Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรวมนิราศสุนทรภู่ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์

หนังสือรวมนิราศสุนทรภู่ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์

Published by kru Guy, 2019-10-31 09:30:35

Description: หนังสือรวมนิราศสุนทรภู่ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์

Search

Read the Text Version

กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ๔๖ โรงเรยี นสหราษฎร์รังสฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม แตห่ นุ่มสาวคราวเรานน้ี บั รอ้ ย ลงเล่นลอยกลางธารประสานเสียง ลว้ นจบั ค่ชู ูช้ ายชม้ายเมียง ทีค่ ใู่ ครใครเคียงประคองกัน แสนสนุกจะมาทุกข์อย่เู พยี งพี่ ยงิ่ ทวคี วามวิโยคให้โศกศลั ย์ เห็นครู่ ักเขาสมัครสมานกนั คดิ ถึงวนั เมื่อมาดสวาทนาง แต่วอนเวียนเจยี นวายชวี ติ พี่ จึงไดศ้ รีเสาวภาคยม์ าแนบข้าง เจ้าเคอื งขัดตดั สวาทขาดระวาง จนแรมรา้ งออกมาราวอรัญวา ครงั้ อิเหนาสุรยิ วงศ์อนั ทรงกริช พระทรงฤทธ์แิ รมร้างจนิ ตะหรา พระสุธนร้างห่างมโนหร์ า พระรามร้างแรมสีดาพระทยั ตรอม องค์พระเพชรปาณีท้าวตรีเนตร เสียพระเวทผกู ทวารกรุงพาลถนอม สุจิตราลาตายไม่วายตรอม ลว้ นเจิมจอมธรณีทง้ั สี่องค์ แสนสขุ มุ รุ่มรอ้ นดว้ ยรา้ งรกั ยังไม่หนกั เหมอื นพี่โศกสุดประสงค์ ไม่ถึงเดือนเพื่อนรักเขาทักทรง วา่ ซูบลงกว่ากอ่ นเปน็ ค่อนกาย พ่แี กลง้ เฉยเลยชมชลาสินธุ์ ในท่ีถน่ิ ธารเกษมกระแสสาย แตเ่ พลนิ ชมอยู่นั้นตะวันชาย ก็กลบั หมายมุ่งมายงั อาราม ฯ ๏ ถึงพบเพื่อนท่ีรจู้ กั เคยรักใคร่ กเ็ ฉยไปเสยี มไิ ดจ้ ะทักถาม แตค่ อยฟงั เทวราชประภาษความ เมือ่ ไรจะคนื อารามวดั ระฆัง พจ่ี ะไดท้ ลู ลาไปหาเจา้ เป็นทกุ ข์เทา่ นีแ้ ลน้องไมว่ ายหลงั พอแรมคา่ หนึ่งวนั น้ันท่านพระคลัง[๔๐] หาบุญยังไปฉลองศาลาลยั มลี ะครผู้คนอลหมา่ น กรบั ประสานสวบสวบสง่ เสยี งใส สุวรรณหงส์ทรงว่าวแตเ่ ช้าไป พเี่ ลี้ยงใสห่ อกยนตไ์ ว้บนแกล ตะวนั บา่ ยเข้าห้องก็ต้องหอก ชาวบ้านนอกตกใจรอ้ งไห้แซ่ บา้ งฮาครืนยนื ยดั อยู่อัดแอ บา้ งจอแจสุรเสยี งทเี่ ถียงกนั ฯ ๏ ละครหยุดอตุ ลดุ ดว้ ยมวยปลา้ ยนื ประจาหมายส้เู ปน็ คู่ขนั มงคลใส่สวมหัวไม่กลัวกนั ต้ังประจันจดจบั กระหยบั มือ รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เรือ่ งท่ี ๒ นิราศพระบาท

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๔๗ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม ตเี ขา่ ปับรบั โปกสองมือปิด ประจบตดิ เตะผางหมดั ขว้างหวือ กระหวัดหวิดหววิ ผวาเสียงฮาฮอื คนดูอื้อเออเอาสน่นั อึง ใครมชี ัยได้เงนิ บาเหนจ็ มาก จมูกปากบอบบวมอล่งึ ฉงึ่ แสนสนุกสขุ ลา้ สามดงึ ษ์ พระผู้ถึงนฤพานด้วยการเพียร แตร่ อยบาทอนญุ าตไว้ยอดเขา บญุ ของเราได้มาเหน็ กเ็ ยน็ เศยี ร บงั คมคลั วันละสองเวลาเวยี น แต่จาเนยี รนับไว้ไดส้ ีว่ ัน ฯ ๏ จอมนรนิ ทร์เทวราชประภาษสัง่ จะกลบั ยงั อาวาสเกษมสันต์ วนั รุง่ แรมสามคา่ เปน็ สาคญั [๔๑] อภิวันทล์ าบาทพระชินวร ถงึ ท่าเรือลงเรือไม่แรมหยดุ ก็เรว็ รุดตั้งหนา้ มาหาสมร แต่ตวั พยี่ ังมาในสาคร นา้ ใจจรมาถงึ เสียก่อนกาย ไดว้ ันครึง่ ถงึ เวียงประทบั วดั โทมนัสอาดูรค่อยสูญหาย นริ าศน้ีปเี ถาะ[๔๒]เป็นเคราะห์รา้ ย เราจดหมายตามมมี าชแ้ี จง ท่เี ปล่าเปล่ามไิ ด้เอามาเสกใส่ ใครไม่ไปก็จงจาคาแถลง ทัง้ คนฟังคนอา่ นสารแสดง ฉนั ขอแบง่ ส่วนกศุ ลทุกคนเอย ฯ เชิงอรรถ [๑] แต่งเมื่อปลาย พ.ศ. ๒๓๕๐ เม่ือคร้ังสุนทรภู่เป็นมหาดเล็กในพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ โอรส กรมพระราชวังหลัง [๒] บางฉบับวา่ “โอ้อาลัยใจหายเป็นหว่ งหวง” [๓] หญิงช่ือจันทร์ เป็นนางข้าหลวงในพระราชวังหลัง และเป็นภรรยาของท่านสุนทรภู่ แต่ ระหว่างน้ีคงจะมเี รือ่ งหงึ หวงโกรธเคอื งกัน และแยกกนั อยู่มาประมาณ ๑ เดอื นแล้ว [๔] เดือน ๓ ปีเถาะ นพศฏ พ.ศ. ๒๓๕๐ [๕] พระองคเ์ จา้ ปฐมวงศ์ พระโอรสในกรมพระราชวงั หลัง ทรงผนวชอยู่วัดระฆังโฆสติ าราม [๖] ฉบับเขยี นสมุดไทย บางฉบบั เป็น “ตามเสด็จโดยแดนแสนกนั ดาร” [๗] ข้นึ ๑๒ คา่ เดือน ๓ ตรงกบั วันจันทร์ที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๕๐ [๘] มผี ูร้ ู้บางทา่ นวา่ นา่ จะเปน็ “ถงึ สามเสนแจ้งนามตามสาเหนียก” [๙] มีผู้รู้บางท่านว่าน่าจะเป็น “จึงแจ้งนามสามเสนเป็นช่ือคุ้ง” หรือ “จึงขนานนามสามแสน เปน็ ชอื่ คงุ้ ” (ดูภาคผนวก) รวมนริ าศของสุนทรภู่ เร่ืองท่ี ๒ นริ าศพระบาท

กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ๔๘ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม [๑๐] มผี รู้ ู้บางทา่ นวา่ น่าจะเป็น “ขอใจนชุ ทพ่ี ่ีสจุ ริตรกั ” [๑๑] มีผรู้ ูบ้ างทา่ นวา่ น่าจะเป็น “จงหนว่ งหนกั เหมอื นพทุ ธรปู เลขาขา” [๑๒] ฉบับเขยี นสมดุ ไทยบางฉบับเปน็ “ถงึ แสนคนจะมาวอนฉะออ้ นคา” [๑๓] เห็นต้นจันทน์ช่อื เหมอื นภรรยา ดตู ่อไปขา้ งหนา้ [๑๔] ฉบับเขียนสมดุ ไทยเปน็ “แมลงภู่” [๑๕] ฉบับเขียนสมดุ ไทยเป็น “พ่คี ิดพรน่ั ใจฉงนอย่คู นเดียว” [๑๖] ฉบับเขยี น (ท้งั ๓ ฉบับ) เป็น “เหน็ ก่งิ กดี มดี พรา้ เขาราราน” [๑๗] ฉบับเขียนเป็น “ถึงวัดตาหนกั พักเพลพอเสวย” และอกี ฉบับหนง่ึ เป็น “ถึงวัดตาหนกั พัก พลพอเสวย” [๑๘] ฉบับเขียนสมดุ ฝรัง่ เป็น “สกั ครหู่ นึง่ กม็ าถึงบางอออนิ ” (ดภู าคผนวก) [๑๙] ฉบบั เขยี นสมดุ ฝรง่ั เป็น “พีแ่ ลแลเห็นแต่ตลิ่งชนั ” [๒๐] ฉบบั เขยี น ๔ ฉบับเปน็ “เสโทซบั ซาบโทรมท้ังนาสา” [๒๑] ฉบับเขียนเป็น “แสงเดอื นแอร่มแจ่มอมั พร” และบางฉบับเปน็ “แสงทองส่องแอร่มแจ่ม อัมพร” [๒๒] ตาบลบางโขมด อย่ใู นท้องทอี่ าเภอบ้านหมอ เป็นทางผ่านคลองเรงิ ราง มีสะพานเรียกว่า สะพานช้าง แต่ก่อนทาด้วยท่องซุง ต่อมาชารุดจึงรื้อออก เดี๋ยวน้ีสร้างเป็นสะพานไม้ธรรมดา อยู่ข้างวัด สนุ ทรเทพมุนี (วดั สะพานช้าง) [๒๓] ฉบับเขียนเลขที่ ๑๕๒ ข. เป็น “ท่ีนกผ้ดู ูนกเหมือนอกพี่” แต่อกี ๒ ฉบับเป็น “ถา้ นกผู้ดู นกเหมอื นอกพ่ี” [๒๔] ลาดับทางจากท่าเรือมาพระพุทธบาทตามเส้นทางเสด็จประพาส แต่ก่อนจะผ่านระยะ ดังนี้ ๑. บ่อโศก ๒. ศาลาเจ้าสามเณร ๓. หนอนคนที ๔. ศาลเจ้าพ่อเขาตก ๕. พระตาหนักและสระยอ แต่ในกลอนนริ าศนี้ ท่านสุนทรภู่พรรณนาถึง ๑. บ่อโศก ๒. หนองคนที ๓. ศาลาเจ้าสามเณร ๔. เขาตก และ ๕. สระยอ [๒๕] วันเพญ็ กลางเดือน ๓ [๒๖] รูปยักษ์ป้ัน ๒ คน ยืนถือกระบองสองข้างประตูกาแพงด้านเหนือเข้าลานพระพุทธบาท เด๋ยี วนี้ก็ยงั อยู่ แตเ่ ปน็ ของซ่อมปัน้ ใหม่ [๒๗] นาคราวบันได ทางบันไดด้านเหนือตรงประตูยักษ์ เป็นนาค ๗ เศียรหล่อโลหะ เป็นของ มีมาแต่เดิม เข้าใจว่าหล่อขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ คร้ังกรุงศรีอยุธยา ส่วนทางบันไดด้าน ตะวันตก มี ๓ ช่องทางบนั ได เปน็ นาค ๕ เศียรหล่อโลหะ หลอ่ ขึ้นในรัชกาลท่ี ๑ และในรัชกาลท่ี ๕ [๒๘] รปู พระสจั พนั ธดาบส อยใู่ นชอ่ งกฎุ ิดา้ นเหนอื เดี๋ยวน้ปี ิดทองทัง้ ตัว ฟันกเ็ ปน็ ทองไม่ขาว [๒๙] สงิ โตหนิ ๒ ตวั เด๋ียวนีก้ ย็ งั อยู่ [๓๐] ฐานบัทม์พระมณฑป ปัจจบุ นั เป็นของสร้างขน้ึ ใหม่ ไม่มคี รุฑจับนาค รวมนิราศของสุนทรภู่ เร่ืองท่ี ๒ นิราศพระบาท

กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๔๙ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม [๓๑] ฉบบั เขียนเลขท่ี ๑๕๒ เปน็ “ใบโพธ์ริ ้อยดงั ระเหนง่ อยู่เหงง่ หงง่ั ” [๓๒] พรรณนาถึงลายมกุ ที่บานประตพู ระมณฑป โปรดเทยี บกบั บณุ โณวาทคาฉันท์ [๓๓] ฉบับเขยี น ๓ ฉบับเปน็ “ผนังในดดู ที ั้งสี่ด้าน โอฬาฬารทองทาฝาผนัง” [๓๔] แผ่นเงินท่ีปูอยู่ในปัจจุบันน้ี เป็นของทาเม่ือ พ.ศ. ๒๕๙๔ มีจารึกบอกไว้ที่ผนังว่า “พื้น เส่ือเงินทาเสร็จวันท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๔๙๔ ค่าใชจ้ า่ ย ๑๓๗,๑๓๕.๗๑ บาท นา้ หนัก ๔๒๑.๖๕๒ ก.ก.” [๓๕] คาอธิษฐานข้อน้ี บางทีจะเน่ืองมาจากนางจันทร์ ภรรยาของท่านเป็นคนข้ีหึง จนเกิด เรื่องโกรธเคอื งกนั ก่อนเดนิ ทางตามเสดจ็ มาพระพทุ ธบาทคราวนี้ เชน่ กลา่ วมาข้างตน้ ในนริ าศนี้ [๓๖] สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า เจ้าสามเณรน้อยองค์นี้ คงจะ เป็นสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ขณะน้นั ทรงผนวชสามเณร และคงจะเสด็จมานมัสการพระพุทธ บาทในเทศกาลนีด้ ว้ ย [๓๗] ฉบับเขยี นเปน็ “พ่ดี ดู ูเขาขาดแลว้ หวาดจิต” [๓๘] บางฉบบั ว่า “ประกอบดว้ ยกรวดแก้วปัทมราช สกุ สะอาดสีเขยี วกเ็ ขียวขนั ” [๓๙] ฉบับเขยี นบางฉบับวา่ “สกุ สะอาดขาวแดงด่งั แกลง้ สรรค์” [๔๐] พระยาพระคลงั (กนุ ) ซ่งึ ต่อมาในรชั กาลท่ี ๒ ได้เป็นเจ้าพระยารัตนาธเิ บศร์ ท่สี มหุ นายก ท่านหาละครของครูบุญยัง นางโรงละครนอกมีช่ือเสียง ไปเล่นละครฉลองศาลาทีท่ ่านสร้างไว้ในลานพระ พุทธบาท เร่อื งละครทก่ี าลงั เล่นและทา่ นสนุ ทรภกู่ ลา่ วถึงนีเ้ ปน็ ละครนอก เรื่องสุวรรณหงส์ [๔๑] แรม ๓ ค่า เดอื น ๓ ตรงกับวันอาทติ ยท์ ี่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๕๐ [๔๒] ปเี ถาะ นพศก พ.ศ. ๒๓๕๐ รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เร่ืองท่ี ๒ นิราศพระบาท

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๕๐ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวดั นครพนม เรอ่ื งที่ ๓ นิราศภูเขาทอง (ฉบบั หอสมุดวชริ ญาณ) บทนา นริ าศภูเขาทอง แต่งเม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๑ ขณะท่บี วชเป็นพระเมอื่ คราวขน้ึ ไปอยธุ ยา เพ่ือไป นมัสการพระเจดยี ภ์ ูเขาทองในนริ าศเรือ่ งน้ี สุนทรภู่ได้บรรยายชวี ิตสว่ นตวั สอดแทรกเอาไวม้ าก จดั ว่า เป็นนริ าศท่ดี ที ส่ี ุด บรยายการเดินทางทางเรือขณะเป็นพระภิกษุ ออกจากวัดราชบูรณะไปตามลาน้า เจ้าพระยาถงึ กรุงเกา่ ผ่านจวนพระยาไชยวชิ ติ (เผือก) ผูร้ กั ษากรุงเกา่ ไปพกั อย่ทู ี่วดั พระเมรุ ซง่ึ มีงาน ฉลองผ้าป่าคืนน้ันถูกขโมยลอบขนึ้ เรือ สนุ ทรภู่และหนูพดั ลูกชายตื่นขน้ึ ทัน จงึ ไมส่ ญู เสียอะไร รุง่ เชา้ ไป นมสั การพระเจดียภ์ ูเขาทอง ไดพ้ ระบรมธาตุในดอกบัว ครั้นวันต่อมาไดเ้ กิดอันตรธาน แล้วลอ่ งเรือมาพัก อยทู่ ่ีวดั อรุณราชวราราม เนอ้ื หานริ าศภูเขาทอง (ฉบับหอสมุดวชริ ญาณ) ๏ เดอื นสบิ เอด็ เสร็จธรุ ะพระวสา ชลุ ลี าลงเรือเหลอื อาไลย รบั กฐินภญิ โญโมทนา เมอื่ ตรษุ สารทพระวสาได้อาไศรย ออกจากวดั ทัศนาดูอาวาศ มาจาไกลอารามเม่ือยามเยน็ สามระดูอยดู่ ไี มม่ ีไภย แตน่ ้นี านนบั ทิวาจะมาเหน็ โออ้ าวาศราชบรุ ณะพระวิหาร เพราะขุกเขญ็ คนพาลมารานทาง เหลอื ราฦกนึกนา่ น้าตากระเด็น ก็ใชถ้ ังแทนสดั เห็นขดั ขวาง จะยกหยิบธบิ ดเี ปนที่ต้งั มาอ้างวา้ งวญิ ญาในสาคร จ่ึงจาลาอาวาศนิราศร้าง คิดถึงบาทบพติ รอดิศร ถงึ นา่ วังดังหน่ึงใจจะขาด แต่ปางก่อนเคยเฝ้าทุกเชา้ เยน็ โอ้ผ่านเกลา้ เจ้าประคณุ ของสุนทร ด้วยไรญ้ าตยิ ากแค้นถึงแสนเข็ญ พระนิพพานปานประหนง่ึ ศศี ะขาด ไมเ่ ลงเหน็ ทีซ่ ึ่งจะพึง่ พา ทงั้ โรคซา้ กรรมซัดวิบัติเปน ประพฤฒฝิ ่ายสมถะท้ังวสา จะสร้างพรตอดสา่ ห์สง่ บุญถวาย ขอเปนขา้ เคยี งพระบาททุกชาติไป เปนสิ่งของฉลองคณุ มุลิกา รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๓ นริ าศภเู ขาทอง

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๕๑ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม ถงึ นา่ แพแลเหน็ เรอื ท่นี ัง่ คดิ ถึงคร้งั ก่อนมานา้ ตาไหล เคยหมอบรับกับพระจมน่ื ไวย แลว้ ลงในเรอื ทีน่ ่ังบัลลงั กท์ อง เคยทรงแต่งแปลงบทพจนาดถ์ เคยรบั ราชโองการอา่ นฉลอง จนกฐินสิน้ แมน่ ้าในลาคลอง มิไดข้ ้องเคอื งขัดหทั ยา เคยหมอบใกลไ้ ดก้ ล่ินสุคนธ์ตระหลบ ลอองอบรศร่นื ชื่นนาสา สนิ้ แผน่ ดินสิน้ รศสคุ นธา วาศนาเรากส็ ิ้นเหมือนกล่ินสคุ นธ์ ดูในวังยังเหน็ หอพระอฐั ิ ต้ังสตเิ ตมิ ถวายฝ่ายกุศล ท้งั ปน่ิ เกลา้ เจ้าพิภพจบสกล ใหผ้ อ่ งพน้ ไภยสาราญผา่ นบุริน ถึงอารามนามวดั ประโคนปกั ไม่เหน็ หลกั ฦๅเลา่ ว่าเสาหิน เปนสาคัญปนั แดนในแผน่ ดนิ มริ ู้สิ้นสุดช่อื ท่ีฦๅชา ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แมน้ มอดม้วยกลับชาติวาศนา อายยุ ืนหมน่ื เท่าเสาศลิ า อยู่คู่ฟา้ ดินได้ดังใจปอง ไปพน้ วัดทัศนาริมทา่ นา้ แพประจาจอดรายเขาขายของ มีแพรผ้าสารพดั สีมว่ งตอง ทงั้ สิ่งของขาวเหลอื งเครื่องสาเภา ถงึ โรงเหลา้ เตากลัน่ ควันโขมง มคี ันโพงผกู สายไวป้ ลายเสา โอ้บาปกรรมนา้ นรกเจยี วอกเรา ใหม้ วั เมาเหมือนหน่ึงบ้าเปนน่าอาย ทาบุญบวชกรวดน้าขอสาเรจ็ สรรเพ็ชญ์โพธิญาณประมาณหมาย ถึงสรุ าพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไป ไม่เมาเหลา้ แลว้ แต่เรายงั เมารัก สุดจะหกั หา้ มจติ รจะคดิ ไฉน ถงึ เมาเหล้าเช้าสายก็หายไป แตเ่ มาใจน้ปี ระจาทุกค่าคืน ถงึ บางจากจากวดั พลัดพี่น้อง มามัวหมองมว้ นหน้าไมฝ่ ่าฝนื เพราะรักใคร่ใจจดื ไม่ยดื ยืน จึงตอ้ งขืนใจพรากมาจากเมือง ถงึ บางพลคู ดิ ถึงค่เู ม่ืออยู่ครอง เคยใสซ่ องสง่ ใหล้ ว้ นใบเหลือง ถึงบางพลัดเหมือนพี่พลัดมาขัดเคือง ท้ังพลดั เมืองพลดั สมรมาร้อนรน รวมนริ าศของสุนทรภู่ เรื่องที่ ๓ นริ าศภเู ขาทอง

