สาร สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา เป็นหน่วยงานส่วนกลางที่ตั้งอยู่ภูมิภาคของกรมส่งเสริมการเกษตร มีบทบาทและภารกิจในการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อพัฒนา งานส่งเสริมการเกษตร เทคโนโลยี และระบบการผลิตที่เหมาะสม กับพื้นที่ การฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตร แก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกร ตลอดจนเป็นศูนย์กลางสนับสนุน ทางวิชาการด้านการผลิตและจัดการผลผลิต การพัฒนาคุณภาพ สินค้าเกษตร องค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ให้แก่สำนักงาน เกษตรจังหวัด โดยประสานวิชาการกับหน่วยงานวิชาการภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา และควบคุม กํากับ การขับเคลื่อนงาน ของศูนย์ปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการเกษตร ในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ สำนักงานเกษตรจังหวัด อำเภอ ศูนย์ปฏิบัติการ และเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องที่ได้ร่วมกันขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ภาคใต้ เพื่อให้พี่น้องเกษตรกรของเรา เข้มแข็ง มีรายได้ที่มั่นคง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามภารกิจ ของหน่วยงานต่อไป การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรในปีงบประมาณ 2564 นั้น ได้ให้ความสำคัญกับการขับเคลื่อนงาน ตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน) ในการช่วยเหลือดูแลและ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ควบคู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพองค์กรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และปรับวิธีการทำงาน สู่ความปกติใหม่ (New normal) ซึ่งเป็นผลมาจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร่น่า 2019 (โควิด-19) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน ตั้งแต่ภาคการผลิตจนถึงการตลาด เห็นได้ชัดว่าพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป มีการซื้อขายผ่านตลาดออนไลน์มากขึ้น ดังนั้นการบริหาร จัดการผลผลิตและตลาดสินค้าเกษตร ต้องมีแผนการรองรับที่ชัดเจน มีการวางแผนและข้อมูลสำหรับ การตัดสินใจที่ถูกต้องแม่นยำ เช่น การบริหารจัดการผลไม้ของภาคใต้ในฤดูกาลที่ผ่านมา แม้ว่าจะได้รับ ผลกระทบจากตลาดต่างประเทศ และข้อจำกัดในการขนส่ง แต่มีข้อมูลคาดการณ์ผลผลิตที่ค่อนข้างชัดเจน ทำให้สามารถเร่งกระจายผลผลิตออกนอกพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้กลไกของแปลงใหญ่ การประมูล และ ตลาดออนไลน์ ทำให้ปัญหาคลี่คลายไปได้ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ นอกจากนี้ผู้บริโภคยังมีความตระหนักและ ให้ความสำคัญกับความปลอดภัยด้านอาหารและสุขอนามัยมากขึ้น ดังนั้นในสถานการณ์เช่นนี้ จึงถือเป็นการ ปฏิบัติงานที่ท้าทายของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรอย่างมาก โดยต้องปรับตัวและกลยุทธ์ในการดำเนินงาน และเป็นที่ทราบดีว่าปัจจุบันเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารมีการรับรู้และส่งต่ออย่างรวดเร็ว หากพี่น้องเกษตรกร ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ก็จะสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องภัยพิบัติธรรมชาติ หรือการเข้าร่วมโครงการตามมาตรการต่างๆ ของภาครัฐ ความสำเร็จในการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลานั้น เกิดจากความร่วมมือ ความรักและศรัทธาในองค์กร ต้องขอขอบคุณผู้บริหารกรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเกษตรจังหวัด อำเภอ ศูนย์ปฏิบัติการ และเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องที่ได้ร่วมกัน ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ภาคใต้ เพื่อให้พี่น้องเกษตรกรของเราเข้มแข็ง มีรายได้ที่มั่นคง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามภารกิจของหน่วยงานต่อไป นายสุพิท จิตรภักดี กันยายน 2564
คำนำ ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา ได้ขับเคลื่อนงานตามระบบ ส่งเสริมการเกษตร โดยให้ความสำคัญกับงานตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใน การช่วยเหลือดูแลและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ควบคู่ไปกับการเพิ่มประสิทธิภาพองค์กร ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และการปรับวิธีการทำงานสู่ความปกติใหม่ (New normal) ซึ่งเป็นผลกระทบจาก เหตุการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) โดยยึดตลาดนำการผลิต การใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรม ส่งเสริมการใช้และบริหารจัดการปัจจัยการผลิต เพื่อยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้ คุณภาพมาตรฐาน ใช้กลไกและเครือข่ายการทำงานส่งเสริมการเกษตรเชื่อมโยงทุกระดับ สร้างต้นแบบการ ส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่ การดูแลช่วยเหลือเกษตรกร ตลอดจนสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่พร้อม พัฒนาไปสู่ผู้ประกอบการ โดยขยายความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาการเกษตร สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา ได้จัดทำรายงานประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อรวบรวมผลการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานดังกล่าวสู่สาธารณชน โดยเนื้อหาประกอบด้วย ข้อมูลหน่วยงาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ อำนาจหน้าที่ โครงสร้างองค์กร อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ ข้อมูลพื้นฐานการเกษตร ข้อมูลเกษตรกร องค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ปี 2564 และผลการดำเนินงานภายใต้แนวทางการดำเนินงานของ กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานประจำปีฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ที่สนใจทั่วไป ที่สามารถนำ ข้อมูลไปใช้ต่อไป สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา 2564
