Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มแผนไฟล์ PDF

รูปเล่มแผนไฟล์ PDF

Published by thanaphiphat phumphen, 2022-02-22 08:20:34

Description: รูปเล่มแผนไฟล์ PDF

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตาํ บลเกาเลีย้ ว จดั ทําขนึ้ เพื่อเปนแนวทาง ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 โดยยดึ แนวทาง ตามยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2565 สอดคลองกับยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครสวรรค และยทุ ธศาสตรและจุดเนนการดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาเลี้ยว ตลอดจนบริบท ความตองการของกลุมเปาหมายในพ้ืนที่เพ่ือกําหนด เปนแนวปฏิบัติและแนวทางในการดําเนินงาน กศน.ตําบลเกาเล้ียว ใหเปนไปตามเปาหมายท่ีต้ังไวอยางมี ประสิทธิภาพ การจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลี้ยว เลมน้ี ประกอบดวย 1) ขอมูลพื้นฐานของ กศน.ตําบล 2) ขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือการวางแผน 3) ทิศทางการดําเนินงาน และ 4) รายละเอียดแผนงาน/โครงการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลี้ยว ขอขอบคุณผูอํานวยการ กศน.อําเภอเกาเลี้ยว ขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ครูผชู วย เครือขาย และผูเก่ยี วขอ งทุกทานท่ีใหความรวมมือเปนอยา งดียง่ิ ทาํ ใหแ ผนปฏบิ ัติการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เลมน้ี สําเร็จลุลวงดวยดี และหวังเปนอยางย่ิงวา กศน.ตําบลเกาเล้ียว จะ นําสภาพปญหาและผลการดําเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสนองตอบความตองการของประชาชนในพน้ื ที่อยา งแทจรงิ กศน.ตําบลเกาเลีย้ ว ตลุ าคม 2564 ผจู ดั ทํา แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลยี้ ว หนา ก

สารบัญ หนา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565.……………………………………………………………….. คาํ นาํ …………………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………… ข สารบญั (ตอ)………………………………………………………………………………………………………………… ค สว นท่ี 1 ขอมลู พื้นฐานของ กศน.ตําบล ………………………………………………………………………. 1 ความเปน มา ................................................................................................................ 1 ทตี่ ้ัง ……………………………………………………………………………………………………………… 1 บทบาทหนาทภี่ ารกจิ กศน.ตําบล ……………………………………………………………………. 2 คณะกรรมการ กศน.ตําบล ……………………………………………………………………………… 3 อาสาสมคั รสงเสริมการอาน …………………………………………………………………………….. 4 บคุ ลากรใน กศน.ตาํ บล ………………………………………………………………………………….. 4 องคกรนกั ศกึ ษา กศน.ตําบล ...................................................................................... 5 ทาํ เนยี บครู กศน.ตําบล .............................................................................................. 6 รางวัล เกยี รติบตั ร และผลงานดีเดนของ กศน.ตาํ บล.................................................. 7 แหลงเรียนร.ู ................................................................................................................ 8 ภาคเี ครอื ขาย............................................................................................................... 8 แหลงเรียนรใู นชมุ ชน และทุนดา นงบประมาณทส่ี ามารถนาํ มาใชประโยชนเพื่อการ จดั การศึกษา...................................................................................................... 8 แหลงเรียนรปู ระเภทสถานท่ี/ชุมชน/กลมุ ทางเศรษฐกจิ /สังคม................................... 8 แหลง สนับสนุน ทนุ /งบประมาณ ประเภทองคกร....................................................... 8 โครงสรา งการบรหิ ารสถานศึกษา................................................................................ 9 สวนท่ี 2 ขอ มูลพื้นฐานเพ่อื การวางแผน ……………………………………………………………………… 10 สภาพทั่วไปของตําบล ……………………………………………………………………………………. 10 ขอมลู ดา นประชากร ………………………………………………………………………………………. 11 ขอ มูลดานสังคม ……………………………………………………………………………………………… 13 ขอมูลดา นเศรษฐกจิ ……………………………………………………………………………………….. 14 ขอ มูลดานการศกึ ษา ……………………………………………………………………………………….. 16 ปญหาและความตองการทางการศึกษาของประชาชนท่จี ําแนกตามลักษณะของกลมุ เปา หมาย............................................................................................................ 17 ตารางวเิ คราะหข อมลู สภาพปญ หาสาเหตุและแนวทางแกไ ข...................................... 20 ตารางวเิ คราะหก ารประเมินผลและปญหาอุปสรรคการดําเนินงานในรอบปท่ผี านมา 22 แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลยี้ ว หนา ข

สารบัญ (ตอ) หนา สว นที่ 3 ทศิ ทางการดําเนินงาน …………………………………………………………………………………… 23 ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ.2561-2580)............................................................... 23 แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2560-2579)............................................................... 26 นโยบายและจดุ เนนของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปง บประมาณ พ.ศ.2565..................... 28 นโยบายและจุดเนนการดําเนนิ งานสาํ นักงาน กศน.ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 33 ทศิ ทางการดําเนินงานของสํานกั งาน กศน.จงั หวดั นครสวรรค.......………………………….. 45 ทศิ ทางการดําเนนิ งานของ กศน.อาํ เภอ….……………………………………………..……………. 48 แนวทางการพัฒนา กศน.ตําบล .........………………………………………………………………… 52 สว นท่ี 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565...……………………. 55 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม …………………………………………………….…………………. 56 ตารางวเิ คราะหค วามสอดคลอ งของแผนปฏิบตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565... 59 แผนการใชจายงบประมาณตามแผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565......... 61 โครงการ ………………………………………………………………………………………………………….. 63 ภาคผนวก ……………………………………………………………………………………………………………………... 114 คณะผูจดั ทํา …………………………………………………………………………………………………………………… แผนปฏิบัตงิ าน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ยี ว หนา ค

สว นที่ 1 ขอ มูลพ้ืนฐานของ กศน.ตําบล  ขอ มลู พืน้ ฐานของ กศน.ตาํ บลเกาเล้ยี ว ประวัติความเปนมาของสถานศกึ ษา ประวตั ิ กศน.ตาํ บล ศูนยการเรียนชุมชนตําบลเกาเล้ียว ประกาศจัดตั้งข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2541 โดยผูวาราชการจังหวัด นครสวรรค โดยความเห็นชอบจากชุมชน ผูนําชุมชน เทศบาลตําบลเกาเล้ียว เห็นสมควรใหใชอาคาร หองสมุดวัดเกาเลี้ยวเพ่ือใชในการดําเนินงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน ภายใตการสนับและสงเสริมจาก ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาเลี้ยว (เดิมชื่อศูนยบริการการศึกษานอก โรงเรียนอําเภอเกาเล้ียว) และตอมาเมื่อป พ.ศ. 2548 ศูนยการเรียนชุมชนตําบลเกาเล้ียว ไดยายมาต้ังอยู ขางศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาเลี้ยว การตอเติมอาคาร ศูนยการ เรียนชุมชนไดรับความรวมมือจากนักศึกษาภายในศูนยการเรียนชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึง ปจจุบันศูนยการเรียนชุมชนตําบลเกาเลี้ยวไดยายมาอยู ณ อาคารศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสรางดวย เงนิ งบประมาณจากสํานักงาน กศน.จงั หวัดนครสวรรค ซ่ึงอยูดานขางศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอําเภอเกาเล้ียว ทั้งนี้ศูนยการเรียนชุมชนตําบลเกาเลี้ยว ไดประกาศจัดต้ังเปน กศน.ตําบลเกา เลี้ยว เม่อื วันท่ี 20 พฤษภาคม 2553  ท่ีตั้ง สภาพท่ัวไปของสถานศึกษา ชือ่ สถานศกึ ษา : กศน.ตาํ บลเกา เลย้ี ว ท่อี ยู : เลขที่ 1/2 หมูที่ 1 ตําบลเกาเลี้ยว อําเภอเกา เล้ยี ว จงั หวดั นครสวรรค เบอรโทรศัพท : 0–5629–9377 เบอรโ ทรสาร : 0–5629–9377 E-mail ติดตอ : [email protected] สงั กดั : ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเกาเลยี้ ว สาํ นักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั นครสวรรค แผนปฏบิ ัติงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลยี้ ว หนา 1

บทบาทหนาที่ภารกจิ กศน.ตําบล กศน.ตาํ บล เปน หนว ยงานในสังกัด กศน.อาํ เภอ มีฐานะเปนหนว ยจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย เพอื่ สงเสริมการเรียนรูตลอดชวี ิตของประชาชนและการสรางสังคมแหงการเรยี นรู ในชมุ ชน กศน.ตาํ บล มีภารกิจทสี่ ําคัญ ดังนี้ 1. จัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก ับประชาชนกลุมเปา หมายใน ชุมชนอยางนอ ยปงบประมาณละ 506 คน โดยจําแนกเปน รายกจิ กรรมดังนี้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบ 260 คน ประกอบดวย 1.1.1 การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน จาํ นวน 60 คน 1.1.2 การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ จาํ นวน 80 คน 1.1.3 การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ จํานวน 50 คน 1.1.4 การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน จํานวน 40 คน 1.1.5 กระบวนการเรียนรตู ามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง จํานวน 16 คน 1.2 การศึกษาตามอธั ยาศยั จาํ นวน 300 คน 2. สรางและขยายภาคีเครือขายเพ่ือการมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในชุมชน 3. สงเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ของภาคีเครือขา ย ท้ังในแงข องความเข็มแข็งและความตอเน่ืองในการมสี ว นรว มและศกั ยภาพในการจัด 4. จัดทําระบบขอมูล สถิติ และสารสนเทศ เกี่ยวกับประชากรกลุมเปาหมายและผลการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใชในการวางแผนพัฒนาและแผนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งในระดับชุมชนหรือระดับจุลภาค ระดับอําเภอ ระดับจังหวัด และ ภาพรวมระดับประเทศของสาํ นักงาน กศน. 5. จดั ทําแผนงาน โครงการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยประจาํ ปงบประมาณเพ่ือ จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนกลุมเปาหมายและชุมชน และ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามกรอบจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงาน กศน. สาํ นกั งาน กศน.จังหวัด และ กศน.อําเภอ ที่สังกัดเพ่ือการสนับสนนุ งบประมาณจาก กศน.อาํ เภอ ที่สงั กัด โดย ในกรณีของการจดั กิจกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ใหยดึ คา ใชจายรายหัว ตามที่มติคณะรัฐมนตรีกาํ หนดคูณดวย จํานวนนักศึกษา 60 คน สําหรับกิจกรรมอื่นๆน้ัน จัดทําแผนงาน โครงการเพ่ือเสนอของบประมาณให ดําเนนิ การตามทีไ่ ดร ับมอบหมายจาก กศน.อําเภอ 6. ประสานและเช่อื มโยงการดําเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของศูนยการเรียนรูชุมชนและภาคีเครือขายในตําบล โดยมีการประสานแผนการดําเนินงานภายในตําบลที่ รับผิดชอบและ กบั กศน.อําเภอทสี่ ังกดั ตามกรอบจุดเนนการดําเนนิ งานบนพืน้ ฐานของความเปนเอกภาพ ดาน นโยบายและความหลากหลายในการปฏิบัติ 7. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในความรบั ผดิ ชอบ ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือรับรองการประกันคุณภาพภายนอกของ กศน.อําเภอ ท่ี สงั กัด 8. รายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอ กศน.อําเภอ ที่ สงั กัด ตามแผนหรอื ขอตกลงทก่ี าํ หนดไว 9. ปฏิบัติภารกิจอื่นๆท่ีดีรับมอบหมายจาก กศน.อําเภอ สํานักงาน กศน.จังหวัด หรือ สํานักงาน กศน.และตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด แผนปฏิบตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลีย้ ว หนา 2

คณะกรรมการ กศน.ตาํ บล บทบาท ประธาน รปู ชือ่ – สกลุ รองประธาน นายธงชัย แผพ ฒั นากุล กรรมการ นายประจวบ เชงิ เอีย่ ม กรรมการ กรรมการ นายประเจดิ ศรีหยวก กรรมการ กรรมการ นายทองสขุ เกตุสาํ ลี เลขานกุ าร นายเรอื งศักดิ์ ขาวแสงศลิ ป นางสังเวียน นวลผอ ง นางรงุ เรอื ง สารีสุข นายธนาพพิ ฒั น พุมพยี ร แผนปฏิบตั ิงาน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเล้ยี ว หนา 3

อาสาสมัครสงเสรมิ การอาน ชือ่ – สกลุ บทบาท อาสาสมคั ร รูป อาสาสมัคร อาสาสมัคร นายจกั รพนั ธ มาเส็ง อาสาสมัคร อาสาสมัคร นางสาวอรนชิ เหลาจั่น นายประทีป สดุ ใจ นางสาวอัจฉราพร ภเู ทศ นาธนากรณ อวนโพธก์ิ ลาง บุคลากรใน กศน.ตาํ บล จํานวน รวม 2 คน ท่ี ช่อื -สกุล ตาํ แหนง วุฒิการศกึ ษา ประสบการณ 1. นางศิรพิ ร สดุ เลก็ ผูอํานวยการ ปริญญาโท การบริหารการศกึ ษา งาน กศน. 2. นายธนาพิพัฒน พมุ เพียร ครู กศน.ตําบล ปรญิ ญาตรี ๑๘ ป สาขาการจดั การอุตสาหกรรม 13 ป ประกาศนียบัตรวิชาชพี ครู แผนปฏบิ ตั งิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ยี ว หนา 4

องคก รนกั ศึกษา ชือ่ – สกลุ บทบาท ประธานกรรมการ รูป รองประธาน นายนคนิ ทร แมนพวง เลขานกุ าร ผูชวยเลขานกุ าร นางสาวภาวนิ ี ผ้งึ ทอง กิจกรรมนักศกึ ษา การเงนิ และบัญชี นางสาวกลั ยากร ศริ ิเวช ประชาสัมพันธ นางสาวเปย มหทยั พลู เกลยี้ ง นายทัศนพ ล แมนพว ง นางมัจฉา บญุ เกษม นายณฐั พล บญุ ประเสรฐิ นางสาวรงุ นภาลัย ใหญเสมอ ปฏิคม บทบาท รปู ช่อื – สกลุ แผนปฏิบัตงิ าน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลี้ยว หนา 5

นายเจษฎาพร ศรีพูล กรรมการ นายพรรณภัชนกสร เสียงไพเราะ กรรมการ นายมาโนช บัวตูม กรรมการผทู รงคุณวุฒิ นายธนาพิพัฒน พุมเพยี ร ครทู ี่ปรกึ ษา ทาํ เนียบครู กศน.ตาํ บล ลาํ ดับที่ ชื่อ-สกลุ ตาํ แหนง ระยะเวลาที่ดาํ รงตําแหนง 1. นางสาวธัญญารักษ อินทรพ ิทักษ ครู ศรช. 1 ต.ค. 2546 – 30 ก.ย. 2548 2. นายประวิทย ไหมทอง ครู ศรช 1 ต.ค. 2548 – 18 พ.ค. 2553 3. นางสาวกัลยลกั ษณ สงวนสขุ ครู กศน.ตําบล 19 พ.ค. 2553 – 1 ต.ค. 2556 4. นายธนาพิพฒั น พุมพียร ครู กศน.ตาํ บล 1 ต.ค. 2556 – ปจ จบุ นั แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเล้ยี ว หนา 6

 รางวลั เกยี รติบัตรผลงานของ กศน.ตาํ บล ( 3 ป ยอนหลัง) 1. นายณฐั พนธ ชนะภัย นายณฐั พล บุญประเสรฐิ นายสิรภพ บัวดี ไดร บั รางวัลชมเชย การประกวด โครงงานวทิ ยาศาสตร สาํ หรับนกั ศกึ ษา กศน ประจําปงบประมาณ 2562 ดานการใชแ ละการอนุรักพลังงาน ไฟฟาเพือ่ ชวี ติ และสงั คม ณ ศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศึกษานครสวรรค ระดับเขต 2. นางสาวศิรลิ ักษณ ปานคง นายณัฐพล บุญประเสรฐิ นายสิรภพ บัวดี ไดรับรางวัลชมเชย การ ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร สาํ หรับนักศึกษา กศน ประจาํ ปง บประมาณ 2563 ดานการใชแ ละการ อนรุ ักษพลังงานไฟฟา เพื่อชวี ติ และสังคม ณ ศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษานครสวรรค ระดบั เขต 3. นายนนทกร สุดใจ นางสาวกรรณิการ แสงสุรยี  นางสาวกฤตยิ า คาํ เอีย่ ม ไดร ับรางวลั ชมเชย การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร สาํ หรับนกั ศกึ ษา กศน ประจาํ ปงบประมาณ 2563 ดา นการใชแ ละการ อนุรกั ษพลงั งานไฟฟาเพ่ือชีวิตและสังคม ณ ศนู ยว ิทยาศาสตรเพื่อการศึกษานครสวรรค ระดับเขต 4. กศน.ตาํ บลเกาเล้ยี ว อาํ เภอเกาเลี้ยว จังหวดั นครสวรรค ไดรับเกียรติบตั ร กศน.ตาํ บลตนแบบ 5 ดพี รเี ม่ืยม ระดับอาํ เภอ ประจําปพ ุทธศักราช 2563 วันท่ี 7 เดือน กนั ยายน 2563 5. นายจักริน ทรัพยค ง นางสาวกรรณิการ แสงสรุ ีย นางสาวกฤติยา คําเอี่ยม ไดร ับรางวัลชมเชย การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร สําหรับนกั ศกึ ษา กศน ประจาํ ปงบประมาณ 2564 ดานส่งิ แวดลอม ประเภทนวัตกรรมจากขยะ ณ ศูนยวิทยาศาสตรเ พ่ือการศึกษานครสวรรค ระดับเขต แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลี้ยว หนา 7

แหลง เรยี นรู  กศน.ตําบล/ศูนยการเรียนรูช ุมชน ในสงั กดั ท่ี ช่อื กศน.ตําบล ท่ีต้ัง ผรู ับผิดชอบ 1. กศน.ตาํ บลเกา เล้ยี ว หมูท ่ี 1 บา นเกาเลย้ี ว ต.เกา เลยี้ ว นายธนาพพิ ฒั น พุมเพยี ร รวมจํานวน 1 ตาํ บล 1 คน ภาคเี ครอื ขาย ท่ตี ัง้ /ที่อยู หมทู ี่ 1 ต.เกา เลย้ี ว อ.เกาเลี้ยว จ.นครสวรรค ท่ี ชื่อภาคีเครอื ขาย หมูท่ี 1 ต.เกา เลีย้ ว อ.เกาเล้ยี ว จ.นครสวรรค 1. ท่วี าการอําเภอเกาเลย้ี ว หมูที่ 1 ต.เกา เลีย้ ว อ.เกาเล้ียว จ.นครสวรรค 2. เทศบาลตําบลเกาเลยี้ ว หมูท่ี 4 ต.เกาเลี้ยว อ.เกา เลย้ี ว จ.นครสวรรค 3. สถานีตาํ รวจภธู รเกาเลีย้ ว หมทู ี่ 2 ต.เกา เลีย้ ว อ.เกา เลีย้ ว จ.นครสวรรค 4. โรงพยาบาลเกา เลีย้ ว หมทู ี่ 4 ต.เกาเลย้ี ว อ.เกาเลย้ี ว จ.นครสวรรค 5. สาํ นักงานสาธารณสขุ อาํ เภอเกา เลี้ยว หมทู ี่ 5 ต.เกาเลย้ี ว อ.เกา เลี้ยว จ.นครสวรรค 6. โรงเรยี นเกาเลยี้ ววิทยา หมูท่ี 4 ต.เกาเลี้ยว อ.เกาเล้ียว จ.นครสวรรค 7. โรงเรียนอนุบาลเกา เลยี้ ว 8. โรงเรียนบา นแหลมยาง แหลง เรยี นรูใ นชมุ ชน และทุนดานงบประมาณที่สามารถนํามาใชประโยชนเ พ่ือการจัดการศกึ ษา ที่ ช่อื แหลงเรียนรอู ื่น ประเภทแหลง เรียนรู ที่ตงั้ 1. ศาลเจาพอเกา เล้ยี ว ศาสนสถาน/ประเพณี หมูท่ี 2 ตําบลเกา เลี้ยว 2. วัดเกาเล้ยี ว ศาสนสถาน/ประเพณี หมทู ี่ 1 ตาํ บลเกาเลยี้ ว  แหลง เรยี นรปู ระเภทสถานที/่ ชมุ ชน/กลุมทางเศรษฐกิจ/สังคม ที่ ชื่อแหลงเรียนรูอ นื่ ประเภทแหลงเรียนรู ทต่ี ง้ั 1. ศาลเจาพอเกา เลยี้ ว ศาสนสถาน/ประเพณี หมทู ี่ 2 ตําบลเกา เลี้ยว 2. กลุมรกั ษธรรมชาติ แหลงเรยี นรูชมุ ชน หมทู ี่ 1 ตาํ บลเกาเลย้ี ว 3. กลมุ ปุย ชีวภาพ แหลง เรียนรูช ุมชน หมทู ่ี 1 ตาํ บลเกา เลยี้ ว 4. กลุมสานผกั ตบชวา แหลง เรยี นรชู มุ ชน หมทู ี่ 4 ตําบลเกาเล้ียว 5. กลุมประดิษฐโลหะ แหลง เรยี นรูชมุ ชน หมทู ี่ 5 ตําบลเกา เล้ยี ว  แหลงสนบั สนนุ ทุน/งบประมาณ ประเภทองคก ร ท่ี ชอื่ ภาคเี ครอื ขาย ทีต่ ัง้ /ที่อยู 1. ที่วาการอาํ เภอเกา เลี้ยว หมูที่ 1 ต.เกา เลยี้ ว อ.เกา เลย้ี ว จ.นครสวรรค 2. เทศบาลตาํ บลเกาเลยี้ ว หมทู ่ี 1 ต.เกาเลยี้ ว อ.เกาเลย้ี ว จ.นครสวรรค 3. วดั เกาเลีย้ ว หมูท่ี 1 ต.เกา เลีย้ ว อ.เกาเลี้ยว จ.นครสวรรค แผนปฏิบัติงาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลีย้ ว หนา 8

โครงสรางการบริหารสถานศึกษา ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอเกา เล้ียว คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลุมงานอํานวยการ กลมุ จดั การศึกษานอกระบบและ กลมุ ประสานงานภาคี การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เครือขา ยและกิจการพิเศษ -งานธุรการ/งานสารบรรณ -งานการเงินและบญั ชี -งานการศึกษาพ้นื ฐานนอกระบบ - งานประสานงานและ -งานพัสดุ -งานสงเสรมิ การรูห นงั สอื เครอื ขาย -งานบุคลากร -งานการศึกษาตอเนื่อง -งานโครงการพิเศษ -งานอาคารสถานที่ -งานสง เสริมประชาธิปไตย -งานนโยบายและแผนงาน *งานการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี -งานรณรงคแ กไ ขปญหายา -งานประชาสมั พนั ธ *งานการศึกษาเพื่อพฒั นา เสพตดิ -งานขอ มลู สารสนเทศและ ทักษะชีวิต -งานคุมครองผบู รโิ ภค การรายงาน *งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคม - งานนเิ ทศภายใน ติดตาม และชมุ ชน และประเมนิ ผล *งาน จัดกระบวนการเรียนรู ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพแสดงโครงสรา งการบริหารสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ัติงาน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลี้ยว หนา 9

สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ขอ มลู พน้ื ฐานตาํ บลเกา เล้ียว  สภาพทว่ั ไปของตําบลเกาเล้ยี ว พ้นื ที่ตง้ั ตําบลเกา เลยี้ ว เดมิ ผอู ยอู าศยั ประกอบอาชพี ทางกสิกรรม และสว นใหญปลกู กลว ยไข ขาย สินคา และมชี าวจนี มารบั ซ้ือกลว ยไขไปขายในกรงุ เทพฯ โดยบรรจุกลวยไขไ ปทางเรือ เวลาชาวจีนมารบั ซื้อ กลวยนั้น ชาวจีนจะใชเ รอื โยงพวงกันเปนพวงยาว ครน้ั มาถึงตลาดทีเ่ คยรับซื้อกลว ยชาวจนี จะตะโกน บอกกับ นายทายเรอื เปนภาษาจนี วา “เกาเหลีย้ ว” ซ่งึ แปลวา “ถงึ แลว” เพอื่ ใหน ายทา ยเรือปลอ ยเรือของตน เม่ือมี คนตะโกนวา “เกา เหลย้ี ว” บอยๆเขา คนฟงก็อาจไดย นิ เสมอก็เรียกตามและเสยี งเรยี กอาจเพยี้ นไปเปน “เกา เลยี้ ว”ก็เปน ได และอีกสันนษิ ฐานหนึ่ง เดิมประชาชนเดินทางไปนครสวรรค ตองใชพ าหนะเรือลอ งไป ตามลาํ นํ้าปง เรือตอ งผา นคงุ นํ้าถงึ เกาคุงนํา้ จึงจะถึงปากนํ้าโพจึงเรียกท่ีอยูของตนเองวา “เกาเลย้ี ว” สภาพทั่วไป ตําบลเกา เลยี้ วมอี าณาเขตครอบคลุม 5 หมบู าน อยทู างทศิ เหนือของจังหวัดนครสวรรค หางจาก ตวั จังหวดั ประมาณ 32 กโิ ลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 17.77 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดวยพนื้ ท่ี ชมุ ชนหนาแนน ยานการคา สถานท่ีราชการ และพ้นื ทเ่ี กษตรกรรม ทศิ เหนือ ตดิ ตอกับ ตําบลหัวดง อําเภอเกา เลี้ยว ทศิ ใต ติดตอ กับ ตาํ บลมหาโพธิ อําเภอเกาเลยี้ ว ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ กับ ตําบลหนองเตา อําเภอเกาเลี้ยว ทศิ ตะวันตก ติดตอกับ แมน้าํ ปง ตาํ บลเขาดนิ อาํ เภอเกา เล้ียว แผนภาพแสดงแผนทตี่ าํ บลเกาเลย้ี ว  ขอมลู ดา นประชากรตาํ บลเกา เลย้ี ว หนา 10 แผนปฏิบัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลีย้ ว

มีประชากรชาย 2,731 คน หญงิ 2,992 คน รวมทงั้ ส้นิ 5,723 คน ตารางแสดงจํานวนประชากรตําบลเกา เล้ียว ท่ี ชอ่ื หมูบ าน จํานวน ชาย ประชากร รวม จํานวนครวั เรือนในพ้นื ท่ี 1. ชมุ ชนบานเกา เล้ียว หลงั คาเรอื น 956 หญงิ 1926 เขต อบต. เขตเทศบาล 2. ชุมชนบานเกา เลี้ยว 533 970 1142 3. ชุมชนบา นหวั ดุม 775 428 609 908 - 775 4. ชมุ ชนบานแหลมยาง 694 404 480 851 - 694 5. ชุมชนบา นหาดเสลา 283 410 447 896 - 283 269 2,731 486 5,723 - 269 รวม 299 2,992 - 299 2,218 - 2,218 ท่มี า : (ทะเบียนราษฎรอ าํ เภอเกา เลี้ยว : พฤศจิกายน 2564) ตําบลเกาเล้ียว มีครัวเรือนอาศัยอยู จํานวน 2,218 ครัวเรอื น อยูในเขตพื้นท่ีการปกครองเทศบาล ตําบลท้ังหมดมีประชากรทั้งส้ิน 5,723 คนแยกเปนประชากรชาย 2,731 จํานวน คนคิดเปนรอยละ 47.72 และประชากรหญิง จาํ นวน 2,992 คน คิดเปน รอยละ 52.28 ความหนาแนนเฉลี่ย 322.73 คน/ ตารางกิโลเมตร จาํ นวนประชากรจําแนกตามชว งอายุ ชวงอายุ (ป) จํานวน (คน) รอยละของประชากรทงั้ หมด (คน) 0-5 248 4.34 6 - 14 584 10.20 15 - 39 1,765 30.85 40 - 59 1,873 32.73 60 - 69 668 11.67 70 - 79 404 7.05 80 - 89 148 2.59 33 0.57 90 ปขึน้ ไป 5,723 100 รวม จากตารางจํานวนประชากรจําแนกตามชว งอายุ พบวา ประชากรสวนใหญมีอายุระหวา ง 40-59 ป จํานวน 1,873 คน รอ ยละ 32.73 อายุ 15-39 ป จาํ นวน 1,765 คน รอ ยละ 30.85 อายุ 60-69 ป จาํ นวน 668 รอ ยละ 11.67 อายุ 6-14 ป จาํ นวน 584 คน รอยละ 10.20 คน อายุ 70-79 ป จาํ นวน 404 คน รอ ยละ 7.05 อายุ 0-5 ป จํานวน 248 คน รอ ยละ 4.37 อายุ 80-89 ป จํานวน 148 คน รอ ย ละ 2.59 และอายุ 90 ปข ึ้นไป จํานวน 33 คน รอยละ 0.57 แผนปฏิบตั งิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลี้ยว หนา 11

จํานวนผูพ กิ ารจําแนกตามประเภทความพิการ จํานวนผพู กิ าร (คน) ประเภทผพู ิการ ชาย หญงิ รวม คดิ เปนรอ ยละ - - ทางสมอง/สติปญ ญา -- 19 ทางสายตา 8 11 - 13.67 พกิ ารซํา้ ซอน -- 16 - ทางการไดย นิ 6 10 67 เคลื่อนไหวทางรา งกาย 37 30 18 11.52 ทางจิต พฤติกรรม 14 4 18 48.20 ทางการเรยี นรู 14 4 1 12.95 พิการออทิสติก 1- 139 12.95 รวมทงสน้ิ 80 59 0.71 กลุมผูพิการ เปนกลุมผูดอยโอกาสในการที่จะเขารับบริการทางการศึกษาหรือเขารวมกิจกรรมการ เรยี นรูดอยกวาคนปกติทว่ั ไป อนั เนอ่ื งมาจากขอ จํากดั ทางดา นรางกาย จิตใจ สติปญญาหรือความสามารถใน การเรียนรู จากตารางขอมูลจํานวนคนพิการในพื้นที่ตําบลเกาเล้ียว จําแนกประเภทความพิการ สวนใหญมี ความพิการเคลื่อนไหวทางรางกาย จํานวน 67 คน รอ ยละ 48.20 ทางสายตา จาํ นวน 19 รอยละ 13.67 ทางจิต พฤติกรรม จํานวน 18 คน รอยละ 12.95 ทางการเรียนรู จํานวน 18 คน รอยละ 12.95 ทางการ ไดยิน จํานวน 16 คน รอยละ 11.52 พิการออทิสติก จํานวน 1 คน รอยละ 0.71 ทางสมองสติปญญา จาํ นวน - คน รอ ยละ - และพิการซ้ําซอน จาํ นวน - คน รอ ยละ - แผนปฏิบตั ิงาน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเล้ยี ว หนา 12

 ขอ มลู ดา นสังคม  แบงการปกครอง มหี มบู านท้งั ส้นิ 5 หมูบ าน ตารางแสดงรายชอื่ หมูบานของตาํ บลเกาเลี้ยว หมูที่ ตาํ บลเกา เล้ียว ชื่อหมูบ าน 1. ชมุ ชนบา นเกา เลีย้ ว 2. ชุมชนบา นเกาเล้ยี ว 3. ชมุ ชนบา นหัวดมุ 4. ชมุ ชนบา นแหลมยาง 5. ชุมชนบา นหาดเสลา การคมนาคม : ตําบลเกาเล้ียวมีเสนทางคมนาคมประเภทถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง ถนนหินคลุก และ ถนนประเภทอืน่ ๆ รวมทั้งส้ิน เปน ระยะทาง 38.556 กโิ ลเมตร ดังแสดงได ดงั นี้ ลาํ ดับท่ี พน้ื ท่ี ระยะทางถนน ระยะทาง ระยะทางถนน ระยะทาง คอนกรีต (กม.) ถนนลาดยาง (กม.) หินคลุก (กม.) อื่น ๆ (กม.) ๑. เกาเล้ียว รวมทุกพ้นื ท่ี 6.48 28.476 3.1 0.5 6.48 28.476 3.1 38.556 (ขอ มูลจาก เทศบาลตาํ บลเกาเลี้ยว ณ วนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖3) แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลี้ยว หนา 13

 ขอมลู ดา นเศรษฐกจิ ดานเศรษฐกิจ : ประชากรตําบลเกาเล้ียวสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก ประมาณรอยละ 60 อาชีพคาขาย รับจาง และอื่น ๆ รอยละ 40 พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ไดแก ขาว ออย โรงงาน ฝร่ัง และมะลิ นอกจากนี้ยังมีการทําอาชีพคาขาย และเลี้ยงสัตว ซึ่งสวนใหญจะเปนผูประกอบการราย ยอ ย สัตวส ําคัญ ไดแก เปด ไกเนอ้ื โคเนอ้ื และสุกรตามรายละเอียดในตาราง ดานการเกษตร จํานวนครวั เรอื น ลาํ ดับที่ ชนิดพืช ตําบล พ้นื ทเ่ี พาะปลูก (ไร) ทเ่ี พาะปลูก (ครัวเรอื น) 1. ขาว เกา เลย้ี ว 2,607 114 รวม 2,607 114 2. ออยโรงงาน เกา เลย้ี ว 2,127 135 รวม 2,127 135 3. มะลิ เกาเล้ียว 159 112 รวม 159 112 4. ฝรั่ง เกาเลยี้ ว 27 6 รวม 27 6 (ขอมูลจากสํานกั งานเกษตรอําเภอ ณ วันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ 2563) ดานการปศุสัตว ตําบลเกาเลี้ยวมีเกษตรกรผูเล้ียงสัตวทั้งสิ้น 135 รายสัตวสําคัญไดแก โค เนอื้ สุกร ไก และเปด ดังตารางตอ ไปน้ี จํานวน ตาํ บล เกษตรกร โคเน้อื (ตัว) สกุ ร(ตวั ) ไก( ตวั ) เปด(ตวั ) (ราย) เกาเล้ยี ว 135 0 0 41,327 1,100 รวม 135 0 0 41,327 1,100 (ขอ มลู จากสํานกั งานปศุสัตวอ ําเภอ ณ วันที่ 28 กุมภาพนั ธ 2563) ดานการประมง ตําบลเกาเลย้ี วมผี เู พาะเลี้ยงสัตวนํ้าท่ีข้นึ ทะเบียนฟารมของอําเภอเกาเล้ยี ว รวม 14 ราย เน้ือที่ 27.75 ไร ดงั น้ี ตําบล จาํ นวนเกษตรกร พื้นท่ี (ไร) (ราย) เกา เล้ียว 14 27.75 รวม 499 27.75 (ขอ มูลจากสํานักงาประมงอําเภอ ณ วนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖3) - ชนดิ ปลาที่เลี้ยงเปน หลัก ไดแ ก ปลานลิ , ปลาสวาย, ปลาดกุ และปลาตะเพียน แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ียว หนา 14

ขอมูลความจําเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.) ตําบลเกาเลี้ยว ประจําป 2563 มีรายไดค รัวเรือนเฉลี่ย 171,138.53 บาท/ปแ ละมีรายไดบ ุคคลเฉลยี่ 57,642.74 บาท/ปด ังตอไปนี้ ลําดบั พนื้ ที่ จาํ นวน จาํ นวนคน รายไดค รัวเรอื น รายไดบคุ คล 1. ตาํ บลเกาเลี้ยว ครัวเรอื น เฉลี่ย(บาท/ป) เฉลีย่ (บาท/ป) รวมทุกพนื้ ที่ 1,546 4,590 171,138.53 57,642.74 1,546 4,590 171,138.53 57,642.74 (ขอมลู จากสาํ นักงานพฒั นาชุมชนอําเภอ ณ วนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖3) จาํ นวนหนวยธรุ กิจท่ีสาํ คญั ของตําบลเกาเลยี้ ว สถานท่ตี งั้ ลําดับ ธรุ กจิ หมูท่ี 3 ตาํ บลเกา เล้ียว อาํ เภอเกา เลีย้ ว 1. พงเพชรโฮมสเตย กลมุ อาชีพเศรษฐกิจชุมชน สถานทต่ี ั้ง ลาํ ดบั กลุม อาชพี หมทู ี่ 5 ตาํ บลเกา เลย้ี ว อาํ เภอเกา เลยี้ ว 1. กลมุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนบานเกาเล้ียว แผนปฏบิ ตั งิ าน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลีย้ ว หนา 15

 ขอ มูลดานการศึกษา ตําบลเกาเล้ยี ว มีสถานศึกษารวมท้งั หมด 6 แหง ดังน้ี โรงเรียนประถม จาํ นวน 2 แหง สถานทต่ี งั้ ลําดบั โรงเรยี น หมทู ี่ 1 ตาํ บลเกาเลย้ี ว อําเภอเกา เลย้ี ว 1. โรงเรียนอนบุ าลเกาเล้ยี ว หมทู ่ี 4 ตาํ บลเกาเลยี้ ว อาํ เภอเกาเลยี้ ว 2. โรงเรยี นบา นแหลมยาง โรงเรยี นมัธยม จํานวน 1 แหง สถานทต่ี ง้ั ลําดับ โรงเรยี น หมูท ี่ 1 ตําบลเกา เลยี้ ว อาํ เภอเกาเล้ยี ว 1. โรงเรยี นเกา เล้ียววทิ ยา โรงเรยี นเอกชน จํานวน 1 แหง สถานทตี่ ั้ง ลาํ ดับ โรงเรียน หมูท่ี 2 ตําบลเกา เลีย้ ว อาํ เภอเกาเล้ยี ว 1. โรงเรียนปวณี าวิทยา ศูนยพ ัฒนาเด็กเล็ก 2 แหง สถานทต่ี ั้ง ลาํ ดับ รายช่อื ศนู ยพ ัฒนาเดก็ เล็ก หมูท ่ี 1 ตําบลเกา เล้ียว อําเภอเกาเลย้ี ว 1. ศูนยพ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลตําบลเกาเลี้ยว หมทู ี่ 1 ตาํ บลเกา เลยี้ ว อาํ เภอเกาเลย้ี ว 2. ศนู ยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลเกา เลยี้ ว (วัดเกาเลี้ยว) แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลย้ี ว หนา 16

 ปญ หาและความตอ งการทางการศกึ ษาของประชาชน ปญหาและความตองการทางการศกึ ษาของประชาชนทจี่ ําแนกตามลักษณะของกลุมเปา หมาย ดานการรูหนังสือ ดานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สายสามัญ และปวช.) ดานอาชีพ ดาน การพัฒนาทักษะชีวิต ดานการพัฒนาสังคมและชุมชน ดานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษาตาม อธั ยาศยั กลุมเปาหมาย ปญ หาและความตองการ แนวทางการแกไข กลุมคนท่ีไมร ู - สวนใหญจ ะเปน กลุม ผสู ูงอายุ - สนบั สนนุ สงเสรมิ การรหู นังสือในรปู แบบกจิ กรรม หนังสือ/กลุม จะประสบในเร่ืองปญ หาเรื่อง เสรมิ ความจํา บรกิ ารการอา นทเี่ อ้ือตอ การเรียนรู ภาวะการลืม ความจํา ฯลฯ - ครูบรกิ ารจัดการเรยี นการสอนถึงบานหรือสถานทใี่ กล หนังสือ - กลุมอายุประมาณ 40-60 ป บา น มแี สงสวางเพียงพอ มสี อ่ื การเรียนการสอนทจี่ ะ กลมุ วยั เดก็ ไมม ีเวลามาเรียนเพราะตอง ชวยใหก ลุม เปา หมายสามารถเรียนรไู ดม ากขึน้ ทํางานหาเล้ียงครอบครวั - จดั ทาํ กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต และ กลุมเดก็ และ กลุมอายุ 1-14 ปส วนใหญย ังอยู การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมชมุ ชน เชน การเรยี นรูดาน เยาวชน ในความดูแลของพอแม เรยี น เพศวถิ ีศึกษา ความรูเร่อื งยาเสพตดิ ความรเู ร่ืองในการ (วัยเรียน) การศกึ ษาภาคบังคับปญ หาที่พบ แกปญ หาและแนวทางการดาํ เนนิ ชีวิต เปนตน คือ เดก็ ในวัยนกี่ ําลังเปน วยั ท่ี กาํ ลังเรยี นรู บางคนครอบครวั - สง เสริมสนับสนุน แนะแนว จัดการศกึ ษานอกระบบ ไมไ ดด แู ลเอาใจใสอ ยางใกลช ดิ ก็ ข้นั พนื้ ฐาน ตามความพรอมและคณุ สมบัตขิ องผเู รียนใน ทําใหเดก็ เหลา นน้ั หลงผิดไปได แตล ะระดับ งาย เพราะวัยน้ีเปนวยั อยากรู - จดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพของผเู รยี นในเรอ่ื งตาง ๆ อยากลอง กาํ ลงั ติดเพ่ือน ทาํ ให ตามคณุ ลักษณะที่พึงประสงคของหลักสตู รและของ เรยี นไมร ูเ ร่อื งและเรยี นไมจ บ สถานศกึ ษาพอเพยี ง เปนปญหาตอ เนื่องไปจนถึงการ - จดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (กพช.) ซงึ่ เปน เรียนระดับมธั ยมศกึ ษา กิจกรรมทเ่ี สริมใหก บั ผูเ รยี นตามหลกั สูตรฯ สงเสริมให - เยาวชนกลมุ อายุ 15-25 ป ผเู รียนมที กั ษะและประสบการณในการดาํ เนินชีวิต มจี ิต ประสบปญหาการเรียนไมจบ อาสา ชวยเหลอื สงั คม เชน กิจกรรมทาํ บุญตักบาตรใน การศกึ ษาในระบบโรงเรียนดวย วนั สาํ คญั ทางศาสนาพฒั นาหมบู า น วดั โรงเรียน การ สาเหตุตาง ๆ เชน ปญหา ปลูกปา เปนตน เปน กจิ กรรมเสริมจากการเรยี นการ ครอบครวั แตกแยก ปญ หาทอง สอน ในวัยเรียน ปญ หาติดเพื่อน ติด เกมออนไลน เปน ตน - กลุม เปาหมายเหลา นีเ้ มื่อเขามา เรยี นการศึกษานอกระบบฯ ไมม ี ความรบั ผดิ ชอบในหนาทขี่ อง ตนเอง จงึ ทาํ ใหก ารเรียนไม ประสบผลสาํ เร็จเทา ท่ีควร แผนปฏิบตั งิ าน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ยี ว หนา 17

กลมุ เปา หมาย ปญหาและความตองการ แนวทางการแกไข กลุมประชากร - กลุมนีจ้ ะเปนกลุมวัยทาํ งาน - สงเสรมิ สนบั สนนุ แนะแนว จดั การศกึ ษานอกระบบ วัยแรงงาน สวนใหญจ ะประสบปญหาในเรือ่ ง ขัน้ พ้ืนฐาน ตามความพรอมและคณุ สมบัตขิ องผูเรียนใน ระหวา งอายุ การไมมเี วลาพฒั นาตนเองในดาน แตละระดับ 25-59 ป การศึกษาเพราะตองทํางานหา - สงเสริมสนับสนุนจัดกจิ กรรมการศึกษาตอเนื่องไดแก เลีย้ งครอบครัว การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะ ชวี ิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน และการ สรางสงั คมแหง การเรยี นรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื ไปสงเสริมอาชพี ใหก บั กลมุ เปา หมายมี อาชพี เพ่ิมรายไดใหก บั ตนเองและครอบครัว และ กจิ กรรมทเี่ สริมสรา งทักษะตา งๆ ในการดําเนินชวี ติ โดย นาํ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปสูการปฏบิ ัตใิ หเ กิด การพฒั นาตนเอง ชมุ ชนเพ่ือสรา งสงั คมแหง การเรียน รู และการมีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ขี ้นึ - บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย จดั กจิ กรรมการเรยี น การสอนทีส่ งเสรมิ การเรียนรูดวยตนเอง คือ การ มอบหมายกรต. คอื กิจกรรมการเรียนรตู อเน่อื ง ให ผูเรียนไปศึกษาดว ยตนเองจากอินเทอรเ นต็ การอาน หนังสอื การไปถามผูร ู หรอื การไปศึกษาจากแหลง เรยี นรูตา ง ๆ การจัดกิจกรรมสง เสรมิ การอานแกทกุ กลมุ เปา หมาย ประชาชนในชมุ ชน โดยบา นหนงั สือ ชุมชน อาสาสมคั รสงเสริมการอาน เพ่ือใหทุกคนมนี ิสัย รกั การอาน กลมุ ผสู ูงอายุ - ผสู ูงอายุขาดความรูความเขาใจ - จัดกิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิตดานการ อายุ 60 ป ในการดูแลสขุ ภาพตนเอง ดูแลสขุ ภาพอนามยั การออกกาํ ลังกาย ฯลฯ ขน้ึ ไป - ผูสงู อายขุ าดการดูแลเอาใจใส - จดั กิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี ท่เี หมาะสมกบั จากครอบครวั ผูสูงอายุ เพื่อใหผ สู ูงอายุมีรายได และมีกจิ กรรมทํา - การสงเสรมิ กจิ กรรมสาํ หรับ อาจจะทาํ เปน กลุม หรือเปน บุคคลก็ได เชน การจักสาน ผสู ูงอายุขาดความตอเน่ือง การทาํ อาหารขนม อาหารเพ่ือสขุ ภาพ ฯลฯ แผนปฏิบตั งิ าน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลย้ี ว หนา 18

กลุมเปา หมาย ปญ หาและความตองการ แนวทางการแกไ ข กลุม ผพู กิ าร - ปญหาดานรางกายที่พิการไม - สงเสรมิ สนบั สนุน แนะแนว จัดการศึกษานอกระบบ สามารถชว ยเหลือตนเองได ขัน้ พน้ื ฐาน ตามความพรอมและคณุ สมบัติของผเู รียนใน เหมือนคนปกติ แตล ะระดับ - ปญ หาดา นสติปญญา ไม - จัดกิจกรรมการศกึ ษาตอเน่ือง และกิจกรรมการศึกษา สามารถเรยี นรูไ ดเหมอื นคนปกติ ตามอธั ยาศยั ทส่ี อดคลอ งกับความตอ งการและประเภท - การยอมรบั ทางสังคมในเรอื่ ง ของความพิการ มคี รูสอนผพู ิการเปน ผจู ดั การเรียนการ การศกึ ษายงั มีไมมากเทาที่ควร สอน แบบกึ่งโฮมสคูล โดยทํางานรวมกบั ครู กศน.ตําบล เพราะครอบครวั คิดวา พิการไม ในพ้ืนท่ี ตองเรยี นเสยี เวลา - คนพกิ ารขาดความม่นั ใจในการ เรยี นในการใชชีวิตในสังคม ทําให คนพิการชอบเก็บตัวเงียบอยูใน บา น แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเล้ยี ว หนา 19

