Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม(พันธ์พิทยาคม) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓)

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม(พันธ์พิทยาคม) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓)

Published by kroobantim Satang, 2021-06-14 08:15:26

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม(พันธ์พิทยาคม) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓)

Keywords: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม(พันธ์พิทยาคม)

Search

Read the Text Version

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ทิ ยาคม) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นติม (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

ประกาศโรงเรยี นบ้านตมิ (พันธ์พิทยาคม) เร่ือง ให้ใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) --------------------------------------------------------- โรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธ์พิทยาคม) สังกดั สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓ ไดด้ าเนินการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓) และเอกสารประกอบหลักสตู รข้ึน เพื่อกาหนด ใช้เปน็ กรอบและทิศทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) โดยโรงเรียนได้จัดทาและพัฒนาหลกั สูตรตามแนวคดิ หลกั สูตรอิงมาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐาน การเรยี นรู้เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทก่ี าหนดในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึก ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันใน การ ปกครองตามร ะบอบประชาธิปไตยอัน มี พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข มีความรู้และทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้งเจตคตทิ ่ีจาเปน็ ต่อการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ท้ังน้ี หลักสูตรโรงเรียน บ้านติม (พันธ์พิทยาคม) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกร รมกา ร สถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน เมอื่ วันท่ี ๓๑ เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่ บดั น้เี ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายพวน นนั ทะสิงห์) ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานโรงเรียนบ้านตมิ (พันธพ์ ทิ ยาคม) (นายอนุสรณ์ จตั ตเุ รศ) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบา้ นติม (พนั ธ์พิทยาคม) หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

ความนา กระทรวงศึกษาธกิ ารไดป้ ระกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปี การศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็น หลกั สตู รแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเปา้ หมายและกรอบทิศทางใน การพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นมพี ัฒนาการเต็มตามศกั ยภาพ มีคณุ ภาพและมีทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ เพื่อให้ สอดคลอ้ งกับนโยบายและเป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน โรงเรียนบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สาระภมู ศิ าสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบ ในการวางแผนและพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ใหม้ กี ระบวนการนาหลักสตู รไปสู่การปฏบิ ตั ิ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะ สาคญั ของผูเ้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจน เกณฑ์การวดั ประเมินผลให้มีความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนด ทิศทางในการจัดทาหลกั สตู รการเรยี นการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลาง เป็นแนวทางที่ชดั เจนเพอ่ื ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้ อยา่ งแท้จรงิ และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชี้วัดทก่ี าหนดไว้ในเอกสารน้ี ช่วยทาให้หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง ในทุกระดับเห็น ผลคาดหวงั ที่ต้องการในการพฒั นาการเรียนร้ขู องผเู้ รยี นที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่ เกย่ี วข้องในระดบั ท้องถ่นิ และสถานศกึ ษารว่ มกันพัฒนาหลกั สูตรได้อยา่ งมั่นใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับ สถานศกึ ษามคี ุณภาพและมคี วามเป็นเอกภาพย่งิ ขึน้ อีกท้งั ยังชว่ ยใหเ้ กิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ และชว่ ยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ ระดับชาตจิ นกระท่งั ถึงสถานศึกษา จะต้องสะทอ้ นคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ใน หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมท้ังเปน็ กรอบทศิ ทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม ผเู้ รียนทกุ กลมุ่ เป้าหมายในระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน การจัดหลั กสูตรกา รศึกษาขั้น พื้นฐานจ ะประสบควา มสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ทุกฝ่า ย ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทง้ั ระดับชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคลตอ้ งร่วมรบั ผิดชอบ โดยรว่ มกนั ทางานอย่างเป็นระบบ และ ตอ่ เนอ่ื ง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแกไ้ ข เพอื่ พัฒนาเยาวชนของ ชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ่ีกาหนดไว้ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านตมิ (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

สารบญั หนา้ เรอ่ื ง ๑ ๑ ประกาศโรงเรียน ๒ คานา ๒ สารบญั ๒ ๓ ส่วนท่ี ๑ ความนา วิสัยทศั น์โรงเรียน ๔ พันธกจิ โรงเรยี น ๑๖ เปา้ ประสงค์โรงเรยี น ๑๗ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๒๔ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๓๑ ๔๐ ส่วนท่ี ๒ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนบา้ นติม (พนั ธพ์ ทิ ยาคม) ๔๑ ส่วนที่ ๓ คาอธิบายรายวชิ า ๕๗ ๖๔ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๗๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ๗๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๘ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ประวัติศาสตร)์ ๙๐ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๙๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ๑๐๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ ๑๐๔ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๑๑๓ รายวิชาเพ่มิ เติม ภาษาอังกฤษพาเพลนิ ๑๑๙ รายวชิ าเพ่มิ เติม วิทยาการคานวณ ๑๒๖ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ตอ่ ต้านทจุ ริตศึกษา ๑๒๗ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น คาอธิบายรายวิชา กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี กจิ กรรมชุมนมุ กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ สว่ นท่ี ๔ เกณฑ์การจบการศกึ ษา ภาคผนวก หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

สว่ นที่ ๑ ความนา หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓) เปน็ แผนหรอื แนวทาง หรอื ขอ้ กาหนดของการจัดการศึกษาของโรงเรียน บ้านตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) ท่จี ะใช้ในการจัดการเรยี นการสอน เพอื่ พัฒนาผเู้ รยี นให้มคี ุณภาพตามาตรฐานท่ีกาหนด มุง่ พฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพที่สุจริต ตลอดจนการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรม ประเพณที อ้ งถนิ่ โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และ สตปิ ญั ญา อีกทง้ั มคี วามรแู้ ละทกั ษะทจ่ี าเป็นสาหรบั การดารงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล เพ่ือการ แขง่ ขันในยคุ ปัจจบุ ัน ดังนั้น หลักสูตรโรงเรยี นบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓) จึงประกอบด้วย สาระสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง สาระความรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับชมุ ชนทอ้ งถ่ิน และสาระสาคญั ท่โี รงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้ รายวิชาพนื้ ฐานตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ัด และสาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม จัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนเป็น รายปีในระดับประถมศึกษา และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียนบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓) วิสัยทศั น์หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓) หลักสูตรโรงเรียนบ้านติม (พันธพ์ ิทยาคม) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓) เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้สู่ มาตรฐานสากลและเป็นมนุษย์ท่มี ีความสมดุลทง้ั ร่างกาย ความรูค้ ู่คุณธรรม มคี วามเป็นผ้นู าของสังคมมีจิตสานึก ในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานสามารถใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยรี วมทง้ั เจตคติท่จี าเปน็ ต่อการศกึ ษาในการประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญบนพ้นื ฐานความเชอ่ื ว่าทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ เปา้ ประสงค์หลกั สตู ร (Corporate objective) ๑. เพื่อใหผ้ ู้เรียนทุกคนไดร้ ับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มีการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเป็นแนวทางการดาเนนิ ชวี ติ เปน็ ผ้นู าที่ดีของสงั คมและมีความสามารถในการใช้เทค โนโลยีเพ่ือการ เรียนร้แู ละการสือ่ สารอย่างหลากหลาย ผู้เรียนมีศักยภาพเปน็ พลโลก (Worid Citizen) ๒. เพ่ือใหส้ ถานศึกษามีระบบการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาดว้ ยระบบคุณภาพ (Quality System Management) เพ่ือรองรับการกระจายอานาจอยา่ งท่ัวถึง ๓. เพอ่ื ให้บคุ ลากรทุกคนมที ักษะวชิ าชีพในการพฒั นาการเรียนการสอนและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี ท่ที นั สมัยยกระดบั การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (World Class standard) ๔. เพ่ือใหก้ ารใช้งบประมาณและทรพั ยากรของทุกหนว่ ยงานเปน็ ไปตามเป้าหมายได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสูงสดุ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

วิสัยทัศน์โรงเรยี น โรงเรียนบา้ นติม (พันธพ์ ิทยาคม) เปน็ สถานศึกษาทม่ี ุ่งพฒั นาผูเ้ รียนใหถ้ ึงพร้อมดว้ ยทักษะชีวิต มที กั ษะ ความคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้ สง่ เสรมิ ความสามารถที่หลากหลาย พรอ้ มดว้ ยคุณธรรม จรยิ ธรรมทด่ี ีงาม เหมาะสมกบั วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ความเปน็ ไทย มภี าวะผนู้ า ยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มจี ติ อาสา รกั ษา สงิ่ แวดล้อม ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน พฒั นาการศึกษา ประชามีส่วนรว่ ม นักเรยี นมคี วามรคู้ ู่คุณธรรม นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรยี นดี มีจริยธรรม นาพฒั นา รู้รักษาสงิ่ แวดลอ้ ม พนั ธกจิ ๑. ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ๒. เน้นการพฒั นาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื ให้เกิดประโยชนต์ ่อการบรหิ ารจัดการและการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ๓. เนน้ การดาเนนิ งานตามหลักการบริหารจดั การแบบมีสว่ นร่วม ๔. เน้นการพัฒนาความรคู้ วบคู่กับคุณธรรม ๕. พัฒนาสภาพแวดลอ้ มให้ถกู สขุ ลกั ษณะเอือ้ ต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนและเอื้อต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน เปา้ ประสงค์ ๑. เพ่ือนาองคค์ วามร้ดู า้ นการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนา สถานศกึ ษา ๒. เพือ่ ใหช้ มุ ชน/ผู้ปกครองมีส่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศกึ ษา ๓. เพ่ือสง่ เสรมิ ผู้เรียนใหไ้ ดร้ บั การพฒั นาดา้ นความรแู้ ละคุณธรรม ๔. เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นรู้จกั ใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๕. เพอ่ื ให้สถานศึกษามีแหล่งเรียนรเู้ พมิ่ เติม ๖. เพือ่ ใหม้ สี ภาพแวดล้อมท่ีรม่ รน่ื ถูกสขุ ลักษณะ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ในการพฒั นาผู้เรียนตามหลักสตู รโรงเรียนบา้ นตมิ (พันธพ์ ทิ ยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓) มุ่งเนน้ พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานที่ กาหนด ซง่ึ จะชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคัญและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดงั น้ี สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธ์พทิ ยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓) มงุ่ ให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการส่อื สาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความร้สู กึ และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารและ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

ประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่อสาร ทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเอง และสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็น ความสามา รถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคร าะห์ การคิด อยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพือ่ การตดั สินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความร้มู าใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีกาตัดสินใจทม่ี ีประสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน ชีวติ ประจาวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างตอ่ เน่อื ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสรมิ ความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างบคุ คล การจัดการปัญหาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ ทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรูจ้ กั หลีกเลีย่ งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ ที่ส่งผลกระทบ ตอ่ ตนเองและผูอ้ ่ืน ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ หลักสตู รโรงเรยี นบ้านตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) ) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓) มุ่งพัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ ร่วมกับผ้อู ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้ ๑. รกั ษช์ าติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซื่อสตั ยส์ จุ รติ ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มจี ติ เป็นสาธารณะ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

สว่ นที่ ๒ โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓) ไดก้ าหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้ ผสู้ อนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้ ระดับการศกึ ษา หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นติม (พนั ธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓) จดั การศกึ ษา ดงั นี้  ระดับประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖) การศึกษาระดับน้ีเป็นช่วงแรกของการศึกษาภาค บงั คบั มงุ่ เนน้ ทักษะพื้นฐานด้านการอา่ น การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการ เรยี นรูท้ างสังคม และพ้ืนฐานความเป็นมนษุ ย์ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ อย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งใน รา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ สงั คมและวฒั นธรรม การจัดการศกึ ษา หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) ไดจ้ ดั เวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และกิจกรรม พฒั นาผู้เรียน โดยจัดให้เหมาะสมตามบรบิ ท จดุ เนน้ ของโรงเรยี น และสภาพของผู้เรยี น ดังนี้  ระดบั ประถมศกึ ษา (ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖) จดั เวลาเรยี นเปน็ รายปี โดยมีเวลาเรียนวนั ละ ๖ ชัว่ โมง โครงสร้างหลกั สูตร โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓) ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียนและ โครงสร้างหลักสตู รช้ันปี ดังนี้ ๑. โครงสรา้ งเวลาเรียน เป็นโครงสร้างท่แี สดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระ ทีเ่ ปน็ เวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวชิ าเพิม่ เตมิ และเวลาในการจัดกิจกรรม พฒั นาผู้เรยี น จาแนกแต่ละช้ันปี ในระดบั ประถมศกึ ษา ดังน้ี หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบ้านตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) โครงสร้างหลกั สตู รเวลาเรียนโรงเรียนบ้านติม (พันธพ์ ทิ ยาคม) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓) ระดบั ประถมศกึ ษา เวลาเรยี น(ชัว่ โมง/ปี) กลุม่ สาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม ระดับประถมศึกษา ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖  กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม* ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐  รายวิชาเพิม่ เติม ภาษาอังกฤษพาเพลิน ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - - วิทยาการคานวณ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ตา้ นทุจริตศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (เพมิ่ เติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐  กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้” - กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - กจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ชุมนมุ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ - กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี นท้งั หมด ๑,๐๔๐ ชั่วโมง/ปี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นติม (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

จานวนชั่วโมงท่ีจัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษา ( ป.๑-ป.๓ ) เรียนท้ังปี เท่ากับ ๑,๐๔๐ ชั่วโมง ระดบั ชั้นประถมศึกษา ( ป.๔-ป.๖ ) เทา่ กับ ๑,๐๔๐ ชว่ั โมง การจดั การเรียนการสอนหนา้ ที่พลเมืองบูรณาการกับ การเรยี นร้ใู นรายวิชาพนื้ ฐานในกลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม แผนการเรียนรู้/จุดเน้น การพัฒนาผูเ้ รียนท่ตี อ้ งการเนน้ เป็นพเิ ศษ คอื กลุ่มสาระการเรียนรู้ทกั ษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพ่ือพัฒนาการ อ่านออก เขียนได้ ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ คดิ วเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ที่ดี มีประโยชน์ มคี วามสนใจใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน โดยจดั การเรียนการสอนและวดั ผลประเมินผลเป็นรายปี สาหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ น้นั จากการประเมินผลระดับโรงเรียน ระดับท้องถิ่น และ ระดับชาติ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีมติร่วมกันให้จัดทาโครงการ สอนเสรมิ ประสบการณ์พเิ ศษเพ่ือเพิ่มศักยภาพนักเรยี นจานวนชวั่ โมง ๘๐ ชั่วโมง ต้ังแต่ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ โดยไมน่ าคะแนนและระดับผลการเรียน ในรายวิชาสอนเสริมไปคิดรวมและตัดสินการเล่ือนชั้นของนักเรียน ใน โครงสร้างของหลักสูตรโรงเรียนบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓) มรี ายวิชาและจานวนช่วั โมง ดังน้ี โครงการสอนเสรมิ ประสบการณ์พิเศษเพื่อเพม่ิ ศักยภาพนักเรียน ช้นั ป.๑-๓ จานวน ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑. วชิ า ภาษาไทยคิดวเิ คราะห์ จานวน ๑ ชั่วโมง ๒. วชิ า คณติ ศาสตร์ จานวน ๑ ช่ัวโมง โครงการสอนเสรมิ ประสบการณ์พิเศษเพือ่ เพ่ิมศักยภาพนกั เรียน ช้นั ป.๔-๖ จานวน ๓ ช่ัวโมง / สปั ดาห์ ๑. วิชา ภาษาไทยคิดวิเคราะห์ จานวน ๒ ชว่ั โมง ๒. วิชา คณติ ศาสตร์ จานวน ๑ ช่วั โมง โครงสร้างหลักสูตรชน้ั ปี เปน็ โครงสร้างทีแ่ สดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวชิ าพ้ืนฐาน รายวชิ า / กจิ กรรม เพม่ิ เติมและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนในแต่ละช้ันปี หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

๒. โครงสร้างหลักสตู รชน้ั ปี เป็นโครงสร้างท่แี สดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า/กจิ กรรม เพิ่มเตมิ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนจาแนกแตล่ ะชน้ั ปี ดังน้ี โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) ระดบั ประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ รหัสวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพ้ืนฐาน (๘๔๐) ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ส ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส ๑๑๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ พ ๑๑๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๔๐ อ ๑๑๒๐๑ ๑๖๐ ส ๑๑๒๐๑ รายวชิ าเพม่ิ เติม ๘๐ ภาษาองั กฤษพาเพลิน ๔๐ ก ๑๑๙๐๑ ตา้ นทจุ ริตศึกษา ๔๐ (๑๒๐) ก ๑๑๙๐๒ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๐ ก ๑๑๙๐๓ กจิ กรรมแนะแนว ก ๑๑๙๐๔ กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐ ๓๐  ลกู เสอื เนตรนารี ๑๐  ชมุ นุม กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ์ ิเศษเพื่อเพิม่ ศักยภาพนกั เรยี น จานวน ๑ ช่วั โมง จานวน ๑ ชว่ั โมง ชั้น ป.๑ - ๓ จานวน ๒ ชวั่ โมง / สปั ดาห์ ๑. วิชา ภาษาไทยคดิ วเิ คราะห์ ๒. วชิ า คณิตศาสตร์ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตมิ (พันธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ รหสั วิชา กล่มุ สาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๒๑๐๑ รายวชิ าพืน้ ฐาน (๘๔๐) ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ส ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส ๑๒๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ พ ๑๒๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๔๐ อ ๑๒๒๐๑ ๑๖๐ ส ๑๒๒๐๑ รายวิชาเพิ่มเติม ๘๐ ภาษาองั กฤษพาเพลนิ ๔๐ ก ๑๒๙๐๑ ตอ่ ตา้ นทุจริต ๔๐ (๑๒๐) ก ๑๒๙๐๒ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๐ ก ๑๒๙๐๓ กิจกรรมแนะแนว ก ๑๒๙๐๔ กิจกรรมนักเรียน ๔๐ ๓๐  ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐  ชุมนมุ ชั่วโมง กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ชัว่ โมง โครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพนักเรยี น จานวน ๑ ชั้น ป.๑ - ๓ จานวน ๒ ชั่วโมง / สัปดาห์ จานวน ๑ ๑. วชิ า ภาษาไทยคิดวเิ คราะห์ ๒. วิชา คณติ ศาสตร์ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธ์พิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านติม (พนั ธพ์ ทิ ยาคม) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ รหสั วชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๓๑๐๑ รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐) ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ส ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส ๑๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ พ ๑๓๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ อ ๑๓๑๐๓ การงานอาชพี ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๔๐ อ ๑๓๒๐๑ ๑๖๐ ส ๑๓๒๐๑ รายวิชาเพม่ิ เติม ๘๐ ภาษาองั กฤษพาเพลนิ ๔๐ ก ๑๓๙๐๑ ต่อตา้ นทุจริตศกึ ษา ๔๐ (๑๒๐) ก ๑๓๙๐๒ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๔๐ ก ๑๓๙๐๓ กจิ กรรมแนะแนว ก ๑๓๙๐๔ กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๓๐  ลูกเสอื เนตรนารี ๑๐  ชมุ นุม ชว่ั โมง กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ชวั่ โมง โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ์ ิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรยี น จานวน ๑ ชั้น ป.๑ - ๓ จานวน ๒ ชัว่ โมง / สปั ดาห์ จานวน ๑ ๑. วชิ า ภาษาไทยคิดวเิ คราะห์ ๒. วชิ า คณติ ศาสตร์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านติม (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ รหัสวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ปี) ท ๑๔๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ว ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ส ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส ๑๔๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ พ ๑๔๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐ ศ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ง ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ อ ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๐ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ว ๑๔๒๐๑ ๘๐ ส ๑๔๒๐๑ รายวิชาเพิ่มเตมิ ๘๐ วิทยาการคานวณ ๔๐ ก ๑๔๙๐๑ ต่อตา้ นทุจรติ ศกึ ษา ๔๐ (๑๒๐) ก ๑๔๙๐๒ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๐ ก ๑๔๙๐๓ กจิ กรรมแนะแนว ก ๑๔๙๐๔ กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐ ๓๐  ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐  ชมุ นมุ ชว่ั โมง กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ชวั่ โมง โครงการสอนเสรมิ ประสบการณ์พิเศษเพือ่ เพิม่ ศักยภาพนกั เรียน จานวน ๒ ชั้น ป.๔-๖ จานวน ๓ ช่ัวโมง / สปั ดาห์ จานวน ๑ ๑. วชิ า ภาษาไทยคิดวเิ คราะห์ ๒. วิชา คณิตศาสตร์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นติม (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ รหัสวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ปี) ท ๑๕๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ว ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ส ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส ๑๕๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ พ ๑๕๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐ ศ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ง ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๘๐ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ว ๑๕๒๐๑ ๘๐ ส ๑๕๒๐๑ รายวิชาเพิ่มเตมิ ๘๐ วิทยาการคานวณ ๔๐ ก ๑๕๙๐๑ ต่อตา้ นทุจรติ ศึกษา ๔๐ (๑๒๐) ก ๑๕๙๐๒ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๐ ก ๑๕๙๐๓ กจิ กรรมแนะแนว ก ๑๕๙๐๔ กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐ ๓๐  ลูกเสอื เนตรนารี ๑๐  ชมุ นุม ชว่ั โมง กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ชวั่ โมง โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ์ ิเศษเพื่อเพิม่ ศักยภาพนกั เรียน จานวน ๒ ชั้น ป.๔-๖ จานวน ๓ ช่ัวโมง / สปั ดาห์ จานวน ๑ ๑. วชิ า ภาษาไทยคิดวเิ คราะห์ ๒. วิชา คณิตศาสตร์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นติม (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รหสั วชิ า กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๖๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ว ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ส ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ส ๑๖๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ พ ๑๖๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ ศ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ง ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ อ ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐ ภาษาองั กฤษ ๘๐ ว ๑๖๑๐๑ ๘๐ ส ๑๖๒๐๑ รายวชิ าเพ่มิ เติม ๘๐ วทิ ยาการคานวณ ๔๐ ก ๑๖๙๐๑ ตอ่ ตา้ นทจุ ริตศึกษา ๔๐ (๑๒๐) ก ๑๖๙๐๒ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐ ก ๑๖๙๐๓ กิจกรรมแนะแนว ก ๑๖๙๐๔ กิจกรรมนกั เรียน ๔๐ ๓๐  ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐  ชุมนมุ ชั่วโมง กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ชั่วโมง โครงการสอนเสรมิ ประสบการณ์พิเศษเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพนกั เรยี น จานวน ๒ ชน้ั ป.๔ - ๖ จานวน ๓ ชัว่ โมง / สปั ดาห์ จานวน ๑ ๑. วชิ า ภาษาไทยคดิ วเิ คราะห์ ๒. วิชา คณติ ศาสตร์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

รายวิชาของโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง รายวิชาพ้ืนฐาน จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย **************** กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชัว่ โมง จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ - ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ **************** ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๘๐ ชั่วโมง รายวิชาพ้นื ฐาน จานวน ๘๐ ช่ัวโมง จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ *************** หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จานวน ๔๐ ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง **************** กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง รายวชิ าพ้นื ฐาน จานวน ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๔๐ ชว่ั โมง พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา จานวน ๘๐ ชั่วโมง พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จานวน ๘๐ ชว่ั โมง พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จานวน ๘๐ ชั่วโมง พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ **************** รายวชิ าพ้นื ฐาน จานวน ๔๐ ช่วั โมง ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ **************** หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชว่ั โมง รายวิชาพื้นฐาน จานวน ๔๐ ชั่วโมง ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๘๐ ชัว่ โมง ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี **************** กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ จานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๘๐ ชั่วโมง อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ **************** รายวิชาเพ่มิ เตมิ จานวน ๔๐ ชั่วโมง อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษพาเพลนิ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง อ ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษพาเพลนิ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง อ ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษพาเพลิน ว ๑๔๒๐๑ วทิ ยาการคานวณ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ว ๑๕๒๐๑ วทิ ยาการคานวณ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ว ๑๖๒๐๑ วทิ ยาการคานวณ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๑๒๐๑ ต่อต้านทุจริตศึกษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๒๒๐๑ ตอ่ ตา้ นทุจริตศกึ ษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๓๒๐๑ ตอ่ ตา้ นทจุ รติ ศึกษา จานวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๔๒๐๑ ตอ่ ต้านทุจริตศึกษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๕๒๐๑ ตอ่ ตา้ นทจุ ริตศึกษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๖๒๐๑ ตอ่ ตา้ นทจุ รติ ศึกษา จานวน ๔๐ ช่ัวโมง หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตมิ (พันธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