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๕๒ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม ถงึ บางโพธิโ์ อ้พระศรมี หาโพธ์ิ ร่มนิโรธรกุ ขมลู ใหภ้ ลู ผล ขอเดชะอานภุ าพพระทศพล ให้ผ่องพ้นไภยพาลสาราญกาย ถึงบา้ นญวนล้วนแตโ่ รงแลสพร่งั มีของขังกงุ้ ปลาไว้ค้าขาย ตรงน่าโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญงิ ชายพร้อมเพรยี งมาเมียงมอง จะเหลียวกลับลับเขตรประเทศสถาน ทรมานหม่นไหมฤ้ ไทยหมอง ถงึ เขมาอารามอรา่ มทอง พึ่งฉลองเลิกงานเมอ่ื วานซนื โอ้ปางหลงั ครัง้ สมเดจ็ พระบรมโกษฐ์ มาผูกโบสถ์ก็ไดม้ าบูชาชื่น ชมพระพมิ พ์รมิ ผนงั ยังยัง่ ยนื ทัง้ แปดหมื่นส่ีพันไดว้ นั ทา โอ้ครั้งน้ีมิไดเ้ หน็ เลน่ ฉลอง เพราะตวั ต้องตกประดาษวาศนา เปนบุญนอ้ ยพลอยนึกโมทนา พอนาวาติดชลเข้าวนเวียน ดูน้าวงิ่ กลิ้งเช่ียวเปนเกลยี วกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน บา้ งพลุ่งพลงุ่ วุง้ วงเหมอื นกงเกวียน ดูเปลี่ยนเปลี่ยนควา้ งคว้างเปนหวา่ งวน ทง้ั หวั ทา้ ยกรายแจวกระชากจ้วง ครรไลลว่ งเลยทางมากลางหน โอ้เรอื พน้ วนมาในสาชล ใจยังวนหวงั สวาด์ิไมค่ ลาศคลา ตลาดแก้วแล้วไมเ่ ห็นตลาดตง้ั สองฟากฝง่ั ก็แต่ลว้ นสวนพฤกษา โอ้รินรนิ กลิน่ ดอกไม้ใกล้คงคา เหมอื นกลิน่ ผา้ แพรร่าดามะเกลอื เหน็ โศกใหญใ่ กลน้ ้าระกาแฝง ทั้งรกั แซงแซมสวาดิ์ประหลาดเหลอื เหมือนโศกพ่ีท่ีระกาก็ซ้าเจือ เพราะรักเรื้อแรมสวาดิ์มาคลาศคลาย ถงึ แขวงนนทช์ ลมารถตลาดขวญั มีพ่วงแพแพรพรันเขาค้าขาย ทง้ั ของสวนลว้ นแตเ่ รือเรยี งราย พวกหญิงชายชมุ กนั ทุกวนั คืน มาถึงบางธรณีทวีโศก ยามวิโยคยากใจใหส้ อ้นื โอส้ ธุ าหนาแน่นเปนแผ่นพ้ืน ถึงสห่ี ม่นื สองแสนทั้งแดนไตร เม่ือเคราะห์ร้ายกายเราก็เทา่ นี้ ไม่มีทีพ่ สุธาจะอาไศรย ล้วนหนามเหนบ็ เจ็บแสบคับแคบใจ เหมอื นนกไรร้ งั เร่อย่เู อกา รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เร่อื งที่ ๓ นริ าศภเู ขาทอง

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๕๓ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ถงึ เกร็ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเกา่ ผ้หู ญงิ เกลา้ มวยงามตามภาษา เดยี๋ วนี้มอญถอนไรจกุ เหมือนตกุ๊ ตา ทง้ั ผดั หนา้ จบั กระเหมา่ เหมือนชาวไทย โอส้ ามญั ผนั แปรไม่แทเ้ ท่ยี ง เหมอื นอยา่ งเยี่ยงชายหญงิ ท้ิงวิไสย นี่ฤๅจิตรคดิ หมายมีหลายใจ ทจ่ี ิตรใครจะเปนหนงึ่ อย่าพึงคิด ถึงบางพูดพดู ดเี ปนศรีศักด์ิ มีคนรักรศถอ้ ยอร่อยจิตร แมน้ พดู ชัว่ ตัวตายทาลายมิตร จะชอบผดิ ในมนุษยเ์ พราะพูดจา ถงึ บ้านใหม่ใจจิตรกค็ ิดอา่ น จะหาบา้ นใหม่มาดเหมือนปราถนา ขอใหส้ มคะเนเถิดเทวา จะได้ผาศุกสวสั ดก์ิ าจัดไภย ถงึ บางเด่ือโอ้มะเดื่อเหลือประหลาด บงั เกดิ ชาติแมลงหวีม่ ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกยอ่ มขมใน อปุ ระมัยเหมอื นมะเดื่อเหลือระอา ถงึ บางหลวงเชิงรากเหมือนจากรัก สเู้ สยี ศักด์ิสังวาศพระสาสนา เปนลว่ งพน้ รนราคราคา ถงึ นางฟ้าจะมาใหไ้ ม่ไยดี ถงึ สามโคกโศกถวลิ ถึงปนิ่ เกล้า พระพุทธเจ้าหลวงบารุงซึ่งกรุงศรี ประทานนามสามโคกเปนเมอื งตรี ช่ือประทุมธานีเพราะมบี วั โอ้พระคณุ สูญลบั ไม่กลบั หลงั แตช่ ่ือตัง้ กย็ ังอย่เู ขารู้ทวั่ โอ้เรานท้ี ่ีสุนทรประทานตัว ไมร่ อดช่วั เชน่ สามโคกยิ่งโศกใจ สน้ิ แผ่นดนิ สน้ิ นามตามเสด็จ ต้องเทยี่ วเตรด็ เตร่หาทีอ่ าไศรย แมน้ กาเนิดเกดิ ชาตใิ ดใด ขอให้ได้เปนข้าฝา่ ธลุ ี ส้ินแผ่นดนิ ขอใหส้ ้นิ ชีวิตรบ้าง อยา่ ร้รู ้างบงกชบทศรี เหลอื อาไลยใจตรมระทมทวี ทุกวันน้กี ็ซงั ตายทรงกายมา ถงึ บ้านงว้ิ เหน็ แตง่ ิ้วละลว่ิ สูง ไม่มฝี งู สตั ว์สงิ ก่งิ พฤกษา ด้วยหนามดกรกดาษระดะตา นึกกน็ ่ากลวั หนามขามขามใจ งว้ิ นรกสิบหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเซย่ี มแซกแตกไสว ใครทาช้คู ู่ท่านครั้นบรรไลย กต็ อ้ งไปปนี ต้นนา่ ขนพอง รวมนริ าศของสุนทรภู่ เรื่องที่ ๓ นิราศภูเขาทอง

กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ๕๔ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวดั นครพนม เราเกดิ มาอายเุ พยี งนแ้ี ล้ว ยงั คลาศแคลว้ ครองตัวไม่มัวหมอง ทุกวนั น้ีวิปรติ ผิดทานอง เจยี นจะต้องปนี บา้ งฤๅอย่างไร โอค้ ดิ มาสารพัดจะตดั ขาด ตัดสวาดติ์ ดั รกั มิยักไหว ถวลิ หวงั นง่ั นกึ อนาถใจ ถงึ เกาะใหญร่ าชครามพอยามเย็น ดูห่างยา่ นบา้ นชอ่ งทั้งสองฝงั่ ระวังทัง้ สตั วน์ า้ จะทาเขญ็ เปนทอ่ี ยู่ผ้รู า้ ยไมว่ ายเว้น เทีย่ วซอ่ นเร้นตีเรือเหลือระอา พระสรุ ยิ งลงลบั พยับฝน ดูมวั มนมดื มดิ ทกุ ทศิ า ถงึ ทางลดั ตัดทางมากลางนา ทัง้ แฝกคาแขมกกขนึ้ รกเรี้ยว เปนเงาง้านา้ เจ่ิงดูเวงิ้ วา้ ง ทงั้ กวา้ งขวางขวญั หายไม่วายเหลยี ว เห็นดมุ่ ด่มุ หนุม่ สาวเสียงกราวเกรยี ว ล้วนเรือเพรยี วพร้อมหน้าพวกปลาเลย เขาถ่อคลอ่ งว่องไวไปเปนยดื เรือเราฝืดเฝือมานจิ าเอย๋ ต้องถ่อค้าร่าไปทั้งไมเ่ คย ประเด๋ยี วเสยสวบตรงเขา้ พงรก กลบั ถอยหลังรงั้ รอเฝา้ ถ่อถอน เรือขย่อนโยกโยนกะโถนหก เงยี บสงดั สัตวป์ า่ คณานก นา้ คา้ งตกพรา่ งพรายพระพายพดั ไม่เห็นคลองต้องคา้ งอยู่กลางทุ่ง พอหยดุ ยุงฉชู มุ มารุมกดั เปนกล่มุ กลุม่ กลมุ้ กายเหมือนทรายซดั ต้องนั่งปดั แปะไปมิได้นอน แสนวิตกอกเอ๋ยมาอ้างว้าง ในทุ่งกวา้ งเหน็ แต่แขมแซมสลอน จนดึกดาวพราวพร่างกลางอัมพร กะเรยี นร่อนร้องก้องเมื่อสองยาม ท้ังกบเขยี ดเกรยี ดกรดี จังหรดี เร่ือย พระพายเฉ่ือยฉวิ ฉิววะหวิวหวาม วังเวงจิตรคดิ คนึงราพงึ ความ ถึงเม่ือยามยงั อดุ มโสมนัศ สารวลกับเพือ่ นรักสพรักพร้อม อยแู่ วดลอ้ มหลายคนปรนนบิ ัติ โอ้ยามเข็ญเหน็ อยูแ่ ตห่ นูพดั ชว่ ยนง่ั ปดั ยุงใหไ้ ม่ไกลกาย จนเดอื นเดน่ เหน็ นกกระจับจอก รดะดอกบวั เผือ่ นเม่ือเดือนหงาย เห็นรอ่ งนา้ ลาคลองทัง้ สองฝา่ ย ข้างน่าท้ายถ่อมาในสาคร รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๓ นิราศภูเขาทอง

กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๕๕ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม จนแจ่มแจง้ แสงตวันเหน็ พรรณผกั ดูน่ารกั บรรจงสง่ เกสร เหลา่ บวั เผอื่ นแลสลา้ งรมิ ทางจร ก้ามกุ้งซอ้ นเสียดสาหรา่ ยใตค้ งคา สายต่งิ แกมแซมสลับต้นตบั เต่า เปนเหล่าเหลา่ แลรายท้ังซ้ายขวา กระจบั จอกดอกบวั บานผกา ดาษดาดขู าวด่ังดาวพราย โอเ้ ชน่ นสี้ กี าได้มาเห็น จะลงเล่นกลางทุ่งเหมือนมุ่งหมาย ท่ีมีเรอื น้อยน้อยจะลอยพาย เท่ยี วถอนสายบวั ผนั สันตวา ถึงตวั เราเลา่ ถ้ายงั มีโยมหญงิ ไหนจะน่งิ ดดู ายอายบุบผา คงจะใชใ้ ห้ศษิ ยท์ ่ีติดมา อุสา่ หห์ าเอาไปฝากตามยากจน นจี่ นใจไมม่ ีเทา่ ขี้เลบ็ ขเ้ี กยี จเก็บเลยทางมากลางหน พอรอนรอนอ่อนแสงพระสรุ ิยน ถึงตาบลกรุงเก่ายิง่ เศร้าใจ มาทางท่าน่าจวนจอมผู้รง้ั คดิ ถึงคร้งั ก่อนมานา้ ตาไหล จะแวะหาถ้าทา่ นเหมือนเม่อื เปนไวย[๑] ก็จะไดร้ ับนมิ นต์ขนึ้ บนจวน แต่ยามยากหากว่าถา้ ท่านแปลก อกมิแตกเสยี ฤๅเราเขาจะสรวล เหมอื นเข็ญใจใฝ่สูงไมส่ มควร จะต้องมว้ นหน้ากลบั อปั ระมาณ มาจอดท่าหน้าวัดพระเมรุข้าม รมิ อารามเรือเรียงเคยี งขนาน บา้ งขึน้ ล่องร้องลาเลน่ สาราญ ท้ังเพลงการเกี้ยวแกก้ นั แซเ่ ซง บา้ งฉลองผา้ ปา่ เสภาขบั ระนาดรับรัวคล้ายกบั นายเส็ง มโี คมรายแลอร่ามเหมือนสาเพง็ เมือ่ คราวเคร่งก็มใิ คร่จะได้ดู อ้ายลาหน่งึ ครึ่งท่อนกลอนมันมาก ชา่ งยาวลากเลอ้ื ยเจอื้ ยจนเหนื่อยหู ไม่จบบทลดเลีย้ วเหมือนเงยี้ วงู จนลกู คู่ขอทุเลาว่าหาวนอน ได้ฟงั เลน่ ตา่ งต่างทข่ี ้างวดั จนสงัดเงยี บหลบั ลงกบั หมอน ประมาณสามยามคล้าในอัมพร อา้ ยโจรจรจูจ่ ว้ งเขา้ ล้วงเรอื นาวาเอียงเสียงกุกลกุ ขนึ้ ร้อง มันดาลอ่ งนา้ ไปชา่ งไวเหลือ ไม่เหน็ หนา้ สานุศิษยท์ ช่ี ดิ เชือ้ เหมอื นเน้ือเบื้อบ้าเคอะดูเซอะซะ รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เรอื่ งท่ี ๓ นริ าศภเู ขาทอง

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๕๖ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม แตห่ นพู ดั จดั แจงจดุ เทียนส่อง ไมเ่ สียของขาวเหลืองเครื่องอัฏฐะ ด้วยเดชะตบะบญุ กบั คุณพระ ไชยชนะมารไดด้ งั ใจปอง ครัน้ ร่งุ เชา้ เขา้ เปนวนั อุโบสถ เจริญรศธรรมาบูชาฉลอง ไปเจดยี ์ทช่ี ื่อภเู ขาทอง ดูสงู ลอ่ งลอยฟา้ นภาไลย อยกู่ ลางทุง่ รุ่งโรจน์สันโดดเดน่ เปนท่เี ลน่ นาวาคงคาใส ทีพ่ ้ืนลานฐานบตั รถดั บันได คงคงไลยล้อมรอบเปนขอบคัน มีเจดียว์ หิ ารเปนลานวดั ในจังหวัดวงแขวงกาแพงกัน้ ท่ีองค์ก่อยอ่ เหลี่ยมสลับกัน เปนสามชัน้ เชงิ ชานตระหงา่ นงาม บันไดมสี ี่ด้านสาราญรนื่ ต่างชมช่นื ชวนกนั ขึ้นชนั้ สาม ประทักษณิ จนิ ตนาพยายาม ได้เสร็จสามรอบคานบั อภวิ ันท์ มหี ้องถ้าสาหรบั จดุ เทยี นถวาย ด้วยพระพายพดั เวยี นอยูเ่ หยี นหัน เปนลมทกั ขิณาวัตรนา่ อัศจรรย์ แต่ทกุ วนั นีช้ ราหนกั หนานัก ท้ังองค์ฐานรานรา้ วถงึ เกา้ แสก เผลอแยกยอดสดุ กห็ ลดุ หกั โอเ้ จดยี ์ที่สร้างยังรา้ งรัก เสยี ดายนักนึกน่านา้ ตากระเด็น กระนฤ้ี ๅช่อื เสียงเกยี รตยิ ศ จะมหิ มดลว่ งนา่ ทนั ตาเหน็ เปนผ้ดู ีมมี ากแลว้ ยากเยน็ คดิ กเ็ ปนอนจิ จงั เสียทั้งน้นั ขอเดชะพระเจดยี ค์ ิรีมาศ บรรจธุ าตุท่ตี ั้งนรงั สรรค์ ขา้ อสุ ่าหม์ าเคารพอภิวนั ท์ เปนอนนั ต์อานิสงส์ดารงกาย จะเกิดชาติใดใดในมนษุ ย์ ใหบ้ ริสุทธสมจติ รที่คิดหมาย ทงั้ ทกุ ข์โศกโรคไภยอย่าใกลก้ ราย แสนสบายบริบรู ณ์ประยูรวงค์ ทง้ั โลโภโทโสแลโมหะ ให้ชนะใจได้อย่าใหลหลง ขอฟงุ้ เฟื่องเรืองวชิ าปัญญายง ทัง้ ใหท้ รงศีลขันธใ์ นสนั ดาน อีกสองสิง่ หญงิ รา้ ยแลชายชั่ว อย่าเมามวั หมายรกั สมัคสมาน ขอสมหวังตัง้ ประโยชน์โพธญิ าณ ตราบนพิ พานภาคน่าให้ถาวร รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เร่อื งท่ี ๓ นิราศภูเขาทอง

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๕๗ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม พอกราบพระปะดอกประทมุ ชาต พบพระธาตุสถิตยใ์ นเกสร สมถวิลยินดีชุลกี ร ประคองชอ้ นเชญิ องค์ลงนาวา กบั หนูพดั มัสการสาเร็จแลว้ ใสข่ วดแกว้ วางไวใ้ กลเ้ กษา มานอนกรุงรุ่งขึน้ จะบูชา ไมป่ ะตาตันอกยง่ิ ตกใจ แสนเสยี ดายหมายจะชมบรมธาตุ ใจจะขาดคดิ มาน้าตาไหล โอ้บุญน้อยลอยลับครรไลไกล เสียนา้ ใจเจียนจะดิน้ สน้ิ ชวี นั สุดจะอยู่ดูอื่นไม่ฝนื โศก กาเรบิ โรครอ้ นฤไทยเฝา้ ใฝ่ฝัน พอกรูก่ รู่สรุ ิฉายข้ึนพรายพรรณ ใหล้ อ่ งวนั หน่งึ มาถงึ ธานี ประทับทา่ น่าอรุณอารามหลวง คอ่ ยสร่างทรวงทรงศลี พระชนิ ศรี นริ าศเร่ืองเมอื งเกา่ ของเราน้ี ไวเ้ ปนทโี่ สมนัสทศั นา ด้วยได้ไปเคารพพระพทุ ธรปู ท้ังสถปู บรมธาตุพระสาสนา เปนนไิ สยไว้เหมือนเตอื นศรทั ธา ตามภาษาไมส่ บายพอคลายใจ ใช่จะมีที่รักสมคั มาด แรมนิราศร้างมิตรพิศมยั ซ่ึงครวญคร่าทาทีพริ ้ีพิไร ตามนิไสยกาพย์กลอนแต่ก่อนมา เหมอื นแม่ครัวขั้วแกงแพนงผัด สารพดั เพียญฉนงั เคร่ืองมังสา อนั พริกไทยใบผกั ชีเหมือนสีกา ต้องโรยหน้าเสยี สักหนอ่ ยอร่อยใจ จงทราบความตามจรงิ ทุกสง่ิ ส้นิ อย่านึกนินทาแกลง้ แหนงไฉน นักเลงกลอนนอนเปล่ากเ็ ศรา้ ใจ จึงร่าไรเร่ืองร้างเล่นบ้างเอย ฯ เชงิ อรรถ [๑] คอื พระยาไชยวิชิต (เผือก) ท่ีทาวัดน่าวัดพระเมรุ เปนเจ้าบทเจา้ กลอน เหมือนกนั . รวมนริ าศของสุนทรภู่ เร่อื งท่ี ๓ นริ าศภูเขาทอง

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ๕๘ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม เรอื่ งท่ี ๔ นริ าศวัดเจ้าฟา้ (ฉบบั หอสมดุ วชริ ญาณ) บทนา นิราศวัดเจ้าฟ้า แต่งข้ึนในปี พ.ศ. ๒๓๗๕ เม่ือไปอยุธยา ไปวัดเจ้าฟ้าอากาศ เพื่อหายา อายุวัฒนะตามลายแทง เร่ืองนี้แต่งเป็นสานวนของเณรหนูพัดบุตรชาย บรรยายการเดินทางทางเรือ จากวัดพระเชตุพน ฯ ไปวัดเจ้าฟ้าอากาศ กรุงเก่า เพื่อหายาอายุวัฒนะตามลายแทงที่ได้มาจาก เมืองเหนอื ถงึ กรงุ เก่าข้ึนบกที่วัดใหญ่ แลว้ เดินทางต่อไปทางทิศตะวันออก คืนหนึ่งถงึ วัดเจา้ ฟา้ อากาศทา พิธีขุดหายาอายุวัฒนะเกิดอัศจรรย์หวั่นไหว ด้วยฤทธ์ิของปีศาจไม่อาจขุดได้ จึงพากันกลับ แวะพบ พระยาไชยวชิ ติ (เผอื ก) ผูร้ ักษากรงุ เกา่ มีการตอ้ นรับเป็นอยา่ งดี คานานิราศวัดเจ้าฟา้ (ฉบับตรวจชาระ พ.ศ. ๒๕๕๘) ของหอสมุดวชริ ญาณ ในพุทธศักราช ๒๕๕๘ น้ี หากครูกลอนนาม “สุนทรภู่” ยังมีชีวิตอยู่ ท่านจะมีอายุเต็ม ๒๒๙ ปี ยา่ งเข้าสู่ปีท่ี ๒๓๐ โดยประวัติชีวิตของท่านนั้นเกิดเมื่อวันท่ี ๒๖ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๓๒๙ ในเรือน แพ ทางตอนเหนือของพระราชวังหลัง ตรงกับวันจันทร์ ขึ้นค่า ๑ เดือน ๘ ปีมะเมีย จุลศักราช ๑๑๔๘ เวลา ๒ โมงเช้า ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ แม้วาระสุดท้ายท่านมาสิ้นชีพในระหว่างรับราชการมีบรรดาศักด์ิชั้น “พระ” ราชทินนาม “สุนทรโวหาร” สังกัดวังหน้า สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เมื่อพุทธศักราช ๒๓๙๘ อายุได้ ๖๙ ปี แต่ทกุ วันน้ีทา่ นก็ทิ้งปริศนาช่วงทา้ ยของชีวิตไว้ว่ากวีสาคัญชองโลกท่านนี้เสียชีวิต ท่ีใด ตามเร่ืองที่เล่าขานจากความทรงจามีเพียงว่า ท่านถึงแก่กรรมท่ีบ้านสวนบางระมาด ในคลอง บางกอกนอ้ ย แล้วไปทาศพทว่ี ดั ชโิ นรสาราม ริมคลองมอญ ฝ่งั ธนบรุ ี ไมใช่เพยี งแตป่ ระวัตสิ ว่ นตัวของท่านที่ยงั ไม่กระจ่างชดั เทา่ นั้น ดา้ นผลงานการประพันธ์ของท่าน ปจั จุบนั ยังคงเปน็ ปรศิ นาให้คนรุ่นหลงั นามาขบคิดอกี มาก โดยเฉพาะนริ าศซึ่งเป็นดังบทบันทึกกิจสว่ นตัว ท่ีเที่ยวหาของวิเศษของมหากวีท่านนี้ คือ กลอนนิราศวัดเจ้าฟ้า และ โคลงนิราศสุพรรณ ดังน้ัน กรม ศิลปากรจึงมอบให้นายวัฒนะ บุญจับ นักอักษรศาสตร์ชานาญการพิเศษ กลุ่มภาษาและวรรณกรรม สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ตรวจสอบชาระและจัดพิมพ์หนังสือ “นิราศวัดเจ้าฟ้า (ฉบับ ตรวจสอบชาระ พ.ศ. ๒๕๕๘)” เพอ่ื ศึกษาเพ่ิมเติมในเชิงลกึ เกีย่ วกับนิราศดังกลา่ ว กรมศิลปากรหวังว่าหนังสือ “นิราศวัดเจ้าฟ้า (ฉบับตรวจสอบชาระ พ.ศ. ๒๕๕๘)” น้ี คงจะ อานวยประโยชนแ์ กผ่ ทู้ สี่ นใจโดยทวั่ กัน อธิบดกี รมศลิ ปากร สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ๙ กันยายน ๒๕๕๘ รวมนริ าศของสุนทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟ้า

กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ๕๙ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ความนานิราศวัดเจา้ ฟ้า (ฉบับตรวจชาระ พ.ศ. ๒๕๕๘) ของหอสมดุ วชิรญาณ แม้ช่วงเวลาที่สุนทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็นกวีระดับโลกจะล่วงไปเกือบ ๓ ทศวรรษ แต่ไม่น่า เช่ือว่าความคลุมเครือเกี่ยวกับสุนทรภู่น้ันยังคงมีอีกหลายเร่ือง แต่ที่ประจักษ์ชัดและไม่มีใครปฏิเสธ ก็คือ สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชานาญทางด้านการประพันธ์กลอน มีผลงานที่มีชื่อเสียงจานวนมาก โดยเฉพาะนิทานคากลอนเรื่องพระอภัยมณี ได้รับยกย่องว่าเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และ ทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด ส่วนประดิษฐการสาคัญท่ีท่านฝากไว้เป็นมรดกในแวดวงวรรณศิลป์ก็ คือ ท่านได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศข้ึนใหม่ จนกลายเป็นที่นิยมอย่าง กว้างขวางสืบเนอ่ื งมาจนกระท่ังถึงปจั จบุ นั สนุ ทรภู่เป็นกวีที่สร้างผลงานประเภทนิราศไว้เป็นอันมาก แต่มีนริ าศของท่านเพียง ๒ เรื่อง คือ โคลงนิราศสุพรรณ กับกลอนนิราศวัดเจ้าฟ้า เท่าน้ัน ที่สุนทรภู่เดินทางเพ่ือไปทากิจธุระของตัวเอง คือ หาของวิเศษเพ่ือนามาเล่นแรแ่ ปรธาตุ และหายาอายวุ ัฒนะเพ่ือต้องการทจ่ี ะมีชีวิตที่เปน็ อมตะ ในขณะที่ นริ าศเรอ่ื งอนื่ ๆ ล้วนไปทากจิ อันเนื่องด้วยราชการแทบทัง้ ส้ิน นอกจากนีผ้ ู้ทอ่ี า่ นนิราศสุพรรณและนิราศ วัดเจ้าฟ้ามักจะมีความคิดเห็นตอนท้ายว่าไม่ทราบว่าท่านเดินทางไปถึงที่ใด ท้ังแก่นสารของเร่ืองก็มีแต่ ความเชื่อในสง่ิ ซ่ึงพิสูจนไ์ ม่ได้ แม้บางส่วนจะเสนอเร่ืองราวทีเ่ ป็นจรงิ โดยเฉพาะสถานที่ ผคู้ น เหตุการณ์ และเรื่องเลา่ ทอี่ ยู่ในท้องถิน่ โดยผ่านสายตาของกวีกต็ าม ปรศิ นาในนริ าศวัดเจ้าฟา้ วัดเจ้าฟ้า ในบทกลอนมีชื่อเต็มว่า “วัดเจ้าฟ้าอากาศนาถนรินทร์” แม้ปัจจุบันยังไม่สามารถ ตรวจสอบได้ว่าเป็นวัดใด และตั้งอยู่ในจังหวัดใด โดยทั่วไปมักรับรู้ว่า สุนทรภู่น่าจะแต่งนิราศวัดเจ้าฟ้า ในช่วงรัชกาลที่ ๓ ราวพุทธศักราช ๒๓๗๕ เม่ือครั้งอุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดยตั้งใจจะไปหาของวิเศษ คือปรอทและยาอายุวัฒนะท่ีวัดดังกล่าว แต่วิธีการประพันธ์ท่านแต่งเป็นสานวนเณรพัดผู้เป็นบุตร เนื่องจากขณะนั้นสุนทรภู่อยู่ในสมณเพศ จึงต้องระมัดระวังตัว ดังน้ัน การแต่งในนามของเณรหนูพัด ทาใหส้ ามารถออกกระบวนกลอนและแสดงความคดิ เหน็ ได้รสชาติมากกว่า นิราศเรอื่ งนึ้โรงพิมพ์ครูสมิท บางคอแหลม พมิ พจ์ าหน่ายครั้งแรกเมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๗ สมเด็จ ฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงมีพระวินิจฉัยเร่ืองประวัติการแต่งนิราศวัดเจ้าฟ้าไว้ ก่อนหน้านว้ี ่า เมอื่ พุทธศกั ราช ๒๓๗๕ พระองคเ์ จ้าลักขณานุคณุ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงผนวชพระ เวลาน้นั สนุ ทรภ่บู วชอยู่ได้ราวสัก ๖ พรรษา ดว้ ยเหตุท่ีเจ้านายสมัยน้นั มัก โปรดทรงศึกษาการแต่งกลอน อาจจะมีรับส่ังชวนสุนทรภู่มาอยู่วัดพระเชตุพนในเวลาทรงผนวชอยู่ที่วัด นัน้ เม่ือสุนทรภู่มาอยูว่ ัดพระเชตุพน บุตรคนใหญ่ท่ีช่ือพัดบวชเป็นสามเณร เห็บจะบวชมาแต่บิดายังอยู่ วดั เทพธิดาราม สุนทรภู่มาอยู่วดั พระเชตพุ นแล้วพาเณรพดั กับบตุ รคนเล็กทชี่ ่อื ตาบไปพระนครศรีอยุธยา อีกครัง้ หนืง่ แต่งเรื่องนริ าศวัดเจา้ ฟ้าเม่ือไปคราวนี้ แตแ่ กลง้ แต่งใหเ้ ปน็ สานวนเณรพัดว่า รวมนิราศของสุนทรภู่ เร่อื งท่ี ๔ นริ าศวดั เจ้าฟ้า

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๖๐ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม เณรหนูพัดหัดประดิษฐ์คดิ อักษร เปน็ เรือ่ งความตามติดท่านบิดร กาจดั จรจากนเิ วศเชตพุ น เม่ือเรอื ถงึ วดั ระฆงั กล่าวว่า แทนพระบาทบุษบงองคอ์ ัปสร ถึงวัดระฆงั บงั คมบรมธาตุ ไมท่ ันลับกปั กลั ปพ์ ทุ ธันดร พระดว่ นจรสู่สวรรคครรไล ละสมบตั ิขตั ตยิ าท้งั ขา้ บาท โออ้ นาถนึกน่าน้าตาไหล เปน็ สญู ลบั นับปแี ตน่ ้ไี ป เหลืออาลยั แลว้ ท่พี ระมคี ุณ ความตรงนี้สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงอธิบายว่า เจ้าครอกข้างในซ่ึงเป็น พระอัครชายาของกรมพระราชวังหลังสิ้นชีพก่อนน้ันไม่นานนัก และได้พระราชทานเพลิงที่วัดระฆังโฆสิ ตาราม ส่วนสาเหตุที่สุนทรภู่ไปกรุงศรีอยุธยาคราวนี้ เพราะได้ลายแทงมาแต่เมืองเหนื อ ว่ามียา อายุวัฒนะฝังไว้ที่วัดเจ้าฟ้าอากาศฯ จีงพยายามไปหายาอายุวัฒนะน้ัน เมื่อข้ึนไปถึงกรุงฯ ไปข้ึนบกที่วัด ใหญ่ ได้อธษิ ฐาน ณ ทนี่ ัน้ มคี าอธษิ ฐานตอนหนงึ่ วา่ อน่งึ เล่าเจ้านายทห่ี มายพง่ึ ใหท้ ราบซ่งึ สจุ รติ พิสมัย อยา่ หลงลิ้นหนิ ชาตขิ าดอาลัย นา้ พระทัยทลู เกลา้ ให้ยาวยนื ความท่ีอธิษฐานน้ี แสดงว่าเวลานั้นสุนทรภู่กาลังหมายจะพึ่งพระองค์เจ้าลักขณานุคุณดังได้ กล่าวแล้ว ครั้นออกจากวัดใหญ่เดินบกต่อไปทางทิศตะวันออกคืนหนึ่งถึงวัดเจ้าฟ้า ว่าไปทาพิธีจะขุดก็ เกดิ กัมปนาทหวาดไหวดว้ ยฤทธ์ิปศี าจ ไม่อาจขุดได้ ต้องพากนั กลับมา ปริศนาสาคัญเกี่ยวกับช่วงเวลาในการประพันธ์ มีนัยสาคัญที่แฝงอยู่ในนิราศวัดเจ้าฟ้าฉบับ ตรวจสอบชาระ พ.ศ. ๒๕๕๘ นี้ โดยเฉพาะบทท่ีเม่ือเรือถึงวัดระฆังกล่าวว่า “ถึงวัดระฆังบังคมบรม ธาตุ แทบพระบาทบุษบงองค์อัปสร ไม่ทันลับกัปกัลป์พุทธันดร พระด่วนจรสู่สวรรคครรไล” ความ ตรงนบี้ ง่ ว่าสุนทรภู่ไดน้ บไหวท้ รี่ าลึกถึง เจา้ ครอกขา้ งใน ซง่ึ เป็นพระอัครชายาของกรมพระราชวังหลงั เจ้าครอกข้างในซ่ึงเป็นพระอัครชายาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวร สถานพมิ ุขแห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ คอื เจ้าครอกทองอยู่ ทา่ นประสูติในช่วงปลายสมัยอยุธยา ส้ินพระชนม์ ในรัชกาลท่ี ๒ เชิงตะกอนทถี่ วายพระเพลิงเจ้าครอกทองอยู่ท่ีวดั อมั รินทราราม อาจเปน็ ได้ว่า เวลาถวาย เพลิงศพเจ้าครอกทองอยู่เป็นข้างขึ้นเดือน ๑๑ ปีวอก อัฐศก ตรงกับพุทธศักราช ๒๓๗๙ ส่วน พระอัฐิ นน้ั บรรจุไวใ้ นพระปรางค์ท่ีวัดระฆังโฆสิตาราม ดว้ ยเหตุนี้ จงึ พอกาหนดได้ว่า ท่านสุนทรภู่คงจะเดินทาง ไปวดั เจ้าฟา้ ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และแต่งนิราศวัดเจา้ ฟา้ น้ขี ้ึนในปลายปีนั้นหรือปีถัดมา แต่ ไม่ก่อนหน้านั้น และด้วยเหตุท่ีพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ ซึ่งท่านสุนทรภู่เคยได้พึ่งพระบารมีอยู่ ได้ สิ้นพระชนม์ไปต้ังแต่พุทธศักราช ๒๓๗๘ แล้ว จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว ทาให้พระวินิจฉัย รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอื่ งท่ี ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟา้

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๖๑ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม เรื่องประวัติการแต่งนิราศวัดเจ้าฟ้าท่ีสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงมีไว้ก่อนหน้าน้ีเป็นอัน ตกไป และเป็นไปไดว้ ่าท่านสุนทรภูค่ งกาลังคิดหาท่ีพ่ึงอื่นต่อไปอีก จงึ มคี วามบอกไว้ในนิราศอีกแห่งหน่ึง ว่า อน่ึงเล่าเจา้ นายที่หมายพง่ึ ให้ทราบซึง่ สุจรติ พิสมยั อยา่ หลงลน้ิ หินชาตขิ าดอาลยั น้าพระทยั ทูลเกล้าให้ยาวยืน ซ่ึงก็แสดงอยู่ว่าสุนทรภู่คงจะได้มีโอกาสเริ่มติดต่อและหวังพึง่ พระบารมีของกรมหมื่นอัปสรสุดา เทพ พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวอยู่แล้ว จึงเผยความในใจออกมาตีแผ่ไว้อย่าง นา่ รใู้ นกลอนนริ าศเรือ่ งน้ีดว้ ย นิราศวัดเจ้าฟ้า เป็นนิราศเชิงผจญภัยที่สนุกสนานมากอีกเร่ืองหน่ึง หากเปรียบเทียบกับนิราศ สุพรรณท่ีมีการผจญภัย เสาะหาแร่ปรอทและยาอายุวัฒนะเหมือนกันแล้ว ในความเห็นของผู้อ่านท่ัวไป มักรู้สึกว่า ท่านสุนทรภู่แต่งเร่ืองน้ีได้ออกรสชาติกว่า ลางทีจะเป็นเพราะแต่งเป็นกลอน ซง่ึ เป็นแนวถนัด ของทา่ น และทุกคนตา่ งก็ยอมรับลลี าการประพนั ธล์ กั ษณะนข้ี องท่านกเ็ ปน็ ได้ ปริศนาถัดมา คือ ฉบับเดิมจะเปิดนิราศด้วยวรรคแรกท่ีขึ้นว่า “เณรหนูพัดหัดประดิษฐ์คิด อักษร” แต่ฉบับตรวจสอบชาระ พ.ศ. ๒๕๕๘ บทแรกข้นึ วา่ “วนั ประหศั พัทเพียรเขียนอักษร เป็นเรอื่ ง ความตามติดท่านบิดร คราจักจรจากนิเวศเชตพุ น” ทาให้ทราบว่างานวรรณกรรมชิ้นนี้เริ่มเขียนขึ้นใน วันพฤหัสบดี แต่กต็ ้องขบคิดใหร้ อบคอบว่าวนั ท่ีเร่มิ เขียนนิราศเรื่องนี้คอื นับแต่วันแรกท่ีออกเดินทางจาก กรุงเทพ ฯ หรือเร่ิมเขียนหลังจากเดินทางกลับมาจากวัดเจ้าฟ้าแล้ว ซ่ึงประเด็นนี้จะนามาอรรถาธิบาย ต่อไป ศาสตราจารย์ ดร.ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ในฐานะประธานมูลนิธิสุนทรภู่ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับผู้แต่งนิราศวัดเจ้าฟ้าว่า เดิมทีเช่ือ กันว่า สุนทรภู่แต่งโดยอ้างช่ือเป็นเณรหนูพดั ซ่ึงเป็นลูกขายคนโต ด้วยเหตุผลว่า เปน็ เรอ่ื งทม่ี ีเนอื้ หารัก ๆ ใคร่ ๆ ไม่เหมาะแก่สมณเพศ แต่เม่ือได้พิจารณาเน้ือหาจากข้อมูลที่ผู้ตรวจชาระส่งไปให้พิจารณาใหม่ ท่านมีความเห็นว่า ทั้งเน้ือหา ลีลาภาษาที่เรียกกันว่าฝีปาก รวมท้ังการสะท้อนความรู้สึกจาก ประสบการณ์ น่าจะเป็นไปได้อย่างสูงว่าเร่ืองนี้เป็นผลงานของผู้แต่ง ๒ คน คือ เณรหนูพัดเริ่มแต่งก่อน ในลักษณะฝึกเขียนแล้วพระสุนทรภู่มาช่วยตรวจแก้ และการผสานฝีมือการประพันธ์ตรงน้ีคือเสน่ห์แรก ทไ่ี ด้เห็น ส่วนเสน่ห์ในเร่ืองนิราศวดั เจ้าฟ้าด้านอื่น ๆ ก็มีตั้งแต่เรื่องของตานานนิทานท่ีซ่อนอยู่ ด้านเสียง คา สานวน อีกท้งั ในขอ้ มลู ทชี่ าระใหมก่ ช็ ่วยคลายขอ้ ทเ่ี คยสงสยั มานานเกี่ยวกบั ความหมายไดอ้ ีกมาก ประเด็นท่ีศาสตราจารย์ ดร.ชลดา สันนิษฐานนั้นมีความเป็นไปได้สูง เพราะเน้ือหาในนิราศวัดเจ้าฟ้าได้ ระบุว่า ในคณะมีบุตรชายไปด้วย ๒ คน คือสามเณรพัด กับนายตาบ และมีศิษย์ตามไปด้วยอีก ๔ คน ระบุไว้ในนิราศนี้มีช่ือ กลั่น (คือสามเณรกล่ัน ผู้แต่งนิราศพระแท่นดงรัง เม่ือพุทธศักราช ๒๓๗๖) จัน มาก และบุนนาก กับมีคนแจวเรืออีก ๒ คน ซึ่งคงจะเป็นผู้ใหญ่ คือ ตามา และตาแก้ว ท้ังยังบ่งบอกถึง รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เร่อื งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟ้า

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๖๒ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม ความเคร่งครัดในวัตรปฏิบัติของภิกษุสุนทรภู่เป็นอย่างย่ิง ทั้งนี้อาจจะเนื่องมาจากบทเรียนท่ีได้รับเม่ือ คราวไปหาของวิเศษในนิราศสุพรรณท่ีท่านไม่ได้รักษาศีลและสร้างกุศลอย่างเคร่งครัดเพ ราะยังคงเป็น ฆราวาสอยู่ ทาให้ท่านไม่ได้ของวิเศษดังประสงค์ หากได้อ่านโคลงนิราศสุพรรณเทียบกับกลอนนิราศวัด เจ้าฟา้ แล้ว จะเห็นได้ว่าในนริ าศสพุ รรณทา่ นจะมีความคิดโลดโผนแบบฆราวาสมาก ในขณะทใ่ี นนริ าศวัด เจ้าฟ้าเมื่อท่านมีโอกาสอยู่ในที่สงบเมื่อใด ท่านจะอุทิศส่วนกุศลแผ่ส่วนบุญให้เจ้าที่เจ้าทางและยังเป็นที่ พ่ึงของคณะบคุ คลทีต่ ามไปด้วย ดังเชน่ เหตกุ ารณ์ชวนขนหัวลุกระหว่างพักแรมทวี่ ดั มอญเชิงราก ต้นไทรคร้ึมงมึ เงยี บเซียบสงดั พระพายพัดเฉ่ือยเฉียวเสยี วสยอง เป็นป่าช้าอาวาสปคี าจคะนอง ฉนั พน่ี อ้ งน้ีไมค่ ลาดบาทบดิ า ทา่ นนอนหลับตรบั เสียงสาเนยี งเงียบ ยงิ่ เย็นเยยี บเยอื กสยองพองเกศา เสียงผผี ิว่ หวิวโหวยโหยวิญญาณ์ ภาวนาหนาวน่งิ ไมต่ ิงกาย บรรดาศิษย์บิดรทนี่ อนนอก ผมี ันหลอกลากปล้าพลิกคว่าหงาย ลกุ ข้นึ บอกกลอกกลวั ทุกตัวนาย มนั สาดทรายกรวดโปรยเสยี งโกรยกราว ข้ึนสั่นไทรไหวยวบเสยี งสวบสาบ เปน็ เงาวาบหวั หกเห็นอกขาว หนกู ล่นั กลา้ คว้าไดร้ ากไทรยาว หมายวา่ สาวผมผีรอ้ งนแ่ี น พอพระตนื่ ฟืน้ กายค่อยคลายจิต บรรดาศิษยเ์ คียงขา้ งไม่หา่ งแห ทา่ นหม่ ดองครองเคร่งไม่เลง็ แล ขน้ึ บกแตอ่ งค์เดยี วดเู ปลย่ี วใจ สารวมเรยี บเลยี บรอบขอบปา่ ช้า ตั้งเมตตาตามสงฆ์ไมห่ ลงใหล พบศพฝงั บังสกุ ลุ สง่ บุญไป เห็นแสงไฟรางรางสว่างเวยี น ส่วนสานวนและลีลาในการประพนั ธ์นัน้ จะเห็นได้ว่าไม่สม่าเสมอ บางตอนก็โลดโผนตามประสา หนุม่ เช่น พวกสาวสาวเกล้ามวยสวยสะอาด แต่ขยาดอย่ดู ้วยวา่ น่งุ ผา้ ถงุ ท้ังหม่ ผา้ ตารีเหมือนสีรุ้ง ทง้ั ผา้ นงุ่ นัน้ กอ็ อ้ มลงกรอมตนี เมอื่ ยกเทา้ ก้าวย่างสว่างแวบ เหมือนฟ้าแลบแลผาดแทบขาดศลี น่หี ากเห็นเปน็ เด็กถ้า[๑]เจ๊กจีน เจยี นจะปีนชุ่มซา่ มไปตามนาง รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรือ่ งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๖๓ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวดั นครพนม บางตอนก็ให้ข้อคดิ ทางธรรมทล่ี ่มุ ลึกจากประสบการณ์ของคนที่ผา่ นโลกมามาก เช่น ถงึ ปากง่ามนามบอกบางกอกน้อย ยงิ่ เศรา้ สรอ้ ยทรวงน้องดังต้องศร เหมอื นนอ้ ยทรพั ยล์ ับหนา้ นริ าจร เทีย่ วแรมรอนราวไพรใจราจวน[๒] เคยชมเมอื งเรอื งระยับจะลบั แล้ว ไปชมแถวทุ่งท่าลว้ นปา่ สวน เอยดูดีพ่ปี ้าหน้านวลนวล จะวา่ งเรน้ เหนล้วนแตม่ อมแมม เคยชมช่ืนรื่นรสแป้งสดสะอาด จะชมหาดเหน็ แตจ่ อกกับดอกแขม โอ้ใจจืดมดื เหมอื นเมือเดือนแรม ไม่เยื้อนแย้มกลบี กล่ินใหด้ ิ้นโดย เสยี ดายดวงพวงผกามณฑาทิพย์ เหน็ ลบิ ลิบแลชวนให้หวนโหย เพราะหวงหุ้ม[๓]ภุมรนิ ไมบ่ นิ โบย จะร่วงโรยรสสิ้นกลิ่นผกา ฯ หากเนือ้ ความตอนทา้ ยนิราศท่ีวา่ ประหลาดเหลือเรอื วิ่งจรงิ จริงเจียว มาคนื เดยี วกไ็ ดห้ ยุดถึงอยุธยา จงึ จดหมายรายเรือ่ งทเี่ คืองเขญ็ ไปเทย่ี วเลน่ ลายแทงแสวงหา ซึ่งถอดความได้ว่ากวีรู้สึกแปลกใจว่าการเดินทางขากลับทาไมถึงได้รวดเร็วนัก เพราะแค่ชั่วคืน เดียวก็กลับมาถึงเมืองหลวง (คาว่าอยุธยาในที่นี้หมายถึงกรุงเทพฯ) และเม่ือกลับมากวีก็เร่ิมเขียนนิราศ เรือ่ งนีเ้ พื่อบันทกึ เรือ่ งราวเก่ียวกับความลาบากในการเดินทางตามลายแทงทันที หากข้อสรุปลักษณะเด่นเก่ียวกับการนาเสนอเน้ือความในวรรณกรรมของสุนทรภู่ที่ว่าเป็นกวีที่ เขียนบรรยายเรื่องตามความเป็นจริงยังคงเชื่อถือได้ การที่สุนทรภู่และคณะได้เดินทางไปแสวงหาของ วเิ ศษที่วัดเจา้ ฟ้าด้วยกัน ซง่ึ การเดินทางใช้เวลาประมาณ ๕-๖ คนื ประกอบกับตามตาราการหาปรอทแต่ โบราณนั้นจะถือฤกษ์ยาตราคือวันเวลาในการออกเดินทางว่ามีความสาคัญยิ่งท่ีจะต้องเป็นวันมงคล ก็ น่าจะช้ีชัดได้ว่าวันพฤหัสบดีท่ีระบุไว้ต้ังแต่ต้นนิราศ อาจจะมีความหมายว่าเป็นวันเริ่มเขียนนิราศด้วย ฝีมือเณรพัดท่ีแท้จริง แล้ววันน้ันก็คือวันเร่ิมเดินทางของท่าน และประมาณ ๖-๗ คืนหลังจากนั้น เมื่อ กลับมาถึงกรุงเทพฯ แล้ว ภิกษุสุนทรภู่มีเวลา จึงมาปรับแก้สานวนภาษาให้ ด้วยเห็นว่าในช่วงเวลา ดงั กล่าวท่านไมจ่ าเป็นต้องรักษาศีลให้เคร่งครัดหรือต้องปฏบิ ัติตามตาราเหมือนกบั เม่ือตอนเดินทางหวัง ท่จี ะได้ของวิเศษแล้ว เน้ือหาในกลอนนริ าศวัดเจา้ ฟา้ ลาดับเหตุการณ์ว่า วนั พฤหัสบดีเณรพัดพยายามเขยี นนิราศเร่อื ง น้ี โดยไม่ได้ระบุว่าเริ่มเขียนต้ังแต่วันพฤหัสบดีท่ีเริ่มออกเดินทาง หรือพฤหัสบดีถัดมาหลังจากเดินทาง กลับแลว้ โดยทา่ นออกเดนิ ทางจากวดั พระเชตพุ นฯ เวลาเยน็ “เม่อื ตะวนั สายัณห์ยา่ ” ผ่านวัดระฆงั ไหว้ ท้งั พระธาตุและเจ้านายฝ่ายในท่ีเพ่ิงส้นิ ไป ผ่านปากง่ามบางกอกน้อย บางพรม บางจาก บางพลู บางอ้อ บางซ่อน บางเขน ตลาดแกว้ วดั ตง้ั ฝง่ั สมทุ ร วดั เขียน คลองขวาง บางศรีทอง บางแพรก ตลาดขวญั บาง รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เร่ืองที่ ๔ นิราศวัดเจ้าฟ้า