สารบัญ ข้อมูลทั่วไป 4 - 30 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 31 - 80 โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต ส่งเสริมและพัฒนาตลาด 81 สินค้าเกษตร ส่งเสริมและพัฒนา 82 - 99 Young Smart Farmer และ Smart Farmer เสริมสร้างความเข้มแข็งของ 100 - 114 องค์กรเกษตรกรและ วิสาหกิจชุมชนและ พัฒนาศักยภาพและ ความยั่งยืนของภาคเกษตร เพิ่มบทบาทอาสาสมัครเกษตร หมู่บ้าน 115 - 118 ขยายผลการดำเนินงาน 119 - 121 ส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่ ช่วยเหลือดูแลเกษตรกร 122 - 129 และให้บริการทางการเกษตร ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยี 130 - 134 และนวัตกรรมการเกษตร ร่วมกับสถาบันการศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพองค์กรและ 135 - 160 ปรับวิธีการทำงานสู่ New Normal
4 ข้อมูลหน่วยงานและ ข้อมูลพื้นฐาน
5 ออำำนนาาจจหหนน้้าาททีี่่ 1. ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย 2. ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี 3. ส่งเสริม ประสานและสนับสนุน เพื่อพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร ด้านการเกษตรแก่เจ้าหน้าที่และ การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร เทคโนโลยีและระบบการผลิตที่ เกษตรกร ตามโครงการอันเนื่องมาจาก เหมาะสมกับพื้นที่ พระราชดำริและในเขตพื้นที่พิเศษ 4. ควบคุม กำกับ สนับสนุนการ 5. เป็นศูนย์กลางสนับสนุนทางวิชาการด้านการผลิตและจัดการผลผลิต ดำเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการ การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร องค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ แก่สำนักงานเกษตรจังหวัด และประสานวิชาการกับหน่วยงานวิชาการภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา 6. ศึกษา วางแผน และติดตาม ประเมินผล 7. ให้คำปรึกษาและประสานงานแก่สำนักงานเกษตรจังหวัด การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร และประสาน ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนการปฏิบัติงาน และ การตรวจราชการในเขตพื้นที่ บูรณาการแผนด้านการส่งเสริมการเกษตรระดับ จังหวัดและ กลุ่มจังหวัด 8. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
6 เเปป้้าาปปรระะสสงงคค์์ 1. บุคลากรมีทักษะในการวิเคราะห์ 2. เกษตรกรมีความสามารถผลิต 3. การขยายผลโครงการพระราชดำริ และวิจัยเพื่อพัฒนางานส่งเสริม สินค้าเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในเขต พื้นที่พิเศษมีการขับเคลื่อน การเกษตร มีคุณภาพได้มาตรฐาน และองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรมีความเข้มแข็งและ พึ่งตนเองได้ 4. ระบบข้อมูลและสารสนเทศที่ทันสมัยและ 5. ศูนย์ปฏิบัติการมีความเชี่ยวชาญวิชาชีพเกษตร เป็นนย์กลางสนับสนุนทางวิชาการด้านการผลิตและ ทั้งศูนย์สหวิชาและศูนย์เฉพาะด้าน พร้อมสนับสนุน จัดการผลผลิต การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร การปฏิบัติงานของจังหวัด อำเภอ และผู้สนใจทั่วไป องค์กรเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน 6. โครงการส่งเสริมการเกษตร 7. เป็นศูนย์กลางในการประสานงานสำนักงานเกษตรจังหวัด ในพื้นที่เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนการปฏิบัติงานและบูรณาการ แผนการส่งเสริมการเกษตรทั้งระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 8. พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ องค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และเกษตรกรรุ่นใหม่ และเชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อขยายผล
7 พพืื้้นนททีี่่รรัับบผผิิดดชชออบบ จังหวัดที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งหมด 14 จังหวัด และศูนย์ปฏิบัติการฯ 6 ศูนย์ ประกอบด้วย ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา ศูนย์ส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกระบี่ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดยะลา
8 ศศููนนยย์์ปปฏฏิิบบััตติิกกาารร นายสุวิทย์ ดำแก้ว นายณัทธร รักษ์สังข์ นางสาวนิพวรรณ หมีทอง ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร ด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร ด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ มีหน้าที่ดังนี้ 1. ศึกษา วิจัย ทดสอบ และประยุกต์เทคโนโลยีการเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากแมลงเศรษฐกิจ 2. ส่งเสริม ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแมลงเศรษฐกิจ 3. เป็นศูนย์กลางการพัฒนาการผลิต ขยายและกระจายพันธุ์แมลงเศรษฐกิจ เพื่อใช้ในงานส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพการเกษตร 4. ให้บริการและสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ วินิจฉัยโรคและศัตรูของแมลงเศรษฐกิจ และให้คำแนะนำ ในการป้องกันกำจัด 5. ให้บริการตรวจคุณภาพเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์จากแมลงเศรษฐกิจ 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช มีหน้าที่ดังนี้ 1. ศึกษา ทดสอบ ประยุกต์และพัฒนาการใช้เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้เหมาะสม กับพื้นที่ 2. ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน 3. ดำเนินการผลิตขยายปัจจัยการควบคุมศัตรูพืช 4. ให้บริการและสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ วินิจฉัย แจ้งเตือนภัยการระบาดและให้คำแนะนำการจัดการ ศัตรูพืช 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
