ งแบบทดสอบ. [ม.ป.ท.]. สมหมาย ปวะบุตร. (2558). ตาราหลักการศึกษา. สืบค้นจาก www.eledu.ssru. ac.th/sommai/file.php / 1 /Book_1_.pdf สังเวยี น มาลาทอง. (2556). การศึกษาสภาพการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราไพพรรณี. สาโรช บัวศรี (2526). ความคิดบางประการทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. สาโรช บวั ศรี. (2528). “ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์” ใน สมาคมการศึกษาแหง่ ประเทศไทย. สาโรช บัวศรี กบั ศึกษาศาสตรต์ ามแนวพทุ ธศาสตร์. กรงุ เทพฯ: รุง่ เรอื งการพิมพ์. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. (2550). แนวทางการนามาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานสกู่ าร ปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2554ก). การจัดรับบริหารและสารสนเทศภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั . สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน. (2554ข). แนวทางการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพใน สถานศึกษาสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากัด. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. (2543). แนวทางการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา : เพอ่ื พร้อมรับการประเมนิ ภายนอก. กรงุ เทพ ฯ: พิมพ์ดี สานกั งานปฏริ ปู การศึกษา. (2545). ชดุ ฝึกอบรมผนู้ าชุมชน : ประมวลสาระ. กรุงเทพฯ : สานักงานปฏิรูป การศึกษา. สานักนโยบายและแผนงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. (2543). หัวใจของการปฏริ ูปการศึกษาตามแนว พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา.
227 สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน). (2547). พระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค. สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2549ก). รายงานการวจิ ัยการศึกษาแนวโน้มเพื่อ การวจิ ัยและพัฒนาการศึกษาสาหรับอนาคต. กรุงเทพฯ: บริษทั พรกิ หวานกราฟฟิค จากัด. สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2549ข). รายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง การวจิ ัย เปรียบเทียบการปฏริ ปู การศกึ ษาประเทศในกล่มุ อาเซียน. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ. สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). รายงานการวจิ ัย เร่ือง นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกองค์กรระดับชาต.ิ กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จากัด. สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2556). ยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา พ.ศ. 2556 – 2558. กรงุ เทพฯ: องคการรบั สงสินค้าและพัสดภุ ณั ฑ (ร.ส.พ.). สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560ก). แนวทางการจดั การศึกษาทางเลือกเพ่ือยกระดับ คุณภาพ ผเู้ รียนตามนโยบายประเทศไทย 4.0. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ข). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค. สทิ ธิศกั ดิ์ เติมทอง. (2554). ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการบริหารทรัพยากรทางการศึกษากับประสิทธิผลของ สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 33. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสต รมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั สุรินทร์. สมุ น อมรวิวัฒน.์ (2528). การสอนโดยการสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ตรีรณสาร. สุรินทร์ รักชาติ. (2529). การเปรียบเทียบความเชื่อทางปรัชญาการศึกษาระหวา่ งผู้บรหิ าร อาจารย์ และ นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. แสง จันทรง์ าม. (2526). “วธิ ีสอนตามแนวพุทธศาสน์” ใน ศกึ ษาศาสตร์ตามแนวพุทธศาสน์ภาคท่ี 2: ระบบ การเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร. อาพล ราวกลาง. (2555). แนวทางการระดมทรัพยากรทางการศึกษาเพ่ือการบริหารจดั การสถานศึกษาขนาด เล็กกลุ่มโรงเรยี นปง 2 สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพะเยา เขต 2. วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อไุ ร ดษิ ฐลกั ษณ. (2530). การสารวจแนวคิดและการปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั สารตั ถพุทธปรัชญาการศกึ ษาของ ผบู้ รหิ ารและอาจารย์โรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร. วิทยานพิ นธค์ รุศาสตรมหา บณั ฑติ , สานกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ฮุศนยี ์ สัญญา และคณะ. (2558). ทฤษฎีการเรยี นรู้กลมุ่ เกสตัลท.์ สบื คน้ จาก http://hoossanee3661.blogspot.com/ 2015/11/blog-post_58.html.
228 Dale, E. (1969). Audio Visual Methods in Teaching. 3rd. ed. New York: Holt Rinehatr and Winston. Deming, William Edwards. (1982). Out of the Crisis. Cambridge: Massachusets Institute of Technology Press. Edward L. Thorndike. (2561). Edward Thorndike. ใน วกิ พิ ีเดียสารานุกรมเสร.ี สืบคน้ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Edward_Thorndike. Ivan Petrovich Pavlov. (2557). Ivan Pavlov. ใน วกิ ิพเี ดียสารานุกรมเสรี. สืบค้นจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Ivan_Pavlov John B. Watson. (2561). John B. Watson. ใน วกิ ิพีเดียสารานกุ รมเสร.ี สบื คน้ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/John_B._Watson John Dewey. (2014). Biography. สบื คน้ จาก https://www.biography.com/scholar/john-dewey Kneller, G. F. (1964). Introduction to the Philosophy of Education. New York: John Wiley & Sons. Ministry of Education, Singapore. (2008). Education in Singapore. [Online]. Accessed 3 February 2014. Available from http://www.moe.gov.sg/about/files/moe-corporate- brochure.pdf. National Institute of Education Singapore (NIE). Paving the Fourth Way : The Singapore Story. [Online]. Accessed 3 February 2014. Available from https://www.nie.edu.sg/files/oer/Paving%20the%20Fourth%20Way%20PDF.pdf. Newsome, Jr., & George, L. (1969). Education and Philosophy and the Education Philosopher. New York: Mcgraw-Hill. OECD. (2012). “Singapore Thinking Ahead” Strong performers and successful reformers in education : lessons from PISA for Japan [Online]. Accessed 9 July 2014. Available from http://www.oecd.org/edu/school/programmeforinternationalstudentassessmentpisa/ 49802616.pdf. Rachel, D. (2014). History of Education in Thailand. Retrieved 14 July 2014, from http://www.borgenmagazine.com/history-education-thailand. Sigmund Freud. (2561). Sigmund Freud. ใน วกิ ิพเี ดยี สารานกุ รมเสร.ี สบื คน้ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Sigmund_Freud Thakur, A.S. (1977). The Phisophical Foundations of Education. National Publinshing Hours. Wingo, M.G. (1974). Philosophies of Education: An Introduction. Lexington Mass: D.C.Heat and Co.
229 ดัชนี ก ท การจดั การศกึ ษา…..7, 13, 15, 18, 29, 41, 45, 52, ทฤษฎกี ารเรยี นรู้…..49, 53 53, 54, 66, 80, 83, 84, 85, 86, 87, 88, ทฤษฎกี ารศึกษา…..49, 52, 53, 54, 80 91, 92, 94, 95, 96, 97, 102, 105, 107, ทฤษฎีการสอน…..49, 53, 66, 67, 68, 109, 110, 113, 114, 115, 116, 117, 118, 119, 120, 121, 122, 124, 126, 73, 80 127, 128, 130, 131, 132, 137, 138, ทฤษฎวี ดั และประเมินผลการศึกษา…..49, 143, 148, 149, 151, 152, 155, 156, 157, 158, 160, 162, 163, 165, 169, 53, 73, 80 171, 172, 173, 174, 175, 176, 177, ทฤษฎหี ลกั สตู ร…..49, 53, 73, 80 179, 180, 183, 187, 188, 189, 192, นโยบายการศึกษาตา่ งประเทศ…..96, 193, 194, 195, 196, 204, 205, 211, 212, 213, 216, 217, 218 102, 106 การประกันคุณภาพการศึกษา…..116, 120, 165, ป 166, 171, 175, 176, 177, 178, 180, 182 183, 184, 185, 186, 189, 190, 191 192, ปฏริ ปู การศึกษา…..52, 53, 54, 87, 104, 193 194, 195, 196, 203, 204 105, 111, 116, 126, 135, 137, 139, 142, 143, 148, การศกึ ษาตามอธั ยาศัย…..83, 117, 119, 121, 122, 153, 155, 156, 157, 170, 126, 127, 128, 129, 130, 131, 132, 133 171, 175, 176, 182, 204 การศึกษาทางเลอื ก…..128, 132, 133 ประกนั คุณภาพภายใน…..166, 175, 176, การศึกษานอกระบบ…..90, 92, 104, 105, 117, 177, 178, 180, 184, 186, 187, 188, 189, 193, 194, 119, 122, 126, 127, 128, 129, 130, 196, 197, 198, 204, 205, 131, 132, 133 206, 209, 211, 212, 214, 215, 216, 218, 219, 220
230 ป (ต่อ) ศ ปรชั ญาการศกึ ษา…..1, 4, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, เศรษฐกิจพอเพยี ง…..33, 34, 35, 37, 39, 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 40, 41, 42, 43, 47, 91, 109, 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30, 31, 43, 44, 124, 125, 144, 146 49, 52, 53, 54, 73, 80, 89, 150, 152 ผ แผนการศึกษาชาติ…..88, 89, 90, 91, 113, 114 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ…..88, 89, 90, 91, 93, 113, 114, 115, 116, 118, 122, 131, 143 ม มาตรฐานการศึกษา…..13, 106, 107, 108, 114, 116, 118, 119, 120, 122, 131, 165, 168, 169, 171, 172, 173, 174, 175, 177, 178, 179, 180, 184, 185, 187, 188, 191, 192, 195, 196, 201, 206, 208, 209, 212, 214, 217, 218, 221 ร ระบบสารสนเทศ…..178, 188, 207, 208, 209, 210, 211, 214, 215, 216, 218, 220, 221
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240