ตารางวิเคราะหข อมลู สภาพปญหาสาเหตแุ ละแนวทางแกไข ตารางวิเคราะหขอมลู สภาพปญหาสาเหตุและแนวทางแกไ ข สภาพปญหา/ความตองการ สาเหตุของปญหา แนวทางแกไ ขปญหา 1. ดานเศรษฐกจิ - ใชจ ายไมป ระหยัด - สรา งความรูความเขา ใจแกชุมชน 1) ปญหาหน้ีสินในระบบและ - มคี านยิ มที่ผดิ (วัตถนุ ยิ ม) โดยการสง เสริมกระบวนการเรียนรู นอกระบบ - ไมมกี ารเกบ็ ออมในครัวเรือน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งโดยชุมชนมสี ว นรวมคิด รว มทํา รว มแกป ญ หา 2) การวางงานของประชากรวยั - สภาวะเศรษฐกจิ ตกตํา่ การจาง - สงเสริมการประกอบอาชีพเพอ่ื แรงงาน งานลดลง การมีงานทาํ เพ่ิมรายได เชน การ - ขาดการศึกษาเรียนรหู รือการ ฝกทักษะอาชีพระยะส้นั การ สง เสริมการเรียนรใู หเ กิดอาชีพเพื่อ รวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพ การมงี านทาํ และสรางรายได 3. ผลผลิตการเกษตรตกตํา่ - มโี รคและแมลงรบกวนในพืชไร - สง เสรมิ การเรียนรูการทาํ ตน ทุนสงู ถกู พอคาคนกลางกด และนาขา ว การเกษตรพอเพยี งตามแนว ราคา - มีคา ใชจายจากการใชปยุ และยา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ฆาแมลงในไรนา - สง เสรมิ การทาํ บัญชีครวั เรือนและ - ขาดความรูใ นการบริหารจดั การ การรวมกลมุ เกษตรกร และการรวมกลุม 4. กลุมอาชีพ/ OTOP/ กองทนุ - คณะกรรมการขาดความรูความ - การอบรมใหความรกู ารบริหาร เศรษฐกิจชุมชน/ วสิ หกจิ ชมุ ชนมี เขาใจการบรหิ ารจัดการกลุม จัดการแกคณะกรรมการกลุม ปญหาในการบรหิ ารจดั การ - สมาชิกในกลุมขาดความรูและ อาชีพ/วิสาหกิจชุมชน/กลุมกองทนุ ทกั ษะจึงไมส ามารถพฒั นากลุมให ชมุ ชน เจริญกาวหนา ได - การศึกษาดูงานกลุมอาชีพ/ - พื้นที่ทําการเกษตรมีนอย วสิ าหกจิ ชุมชน/กลุม กองทนุ - รายไดจากอาชีพเกษตรไม เศรษฐกิจที่ประสบความสําเร็จ เพียงพอ - สงเสรมิ สนับสนุนการประกอบ อาชพี เสริมเพ่มิ รายได 5. การใชทรัพยกรธรรมชาติอยาง - ประชาชนยังขาดจิตสาํ นึกในการ - จดั กจิ กรรมใหค วามรแู ละอนุรกั ษ คมุ คา ดแู ลอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอมในชมุ ชน แผนปฏิบตั งิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ียว หนา 20

สภาพปญ หา/ความตองการ สาเหตุของปญ หา แนวทางแกไ ขปญหา 2. ดา นสงั คม 1.ผสู งู อายุไมไ ดร บั การดูแลดาน -ขาดการดแู ลเอาใจใสจากคนใน -สรางความรคู วามเขาใจแกช ุมชน สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ครอบครัว ครอบครัว กลมุ เปา หมาย โดยการ -ขาดความรูความเขาใจในการดูแล จดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ิต หรอื สขุ ภาพตัวเอง พฒั นาสงั คมและชุมชน ไดแก โครงการครอบครัวอบอุน การอบรม ใหความรดู า นการดแู ลสขุ ภาพ ผูสงู อายุ การสอนรําไทเกกเพื่อ สขุ ภาพผูส งู อายุ 2. ผูสงู อายตุ องการพฒั นาอาชีพ -เพ่ือการพฒั นาและอนุรักษภูมิ -สง เสรมิ การพัฒนาอาชพี หรือฝก ดานการจักสาน ปญญาทองถิ่น ทักษะอาชีพแกก ลุมผสู งู อายุตาม -เพอื่ รวมกลุมใชเวลาวา งใหเ กิด ความสนใจ ประโยชนแ ละมรี ายไดเสริม 3.เยาวชน มีบุตรในวัยเรียน และ -ครอบครวั แตกแยก/ขาดความ -สรางความรคู วามเขาใจแกช ุมชน เรยี นไมจบ ตดิ ยาเสพตดิ เหลา อบอนุ ครอบครัว กลมุ เปาหมาย โดยการ การพนนั และเกมคอมพวิ เตอร -การเล้ยี งดูแบบวัตถุนยิ ม จัดกจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวติ หรอื 3. ดา นการศึกษา -สภาพทางเศรษฐกิจของ พัฒนาสงั คมและชุมชน ไดแก 1.จํานวนประชาชนผไู มรหู นงั สือ ครอบครวั ทาํ ใหไมมโี อกาสเรยี น โครงการครอบครัวอบอนุ และลมื หนงั สือ และบางรายเคยเรียนมานานและ -สนบั สนุนเดก็ และเยาวชนทไี่ มจ บ ไมม ีโอกาสไดอา นบอยทําใหลืม การศกึ ษาภาคบงั คับหรอื ออก หนังสอื ได กลางคันเขาเรียนตอ การศึกษาขน้ั พื้นฐานนอกระบบ -กระตุน/สง เสรมิ สนับสนุนและจัด กิจกรรมสง เสรมิ การรูห นังสือและ กิจกรรมสง เสริมการอานตามความ ตองการในพนื้ ท่ี แผนปฏบิ ตั งิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เล้ียว หนา 21

ตารางวเิ คราะหการประเมนิ ผลและปญ หาอุปสรรคการดาํ เนินงานในรอบปท่ผี านมา ตารางวิเคราะหก ารประเมนิ ผลและปญ หาอปุ สรรคการดาํ เนนิ งานในรอบปท ผ่ี า นมา ผลการประเมนิ ปญหาและอุปสรรค แนวทางการพัฒนา 1. การจัดหาหนังสือเรียนลา ชาและสือ่ การสอนไม 1. การจัดหาหนงั สือเรยี นใหทันตอการเรียนการสอน เพยี งพอตอการจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 2. การจดั หาสอ่ื การเรยี นการสอน ใหครอบคลุมทุก รายวชิ า 2. หลักสตู ร กศน. 51 มเี น้ือหาคอนขางหลากหลาย 3. พฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สูตรหลกั สตู ร กศน.51 ยากตอ การเรยี นรูส าํ หรับกลุมเปา หมายที่มวี ยั และพนื้ ใหสอดคลองกับสภาพของกลุมเปา หมายการศึกษา ฐานความรทู ่แี ตกตาง นอกระบบ 3. ครมู ภี ารกิจคอนขางมากตองรบั ผิดชอบผูเรยี นตาง 4. การจัดทาํ ชดุ การเรยี นการสอนในแตละรายวิชาให ระดบั ตา งความรพู ื้นฐาน ผเู รียนบางกลมุ ไมสนใจเรยี น ผเู รียนไดเรยี นรูดว ยตนเองโดยมคี รชู วยเตมิ เต็มเน้ือหา ขาดความรบั ผดิ ชอบ และการมาพบกลุม ของผูเรยี นไม ทผี่ เู รียนไมเ ขาใจ และการจัดทาํ แบบทดสอบให เปน ไปอยางสมํ่าเสมอทําใหไ มสามารถจัดทําแผนการ สอดคลองกบั เน้ือหาในหนงั สือชุดวชิ าท่ีเรียน สอนทมี่ ีคุณภาพใหก บั ผเู รยี นทุกคนไดส ง ผลใหผเู รยี น มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนจากการประเมินตาํ่ และมี จาํ นวนผจู บหลักสูตรนอย 4. การดาํ เนนิ งานจัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ 5. การจดั สรรงบประมาณใหสอดคลอ งกับเปา หมาย ประสบปญหาดา นงบประมาณและวสั ดอุ ุปกรณไม ของการจัดกิจกรรมท่ีกําหนดใหผ ูรับบริการสามารถ เพยี งพอในการฝก ทกั ษะอยางตอ เน่ือง ฝกทักษะอาชพี ไปสูก ารประกอบอาชีพไดจรงิ 5. การดําเนินงานการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต 6. การประสานงานขอสนับสนุนงบประมาณจาก และงานการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชนประสบ หนวยงานสว นทอ งถนิ่ ปญหางบประมาณและวสั ดอุ ุปกรณในการดําเนินงาน ไมเ พียงพอ ไมสอดคลองกับจํานวนกลมุ เปา หมาย ผูรบั บรกิ าร 6. ในชว งปท ี่ผานมา 2564 ประสบปญ หาชวง 7. จัดอบรมใหความรกู ับครใู นการจดั ทาํ หลกั สตู ร โรคติดตอโควดิ 19 ทําใหก ารจัดกจิ กรรมตา งๆ ที่ตอง ออนไลน รวมกลมุ จดั ไดยากตองมีการจัดหลักสูตรออนไลน ครู บางคนยงั ขาดความรูในการจัดกระบวนการเรียนการ สอนออนไลน แผนปฏบิ ตั งิ าน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลย้ี ว หนา 22

สวนที่ 3 ทิศทางการดําเนินงาน ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) วิสัยทศั น “ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง ม่ังคั่ง ยง่ั ยนื เปน ประเทศพัฒนาแลว ดว ยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง”และเปน คตพิ จนประจาํ ชาตวิ า “มั่นคง ม่งั คั่ง ยง่ั ยนื ” เปาหมายหลกั การพัฒนาใหคนไทยมีความสุขและตอบสนองตอการบรรลุซ่ึงผลประโยชนแหงชาติในการท่ีจะพัฒนา คุณภาพชีวิตสรางรายไดระดับสูงเปนประเทศพัฒนาแลว และสรางความสุขของคนไทย สังคมมีความม่ันคง เสมอภาคและเปนธรรม ประเทศสามารถแขงขันไดในระบบเศรษฐกิจ 1. ความมนั่ คง 1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก ประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทง้ั มิติเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอม และการเมือง 1.2 ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ที่เขมแข็ง เปนศูนยกลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความมั่นคงเปนกลไกท่ีนําไปสู การบริหารประเทศที่ตอเน่อื งและโปรง ใสตามหลักธรรมาภบิ าล 1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชน มี ความเขมแขง็ ครอบครวั มีความอบอุน 1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายไดที่ม่ันคงพอเพียงกับการดํารงชีวิต มีที่อยู อาศัยและความปลอดภยั ในชวี ิตทรพั ยส นิ 1.5 ฐานทรัพยากรและสงิ่ แวดลอม มีความมัน่ คงของอาหาร พลงั งาน และนํ้า 2. ความมั่งคงั่ 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอ เนื่อง ยกระดบั เปน ประเทศในกลุมรายไดสูง ความเหลอื่ มลํา้ ของการพฒั นาลดลง ประชากรไดรบั ผลประโยชนจ ากการพฒั นาอยางเทา เทยี มกันมากขนึ้ 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแขงขันสูง สามารถสรางรายไดท้ังภายในและภายนอก ประเทศ สรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหงอนาคต และเปนจุดสําคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาค ทั้งการ คมนาคมขนสง การผลิต การคา การลงทนุ และการทําธุรกิจ มีบทบาทสําคัญในระดับภูมภิ าคและระดับโลก เกิด สายสมั พนั ธทางเศรษฐกิจและการคาอยา งมีพลงั 2.3 ความสมบูรณในทุนที่จะสามารถสรางการพัฒนาคนอยางตอเนื่อง ไดแก ทุนมนุษย ทุนทาง ปญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เปนเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม แผนปฏิบัติงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลีย้ ว หนา 23