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๖๔ โรงเรียนสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จังหวดั นครพนม ขวาง บางธรณี ปากเกร็ด บางพูด บางกระไน วัดเทียนถวายบ้านใหม่ และเน้ือความ “ไม่เห็นฝ่ังฟ่ัน เฟือนด้วยเดือนแรม” บอกให้รู้ว่าช่วงเดินทางเป็นคืนข้างแรม ก่อนจะผ่านบางทะแยง และคืนแรกพัก แรมในเรอื ใต้ตน้ ไทรทว่ี ัดมอญเชิงราก ตกดึกพระภู่เข้าปา่ ชา้ จนไดเ้ วลาพระตืน่ จงึ เดนิ จงกรมแผ่สว่ นกศุ ล ร่งุ ข้นึ วันศุกร์ ทา่ นออกเดินทางแต่กอ่ นรุ่งสาง ผา่ นบางหลวง ฉันจงั หันและเหน็ การแห่นาคทบี่ างกระแชง ซ่ึงช่วยย้าข้อสันนิษฐานว่าเป็นการเดินทางช่วงหน้าแล้ง เพราะชาวบ้านนิยมให้ลูกหลานบวชเรียนใน ชว่ งเวลาดังกล่าว ดว้ ยสงั คมที่ทาอาขีพเกษตรกรรมยงั ไม่มีภาระงานหนักในช่วงนนั้ แลว้ ออกเดินทางผา่ น สามโคก บ้านง้ิว โพแตง ราชคราม คงเป็นช่วงแล้งมากถึงขนาดมีไม้แห้งจนเกิดไฟไหม้ป่า สุนทรภู่เห็น ควันไฟกับฝูงแร้งร่อน ผ่านบางไทร เกาะเกิด เกาะพระ เกาะเรียง บางปะอิน เกาะเรียน ข้ึนไปไหว้พระ ปุนเถ้ากงท่ีวัดพนัญเชิง โดยเก็บดอกโศกและดอกรักถวายพระ ซึ่งโดยธรรมขาติน้ัน โศกจะออกดอกราว ปลายเดือนมกราคมถึงช่วงเป็นฝักราวเดือนพฤษภาคม แล้วเข้าคลองสวนพลู บอกให้รู้ว่ามาครั้งนี้จะมา หายาอายวุ ัฒนะตามลายแทงท่ไี ดม้ า จนถึงวัดใหญ่ชายทงุ่ ซึ่งมีเจดยี ์สงู ตระหงา่ น คืนท่ี ๒ ตกค่ามีพายุฝน จนดึกท่านจึงตักน้าผ้ึงไปจับปรอท ทาอยู่หลายครั้งจนเห็นดาว ประกายพรึกขึ้น (ศกุ ร์เพ็ญทางดาราศาสตร์ระบุว่าเห็นดาวดวงน้ีได้ตั้งแต่ตี ๓) ท่สี ุดปรอททว่ี า่ จะได้มา ๓ องค์ก็หนีไป นาพระธาตุมาสรงน้า ดูลายแทงอีกครั้ง จัดเคร่ืองจนั ทน์จวงเสร็จแล้ว เดินทางตามคลองไป ทางทิศตะวันออกด้านทุ่งหลวงตอน ๑๐ ทุ่ม เดินทางตามลายแทงไปจนสุดปลายคลองที่หนองพลวง ต้องเดินเท้า เกิดตกใจเพราะเห็นควายนอนปลักสาหร่ายลุกข้ึนมานึกกันว่าเจอปีศาจ รายละเอียดท่ีน่า ขบขันนสี้ ะท้อนให้เห็นว่าสุนทรภู่และคณะเดินตัดทงุ่ ไป ซ่งึ หากเป็นหน้าน้าคงเดินทางเช่นนี้ไม่ได้ เพราะ ต้องอ้อมข้ึนไปตอนเหนือทุ่งอุทัยตามเส้นทางท่ีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเคยทรงใช้เม่ือคราวฝ่าวง ลอ้ มกองทัพกรุงองั วะไปทางหัวเมอื งชายทะเลฝัง่ ตะวนั ออก วันเสาร์เช้าถึงป่าเกรียน พบนกกระจาบนับหม่ืนกาลังคาบหญ้ามาทารังกัน ก็ย่ิงทาให้เช่ือว่าอยู่ ในราวเดือนพฤษภาคมถงึ มิถุนายน เพราะธรรมชาตินกกระจาบตัวผู้จะซ่อมรงั เพ่ือรับฤดูกาลผสมพนั ธุใ์ น ราวเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคมชองทุกปี เมื่อพ้นป่าก็ถึงโป่งหอยโข่ง มองเห็นตาลโดดและทิวไผ่อยู่ เหมือนที่บอกไว้ในลายแทง จึงเดินตัดทางไปกลางทุ่ง ต้ังแต่เช้ามาพักร้อนตอนเพล จนแดดอ่อนจึง เดินทางต่อจนจวบเย็นจึงถึงเนินตาลโดดเห็นนกยูงหาคู่ พบโบสถ์วิหารร้างและพระ ทั้งอ้างตานานเรื่อง พระเจ้าตะเภาทอง ตกค่าท่านจึงทาพิธีหายาอายุวัฒนะแต่ว่าทาการไม่สาเร็จด้วยถูกอาถรรพณ์หรือสิ่ง ศกั ดิ์สิทธิ์สาแดงฤทธ์ิเปน็ พายุฝน พัดเอาขา้ วของเคร่ืองบัดพลีบวงสรวงตลอดจนผ้าห่มและตาราลายแทง ปลวิ หายไปหมด ท่านมาฟ้ืนคืนสติตอนเที่ยงวันอาทิตย์ รีบขอขมาพระ กรวดน้า คว่าขันล้มเลิกความคิดหาของ วิเศษตามลายแทง แล้วรีบเดินทางย้อนกลับเส้นเดิมต้ังแต่บ่าย คืนที่ ๔ เร่งเดินทางกลับมาที่จอดเรือซึ่ง จอดรอทั้งคืน จนรุ่งเช้าวันจันทร์จึงรู้ว่าหลงทาง ต้องเดาทางใหม่ มาถึงเรือที่ตามากับตาแก้วรออยู่ตอน เท่ียง ด้วยไม่เหลืออะไรติดตัวกลับมาเลย ม้ือเพลจึงแวะไปอาศัยพระยาชัยวิชิต (เผือก) ผู้รักษากรุงเก่า ซึ่งเปน็ เพ่อื นของทา่ นมาแตค่ รัง้ รชั กาลที่ ๒ แล้วจงึ กลบั เข้ากรุงเทพฯ รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรื่องที่ ๔ นริ าศวัดเจ้าฟ้า

กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ๖๕ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ช่วงเวลาตรงนี้ท่ีเป็นปัญหา ว่า คืนที่ ๕ ท่านได้ค้างแรมที่จวนพระยารักษากรุง แล้ววันอังคาร หลังฉันเช้าท่ีจวนพระยารักษากรุง ท่านจึงเดินทางกลับ เพราะลาดับม้ือนั้นเป็น “เพลเช้า” เมื่อเดินทาง ถงึ กรุงเทพฯ ในคนื ท่ี ๖ จึงบันทึกเร่ืองราวการเดินทางในครั้งนี้ หรือว่าหลังจากท่ีท่านรับของขบฉันจนมี เร่ียวแรงแล้ว เย็นวันจันทร์ ท่านและคณะก็รีบกลับกรุงเทพฯ ในคืนท่ี ๕ น้ันเลย เพราะความตอนนี้ บนั ทึกไว้เพียงวา่ จะเลยตรงลงไปวดั ก็ขดั ขอ้ ง ไม่มขี องขบฉันจงั หันหุง ไปพง่ึ บญุ คุณพระยารกั ษากรุง ท่านบารงุ รกั พระไมล่ ะเมนิ ทง้ั เพลเชา้ คาวหวานสาราญร่นื ต่างชุ่มชนื่ ชวนกนั สรรเสรญิ ท่านสูงศักดิร์ กั ใคร่ใหจ้ าเริญ อายุเกนิ กัปกลั ป์พทุ ธนั ดร จากรายละเอียดทสี่ ุนทรภู่เล่าไว้ในนิราศ ไม่ว่าจะเปน็ เห็นการแหน่ าคท่บี างกระแชง เหน็ ควันไฟ ไหม้ป่ากับฝูงแร้งร่อนท่ีราชคราม การเก็บดอกโศกและดอกรักไหว้พระปุนเถ้ากงที่วัดพนัญเชิง พบนก กระจาบนับหมื่นกาลังคาบหญ้ามาทารังกันท่ีชายป่าเกรียน ตกใจเมื่อเหน็ ควายนอนปลักลุกข้นึ มาพร้อม สาหร่าย กระทั่งเห็นดาวประกายพรึกขึ้นตอนตี ๓ เป็นการบ่งบอกว่าคณะของท่านออกเดินทางในช่วง หน้าแล้งอย่างแน่นอน กอปรกับการท่ีร้วู ่าสนุ ทรภู่ออกเดินทางช่วงข้างแรมแตต่ ้นนริ าศ เป็นข้อมลู สาคัญ ที่แสดงให้เห็นว่าสุนทรภู่มีความรู้เร่ืองคาถาอาคมและการหาของวิเศษเป็นอย่างดี และคงมุ่งม่ันท่ีจะหา ปรอทและยาอายวุ ัฒนะให้ทนั คืนแรมเดือนมดื ซง่ึ มเี วลาเพียงไมน่ านนกั จึงสง่ ผลให้ท่านเลอื กเดินทางบก ลัดตัดทุ่งอุทัยแบบไม่ยอมพักแทนท่ีจะใช้เส้นทางลาน้าป่าสัก เพราะถึงแม้จะเดินทางสะดวกกว่าแต่ใช้ เวลาในการเดินทางมาก เน่ืองจากลาน้าช่วงสระบุรีกับอยุธยาน้ันคดเคี้ยวมาก อาจไม่ทันฤกษ์ยามที่ กาหนดไว้ จากขอ้ มูลท้ังหมดขา้ งต้นเมอ่ื นามาคานวณทางโหราศาสตร์หากวันทส่ี ุนทรภ่เู ร่ิมเดินทางกบั วันที่ เณรพัดเรมิ่ เขียนนิราศเป็นวันเดยี วกนั นริ าศวัดเจา้ ฟา้ ก็จะเริ่มเขยี นเมื่อวันพฤหัสบดี ตรงกับแรม ๑๐ คา่ เดือน ๕ สัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๒๐๐ ตรงกับวันท่ี ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๘๑ เพราะกาลโยคปี น้นั วนั พฤหสั บดีเปน็ วันธงชัย และหากสนุ ทรภู่เร่ิมแกง้ านของเณรพัดหลังจากการเดนิ ทาง หากไมเ่ ปน็ ๕ วัน ๕ คืน กเ็ ปน็ ๖ วนั ๖ คืน ซ่งึ เป็นไปไดว้ ่าท่านเริ่มปรบั แก้ “นิราศวัดเจ้าฟา้ ” ประมาณวันท่ี ๒๕ หรือ ๒๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๘๑ หาใช่พทุ ธศกั ราช ๒๓๗๕ ดังทีเ่ ข้าใจกนั มาแต่เดมิ ไม่ ปริศนาเก่ียวกับเวลาในการประพันธ์ดูจะคล่ีคลายได้ในระดับหน่ึง แต่ “วัดเจ้าฟ้าอากาศฯ” ท่ี ปรากฏชื่อตามลายแทงในนิราศเร่ืองน้ี ยังเป็นท่ีถกเถียงกันว่าคือวัดใดในปัจจุบัน รู้แต่เพียงตาแหน่ง กว้างๆ ว่า อยทู่ างแขวงเมอื งทิศตะวนั ออกของอยุธยา ปจั จุบันมผี ู้เสนอความเห็นเกยี่ วกบั วัดเจา้ ฟ้าเป็น ๒ ทาง กลุ่มหนึ่งมีมติวา่ วัดเจ้าฟ้าในนิราศของ สุนทรภู่ คือ วัดเขาดิน ซ่ึงตั้งอยู่ใน ตาบลธนู อาเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขณะที่สุจิตต์ วงษ์ รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรอื่ งท่ี ๔ นริ าศวดั เจ้าฟ้า

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๖๖ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม เทศ สนั นิษฐานว่าวัดเจ้าฟา้ อากาศนาถนรินทร์เป็นแต่เพียงชื่อในลายแทง แต่ไม่ได้มีวัดช่ือน้ีอยู่จรงิ ตาม ความท่ีว่า “...นามน้นั เขาเขียนแจ้งทแ่ี ทง่ หนิ วัดเจ้าฟ้าอากาศนาถนรนิ ทร์ ใหท้ ราบสิ้นสบื สายเพราะ ลายแทง” แต่เม่ือพิจารณาจากข้อมูลเส้นทางตามนิราศ เช่ือว่าหลังจากเสร็จธุระท่ีวัดใหญ่ชัยมงคลแล้ว สุนทรภู่น่าจะลัดเลาะตามคลองท่ีมีอยู่มากมายเหมือนใยแมงมุมในยุคน้ันเข้าหาเส้นทางหลัก คือ คลอง ข้าวเม่า แล้วใช้คลองข้าวเม่านี้เดินทางไปทางทิศตะวันออกจนสดุ ปลายคลอง จากน้นั จึงขน้ึ เดินบกลัดทุ่ง ไปท่ีดอนจนถึงวัด ซ่ึงวัดดังกล่าวเดิมสุจิตต์สันนิษฐานว่าน่า จะเป็น “วัดพระพุทธฉาย” แต่ภายหลัง สันนิษฐานวา่ น่าจะเป็น วัดสนมไทย (วัดเขาพนมโยง) ซงึ่ อยทู่ อี่ าเภอหนองแค จังหวดั สระบุรี มากกวา่ เม่ือได้มีโอกาสออกสารวจภาคสนาม สอบทานชื่อบ้านนามเมือง ประกอบกับการศึกษาการเดินทัพตาม ตาราพิชัยสงครามแต่โบราณ เป็นไปได้ว่าวัดเจ้าฟ้าอากาศนั้นอยู่ในจังหวัดสระบุรี แต่อาจจะไม่ใช่วัดที่ สันนิษฐานไว้ก่อนทั้ง ๒ แห่ง เพราะลายแทงที่ระบุว่าตาแหน่งวัดนั้นมี “ต้นตาลโดด” เป็นจุดสังเกตที่มี นัยสาคัญ อีกทั้งในนิราศก็ไม่ได้กล่าวเลยว่าวัดดังกล่าวอยู่บนเนินเขาสูงดังท่ีเข้าใจกันแต่อย่างใด เพราะ ความในนิราศเมื่อสุนทรภู่เดินลัดทุ่งออกมาได้แล้ว ก็ “...เห็นตาลโดดโขดคุ่มกระพุ่มไม้ มีทิวไผ่พงราย เหมือนลายแทง...” แล้ว “...ท่านหลีกลัดตัดทางไปกลางทุ่ง...” ไปถึงที่หมายตอนเย็น “..พอเย็นจวน ดว่ นเดนิ ขึน้ เนินโขด ถงึ ตาลโดดดินพนู เป็นมูนสูง...” ปัจจุบัน ไม่ห่างจากวัดพนมโยงมากนัก ยังคงมี “วัดตาลเดี่ยว” ซึ่งเป็นวัดเก่า สร้างมาแต่สมัย อยุธยา ต่อมาถูกท้ิงร้าง วัดน้ีต้ังอยู่ริมแม่น้าป่าสัก ใบอาเภอแก่งคอย ภายหลังเม่ือมีชาวบ้านจากถ่ินอ่ืน อพยพมาอาศัยแถบน้ี จึงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ แต่โบสถ์และเจดีย์เก่าถูกแม่น้าป่าสักเซาะพัง เหลือเศษซากอย่บู ้าง อาคารที่เป็นวหิ ารในปจั จบุ ันน้ีคนทเ่ี คยอยู่มากอ่ นเลา่ วา่ เดิมเป็นโบสถ์เก่าสร้างเม่ือ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๐ หากส่ิงจาเป็นในการล่าลายแทงอยู่ท่ีการถอดรหัส น่าสนใจคาว่า “เดี่ยว” ซ่ึงเป็นช่ือวัดและยังคงรักษา ตาลเด่ียวต้นเดิมไว้ให้เห็นอยู่ในบริเวณวัด เมื่อ “โดด” มีความหมายทางภาษาว่า อันเดียวเด่น ซ่ึงมีไม่ ตา่ งจากคาว่า “เด่ยี ว” ที่หมายถึง อยู่โดยลาพัง เดียวเท่านั้น ดังนน้ั การถอดรหสั “ตาลโดด” ตามภาษา ปริศนาในลายแทง จะเป็นพ้ืนที่ตาแหน่งเดียวกับท่ีมีขึ้นให้เห็นอย่างโดดเด่น “ตาลเดี่ยว” ในความเป็น จริงไดห้ รือไม่ เรอื่ งน้ีคงตอ้ งรอผลการศึกษากันต่อไป เชงิ อรรถ [๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “แม้น” [๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “รัญจวน” [๓] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “พุ่ม” รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๖๗ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เนอ้ื หานิราศวัดเจา้ ฟา้ (ฉบบั หอสมุดวชิรญาณ) ๏ วันประหัศ[๑]พัท[๒]เพยี รเขยี นอกั ษร[๓] เปน็ เร่อื งความตามตดิ ทา่ นบิดร คราจกั จร[๔]จากนเิ วศเชตุพน ได้ออกเรือเมื่อตะวันสายณั หย์ ่า ละอองนา้ ค้างย้อยดังฝอยฝน ตะลึงเหลียวเปลยี่ วเปลา่ เมื่อคราวจน ไมม่ ีคนเกื้อหนุนกรุณา โอธ้ านีศรอี ยุธยม์ นุษย์แน่น นับโกฏแิ สนสาวแก่แซภ่ าษา จะหารักสกั คนพอปนยา ไม่เหน็ หนา้ นึกสะอ้นื ฝืนฤทัย เสยี แรงมีพ่ีป้าหม่อมนา้ สาว ลว้ นขาวขาวคาหวานนา้ ตาลใส อยยู่ าน[๕]ยดื จืดเปร้ยี วไปเจียวใจ เหลืออาลยั ลมปากจะจากจรฯ แทบพระบาทบุษบงองค์อปั สร[๖] ๏ ถงึ วัดระฆงั บังคมบรมธาตุ มทิ นั ลับกปั กัลปพ์ ทุ ธันดร พระด่วนจรสูส่ วรรคครรไล ละสมบตั ิขตั ตยิ าทงั้ ขา้ บาท โออ้ นาถนึกหนา้ น้าตาไหล เปน็ สญู ลบั นับปแี ตน่ ้ีไป เหลอื อาลยั แลว้ ที่พระมีคุณ ถงึ จนยากบากมาเปน็ ขา้ บาท ไม่ขดั ขาดข้าวเกลือชว่ ยเก้ือหนนุ ทรงศรัทธากลา้ หาญในการบุญ โอ้พระคุณขาดยศทงั้ งดงาม แมน้ ตกยากพรากพลดั ไปขดั ข้อง พัดกับน้องหนูตาบจะหาบหาม นี่จนใจไปป่าชา้ พนาราม สุดจะตามตาบ[๗]ไดด้ งั ใจจง ขออย่บู วชตรวจนา้ [๘]สรุ ามฤต[๙] อวยอทุ ิศผลผลาอานสิ งส์ สนองคณุ พูนสวสั ดิข์ ตั ติยวงศ์ เป็นรถทรงสู่สถานวิมานแมน มสี ุรางคน์ างขบั สาหรับกลอ่ ม ลว้ นเนอ้ี หอมน้อมเกลา้ อยเู่ ฝา้ แหน เสวยรมยส์ มมนัสไม่ขัดแคลน เปน็ ของแทนทานาฝา่ ละออง โอ้อก[๑๐]เอ๋ยเคยทนปุ [๑๑]อุปถัมภ์ ไดอ้ ิ่มหนาคา่ เชา้ ไม่เศร้าหมอง แม้นทลู ลามาอยา่ ง[๑๒]นท้ี งั้ พี่นอ้ ง ไหนจะต้องอดอยากลาบากกาย นี่สิน้ บุญทูนกระหมอ่ มจงึ ตรอมอก ออก[๑๓]ระหกระเหินไปน่าใจหาย เหน็ ท่ปี ลงทรงสูญยงั มนู [๑๔]ทราย แสนเสียดายดังจะดิ้นส้นิ ชีวัน รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นิราศวดั เจ้าฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๖๘ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม ทง้ั หนตู าบกราบไหวร้ อ้ งไหว้ า่ จะคมลาลับไปถึง[๑๕]ไพรสัณฑ์ เคยเวียนเฝ้าเกลา้ จุกให้ทุกวนั สารพันพงึ่ พาไม่อาทร ฯ ยง่ิ เศร้าสร้อยทรวงน้องดังต้องศร ๏ ถึงปากง่ามนามบอกบางกอกน้อย เทย่ี วแรมรอนราวไพรใจราจวน[๑๖] เหมอื นน้อยทรัพย์ลับหน้านริ าจร ไปชมแถวทงุ่ ทา่ ล้วนป่าสวน เคยชมเมอื งเรอื งระยบั จะลบั แล้ว จะวา่ งเว้นเห็นลว้ นแต่มอมแมม เคยดูดพี ีป่ ่าหนา้ นวลนวล จะชมหาดเหน็ แตจ่ อกกับดอกแขม เคยชมชน่ื รืน่ รสแปง้ สดสะอาด ไมเ่ ย้ือนแย้มกลบี กลิ่นใหด้ นิ้ โดย โอใ้ จจดื มดื เหมือนเมื่อเดือนแรม เหน็ ลบิ ลบิ แลชวนใหห้ วนโหย เสยี ดายดวงพวงผกามณฑาทิพย์ จะรว่ งโรยรสสิ้นกลนิ่ ผกา ฯ เพราะหวงหุ้ม[๑๗]ภุมรินไมบ่ นิ โบย คนรู้จกั แจ้งจิตทกุ ทิศา เปน็ รอ้ ยหน้าพนั หนา้ ยิ่งกวา่ พรหม ๏ ถงึ บางพรม[๑๘]พรหมมีอยู่สีพ่ กั ตร์ เหมือนเกรียกจักเจ็ดซีกกระผีกผม ทุกวนั นีม้ มี นุษยอ์ ยุธยา เพราะล้นิ ลมล่อลวงจะช่วงใช้ ฯ โอ้คดิ ไปใจหายเสยี ดายรกั โอว้ บิ ากบาปสร้างแต่ปางไหน จนเจ็บอกฟกช้าระกากรม[๑๙] จะรกั ใครเ่ ขาไม่มปี รานีเลย ฯ ถวายพระเพราะกาพรา้ นิจจาเอ๋ย ๏ ถงึ บางจากน้องไม่มีท่จี ะจาก จะได้เชยพลูจีบหมากดิบเจียน เผอญิ หญงิ ชิงชงั นา่ คลงั่ ใจ เปรยี บเหมือนเชน่ ฉากฉายพอหายเหยี น ฉกี ทเุ รยี นหนามหนักดสู ักคราว ฯ ๏ ถงึ บางพลูพลใู บใส่ตะบะ ทาแพนซอเสียงแจว้ เที่ยวแอ่วสาว แมน้ มีใครใจบุญที่ค้นุ เคย สดุ จะกล่าวกลอนปลอบใหช้ อบใจ ฯ นจ่ี นใจไดแ้ ต่ลมมาชมเลน่ ถงึ หนามแหลมเหลือจะบ่งที่ตรงไหน แม้นเหน็ รักจกั ไดต้ ามด้วยความเพียร จึงเข็ญใจจนไม่มีทีจ่ ะรัก ๏ ถึงบางอ้อคิดจะใครได้ไม้ออ้ แต[่ ๒๐]ไมเ่ คยเชยโฉมประโลมลาว ๏ ถงึ บางซ่อนซอ่ นเงือ่ นไม่เยื้อนแย้ม โอ้บางเขนเวรสร้างแต่[๒๑]ปางใด รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอื่ งที่ ๔ นริ าศวัดเจา้ ฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๖๙ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม เมอื่ ชาตหิ น้ามาเกิดใหเ้ ลิศโลก ประสทิ ธโิ ชคชอบฤทัยทงั้ ไตรจกั ร กระจ้อยรอ่ ยกลอยใจวิไลลกั ษณ์ ให้สาวรกั สาวกอดตลอดไป ฯ แตช่ ือ่ อ้างออกนามตามวสิ ยั ๏ ตลาดแก้วแลว้ แตล่ ว้ นสวนสลา้ ง จะซ้อื ใสบ่ นสาลีประชีรอง แมน้ ขายแกว้ แววฟ้าท่ีอาลัย สงวน[๒๒]แกว้ กลอยใจมใิ หห้ มอง ประดับเรือนเหมอื นหน่ึงเพชรสาเร็จแลว้ เห็นแต่น้องหนูแนบแอบอุรา ฯ ไม่เหมือนนึกตรึกตราน้าตานอง ว่าท่านวางไวใ้ ห้คิดปริศนา[๒๓] นึกก็นา่ ใคร่หัวเราะจาเพาะเป็น ๏ ถงึ วดั ต้งั ฝ่งั สมุทรพระพุทธสร้าง จะไปตอกทต่ี รงไหนก็ไม่เห็น แมน้ แก้ไขไม่ออกเอาที่ตอกตา พอยามเย็นยอแสงแฝงโพยม ฯ ครน้ั คดิ บา้ งอยา่ งคาท่รี า่ บอก[๒๔] กลกลอนกล่าวกลอ่ มสนอมโอม ดลู ึกซง้ึ ถงึ จะคิดกม็ ดิ เม้น ขอให้โนม้ น้อมจิตสนิทใน ฯ ไมแ่ ลเห็นศรีทองที่ผ่องใส ๏ ถึงวดั เขียนเหมือนหนึง่ เพียรเขยี นอักษร นี่มใิ ช่ศรที องเป็นคลองบาง เดชะชักรักลักลอบปลอบประโลม ยง่ิ โศกตรอมตรึกตรองให้หมองหมาง[๒๕] เหมอื นจดื จางใจแตกต้องแยกกัน[๒๖] ๏ ถึงคลองขวางบางศรที องมองเขมน้ ใครเขาขายขวญั หรือจะซ้ือขวัญ แม้นทองคาธรรมดาจะพาไป จะรับขวัญเช้าเยน็ ไมเ่ ว้นวาง ฯ พอลมโบกโศกสวนมาหวนหอม ถึงต่างแดนดงดอนสิงขรขวาง ถงึ บางแพรกแยกคลองเป็นสองทาง แต่ขัดขวางขวัญความขามระคาย เป็นรอยตัดต้นสวาดให้ขาดสาย ๏ ตลาดขวัญขวญั ฉันน้ีขวญั หาย แสนเสียดายสายสวาทท่ขี าดลอย แม้นขวญั ฟ้าหนา้ อ่อนเหมือนทอ่ นจนั ทน์ ไมม่ ีคนรกั รกั มาหกั สอย มา[๒๗]ล่องลอยเรอื รักจนหนักเรือ ฯ ๏ ถึงบางขวางขวางอ่ืนสักหมื่นแสน จะตามไปให้ถึงหอ้ งประคองคาง เหน็ สวาดขาดทงิ้ ก่ิงสนดั สวาทพน่ี ี้ก็ขาดสวาทวาย เห็นรกั น้าพรา่ ออกทงั้ ดอกผล เปน็ รักเปล่าเศร้าหมองเหมือนนอ้ งนอ้ ย รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรื่องท่ี ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟา้

กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๗๐ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม ๏ ถงึ บา้ นบางธรณแี ลว้ พจ่ี า๋ แผน่ สธุ าก็ไม่ไร้ไม้มะเขอื เขากินหมูหนูพดั จะกดั เกลอื ไม่ง้อเรอื แหหาปลาตาแบ[๒๘] ฯ เที่ยวสญั จรตามระลอกเหมือนจอกแหน ๏ ถงึ ปากเตร็ด[๒๙]เตรด็ เตร่มาเร่รอ่ น ลกู อ่อนแอ้อุ้มจูงพะรงุ พะรงั มาถงึ เตรด็ [๓๐]เขตมอญสลอนแล ไมห่ ยดุ หยอ่ นอยู่ไฟจนไหม้หลัง ดูเรอื นไหนไม่เว้นเหน็ ลกู อ่อน ลว้ นเปล่งปลง่ั ปลม้ื ใจมาไกลตา ฯ ไม่ยงิ่ ยอดปลอดเปล่าเหมอื นชาววงั เห็นนกหกเหินร่อนว่อนเวหา ดาษดาดอกบัวเข้าคลัวเคลีย ๏ พอออกคลองลอ่ งลาแมน่ า้ วก เปน็ ฝูงฝงู เขา้ ใกล้มันไปเสีย กระทุงทองลอ่ งเลื่อนค่อยเคล่ือนคลา เป็น[๓๑]ตัวเมยี หมดสิ้นทัง้ ดนิ แดน นกกาน้าดาปลากระสาสงู ข้ึนไขช่ ายเขาโขดนับโกฏแิ สน นกยางขาวเหล่านกยางมหี างเปีย คนท้งั แผ่นดินมิได้ไขน่ กยาง ฯ[๓๒] ถึงเดือนไข่ไปลบั แลเมืองแมม่ ่าย มีแตป่ ดเป็นอันมากเขาถากถาง พอบินได้ไปประเทศทุกเขตแควน้ เหมือนหญงิ ช่างฉอเลาะปะเหลาะชาย พวกนารเี รอื อ้อยมา[๓๖]ลอยขาย ๏ ถึงบางพูดพูดมากคนปากหมด[๓๓] ล้วนแตง่ กายกันไรเหมือนไทยทา ทีพ่ ูดน้อยค่อยประคิ่น[๓๔]เล่น[๓๕]ลูกคาง กระพือลมแลว้ ไม่ป้องปิดของขา อ้อยสองลาน้นั จะเอาสกั เทา่ ไร ๏ ถงึ บางกระไนไดเ้ หน็ หนา้ บรรดาพ่ี มากนิ ออ้ ยแอบแฝงแถลงไข ดูจริตติดจะงอนเปน็ มอญกลาย น่าเจ็บใจจะต้องจาเป็นตารา ฯ แตไ่ ม่มีกริ ิยาด้วยผ้าหม่ ชือ่ วัดเทยี นถวายอยู่ฝา่ ยขวา ฉันเตือนวา่ ผา้ แพรลงแช่นา้ นางแมค่ ้าขายเต่าสาวทึมทึก เขาร้ตู วั หัวรอ่ [๓๗]ว่าพอ่ นอ้ ย ดมู อซอสสี ันเปน็ มนั หมึก รู้กระนม้ี ิอยากบอกมิออกไย วา่ [๓๘]ไมน่ ึกแลว้ ก็ใจมิใคร่ฟงั ฯ ๏ ถงึ ไผ่รอบขอบเข่ือนดเู หมือนเขียน ข้างซ้ายมือชือ่ บ้านใหม่ทาไร่นา ปิดกระหมับจบั กระเหม่าเขา้ มินหมอ้ ไม่เหมือนเหล่าชาวสวนหวนราลึก รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรื่องท่ี ๔ นิราศวัดเจา้ ฟา้

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๗๑ โรงเรียนสหราษฎร์รงั สฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม ๏ พอฟ้าคลา้ ค่าพลบเสียงกบเขยี ด ร้องตรอด[๓๙]เกรียดเกรียวแซด่ งั แตรสงั ข์ เหมอื นเสียงฆ้องกลองโหมประโคมวัง ไมเ่ ห็นฝงั่ ฟ่ันเฟือนด้วยเดือนแรม ลาพรู ายชายตลงิ่ ลว้ นหิง่ ห้อย สวา่ งพรอยพร่างพรายบน[๔๐]ปลายแขม อรา่ มเรืองเหลืองงามวามวามแวม กระจา่ งแจ่มจับน้าเหน็ ลาเรือ ฯ ดูเว้งิ วงุ้ หว่างแฉวก[๔๒]ล้วนแฝกเฝอื ๏ ถึงยา่ นกว้าง[๔๑]บางทะแยงเป็นแขวงทุ่ง เหมอื นรูปเสอื สิงโตรปู โคควาย เห็นไรไรไม้พุ่มครุมครมุ เครอื มนั ผนิ หน้าออกนั้นกันฉิบหาย ท่านบิดรสอนหนใู หด้ ูว่า จะล้มตายพรายพลัดเร่งตดั รอน แมน้ ปากมันหนั [๔๓]เข้าข้างเจา้ นาย ฉนั กับนอ้ งนไ้ี ดจ้ าเอาคาสอน จารึกไว้ให้เป็นทานทกุ บ้านชอ่ ง ที่วดั มอญเชงิ รากรมิ ปากคลอง ดึกกาดดั สตั วห์ ลับประทบั นอน พระพายพัดเฉ่ือยเฉยี วเสียวสยอง[๔๔] ต้นไทรครึ้มงมึ เงียบเซียบสงัด ฉนั พ่ีนอ้ งนีไ้ ม่คลาด[๔๕]บาทบิดา เป็นปา่ ช้าอาวาสปศี าจคะนอง ย่ิงเย็นเยยี บ[๔๖]เยอื กสยองพองเกศา ทา่ นนอนหลับตรบั เสยี งสาเนียงเงียบ ภาวนาหนาวนงิ่ ไมต่ ิงกาย เสยี งผผี ว่ิ หวิวโหวยโหยวิญญาณ์ ผีมันหลอกลากปลา้ พลกิ ควา่ หงาย บรรดาศษิ ยบ์ ิดรทน่ี อนนอก มนั สาดทรายกรวดโปรยเสยี งโกรยกราว ลกุ ขึ้นบอกกลอกกลัวทุกตวั นาย เปน็ เงาวาบหัวหกเหน็ อกขาว ขน้ึ สั่นไทรไหวยวบเสยี งสวบสาบ หมายวา่ สาวผมผีร้องนี่แน หนกู ล่ันกลา้ ควา้ ไดร้ ากไทรยาว บรรดาศิษยเ์ คยี ง[๔๗]ข้างไม่ห่างแห พอพระต่ืนฟื้นกายค่อยคลายจติ ขน้ึ บกแต่องค์เดยี วดูเปลี่ยวใจ ท่านห่มดองครองเคร่งไม่เลง็ แล ตั้งเมตตา[๔๘]ตามสงฆ์ไมห่ ลงใหล สารวมเรยี บเลียบรอบขอบป่าชา้ เห็นแสงไฟรางรางสว่างเวยี น พบศพฝงั บงั สกุ ลุ ส่งบญุ ไป ประดพิ ัทธ์[๔๙]พทุ ธคุณค่อยอนุ่ เศยี ร ระงบั เงียบเซียบเสยี งสาเนียงสงัด จาเรญิ เรียนรกุ ขมลู พนู ศรัทธา บรรดาศษิ ย์คิดกลา้ ต่างหาเทยี น รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๗๒ โรงเรียนสหราษฎร์รงั สฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม อสุภธรรมกรรมฐานประหารเหตุ หวนสังเวชว่าชวี งั จะสงั ขาร์ อันอินทรียว์ บิ ัติอนตั ตา ที่ปา่ ช้าน้กี ็[๕๐]เหมือนกบั เรือนตาย กลบั เกลยี ด[๕๑]กลวั มวั เมาไม่เข้าบา้ น พระนีฤพาน[๕๒]เพ่มิ พนู เพียงสูญหาย อับรา่ ง[๕๓]เหมอื นเรือนโรคใหโ้ ศกสบาย แล้วตา่ งตายตามกนั ไปมนั่ คง คอ่ ยคิดเหน็ เย็บเยียบไม่เกรียบกริบ ประสาบสบิ นว้ิ นั่งต้ังประสงค์ พยายามตามจรติ ทา่ นบิตรุ งค์ สารวมทรงศีลธรรมทีจ่ าเจน ประจงจดบทบาทค่อยยาตรย่าง ประพฤติอยา่ งโยคามหาเถร ประทบั ทุกรุกข์รอบริมขอบเมรุ จบพระเณรในอารามต่นื จามไอ ออกจงกรมสมณาสมาโทษ ร่มนิโครธคร้ึมเงอื่ มให้เลอ่ื มใส[๕๔] แผก่ ุศลจนจบทัง้ ภพไตร จากพระไทรแสงทองผอ่ งโพยม ฯ ถงึ บา้ นกระแชงหงุ จงั หันฉนั ผักโหม ๏ เลยบางหลวงลว่ งทางสวา่ งแจง้ [๕๕] อนั [๕๖]รปู โฉมชวน[๕๗]หลงไมง่ งงวย ยงั ถือมั่นขนั ตหี นีประโลม ผหู้ ญงิ มากมอญเก่าสาวสาวสวย พอเสียงฆ้องกลองแซ่เขาแห่นาค ชวน[๕๘]กันช่วยเขาแห่ได้แลดู ร้องลานาราฟ้อนออ่ นระทวย ทั้งศลี แทรกเสยี ด[๕๙]ออกกระบอกหู ถอื ขันตีทนี ้นั ก็ขนั แตก พาความรูแ้ พ้รกั ประจักษจ์ ริง ฉันนีเ้ คราะห์เพราะนางหม่ สีชมพู กระไรเลยแล่นไปอยกู่ ับผ้หู ญงิ แค้นดว้ ยใจนยั นานิจจาเอ๋ย ถูกจริงจรงิ เจยี วจงึ จดเป็นบทกลอน ฯ ท่านบิดาว่ามันติดกวา่ ปลดิ ปลงิ ให้[๖๐]ตดิ เต็มตวั ฉุดจะ[๖๑]หลุดถอน สุดจะถอนท้งิ ขวา้ งเสียกลางคัน ๏ ถงึ ตอ้ งงา้ วหลาวแหลนสกั แสนเล่ม บอกให้หญิงรารบั ขยบั หัน แต่ตอ้ งตาพาใจอาลัยวอน เขารบั ทันเรากใ็ หใ้ บละเฟื้อง ทัง้ หนูกลน่ั น้ันคะนองจะลองท้ิง รา[๖๒]ละมอ่ มมแี ต่สาวบา้ ง[๖๓]ขาวเหลอื ง ถา้ ท้งิ ถูกลูกละบาทประกาศกัน ขยับเยอื้ งยิ้มแยม้ แฉลม้ ลอย นางนอ้ ยน้อยพลอยสนกุ ลุกข้ึนพร้อม ออก[๖๔]จริตกรดี กรายชายชาเลอื ง รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เร่อื งท่ี ๔ นริ าศวัดเจ้าฟา้

กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๗๓ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม ต่างหมายมุง่ ตุ้งต้ิงท้ิงหมากดบิ เขาฉวยฉบิ เฉยหน้าไม่ราถอย ไมม่ ีถกู ลกู ด่ิงทั้งท้งิ ทอย พวกเพื่อนพลอยทิ้งทว่ั ทกุ ตัวนาย[๖๕] ฉันลอบลองสองลูกถกู จาหนับ ถกู ปะปบั ปมุ่ สญู ท่ีปูนหมาย[๖๖] ลงมว้ นตว้ นมว้ นหนา้ นา้ ตาพราย พลา่ มผูช้ ายสรวลเสเสยี งเฮฮา แตห่ นูกลน่ั นน้ั หล่อนเขวยี้ งดังเสยี งขวับ ถกู ปุม่ ปับปากกรีดหวดี ผวา รอ้ งอยู่แล้วแกว้ พมี่ านีม่ า พวกมอญมาโหแ่ หเ่ สียง[๖๗]แซไ่ ป ฯ ๏ แลว้ เลยนาคบากขา้ มถงึ สามโคก เปน็ ลิน้ [๖๘]โลกสมมตสิ ดุ สงสัย ถามบดิ าวา่ ผเู้ ฒา่ ท่านเล่า[๖๙]ไว้ วา่ ที่ไทยท้าวอู่ทองเธอกองทรัพย์[๗๐] หวังจะไวใ้ ห้ประชาเป็นคา่ จา้ ง ด้วยจะสรา้ งบา้ นเมืองเครื่องประดับ พอห่ากนิ ส้ินบญุ เป็นสญู ลับ ทองกก็ ลบั กลายส้ินเป็นดินแดง จึงท่นี ม่ี นี ามชื่อสามโคก เปน็ คาโลกสมมตสิ ดุ แสลง แผน่ ดินหลงั ครงั้ พระโกฏ[๗๑]ได้โปรดแปลง[๗๒] เป็น[๗๓]ตาแหนง่ มอญมาสามิภกั ดิ์ ชื่อประทุมธานี[๗๔]ที่เสด็จ เดอื นสิบเบ็ดบวั ออกทั้งดอกฝัก มารบั ส่งตรงนท้ี ส่ี านัก พระยาพทิ ักษ์ทวยหาญผ่านพารา ไดร้ เู้ รือ่ งเมืองประทุมค่อยชมุ่ ช่ืน ดูภมู พิ ืน้ วดั บ้านขนานหนา้ เห็นพวกชายฝา่ ยมอญแต่ก่อนมา ล้วนสักขาเขียนหมึกจารึกพุง พวกสาวสาวเกล้ามวยสวยสะอาด แตข่ ยาดอยู่ดว้ ยวา่ นงุ่ ผ้าถุง ทั้งหม่ ผา้ ตารีเหมือนสีรุง้ ท้ังผ้านุ่งน้ันก็ออ้ มลงกรอมตีน เมื่อยกเท้าก้าวย่างสวา่ งแวบ เหมอื นฟา้ แลบแลผาดแทบขาดศีล น่ีหากเหน็ เป็นเด็กถา้ [๗๕]เจ๊กจนี เจยี นจะปนี ซุม่ ซ่ามไปตามนาง ชาวบา้ นน้ันปนั้ อเ่ี ลงิ้ ไว้[๗๖]เพิงพะ กระโถนกระทะอ่างโอง่ กระโถงกระถาง ท่าน[๗๗]วานน้องรอ้ งถามไปตามทาง วา่ บางขวางหรอื ไม่ขวางพนี่ างมอญ เขาเบือนหน้าวา่ ไม่รู้ดูเถิดเจ้า จงถามเขาขา้ งหลงั ทน่ี ัง่ สอน สิน้ ศรปี าก[๗๘]บากหนา้ นาวาจร ฝีปาก[๗๙]มอญมิใชเ่ บาเหมือนชาวเมือง ฯ รวมนิราศของสุนทรภู่ เร่อื งท่ี ๔ นิราศวัดเจา้ ฟา้

กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๗๔ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ๏ ถงึ บา้ นงิ้วงวิ้ ตน้ แต่พน้ หนาม ไมง่ อนงามเหมือนแมง่ ิ้วทีผ่ วิ เหลอื ง เมอื่ แลพบหลบพักตร์ลกั ชาเลือง ดปู ลอด[๘๐]เปล้อื งเปล่งปลง่ั กาลงั โลม มาลบั นวลหวนไหเ้ ห็นไม้งว้ิ ไมล่ ืมผิวพักตร์ผอ่ งจะหมองโฉม[๘๑] เพราะเสียรักหนกั หนว่ งเพยี ง[๘๒]ทรวงโทรม ใครจะโลมเลียมรสช่วยชดเจอื ฯ ไมล่ มื รกั รสชาติฉลาดเหลือ[๘๓] ๏ ถงึ โพแตงคิดถงึ แตงที่แจงจัก จะฉกี เนื้อน่ัง[๘๕]กลืนให้ชื่นใจ ฯ แม้นลอยฟ้ามาเด๋ยี วนใ้ี นท่ีเรอื [๘๔] เห็นนกหกหากนิ บนิ ไสว ทานาไรร่ า้ นผกั ปลูกฟักแฟง ๏ ถึงเกาะหาดราชครามรารามรก แลตะโลง่ ลิบเนตรทกุ เขตแขวง เขาถากถางกว้างยาวท้ังลาวไทย ฝงู นกแร้งรอ่ นตัวเท่าถวั่ ดา สุดละเมาะเกาะกว้างสว่างโว่ง จะชื่นชวยชมชิมให้อิ่มหนา เหน็ ควนั ไฟไหมป้ า่ จบั ฟา้ แดง เหลือที[๘๗]ราลกึ โฉมประโลมลาน ฯ โอ้เชน่ นม้ี คี ูม่ าดดู ้วย เหน็ ไพรเ่ ลวหลายคนอย่บู นศาล นี่[๘๖]ยามเยน็ เหน็ แต่ของทีน่ ้องทา คอยว่าขานขคู่ นลงค้นเรอื มะละกอกุ้งแหง้ แตงมะเขือ ๏ ถึงดา่ นทางบางไทรไขวเ่ ฉลว จนชาวเรือเหลอื ระอาด่าในใจ ตงุ้ กา่ ตง้ั นง่ั ชักควกั น้าตาล ดูถ่ินฐานทวิ ชลาพฤกษาไสว[๘๘] ไม่เห็นของต้องหา้ มกล็ ามขอ ตน้ ไทรใหญ่อยู่ทนี่ ัน่ น้องวันทา ขอส้มสกู จุกจกิ ทั้งพริกเกลือ พระเคยอุ้มอุณรทุ สมอุษา แตล่ าเราเขาไม่ค้นมาพ้นด่าน ช่วยอ้มุ มาใหม้ ่ังเถิดจะเชิดชม[๙๐] มอี ารามนามสร้างชอื่ บางไทร[๘๙] ไดแ้ ย้มย้ิมยวนจติ สนทิ สนม เทพารักษ์ศักด์ิสทิ ธิส์ ถติ พุ่ม ชมพนมแนวไม้ราไรราย ใคร่น่าจบู รปู ร่างเหมือนนางฟ้า เหน็ ลิบลิบแลไปจติ ใจหาย สนอม[๙๑]แนบแอบอุ้มหน่มุ หนมุ่ [๙๒]นิม่ [๙๓] ชมสบายบอกแจ้งตาแหน่งนาม ฯ นอนเอนหลังน่งั เล่นเย็นเย็นลม ดูเหยา้ เรือนเหมือนหนึ่งเขียนเตยี นตลิบ เขาปลกู ผกั ฟกั ถัว่ จูงงัว[๙๔]ควาย รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรือ่ งที่ ๔ นริ าศวัดเจา้ ฟา้

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๗๕ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม ๏ ถงึ เกาะเกิดเกดิ สวสั ดพิ์ ิพัฒนผ์ ล อยา่ เกดิ คนตเิ ตียนเปน็ เสี้ยนหนาม ให้เกิดลาภราบเรียบเงียบเงียบงาม เหมอื นหน่ึงนามเกาะเกิดประเสริฐทรง ถึงเกาะพระไมเ่ หน็ พระปะแต่เกาะ ช่าง[๙๕]ช่อื เพราะช่อื พระสละหลง พระของน้องน้ีกน็ ง่ั มาท้ังองค์ ท้ังพระสงฆ์เกาะพระมาประชมุ ขอคุณพระอนเุ คราะห์ทัง้ เกาะพระ ใหเ้ ปิดปะขมุ ทองสักสองขุม คงจะมีพีป่ ้ามาชมุ นุม ฉะอ้อนอุ้มแอบอุราเปน็ อาจิณ ฯ ปา่ ละแวกวงั ราชประพาสสนิ ธุ์ ๏ ถึงเกาะเรียงเคียงคลองเป็นสองแสก จงึ ตงั้ ถ่นิ ทีเ่ กาะเสนาะนาม ไดห้ ม่อม[๙๖]หา้ มงามพรอ้ มช่ือหม่อมอิน แสนเสง่ียมงามพรอ้ มเหมือนหม่อมห้าม นกึ [๙๗]ถวลิ อนิ นอ้ งละอองเอี่ยม คงจะงามพักตร์พร้อมเหมอื นหม่อมอนิ จะหายศอตส่าหพ์ ยายาม หวังจะพึ่งผูกจติ คดิ ถวลิ อาลยั น้องตรองตรึกราลึกถงึ ไปที่ถิน่ ทารังประนงั นอน เวลา[๙๘]เย็นเห็นนกวิหคบนิ เสยี งจอแจโจนจบั สลับสลอน บ้างแนบคชู่ ูคอเขา้ ซ้อแซ้ เอาปากป้อนปีกปกกกกระกอง[๑๐๐] บา้ งฟุบเฝา้ [๙๙]เคล้าเคียงประเอียงอร ไม่เต้นโลดแลเหงาเหมือนเศร้าหมอง ท่ไี ร้คู่อยู่เปลี่ยวตัวเดียวโดด เหมอื นอกน้องหนู[๑๐๑]น้อยกลอยฤทัย ลกู น้อยน้อยคอยแมช่ ะแงม้ อง สดุ จะแลเหลียวหาน้าตาไหล[๑๐๒] มาตามติดบิดากาพร้าแม่ ที่ฝากไขฝ้ ากผไี มม่ เี ลย ฯ เหน็ ลกู นกอกนอ้ งน้ีหมองใจ แสนวิตกเตม็ ตรองเจยี วนอ้ งเอ๋ย ไมย่ ากเลยเล่า[๑๐๕]ไดด้ งั ใจจง ๏ ถงึ เกาะเรียนเรียนรักน้ี[๑๐๓]หนักอก รักละม้ายมิไดช้ มสมประสงค์ เม่ือเรยี นกล[๑๐๔]จนจบถึงกบเกย มแี ตห่ ลงลมลวงแทบทรวงโทรม ฯ แตเ่ รยี นรกั รักนักก็มักหน่าย ว่าเป็นวัดเจา้ ฟา้ พระกลาโหม ยิ่งรักมากพากเพียรย่ิงเวยี นวง ลอยโพยมเยี่ยมฟ้าสุราลยั [๑๐๖] ๏ มาถึงวดั พนงั เชิงเท่งิ ถนัด ผนงั กอ่ ย่อมมุ เหมอื นซุ้มโคม รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอื่ งท่ี ๔ นิราศวัดเจ้าฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๗๖ โรงเรียนสหราษฎร์รงั สฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวดั นครพนม มีศาลาทา่ นา้ ดูฉ่าชืน่ รม่ ระรื่นรกุ ขาน่าอาศยั บดิ าพรา่ รา่ เลา่ ให้เข้าใจ ว่าพระใหญ่อย่างเยย่ี งที่เส่ียงทาย ถา้ บ้านเมืองเคืองเร่ืองเขญ็ จะเป็นเหตุ[๑๐๗] กอ็ าเพศพงั หลุดทรดุ สลาย แม้พาราผาสุกสนุกสบาย พระพกั ตร์พรายเพราพริ้มดอู ิ่มองค์ ทงั้ [๑๐๘]เจ๊กย่านบา้ นนั้นกน็ ับถือ ร้องเรยี กชอ่ื ว่าพระเจา้ ปุนเถาก๋ง ดว้ ยบนบานการได้ดังใจจง ฉลององค์พุทธคุณการณุ ัง อน่งึ [๑๐๙]ว่าถา้ แมน้ ใครน้าใจบาป จะเข้ากราบเกรงจะทบั ตอ้ งกลับหลัง ตรงหนา้ ทา่ สาชลเปน็ วนวงั ดพู ลง่ั พลง่ั พลุ่งเชีย่ วนา่ เสยี วใจ เขา้ จอดเรือเหนอื หน้าศาลาวัด โสมนสั นอ้ งไมเ่ ส่ือมท่เี ลื่อมใส ขึ้นเดินเดียวเทยี่ วหาสุมาลัย จาเพาะได้ดอกโศกท่ีโคกนา กบั ดอกรกั หักเด็ดได้เจด็ ดอก พอใสจ่ อกจดั แจงแบ่งบุปผา ให้กลัน่ มั่งท้ังบนุ นาคเพ่อื นยากมา ท่านบดิ าดใี จกระไรเลย ว่าโศกรักมักร้ายต้องพรายพลัด ถวายวดั เสียก็ถูกแล้วลกู เอย๋ แลว้ หม่ ดองครองงามเหมือนตามเคย ลีลา[๑๑๐]เลยเลยี บตะพานขึ้นลานทราย โอร้ นิ รนิ กลิ่นพิกลุ มาฉนุ ช่นื ดอก[๑๑๑]แก้วรน่ื เรณูไม่รู้หาย หอมจาปาหนา้ โบสถ์สาโรชราย ดอกกระจายแจม่ กลบี ดังจบี เจียน ดกู ฏุ วิ ิหารสะอ้านสะอาด รกุ ขชาติพุ่ม[๑๑๒]ไสวเหมอื นไมเ้ ขียน ท่ภี ูมพิ ืน้ รนื่ ราบด้วยปราบเตยี น ตา่ ง[๑๑๓]เดินเวียนทกั ษณิ พระชินวร ไดส้ ามรอบชอบธรรมทา่ นนานอ้ ง เขา้ ในหอ้ งเหน็ พระเจา้ เทา่ สิงขร ต่างจุดธปู เทยี นถวายกระจายจร ท่านบดิ รได้ประกาศวา่ ชาตนิ ี้ ทั้งรูปชวั่ ตัวดาแล้ว[๑๑๔]ต่าศักดิ์ ถวายรกั เสีย[๑๑๕]กบั พระชินสหี ์ แม้นเม่ือไรใครเขารักมาภกั ดี[๑๑๖] จะอารีรักตอบเพราะ[๑๑๗]ขอบคณุ ทั้ง[๑๑๘]หนกู ลั่นนนั้ วา่ จะหาสาว ทีเ่ ล็บยาวโง้งโง้งเหมือนกง่ [๑๑๙]กระสนุ ท้งั เนอ้ื หอมกล่อมเกล้ียงเพียงพิกุล กอดให้อ่นุ ออ่ นก็วา่ ไม่น่าฟัง รวมนริ าศของสุนทรภู่ เรอื่ งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๗๗ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม ฉนั กบั น้องมองแลดูแต่พระ สาธุสะสูงกวา่ ฝาผนงั แต่พระเพลาเทา่ ปอ้ มทีล่ อ้ มวงั สารวมน่ังปลัง่ เปล่งเพ่งพินิจ ตวั ของหนูดจู ว๋ิ เท่านว้ิ หัตถ์[๑๒๐] โตสนดั หนกั นกั จึงศักดส์ิ ทิ ธิ์ กบั หนตู าบกราบก้มบังคมคิด[๑๒๑] ราพนั พิษฐานในใจจนิ ดา ขอเดชะพระกุศลท่ปี รนนบิ ตั ิ ทีห่ นูพัดพศิ วาสพระศาสนา มาคารบ[๑๒๒]พบพุทธปฏมิ า เปน็ มหามหศั จรรยใ่ นสันดาน ขอผลาอานิสงสจ์ งสาเรจ็ สรรเพชญพ์ ้นหลงในสงสาร แม้นยังไปไม่ถึงที่พระนีฤพาน ขอสาราญราคอี ย่าบฑี า จะพากเพยี รเรียนวิสยั แลไตรเพท ใหว้ เิ ศษแสนเอกทั้งเลขผา แมน้ รักใครใหค้ นนน้ั กรรณุ า[๑๒๓] ชนมายืนเท่าเขาพระเมรุ ขอรธู้ รรม[๑๒๔]คาแปลแก้วมิ ุติ เหมอื นพระพทุ ธโฆษามหาเถร มกี าลังดังมาฆะสามเณร รู้จดั เจนแจง้ จบทงั้ ภพไตร อนง่ึ เลา่ เจา้ นายทห่ี มายพึ่ง ใหท้ ราบซง่ึ สจุ ริตพสิ มัย อย่าหลงลิ้นหนิ ชาติขาดอาลัย น้าพระทัยทูลเกล้าใหย้ าวยืน เข้าลา[๑๒๖]คลองสวนพลคู อ่ ยชูช่ืน ๏ แลว้ ลาพระปฏิมาลีลา[๑๒๕]ล่อง ระรืน่ รืน่ ลาดวนราจวนใจ[๑๒๘] ชมแต่ไผ่ไม้[๑๒๗]พุ่มดชู ุม่ ชนื้ มาเชยรสบปุ ผานา้ ตาไหล โอย้ ามนีม้ ิไดพ้ บน้าอบสด มาเหอื่ [๑๓๐]ไคลคล่าตวั ต้องมัวมอม เคยหอมแปง้ แรงร่ืนฤทัย[๑๒๙] เคยอบรมรา่ กลน่ิ ไม่สิน้ หอม เมอื่ ยามมพี ีบ่ ารงุ ผ้าน่งุ ห่ม[๑๓๑] จนซบู ผอมผวิ คล้าระกาใจ โอ้หายรสหมดรกั มาปลักปลอม[๑๓๒] ตามไดป้ ะลายแทงแถลงไข จึงมาหายาอายุวฒั นะ ถึงวดั ใหญ่ชายทุ่งดูว้งุ เวง้ิ ฯ เขา้ ลาคลองล่องเรือมาเหลือไกล เปน็ ประธานทวิ ทงุ่ ดูสงู เทิง่ ข้นึ รอบเชงิ ชัน้ ล่างข้างเจดยี ์ ๏ พระเจดีย์ทย่ี ังอยดู่ ูตระหงา่ น ตน้ โพไทรไผพ่ ุม่ เปน็ ซุ้มเซิง รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นริ าศวัดเจา้ ฟ้า

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๗๘ โรงเรียนสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม เสียดายนักหกั ทรดุ ชารดุ รา้ ง ใครจะสร้างสูงเกนิ จาเริญศรี ท่านบิดาวา่ ถึงให้ใหญก่ วา่ นี้ ก็ไม่มผี ูใ้ ดวา่ ใหญโ่ ต ผู้หญงิ ยา่ นบา้ นเราชาวบางกอก เขาอมกลอกกลืนพระเสียอะโข แตพ่ ระเจ้าเสาชงิ ช้าริม[๑๓๓]ท่าโพ ก็เตม็ โตแตช่ าววงั เขายงั กลนื ฉันกลัวบาปกราบพระอย่าปะพบ ไม่ขอคบคนโขมดทโี่ หดหนื พอค่าคลุ้มพมุ่ พฤกษ์ดูครกึ ครื้น เงาทะมนื มดื พยบั อับโพยม พยุ[๑๓๔]ฝนอนธการสะท้านพงุ่ เปน็ ฝ่นุ ฟ้งุ ฟา้ ฮือกระพือโหม นา้ คา้ งชะประเปรยเชยชโลม ทา่ นจดุ โคมขน้ึ อารามต้องตามไป เทีย่ วหลีกรกวกวนอย่จู นดึก เหน็ พมุ่ พฤกษโ์ พทองทผ่ี อ่ งใส ตักนา้ ผง้ึ คร่ึงจอกกบั ดอกไม้ จดุ เทยี นใหญอ่ ย่างตาราบูชาเชญิ หวงั จะปะพระปรอททีย่ อดยงิ่ ประนม[๑๓๕]นิ่งนกึ ราพันสรรเสริญ สารวมเรยี นเทยี นอร่ามงามจาเริญ จนดึกเกนิ ไก่ขันหวน่ั วญิ ญาณ์ ทง้ั เทียนดบั สรรพเสียงสาเนยี งเงยี บ เยน็ ยะเยียบน้าค้างพร่างพฤกษา เหน็ แวววบั ลบั ลงตรงบชู า[๑๓๖] ปรอทมาสบู ซึ่งนา้ ผ้งึ รวง ครนั้ คลาได้ในกลางคนื ก็ล่นื หลุด ต้องจดั จุดธูปเทียนเพยี ร[๑๓๗]บวงสรวง ประกายพรกึ ดึกเดน่ ขนึ้ เหน็ ดวง ดังโคมชว่ งโชติกว่าบรรดาดาว จกั จัน่ แจว้ แวว่ หวีดจังหรดี หริ่ง ปแ่ี ก้วกรง่ิ กรบั [๑๓๘]เสยี งสาเนยี งหนาว ย่ิงเยน็ ฉา่ นา้ คา้ งลงพร่างพราว พระพายผ่าวพัดไหวทุกใบโพ ฯ โอ้หอมชนื่ ชอ่ มะกอกดอกโสน ๏ พอรุ่งแรกแปลกกลน่ิ ระรนิ ร่นื สะอื้นโอ้อารมณ์ระทมทวี เหมือนอบนา้ รา่ ผ้าประสาโซ ท้งั สามองค์เอามาไวก้ ็ไพลห่ นี ครัน้ เชา้ ปะพระปรอทที่ปลอดปลง่ [๑๓๙] อาบวารที พิ รสหมดมลทนิ เชิญพระธาตุราธนาทุกราตรี ยงั ดเู ลาลายแทงแสวงถวลิ ท่ธี รุ ะพระปรอทเป็นปลอดเปลา่ วา่ ยากนิ รูปงามอร่ามเรือง ท่านนอนอ่านลานใหญ่ฉนั ได้ยิน รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เร่ืองที่ ๔ นิราศวัดเจา้ ฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๗๙ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม ถึง[๑๔๐]ฟันหักจักงอกผมหงอกหาย แกก่ ็กลายหนมุ่ เนื้อน้ันเหลือเหลือง[๑๔๑] ตะวนั ออกบอกแจง้ ใน[๑๔๒]แขวงเมือง ทา่ นจดั เครื่องครบครันท้ังจนั ทน์จวง กบั หนกู ลัน่ จันหมากบุนนาคหนมุ่ สกั สิบทมุ่ เดินมุ่งออกทุ่งหลวง ไป[๑๔๓]ตามลายปลายคลองถงึ หนองพลวง แต่ลว้ นสวงสาหร่ายเห็นควายนอน นกึ ว่าผีตฆี อ้ งป่องป่องโห่ มนั ผุดโผล่พลุง่ โครมถีบโถมถอน เถาสาหร่ายคลายคลมุ [๑๔๔]ตะลุมบอน วา่ ผีหลอนหลบพัลวนั เวยี น ตอ่ [๑๔๕]เสยี งร้องมองดจู ่ึงรู้แจง้ เดนิ แสวงหาวดั ฉวดั เฉวยี น จน[๑๔๖]เชา้ ตรดู่ ทู างไป[๑๔๗]กลางเตยี น ถงึ ป่าเกรียนเกรยี วแซ่จอแจจริง เหมอื นตลาดเหลือหเู พราะผูห้ ญงิ ๏ กระจาบจับนับหม่นื ดูดื่นดาษ ชุมจรงิ จรงิ จิกโจดกระโดดโจน ยามอ้ือองึ หึงหวงดว้ ยชว่ งชงิ [๑๔๘] ดตู ร่องตรอดเกรยี นกร๋อยตรองกรอยโกร๋น[๑๔๙] จนตน้ ไม้ใบงอกออกไม่รอด ตัวมันโหนหวงค่คู อยดู[๑๕๐]คน ลมกระทั่งรังกระจาบระยาบโยน สอดชานาญเหน็บฝอยเหมือนสรอ้ ยสน บ้างคาบแขมแซมรงั เหมือนดงั สาน เสมือนคนเคยสะดงึ รู้ตรึงตรอง[๑๕๒] จกิ สะบัดจัดแจงเสยี ด[๑๕๑]แซงซน ได้เคยี งคู่ค่าเช้าไมเ่ ศรา้ หมอง โอ้โอ๋[๑๕๓]อกนกยงั มีรังอยู่ แตส่ ักห้องหนึ่งก็เหน็ จะเย็นใจ ฯ แมน้ รว่ มเรอื นเหมอื นหน่ึงนกกกกระกอง[๑๕๔] มนั หมกมุดเหมอื นเขาแจ้งแถลงไข มีทิวไผ่พงรายเหมือนลายแทง ๏ จนพน้ ปา่ มาถึงโปง่ หอยโขง่ คุด ตัง้ แต่รงุ่ มาจนแดดก็แผดแขง็ [๑๕๖] เห็นตาลโดดโขดคมุ่ กระ[๑๕๕]พุ่มไม้ ตอ่ อ่อนแสงสรุ ิยาจงึ คลาไคล ท่านหลกี ลดั ตดั ทางไปกลางทุ่ง เหมอื นถอยหนีหา่ งเหนิ เดนิ ไมไหว ไดพ้ ักเพลเอนนอนพอผ่อนแรง มากลบั ไกลแกลง้ กระดากต้องลากจงู ฯ แตแ่ รกดูครหู่ นง่ึ จะถึงที่ ถึงตาลโดดดินพูนเปน็ มนู สูง เหมือนเรื่องรักชกั ชดิ สนิทใน เป็นฝงู ฝงู ฟ้อนหางท่กี ลางทราย ๏ พอเยน็ จวนดว่ นเดินข้ึนเนินโขด เท่ียวเลียบชมลมเยน็ เห็นนกยูง รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอื่ งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๘๐ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ทากรดี ปีกหลีกเล่ียงเขา้ เคยี งคู่ คอยแฝงดูดังระบาราถวาย กระหวดั วาดยาตรเย้ืองชาเลอื งกราย เหมือนละม้ายหม่อมละครเม่ือฟ้อนรา โอ้เคยเหน็ เลน่ งานสาราญร่นื ได้แชม่ ชน่ื เชยชมท่ีคมขา มาหา่ งแหแลลบั จบั ระบา มาดู[๑๕๗]ราแพนนกน่าอกตรม ออกตรไู ล่ไปส้นิ ขึ้นบนิ วอ่ น แฉลบรอ่ นเรียงตามดูงามสม เหน็ เชิงไทรไผโ่ พตะโกพนม ระรน่ื รม่ รุกขชาตดิ าษเดยี ร พิกลุ ออกดอกหอมพะยอมย้อย นกน้อยน้อยจิกจับเหมือนกับเขยี น ในเขตแคว้นแสนสะอาดดงั กวาดเตียน ตลบิ เลีย่ นลมพัดอยู่อัตรา สารภที รี่ ิมโบสถ์สาโรชรว่ ง มีผึง้ รวงรังสิงกงิ่ พฤกษา รสเร้าเสาวคนธส์ มุ ณฑา ภุมราร่อนร้องละอองนวล โอ้บุปผาสารภสี ่าหรีร่ืน เปน็ ทชี่ ื่นเชยสนอม[๑๕๘]ด้วยหอมหวน เหน็ มาลาอาลัยใจราจวน[๑๕๙] เหมือนจะชวนเชษฐาน้าตากระเด็น ฯ มาเหมือนหน่ึงในจติ ท่ีคิดเห็น ๏ โอ้อยา่ ง[๑๖๐]นท้ี ี่ตรงนึกราลึกถึง เทย่ี วเลียบเล่นแลเพลินจาเริญตา จะคลอเคยี งเรียงตามเมื่อยามเย็น เชิงผนงั แน่นแฟ้นดงั แผน่ ผา[๑๖๒] โบสถว์ หิ ารฐานท่ี[๑๖๑]ยังมมี ่ัง พระศลิ าแลดูเป็นบูราณ สงสารสุดพุทธรัตนป์ ฏิมา พระเจา้ นง่ั อย่แู ตอ่ งคน์ า่ สงสาร อโุ บสถหมดหลงั คาฝาผนัง แตบ่ ูราณเรื่องพระเจา้ ตะเภาทอง ด้วยเรื้อร้างสร้างสมมานมนาน เดย่ี วสนั โดษดังสาลไี ม่มีสอง[๑๖๓] มาเทย่ี วเลน่ เหน็ หนิ บนดินโขด ทรงจาลองลายพระหัตถ์เปน็ ปฏมิ า[๑๖๔] จงึ จัดชา่ งสร้างอารามตามทานอง ใหอ้ ยู่กราบ[๑๖๕]ศักราชพระศาสนา รปู พระเจา้ เท่าพระองค์แล้วทรงสาป ถวายยาอายุวฒั นะ พอฤๅษีส่ีองค์เหาะตรงมา ซา้ ใหท้ านแทง่ ยาอตุ สาหะ เธอไม่อยรู่ ้วู า่ หลงในสงสาร ใครพบปะเปิดไดเ้ อาไปกิน ใสต่ ่มุ ทองรองไวท้ ีใ่ ต้พระ รวมนิราศของสุนทรภู่ เร่ืองที่ ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟา้