ส่วนที่ ๓ คาอธิบายรายวิชา หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) ได้กาหนดคาอธบิ ายรายวิชา ของวชิ าต่าง ๆ ท่สี อนใน แตล่ ะปีการศกึ ษา ซ่ึงประกอบดว้ ย ชอื่ รหสั วิชา ชอื่ รายวชิ า จานวนชัว่ โมง ต่อปี ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวงั และสาระ การเรยี นรูร้ ายปี คาอธิบายรายวชิ าจะช่วยใหผ้ ู้สอนจัดหนว่ ยการเรียนรูใ้ นแต่ละชั้นปี ไดส้ อดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เนอ่ื งจากคาอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรยี นรูท้ ี่ผู้เรยี นตอ้ งเรยี นรตู้ ลอดทั้งปี กลมุ่ ของสาระการเรียนรูต้ ลอดปี จะมีจานวนมาก ดังนนั้ การจัดเปน็ หน่วยการเรยี นรหู้ ลาย ๆ หน่วย จะช่วยใหก้ ลุ่มของสาระการเรยี นรมู้ ขี นาด เลก็ ลง และบูรณาการไดห้ ลากหลายมากขน้ึ โรงเรียนบ้านตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) ได้กาหนดรายละเอยี ดของคาอธิบายรายวชิ าเรยี งตามลาดับไว้ ดงั น้ี ๑. คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๒. คาอธบิ ายรายวิชากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถงึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๓. คาอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๔. คาอธิบายรายวชิ ากล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๕. คาอธบิ ายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๖. คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้ัน ประถมศึกษา ปีที่ ๖ ๗. คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถงึ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๘. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๙. คาอธิบายรายวชิ ากล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๑๐. คาอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม วิชาภาษาอังกฤษพาเพลิน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศึกษา ปที ่ี ๓ ๑๑. คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิชาวทิ ยาการคานวณ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑๒. คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม วิชาต่อต้านทจุ ริตศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๓. คาอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านติม (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง คาอธิบายรายวชิ า ฝกึ อ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และข้อความส้นั ๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ นาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของเครอ่ื งหมายหรือสญั ลักษณส์ าคัญที่มักพบเหน็ ในชวี ติ ประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัด ลายมือด้วยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั เขียนสือ่ สารด้วยคาและประโยคงา่ ยๆ มมี ารยาทในการเขียน ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คาสัง่ ง่ายๆและปฏิบัตติ าม ตอบคาถาม เลา่ เรื่อง พูดแสดงความคิดเห็น และความร้สู กึ จากเรอ่ื งที่ฟงั และดู พูดส่ือสารได้ตามวตั ถุประสงค์ เนน้ มารยาทในการฟงั การดูและการพูด ฝกึ ทกั ษะการเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเปน็ ประโยคง่ายๆ ต่อคาคล้องจองง่ายๆ บอกข้อคดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ นหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝึกท่องจาบท อาขยานตามท่กี าหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการ แสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดแู ละการพดู พูดแสดงความคิดเหน็ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สือ่ สารได้ถกู ต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนรุ ักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง คาอธบิ ายรายวิชา ฝกึ อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ อธิบายความหมายของคาและ ข้อความที่อ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน เหตุการณ์ เลือกอ่านหนงั สอื ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิตามคาส่งั หรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอ่าน ฝกึ คดั ลายมือด้วยตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขียนเร่ืองสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเร่ืองสั้นๆ ตาม จินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝกึ ทกั ษะการฟงั ฟังคาแนะนา คาสงั่ ทซี่ ับซอ้ นและปฏิบัติตาม เล่าเร่ือง บอกสาระสาคัญของเร่ือง ต้งั คาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเหน็ ความรสู้ ึก พดู ส่ือสารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ มีมารยาท ในการฟงั การดแู ละการพดู ฝึกทกั ษะการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ฝกึ จบั ใจความสาคญั จากเรือ่ ง ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือ นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ร้องบทร้องเลน่ สาหรับเด็กในทอ้ งถน่ิ ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อย กรองท่มี คี ณุ ค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึ กปฏิบัติ อธิบาย บนั ทกึ การตง้ั คาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สือ่ สารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรกั ษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวช้ีวดั หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง คาอธิบายรายวชิ า ฝึกอ่านออกเสียงคา ข้อความ เรอื่ งส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ ข้อความที่อา่ น ตัง้ คาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดบั เหตกุ ารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิด จากเร่อื งทีอ่ ่าน เพอื่ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องที่ อา่ น อา่ นขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมอื ดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขียนบรรยาย เขยี นบันทกึ ประจาวนั เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทกั ษะการฟงั การดแู ละการพูด เลา่ รายละเอียด บอกสาระสาคัญ ตั้งคาถาม ตอบคาถาม พูด แสดงความคิดเหน็ ความร้สู ึก พดู ส่อื สารไดช้ ัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบุชนิด หน้าที่ของคา ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ เลือกใช้ภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ ระบุขอ้ คิดทีไ่ ด้จากการอ่านวรรณกรรม เพ่อื นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน รูจ้ ักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพอ่ื ปลกู ฝังความช่ืนชมวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยานตามท่ี กาหนดและบทรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ คา่ ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ แสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสือ่ ความ กระบวนการแกป้ ญั หา การฝึก ปฏบิ ัติ อธิบาย บันทกึ การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอื่ สารได้ถกู ต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชวี้ ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง คาอธิบายรายวิชา ฝึกอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเร่ืองที่ อ่าน อ่านเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาทก่ี าหนดและตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรื่องที่ อ่าน คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องท่อี ่าน โดยระบเุ หตุผลประกอบ สรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพ่ือ นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็น เก่ยี วกับเรอื่ งทอี่ ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมอื ด้วยตวั บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร โดยใชค้ าได้ถกู ต้อง ชดั เจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเรอื่ งส้ัน ๆ เขยี นจดหมายถงึ เพอื่ นและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา ค้นคว้า เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝกึ ทักษะการฟัง การดูและการพดู จาแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นเร่อื งท่ีฟงั และดู พูดสรปุ จากการฟงั และดู พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกย่ี วกับเร่อื งทฟ่ี งั และดู ต้ังคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล จากเรือ่ งท่ีฟงั และดู พดู รายงานเรอื่ งหรอื ประเดน็ ทศ่ี ึกษาค้นควา้ จากการฟงั การดแู ละการสนทนา มีมารยาทใน การฟัง การดูและการพูด ฝึกเขยี นตามหลักการเขยี น เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาในบรบิ ทตา่ ง ๆ ระบุชนิดและหนา้ ท่ขี องคาในประโยค ใช้พจนานกุ รมคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลัก ภาษา แตง่ บทรอ้ ยกรองและคาขวญั บอกความหมายของสานวน เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้ ระบขุ ้อคิดจากนทิ านพ้นื บ้านหรอื นทิ านคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตจริงร้อง เพลงพนื้ บ้านท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ ค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ กระบวนการส่อื ความ กระบวนการแกป้ ญั หา การฝึกปฏิบัติอธิบาย บันทึก การตง้ั คาถาม ตอบคาถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดแู ละการพูดพูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบ ยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สอ่ื สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนรุ ักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของ เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวช้วี ดั หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง คาอธบิ ายรายวิชา ฝกึ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น การบรรยายและการพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนยั แยกขอ้ เท็จจรงิ ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ คดิ เห็น อา่ นงานเขียนเชิงอธบิ าย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏบิ ัติตาม เลอื กอ่านหนงั สอื ทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ มมี ารยาทในการอ่าน ฝกึ คัดลายมอื ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่ อง แผนภาพความคิด เขยี นย่อความ เขยี นจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ เขยี นแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ต้ังคาถาม ตอบคาถาม วิเคราะห์ความ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถ่ิน ใชค้ าราชาศัพท์ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แต่งบท รอ้ ยกรอง ใชส้ านวนได้ถูกต้อง สรุปเรอื่ งจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมทอ่ี ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี สามารถนาไปใช้ในชวี ิตจรงิ อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบท ร้อยกรองทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวน การแสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการคิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ กระบวนการสื่อ ความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บันทกึ การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดแู ละการพูด พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่อื สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรกั ษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชีว้ ัด หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านติม (พันธ์พิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ฝึกอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเป็น โวหาร อ่านเรื่องสัน้ ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ จากเรอ่ื งที่อ่าน วเิ คราะห์และแสดงความ คิดเหน็ เกยี่ วกับเร่อื งที่อา่ นเพ่อื นาไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ อ่านงานเขียน เชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และ ปฏิบัตติ าม อธิบายความหมายของข้อมลู จากการอา่ นแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตาม ความสนใจและอธิบายคณุ คา่ ท่ีไดร้ บั มีมารยาทในการอ่าน ฝกึ คัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสอื่ สารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และ เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพอ่ื ใช้พัฒนางานเขยี น เขียนเรยี งความ เขียนย่อความ จากเรอ่ื งอา่ น เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขียนเร่อื งตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาท ในการเขยี น ฝกึ ทกั ษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องท่ีฟังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตผุ ลจากเรอ่ื งท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดูสื่อโฆษณา อยา่ งมีเหตผุ ล พดู รายงานเรือ่ งหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดแู ละการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่าง มีเหตผุ ลและนา่ เชอื่ ถือ มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด ฝึกวิเคราะห์ชนดิ และหน้าทขี่ องคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและ บอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วเิ คราะห์เปรยี บเทียบสานวนท่ีเป็นคาพังเพยและสภุ าษิต ฝึกแสดงความคดิ เหน็ จากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมทอ่ี ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทาน พน้ื บา้ นของท้องถน่ิ อ่นื อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่านและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง ท่องจา บทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ย โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุม่ กระบวนการคิดวเิ คราะห์และสรปุ ความ กระบวนการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ กระบวน การส่ือ ความ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการสงั เกต กระบวนกรแยกขอ้ เทจ็ จริง กระบวนการคน้ คว้า กระบวนการ ใชเ้ ทคโนโลยีในการสอ่ื สาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบ คาถาม ใชท้ กั ษะการฟงั การดูและการพดู พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่ือสารได้ถกู ตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรกั ษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวช้ีวัด หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษา ฝกึ ทกั ษะการคดิ คานวณและฝกึ แก้ปัญหา จานวนนับ ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจานวนสิ่ง ตา่ ง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย การบอกอนั ดบั ที่หลัก คา่ ของเลขโดดใน แต่ละหลกั และเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรยี งลาดบั จานวนตัง้ แต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการ บวก การลบ การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้าหนัก สรา้ งโจทย์ปญั หาพร้อมท้ังแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ ของจานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนทเ่ี พ่มิ ขึ้นหรอื ลดลงทีละ๑ ทีละ ๑๐ รปู ทหี่ ายไปในแบบรูปซ้าของ รปู เรขาคณิตและรปู อืน่ ๆ ท่สี มาชิกใน แต่ละชดุ ทีซ่ า้ มี ๒ รปู วดั และเปรยี บเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น เมตร นา้ หนกั เป็นกิโลกรมั เปน็ ขดี และใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จาแนกรูปสามเหล่ียม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสเี่ หลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของ โจทยป์ ัญหา เมือ่ กาหนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวม ๕ มาตรฐาน ๑๐ ตัวชว้ี ดั หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคานวณและฝึกแก้ปัญหา จานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง จานวนส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนท่กี าหนด อา่ นและเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย การบอกอนั ดบั ท่ีหลัก ค่าของ เลขโดดในแตล่ ะหลกั และเขียนแสดงจานวนในรปู กระจาย เปรียบเทยี บจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้ เครอื่ งหมาย = ≠ > < เรยี งลาดบั จานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตัง้ แต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหาค่าของตัว ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการบวก การลบ การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบของจานวนนับไม่ เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่ เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารทต่ี วั ตัง้ ไม่เกนิ ๒ หลกั ตวั หาร ๑ หลัก โดยท่ีผลหารมี ๑ หลัก ทง้ั หารลงตัวและหารไม่ลงตวั หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดง วิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เกย่ี วกบั เวลาทีม่ หี นว่ ยเดี่ยวและเปน็ หนว่ ยเดียว วดั และเปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมท้ั ง แสดงวธิ ีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวท่ีมีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและ เปรยี บเทียบนา้ หนักเป็นกิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขีด พรอ้ มทัง้ แสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการ บวกการลบเกย่ี วกับน้าหนกั ทม่ี หี น่วยเป็นกิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขดี วัดและเปรียบเทยี บปริมาตรและความ จเุ ป็นลติ ร จาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลย่ี มและวงกลม ใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมริ ูปภาพในการหาคาตอบ ของโจทยป์ ญั หา เมอ่ื กาหนดรูป ๑ รปู แทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรือ ๑๐ หน่วย มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชว้ี ัด หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง คาอธิบายรายวชิ า อา่ นและเขยี น ตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน เศษส่วนทแ่ี สดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงสิง่ ต่าง ๆ ตามเศษสว่ นที่กาหนด เปรยี บเทยี บเศษส่วนท่ีตัวเศษเท่ากัน โดยทีต่ วั เศษน้อยกวา่ หรือเทา่ กับตัวสว่ น หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ ของจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกนิ ๔ หลักและจานวน ๒ หลักกับจานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สญั ลกั ษณ์แสดงการหารทีต่ ัวต้งั ไมเ่ กนิ ๔ หลกั ตวั หาร ๑ หลกั และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนและ แสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดง วิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกของเศษสว่ นทีม่ ตี ัวสว่ นเทา่ กนั และผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมท้ัง แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาการลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ระบุจานวนที่หายไปในแบบรูปของ จานวนท่เี พมิ่ ขนึ้ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ กัน แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ความยาวท่ีเหมาะสม วดั และบอกความยาวของสง่ิ ต่าง ๆ เปน็ เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ เซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเปน็ เซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคาตอบของ โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ระหว่างเซนตเิ มตรกับมลิ ลิเมตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กโิ ลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใชเ้ คร่ืองชง่ั ทเี่ หมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้าหนักเป็น กิโลกรัมและเป็นขีด เปรยี บเทยี บนา้ หนกั และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับน้าหนักท่ีมีหน่วยเป็น กโิ ลกรมั กับกรัม เมตรกิ ตนั กับกโิ ลกรมั จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ เลือกใชเ้ คร่อื งตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบ ปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตรและมลิ ลลิ ติ ร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญห าเก่ียวกับปริมาตรและ ความจุเปน็ ลติ รและมลิ ลิเมตร ระบุรูปเรขาคณติ สองมติ ิทีม่ ีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ รูปภาพและใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมูลท่ีเป็น จานวนนับและใช้ขอ้ มูลจากตารางทางเดียวในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ช้วี ดั หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธ์พิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษา ฝกึ ทกั ษะการอา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับท่ี มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมท้งั เปรยี บเทยี บและเรียงลาดบั จานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขยี นเศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณส่ิงตา่ ง ๆ และแสดงส่งิ ตา่ ง ๆ ตามเศษส่วน จานวนคละที่ กาหนด เปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละท่ตี ัวสว่ นตวั หนง่ึ เปน็ พหูคณู ของอีกตัวหนึ่ง อ่านและเขียน ทศนยิ มไมเ่ กิน ๓ ตาแหนง่ แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนยิ มที่กาหนด เปรยี บเทียบและเรียงลาดับทศนิยม ไมเ่ กนิ ๓ ตาแหน่ง และประมาณผลลพั ธข์ องการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง สมเหตุสมผล หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลายหลกั ๒ จานวน ทมี่ ีผลคณู ไม่เกิน ๖ หลัก และแสดงการหารท่ี ตวั ตง้ั ไม่เกิน ๖ หลกั ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับ และ ๐ แสดงวิธี หาคาตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ข้นั ตอนของจานวนนบั ที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สรา้ งโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจานวนนบั และ ๐ พร้อมท้งั หาคาตอบ หาคาตอบและแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของเศษสว่ นและจานวนคละทีต่ วั ส่วนตัวหนง่ึ เปน็ พหูคณู ของอกี ตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ และแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๒ ขนั้ ตอนของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหา คาตอบของโจทยป์ ัญหาเกยี่ วกบั ความยาวรอบรูปและพน้ื ที่ของรูปสเ่ี หลยี่ มมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกช่ือมุม ส่วนประกอบของมุมและเขยี นสญั ลักษณแ์ สดงมุม สรา้ งรปู สเ่ี หลยี่ มมุมฉากเม่ือกาหนดความยาวของด้าน และใช้ ขอ้ มูลจากแผนภมู แิ ทง่ ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวม ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชีว้ ดั หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง คาอธบิ ายรายวิชา เขยี นเศษสว่ นท่ีมตี วั สว่ นเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา คาตอบของโจทย์ปญั หาโดยใช้บัญญตั ไิ ตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ น ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของทศนิยม ทผ่ี ลคูณเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และ ตัวหารเปน็ จานวนนบั ผลหารเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ๒ ขน้ั ตอน และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาร้อยละไม่เกนิ ๒ ขัน้ ตอน แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ที่มีการเปล่ียนหน่วยและเขียนในรูป ทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรของทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉากและความจุของภาชนะทรง สเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสเี่ หล่ยี มและพนื้ ทขี่ องรปู สเี่ หล่ียมด้านขนานและรูปส่ีเหลี่ยมขนมเปียก ปนู สรา้ งเสน้ ตรงหรือสว่ นของเสน้ ตรงใหข้ นานกับเส้นตรงหรือสว่ นของเส้นตรงท่ีกาหนดให้ จาแนกรูปส่ีเหล่ียม โดยพิจารณาจากสมบตั ขิ องรปู สรา้ งรูปสเ่ี หล่ยี มชนดิ ต่าง ๆ เมอื่ กาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือ เม่อื กาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมมุ และบอกลักษณะของปรซิ ึม ใชข้ ้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา และเขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมลู ท่ีเปน็ จานวนนบั มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตัวช้ีวัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง คาอธบิ ายรายวชิ า เปรียบเทียบ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ เปรียบเทยี บปริมาณ ๒ ปรมิ าณจากขอ้ ความหรือสถานการณ์ โดยท่ีปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ หา อตั ราสว่ นท่ีเท่ากับอตั ราส่วนที่กาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหา คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรเู้ กี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารร ะคนของ เศษส่วนและจานวนคละ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเศษส่วนและจานวนคละ ๒ – ๓ ข้ันตอน หาผลหาร ของทศนิยมทีต่ ัวหารและผลหารเป็นทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ ลบ การคณู การหารทศนยิ ม ๓ ข้นั ตอน แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหาร้อยละ ๒ – ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีคดิ และหาคาตอบของปัญหาเก่ยี วกับแบบรปู แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับปรมิ าตรของรปู เรขาคณิตสามมติ ิทป่ี ระกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลายเหล่ียม ความย าว รอบรปู และพืน้ ท่ีของวงกลม จาแนกรปู สามเหลย่ี มโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรา้ งรูปสามเหล่ียมเมื่อกาหนด ความยาวของดา้ นและขนาดของมมุ บอกลกั ษณะของรปู เรขาคณติ สามมิตชิ นิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติท่ี