9 ศศููนนยย์์ปปฏฏิิบบััตติิกกาารร นายปัญญา ประดิษฐสาร นายชำนาญ นุ่นดำ นายอามัด สาและเนาะ ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู้อผูำ้อนำวนยวกยากราร ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ศูนย์ศสู่นงยเ์สส่รงิมเเสทริคมโแนลโละพยัีฒกานราเกอษาชตีพร การเกษตร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านอารักาขราเพกืชษตจังรหจัวงัดหสวุัรดายษะฎลรา์ธานี การเกษตร จังหวัดกระบี่ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร มีหน้าที่ดังนี้ 1. ศึกษา วิจัย ทดสอบ ประยุกต์ พัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เหมาะสมกับ ศักยภาพของพื้นที่ พัฒนาแปลงสาธิตและแปลงเรียนรู้ให้เป็นแปลงต้นแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากผลผลิตการเกษตรเพื่ อเพิ่มมู ลค่ า 2. ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตและการจัดการผลผลิตที่เหมาะสมกับศักยภาพของ พื้ นที่ 3. เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมการผลิต การขยาย กระจายพันธุ์พืช และแมลงเศรษฐกิจ เพื่ อใช้ในงานส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร 4. ฝึกอบรมอาชีพการเกษตรแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป 5. ให้บริการข้อมูล ข่าวสารวิชาการด้านเกษตร และสนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จำเป็น รวมทั้งให้บริการ ทางการเกษตรอื่นๆ ตามศักยภาพของศูนย์ 6. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
10 งงบบปปรระะมมาาณณ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบดำเนินงาน 12,510,546.68 บาท งบบุคลากร 1,302,720 บาท งบลงทุน 320,695 บาท รวมทั้งสิ้น 14,133961.68 บาท งบบุคลากร 9% งบลงทุน 2% งบดำเนินงาน 89%
11 โโคครรงงสสรร้้าางง กกาารรบบรริิหหาารร สำนักงานส่งเสริมและ พัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มส่งเสริมและ กลุ่มยุทธศาสตร์และ พัฒนาเกษตรกร สารสนเทศ กลุ่มพัฒนาบุคลากร กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการผลิต ศูนย์ส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพการเกษตร 3 ศูนย์ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยี การเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ 1 ศูนย์ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร ด้านอารักขาพืช 2 ศูนย์
12 ผผูู้้บบรริิหหาารร นายสุพิท จิตรภักดี ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา
13 ผผูู้้บบรริิหหาารร น.ส.ศิริกุล ศรีแสงจันทร์ นายประพัฒน์ คันธไพโรจน์ น.ส.สุรัตน์ ศรีเดช ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและ ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์และ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป พัฒนาการผลิต สารสนเทศ นางจิรภัทร รัตนพันธ์ นางทัศณี ศุภกุล ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาบุคลากร พัฒนาเกษตรกร
14 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน ข้อมูลพื้นฐานสำหรับงานส่งเสริมการเกษตรภาคใต้ (ข้อมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2565) 43,632,913 ไร่ 22,213,600 (ไร่) 55% 28% 8,812,719 คน 3,519,403 11% 4% พื้นที่ทั้งหมด 1,210,787 ครัวเรือนทั้งหมด ครัวเรือนเกษตรกร 2% พื้นที่ทำการเกษตร ประชากรทั้งหมด
15 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (ข้อมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2565) หน่วย : ไร่ 20,000,000 17,283,870 15,000,000 10,000,000 5,000,000 788,379 1,094,895 1,431,000 877 168,519 0 45,855 96,033 พื้นที่ทำนา พื้นที่ปลูกไม้ผล พื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น พื้นที่ปลูกพืชไร่ พื้นที่ปลูก พไืม้้นดที่อปกลไูม้กพปืรชะผดัับก พื้นที่นาร้าง พื้นที่อื่นๆ
16 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน ข้อมูลการผลิตที่เป็นเอกภาพข้าวนาปี ปีเพาะปลูก 2563/64 และสับปะรดโรงงาน ปี 2562 - 2563 ข้าวนาปี สับปะรดโรงงาน 800,000 799,551 786,185 600,000 400,000 358,161 200,000 10,107 10,096 37,562 3,716 456 3,720 0 448 เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่) ผลผลิต (ตัน) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ต่อเนื้อที่เพาะปลูก (กก.) ต่อเนื้อที่เก็บเกี่ยว (กก.) ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่
17 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน ข้อมูลการผลิตที่เป็นเอกภาพ ปี 2563 15,000,000 14,388,272 ยางพารา ปาล์มน้ำมัน 12,496,982 14,604,810 10,000,000 5,000,000 5,319,602 5,048,519 2,902,026 0 เนื้อที่กรีด (ไร่) ผลผลิต (ตัน) 232 2,893 เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง 600,000 586,398 518,896 400,000 437,993 200,000 246,311 230,826 122,616 0 145,867 143,515 43,119 34,396 1,185 531 595 240 74,681 72,458 ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก.) เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) เนื้อที่ให้ผล(ไร่)
18 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน 300,000,000 ข้อมูลการผลิตที่เป็นเอกภาพ ปี 2563 200,000,000 มะพร้าว 257,636,364 100,000,000 336,951 ผลผลิต (ผล) 765 0 367,350 เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) เนื้อที่ให้ผล (ไร่) ผลผลิตต่อเนื้อที่ให้ผล (ผลต่อไร่) กาแฟ 125,000. 124,035 113,958 100,000. 75,000. 50,000. 25,000. 0. เนื้อที่ให้ผล (ไร่) 11,379 100 เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อเนื้อที่ให้ผล (กก./ไร่)
19 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน ข้อมูลบุคลากร สังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี 2564 14 จังหวัดภาคใต้ ข้อมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2564 พนักงานราชการ ข้าราชการ จำนวน 1,323 ราย 21.26% ลูกจ้างประจำ จำนวน 88 ราย พนักงานราชการ จำนวน 381 ราย ลูกจ้างประจำ 4.91% รวม 1,792 ราย ข้าราชการ 73.83% 1,000 352 ข้าราชการ 750 ลูกจ้างประจำ 500 68 75 พนักงานราชการ 250 จังหวัด 884 87 265 0 20 41 สสก.5 และศูนย์ปฏิบัติการ อำเภอ
20 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน จำนวนข้าราชการ 14 จังหวัดภาคใต้ ประจำปี 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2564 200 165 150 134 98 96 127 100 87 84 96 106 71 63 59 61 50 44 32 0 สสก.5 และศูนย์ปฏิบัติการ ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา นปรัาธติตวาานสี จำนวนลูกจ้างประจำ 14 จังหวัดภาคใต้ ประจำปี 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2564 20 20 15 10 10 8 54 66 5 1 0 1 101 22 1 สสก.5 และศูนย์ปฏิบัติการ ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา นปรัาธติตวาานสี