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๘๑ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จังหวดั นครพนม ช่วยสรา้ งโบสถ์โขดเขือ่ นไว้[๑๖๖]เหมือนเก่า นามนน้ั เขาเขียนแจง้ ที่แทง่ หิน วดั เจา้ ฟ้าอากาศนาถนรนิ ทร์ ใหท้ ราบสนิ้ สบื สายเพราะลายแทง เปน็ ตารามาแตเ่ หนือท่านเช่อื ถือ ดหู นงั สือเสาะหาอตส่าหแ์ สวง มาพบปะจะใคร่[๑๖๗]ขุดก็สุดแรง ด้วยดินแข็งเขาประมลู ดว้ ยปูนเพชร ถึงสิว่ ขวานผลาญเนินก็เยนิ ยู่[๑๖๘] เหน็ เหลอื รู้ท่ีจะทาใหส้ าเร็จ แต่จะต้องลองตารากาลเมด็ เผือ่ จะเสรจ็ สมถวิลได้กินยา ฯ วเิ วกวางเวงจติ ทกุ ทศิ า ๏ พอเยน็ รอนดอนสงู ดทู งุ่ กว้าง เหน็ แตฟ่ า้ แฝกแขมขนึ้ แซมแซง ลงิ โลดเหลียวเปลย่ี วใจนยั นา ไม่เห็นทวิ ทสี่ งั เกตทุก[๑๖๙]เขตแขวง ดกู วา้ งขวางวา่ งโว่งตะโล่งล่ิว ยิ่งโรยแรงรอนรอนออ่ นกาลงั สุรยิ นสนธยาท้องฟา้ แดง มใิ คร่ดบั [๑๗๐]ดวงได้อาลัยหลงั โอแ้ ลลูสุริยงจะลงลบั เหมอื นจะสั่งโลกาด้วย[๑๗๑]อาลยั สลดแสงแฝงรถเขา้ บดบัง มาเรว็ รีบรา้ งมิตรพิสมัย แต่คนเราชาววงั ทงั้ ทวีป โอ้อาลัยแลลบั วบั วิญญาณ์ ไมร่ อร้ังส่งั สวาทประหลาดใจ เป็นหมอกเมฆมืดมดิ ทุกทิศา ย่ิงเย็นฉา่ น้าค้างให้วางเวก นึกระอาออกนามเม่ือยามโซ แสนแสบทอ้ งต้องเก็บตะโกนา ช่วยกนั สอยเกบ็ หกั ไวอ้ ักโข ทั้งหนกู ลัน่ จันมากบนุ นาคน้อย แตย่ ามโซแสบท้องก็ต้องกลนื พอเค้ยี วฝาดชาตชิ ว่ั ตวั ตะโก ครั้นกินผลพาเล่ยี นให้เหยี นหืน พกิ ลุ ต้นผลห่ามอรา่ มตน้ ทัง้ ขมขนื่ แค้นคอไม่ขอกนิ ชั่งฝาดเฝอื่ นเหมอื นจะตายต้องคายคืน โปรดประสทิ ธส์ิ กิ ขารักษาศลี ทา่ นบดิ รสอนสงั่ ให้ต้ังจิต ระร่นื กลน่ิ กลางคนื ค่อยช่นื ใจ เขา้ ร่มพระมหาโพธิบนโบสถ์[๑๗๒]ดนิ แนบสนอมสนทิ จติ พสิ มัย[๑๗๓] เหมือนกลนิ่ กลัน่ จันทนเ์ จือในเน้ือหอม มาจาไกลกลอยสวาทอนาถนอน ฯ เสมอหมอนอ่อนอุ่นละมนุ ละไม รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอ่ื งที่ ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟา้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๘๒ โรงเรียนสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม ๏ โอ้ยามนี้มไิ ด้เชยเหมือนเคยชน่ื ทุกค่าคืนขาดประท่นิ กลิน่ เกสร หอมพิกลุ ฉนุ ใจอาลยั วอน พิกลุ รอ่ นร่วงหล่นลงบนทรวง ยง่ิ เสยี วเสียวเฉยี วฉุนพกิ ลุ หอม เกบ็ [๑๗๔]สนอมเสน่ห์หมายไม่หายหวง โอด้ อกแกว้ แววฟา้ สุดาดวง มิหล่นร่วงลงมาเลยใครเ่ ชยชิม โอเ้ รื่อยเรอ่ื ยเฉ่อื ยฉ่าด้วยนา้ ค้าง[๑๗๕] ลงพรา่ งพร่างพรม[๑๗๖]พร้อยย้อยหยมิ หยมิ ยิง่ ฟ่นั เฟือนเหมือนสมรมานอนริม ใหเ้ หงาหงิมงว่ งเงียบเซียบสาเนียง เสนาะดังจงั หรดี วะหวดี แว่ว เสียงแจ้วแจ้วจกั ระจัน่ สน่ันเสียง เสียงหรงิ่ หร่ิงกง่ิ ไทรเรไรเรียง เสยี วสาเนยี งนอนแลเหน็ แตด่ าว จนดกึ ดื่นร่นื เรอื่ ยเฉอื่ ยเฉื่อยฉิว หนาวดอกง้วิ ง้ิวตน้ ใหค้ นหนาว แมน้ ง้วิ งามนามง้วิ เล็บน้วิ ยาว จะอนุ่ ราวนวมแนบนั่งแอบองิ อันสน่ี ายหมายว่ากินยาแล้ว จะผ่องแผว้ พากันเทีย่ วเกีย้ วผู้หญงิ เดชะยาน่ารกั ประจกั ษ์จริง จะ[๑๗๗]ให้ว่งิ ตามฉาวทุกด้าวแดน นากน้นั วา่ อายุอยู่รอ้ ยหม่นื จะไดช้ ่ืนเชยสาวนน้ั ราวแสน ไม่รูห้ มดรสชาติไม่ขาดแคลน ฉนั อายแทนทเี่ ธอครวญถึงนวลนาง ท้งั หนกู ลัน่ นนั้ ว่าเมื่อลอ่ งเรือกลับ จะแวะรับนางสิบสองไม่หมองหมาง แมเ่ อวอ่อนมอญราล้วนสาอาง จะขวางขวางไปอย่างไรคงได้ดู สมเพชเพื่อนเหมือนหนึง่ บ้าประสาหนมุ่ แตล่ ว้ นลมุ่ หลงเหลือลูก[๑๗๘]เบือ่ หู จนพระเมินเดนิ เวยี นถือเทียนชู เทย่ี วสอ่ งดเู สมาบรรดามี ทผี่ พุ ังยังแต่ตรุบรรจธุ าตุ ขาวสะอาดอรหัตจารสั ศรี ราธนามาไวส้ ิน้ ดว้ ยยินดี อญั ชุลแี ลว้ ก็น่ังระวังภยั น้าคา้ งพรมลมเร่ือยเฉ่ือยเฉื่อยฉวิ ใบโพพล้วิ [๑๗๙]แพลงพลกิ ริกรกิ ไหว บ้างหลุด[๑๘๐]หล่นวนวอ่ นร่อนไรไร ด้วยแสงไฟรางรางกระจ่างตา ฯ ดึกกาดัดดาวสวา่ งพร่างพฤกษา ๏ จนเทย่ี งคืนรืน่ รมย์ลมสงดั [๑๘๑] กฤษฎาได้ฤกษ์เบิกพระไทร เหมือนเสยี งโหโ่ ร่หขู ้างบูรพา รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เร่ืองที่ ๔ นิราศวัดเจ้าฟ้า

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๘๓ โรงเรียนสหราษฎรร์ ังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวดั นครพนม สายสิญจนว์ งลงยันต์กันปีศาจ ธงกระดาษปกั ปลวิ หววิ หวิวไหว ข้าวสารทรายปรายปราบการาบไป ปักเทยี นชยั ฉตั รเฉลมิ แล้วเจิมจนั ทน์ จดุ เทียนน้อยร้อยแปดน้นั ปักรอบ ลอ้ มเปน็ ขอบเขต[๑๘๒]เหมือนหนึ่งเขือ่ นขัณฑ์ มนต์มหาวาหดุ พี ิธีกรรม์ แกอ้ าถรรพณถ์ อนฤทธทิ์ ีป่ ดิ บัง แล้วโรยรินดินดาควา่ หอยโข่ง จะเปิดโปง่ ปนู เพชรเปน็ เคลด็ ขลงั พอปักธงลงท่ดี นิ ได้ยนิ ดงั เสียงตงึ ตงั ตมู เปร้ยี งแซเ่ สยี งคน[๑๘๓] ดงั [๑๘๔]เทียนดับกลับกลวั ใหม้ ัวมืด พยุฮดึ ฮือมาเหมือนห่าฝน ถูกลกู เห็บเจ็บแปลบแสบสกนธ์ เหลือจะทนทานลมลงก้มกราน เสยี งเกรยี วกราววาววามโพลงพลามพลงุ่ สะเทอื นทุง่ ท่โี ขด[๑๘๕]โบสถว์ ิหาร กง่ิ โพโผงโกรงกรางลงกลางลาน สาดขา้ วสารกรากกรากไม่อยากฟงั ทงั้ ฟ้าร้องก้องกกึ พิลึกล่นั อนิ ทรยี ์สั่นซบฟบุ เหมือนทบุ หลงั สติส้นิ วิญญาณ์ละลา้ ละลงั สู่ภวงั คว์ ูบวับเหมอื นหลับไป เป็นวิบตั อิ ัศจรรย์มหันตเหตุ ให้อาเพศเพ่อื จะหา้ มตามวิสยั ทงั้ พระพลอยม่อยหลับระงบั ไป จนอุทยั เทย่ี งตน่ื ต่างฟ้ืนกาย[๑๘๖] เทย่ี วหายา่ มตามตาราทง้ั ผา้ ห่ม มนั ตามลมลอยไปขา้ งไหนหาย ไม่พบเหน็ เปน็ น่าระอาอาย จนเบี่ยงบา่ ยบดิ าจะคลาไคล รีบ[๑๘๗]หม่ ดองครองผา้ อกุ าพระ คารวะวนั ทาอัชฌาสยั ถวายวดั ตดั ตาราไม่อาลัย ขออภัยพุทธรัตนป์ ฏิมา เมอ่ื รคู้ วามยามโศกด้วยโรครา้ ย จงึ ตามลายลัดแลงแสวงหา จะใครเ่ ห็นเช่นเขาบอกดอกจึงมา มีตาราแลว้ ก็ต้องทดลองดู ไม่ร้อื รา้ งง้างงัดไม่ขดั [๑๘๘]ขดุ เปน็ แต่จดุ เทียนเบิกฤกษร์ าหู ขอคุณพรตรสธรรมชว่ ยค้าชู ไม่เรยี นรู้รูปงามไม่ตามลาย มาเห็นฤทธ์ิกฤตยา[๑๘๙]อานุภาพ ก็เข็ดหลาบลมพาตาราหาย ได้ตรวจนา้ คว่าขนั บรรยาย[๑๙๐] ใหภ้ ตู พรายไพรโขมดท่ีโขดดิน รวมนิราศของสุนทรภู่ เร่อื งท่ี ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟ้า

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๘๔ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ทง้ั เจ้าทุ่งกรุงทวาเทพารักษ์ ซ่งึ พิทักษ์ท่พี ญาคหู าหิน พระเจา้ ฟา้ อากาศนาถนรินทร์ ซ่งึ สร้างถ่นิ ที่วัดพระปฏมิ า จงพน้ ทุกขส์ ุโขอโหสิ ไปจตุ ิตามชาตปิ รารถนา ท้ังเซิงไทรไผโ่ พตะโกนา ฉันขอลาแล้วเจ้าคะหม่อมตะโก ถงึ แก่งอมหอมกลิ่นก็[๑๙๑]กินฝาด แตค่ ราวขาดคิดรักเสยี อักโข ท้ังพิกุลฉุนกลน่ิ จงภญิ โญ เสยี ดายโอ้อางขนางจะห่างไกล ออกเดนิ ทงุ่ มุ่งหมายพอบา่ ยคลอ้ ย ได้[๑๙๒]ตามรอยแรกมาหญ้าไสว จนจวนค่ายา่ เยน็ เหน็ ไรไร สังเกตไม้หมายทางมากลางคืน ต้องบุกรกวกหลงลุยพงแฝก อุตสา่ หแ์ หวกแขมคาสฝู้ า่ ฝืน มาตามลายหมายจะลุอายุยนื ผา้ ห่มผืนหนึ่งไมต่ ดิ อนิจจัง เจา้ หนูกลั่นนั้นว่าเคราะห์เสียเพลาะหอม เหมอื นทง้ิ หม่อมเสยี ทเี ดียวเดินเหลยี วหลงั จะรบี ไปให้ถงึ เรือเหลือกาลัง คร้ันหยดุ นงั่ หนาวใจจาไคลคลา จนร่งุ รางทางเฟอื นไมเ่ หมือนเก่า ต้องเดนิ เดาดน้ั ดัดจนขัดขา จนเท่ยี งจึงถึงเรือเหลอื ระอา อายตามาตาแก้วท่ีแจวเรือ เขาหวั เราะเยาะวา่ สาธสุ ะ เครอ่ื งอฏั ฐะทเ่ี อาไปช่างไม่เหลือ พอมดื มนฝนคลุ้มครมุ ครุมเครือ[๑๙๓] ให้กลับ[๑๙๔]เรือรบี ลอ่ งออกทอ้ งคุ้ง จะเลยตรงลงไปวัดก็ขดั ขอ้ ง ไมม่ ีของขบฉนั จังหนั หุง ไปพง่ึ บุญคุณพระยารักษากรุง[๑๙๕] ท่านบารุงรกั พระไม่ละเมิน ทง้ั เพลเชา้ คาวหวานสาราญร่ืน ต่างชุ่มช่นื ชวนกนั สรรเสริญ ทา่ น[๑๙๖]สูงศกั ดริ์ ักใคร่ให้จาเริญ อายุเกินกปั กัลป์พทุ ธนั ดร ได้ครองกรงุ ฟ้งุ เฟือ่ งเปร่ืองปรากฏ เกยี รติยศอย่ตู ลอดอย่าถอดถอน ทา่ นอารีมีใจอาลยั วอน ถึงจากจรใจจิตยังคิดคุณ มาทีไรไดน้ มิ นตจ์ ะปรนนิบัติ[๑๙๗] สารพัดแผเ่ ผอ่ื ชว่ ยเก้ือหนนุ ตา่ งชืน่ ช่วยอวยกศุ ลผลบญุ สนองคณุ คุณพระยารักษากรงุ ฯ รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรือ่ งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๘๕ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม ๏ เม่ือกราบลาคลาเคล่ือนออกเล่ือนลอ่ ง เห็นหน้านอ้ งนามหุ่นน่ังชุนถุง ทง้ั ผดั หน้าทาขม้ินสง่ กลิน่ ฟ้งุ ร้บู ารงุ [๑๙๘]รูปงามอร่ามเรือง ที่แพรายหลายนางสาอางโฉม งามประโลมแลปลง่ั [๑๙๙]อลงั เหลอื ง ขม้ินเอย๋ เคยใช้แต่ในเมือง มาฟงุ้ เฟื่องฝ่ายเหนอื ท้ังเรือแพ พวกโพงพางนางแมค่ ้าขายปลาเตา่ จบั กระเหม่ามิได้เหลือช้นั เรอื แห จะลอ่ งลับกลับไกลอาลยั แล มาถึงแพเสียงนกแก้วแจ้วเจรจา เจ้าของขาวสาวสอนชะอ้อนพลอด แวะเข้าจอดแพนกี้ ่อนพ่ีจา๋ น่ารบั ขวญั ฉันน่ีร้องวา่ น้องลา กเ็ ลยวา่ สาวกอดฉอดฉอดไป ฯ นางสาวสาวเขาจะกอดให้ท่ีไหน ๏ โอ้นกเอย๋ เคยบา้ งหรืออยา่ งพลอด ท่านยังไมช่ ่วยกอดแกล้งทอดท้ิง แต่นอ้ งมีพปี่ า้ ท่ีอาลยั หนาวกท็ อดเตาไวก้ ่อไฟผงิ นึกก็พลอยน้อยใจถงึ ไม่กอด จะสู้นงิ่ หนาวทนอยู่คนเดียว ไม่เรยี กเป็นเชน่ นกแก้วแล้วจริงจรงิ ถึงพบลาสาวแลไ้ มแ่ ลเหลียว ไดเ้ ด็ดรกั หักใจมาในน้า มาคนื เดียวก็ไดห้ ยดุ ถึงอยธุ ยา[๒๐๐] ประหลาดเหลอื เรือวงิ่ จรงิ จริงเจยี ว ไปเทีย่ วเล่นลายแทงแสวงหา จึงจดหมายรายเร่อื งทีเ่ คืองเข็ญ ได้จดมาเหมือนหน่งึ มแี ผนท่ีไว้ เห็นส่ิงไรในจงั หวัดรถั ยา ดว้ ยอายโอษฐ์มิได้อ้างถงึ นางไหน ไมอ่ ่อนหวานขานเพราะเสนาะโสต ได้รา่ ไรเร่ืองหญงิ จงึ พริ้งเพราะ เหมือนเขามีท่ีจาก[๒๐๑]ฝากอาลยั เหมือนเรข่ ายคอนเรอื มะเขอื เปราะ น่กี ลา่ วแกลง้ แต่งเล่นเพราะเป็นมา่ ย เกือบกะเทาะหน้าแว่นแสนเสยี ดาย ฯ คิดคะนงึ ถงึ ตัวนา่ หวั เราะ อย่ากระดากดับเดือดใหเ้ หือดหาย[๒๐๒] อยา่ หม่ินชายเชญิ ตรึกให้ลกึ ซึ้ง ๏ สุดาใดใจจดื พงั ผืดมาก ถึงรอ้ ยโยชน์แย้มกลนิ่ คงบนิ ถึง ทเี่ อน็ ดู[๒๐๓]อยกู่ ็อยากจะฝากกาย ไมพ่ น้ ซงึ่ พวกหมแู่ มงภชู่ ม เหมอื นภุมรนิ บินหาซง่ี สาโรช แต่ดอกไม้ไททา้ วใบดาวดึงส์ รวมนิราศของสนุ ทรภู่ เร่ืองที่ ๔ นิราศวดั เจ้าฟ้า

กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ๘๖ โรงเรยี นสหราษฎร์รังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม เช่นกระตา่ ยกายสทิ ธน์ิ น้ั ผิดเพ่ือน ขน้ึ แตม้ เดือนไดจ้ นชิดสนทิ สนม เสน่หาอาลยั ใน[๒๐๔]นยิ ม จะใคร่ชมเชน่ กระตา่ ยไม่วายตรอม แตเ่ กรงเหมือนเดือนแรมไม่แจ่มแจ้ง สุดจะแฝงฝากเงาเฝา้ สนอม ขอเดซะจะได้พงึ่ ให้ถึงจอม ขอใหน้ ้อมโนม้ สวาทอย่าคลาดคลา ไมเ่ คล่ือนคลายหนา่ ยแหนงจะแฝงเฝ้า ใหเ้ หมอื นเงาตามติดขนิษฐา ทกุ ค่าคืนช่นื ชุ่มพุม่ ผกา มิให้แก้วแววตาอนาทร มณฑาทิพย์กลบี บานตระการกล่นิ ภมุ รินหรอื จะรา้ งหา่ งเกสร จงทราบความตามใจอาลัยวอน เดชะกลอนกล่าวปลอบให้ตอบคา จะคอยฟงั ดังหน่ีงคอยสอยสวาท แม้นเหมือนมาดหมายจะชมิ ใหอ้ ิม่ หนา ถ้าครั้งนี้มิไดเ้ ย้ือนยังเออ้ื นอา จะต้องครา่ คร่าเปลา่ แล้วเราเอย ฯ เชิงอรรถ [๑] วันพฤหัสบดี [๒] สามเณรพดั [๓] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “เณรหนูพัดหัดประดิษฐค์ ดิ อกั ษร” [๔] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “กาจดั จร” [๕] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “มายาม” [๖] น่าจะหมายถึงเจ้าครอกข้างในหรอื เจา้ ครอกทองอยู่ พระอัครชายาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรม พระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราขวังบวรสถานพิมุขแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึงถวายเพลิงศพเม่ือข้างขึ้น เดอื น ๑๑ ปีวอก อฐั ศก ตรงกบั พ.ศ. ๒๓๗๙ ณ วดั อมั รนิ ทราราม [๗] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “เสดจ็ ” [๘] กรวดนา้ [๙] สุรา + อามฤค [๑๐] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “พระคณุ ” [๑๑] ทานุ สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ทานุป” [๑๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “กระนี้” [๑๓] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “ต้อง” [๑๔] เนนิ [๑๕] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “ไน” [๑๖] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “รัญจวน” รวมนริ าศของสุนทรภู่ เรอ่ื งที่ ๔ นิราศวดั เจ้าฟา้

กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๘๗ โรงเรยี นสหราษฎร์รังสฤษด์ิ อาเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม [๑๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “พมุ่ ” [๑๘] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “พรหม” [๑๙] ตรม [๒๐] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ยัง” [๒๑] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ไว้” [๒๒] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ถนอม” [๒๓] สมุดไทยเลขท่ี ๑ เป็น “กฤษณา” ซึ่งอาจเลือนมาจาก ดาฤษฌา คือ ดิ้นรน อยาก หรือตณั หา [๒๔] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “จะคิดม่งั ยังคาท่รี ่าบอก” [๒๕] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “เหมอื นโศกตรอมตรึกตรองมาหมองหมาง” [๒๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เหมอื นจืดจางใจแยกไปแตกกนั ” [๒๗] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เทีย่ ว” [๒๘] หมายถึงปลาขนาดเลก็ ท่ตี ้องหาวธิ ีทาใหเ้ นื้อแผอ่ อกด้วยวธิ แี ล่หรือตาเพื่อใหด้ ูตวั ใหญ่ขึ้น [๒๙] ปัจจบุ นั คอื ปากเกรด็ [๓๐] ลานา้ เลก็ ทใ่ี ช้เปน็ ทางลดั เชอื่ มทางนา้ ใหญ่สายเดยี วกัน เรียกเปน็ เกร็ด กม็ ี [๓๑] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ลว้ น” [๓๒] สมุดไทยเลขที่ ๒ มีความเพิ่มก่อนถึงบางพูดว่า “โอ้นกึ หวังสังเวชประเภทสัตว์ ต้องขาด ขัดคู่ครองจึงหมองหมาง เหมือนอกชายหมายมิตรคิดระคาง มาอ้างว้างอาทะวาเอกากาย ฯ ๏ ถึงบ้าน ลาวเห็นแต่ลาวพวกชาวบ้าน ลว้ นหูยานอย่างบว่ งเหมือนหว่ งหวาย ไม่เหมือนลาวชาวกรุงทีน่ ุ่งลาย ล้วน กรีดกรายหยบิ หย่งทรงลาอาง” [๓๓] คนช่างพูด [๓๔] บรรจง ค่อยๆ ประคอง [๓๕] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ลน้ิ ” [๓๖] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เท่ยี ว” [๓๗] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “หัวเราะ” [๓๘] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “เมอื่ ” [๓๙] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “กรีด” [๔๐] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ขึ้น” [๔๑] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ขวาง” [๔๒] ทีค่ ุ้ง ท่เี วิ้ง สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ระแวก” [๔๓] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ผัน” [๔๔] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “พระพายพดั แผว่ ผ่าวหนาวสยอง” รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟา้

กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๘๘ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวดั นครพนม [๔๕] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “มิได้คลาด” [๔๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “เย็นระเยียบ” [๔๗] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ล้อม” [๔๘] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ภาวนา” [๔๙] ปฏพิ ทั ธ์ [๕๐] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “และ” [๕๑] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “หาย” [๕๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “นพิ าน” [๕๓] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “รปู ” [๕๔] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ร่มนโิ ครธน้องไมเ่ สอ่ื มท่ีเลอื่ มใส” [๕๕] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “มากลางแจ้ง” [๕๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ถงึ ” [๕๗] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “พา” [๕๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “พา” [๕๙] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “สดู ” [๖๐] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ไม”่ [๖๑] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “พอ” [๖๒] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “งาม” [๖๓] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ล้วน” [๖๔] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ใส่” [๖๕] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “พวกเพ่อื นพลอยทิง้ บ้างห่างเป็นวา” [๖๖] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ถูกป่มุ ปับปากกรีดหวีดผวา” ทาให้เนื้อความอกี ๓ วรรคต่อจาก นี้ไม่ปรากฏในสมุดไทยเลขที่ ๒ [๖๗] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ออก” [๖๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “คา” [๖๙] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “กล่าว” [๗๐] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ว่าทา้ วไทพระอทู่ องเธอกองทรัพย์” [๗๑] สานวนพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ หมายถึง กษัตริย์พระองค์ก่อน ในที่นี้คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย [๗๒] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “คร้นั พระโกฏโปรดปรานประทานแปลง” [๗๓] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ท”ี่ [๗๔] ปัจจบุ ัน คือ ปทุมธานี รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เร่ืองท่ี ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟ้า

กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ๘๙ โรงเรยี นสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม [๗๕] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “แม้น” [๗๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ใส่” [๗๗] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เขา” [๗๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ไมต่ อบปาก” [๗๙] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “คารม” [๘๐] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ปลด” [๘๑] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “เสียดายผวิ พกั ตร์นอ้ งจะหมองโฉม” [๘๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “น่า” [๘๓] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ดูน่ารกั รสชาตปิ ระหลาดเหลือ” [๘๔] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “แมน้ ลอยฟ้ามาเดยี๋ วน้ที ี่ในเรอื ” [๘๕] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “หนงั ” [๘๖] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “มา” [๘๗] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “จะ” [๘๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ดูภูมิฐานท่ชี ลาพฤกษาไสว” [๘๙] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ถงึ อารามนามอา้ งวดั นางไทร” [๙๐] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ช่วยอุ้มพามาใหเ้ ถิดจะเชิดชม” [๙๑] ถนอม [๙๒] น่าจะเป็น น่มุ นุ่ม [๙๓] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ถนอมแนบแอบอุม้ น่มุ นมุ่ น่ิม” [๙๔] ววั [๙๕] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “แต”่ [๙๖] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “บาง” [๙๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “หวงั ” [๙๘] สมดุ ไทยเลขที่ ๖ เปน็ “เพลา” [๙๙] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “คลอเข้า” [๑๐๐] ตระกอง แปลวา่ กอด สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “อกประคอง” [๑๐๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “ตาบ” [๑๐๒] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “สดุ จะแลเหลยี วหาทีอ่ าศัย” [๑๐๓] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “ก็” [๑๐๔] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “กน” [๑๐๕] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เรียน” [๑๐๖] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “นภาลยั ” รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรือ่ งที่ ๔ นริ าศวดั เจา้ ฟา้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๙๐ โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม [๑๐๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ถา้ บา้ นเมอื งเคืองเข็ญจะเปน็ เหตุ” [๑๐๘] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “แต”่ [๑๐๙] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “แล้วก”็ [๑๑๐] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ลินลา” [๑๑๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “หอม” [๑๑๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ซมุ้ ” [๑๑๓] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “แล้ว” [๑๑๔] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ท้ัง” [๑๑๕] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ไว้” [๑๑๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ตอ่ เมอ่ื ไรใครใครรักมาภักดี” [๑๑๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ดว้ ย” [๑๑๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “แต”่ [๑๑๙] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “โก่ง” [๑๒๐] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เท่านว้ิ พระหตั ถ”์ [๑๒๑] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ศโิ รราบกราบกม้ บังคมคดิ ” [๑๒๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “เคารพ” [๑๒๓] กรุณา [๑๒๔] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ทา” [๑๒๕] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ลนิ ลา” [๑๒๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ใน” [๑๒๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ไมไ้ ผ่” [๑๒๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “หอมระรน่ื ลาดวนรัญจวนใจ” [๑๒๙] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ย่งิ เสียวทรวงงว่ งเหงาเศรา้ ฤทัย” [๑๓๐] เหง่ือ [๑๓๑] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “นจิ จาเอย๋ เคยบารุงผ้านุ่งห่ม” [๑๓๒] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “เหมอื นหายยศหมดรักมาปลักปลอม” [๑๓๓] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ท”่ี [๑๓๔] พายุ [๑๓๕] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “คนึง” [๑๓๖] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “นยั นา” [๑๓๗] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เวียน” [๑๓๘] ตรับ แปลว่า ตงั้ ใจฟงั สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ตริง่ ตรับ” รวมนิราศของสุนทรภู่ เรือ่ งที่ ๔ นิราศวดั เจ้าฟา้

กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๙๑ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จังหวดั นครพนม [๑๓๙] ปลง่ คอื ตลอด จะแจง้ สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “หวังจะปะพระปรอททป่ี ลอดโปร่ง” [๑๔๐] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “แมน้ ” [๑๔๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “แกก่ ลบั กลายหนมุ่ เนื้อนนั่ เรือ่ เหลือง” [๑๔๒] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เป็น” [๑๔๓] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “มา” [๑๔๔] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “กลุ้ม” [๑๔๕] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “พอ” [๑๔๖] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “พอ” [๑๔๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “มา” [๑๔๘] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เหมอื นโกรธข้งึ หึงหวงด้วยช่วงชิง” [๑๔๙] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ดูตรองตรอดเตรยี มตรอยตรองก๋อยโกร๋น” [๑๕๐] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ข”ู่ [๑๕๑] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “สอด” [๑๕๒] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “เปรยี บเหมือนคนชา่ งสะดงึ รู้ตรงึ ตรอง” [๑๕๓] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ว่า” [๑๕๔] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ประคอง” [๑๕๕] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “กบั ” [๑๕๖] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “แรง” [๑๕๗] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “เหน็ แต่” [๑๕๘] ถนอม [๑๕๙] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “รัญจวน” [๑๖๐] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ยาม” [๑๖๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ปัทม”์ [๑๖๒] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “เชิงผนงั หนาแน่นดว้ ยแผน่ ผา” [๑๖๓] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “หมอง” [๑๖๔] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ทรงจาลองลายหัตถป์ ฏมิ า” [๑๖๕] ตราบ [๑๖๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ให้” [๑๖๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ให้” [๑๖๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ถึงส่ิวขวานผลาญเพนนิ ไมเ่ ยิ่นยู่” [๑๖๙] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “ใน” [๑๗๐] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “มใิ ครจ่ ะดับ” รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรอ่ื งท่ี ๔ นิราศวดั เจา้ ฟา้

กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๙๒ โรงเรยี นสหราษฎร์รงั สฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม [๑๗๑] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “ให้” [๑๗๒] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “โขด” [๑๗๓] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “สนทิ พิศมัย” [๑๗๔] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เคย” [๑๗๕] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เยบ็ ระเรื่อยเฉือ่ ยฉา่ ด้วยนา้ ค้าง” [๑๗๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “พราย” [๑๗๗] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ขอ” [๑๗๘] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “จน” [๑๗๙] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ปลวิ ” [๑๘๐] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “รว่ ง” [๑๘๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “จนดึกด่ืนรื่นร่มลมสงัด” [๑๘๒] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เปน็ ขอบเขต” [๑๘๓] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “สาเนยี งดงั ตึงเปรย้ี งแซเ่ สียงคน” [๑๘๔] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ท้งั ” [๑๘๕] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ท่บี นโขด” [๑๘๖] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “แสงอุทัยรุ่งข้ึนจึงฟืน้ กาย” [๑๘๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ทา่ น” [๑๘๘] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เปน็ “คดั ” [๑๘๙] อาถรรพณ์ [๑๙๐] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “จนวันตาย” [๑๙๑] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “ยัง” [๑๙๒] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ไป” [๑๙๓] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ลงคลมุ เครอื ” [๑๙๔] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ออก” [๑๙๕] คอื พระยาไชยวิชติ (เผือก) เจ้าเมอื งอยุธยา สหายสนทิ ของพระภู่ [๑๙๖] สมดุ ไทยเลขที่ ๒ เป็น “ทง้ั ” [๑๙๗] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “มาทไี รไดน้ ิมนตป์ รนนิบัติ” [๑๙๘] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “บารุบารุง” [๑๙๙] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เป็น “เปลง่ ปล่ัง” [๒๐๐] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “ได้หยุดอยุธยา” และชื่ออยุธยาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์นั้น หมายถงึ กรงุ เทพ ฯ รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เร่ืองที่ ๔ นริ าศวดั เจ้าฟา้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๙๓ โรงเรยี นสหราษฎรร์ งั สฤษด์ิ อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม [๒๐๑] สมุดไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ท่เี ขามีดีจาก” [๒๐๒] สมุดไทยเลขที่ ๒ เป็น “นารีใดไรร้ กั อย่าหนักหน่วง จะโรยรว่ งรกเรี้ยวแห้งเหีย่ วหาย” [๒๐๓] สมุดไทยเลขที่ ๒ เปน็ “เมตตา” [๒๐๔] สมดุ ไทยเลขท่ี ๒ เปน็ “ใจ” รวมนริ าศของสนุ ทรภู่ เรอื่ งที่ ๔ นริ าศวดั เจ้าฟา้

กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๙๔ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ อาเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม เรือ่ งที่ ๕ นริ าศอเิ หนา (ฉบบั หอสมดุ วชิรญาณ) บทนา นิราศอเิ หนา แต่งเมื่อพุทธศกั ราชใดยังปรากฏไมแ่ น่ชดั ซึง่ คาดวา่ นา่ จะแตง่ ข้ึนในชว่ งปี พ.ศ. ๒๓๗๕-๒๓๗๘ แตง่ ตามเร่ืองอิเหนา พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย รชั กาล ท่ี ๒ พรรณาตอนอเิ หนาครวญถงึ นางบุษบาเมื่อถูกลมหอบไป คาอธบิ ายนิราศในประชมุ นริ าศสุนทรภู่ เลม่ ท่ี ๕ นริ าศอเิ หนา ลักษณบทกลอนของไทยเรามี ๔ ประเภท คือโคลงประเภท ๑ ฉนั ท์ประเภท ๑ กาพย์ประเภท ๑ กลอนประเภท ๑ ฉันท์กับกาพย์ตารามาแต่ประเทศอินเดีย โคลงกับกลอนตาราเปนของไทยเราเอง ถ้าวา่ เปนทางตานานโดยอาศรยั พจิ ารณาบทกลอนของโบราณทีย่ ังเหลืออยู่ในบัดนี้ หนังสือบทกลอนไทย ที่แต่งเปนโคลงกับกลอนเปนของมีมาก่อน ฉันท์แลกาพย์มีข้ึนต่อชั้นหลัง ในราวแผ่นดินสมเด็จพระนา รายน์มหาราช แต่คนสมัยน้ันดูเหมือนจะถือกันเปนคติว่าโคลงฉันท์เปนของแต่งยาก กวีท่ีมีช่ือเสียงมัก แต่งหนังสือเร่ืองสาคัญเปนลิลิตฤๅโคลงฉันท์ท้ังน้ัน กาพย์กลอนถือกันว่าเปนของแต่งง่าย มักแต่งกันแต่ เปนหนังสือสวดและเปนเพลงยาวสังวาศ มาจนถึงปลายสมัยคร้ังกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี จึงค่อยนับ ถือกาพย์กลอนกันข้ึนกว่าแต่ก่อน เห็นจะเปนเพราะเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรโปรดทรงแต่งกาพย์เช่นกาพย์เห่ เรือเปนต้น และโปรดทรงแตง่ เพลงยาวสังวาศ การแตง่ กาพยก์ ลอนจึงแต่งกันแพร่หลายขน้ึ หนังสือจาพวกท่ีเรียกว่านิราศ เปนบทกลอนแต่งเวลาไปทางไกล มูลเหตุที่จะเกิดหนังสือชนิดนี้ข้ึน สันนิษฐานว่าคงเปนเพราะเวลาเดินทางท่ีมักต้องไปเรือหลายๆ วันมีเวลาว่างมาก ได้แต่นั่งๆ นอนๆ ไป จนเกิดเบื่อ ก็ต้องคิดหาอะไรทาแก้ราคาญ ผู้สันทัดในทางวรรณคดีจึงแก้ราคาญโดยกระบวรคิดแต่งบท กลอน บทกลอนแต่งในเวลาเดินทางเช่นน้ัน ก็เปนธรรมดาท่ีจะพรรณาว่าด้วยส่ิงซึ่งได้พบเห็นใน ระยะทางประกอบกับอารมณ์ของตน เช่นครวญคิดถึงคู่รักซ่ึงต้องพรากท้ิงไว้ทางบ้านเรือนเปนต้น กระบวรความในหนังสอื นริ าศจึงเปนทานองอย่างว่านท้ี ้ังนั้น ชอบแต่งกนั มาแต่ครัง้ กรุงศรีอยุธยาเปนราช ธานี แต่ทีเ่ รียกชื่อว่าหนังสือนิราศ ดูเหมอื นจะบญั ญัตขิ ึน้ ในชัน้ กรุงรตั นโกสนิ ทรนี้ หนังสือนิราศครั้งกรุงศรีอยุธยามักแต่งเปนโคลง แลเรียกช่ือเร่ืองแปลกๆ กัน โคลงนิราศเก่า กอ่ นเรอ่ื งอื่นท่ีมีฉบับอยบู่ ดั นี้ เรียกชื่อเรื่องว่าโคลงหริภญุ ชยั เดมิ แตง่ เปนโคลงลาวทเ่ี มืองเชยี งใหม่ เมื่อปี ฉลู “เม่ิงเป๊า” ในน้ันกล่าวถึงพระพุทธสิหิงค์ว่ายังอยู่เมืองเชียงใหม่ เพราะฉนั้นคงจะแต่งเมื่อปีฉลู เม่ิง เป๊ารอบที่ตรงกับ พ.ศ. ๒๑๘๑ ก่อนสมเด็จพระนารายนฯ์ เชิญพระพุทธสิหิงค์ลงมากรุงศรีอยุธยา นริ าศ เร่ืองน้ีเอามาแต่งแปลงเปนโคลงไทยท่ีกรุงศรีอยุธยาอิกช้ัน ๑ แต่ดูเหมือนจะนับถือกันมาก นิราศท่ีแต่ง ในกรุงศรีอยุธยาเก่าก่อนเร่ืองอื่นน้ัน คือโคลงพระศรีมโหสถ แต่งเมื่อตามเสด็จพระนารายน์ฯ ไปรับ ช้างเผอื กท่ีเมืองนครสวรรค์ เม่ือ พ.ศ. ๒๒๐๑ ต่อมาถึงโคลงกาสรวญ ของศรีปราชญ์ แต่งเมื่อถูกเนรเทศ รวมนิราศของสุนทรภู่ เรอื่ งที่ ๕ นริ าศอเิ หนา

กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ๙๕ โรงเรียนสหราษฎรร์ ังสฤษดิ์ อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม จากพระนครศรีอยธุ ยาลงไปอยู่เมืองนครศรธี รรมราช วา่ เมื่อในรัชกาลพระเจา้ เสือ ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๔๖ กบั พ.ศ. ๒๒๕๑ นิราศกาสรวญนีใ้ นกระบวรความเห็นไดว้ ่าแตง่ ตามอย่างนิราศหริภญุ ชัย แตแ่ ตง่ ดขี ึ้นไป อิก ผู้แต่งโคลงนริ าศชั้นหลงั มา แมท้ ่แี ต่งในกรงุ รตั นโกสินทรนี้ชอบแต่งเอาอย่างโดยมาก นิราศครั้งกรุงศรีอยุธยาที่แต่งเปนกลอนสุภาพ มีปรากฎอยู่เร่ืองเดียวแต่นิราศเมืองเพ็ชรบุรี ของหมอ่ มพิมเสน แต่กร็ วมไว้ในพวกเพลงยาวสังวาศ หาได้แยกออกเปนเรื่องตา่ งหากเหมือนอย่างนริ าศ ทีแ่ ต่งกันในช้ันกรุงรัตนโกสินทรไม่ ถงึ นิราศท่ีแต่งเปนกลอนสภุ าพในกรุงรัตนโกสนิ ทรนี้ ช้ันแรกกร็ วมอยู่ ในเพลงยาวสังวาศ มิได้แยกออกเปนประเภทหน่ึงต่างหากมีตัวอย่างที่สาคัญคือนิราศท่าดินแดงซ่ึง พระบาทสมเด็จฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อเวลาเสด็จยกกองทัพหลวงไปปราบ พมา่ ข้าศึก เม่ือปีมเมีย พ.ศ. ๒๓๒๙ กร็ วมอยูใ่ นเพลงยาว พงึ่ จะแยกออกเปนนิราศเรอ่ื ง ๑ เมอ่ื ในรัชกาล ที่ ๕ นิราศที่แต่งกันในชั้นกรุงรัตนโกสินทรนี้ แต่งท้ังเปนโคลงแลเปนกลอนสุภาพ ดูเหมือนกวีท่ีแต่งนิราศใน ครั้งรัชกาลที่ ๑ รัชกาลท่ี ๒ จะถือคติต่างกันเปน ๒ พวก ๆ หน่ึงถือคติเดิมว่า โคลงฉันท์เปนของสาคัญ และแต่งยากกว่ากลอน กวีพวกน้ีแต่งนิราศเปนโคลงตามเยี่ยงอย่างศรีปราชญท์ ั้งนัน้ กวีอกิ พวกหนึ่งชอบ เพลงยาวอย่างเช่นเล่นกันเม่ือปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา กวีพวกนี้แต่งนิราศเปนกลอนสุภาพท้ังนั้น ถ้าว่า เฉภาะที่เปนผู้สาคัญในกวีพวกหลังนี้ คือสุนทรภู่ แต่งนิราศเปนกลอนสุภาพมากเร่ืองกว่าใครๆ หมด กลอนของสนุ ทรภ่คู นชอบอ่านกันแพร่หลาย ก็ถือเอานิราศของสุนทรภูเ่ ปนแบบอยา่ งแต่งนิราศกันต่อมา ตง้ั แตร่ ชั กาลท่ี ๓ จนถงึ รชั กาลท่ี ๕ ใน พ.ศ. ๒๔๖๗ น้ี พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะสิริ) มาขอเรื่องหนังสือในหอพระสมุดวชิ รญาณสาหรับพระนคร สาหรับพิมพ์ในการกฐินตามเคย หอพระสมุดฯ จึงจัดประชุมนิราศของสุนทรภู่ อันนับว่าเปนต้นตาราของนิราศกลอนสุภาพชั้นหลัง ให้พิมพ์รวม ๘ เร่ืองด้วยกัน นิราศสุนทรภู่ที่แต่งไว้ ๘ เรื่องนั้นแต่งต่างคราวกัน คือแต่งเมื่อปลายรัชกาลที่ ๑ และต้นรัชกาลท่ี ๒ เปนเวลาก่อนสุนทรภู่เข้า รับราชการ ๒ เร่ือง แต่งเมอ่ื สุนทรภู่บวชเปนพระในรชั กาลที่ ๓, ๒ เร่ือง แต่งเม่ือสุนทรภู่สึกเปนฆราวาส แล้วอิก ๔ เรื่อง นิราศอิเหนาท่ีพิมพ์ในสมุดเล่มนี้ สุนทรภู่แต่งในรัชกาลที่ ๓ เม่ือสึกเปนฆราวาสแล้ว เข้าใจว่าดูเหมือนจะแต่งถวายพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ พระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จฯ พระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสุนทรภู่ฝากตัวพึ่งพระบารมีอยู่ในเวลานั้น ไม่ใช่เปนเร่ืองไปทางไกลเหมือนนริ าศเร่ือง อ่ืนๆ สุนทรภู่คิดเอาเรื่องอิเหนาตามนางบุษบาเม่ือลมหอบหายไป มาคิดแต่งข้ึนเปนนิราศของอิเหนา ทานองเดียวกับฉันท์ราชาพิลาปของโบราณท่แี ต่งวา่ ด้วยพระรามตามนางสีดา สานวนกลอนเรื่องอิเหนา นี้นบั เปนอย่างเอกของสนุ ทรภเู่ ร่อื ง ๑ ซ่งึ บรรดาผอู้ า่ นบทกลอนชอบกนั หมดไมเ่ ลอื กหนา้ รวมนริ าศของสุนทรภู่ เร่ืองที่ ๕ นริ าศอเิ หนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook