Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบ้านร่อม (ปรับปรุง 2560) ปีการศึกษา 2563

หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบ้านร่อม (ปรับปรุง 2560) ปีการศึกษา 2563

Published by s.chonlagonr, 2020-04-28 10:28:25

Description: หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบ้านร่อม (ปรับปรุง 2560) ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศึกษา ประ ํจา ีปการ ึศกษา ๒๕๖๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) โรงเรยี นชมุ ชนวดั บา้ นรอ่ ม สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาประนครศรอี ยธุ ยา เขต ๑

ก ประกาศโรงเรียนชุมชนวดั บา นรอ ม เร่อื ง ใหใชหลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนวดั บา นรอ ม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ………………………………. ตามที่โรงเรียนชุมชนวัดบานรอม ไดประกาศใชหลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบานรอม พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยเริ่มใชห ลกั สูตรดังกลา วกับนักเรยี นทุกระดบั ชั้นในปการศึกษา ๒๕๕๓ ตอมาในป การศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนชุมชนวัดบานรอม ไดเพิ่มรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อใหสอดคลองรับกับนโยบายเรงดวนของ รัฐมนตรวี า การกระทรวงศึกษาธกิ าร เพือ่ ใหผเู รยี นพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด วเิ คราะห มเี วลาในการทำกจิ กรรม เพอื่ พฒั นาความรู ความสามารถและทักษะ การปลูกฝงคุณธรรมจรยิ ธรรม การสรา งวินยั การมีจิตสำนกึ รับผิดชอบ ตอ สงั คม ยดึ มนั่ ในสถาบันชาตศิ าสนา พระมหากษัตรยิ  และมีความภาคภมู ิใจในความเปนไทย ตลอดจนการเรียน การสอนในวิชาประวตั ิศาสตร และหนาที่พลเมือง รวมถึงการสอนศีลธรรมแกนักเรียน โรงเรียนชุมชนวัดบา นรอม ไดดำเนินการจัดทำหลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบานรอม พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) สอดคลองตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียน และปรับมาตรฐานและตัวชี้วัด สอดคลอ งกบั คำส่ัง สพฐ. ที่ ๑๒๓๙/๖๐ และประกาศ สพฐ.ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ เปนท่ีเรียบรอยแลว ทั้งนี้หลักสูตรโรงเรียนไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ จึงประกาศใหใ ชห ลกั สตู รโรงเรียนตง้ั แตบ ัดนี้เปนตน ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงชอื่ ………………………………………………………….. ลงชอื่ ………………………………………………………….. (นายกฤตพจน ตรนี ิจน) (นางประภัสสร มะณพี ันธ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ผอู ำนวยการโรงเรียนชมุ ชนวดั บานรอ ม โรงเรยี นชมุ ชนวดั บา นรอ ม

ข คำนำ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งใหโรงเรียนดำเนินการใชหลักสูตร ในปการศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใชในชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ และ ๔ ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา ใหเปน หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทาง ในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่อื ใหส อดคลองกบั นโยบายและเปาหมายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน โรงเรียนชุมชนวัดบานรอม จึงไดทำการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชประโยชนและเปนกรอบในการวางแผน และพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมี กระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสรางเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑการวัด ประเมินผลใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสใหโรงเรียนสามารถกำหนดทิศทาง ในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมีกรอบแกนกลาง เปนแนวทางทช่ี ัดเจนเพอ่ื ตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มคี วามพรอมในการกาวสสู ังคมคุณภาพ มคี วามรอู ยา ง แทจ ริง และมที กั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวในเอกสารนี้ ชวยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงาน ที่เกย่ี วขอ งในระดับทองถ่นิ และสถานศึกษารว มกนั พัฒนาหลักสูตรไดอยางมนั่ ใจ ทำใหก ารจดั ทำหลักสูตรในระดับ สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล การเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม ผเู รยี นทุกกลุมเปาหมายในระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

ค การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝาย ที่เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และ ตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของ ชาติไปสคู ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู ่กี ำหนดไว (นางประภสั สร มะณีพันธ) ผูอำนวยการโรงเรยี นชุมชนวดั บา นรอม

สารบญั หนา ๐๐ก เรอ่ื ง ๐๐ข ประกาศโรงเรียน ๐๐๑ คำนำ ๐๐๒ วิสัยทัศนโ รงเรียน / พนั ธกจิ ๐๐๒ เปาประสงค / อัตลักษณ / เอกลกั ษณ ๐๐๔ สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค โครงสรา งเวลาเรียน ๐๑๕ คำอธบิ ายรายวิชา ๐๒๗ ๐๓๖ กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ๐๔๗ กลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๐๗๙ กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ๐๘๖ กลมุ สาระการเรยี นรูส งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๐๙๘ กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑๐๕ กลุม สาระการเรียนรูศิลปะ ๑๑๕ กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี ๑๒๓ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ ๑๒๔ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ๑๒๕ คำอธิบายรายวชิ า ๑๓๑ กจิ กรรมแนะแนว ๑๓๒ กจิ กรรมนักเรียน (ลูกเสอื -เนตรนารี) ๑๓๓ กิจกรรมชุมนมุ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน เกณฑการจบการศกึ ษา ภาคผนวก