สสก.5 และศูนย์ปฏิบัติการ 0 25 50 41 75สสก.5 และศูนย์ปฏิบัติการ 54 10 15 20 20สสก.5 และศูนย์ปฏิบัติการ 0 100 87 150 200 ชุมพร ชุมพร 0 1 101 ชุมพร 50 ระนอง 61 ระนอง ระนอง 15 13 13 11 84 กระบี่ กระบี่ กระบี่ 44 พังงา พังงา พังงา นครสศุรรีาธษรฎรภมรู์ธเรกาา็ตนชี นครสศุรรีาธษรฎรภมรู์ธเรกาา็ตนชี นครสศุรรีาธษรฎรภมรู์ธเรกาา็ตนชี 71 ข้าราชการ จำนวนบุคลากร 14 จังหวัดภาคใต้ ประจำปี 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2564 ตรัง ตรัง ตรัง 63 พัทลุง พัทลุง พัทลุง สงขลา 5 สงขลา สงขลา 32 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน สตูล 40 42 สตูล 10 สตูล 127 134 165 ลูกจ้างประจำ 8 ยะลา ยะลา ยะลา นรปัาตธิตวาานสี 13 16 นรปัาตธิตวาานสี 66 นรปัาตธิตวาานสี 98 96 พนักงานราชการ 22 16 38 34 96 106 59 61 5 1 23 1 21
22 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน สรุปผลการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัล 14 จังหวัดภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 หน่วย : จำนวนแปลง 20,000 15,099 15,501 13,125 15,000 10,000 9,444 6,567 6,566 8,063 7,385 6,842 5,849 5,000 3,803 3,436 2,566 343 0 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
23 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน แผนที่แสดงผลการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัล 14 จังหวัดภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564
24 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน ราย จำนวน 2,412 กลุ่ม จำนสวมนาช1ิก,024ก62ล,ุ9่กม1ลยุ2ุ่มวรเกายษตรกร สมาชิก 61,814 ราย 8,707 กลุ่มแม่บ้าน จำนวน เกษตรกร เกษตอราหสมูา่บส้มาันคร ข้อมูลงานสถาบันเกษตรกร ศูนย์หลัก 14 ศูนย์ องค์กรเกษตรกร จำนวน 1,006 กลุ่ม ศูนย์เครือข่าย 118 ศูนย์ สมาชิก 31,396 ราย และวิสาหกิจชุมชน 14 จังหวัดภาคใต้ ศูนย์บ่มเพาะ กลุ่มส่งเสริม เกษตรกรรุ่นใหม่ อาชีพการเกษตร ข้อมูล YoungFaSrmmaerrt3,026 ราย ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 สมาชจิำกน1ว9น7,91,วิ84ส70า4รหากิกลยุจ่ชุมมชน จำนวน เครือข่าย วิสาหกิจชุมชน จำนวน 94 แห่ง สมาชิก 2,239 ราย
25 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน 12,500 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน (กลุ่ม) สมาชิก (ราย) 12,186 10,000 8,272 7,500 6,152 5,000 4,465 4,276 4,780 2,500 2,995 3,930 3,954 3,974 2,600 2,488 1,164 297 578 0 54 175 126 44 112 117 191 287 238 118 125 234 234 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
26 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน กลุ่มยุวเกษตรกร 4,000 จำนวน (กลุ่ม) สมาชิก (ราย) 3,465 3,000 2,758 2,749 2,505 2,586 2,416 2,000 1,950 1,485 1,517 1,402 1,000 1,182 1,314 733 850 50 30 64 45 17 90 105 56 49 97 61 127 130 121 0 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
27 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร 7,500 จำนวน (กลุ่ม) สมาชิก (ราย) 6,226 5,000 4,558 2,905 2,900 2,735 2,580 2,500 2,212 913 899 1,675 1,475 1,180 864 55 29 56 32 274 106 50 51 113 49 77 107 188 13 80 0 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
28 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน วิสาหกิจชุมชน 40,000 จำนวน (กลุ่ม) สมาชิก (ราย) 36,181 30,000 22,598 22,018 20,000 13,445 14,042 13,725 14,491 13,681 12,709 10,000 7,712 7,748 8,415 0 451 5,770 4,612 1,898 696 731 1,033 490 375 985 547 293 665 394 313 987 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จำนวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) 750 683 500 471 332 360 250 27 9 137 81 7 5 3 28 15 12 3 33 3 28 2 13 54 2 19 6 0 ชุมพร ระนอง นครสุศรรีาธษรรฎร์มกธรราะาบนีชี่ ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
29 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน Young Smart Farmer จำนวน (ราย) 300 266 250 295 247 228 271 200 182 199 203 208 210 167 157 143 100 0 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ 15 10 10 14 14 ศูนย์หลัก (ศูนย์) ศูนย์เครือข่าย (ศูนย์) 10 11 10 8 8 9 5 4 5 6 6 1 1 11 1 3 11 1 1 1 1 1 1 1 0 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
30 ขข้้ออมมููลลพพืื้้นนฐฐาานน อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) จำนวน (ราย) 2,000 1,552 1,500 1,097 1,000 1,028 740 724 670 643 500 389 590 0 328 382 178 278 108 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
32 ผลการดำเนินงาน โครงการ ปี 2564
33 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 1. โครงการระบบส่งเสริมการเกษตร โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต แบบแปลงใหญ่ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ เป็นการดำเนินงานซึ่งเน้นการรวมกลุ่ม ของเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ โดยวางระบบการผลิตและการบริหารจัดการในแนวทางเดียวกัน เพื่อประหยัดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยเน้นการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด ตามนโยบายการตลาดนำการผลิต นำไปสู่การจัดการสินค้าเกษตรสู่สมดุลระหว่างอุปสงค์ และอุปทาน สร้างเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตรได้อย่างมั่นคงในอนาคต ตามแผนปฏิรูป การเกษตร โดยเกษตรกรยังคงเป็นเจ้าของพื้นที่และร่วมกันดำเนินการบริหารจัดการการผลิต เกษตรกรหรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่ที่มีการดำเนินกิจกรรมที่ใกล้เคียงกันหรือติดต่อกัน เป็นแปลงใหญ่ทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ขึ้น (Economy of Scale) ภาคใต้มีการรับรอง แปลงใหญ่ ตั้งแต่ปี 2559 – 2564 จำนวนทั้งสิ้น 1,214 แปลง มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จำนวน 64,882 ราย พื้นที่ดำเนินการ จำนวน 681,826 ไร่ ปี 2559 ปี 2561 ปี 2563 66 แปลง 192 แปลง 225 แปลง ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 246 แปลง 213 แปลง 272 แปลง