3. ความย่ังยืน 3.1 การพัฒนาท่ีสามารถสรางความเจริญ รายได และคุณภาพชีวิตของประชาชนใหเพ่ิมขึ้นอยาง ตอเน่ือง ซ่ึงเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไมใชทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดีไมสรางมลภาวะตอ ส่งิ แวดลอ มจนเกนิ ความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนิเวศน 3.2 การผลิตและการบริโภคเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม และสอดคลองกับกฎระเบียบของประชาคม โลก ซ่ึงเปนที่ยอมรับรวมกัน ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมีคุณภาพดี ขน้ึ คนมคี วามรบั ผิดชอบตอสงั คม มีความเอ้อื อาทร เสียสละเพื่อผลประโยชนสว นรวม 3.3 ประชาชนทกุ ภาคสว นในสงั คมยึดถอื และปฏิบัตติ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พนั ธกิจ 1. ยทุ ธศาสตรดา นความมั่นคง 1.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 1.2 การพัฒนาศกั ยภาพในการปอ งกันประเทศ พรอมรับมอื กับภัยคกุ คามท้ังทางทหาร และภยั คุกคามอ่ืน ๆ 1.3 บูรณาการความรว มมือกบั ตางประเทศทเ่ี อ้ือใหเ กิดความม่ันคง ความมง่ั คั่งทางเศรษฐกจิ ปอ งกันภัยคุกคามขามชาติ และคุณภาพชีวิตของคนในชาติ 1.4 การรักษาความมัน่ คง และผลประโยชนทางทรัพยากรธรรมชาตแิ ละทางทะเล 1.5 การบริหารจดั การความมน่ั คง ใหส อดคลองกับแผนงานพฒั นาอน่ื ๆ เพื่อชวยเหลือประชาชน และรว มพัฒนาประเทศ 2. ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขัน 2.1 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ 2.2 การพัฒนาสังคมผูประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพ่ือสรางผปู ระกอบการทาง ธุรกจิ 2.3 การพฒั นาปจ จยั สนับสนนุ และการพฒั นาโครงสรางพน้ื ฐาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แขง ขนั 2.4 การวางรากฐานทแี่ ขง็ แกรง เพ่ือสนับสนนุ การเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง ขัน 3. ยุทธศาสตรด า นการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 การปรบั เปล่ยี นคา นิยม และวฒั นธรรม (Transformation of Culture) เพ่ือสรางคนไทยทมี่ ี คณุ ภาพ คุณธรรม จรยิ ธรรม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย 3.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชวี ติ 3.3 การปฏริ ูปการเรยี นรูแบบพลกิ โฉม (Transformation of Learning) 3.4 การพฒั นาและรักษากลุม ผูมีความสามารถพิเศษ (Talents) 3.5 การเสรมิ สรา งใหคนไทยมสี ุขภาวะท่ีดี 3.6 การสรางความอยดู ีมีสขุ ของครอบครัวไทย 4. ยุทธศาสตรด า นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 การสรางความมนั่ คงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังความม่นั คงในชวี ิตและทรัพยส นิ ของคน ทุกกลุมในสงั คม 4.2 การสรางโอกาสการเขาถงึ บริการทางสังคมอยางทั่วถึง 4.3 การเสรมิ สรางพลังทางสงั คม 4.4 การสรา งความสมานฉนั ทในสงั คม แผนปฏิบัตงิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเล้ียว หนา 24

5. ยทุ ธศาสตรดานการสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอม 5.1 จัดระบบอนรุ กั ษ ฟน ฟูและปองกันการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบรหิ ารจัดการน้ําอยางบรู ณาการใหม ปี ระสิทธภิ าพใน 25 ลมุ นํา้ ทงั้ ดา นอปุ สงค และอปุ ทาน 5.3 พัฒนาและใชพลงั งานทเี่ ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอมในทุกภาคเศรษฐกจิ 5.4 พฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองที่เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม 5.5 รว มลดปญหาโลกรอนและปรับตัวใหพ รอมรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.6 ใชเครอื่ งมือทางเศรษฐศาสตรแ ละนโยบายการคลังเพอ่ื สงิ่ แวดลอม 6. ยทุ ธศาสตรด า นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 การวางระบบบรหิ ารงานราชการแบบบรู ณาการ 6.2 การยกระดับงานบริการประชาชน และการอํานวยความสะดวกของภาครฐั สคู วามเปนเลศิ 6.3 การปรบั ปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสรางของหนวยงานภาครฐั 6.4 การพฒั นาระบบบริหารจัดการกําลงั คนและพฒั นาบคุ ลากรภาครัฐ ในการปฏิบตั ิราชการและ มคี วามเปน มืออาชพี 6.5 การตอตา นการทุจริตและประพฤติมิชอบ 6.6 การปรับปรุงแกไ ขกฎหมาย ระเบยี บ และขอ บงั คับใหมีความชดั เจน ทันสมัยเปน ธรรม และ สอดคลองกับขอบังคับสากลหรอื ขอตกลงระหวา งประเทศ ยทุ ธศาสตร ประกอบดว ย 6 ยุทธศาสตร ไดแก 1) ยุทธศาสตรด า นความม่ันคง 2) ยุทธศาสตรด านการ สรางความสามารถในการแขง ขัน 3) ยุทธศาสตรด านการพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย 4) ยุทธศาสตรด า นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตรด านการสรางการเติบโต บนคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน มติ รกบั สิง่ แวดลอม และ 6) ยุทธศาสตรด า นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ าร จัดการภาครฐั แผนปฏิบัติงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลย้ี ว หนา 25

แผนการศกึ ษาแหง ชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) วสิ ัยทัศน “คนไทยทุกคนไดร บั การศึกษาและเรียนรูต ลอดชีวติ อยางมีคุณภาพ ดํารงชวี ติ อยางเปนสุข สอดคลอง กบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกสตวรรษท่ี 21” เปาหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ 1. ประชากรทุกคนเขาถึงการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพและมีมาตรฐานอยางทัว่ ถงึ (Access) 2. ผูเรยี นทุกคน ทุกกลุมเปาหมายไดร ับบรกิ ารการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพตามมาตรฐานอยางเทาเทียมกนั (Equity) 3. ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาผเู รียนใหบ รรลขุ ีดความสามารถเตม็ ตามศักยภาพ (Quality) 4. ระบบการบริหารจดั การศึกษาที่มีประสทิ ธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศกึ ษาที่คมุ คาและบรรลุ เปา หมาย (Efficiency) 5. ระบบการศกึ ษาท่ีสนองตอบและกาวทันการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเปนพลวัตและบรบิ ทท่ี เปลีย่ นแปลง (Relevancy) ยุทธศาสตรห ลักท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรช าติ 20 ป (ยุทธศาสตรและเปาหมายตามยทุ ธศาสตร) ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 : การจดั การศึกษาเพื่อความมนั่ คงของสงั คมละประเทศชาติ มีเปาหมาย ดงั นี้ 1.1 คนทุกชว งวยั มคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดมนั่ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ 1.2 คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใตแ ละพ้ืนท่ีพิเศษไดรับ การศกึ ษาและเรยี นรูอ ยา งมคี ุณภาพ 1.3 คนทกุ ชวงวัยไดรบั การศึกษา การดูแลและปองกันจากภยั คุกคามในชวี ิตรปู แบบใหม ยุทธศาสตรท ่ี 2 : การผลิตและพฒั นากําลงั คน การวิจัย และนวตั กรรม เพ่ือสรา งขีดความสามารถใน การแขงขนั ของประเทศ มีเปาหมาย ดังนี้ 2.1. กาํ ลงั คนมีทกั ษะทสี่ าํ คัญจาํ เปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงาน และการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 2.2 สถาบันการศกึ ษาและหนว ยงานทีจ่ ัดการศึกษาผลติ บัณฑิตท่ีมีความเชีย่ วชาญและเปน เลศิ เฉพาะดาน 2.3 การวจิ ัยและพฒั นาเพ่ือสรา งองคความรู และนวตั กรรมทีส่ รางผลผลติ และมลู คา เพิ่มทาง เศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท ี่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชวงวัย และการสรา งสังคมแหงการเรียนรู มีเปาหมาย ดังน้ี 3.1 ผเู รียนมที ักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะท่ี จาํ เปน ในศตวรรษที่ 21 3.2 คนทกุ ชวงวยั มที กั ษะ ความรคู วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษาและ มาตรฐานวชิ าชพี และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตไดตามศักยภาพ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรตู ามหลักสูตร อยา งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน 3.4 แหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเขาถงึ ไดโดยไมจ ํากัดเวลาและสถานที่ แผนปฏิบตั งิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ียว หนา 26

3.5 ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตาม และประเมนิ ผลมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย และบุคลากรทางการศกึ ษา ไดม าตรฐานระดบั สากล 3.7 ครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดรบั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศาสตรท ี่ 4 : การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมทางการศึกษา มเี ปาหมาย ดงั นี้ 4.1 ผูเรยี นทุกคนไดร บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ 4.2 การเพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาผา นเทคโนโลยดี ิจิทัลเพือ่ การศึกษาสําหรบั คนทุกชว งวัย 4.3 ระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตองเปนปจจุบัน เพือ่ การวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 : การจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน มติ รกบั ส่งิ แวดลอม มเี ปา หมาย ดงั นี้ 5.1 คนทุกชวงวัย มีจติ สาํ นึกรักสง่ิ แวดลอ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏบิ ตั ิ 5.2 หลักสตู ร แหลงเรียนรู และสอ่ื การเรียนรูที่สง เสรมิ คุณภาพชวี ติ ที่เปนมิตรกับสงิ่ แวดลอ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาํ แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก ารปฏิบัติ 5.3 การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาองคความรูแ ละนวัตกรรมดานการสรา งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่เี ปนมิตร กับส่ิงแวดลอม ยทุ ธศาสตรท่ี 6 : การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา มีเปาหมาย ดังนี้ 6.1 โครงสราง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษามีความคลองตัวชัดเจน และ สามารถตรวจสอบได 6.2 ระบบบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงผลตอคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 6.3 ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความตองการของ ประชาชนและพ้นื ท่ี 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ี แตกตา งกนั ของผเู รยี น สถานศึกษา และความตอ งการกําลังแรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญกาํ ลงั ใจ และสงเสริมใหปฏบิ ตั งิ านไดอ ยางเตม็ ตามศักยภาพ แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลี้ยว หนา 27

นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปง บประมาณ พ.ศ. 256๕ ดวยกระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสําคัญยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนา และเสริมสราง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย โดยเฉพาะแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ชวงชีวิต การสรางสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพมนุษย การพัฒนาเด็กตั้งแตชวง การตั้งครรภจนถึงปฐมวัย การพัฒนาชวงวัยเรียน/วัยรุน การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึง การสงเสริมศักยภาพวัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรูท่ีตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย และประเด็นอื่นที่เกี่ยวของ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี หลกั การตามนโยบาย ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กระทรวงศึกษาธิการมุงมั่นดําเนินการภารกิจหลักตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหนว ยงานเจาภาพขบั เคล่อื นทกุ แผนยอยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู และ แผนยอยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต รวมท้ังแผนการปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษา และ นโยบายรัฐบาลทั้งในสวนนโยบายหลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ชวงชีวิต และนโยบายเรงดวน เร่ืองการเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 นอกจากน้ี ยังสนับสนุนการขับเคลื่อน แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความม่ันคงแหงชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมท้ัง นโยบายและแผนตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต จะไดรับการ พัฒนาการเรียนรูใหเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ และมีความพรอมรวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความ ม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ดังนั้น ในการเรงรัดการทํางานภาพรวมกระทรวงใหเกิดผลสัมฤทธ์ิเพ่ือสรางความ เชื่อม่ันใหกับสังคม และผลักดันใหการจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพ จึงกําหนดนโยบายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1. ปลดล็อก ปรับเปล่ียน และเปดกวาง ระบบการบริหารจัดการและการพัฒนากําลังคน โดยมุงปฏิรูป องคการเพ่ือหลอมรวมภารกิจและบุคลากร เชน ดานการประชาสัมพันธ ดานการตางประเทศ ดาน เทคโนโลยี ดานกฎหมาย ฯลฯ เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพและความเปน เอกภาพ รวมทัง้ การนําเทคโนโลยี ดจิ ทิ ัลเขามาชว ยในการบริหารงานและการจัดการศกึ ษา 2. ปลดล็อก ปรับเปล่ียน และเปดกวาง ระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู โดยมุงใหครอบคลุมถึงการ จัดการศึกษาเพ่ือคุณวุฒิ และการเรียนรูตลอดชีวิตที่สามารถตอบสนองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 3. ปลดล็อก ปรับเปล่ียน เปดกวาง ท่ีเปนเง่ือนไขตาง ๆ เพ่ือใหบรรลุผลตามนโยบายการศึกษายกกําลัง สอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศึกษาท่ีเขาใจ Supply และตอบโจทย Demand โดยใหทุกหนวยงานพิจารณาวิเคราะหขอมูลรวมกันอยางรอบดาน ครบถวน รวมกัน พิจารณาหาแนวทาง ขัน้ ตอน และวธิ ีการดาํ เนนิ การรวมกันแบบบรู ณาการการทํางานทุกภาคสว น แผนปฏิบตั งิ าน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลยี้ ว หนา 28