๑ วิสัยทัศนหลกั สตู รสถานศกึ ษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบานรอม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจำป ๒๕๖๒ เปนหลักสูตรที่มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนเปนบุคคลแหงการเรียนรูสู มาตรฐานสากลและเปนมนุษยท่ีมีความสมดลุ ทั้งรางกาย ความรูคูคุณธรรม มคี วามเปน ผูนำของสังคมมีจิตสำนึก ในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลกโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐานสามารถใชนวัตกรรมและ เทคโนโลยรี วมทงั้ เจตคตทิ จ่ี ำเปน ตอการศกึ ษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิตโดยมงุ เนนผูเรียนเปน สำคญั บนพน้ื ฐานความเช่อื วา ทุกคนสามารถเรยี นรแู ละพฒั นาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ เปาประสงคหลักสูตร ๑. เพื่อใหผูเรียนทุกคนไดรบั การปลกู ฝงคณุ ธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค มีการพัฒนา เตม็ ตามศักยภาพ มที กั ษะชวี ิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ดี นำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปนแนว ทางการดำเนินชีวิต เปนผูนำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูและการสื่อสาร อยา งหลากหลาย ผเู รยี นมศี ักยภาพเปน พลโลก (World Citizen) ๒. เพื่อใหสถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาดวยระบบคุณภาพ (Quality System Management) เพ่อื รองรบั การกระจายอำนาจอยา งท่ัวถึง ๓. เพื่อใหบุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใช นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ ทันสมัยยกระดับการจดั การเรียนการสอนเทียบเคยี งมาตรฐานสากล (World Class standard) ๔. เพ่ือใหการใชงบประมาณและทรัพยากรของทุกหนวยงานเปน ไปตามเปาหมายได อยางมีประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลสงู สุด วสิ ัยทศั นโ รงเรียน โรงเรียนชุมชนวัดบานรอม มีการจัดการศึกษาที่มุงเนนการเปนคนดี มีวินัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สืบสานวฒั นธรรมไทย สูม าตรฐานระดบั สากล พันธกจิ ๑. มุง เนนการจดั กิจกรรมสง เสริมใหผ เู รยี นมคี ุณธรรม-จริยธรรม ระเบยี บวนิ ัย และดำเนินชีวิตตามแนว ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒. พัฒนาภูมิทัศนทเ่ี ออื้ ตอการเรียนรแู ละเสริมสรา งสุขภาพกายสุขภาพจิตทด่ี ตี อผเู รียน ๓. ปลูกฝง ใหผเู รียน นิยมไทย ใชข องไทย และสบื สานวัฒนธรรมไทย ๔. ปรับปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาใหมสี าระที่สอดคลองกับมาตรฐานระดบั สากล ๕. ปรบั โครงสรางและระบบบริหารงานใหมคี วามคลอ งตวั มีประสทิ ธิภาพโปรงใสตรวจสอบได

๒ เปา ประสงค ๑. ผูเ รียนเปน คนดี มวี ินยั ภูมใิ จในชาติ ใฝเรยี นรูแ ละอยูร ว มกับสังคมไดอ ยางมีความสุข ๒. ผูเรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานระดับสากล ๓. ครมู ีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพสคู วามเปนครูมอื อาชพี ๔. โรงเรียนมรี ะบบการบริหารจดั การทด่ี ี โดยใชเ ทคโนโลยีและหลักธรรมาภบิ าล อัตลกั ษณ ผูเ รียนเปนคนดี มวี ินยั ใฝเรียนรู อยูอ ยา งพอเพยี ง สบื สานวฒั นธรรมไทย เอกลกั ษณ โรงเรียนชุมชนวัดบานรอม ภูมิทัศนสะอาด บรรยากาศรมรื่น วิชาการเดน เนนเทคโนโลยี สรางคนดีสู สังคม สมรรถนะสำคญั ของผูเ รียน และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบานรอม พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กำหนด ซง่ึ จะชวยใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค ดังนี้ สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบานรอม พุทธศักราช ๒๕๖๐ มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลัก เหตุผลและความถูกตอ ง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีมีตอตนเอง และสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง สรา งสรรค การคิดอยา งมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน ระบบ เพอื่ นำไปสูการสรา งองคความรูห รือสารสนเทศเพื่อ การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญ หา เปนความสามารถในการแกป ญ หาและอปุ สรรคตาง ๆ ทเ่ี ผชญิ ไดอยา ง ถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ

๓ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมกี าตัดสินใจทีม่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกิดขนึ้ ตอตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดำเนิน ชวี ติ ประจำวนั การเรยี นรดู ว ยตนเอง การเรียนรูอยางตอ เนอื่ ง การทำงาน และการอยรู วมกันในสงั คมดว ยการสราง เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทัน กบั การเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพงึ ประสงคท ี่สงผลกระทบตอ ตนเองและผอู น่ื ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การ แกป ญ หาอยา งสรา งสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดบานรอม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มงุ พฒั นาผูเ รยี นใหม คี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค เพ่อื ใหสามารถอยูร ว มกับผูอืน่ ในสังคมไดอยาง มคี วามสขุ ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รักษช าติ ศาสน กษตั รยิ  ๒. ซือ่ สตั ยสุจริต ๓. มวี ินยั ๔. ใฝเรยี นรู ๕. อยอู ยา งพอเพียง ๖. มุงม่ันในการทำงาน ๗. รกั ความเปน ไทย ๘. มจี ิตเปน สาธารณะ

๔ โครงสรางหลกั สตู รโรงเรยี นชมุ ชนวดั บานรอม โครงสรางหลักสูตรเวลาเรยี นโรงเรยี นชุมชนวดั บานรอม กลมุ สาระการเรยี นร/ู กิจกรรม เวลาเรียน(ชั่วโมง/ป) ป. ๖ ระดับประถมศึกษา  กลุมสาระการเรยี นรู ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑๖๐ ภาษาไทย ๑๖๐ คณติ ศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๔๐ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐ ประวัตศิ าสตร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ การงานอาชีพ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๐๐ ภาษาตางประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๙๒๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๔๐  รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ )  กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ กจิ กรรมนกั เรียน ๘๐ - กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี (๓๐) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ (กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน) (๑๐) ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๒๔๐ ๒๔๐ - กิจกรรมชมุ นมุ ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง/ป - กิจกรรมลดเวลาเรียน รวมเวลาเรยี น (กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น) รวมเวลาเรยี นท้ังหมด จำนวนชว่ั โมงทจ่ี ัดใหน กั เรยี นระดับประถมศกึ ษา ( ป.๑-ป.๓ ) เรยี นท้งั ป เทา กับ ๑,๒๐๐ ช่ัวโมง ระดับชั้น ประถมศึกษา ( ป.๔-ป.๖ ) เทากับ ๑,๒๐๐ ชั่วโมง แผนการเรียนรู/จุดเนนการพัฒนาผูเรียนที่ตองการเนนเปน พิเศษ คือกลุมสาระการเรียนรูทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร เพื่อพัฒนาการ อานออก เขียนได ทักษะ

๕ กระบวนการทางคณิตศาสตร คิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดสรางสรรคที่ดี มีประโยชน มีความสนใจใฝรูใฝเรียน โดยจัด การเรยี นการสอนและวัดผลประเมินผลเปน รายป โครงสรางหลักสูตรชัน้ ป เปนโครงสรางทีแ่ สดงรายละเอยี ดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติมและกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนในแตละชน้ั ป

โครงสรางหลกั สูตรช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ๖ โรงเรียนชมุ ชนวดั บา นรอม เวลาเรยี น รหัส กลุมสาระการเรยี นรู/กิจกรรม (ชม./ป) (๑,๐๐๐) ท ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพื้นฐาน ๒๐๐ ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ ๑๒๐ ส ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑ ส ๑๑๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ ๔๐ พ ๑๑๑๐๑ ประวตั ิศาสตร ๑ ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๘๐ ง ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ ๘๐ อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒๐๐ ส ๑๑๒๒๓ ๔๐ รายวชิ าเพิม่ เติม ๔๐ หนา ท่พี ลเมือง ๑ (๑๖๐) ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน แนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐ • กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ (กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน) • กจิ กรรมชมุ นมุ • กิจกรรมลดเวลาเรียน