34 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 1. โครงการระบบส่งเสริมการเกษตร โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต แบบแปลงใหญ่ กิจกรรมดำเนินการ 1. จัดประชุมเชื่อมโยงการดำเนินงานคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ คณะกรรมการเครือข่าย ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และคณะกรรมการเครือข่าย Young Smart Farmer ระดับเขต จำนวน 4 ครั้ง ๆ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 21 – 22 ธันวาคม 2563 ณ แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง และโรงแรมศิวารอยัล โฮเทล อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 - 10 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตรอำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา แปลงใหญ่ผักไฮโดรโปนิกส์ตำบลลำแก่น อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงาและโรงแรมเอราวัณ ตำบลโคกกลอย อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ครั้งที่ 3 วันที่ 28 มิถุนายน 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและพัฒนา การเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลาและสำนักงานเกษตรจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้ ครั้งที่ 4 วันที่ 23 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและพัฒนา การเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลาและสำนักงานเกษตรจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้ 2. การประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต 2.1 จัดประชุมคณะกรรมการคัดเลือกการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต จำนวน 1 ครั้ง ผ่านระบบออนไลน์ ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 2.2 ตัดสินการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต ประจำปี 2564 ผ่านระบบออนไลน์ ระหว่างวันที่ 14 - 16 กรกฎาคม 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา
35 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 1. โครงการระบบส่งเสริมการเกษตร โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต แบบแปลงใหญ่ ผลประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น ผลสำเร็จ ระดับเขต 1. คณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ รางวัลชนะเลิศ ระดับเขต คณะกรรมการเครือข่าย ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน (นิคมสหกรณ์พนม) สินค้าเกษตร (ศพก.) ระดับเขตและ ตำบลพนม อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรรมการเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ระดับเขต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน รวมถึง แปลงใหญ่มังคุด หมู่ที่ 9 ตำบลลำเลียง เ ชื่ อ ม โ ย ง ไ ป ถึ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ภ า ค เ อ ก ช น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผลงาน รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ดีเด่น ให้สาธารณะชนทั่วไปได้รู้จัก และเป็นตัวอย่าง แปลงใหญ่มังคุด ตำบลท่าเสม็ด อำเภอชะอวด ในการขยายผลงานส่งเสริมการเกษตร จังหวัดนครศรีธรรมราช แบบแปลงใหญ่ กระตุ้นการพัฒนา การดำเนินงานแปลงใหญ่ให้มีประสิทธิภาพ รางวัลชมเชย แปลงใหญ่ข้าวควนรู ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา แปลงใหญ่ผึ้งโพรงบ้านไหนหนัง ตำบลเขาคราม อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ BIG FARM
36
37 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 2. โครงการยกระดับแปลงใหญ่ โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต ด้วยเกษตรสมัยใหม่และเชื่อมโยงตลาด โครงการยกระดับแปลงใหญ่ด้วยเกษตรสมัยใหม่และเชื่อมโยงตลาด ภาคใต้ มีแปลงใหญ่ที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 206 แปลง (กรมส่งเสริมการเกษตร 123 แปลง กรมการข้าว 44 แปลง การยางแห่งประเทศไทย 23 แปลง กรมปศุสัตว์ 10 แปลง กรมประมง 6 แปลง) ในส่วนของกรมส่งเสริมการเกษตร มีแปลงใหญ่เข้าร่วมโครงการ 123 แปลง (ยกเว้นจังหวัดภูเก็ต) งบประมาณ 336,923,477 บาท สำนักงานเกษตรจังหวัดทุกจังหวัดสามารถจัดทำแผนการใช้จ่าย งบประมาณ อนุมัติแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และบันทึกข้อตกลงการขอรับเงินอุดหนุนและโอนเงิน ให้กับแปลงใหญ่ที่เข้าร่วมโครงการทันตามระยะเวลาตามคู่มือการดำเนินงานโครงการ กลุ่มแปลงใหญ่ เบิกจ่ายงบประมาณแล้วทุกแปลง จำนวน335,207,324.33 บาท คิดเป็นร้อยละ 99.49 และ มีงบประมาณเหลือคืน จำนวน 1,716,152.67 บาท (ข้อมูลจาก ระบบ co-farm.doae.go.th/up ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2564) จำนวนแปลงใหญ่ที่เข้าร่วมโครงการฯภาคใต้ หน่วย : จำนวนแปลง 30 28 20 20 14 14 11 11 9 5 2 10 3 23 1 00 ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา นครสุศรรีาธษรรฎภร์ูมเธรก็าานชตี ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
38 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 2. โครงการยกระดับแปลงใหญ่ โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต ด้วยเกษตรสมัยใหม่และเชื่อมโยงตลาด จำนวนแปลงใหญ่ที่เข้าร่วมโครงการฯภาคใต้