ประกอบจากรปู คล่แี ละระบุรปู คลข่ี องรปู เรขาคณิตสามมิติ ใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมในการหาคาตอบของ โจทยป์ ัญหา มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชีว้ ัด หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง คาอธิบายรายวชิ า ระบชุ อื่ พืชและสัตว์ทอ่ี าศยั อยู่บรเิ วณต่างๆทไี่ ดจ้ ากการสารวจบอกสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมในบริเวณท่ี พืชและสตั ว์อาศัยอยใู่ นบริเวณท่สี ารวจบรรยายลกั ษณะและบอกหน้าที่ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช รวมท้ังบรรยายการทาหนา้ ที่รว่ มกันของส่วนต่างๆของรา่ งกายมนุษยใ์ นการทากิจกรรมตา่ งๆจากข้อมูลที่รวบรวม ได้ ตระหนักถงึ ความสาคัญของส่วนต่างๆของร่างกายของตนเองและการดแู ลสว่ นตา่ งๆอยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย อธบิ ายสมบัตทิ ส่ี ังเกตได้ของวัสดุทท่ี าจากวัสดชุ นดิ เดยี วหรอื หลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุชนดิ ของวสั ดุและจัดกลุ่มวสั ดตุ ามสมบัตทิ สี่ ังเกตได้ บรรยายการเกดิ เสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ระบดุ าวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้ อธบิ ายสาเหตทุ ่ีมองไมเ่ หน็ ดวงดาวสว่ นใหญใ่ นเวลากลางวันจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ อธิบายลัก ษณะภายนอก ของหินจากลกั ษณะเฉพาะตวั ท่ีสังเกตได้ แก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถกู การเปรยี บเทยี บและการแสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอยา่ งง่ายโดยการใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือขอ้ ความ สามารถเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จดั เก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภยั ปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ร่วมกนั ดแู ลอปุ กรณเ์ บือ้ งตน้ สามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๓ ป.๑/๑ ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๓.๒ ป.๑/๑ ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ รวม ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ช้ีวดั หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธ์พทิ ยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง คาอธิบายรายวชิ า ระบวุ า่ พชื ตอ้ งการแสงและนา้ เพื่อการเจรญิ เตบิ โตโดยใช้ขอ้ มูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ตระหนักถึงความ จาเปน็ ที่พืชต้องการไดร้ ับน้าและแสงเพอื่ การเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิงดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้าง แบบจาลองทบ่ี รรยายวัฏจักรชีวติ ของพืชดอก เปรยี บเทียบลักษณะสง่ิ มีชวี ิตและส่ิงไม่มีชีวิตจากข้อมูลท่ีรวบรวม ได้ เปรียบเทียบสมบัติการดูดซบั น้าของวัสดุไปประยุกตใ์ ชใ้ นการทาวสั ดใุ นชวี ติ ประจาวัน อธิบายสมบัติท่ีนาวัสดุ มาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์การนามาทาเป็นวัสดุในการใช้งานการนากลับมาใช้ใหม่ตระหนักถึง ประโยชนข์ องการนาวัสดุทีใ่ ชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่ บรรยายแนวทางการเคลอ่ื นทีข่ องแสงจากแหล่งกาเนิดแสงและ อธบิ ายการมองเห็นวัตถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดย เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อันตรายจากการมองเหน็ วัตถใุ นท่ีมีแสงสวา่ งไม่เหมาะสม ระบุส่วนปร ะกอบของดิน และจาแนกชนิดของดนิ โดยใช้ลักษณะเนือ้ ดินและการจับตวั เป็นเกณฑ์ อธบิ ายการใช้ประโยชน์จากดินจากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ แสดงลาดบั ขนั้ ตอนการทางานหรอื แก้ปัญหาอย่าง่ายโดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรม อยา่ งง่าย โดยใช้ซอฟตแ์ วรห์ รอื สอื่ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด หมวดหมู่ คน้ หา จัดเกบ็ เรยี กใชข้ ้อมลู ตามวตั ถปุ ระสงค์ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม ขอ้ ตกลงในการใชค้ อมพวิ เตอรร์ ว่ มกนั ดแู ลรกั ษาอุปกรณเ์ บื้องต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๑.๓ ป.๒/๑ ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวม ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชวี้ ัด หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พันธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง คาอธบิ ายรายวิชา บรรยายสง่ิ ทีจ่ าเป็นตอ่ การดารงชวี ติ และการเจริญเติบโตโดยใช้ข้อมูลจากท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึง ประโยชน์ของอาหาร น้าและอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รั บสิ่งเหล่าน้ีอย่างเหมาะสม สร้า ง แบบจาลองที่บรรยายวฏั จกั รชีวิตของสตั ว์และเปรยี บเทยี บวัฏจกั รชวี ติ ของสัตวบ์ างชนิดคุณค่าของชีวิตสัตว์โดยไม่ ทาให้วัฏจกั รชวี ติ ของสัตวเ์ ปลีย่ นแปลง อธบิ ายว่าวัตถุประกอบกันเป็นวัตถชุ ้นิ ใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธบิ ายการเปล่ียนแปลงของวสั ดเุ มอ่ื ทาให้รอ้ นขึ้นหรอื ทาให้เย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ระบุผลของแรง เปลย่ี นแปลงการเคล่ือนที่ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เปรยี บเทียบและยกตวั อย่างแรงสัมผัสและแรงสัมผัส ที่มีผลต่อการเคล่อื นท่กี ารจาแนกวตั ถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ร ะบุข้ัวแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่ เกิดขึ้นระหวา่ งข้ัวแม่เหล็กเม่ือนามาเขา้ ใกล้กนั จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ยกตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงานหน่ึงไป เปน็ อกี พลงั งานหนึ่ง การทางานของเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าประโยชน์ของ ไฟฟา้ โดยการนาเสนอวิธกี ารใชอ้ ย่างประหยัดและปลอดภัย อธิบายแบบรปู เส้นทางการขน้ึ ละตกของดวงอาทิตย์การเกดิ กลางวนั กลางคืนและการกาหนดทศิ โดยใช้ แบบจาลองตระหนกั ถงึ ความสาคัญของดวงอาทิตย์ประโยชนข์ องดวงอาทิตยต์ ่อส่งิ มชี ีวิต แสดงอัลกอริทมึ ในการทางานหรอื การแก้ปญั หาอยา่ งง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียน โปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือส่อื และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใช้อนิ เทอร์เนต็ รหัสตวั ช้วี ัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ รวม ๗ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ชว้ี ัด หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง คาอธิบายรายวชิ า บรรยายหนา้ ทีข่ องราก ลาต้น ใบและดอกของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มลู ที่รวบรวมได้ จาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใช้ ความเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะของสิ่งมีชวี ติ ออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพชื ไม่มดี อกโดยใช้การมดี อกเกณฑ์ โดยใชข้ ้อมลู ท่รี วบรวมได้ จาแนกสัตว์ออกเป็น สตั วม์ ีกระดกู สันหลังและสตั ว์ไม่มีกระดกู สนั หลงั โดยใช้การมีกระดกู สนั หลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มป ลา กลุ่มสัตว์สะเทน้าสะเทินบก กลุ่ม สตั ว์เล้อื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์เลียงลกู ดว้ ยนม และตัวอย่างส่ิงมชี วี ติ ในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบัติทาง กายภาพ ด้านความแขง็ สภาพยดื หยนุ่ การนาความร้อนและการนาไฟฟา้ ของวสั ดุโดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์จาก การทดลองและระบกุ ารนาสมบตั ิเร่อื งความแขง็ สภาพยืดหยุ่นการนาความรอ้ นและการนาไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน แลกเปลย่ี นความคิดกบั ผู้อนื่ โดยการอภปิ รายเกี่ยวกับสมบัติทาง กายภาพของวัสดุอย่างมีเหตผุ ลจากการทดลอง เปรยี บเทียบสมบัตขิ องสสารทง้ั ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการ สงั เกตมวล การตอ้ งการท่ีอย่รู ูปร่างและปริมาตรของสสาร ใชเ้ ครอ่ื งมอื เพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงท่มี ีตอ่ วัตถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ใชเ้ คร่ืองชั่งสปริงในการวัดน้าหนักของวัตถุ บรรยายมวลของวัตถุทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ จาแนกวัตถุเป็น ตัวกลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปร่งแสงและวตั ถทุ ึบแสงโดยใช้ลกั ษณะการมองเหน็ ส่ิงต่างๆผ่านวัตถุน้ันเป็นเกณฑ์จาก หลักฐานเชิงประจกั ษ์ อธิบายแบบรปู เส้นทางการขน้ึ และตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้าง แบบจาลองที่อธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่างของดว งจันทร์ สร้างแบบจาลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุรยิ ะและอธบิ ายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ จากแบบจาลอง ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบาย การทางาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และต รวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้ อินเทอร์เนต็ คน้ หาความรู้ และประเมินความน่าเชอ่ื ถอื ของขอ้ มูล รวบรวม ประเมนิ นาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวรท์ ห่ี ลากหลาย เพ่ือแก้ปญั หาในชวี ติ ประจาวัน ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เข้าใจสิทธิ และหนา้ ทขี่ องตน เคารพในสิทธขิ องผู้อืน่ แจ้งผู้เกย่ี วขอ้ งเมือ่ พบขอ้ มลู หรือบุคคลทไี่ มเ่ หมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวม ๗ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ช้ีวดั หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๘๐ ช่วั โมง คาอธบิ ายรายวชิ า บรรยายโครงสร้างและลักษณะของส่งิ มชี ีวิตที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตซง่ึ เปน็ ผลมาจากการปรับตัวของ ส่ิงมชี ีวติ ในแต่ละแหล่งทอี่ ยู่ อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมชี ีวิตกับสิง่ มีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสง่ิ ไม่มชี ีวิตเพ่อื ประโยชนต์ อ่ การดารงชวี ิต เขียนโซอ่ าหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งสิ่งมีชีวิตท่ีเป็ นผู้ผลิต และผบู้ รโิ ภคในโซอ่ าหาร ตระหนกั ในคณุ ค่าของสงิ่ แวดล้อมทม่ี ีต่อการดารงชีวติ ของสง่ิ มีชีวิตโดยมีส่วนร่วมในการ ดแู ลรกั ษาส่ิงแวดล้อม อธิบายลักษณะทางพันธกุ รรมทม่ี กี ารถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของ พืช สัตว์ และ มนุษย์ แสดงความอยากร้อู ยากเหน็ โดยการถามคาถามเกีย่ วกบั ลักษณะท่คี ลา้ ยคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ อธิบายการ เปลยี่ นสถานะของสสารเมื่อทาใหส้ สารร้อนข้นึ หรอื เย็นลง โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ อธิบายการละลายของสาร ในน้า โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการเปล่ียนแป ลงที่ผันกลับไม่ได้ อธบิ ายวธิ ีการหาแรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดยี วกนั ทีก่ ระทาต่อวัตถุในกรณีท่ีวัตถุอ ยู่น่ิงจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทาตอ่ วัตถทุ ีอ่ ยู่ในแนวเดยี วกันและแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ใช้เคร่ืองชั่ง สปริงในการวดั แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานทีม่ ีต่อการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจาก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงทอี่ ยใู่ นแนวเดยี วกันที่กระทาต่อวัตถุ อธิบายการ ไดย้ นิ เสียงผา่ นตวั กลางจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุตวั แปรทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียง ต่า ออกแบบการทดลองและอธบิ ายลกั ษณะและการเกิดเสียงดัง เสยี งค่อย วัดระดับเสยี งโดยใช้เครื่องมือวัดระดับ เสยี ง ตระหนกั ในคุณค่าของความรเู้ รือ่ งระดับเสยี งโดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเล่ียงและลดมลพิษทางเสียง เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษจ์ ากแบบจาลอง ใช้แผนท่ีดาวระบุตาแหน่งและเส้นทาง การขนึ้ และตกของกลุม่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้าและอธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขึน้ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า ในรอบปี เปรียบเทียบปรมิ าณนา้ ในแต่ละแหล่งและระบปุ รมิ าณนา้ ทม่ี นษุ ยส์ ามารถนามาใช้ประโยชน์ได้จากข้อมูล ท่รี วบรวมได้ ตระหนกั ถึงคุณค่าของนา้ โดยนาเสนอแนวทางการใช้นา้ อย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้า สร้าง แบบจาลองที่อธบิ ายการหมนุ เวยี นของนา้ ในวัฏจกั รน้า เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง และ น้าคา้ งแขง็ จากแบบจาลอง เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ ฝน หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา การอธบิ าย การทางาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์ การแก้ปัญหาอย่าง ง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตร วจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอรเ์ น็ตคน้ หาขอ้ มูล ตดิ ต่อสื่อสารและทางานรว่ มกนั ประเมินความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพอ่ื แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มีมารยาท เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ที่ของตนเอง เคารพในสิทธิของผอู้ ่นื แจง้ ผู้เกีย่ วขอ้ งเมื่อพบข้อมูลหรือบคุ คลท่ไี มเ่ หมาะสม หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านติม (พันธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตวั ชีว้ ดั หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง คาอธบิ ายรายวชิ า ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทานบอก แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถว้ นในสัดส่วนท่เี หมาะสมกบั เพศและวัย รวมท้ังความ ปลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ ตระหนกั ถึงความสาคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหาร ครบถว้ นในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมกบั เพศและวัย รวมทัง้ ความปลอดภัยต่อสขุ ภาพ สรา้ งแบบจาลองระบบย่อยอาหาร และบรรยายหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมท้ังอธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร ให้ทางานเปน็ ปกติ อธิบายและเปรยี บเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน ก ารใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ รวมทง้ั ระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เก่ียวกับการแยกสาร อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถูโดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ ระบุสว่ นประกอบและบรรยายหนา้ ท่ขี องแตล่ ะส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิ ง ประจักษ์ เขยี นแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย ออกแบบการทดลองด้วยวธิ ที ี่เหมาะสมในการอธิบายวิธีการ และผลของการต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดย บอกประโยชน์และการประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน ออกแบบการทดลองและทดลองด้ วยวิธีท่ีเหมาะสมในการ อธบิ ายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อไฟฟ้าแบบ อนกุ รม แบบขนาน อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการ เกดิ เงามืดเงามัว สรา้ งแบบจาลองทอี่ ธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา อธิบายพัฒนา การของเทคโนโลยีอวกา ศ และการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจา วันจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ หนิ อคั นี หนิ ตะกอน และหินแปร สรา้ งแบบจาลองที่อธบิ ายการเกิดซากดึกดาบรรพ์ และคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดกึ ดาบรรพ์ การเกดิ ลมบก ลมทะเล มรสุมรวมทั้งอธิบายผลท่ีมีต่อ สิง่ มีชีวิตและสงิ่ แวดลอ้ มจากแบบจาลอง อธิบายผลของมรสุมตอ่ การเกิดฤดขู องประเทศไทย จากข้อมูลท่ีรวบรวม บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้าท่วม การกัดเซาะชายฝงั่ ดินถล่ม แผ่นดินไหว ตระหนักถึงผลกระทบของ ภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพิบตั ภิ ัย โดยนาเสนอแนวทางในการเฝา้ ระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ และธรณีพิบัตภิ ัย ท่อี าจเกดิ ในทอ้ งถิ่น อธิบายการเกดิ ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของปรา กฏการณ์เรือน กระจกต่อส่ิงมีชีวติ ตระหนกั ถึงผลกระทบองปรากฏการณ์เรือนกระจกโดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลด กจิ กรรมทกี่ ่อใหเ้ กดิ แก็สเรือนกระจก ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน ออกแบบและ เขียนโปรแกรมอย่างง่า ย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจา วัน ตรวจหาข้อผิดพลา ดของโปแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอรเ์ น็ตในการค้นหาข้อมลู อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีของตนเอง เคารพในสทิ ธิของผอู้ ื่น แจง้ ผู้เก่ยี วขอ้ งเมอื่ พบข้อมลู หรอื บคุ คลท่ไี ม่เหมาะสม หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕ ว ๒.๑ ป.๖/๑ ว ๒.๒ ป.๖/๑ ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘ ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๗ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตมิ (พันธ์พิทยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านติม (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ฯ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเก่ยี วกับประวตั ิของศาสดาทีต่ นนบั ถือ การดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ความสาคัญ และ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เห็นคุณค่าขอการปฏิบัติตาม หลักธรรม การพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การบาเพ็ญประโยชนต์ ่อ ศาสนสถานของศาสนาท่ี ตนนบั ถอื การแสดงตนเป็นศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาของประเทศสมาชิกสมาคมอาซี ยน การปฏิบัตติ นใน ศาสนพิธี พธิ กี รรม และวนั สาคัญทางศาสนา ปฏบิ ัติวถิ ีประชาธิปไตย ในฐานนะเปน็ พลเมืองดี และปฏิบตั สิ ถานภาพ บทบาท สทิ ธเิ สรีภาพ หน้าท่ี ของตนเองและผูอ้ นื่ เข้าใจโครงการบรหิ ารตามกระบวนการประชาธิปไตย ดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ รู้และเขา้ ใจการกระจายรายได้ รายรับ รายจ่ายของตนเอง มีสว่ นรว่ มในการผลิต และบรโิ ภค ปฏิบัติ ตามบทบาทหน้าท่ขี องตนเองในฐานะผซู้ ื้อ ผูข้ าย ผูผ้ ลิต ผู้บรโิ ภค และผ้ใู ช้ทรพั ยากรที่มีอยู่ เห็นประโยชน์ ของการประหยดั อดออม ให้รู้จกั การปฏบิ ัตติ นไดถ้ ูกต้องและเห็นคุณค่าของการประหยัด บอกและจาแนกส่ิงต่างๆรอบตวั ที่เกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาตแิ ละมนุษย์สรา้ งข้นึ ทีส่ ง่ ผลต่อความเป็นอยู่ของ มนษุ ย์ มีความร้พู น้ื ฐานทางกายภาพทส่ี อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมในประเทศอาเซียนระบุความสัมพันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศ ใช้แผนผงั ง่ายๆในการแสดงตาแหน่งของสิง่ ต่างๆในห้องเรียน สังเกตและบอกการเปล่ียนแปลงของ อากาศในรอบวนั สงั เกตและเปรยี บเทียบการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่รอบตัวเพ่ือการปฏิบัติยอย่าง เหมาะสม มีสว่ นร่วมในการดแู ลสิ่งแวดลอ้ มท่บี ้านและช้ันเรียน โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการทางจ ริยธรรม กระบวนกลุ่ม กระบวนสืบค้น กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์ กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ กระบวนการทางประชาธิปไตย เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการสอ่ื สาร และเห็นคุณคา่ ของการนาความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชนใ์ นการดาเนินชีวิตประจาวัน มคี วามส่ือสตั ย์สุจริตรักความเป็นไทยและมจี ิตสาธารณะ มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๓.๒ ป.๑/๑ ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชว้ี ัด หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นติม (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ฯ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาวิเคราะหเ์ กยี่ วกบั ความสาคัญศาสนา ประวัติศาสดาท่ีตนนับถือ การดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัตสิ าวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตวั อย่าง ความสาคัญของการปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตน นับถอื ชื่นชมการทาความดขี องตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน เห็นคุณค่าของการปฏิบัติธรรม พฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสาคญั ของศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอ่นื ๆ ของประเทศสมาคมอาเซียน การปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาท่ีตนนับถือ และ ศาสนพิธี พธิ ีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา เข้าใจเหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ตั ิเป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธิปไตย ในฐานะสมาชิกท่ีดีของโรงเรียนและ ชมุ ชนทีอ่ ยู่อาศยั ปฏิบัติตามบทบาทสิทธเิ สรีภาพหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ยอมรับความเป็นอยู่ในครอบครัว และดารงชีวติ ตามสทิ ธิของตนเอง ปฏบิ ัตติ ามกติการะเบียบของชุมชน เคารพความคิดความเชื่อของบุคคลอื่น รแู้ ละเข้าใจโครงสรา้ งการบริหารตามกระบวนการประชาธิปไตยในระดบั หม่บู ้าน บทบาทผู้นาท้องถิ่น มีส่วนร่วม ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามหลักประชาธิปไตย เคารพ กฎ กติกา ตามหลักรฐั ธรรมนูญ เขา้ ใจการกระจายได้ รายรับ รายจ่ายของครอบครัวมีส่วนรว่ มในการผลิตการบริโภคอย่างมีคุณคา่ และ คุณธรรม เข้าใจการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบเศรษฐกิจพอเพียง นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้และ เข้าใจ ความหมายการซ้อื ขาย การแลกเปล่ยี นสินค้า อธบิ ายความสาคญั และระบสุ ่งิ แวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละทมี่ นษุ ย์สร้างข้นึ ซง่ึ ปรากฏระหว่างโรงเรียนกับ บา้ น ระบุตาแหน่งท่ตี ้ังของประเทศสมาชกิ อาเซยี น และลกั ษณะทางกายภาพของส่งิ ต่างๆทปี่ รากฏในแผนผัง แผน ท่ี รูปถ่ายและลูกโลก สังเกตและแสดงความสัมพัน ธ์ ระหว่า งโลก ดวงอาทิตย์และดวงจัน ทร์ ท่ีทาให้ เกิดปรากฎการณ์ จาแนกการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วไมห่ มดไปและที่ใช้แล้วหมดไปได้อย่างคุ้มค่า อธิบาย ความสมั พันธ์ของฤดกู ารณ์กบั การดาเนนิ ชีวิตของมนษุ ย์ และมีส่วนรว่ มในการจัดการสิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียน โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนกลุ่ม กระบวนสืบค้น กระบวนการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ กระบวนการทางประชาธปิ ไตย เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการสื่อสาร และเหน็ คณุ คา่ ของการนาความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั มีความส่อื สัตย์สุจริตรักความเปน็ ไทยและมีจติ สาธารณะ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธ์พทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชวี้ ดั หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ทิ ยาคม) (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ฯ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาความสาคัญของศาสนาท่ตี นนบั ถอื ในฐานะท่เี ป็นรากฐานสาคญั ของวัฒนธรรมไทย ประวัติของ ศาสดาทตี่ นนับถอื การดาเนนิ ชีวิตและขอ้ คดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง หลักธรรม ของศาสนาทต่ี นนบั ถอื เห็นคณุ ค่าของการสวดมนต์ การพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การ ปฏบิ ัติตนไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศาสนพธิ ีพิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา และการ แสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาทตี่ นนบั ถอื เข้าใจ ยอมรับ และเห็นคณุ ค่าการปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตยในฐานะเป็นสมาชิกของ ตนเองและชุมชน ปฏิบัตติ ามบทบาทหนา้ ท่ขี องตนเองและผูอ้ ่ืน เคารพความคิดความเชื่อ การปฏิบัติตนตามวิถี ชวี ิตของบคุ คลทม่ี ผี ลงานทเ่ี ป็นประโยชนแ์ กส่ ่วนรวมในทอ้ งถนิ่ เขา้ ใจโครงสรา้ งการบรกิ ารระดับตาบล มีส่ วนร่วม ประเพณีวัฒนธรรม ตอ่ โรงเรียน ครอบครัว ทอ้ งถิน่ และปฏิบตั ติ ามกฎหมายรัฐธรรมนูญสงู สดุ ของประเทศ เขา้ ใจ การกระจายรายได้ รายรับ รายจา่ ย ของครอบครัวตนเอง ปฏบิ ัตติ ามบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ในฐานะผผู้ ลติ ผู้บริโภคตามหลักคุณธรรม ตามหลักเศรษฐศาสตร์ เข้า ใจวิธีการเศรษฐกิจแบบพอเพียง เพื่อนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั เขา้ ใจการแลกเปลยี่ นสนิ คา้ และบริการ สารวจข้อมลู ทางภมู ิศาสตรใ์ นโรงเรียนและชุมชนโดยใชแ้ ผนผงั แผนท่ี และรูปถา่ ยเพ่ือแสดงความสัมพันธ์ ของตาแหน่ง ระยะ ทศิ ทาง วาดภาพแผนผังเพอ่ื แสดงตาแหนง่ ท่ตี ั้งของสถานทสี่ าคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน อธิบายลกั ษณะทางกายภาพของประเทศสมาชกิ อาเซียน เปรียบเทยี บและอธิบายการเปลย่ี นแปลงของสิ่งแวดล้อม ของชุมชนในอดตี และปจั จบุ นั อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์ของส่งิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติสนองความต้องการ ข้ันพืน้ ฐานและการประกอบอาชีพของมนุษย์และการประกอบอาชีพ อธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท ความสมั พนั ธ์ทางกายภาพในการดาเนินชวี ติ ของคนในชมุ ชน อธิบายสาเหตุทท่ี าให้เกิดมลพิษและมีส่วนร่วมในการ จัดการสิ่งแวดล้อมในชมุ ชน โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนกลุ่ม กระบวนสืบ ค้น กระบวนการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ กระบวนการทางประชาธปิ ไตย เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสอื่ สาร และเห็นคุณคา่ ของการนาความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั มีความสอ่ื สตั ยส์ ุจรติ รักความเปน็ ไทยและมจี ิตสาธารณะ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓)