จดุ เนนประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 การพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย 1. ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบดวย 7 เรื่องยอย ไดแก (1) Data Center ศูนยขอมูลกลาง (2) Big Data ขอมูลขนาดใหญ (คลังขอมูล การนํ าขอมูลมารวมกัน ) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e-mail และ document (6) ระบบบริหารจัดการ หองเรียน School และ Classroom Management และ (7) โครงสรางพื้นฐาน Infrastructure (Internet) 2. การจัดการองคความรูและยกระดับทักษะที่จําเปน เนนพัฒนาความรูและสมรรถนะดาน Digital Literacy สําหรับผูเรยี นทมี่ ีความแตกตางกันตามระดับและประเภทของการจดั การศึกษา เชน STEM Coding เปนตน 3. การศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทํา พัฒนา 3 ทักษะหลัก ไดแก โลกทัศนอาชีพ การเสริม ทกั ษะใหม (Up Skill) และการเพิ่มทกั ษะใหมท่ีจาํ เปน (Re-Skills) ใหแกกลุม เปาหมาย ประกอบดวย (1) ผูอยูในระบบการศกึ ษา (การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผอู ยนู อกระบบการศึกษา (3) วัยแรงงาน และ (4) ผูสูงอายุ เพ่ือใหมีทักษะและสมรรถนะสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก เทคโนโลยีดิจิทัลและอาชีพท่ีเกิดขึ้นใหม (Digital Disruption) โดยเนนเพิ่มบทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ดา นอาชีวศึกษากับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 4. การตางประเทศ เนนภารกิจที่ตองใชความรวมมือระดับนานาชาติในการจัดหาครูชาวตางชาติใหแก สถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อจัดการศึกษาในสถานศึกษา 2 ดาน หลกั ๆ ไดแก (1) ดา นภาษาตา งประเทศ และ (2) ดา นวชิ าการ โดยเฉพาะอาชีวศึกษา 5. กฎหมายและระเบียบ เนนแผนงาน 2 เร่ือง ท่ีบรรจุอยูในแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ประกอบดวย เรื่องท่ี 1 : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูโดยรวมของประเทศ โดย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับใหมและกฎหมายลําดับรอง มีประเด็นปฏิรูป 5 ประเด็น ไดแก – การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. …. และมีการทบทวน จัดทํา แกไข และ ปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวของ – การสรางความรวมมือระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ินและ เอกชน เพื่อการจัดการศึกษา – การขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาตนเองและการศึกษา เพ่ือการเรยี นรูตลอดชวี ติ เพ่ือรองรับการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชีวติ – การทบทวนและปรบั ปรุง แผนการศึกษาแหงชาติ – การจัดต้ังสํานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหงชาติ เรื่องท่ี 6 การปรับโครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษา ประกอบดว ยประเดน็ ปฏิรูป 3 ประเด็น ไดแก สถานศึกษามีความเปนอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา พื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา การปรับปรุง โครงสรา งของกระทรวงศึกษาธกิ าร 6. ระบบบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของแตละหนวยงานใน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอนในการจัดฝกอบรมใหแตละกลุมเปาหมาย และ ใชประโยชนจากสถาบันพัฒนาท่ีมีอยูแลว เชน สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการ ศึกษา เพ่ือเปนหนวยงานกลางในการจัดฝกอบรมพัฒนาทักษะสมรรถนะใหแกบุคลากรของ กระทรวงศึกษาธิการ (ผูบริหารหนวยงานทุกระดับ ผูบริหารสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ครู อาจารย และบคุ ลากรอน่ื ๆ) รวมทง้ั พฒั นายกระดับใหเปนสถาบันฝกอบรมระดับนานาชาติ แผนปฏบิ ตั งิ าน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ียว หนา 29

7. การประชาสัมพันธ โดยจัดต้ังศูนยประชาสัมพันธของกระทรวงศึกษาธิการ เปนหนวยงานสังกัด สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการผลิตส่ือและจัดทําเน้ือหา (Content) เพื่อเผยแพร ผลงาน กิจกรรมและการเขา รวมงานตา ง ๆ ของทกุ หนว ยงานในภาพรวมของ กระทรวงศกึ ษาธิการ 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัย ดําเนินการขับเคล่ือนนโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาและการ เรียนรสู าํ หรบั เดก็ ปฐมวยั 9. การพฒั นาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการสง เสริมโครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ 10.การรับเรื่องราวรองทุกขท่ีเก่ียวของกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนําเทคโนโลยีมาใชในการบริหาร จัดการ เชน การยกระดับตอบรบั อตั โนมัติเพื่อแกไ ขปญหาเบื้องตน (Call Center ดานกฎหมาย) การ วางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการรับเรื่องราวรองทุกขในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธกิ าร 11.การปฏิรูปองคการและโครงสรา งกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 12.การพัฒนาครู ในสาขาวชิ าตาง ๆ เพอื่ ใหม ีมาตรฐานวิชาชีพทสี่ ูงขึ้น 13.การศึกษายกกําลังสอง โดย – พฒั นาครูทุกระดับใหมีทักษะ ความรูท ่ีจําเปน เพ่ือทําหนาท่ีวิทยากรมือ อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผานศูนยพัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเปน เลิ ศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) – จั ด ก า ร เรี ย น รู ต ล อ ด ชี วิ ต ผ า น เว็บไซต http://www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปดกวางใหภาคเอกชนสามารถเขามาพัฒนา เนื้อหา เพื่อใหผูเรียน ครู และผูบริหารทางการศึกษามีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลาย และ ตลอดเวลาผานแพลตฟอรมดานการศึกษาเพื่อความเปนเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) – ใหผูเรียน ครู ผูบริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผานแผนพัฒนา รายบุคคลสูความเปนเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) – จัดทํา “คูมือ มาตรฐานโรงเรียน” เพ่ือกําหนดใหท ุกโรงเรียนตอ งมพี ืน้ ฐานทจ่ี าํ เปน การสรา งความสามารถในการแขง ขัน • มงุ เนนการศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทาํ ดวยคุณภาพ โดยสรางคา นิยมอาชีวศึกษา และเติม เตม็ ชองวางระหวางทักษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและยกระดบั อาชีวศึกษาทวภิ าคสี ูคณุ ภาพ มาตรฐาน เนนรวมมือกับสถานประกอบการช้ันนํา (Tailor-made Curriculum) ขับเคลื่อนความ รว มมือการจัดการอาชีวศึกษาระหวา งภาครัฐและภาคเอกชนสมู าตรฐานนานาชาติ • มุงเนน Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝกอบรมวิชาชีพระยะส้ัน รวมท้ังผลิตกําลังแรงงาน ทีม่ คี ณุ ภาพตามความเปน เลิศของแตล ะสถานศกึ ษาและตามบริบทของพื้นที่ เพื่อตอบโจทยการพัฒนา ประเทศและสถานประกอบการ • มุงเนนพัฒนาศูนยประสานงานกลางการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษา (TVET Excellence Center) สูมาตรฐานสากล ผลิตอาชีวะพันธุใหม รวมถึงการนํานวัตกรรม Digital เพ่ือมุงสูการ อาชีวศกึ ษาดจิ ทิ ัล (Digital College) • มุงเนนพัฒนาศักยภาพผูเรียนอาชีวศึกษา ใหเปนผูประกอบการ พัฒนาทักษะการเรียนรูผูเรียนเพื่อ การดํารงชีวิตใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคและทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษท่ี 21 (Technical Vocational Education and Training : TVET, Student Skill Set) รวมท้ังใหความรวมมือในการ พัฒนาขีดความสามารถของผูเรยี นผานการฝกประสบการณวิชาชีพในตางประเทศและการแขงขันใน เวทรี ะดับนานาชาติ • มุงเนนการเพิ่มปริมาณผูเรียนในหลักสูตรอาชีวศึกษา สรางภาพลักษณสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อ ดึงดูดใหผ ูทีส่ นใจเขา มาเรียน แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เล้ียว หนา 30

• สนับสนุนใหสถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอยางมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอนดวย เครอ่ื งมือปฏิบัตทิ ี่ทันสมัย การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา • ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 • สงเสริมใหผูเรียนที่ยุติการศึกษา ท้ังกอนและหลังสําเร็จการศึกษาภาคบังคับใหไดรับโอกาสทาง การศึกษาจนสาํ เรจ็ การศึกษาภาคบงั คับ การจดั การศกึ ษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเปนมิตรกับสง่ิ แวดลอ ม • เสริมสรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค ดานสงิ่ แวดลอม รวมทัง้ การปรับตวั รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีจะเกดิ ขึน้ ในอนาคต • สงเสรมิ การพฒั นาส่ิงประดษิ ฐแ ละนวัตกรรมที่เปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม ใหส ามารถเปน อาชีพ และสรา ง รายได การพัฒนาการศึกษาเพ่อื ความมน่ั คง • เฝาระวงั ภยั ทุกรูปแบบที่เกดิ ขน้ึ กบั ผูเ รยี น ครู และสถานศกึ ษา การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ • ปฏิรูปองคก ารเพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล และความเปน เอกภาพของหนวยงาน • ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศตาง ๆ ท่ีเปนอุปสรรคและขอจํากัดในการดําเนินงาน โดยคาํ นงึ ถงึ ประโยชนข องผูเรยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการโดยรวม • ยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของหนว ยงานในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ • พัฒนาระบบฐานขอ มลู ดา นการศึกษา (Big Data) การขบั เคลื่อนนโยบายและจุดเนนสกู ารปฏิบตั ิ 1. ใหสวนราชการ หนว ยงานในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นาํ นโยบายและจุดเนน เปนกรอบแนวทางใน การวางแผนและจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามท่ีรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธกิ ารไดใ หแ นวทางในการบรหิ ารงบประมาณไว 2. ใหมีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเนนสูการปฏิบัติ ระดับพื้นท่ี โดยใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธาน สํานักงานศึกษาธิการภาคและ สํานักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เปนฝายเลขานุการและผูชวยเลขานุการ ตามลําดับ โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทํา รายงานเสนอตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทราบตามลําดับ 3. กรณีมีปญหาในเชิงพื้นที่หรือขอขัดของในการปฏิบัติงาน ใหศึกษา วิเคราะหขอมูลและดําเนินการ แกไขปญหาในระดับพ้ืนท่ีกอน โดยใชภาคีเครือขายในการแกไขขอขัดของ พรอมท้ังรายงานตอ คณะกรรมการติดตามฯ ขางตน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ตามลําดบั แผนปฏิบตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลย้ี ว หนา 31

อน่ึง สําหรับภารกิจของสวนราชการหลักและหนวยงานท่ีปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหนาท่ี (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งไดดําเนินการอยูกอน เมื่อรัฐบาล หรือกระทรวงศกึ ษาธิการมนี โยบายสําคัญเพ่ิมเติมในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 นอกเหนือจากท่ีกาํ หนดหากมี ความสอดคลองกับหลักการนโยบายและจุดเนนขา งตน ใหถอื เปนหนา ที่ของสวนราชการหลักและหนวยงานที่ เกี่ยวของตองเรงรัด กํากับ ติดตาม ตรวจสอบใหการดําเนินการเกิดผลสําเร็จ และมีประสิทธิภาพอยางเปน รปู ธรรมดว ยเชนกนั แผนปฏิบัติงาน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเล้ียว หนา 32