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 39 โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 3. โครงการยกระดับคุณภาพ มาตรฐานสินค้าเกษตร การส่งเสริมสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐานเป็นนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคมีความห่วงใยสุขภาพให้ความสำคัญในการเลือกซื้อสินค้า เกษตรที่ปลอดภัย มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน ในขณะเดียวกันการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ ได้มาตรการด้านสุขอนามัยพืช (SPS) และความปลอดภัยด้านอาหารมาเป็นเงื่อนไขทางการค้า มากขึ้น อีกทั้งขณะนี้ มีการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า เกษตรอย่างมีเสรีมากขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนด้วยกัน และ ประเทศอื่น ๆ โดยประเทศไทยจำเป็นต้องพัฒนาการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานเทียบเท่า มาตรฐานสากล เพื่อให้ผลผลิตสินค้าเกษตรของไทยเป็นที่น่าเชื่อถือและยอมรับด้วยการส่งเสริม สนับสนุนเกษตรกรผู้ผลิตเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP ระดับฟาร์มมากขึ้น สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา เห็นถึงความสำคัญ ในการปฏิบัติงานตามความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตรกับกรมส่งเสริมการเกษตร ในการรับรองแหล่งผลิตพืช ตามระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช (GAP พืช) ให้บรรลุตามเป้าหมายของทั้งสองหน่วยงาน การพัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ให้มีความรู้ ทักษะ ความชำนาญ สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาเกษตรกร และสามารถ ถ่ายทอดความรู้ตามระบบคุณภาพและมาตรฐาน GAP ให้กับเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นการช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย และได้มาตรฐาน นอกจากภารกิจในการพัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรแล้ว ยังมีการส่งเสริมการรวมกลุ่ม ของเกษตรกรในการผลิตพืชตามหลักมาตรฐาน GAP และมีการติดตามความก้าวหน้า ในการรับรองแหล่งผลิตพืชตามมาตรฐาน GAP รวมทั้งการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน
40 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 3. โครงการยกระดับคุณภาพ โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต มาตรฐานสินค้าเกษตร การส่งเสริมสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐานเป็นนโยบายสำคัญของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคมีความห่วงใยสุขภาพให้ความสำคัญ ในการเลือกซื้อสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน ในขณะเดียวกันการค้าสินค้าเกษตร ระหว่างประเทศได้มาตรการด้านสุขอนามัยพืช (SPS) และความปลอดภัยด้านอาหารมาเป็นเงื่อนไขทางการค้า มากขึ้น อีกทั้งขณะนี้ มีการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าเกษตร อย่างมีเสรีมากขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนด้วยกัน และประเทศอื่น ๆ โดยประเทศไทยจำเป็นต้องพัฒนาการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานเทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อให้ผลผลิตสินค้าเกษตรของไทยเป็นที่น่าเชื่อถือและยอมรับด้วยการส่งเสริมสนับสนุนเกษตรกรผู้ผลิต เข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP ระดับฟาร์มมากขึ้น สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา เห็นถึงความสำคัญในการปฏิบัติงาน ตามความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตรกับกรมส่งเสริมการเกษตร ในการรับรองแหล่งผลิตพืช ตามระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช (GAP พืช) ให้บรรลุตามเป้าหมาย ของทั้งสองหน่วยงาน การพัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรให้มีความรู้ ทักษะ ความชำนาญ สามารถปฏิบัติ หน้าที่เป็นที่ปรึกษาเกษตรกร และสามารถถ่ายทอดความรู้ตามระบบคุณภาพและมาตรฐาน GAP ให้กับเกษตรกร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นการช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย และได้มาตรฐาน นอกจากภารกิจในการพัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรแล้ว ยังมีการส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกร ในการผลิตพืชตามหลักมาตรฐาน GAP และมีการติดตามความก้าวหน้าในการรับรองแหล่งผลิตพืชตามมาตรฐาน GAP รวมทั้งการแก้ไข ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2564 มีการดำเนินกิจกรรมตามเป้าหมายของโครงการ ดังนี้ พัฒนาเจ้าหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ประชุมความร่วมมือ นำร่องงานส่งเสริมการผลิต เกษตรกรและเป็นวิทยากร การรับรองแหล่งผลิตสินค้า สินค้าเกษตรแบบมีระบบ ด้านมาตรฐาน GAP เกษตร GAP พืช ระหว่าง ควบคุมภายในกลุ่มตามระบบ ดำเนินกิจกรรมในรูปแบบ กรมส่งเสริมการเกษตร มาตรฐาน GAP’s Internal สัมมนาเชิงปฏิบัติการ กับกรมวิชาการเกษตร Control Systems : ICS โดยแบ่งการสัมมนาเป็น 3 รุ่น (ระดับเขต)
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 41 โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 3. โครงการยกระดับคุณภาพ มาตรฐานสินค้าเกษตร 1. พัฒนาเจ้าหน้าที่เป็นที่ปรึกษาเกษตรกร และเป็นวิทยากรด้านมาตรฐาน GAP รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 15 – 17 ธันวาคม 2564 ณ โรงแรมสงขลาพาเลซ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา และแปลงผลิตพืชในพื้นที่จังหวัดสงขลา มีผู้เข้าร่วมสัมมนา 45 คน หัวข้อ “หลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรอง แปลงผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐาน GAP พืช” บรรยายโดย นางดาริกา ดาวจันอัด นักวิการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 จังหวัดสงขลา หัวข้อ “หลักการเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ตามระบบมาตรฐาน GAP” บรรยายโดย นางอัญชลี ทองคง นักวิชาการอุดมศึกษา สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 11 – 14 มกราคม 2564 ณ โรงแรมนิภาการ์เด้น อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี และแปลงเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีผู้เข้าร่วมสัมมนา 35 คน หัวข้อ “หลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองแปลงผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐาน GAP พืช” บรรยายโดย นายชวิศร์ สวัสดิสาร ผู้อำนวยกลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี หัวข้อ “หลักการเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ตามระบบมาตรฐาน GAP” บรรยายโดย ดร.