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ส ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗ ส ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ส ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ส ๕.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้วี ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นติม (พันธพ์ ิทยาคม) (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓)

คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธบิ ายความสาคญั ศาสนาทตี่ นนับถอื ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน ประวัติของ ศาสดาทตี่ นนับถือเห็นคณุ คา่ การปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ ศาสนิกชนตวั อยา่ ง หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ การทาความดขี องตนเอง บคุ คลในครอบครัว โรงเรียนและ ชมุ ชนตามหลกั ศาสนา บคุ คลสาคัญในทอ้ งถน่ิ และการพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติ ตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถอื การอยู่รว่ มกนั เป็นชาตไิ ด้อยา่ งสมานฉันท์ประวัติศาสดาของศาสน าอื่น ๆ การมสี ่วนร่วมในการบารงุ รกั ษาศาสนสถานของศาสนาทตี่ นนบั ถือ มรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี การ ปฏิบตั ิตนในศาสนพิธี พิธกี รรมและวันสาคญั ทางศาสนา รวมทั้งศาสนาตา่ งๆ ในประเทศสมาชกิ อาเซยี น ศึกษา วเิ คราะห์ อธบิ าย การปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมืองดตี ามวิถีประชาธิปไตยใน ฐานะสมาชิกท่ีดีของชุมชน การเป็นผนู้ าและผูต้ ามท่ดี สี ิทธิพื้นฐานเดก็ ความแตกตา่ งทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่นวิธีการอยู่ร่วมกัน อย่างสนั ติสขุ ในชวี ติ ประจาวัน อานาจอธิปไตยและความสาคัญของระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าท่ีของ พลเมืองในกระบวนการเลือกต้ัง ความสาคัญของสถ าบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ศกึ ษา วิเคราะห์ ยกตัวอยา่ ง อธิบาย ระบปุ จั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การเลือกซื้อสินค้าและบริการ สิทธิพื้นฐาน และรกั ษาผลประโยชนข์ องตนเองในฐานะผู้บริโภค หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี งและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของ ตนเอง ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชน หน้าท่ีเบอื้ งตน้ ของเงินในระบบเศรษฐกิจ สืบคน้ และอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพของจังหวัดยะลา ด้วยแผนท่ีและรูปถ่าย ระบุแหล่ง ทรพั ยากรและสถานท่สี าคญั ในจงั หวัดยะลาดว้ ยแผนที่และรปู ถ่าย อธิบายลักษณะทางกาย ภาพที่ส่งผลต่อแหล่ง ทรพั ยากรและสถานทส่ี าคญั ของจังหวดั ศรสี ะเกษ แผนท่ีของจงั หวัดศรีสะเกษ น้าตกห้วยจันทร์ น้าตกสาโรงเกียรติ เป็นต้น วิเคราะห์ส่ิงแวดล้อมที่ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตของคนในจังหวัดยะลา อธิบายการเปล่ียนแปลง ส่งิ แวดลอ้ มในจังหวดั ยะลาและผลที่เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงน้ัน แม่น้า ลาคลอง ป่าไม้ ในชุมชน นาเสนอ แนวทางการจัดการสิ่งแวดลอ้ มของจงั หวดั ยะลา มีความร้เู กยี่ วกับประเทศสมาชกิ อาเซยี น ในเรอ่ื ง ดา้ นภมู ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ การค้า วัฒนธรรม และ การปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองทีด่ ขี องประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนกลุ่ม กระบวนสืบค้น กระบวนการทางจริยธรร ม กระบวนการประชาธิปไตยเพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสาร และเห็นคุณค่าของการนา ความรู้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน มีความสอ่ื สัตยส์ ุจริตรกั ความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตมิ (พนั ธพ์ ิทยาคม) (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)