โครงสรา งหลกั สูตรชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๒ ๗ โรงเรียนชุมชนวัดบานรอ ม เวลาเรยี น รหัส กลมุ สาระการเรยี นรู/ กิจกรรม (ชม./ป) (๑,๐๐๐) ท ๑๒๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน ๒๐๐ ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ ๑๒๐ ส ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ ส ๑๒๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒ ๔๐ พ ๑๒๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๒ ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๒ ๘๐ ง ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๘๐ อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๒ ๒๐๐ ส ๑๒๒๒๓ ๔๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ หนา ทพ่ี ลเมือง (๑๖๐) ๔๐ กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น แนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรียน ๔๐ • กจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐ (กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน) • กิจกรรมชุมนมุ • กจิ กรรมลดเวลาเรยี น

โครงสรางหลักสูตรชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ ๘ โรงเรยี นชุมชนวัดบานรอ ม เวลาเรยี น รหสั กลมุ สาระการเรยี นรู/กิจกรรม (ชม./ป) (๑,๐๐๐) ท ๑๓๑๐๑ รายวชิ าพื้นฐาน ๒๐๐ ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๓ ๑๒๐ ส ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ ส ๑๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓ ๔๐ พ ๑๓๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๓ ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๘๐ ง ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ ๘๐ อ ๑๓๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๓ ๒๐๐ ส ๑๓๒๒๓ ๔๐ รายวชิ าเพมิ่ เติม ๔๐ หนาทพ่ี ลเมือง (๑๖๐) ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน แนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรียน ๔๐ • กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐ (กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน) • กจิ กรรมชมุ นุม • กจิ กรรมลดเวลาเรียน

โครงสรางหลักสูตรช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๔ ๙ โรงเรียนชมุ ชนวดั บานรอ ม เวลาเรียน รหสั กลุม สาระการเรียนรู/ กิจกรรม (ชม./ป) (๙๒๐) ท ๑๔๑๐๑ รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๖๐ ค ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐ ว ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ ๑๒๐ ส ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร ๔ ส ๑๔๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔ ๔๐ พ ๑๔๑๐๑ ประวัติศาสตร ๔ ๔๐ ศ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ๘๐ ง ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๘๐ อ ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๔ ๒๐๐ ส ๑๔๒๒๓ ๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๔๐ หนา ที่พลเมือง ๔ (๒๔๐) ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน แนะแนว ๔๐ กิจกรรมนักเรยี น ๘๐ • กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๘๐ (กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน) • กิจกรรมชุมนุม • กจิ กรรมลดเวลาเรียน

โครงสรา งหลกั สูตรช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ ๑๐ โรงเรยี นชมุ ชนวดั บานรอ ม เวลาเรยี น รหัส กลมุ สาระการเรยี นร/ู กิจกรรม (ชม./ป) (๙๖๐) ท ๑๕๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๙๒๐) ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐ ว ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร ๕ ๑๖๐ ส ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๕ ๑๒๐ ส ๑๕๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕ พ ๑๕๑๐๑ ประวัติศาสตร ๕ ๔๐ ศ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๔๐ ง ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๘๐ อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๘๐ ภาษาอังกฤษ ๔ ๔๐ ส ๑๕๒๒๓ ๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๔๐ หนา ทพ่ี ลเมือง ๕ (๒๐๐) ๔๐ กิจกรรมพฒั นาผูเรียน แนะแนว ๔๐ กิจกรรมนกั เรียน ๘๐ • กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๘๐ (กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน) • กิจกรรมชุมนมุ • กจิ กรรมลดเวลาเรียน

โครงสรา งหลกั สูตรชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ๑๑ โรงเรียนชุมชนวดั บา นรอม เวลาเรียน รหัส กลุมสาระการเรยี นร/ู กิจกรรม (ชม./ป) (๙๖๐) ท ๑๖๑๐๑ รายวิชาพ้นื ฐาน ๑๖๐ ค ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐ ว ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ ๑๒๐ ส ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖ ส ๑๖๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖ ๔๐ พ ๑๖๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๖ ๔๐ ศ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๘๐ ง ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ ๘๐ อ ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๖ ๒๐๐ ส ๑๖๒๒๓ ๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๔๐ หนาท่ีพลเมือง ๖ (๒๔๐) ๔๐ กิจกรรมพัฒนาผูเ รียน แนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนักเรยี น ๘๐ • กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี ๘๐ (กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน) • กิจกรรมชุมนุม • กิจกรรมลดเวลาเรยี น

๑๒ รายวิชาของโรงเรียนชุมชนวัดบานรอ ม จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง รายวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง **************** จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร จำนวน ๑๒๐ ชวั่ โมง รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๑๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ จำนวน ๑๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร ๔ ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ - **************** กลุมสาระการเรียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชาพน้ื ฐาน ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒ ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔ ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๕ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๖ ****************

๑๓ กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๑ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๓ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๔ ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๖ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๑ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๒ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๓ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร ๔ ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๖ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔๐ ชั่วโมง รายวชิ าเพมิ่ เติม จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๑๒๒๓ หนาท่พี ลเมอื ง ๑ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๒๒๒๓ หนา ที่พลเมอื ง ๒ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๓๒๒๓ หนาทพี่ ลเมอื ง ๓ ส ๑๔๒๒๓ หนาทพ่ี ลเมอื ง ๔ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ส ๑๕๒๒๓ หนาทีพ่ ลเมือง ๕ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ส ๑๖๒๒๓ หนา ที่พลเมอื ง ๖ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง จำนวน ๘๐ ชั่วโมง **************** จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง กลุมสาระการเรยี นรูส ุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชาพ้นื ฐาน พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑ พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๒ พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔ พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๕ พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖

**************** ๑๔ กลุม สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน ๘๐ ชั่วโมง จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง **************** กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง รายวชิ าพนื้ ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง จำนวน ๒๐๐ ชัว่ โมง ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ **************** กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ(อังกฤษ) รายวชิ าพืน้ ฐาน อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ ****************

คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ๑๖ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง คำอธิบายรายวชิ า ฝกอานออกเสียงคำ คำคลองจอง และขอความสั้นๆ บอกความหมายของคำและขอความ ตอบคำถาม เลาเรื่องยอ คาดคะเนเหตุการณ เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อาน บอก ความหมายของเครอื่ งหมายหรอื สัญลักษณส ำคัญทม่ี ักพบเห็นในชีวิตประจำวนั มีมารยาทในการอา น ฝก คัดลายมือ ดว ยตัวบรรจงเต็มบรรทดั เขียนสือ่ สารดวยคำและประโยคงายๆ มีมารยาทในการเขียน ฝกทักษะในการฟง ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆและปฏิบัตติ าม ตอบคำถาม เลาเรื่อง พูดแสดงความคิดเหน็ และความรูสึกจากเรื่องทฟี่ งและดู พูดสอ่ื สารไดตามวัตถุประสงค เนน มารยาทในการฟง การดูและการพูด ฝกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเปน ประโยคงา ยๆ ตอ คำคลองจองงายๆ บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ฝกทองจำบท อาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขยี น กระบวนการ แสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิด การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช ทกั ษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรางความคิดรวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกตใชก ับชวี ติ ประจำวันไดอยา งถูกตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวมท้ังหมด ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ๑๗ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง คำอธิบายรายวชิ า ฝกอานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ อธิบายความหมายของคำและ ขอความที่อาน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน เหตกุ ารณ เลอื กอา นหนังสอื ตามความสนใจอยางสมำ่ เสมอและนำเสนอเรอื่ งท่ีอาน อานขอ เขียนเชิงอธบิ าย และ ปฏบิ ัตติ ามคำส่งั หรอื ขอแนะนำ มีมารยาทในการอา น ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเร่ืองสั้นๆ ตาม จินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง ฟงคำแนะนำ คำสัง่ ทซี่ ับซอนและปฏบิ ัติตาม เลา เรื่อง บอกสาระสำคัญของเรื่อง ต้ัง คำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเหน็ ความรูสึก พดู ส่ือสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทใน การฟง การดูและการพดู ฝกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรยี บเรียงคำเปนประโยคไดตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลกั ษณะคำคลองจอง เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถนิ่ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ ฝกจับใจความสำคัญจากเรื่อง ระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพ่ือ นำไปใชในชีวิตประจำวัน รองบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถิ่น ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอย กรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรางความคิดรวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใชก ับชวี ิตประจำวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม

๑๘ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวช้วี ดั

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ๑๙ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง คำอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงคำ ขอความ เรื่องสั้น ๆ และบทรอยกรองงายๆ อธิบายความหมายของคำและ ขอความที่อาน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ คาดคะเนเหตุการณ สรุปความรู ขอคิด จากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรือ่ งท่ี อาน อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอแนะนำ อธิบายความหมายของขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอา น ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเรื่องตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด เลารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูด แสดงความคิดเหน็ ความรูส กึ พูดสือ่ สารไดชดั เจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด ฝกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หนาที่ของคำ ใช พจนานุกรมคน หาความหมายของคำ แตง ประโยคงายๆ แตงคำคลองจองและคำขวัญ เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถนิ่ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ ระบขุ อคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรม เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน รจู กั เพลงพ้ืนบาน เพลงกลอมเด็ก เพื่อปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อาน ทองจำบทอาขยานตามท่ี กำหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการ แสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสอื่ ความ กระบวนการแกปญหา การฝก ปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา งความคดิ รวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชก บั ชวี ิตประจำวันไดอยา งถูกตองเหมาะสม

๒๐ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชี้วัด

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๒๑ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง คำอธิบายรายวชิ า ฝก อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจากเรื่องท่ี อา น อานเรอื่ งสั้น ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนดและตอบคำถามจากเรื่องท่ีอาน แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเร่ืองท่ี อาน คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน เพ่ือ นำไปใชใ นชีวติ ประจำวัน เลอื กอา นหนังสอื ท่มี คี ณุ คาตามความสนใจอยางสมำ่ เสมอและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับ เรอ่ื งทอ่ี าน มมี ารยาทในการอาน ฝกคัดลายมอื ดวยตวั บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขยี นส่ือสารโดยใชคำได ถูกตอง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน เขียนยอ ความจากเรอื่ งสน้ั ๆ เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและมารดา เขยี นบนั ทกึ และเขยี นรายงานจากการศึกษาคน ควา เขียน เร่ืองตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝกทกั ษะการฟง การดูและการพูด จำแนกขอเทจ็ จริงและขอ คิดเหน็ เรอ่ื งทฟี่ งและดู พูดสรปุ จากการฟง และดู พูดแสดงความรู ความคดิ เหน็ และความรูส กึ เก่ียวกับเรอ่ื งท่ีฟงและดู ต้งั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล จากเรื่องท่ีฟง และดู พดู รายงานเรอื่ งหรือประเดน็ ที่ศกึ ษาคนควาจากการฟง การดูและการสนทนา มีมารยาทในการ ฟง การดูและการพดู ฝก เขยี นตามหลกั การเขยี น เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทตาง ๆ ระบุ ชนดิ และหนาทีข่ องคำในประโยค ใชพจนานุกรมคน หาความหมายของคำ แตง ประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา แตง บทรอยกรองและคำขวัญ บอกความหมายของสำนวน เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได ระบุขอ คิดจากนิทานพื้นบานหรือนิทานคติธรรมอธบิ ายขอคดิ จากการอา นเพอ่ื นำไปใชใ นชีวติ จรงิ รองเพลง พื้นบานทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติอธิบาย บันทึก การตงั้ คำถาม ตอบคำถาม ใชท ักษะการฟง การดูและการพดู พูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสรางความคิดรวบ ยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภ าษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใ หเ กดิ ประโยชนโดยใชว ธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถนำไปประยุกตใชก ับชีวติ ประจำวันไดอยางถูกตองเหมาะสม

๒๒ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวมท้ังหมด ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชีว้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ๒๓ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง คำอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและขอความที่เปน การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น วิเคราะห แสดงความ คิดเห็น อา นงานเขียนเชิงอธิบาย คำสัง่ ขอ แนะนำ และปฏบิ ตั ติ าม เลอื กอานหนงั สือที่มีคุณคาตามความสนใจ มมี ารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เขียนยอความ เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น กรอกแบบรายการตา ง ๆ เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและความรูสึก ตั้งคำถาม ตอบ คำถาม วเิ คราะหค วาม พูดรายงาน มมี ารยาทในการฟง การดูและการพดู ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค จำแนกสวนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถ่ิน ใชค ำราชาศพั ท บอกคำภาษาตางประเทศในภาษาไทย แตง บท รอยกรอง ใชส ำนวนไดถ ูกตอง สรุปเรื่องจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมทีอ่ าน ระบุความรู ขอคิดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี สามารถนำไปใชในชีวิตจรงิ อธบิ ายคณุ คาของวรรณคดีและวรรณกรรม ทอ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบท รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคดิ วิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ กระบวนการส่ือ ความ กระบวนการแกป ญ หา การฝก ปฏบิ ตั ิ อธิบาย บนั ทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชทกั ษะการฟง การ ดแู ละการพดู พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสรา งความคดิ รวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำไปประยุกตใ ชกับชีวติ ประจำวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม

๒๔ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชวี้ ดั

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ๒๕ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและขอความที่เปน โวหาร อา นเรื่องสั้น ๆอยางหลากหลาย แยกขอเทจ็ จริงและขอ คิดเหน็ จากเร่ืองที่อา น วิเคราะหและแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในการดำเนินชีวิต อานงานเขียน เชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และ ปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของขอมูลจากการอานแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอานหนังสือตาม ความสนใจและอธิบายคุณคาท่ไี ดร ับ มีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใชคำไดถูกตอง ชัดเจน และ เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพ่ือใชพัฒนางานเขยี น เขียนเรียงความ เขียนยอความ จากเรื่องอา น เขียนจดสว นตวั กรอกแบบรายการตา ง ๆ เขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการและสรา งสรรค มีมารยาทใน การเขียน ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความรู ความเขาใจจุดประสงคของเรื่องที่ฟงและดู ต้ัง คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูสื่อโฆษณา อยา งมเี หตผุ ล พดู รายงานเร่อื งหรือประเดน็ ท่ศี ึกษาคน ควา จากการฟง การดแู ละการสนทนา พูดโนม นา วอยางมี เหตุผลและนา เช่ือถอื มมี ารยาทในการฟง การดูและการพูด ฝกวิเคราะหชนิดและหนาที่ของคำในประโยค ใชคำไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและ บอกความหมายของคำภาษาตา งประเทศท่ีใชในภาษาไทย ระบลุ ักษณะของประโยค แตง บทรอ ยกรอง วิเคราะห เปรยี บเทียบสำนวนท่เี ปน คำพงั เพยและสภุ าษติ ฝกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพื้นบานทองถิ่นตนเองและนิทาน พ้นื บานของทอ งถน่ิ อนื่ อธิบายคณุ คาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา นและนำไปประยุกตใชในชวี ติ จรงิ ทองจำ บทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอย โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยา งมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือ ความ กระบวนการแกปญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกขอเท็จจริง กระบวนการคนควา กระบวนการ ใชเทคโนโลยีในการสื่อสาร กระบวนการใชทักษะทางภาษา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบ คำถาม ใชท กั ษะการฟง การดูและการพดู พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรางความคดิ รวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำไปประยุกตใ ชกบั ชวี ติ ประจำวันไดอ ยางถูกตองเหมาะสม

๒๖ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตวั ช้วี ดั

คำอธิบายรายวชิ า กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ๒๘ ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษา ฝกทักษะการคิดคำนวณและฝกแกปญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจำนวน สิ่งตาง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก คาของเลขโดด ในแตล ะหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรปู กระจาย เปรยี บเทียบจำนวนนับไมเกนิ ๑๐๐ และ ๐ โดยใชเ ครอื่ งหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนตั้งแต ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดง การบวก การลบ การแกโจทยปญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและ น้ำหนัก สรางโจทยปญหาพรอมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบจุ ำนวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของจำนวนท่ีเพิ่มข้นึ หรือลดลงทลี ะ๑ ทลี ะ ๑๐ รปู ทห่ี ายไปในแบบ รูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ที่สมาชิกใน แตละชุดที่ซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน เซนติเมตร เปนเมตร น้ำหนักเปนกิโลกรัมเปนขีด และใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน จำแนกรูปสามเหลี่ยม รปู สเ่ี หลีย่ ม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใชข อ มลู จากแผนภมู ริ ปู ภาพ ใน การหาคำตอบของโจทยปญหา เมอ่ื กำหนดรปู ๑ รปู แทน ๑ หนวย รูจักใชวธิ ีการที่หลากหลายในการแกปญหา ใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แลวสรุปผลไดอ ยางเหมาะสม ใชภาษาและทักษะทางคณิตศาสตรในการสือ่ สาร สื่อความหมายและการนำเสนอไดอยางถกู ตอง ชัดเจน สามารถ เชอ่ื โยงความรู หลกั การ กระบวนการทางคณิตศาสตร ไปใชใ นการเรยี นรสู ่ิงตางๆ ในชวี ติ ประจำวนั อยา งสรา งสรรค เห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร มีความคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถทำงานอยางเปนระบบ ระเบียบมคี วามรอบครอบ มีจติ วญิ ญาณและมีความเชื่อมน่ั ในตนเอง มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ช้วี ัด

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๒๙ ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา ศกึ ษา ฝก ทกั ษะการคิดคำนวณและฝกแกปญหา จำนวนนบั ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจำนวน สิ่งตาง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก คาของเลขโดด ในแตละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาคาของตัว ไมทราบคา ในประโยคสญั ลักษณแ สดงการบวก การลบ การแกโจทยป ญ หาการบวก การลบของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัวไมท ราบคาในประโยคสัญลกั ษณแสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไมเกนิ ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณแสดงการหารที่ตัวตั้งไมเกนิ ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยทผี่ ลหารมี ๑ หลกั ท้ังหาร ลงตัวและหารไมลงตัว หาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหา เกี่ยวกับเวลาที่มีหนวยเดี่ยวและเปนหนวยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร พรอมทั้ง แสดงวิธีการหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบความยาวที่มีหนวยเปนเมตรและเซนติเมตร วัดและ เปรียบเทียบน้ำหนักเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทยปญหาการ บวกการลบเก่ียวกับน้ำหนักทีม่ ีหนวยเปนกิโลกรัมและกรัม กโิ ลกรมั และขีด วัดและเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความ จุเปนลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหล่ียมและวงกลม ใชขอมูลจากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคำตอบ ของโจทยป ญ หา เมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หนว ย ๕ หนว ยหรอื ๑๐ หนว ย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวมท้ังหมด ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตัวช้วี ดั

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ๓๐ ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง คำอธิบายรายวิชา อานและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณตาง ๆ บอก อานและเขียน เศษสวนที่แสดงปริมาณสิ่งตา ง ๆ และแสดงสิ่งตาง ๆ ตามเศษสวนที่กำหนด เปรียบเทียบเศษสวนทีต่ ัวเศษเทากัน โดยที่ตัวเศษนอยกวาหรือเทากับตัวสวน หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวกและการลบ ของจำนวนนบั ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตวั ไมทราบคา ในประโยคสญั ลักษณแ สดงการคูณของจำนวน ๑ หลกั กบั จำนวนไมเ กนิ ๔ หลกั และจำนวน ๒ หลักกบั จำนวน ๒ หลัก หาคา ของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ แสดงการหารที่ตัวตั้งไมเกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนและแสดงวิธีการ หาคำตอบของโจทยปญหา ๒ ขัน้ ตอนของจำนวนนับไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบ ของโจทยปญหาการบวกของเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันและผลบวกไมเกิน ๑ และหาผลลบพรอมทั้งแสดงวิธีหา คำตอบของโจทยป ญหารการลบของเสษสว นทม่ี ีตัวสวนเทา กนั ระบจุ ำนวนท่ีหายไปในแบบรปู ของจำนวนท่ีเพ่ิมข้ึน หรือลดลงทีละเทา ๆ กัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลือกใชเครื่องมือ ความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งตาง ๆ เปนเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปนเมตรและเปนเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหา เกี่ยวกับระหวางเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณตาง ๆ เลือกใช เคร่อื งช่ังทีเ่ หมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเปนกิโลกรัมและขีด กโิ ลกรมั และกรัม คาดคะเนน้ำหนักเปนกิโลกรัมและ เปนขีด เปรียบเทียบนำ้ หนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกบั น้ำหนกั ที่มีหนวยเปน กิโลกรัมกับกรมั เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณตาง ๆ เลือกใชเครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุ เปนลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป ญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุเปนลิตรและ มิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใชขอมูล จากแผนภมู ิรปู ภาพในการหาคำตอบของโจทยปญหา เขียนตารางทางเดียวจากขอ มูลทเี่ ปนจำนวนนับและใชขอมูล จากตารางทางเดียวในการหาคำตอบของโจทยปญ หา

๓๑ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ , ป.๓/๘ , ป.๓/๙ , ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ , ป.๓/๘ , ป.๓/๙ , ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ , ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวมท้ังหมด ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ชว้ี ดั

๓๒ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร ๔ กลุม สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษา ฝกทักษะการอานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับที่ มากกวา ๑๐๐,๐๐๐ พรอ มทั้งเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ที่มากกวา ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณตาง ๆ บอก อานและเขียนเศษสวน จำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งตาง ๆ และแสดงสิ่งตาง ๆ ตามเศษสวน จำนวนคละที่ กำหนด เปรียบเทียบ เรยี งลำดับเศษสว นและจำนวนคละทตี่ วั สวนตัวหน่ึงเปนพหูคณู ของอีกตวั หนงึ่ อา นและเขียน ทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงปริมาณของสิ่งตาง ๆ ตามทศนิยมที่กำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนยิ ม ไมเกิน ๓ ตำแหนง และประมาณผลลัพธของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณตาง ๆ อยาง สมเหตุสมผล หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับที่มากกวา ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ที่มีผลคูณไมเกิน ๖ หลัก และแสดงการหารที่ ตัวตั้งไมเ กนิ ๖ หลัก ตัวหารไมเ กิน ๒ หลกั หาผลลพั ธก ารบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนับ และ ๐ แสดงวิธี หาคำตอบของโจทยปญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับท่ีมากกวา ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สรางโจทยปญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนบั และ ๐ พรอมทงั้ หาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยปญ หาการบวก การลบของ เศษสวนและจำนวนคละที่ตัวสวนตัวหนึ่งเปนพหูคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญ หาการบวก การลบ ๒ ขั้นตอนของทศนยิ มไมเ กิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสรางมุมโดยใชโพรแทรกเตอร แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรปู สี่เหลี่ยมมุมฉาก จำแนกชนดิ ของมุม บอกชื่อมุม สวนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณแสดงมุม สรางรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความยาวของดาน และใช ขอ มลู จากแผนภูมแิ ทง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทยปญหา โดยใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร เทคโนโลยี ในการแกปญหาสถานการณตาง ๆ ได อยางเหมาะสม รูจักใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยาง เหมาะสม ใชภ าษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร ส่ือความหมายและนำเสนอไดอยางถูกตองชัดเจน เชื่อมโยงความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร ไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชชีวิตประจำวันอยาง สรา งสรรค สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบยี บ มคี วามรอบครอบ มวี ิจารณญาณ และมคี วามเช่ือม่ันในตัวเอง

๓๓ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวมท้ังหมด ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ๓๔ ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ กลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา เขียนเศษสวนที่มีตัวสวนเปนตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหาโดยใชบัญญัติไตรยางศ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสวนและจำนวนคละ แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสว น ๒ ข้นั ตอน หาผลคูณของทศนิยม ท่ี ผลคูณเปน ทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง หาผลหารที่ตัวตั้งเปนจำนวนนบั หรือทศนิยมไมเกนิ ๓ ตำแหนง และตัวหาร เปนจำนวนนบั ผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป ญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขั้นตอน และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหารอยละไมเกนิ ๒ ขัน้ ตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปลี่ยนหนวยและเขียนในรูป ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรง สเ่ี หลีย่ มมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หล่ียมและพ้ืนท่ีของรูปสี่เหลี่ยมดา นขนานและรูปส่ีเหลย่ี มขนมเปยกปูน สรางเสนตรงหรือสวนของเสนตรงใหขนานกับเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่กำหนดให จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดย พิจารณาจากสมบัติของรูป สรางรูปสี่เหลี่ยมชนิดตาง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของดานและขนาดของมุมหรือเม่ือ กำหนดความยาวของเสน ทแยงมมุ และบอกลักษณะของปริซมึ ใชขอ มลู จากกราฟเสนในการหาคำตอบของโจทยปญ หา และเขียนแผนภูมิแทงจากขอมูลท่ีเปนจำนวนนบั มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวมท้ังหมด ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๓๕ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร ๖ กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษสวนและจำนวนคละจากสถานการณตาง ๆ เขียนอัตราสวนแสดงการ เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากขอความหรือสถานการณ โดยที่ปริมาณแตละปริมาณเปนจำนวนนับ หา อัตราสวนที่เทากับอัตราสวนที่กำหนดให หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไมเกิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหาโดยใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธของการบวก ลบ คูณ หารระคนของ เศษสวนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเศษสวนและจำนวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หาผลหาร ของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การ ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาอัตราสวน ปญหารอยละ ๒ – ๓ ขน้ั ตอน แสดงวิธีคดิ และหาคำตอบของปญ หาเก่ียวกบั แบบรูป แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยปญ หาเก่ยี วกับปริมาตรของรูปเรขาคณติ สามมิติท่ีประกอบดวยทรงสี่เหล่ียมมุม ฉาก และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป ญหาเกย่ี วกับความยาวรอบรูปและพืน้ ที่ของรูปหลายเหลีย่ ม ความยาวรอบ รูปและพืน้ ทขี่ องวงกลม จำแนกรปู สามเหล่ยี มโดยพจิ ารณาจากสมบัติของรูป สรา งรปู สามเหลี่ยมเมือ่ กำหนดความ ยาวของดานและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตาง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติที่ ประกอบจากรูปคล่ีและระบุรปู คล่ีของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ใชข อ มลู จากแผนภูมิรปู วงกลมในการหาคำตอบของโจทยปญหา มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวมท้ังหมด ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