วิชชุตา มาชู คณะศิลปะศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 15 – 17 มีนาคม 2564 ณ โรงแรมอีโค่ อินน์ นครศรีธรรมราช อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช และแปลงของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีผู้เข้าร่วมสัมมนา 20 คน หัวข้อ “หลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองแปลงผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐาน GAP พืช” บรรยายโดย นายชวิศร์ สวัสดิสาร ผู้อำนวยกลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี หัวข้อ “หลักการเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ตามระบบมาตรฐาน GAP” บรรยายโดย ดร.วิชชุตา มาชู คณะศิลปะศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
42
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 43 โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 3. โครงการยกระดับคุณภาพ มาตรฐานสินค้าเกษตร 2. ประชุมความร่วมมือการรับรองแหล่งผลิตสินค้าเกษตร GAP พืช ระหว่างกรมส่งเสริม การเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร (ระดับเขต) จัดประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลการดำเนินงานและร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ระหว่างการดำเนินงานของทั้งสองหน่วยงาน จำนวน 3 ครั้ง ซึ่งในปีงบประมาณ 2564 การดำเนินงาน รับรองแหล่งผลิตสินค้าเกษตร GAP พืช ระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา ได้รับเป้าหมายให้ดำเนินการ จำนวน 3,299 ราย ซึ่งสามารถดำเนินการตรวจรับรองแปลงได้ 3,444 ราย มากกว่าเป้าหมายคิดเป็นร้อยละ 4.40 นอกจากนี้ กรมส่งเสริมการเกษตรและกรมวิชาการเกษตร ยังได้มีความร่วมมือในการศึกษาวิจัยด้านต่าง ๆ ในพื้นที่ เช่น การใช้แหนแดงเพื่อลดต้นทุนการผลิต การจัดตั้งศูนย์ชีวภัณฑ์ชุมชน และอีกหลานกิจกรรมที่จะก่อให้เกิด ประโยชน์แก่เกษตรกรในพื้นที่
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 44 โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 3. โครงการยกระดับคุณภาพ มาตรฐานสินค้าเกษตร 3.นำร่องงานส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรแบบมีระบบควบคุมภายในกลุ่มตามระบบมาตรฐาน GAP’s Internal Control Systems : ICS ในปีงบประมาณ 2564 ได้คัดเลือกกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มังคุดลานสกา อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการดำเนินการกิจกรรมนำร่องงานส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรแบบมี ระบบควบคุมภายในกลุ่มตามระบบมาตรฐาน GAP’s Internal Control Systems : ICS ซึ่งกลุ่มมีสมาชิก จำนวน 105 ราย พื้นที่ผลิตมังคุด รวม 746 ไร่ มีสมาชิกกลุ่มสมัครขอการรับรองมาตรฐาน GAP แบบกลุ่ม จำนวน 59 ราย เนื่องจากสมาชิกบางส่วนมีการรับรอง GAP แบบรายเดี่ยวแล้ว กิจกกรมดังกล่าวได้มี การระดมความคิดเห็นในการยกร่างคู่มือควบคุมภายในของกลุ่ม การคัดเลือกสมาชิกเพื่อจัดทำโครงสร้างองค์กร รวมทั้งการอบรมให้ความรู้ทั้งด้านมาตรฐาน GAP และการดูแลรักษาทุก ๆ ด้าน ที่จะนำไปสู่การผลิตมังคุด GAP ที่มีคุณภาพ
45 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 4. โครงการบริหารจัดการการผลิต สินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ผลักดันนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (zoning by Agri-Map) เพื่อเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการวางแผนการผลิต และทำการผลิต สินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับข้อมูลทางกายภาพหรือศักยภาพของพื้นที่ และปัจจัยด้านเศรษฐกิจ โดยให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการพื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) หรือไม่เหมาะสม (N) ในพื้นที่ที่ปลูกข้าว และพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ให้เกิดการปรับเปลี่ยนการผลิตจากชนิดสินค้าเดิมในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ไปสู่การผลิตสินค้าชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสม มีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ที่มีศักยภาพพร้อมทั้งปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตร ในพื้นที่ไม่เหมาะสม เกษตรกรได้รับผลตอบแทนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ในส่วนของภาคใต้มีเกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูก จำนวน 23 ราย พื้นที่ 53 ไร่ (จังหวัดสงขลา และนราธิวาส)
46 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 4. โครงการบริหารจัดการการผลิต สินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) กิจกรรมดำเนินการ ผลสำเร็จของงาน 1. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการชี้แจงแนวทาง 1. เจ้าหน้าที่ มีความรู้ความเข้าใจแนวทาง การดำเนินงาน โครงการบริหารจัดการการผลิต การดำเนินงานโครงการบริหารจัดการการผลิต สินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการ สินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการ เชิงรุก (Agri-Map) วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564 เชิงรุก (Agri-Map) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงาน ปี 2563 และ เกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา มีบุคคลเป้าหมาย จัดทำแนวทางการดำเนินงานโครงการ ปี 2564 เข้าร่วมสัมมนา จำนวน 40 คน 2. เจ้าหน้าที่ มีความรู้ความเข้าใจ และเพิ่มทักษะ 2. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนการใช้ การใช้ Agri-Map และระบบภูมิสารสนเทศการเกษตร แผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (ssmap) ในการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร (Agri-Map) ระหว่างวันที่ 1 - 2 กรกฎาคม 2564 การตรวจสอบข้อมูลโชนนิง สามารถขับเคลื่อน ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการ การใช้แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก เกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา และ ห้องประชุมสำนักงาน (Agri-Map) การจัดเวทีชุมชนและสามารถนำความรู้ เกษตรจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้ มีบุคคลเป้าหมาย ที่ได้รับไปใช้ในงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ จากสำนักงานเกษตรจังหวัด เข้าร่วมสัมมนา จำนวน 86 คน
47
48 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 5. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงาน โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต Core Team เพื่อเพิ่มศักยภาพ กระบวนการทำงานด้านไม้ผลอัตลักษณ์ ภาคใต้ ปี 2564 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา ในฐานะเป็นหน่วยงาน ที่มีภารกิจหลักในการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ทำให้เกษตรกรมีความเข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อีกทั้งยังเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน การดำเนินงานเพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตไม้ผลของภาคใต้ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญ ของการบริหารจัดการส่งเสริมการผลิตไม้ผล จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตไม้ผล ที่เป็นอัตลักษณ์ที่เหมาะสมกับศักยภาพพื้นที่ของภาคใต้ ผลสำเร็จของงาน ครั้งที่ 1 ในระหว่างวันที่ 11 – 12 มีนาคม 2564 ณ สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการ เกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมคือ คณะทำงาน Core Team เพื่อเพิ่มศักยภาพกระบวนการทำงานด้านไม้ผลอัตลักษณ์ภาคใต้ ปี 2564 เจ้าหน้าที่ จากกรมส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่จากสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 40 คน ครั้งที่ 2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงาน Core Team ไม้ผลอัตลักษณ์ภาคใต้ ปี 2564 ครั้งที่ 2 ร่วมกับการสรุปผลการดำเนินโครงการไม้ผลภาคใต้ ปี 2564 ณ ในระหว่างวันที่ 2 – 3 กันยายน 2564 ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบ VDO Conference และ Zoom Meeting ณ สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา สำนักงานเกษตรจังหวัด 14 จังหวัด และสำนักงานเกษตรอำเภอ 146 อำเภอ โดยมีการนำเสนอผลการดำเนินกิจกรรมไม้ผลอัตลักษณ์ ปี 2564 และ รายงานการป้องกันกำจัดหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน โดย สำนักงานเกษตรจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้
49 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต 6. การฝึกอบรมการวางระบบน้ำในสวนผลไม้ จัดการฝึกอบรมการวางระบบน้ำในสวนผลไม้ ณ โรงแรมศิวา รอยัล จังหวัดพัทลุง และพื้นที่เกษตรกรจังหวัดพัทลุง กำหนดจัด 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ดังนี้ รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 16 – 17 สิงหาคม 2564 (ผู้รับการอบรม 12 คน) รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 17 – 18 สิงหาคม 2564 (ผู้รับการอบรม 13 คน) โดยมีเนื้อหาในการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติเรื่อง การออกแบบระบบการให้น้ำและปุ๋ยสมัยใหม่และ แหล่งน้ำและคุณภาพน้ำสำหรับการเกษตร องค์ประกอบของระบบการให้น้ำแบบอัฉริยะและ ระบบเซ็นเซอร์ที่เกี่ยวข้อง การบรรยายและฝึกปฏิบัติ เรื่อง การใช้ระบบ IoT ในการควบคุมการให้น้ำและ ปุ๋ยแก่พืช 7. สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาความเข้มแข็งเครือข่ายแปลงใหญ่ทุเรียนภาคใต้ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาความเข้มแข็งเครือข่ายแปลงใหญ่ทุเรียนภาคใต้ ในวันที่ 25 สิงหาคม 2564 ผ่านระบบ VDO Conference และ Zoom Meeting ณ สำนักงาน ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา สำนักงานเกษตรจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้ และ สำนักงานเกษตรอำเภอที่เป็นที่ตั้งของแปลงใหญ่ทุเรียน โดยมี เนื้อหาในการสัมมนา คือ นำเสนอต้นแบบการบริหารจัดการแปลงใหญ่ทุเรียนคุณภาพ โดย ผู้แทนแปลงใหญ่ สถานการณ์การผลิตทุเรียนของกลุ่มแปลงใหญ่ ปี 2564 โดย ผู้แทนแปลงใหญ่ แต่ละจังหวัด การถอดบทเรียนการบริหารจัดการแปลงใหญ่ทุเรียนภาคใต้และแนวทางการขับเคลื่อน กลุ่มผู้ผลิตทุเรียนคุณภาพด้วยกลไกเครือข่ายแปลงใหญ่ภาคใต้ โดย สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการ เกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา
50 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร 8. สัมมนาสร้างความเข้าใจโครงการและ โดยยึดหลักตลาดนำการผลิต พัฒนาความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบงานไม้ผล จัดสัมมนาสร้างความเข้าใจโครงการและพัฒนาความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ งานไม้ผล ระหว่างวันที่ 24 – 25 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงแรมวีว่า สงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดยมี เนื้อหาในการสัมมนาคือ การบรรยาย เรื่อง การผลิตไม้ผลในยุคเกษตรอัจฉริยะ การบรรยาย เรื่อง แนวคิดการพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าไม้ผลอัตลักษณ์ แนวทางการบริหารงานโครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตไม้ผลที่เป็น อัตลักษณ์ ที่เหมาะสมกับศักยภาพพื้นที่ของภาคใต้ และโครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตไม้ผล ภาคใต้ชายแดน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย กลุ่มส่งเสริมไม้ผล สำนักส่งเสริมและจัดการ สินค้าเกษตร การปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตไม้ผลที่เป็นอัตลักษณ์ ที่เหมาะสมกับ ศักยภาพพื้นที่ของภาคใต้และโครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตไม้ผลภาคใต้ชายแดน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161