๓๗ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑ กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะ หนาที่และการดูแลรักษาสวนตาง ๆ ของรางกายมนุษย ลักษณะและหนาที่ของสวนตาง ๆ ของสัตวและพืชรอบตัว และสภาพแวดลอมในบริเวณที่สัตวและพืชอาศัยอยู ชนิดและสมบัติขิงวัสดุรอบตัว การเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง ลักษณะของหิน และการมองเห็น ดาวบนฟาในเวลากลางวันและกลางคืน การแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก การเปรียบเทยี บ การเขียนโปรแกรม อยา งงา ยโดยใชซอฟตแวรหรือสอื่ การใชง านอปุ กรณเทคโนโลยีเบอื้ งตน การใชงานซอฟตแวรเ บ้ืองตน ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และ อธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อใหเ กดิ ความรคู วามเขา ใจ มีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรขัน้ พน้ื ฐานและ มที ักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบอ้ื งตน สามารถส่ือสารส่ิง ที่เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรม โดยใชส ื่อ สราง จัดเกบ็ และเรยี กใชไ ฟลต ามวัตถปุ ระสงค ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต ใชสารสนเทศ อยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานสารสนเทศอยางเหมาะสม มีจิต วิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มท่ีเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ว ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ว ๒.๓ ป.๑/๑ ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ว ๓.๒ ป.๑/๑ ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ รวมท้ังหมด ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ช้ีวดั

๓๘ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒ กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๒ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ความจำเปนของแสงและน้ำ ตอการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุและการรำไปใชป ระโยชน สมบัติ ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน การเลือกวัสดมุ าใชทำวัตถุตามสมบัติขิงวัสดุ การนำวัสดุท่ีใชแลวกลับมา ใชใหม การเคลื่อนที่ของแสง การมองเห็นวัตถุ การปองกันอันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไม เหมาะสม สวนประกอบและการจำแนกชนดิ ของดนิ การใชประโยชนจากดิน การแสดงขั้นตอนการแกปญหา การ ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟแวรเบื้องตน การจัดการไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดูแล รักษาอุปกรณคอมพวิ เตอร เทคโนโลยีในชีวิตประจำวนั การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภยั ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต จำแนกประเภท รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบ เพื่อใหเกดิ ความรูความเขา ใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข นั้ พ้ืนฐานและมีทักษะการเรียนรูใน ศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตน สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความคิด สรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขโดยใช บตั รคำส่งั และตรวจหาขอผิดพลาด ใชง านซอฟแวร สราง จดั หมวดหมไู ฟลแ ละโฟลเดอร ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต ตระหนักถึง ความสำคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร มจี ติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่เี หมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๑.๓ ป.๒/๑ ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวมท้ังหมด ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ช้ีวัด

๓๙ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ปจจัยในการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษยและสัตว วัฏ จักรชีวิตของสตั ว วัตถปุ ระกอบข้ึนจากชนิ้ สวนยอยซ่งึ สามมารถแยกออกจากกันและประกอบกนั เปนวตั ถชุ น้ิ ใหมได การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำใหรอนขึ้นหรือเย็นลง ผลของแรงที่มีตอการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไมสัมผัส วัสดุที่แมเหล็กดึงดูดได แรงแมเหล็ก ขั้วแมเหล็ก การเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเปนอีก พลังงานหนึ่ง การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟา แหลงพลังงานในการผลิตไฟฟา การใชไฟฟาอยางประหยัดและ ปลอดภัย การเกิดกลางวัน กลางคืน การขึ้นและตกของดวงอาทิตย การกำหนดทิศ ความสำคัญของดวงอาทิตย สวนประกอบของอากาศ ความสำคัญของอากาศ ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ ละโทษ ของลม การแสดงขั้นตอนการแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะเบื้องตน การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใชบัตร คำสั่งและการตรวจหาขอผิดพลาด การนำเสนอขอมูล เทคโนโลยี ในงานดานตาง ๆ ขอดีและขอเสียในการใช เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอ มูล จัดกระทำและสือ่ ความหมายขอมลู สรา งแบบจำลองและ อธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อใหเ กดิ ความรคู วามเขา ใจ มที กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข้ันพ้ืนฐานและ มีทกั ษะการเรียนรใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ในดา นการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบ้อื ตน สามารถสื่อสารสง่ิ ท่ี เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหา เขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ โดยใชบ ัตรคำส่ัง ใชอินเตอรเนต็ ในการคน หาความรู รวบรวม ประมวลผลและนำเสนอขอมลู ตามวัตถปุ ระสงค ตระหนักถงึ ประโยชนของการใชค วามรูแ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ นการดำรงชีวติ ตระหนดั ถึงการ ใชอินเตอรเน็ตอยางปลอดภยั และอยูในการดูแลของครูหรือผปู กครอง มีจติ วิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และ คานิยมทเ่ี หมาะสม

๔๐ รหัสตวั ช้ีวัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ รวมทั้งหมด ๗ มาตรฐาน ๒๕ ตัวชวี้ ดั

๔๑ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๔ กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาการเรียนรูแ บบนักวิทยาศาสตร การจำแนกส่ิงมชี วี ิตแบบกลุมพืช กลมุ สตั ว และกลุมที่ไมใชพืชและ สัตว การจำแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดออก การจำแนกสัตวออกเปนสัตวม ีกระดูกสันหลังและสัตวไ มมี กระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา กลุมสัตวสะเทินน้ำสะเทินบก กลุม สัตวเลื้อยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยนม หนาที่ของราก ลำตน ใบและดอกของพืชดอก สมบัติทาง กายภาพ ดานความแข็ง สภาพยืดหยุน การนำความรอนและการนำไฟฟาของวัสดุ การนำสมบัติทางกายภาพของ วัสดุไปใชในชีวิตประจำวัน สมบัติขิงสสารทั้ง ๓ สถานะ ผลของแรงโนมถวงที่มีตอวัตถุ การวัดน้ำหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มีผลตอการเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ และตัวกลางของแสง การขึ้นและตกและรูปรางดวง จันทร และองคประกอบของระบบสุริยะ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การออกแบบและเขียน โปรแกรมอยางงาย การตรวจหาขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอินเตอรเน็ตและการใชคำคน การ ประเมินความนาเช่ือถือของขอมลู การรวบรวม นำเสนอขอ มลู สารสนเทศ ใชการสืบเสาะหาความรู ตั้งคำถาม คาดคะเนคำตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสำรวจตรวจสอบ โดยใชเครื่องมืออุปกรณและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล รวบรวมขอมูล ประมวลผลอยา งงา ย วิเคราะหข อ มลู วเิ คราะหผ ลแลสรางทางเลือกนำเสนอขอ มลู ลงความคิดเห็นและสรปุ ผลการ สำรวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและมีทักษะการเรียนรูใน ศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตน มีความคิดสรางสรรค สามารถทำงาน รวมกับผูอื่น ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการใชงานหรือคาดการผลลัพธจากปญหาอยางงาย ออกแบบและเขียนโปรแกรม ตรวจหาขอผดิ พลาดจากโปรแกรมของตนเองและผอู ่ืน ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทาง วิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต สามารถสื่อสารอยางมีมารยาทและรูกาลเทศะ รูจักการปกปองขอมูลสวนตัว มีจิต วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคา นยิ มทเ่ี หมาะสม

๔๒ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ ว ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ รวมท้ังหมด ๗ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ชว้ี ดั

๔๓ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕ กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการเรียนรูแบบนกั วิทยาศาสตร โครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีเหมาะสมในแตล ะแหลงที่อยู ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิตการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมของพืช สัตว และมนุษย การเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้ำ การเปลี่ยนแปลง ทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดและผันกลับไมได แรงลัพธ แรงเสียดทาน การไดยินเสียงผานตัวกลาง ลกั ษณะและการเกดิ เสยี งสูง เสยี งตำ่ เสียงดัง และเสียงคอ ย ระดับเสยี งและมลพษิ ทางเสียง ความแตกตา งของดาว เคราะหและดาวฤกษ การใชแผนที่ดาว แบบรูปเสนทางการขึ้นและการตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป ปริมาณน้ำในแตละแหลง ปริมาณน้ำที่มนุษยสามารถนำมาใชได การใชน้ำอยางประหยัดและการอนุรักษน้ำ วัฏ จักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคาง และน้ำคางแข็ง กระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ การใชเหตุผล เชงิ ตรรกะในการแกปญ หา การเขียนรหัสลำลองเพื่อแสดงวธิ ีแกปญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบ มีเงื่อนไขและการทำงานแบบวนซ้ำ การใชซอฟแวรประมวลผลขอมูล การติดตอสื่อสารผานอินเตอรเน็ต การใช อินเตอรเน็ตคนหาขอมูลและการประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล อันตรายจากการใชงานและอาชยากรรมทาง อินเตอรเน็ต ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอ มูล จดั กระทำและสื่อความหมายขอมูล สรา งแบบจำลองและ อธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบ เพอื่ ใหเ กดิ ความรคู วามเขา ใจ มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขนั้ พืน้ ฐานและ ทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดา นการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบื้องตน สามารถส่อื สารสิ่งท่ี เรียนรู มีความคิดสรา งสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น แสดงวิธแี กปญหาโดยใชเหตุผลเชงิ ตรรกะ ใชรหัสลำลอง แสดงวิธีการแกปญหาอยางเปนขั้นตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอยางมีเงื่อนไขและการทำงานแบบวนซ้ำ ตรวจหาขอ ผิดพลาดของโปรแกรม ใชซอฟตแ วรช วยในการแหปญหา ใชอ นิ เตอรเ น็ตตดิ ตอสื่อสารและคนหาขอมูล แยกแยะขอ เทจ็ จริงกับขอ คิดเหน็ ประเมินความนาเชอื่ ถือของขอ มลู ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชคามรูและกระบนการทาง วิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีมารยาท มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานยิ มทเี่ หมาะสม

๔๔ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวมท้ังหมด ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวชี้วดั

๔๕ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖ กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาการเรียนรูแบบวิทยาศาสตร สารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวนใน สัดสวนทีเ่ หมาะสมและปลอดภยั ตอสุขภาพ ระบบยอ ยอาหาร การแยกสารผสมโดยการหยิบออก การรอ น การใช แมเหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน แรงไฟฟาซึ่งเกิดจากวัตถุที่ผานการขัดถูก การตอ วงจรไฟฟาอยางงาย การตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรมและการนำไปใชประโยชน การตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบ ขนานและการนำไปใชประโยชน การเกดิ เงามืดเงามวั ปรากฏการณส ุริยุปราคาและจนั ทรปุ รารา เทคโนโลยอี วกาศ กระบวนการเกดิ หินอัคนี หนิ ตะกอน และหนิ แปร และวัฏจกั รหนิ ลกั ษณะและสมบัตหิ นิ และแร การใชประโหยชน ของหินและแร การเกิดซากดึกดำบรรพและสภาพแวดลอมในอดีตของซากดกดำบรรพ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ผลของมรสุมตอการเกดิ ฤดูของประเทศไทย ลกั ษณะและผลกระทบของน้ำทว ม การกดั เซาะชายฝง ดิน ถลม แผนดินไหว สึนามิ การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณเรือนกระจก การใหเหตุผลเชิงตรรกะ ในการ อธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหา การออกแบบ การเขียนโปรแกรมและการตรวจหาขอผิดพลาด การคนหา ขอ มลู ในอินเตอรเ นต็ อยางมปี ระสิทธิภาพ การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการทำงานรว มกัน ใชก ารสบื เสาะหาความรู สงั เกต รวบรวมขอมลู จัดกระทำและสอื่ ความหมายขอมูล สรางแบบจำลอง และ อธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรคู วามเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรขนั้ พ้นื ฐานและ ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเบื้อตน สามารถสื่อสารส่ิงที่ เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น อธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิง ตรรกะ เขียนโปรแกรมอยางงายเพื่อแกปญหาและตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม คนหาขอมูลอินเตอรเน็ต อยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรวมกัน ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทาง วิทยาศาสตรในการดำรงชีวติ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศรวมกนั อยา งปลอดภยั เขาใจสทิ ธแิ ละหนาท่ีของตน เคคารพ ในสทิ ธิของผอู ่ืน มจี ติ วิทยาศาสตร จริยธรรม