นโยบายและจุดเนน การดาํ เนนิ งานสาํ นกั งาน กศน. ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดกําหนดแผนแมบทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดชวงชีวิต โดยมีแผนยอยที่เก่ียวของกับการใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการขับเคล่ือนไดแก แผนยอย ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู และแผนยอยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ท่ีมุงเนนการสราง สภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพมนุษย การพัฒนาเด็กต้ังแตชวงการต้ังครรภจนถึง ปฐมวัย การพัฒนาชวงวยั เรียน/วัยรุน การพฒั นาและยกระดับศักยภาพวยั แรงาน รวมถึงการสงเสริมศักยภาพ วัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ท่ีตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปญญา ของมนุษยที่หลากหลาย ประกอบกบั แผนการปฏริ ปู ประเทศดา นการศึกษา นโยบายรฐั บาลทง้ั ในสว นนโยบาย หลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดชวงชีวิต และนโยบายเรงดวนเรื่อง การเตรียมคนไทยสูศตวรรษท่ี 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหง ชาตฉิ บบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ วา ดวยความม่นั คงแหงชาติ พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะไดรับ การ พัฒนาการเรียนรูใหเปนคนดี คนเกงมีคุณภาพ และมีความพรอมรวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความ ม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดนโยบายและจุดเนน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ึน เพ่ือเปน เข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนการดําเนินงานใหบรรลุตาม วัตถปุ ระสงคข องแผนตา ง ๆ ดงั กลาว สํานักงาน กศน. เปนหนวยงานท่ีมีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสําคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงม่ันขับเคล่ือนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบาย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคํานึงถึงหลักการบริหารจัดการท้ังในเรื่องหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อํานาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การมุงเนน ผลสัมฤทธ์ิ และปฏิบัติการดานขอมูลขาวสาร การสรางบรรยากาศในการทํางานและการเรียนรู ตลอดจนการ ใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ โดยเนน การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การ จัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนําไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา การ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสําหรับทุกกลุมเปาหมาย และสรางความพึงพอใจ ใหกับ ผูรับริการ โดยไดกําหนดนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “กาวใหม : กาวแหงคุณภาพ” นโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดานการจดั การเรยี นรคู ณุ ภาพ 1.1 นอ มนําพระบรมราโชบายสูก ารปฏบิ ตั ิ รวมท้ังสงเสรมิ และสนับสนุนการดําเนินงาน โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาํ ริทกุ โครงการ และโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศ 1.2 ขับเคลือ่ นการจดั การเรยี นรูท่ีสนองตอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีวาการ และ รฐั มนตรีชว ยวาการกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สงเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความมั่นคง การสรางความเขาใจที่ถูกตอง ในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรยี นรูท่ีปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ ความยดึ มัน่ ในสถาบนั หลักของชาติ รวมถงึ การมีจติ อาสา ผา นกิจกรรมตา งๆ แผนปฏบิ ัติงาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลีย้ ว หนา 33

1.4 ปรับปรงุ หลักสูตรทุกระดบั ทุกประเภทใหสอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคลองกับบริบทท่ีเปล่ียนแปลง ความตอ งการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถงึ ปรับลด ความหลากหลายและความซํ้าซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายบนพ้ืนที่สูง พ้ืนท่พี ิเศษ และพ้นื ที่ชายแดน รวมทัง้ กลุมชาติพนั ธุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผูเรียน สามารถเขาถึงการประเมนิ ผลการเรยี นรูไ ดต ามความตองการ เพื่อการสรางโอกาสในการเรียนรู ใหความสําคัญ กับการเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน การประเมินสมรรถภาพผูใหญ ตลอดจนกระจายอํานาจ ไปยังพ้นื ทีใ่ นการวดั และประเมินผลการเรียนรู 1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร ต้ังแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่ือจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับ กลมุ เปาหมายทสี่ ามารถเรยี นรู ไดส ะดวก และตอบโจทยค วามตองการของผูเ รียน 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของ สํานักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสื่อการเรียนรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังส่ือการเรียนรูที่เปนส่ือท่ีถูกตองตาม กฎหมาย งายตอการสืบคนและนาํ ไปใชใ นการจัดการเรยี นรู 1.8 เรงดําเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต เพอื่ การสรางโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกํากับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง สงเสริมการวิจัยเพื่อเปนฐานในการพัฒนาการดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 2. ดา นการสรางสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 สง เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ติ ทเี่ นนการพฒั นาทักษะท่จี ําเปนสําหรบั แตล ะชวงวยั และ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรทู เี่ หมาะสมกบั แตล ะกลุมเปาหมายและบริบทพื้นท่ี 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันที่เนน New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคลอ งกับบรบิ ท พื้นท่ี ความตองการของกลุมเปาหมาย ความตองการของตลาดแรงงาน และกลุมอาชีพใหมท่ีรองรับ Disruptive Technology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ที่เนน “สงเสริมความรู สรางอาชีพ เพิ่มรายได และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของตลาด ตอยอดภูมิ ปญญาทองถ่ิน เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาสูวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชาสัมพันธและชองทาง การจําหนา ย 2.4 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุเพ่ือใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดาํ รงชีวติ ท่ีเหมาะกับชว งวยั 2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทกั ษะท่ีจําเปนสาํ หรบั กลุมเปา หมายพิเศษ เชน ผูพิการ ออทิ สติก เดก็ เรร อ น และผูดอ ยโอกาสอ่นื ๆ 2.6 สงเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะดานภาษาใหกับบุคลากร กศน. และผูเรียนเพื่อ รองรับ การพัฒนาประเทศ 2.7 สงเสรมิ การสรา งนวตั กรรมของผูเรยี น กศน. แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลีย้ ว หนา 34

2.8 สราง อาสาสมัคร กศน. เพอื่ เปนเครอื ขา ยในการสงเสริม สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิต ในชมุ ชน 2.9 สงเสริมการสรางและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมท้ังรวบรวมและเผยแพรเ พ่ือให หนว ยงาน / สถานศกึ ษา นาํ ไปใชใ นการพฒั นากระบวนการเรียนรรู ว มกนั 3. ดา นองคกร สถานศึกษา และแหลง เรียนรูคุณภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนาท่ีของหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา และพัฒนาตอเนื่องสริ นิ ธร สถานศกึ ษาข้ึนตรงสงั กดั สว นกลาง กลุมสํานักงาน กศน.จังหวัด ศนู ยฝกและพัฒนา ราษฎรไทย บรเิ วณชายแดน เพ่ือเพิม่ ประสิทธภิ าพในการขับเคลอื่ นการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตในพ้ืนท่ี 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาํ บล และศนู ยการเรยี นรูชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟา หลวง” (ศศช.) ใหเ ปนพืน้ ท่ีการเรียนรตู ลอดชีวติ ทีส่ ําคัญของชมุ ชน 3.3 ปรบั รูปแบบกิจกรรมในหองสมดุ ประชาชน ที่เนน Library Delivery เพ่อื เพม่ิ อัตราการอา น และการรหู นังสือของประชาชน 3.4 ใหบ รกิ ารวิทยาศาสตรเ ชิงรุก Science@home โดยใชเ ทคโนโลยเี ปนเคร่อื งมือนําวทิ ยาศาสตร สู ชวี ติ ประจําวนั ในทกุ ครอบครัว 3.5 สง เสรมิ และสนบั สนุนการสรางพื้นทก่ี ารเรยี นรู ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- Leaming Space เพื่อการสรางนิเวศการเรยี นรใู หเ กดิ ขนึ้ สังคม 3.6 ยกระดบั และพัฒนาศูนยฝกอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน ใหเปนสถาบันพฒั นาอาชพี ระดับ ภาค 3.7 สง เสรมิ และสนับสนนุ การดําเนินงานของกลมุ กศน. จังหวัดใหมีประสิทธภิ าพ 4. ดานการบริหารจัดการคณุ ภาพ 4.1 ขบั เคลอื่ นกฎหมายวา ดวยการสงเสริมการเรยี นรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกจิ บทบาท โครงสรางของหนวยงานเพ่ือรองรบั การเปล่ยี นแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรงุ กฎหมาย ระเบียบ คําสัง่ และขอบังคับตาง ๆ ใหม ีความทนั สมยั เอ้อื ตอการบรหิ าร จดั การ และการจัดการเรยี นรู เชน การปรับหลักเกณฑคา ใชจ า ยในการจดั หลกั สูตรการศึกษาตอเนอ่ื ง 4.3 ปรับปรุงแผนอตั รากาํ ลงั รวมทั้งกาํ หนดแนวทางท่ชี ัดเจนในการนาํ คนเขา สตู าํ แหนง การยา ย โอน และการเลื่อนระดบั 4.4 สงเสริมการพฒั นาบุคลากรทุกระดบั ใหม ีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกบั สาย งาน และทักษะทจี่ ําเปน ในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู 4.5 ปรบั ปรงุ ระบบการจดั สรรทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาใหมีความครอบคลมุ เหมาะสม เชน การปรบั คา ใชจา ยในการจัดการศึกษาของผูพกิ าร เด็กปฐมวยั 4.6 ปรับปรุงระบบฐานขอมลู สารสนเทศดา นการศกึ ษาเพื่อการบรหิ ารจดั การอยางเปนระบบ เชน ขอมูล การรายงานผลการดําเนนิ งาน ขอ มูลเด็กตกหลนจากการศึกษาในระบบ เด็กเรร อ น ผพู ิการ 4.7 สงเสรมิ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปน เคร่ืองมือในการบริหารจัดการอยา งเต็มรปู แบบ 4.8 สงเสรมิ พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั สูระบบราชการ 4.0 และการประเมินคณุ ภาพ และความโปรง ใสการดําเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.9 เสรมิ สรางขวัญและกําลงั ใจใหก บั ขาราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรปู แบบตา ง ๆ เชน ประกาศ เกียรตคิ ุณ การมอบโล / วุฒบิ ัตร 4.10 สง เสรมิ การมีสว นรว มของภาคเี ครอื ขายทุกภาคสวน เพื่อสรางความพรอมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการสง เสรมิ การเรียนรูต ลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลี้ยว หนา 35

ภารกจิ ตอ เน่อื ง 1. ดานการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยดําเนินการใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และ คาจัดการเรียนการสอนอยางท่ัวถึงและเพียงพอ เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ โดยไมเ สยี คาใชจ าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอ ย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบช้ันเรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ท้ังดานหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรยี น และระบบการใหบรกิ ารนักศกึ ษาในรูปแบบอนื่ ๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ท่ีมีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความตองการของ กลุมเปาหมายไดอยางมีประสทิ ธิภาพ 5) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีมีคุณภาพท่ีผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติ กิจกรรมเพื่อเปนสวนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการ ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครองใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรม จิตอาสา และการจดั ตั้งชมรม/ชมุ นุม พรอ มท้งั เปด โอกาสใหผ ูเรียนนํากิจกรรมการบาํ เพ็ญประโยชนอน่ื ๆ นอก หลกั สตู ร มาใชเพ่มิ ช่ัวโมงกจิ กรรมใหผเู รยี นจบตามหลกั สูตรได 1.2 การสง เสรมิ การรหู นังสอื 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบ เดยี วกนั ทั้งสว นกลางและสวนภมู ภิ าค 2) พฒั นาหลักสตู ร สื่อ แบบเรียน เครอ่ื งมือวดั ผลและเครือ่ งมอื การดาํ เนนิ งานการสง เสรมิ การรูหนงั สอื ทสี่ อดคลอ งกับสภาพแตละกลุม เปาหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะ การจัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรู หนังสือในพ้ืนทีท่ มี่ คี วามตอ งการจําเปนเปน พิเศษ 4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอด ชีวิตของประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอเนอื่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางย่ังยืน โดยใหความสําคัญกับการจดั การศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการ รวมถึงการเนนอาชีพชางพื้นฐาน ท่ีสอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพ ของแตละพื้นที่ มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการ แผนปฏิบัตงิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลย้ี ว หนา 36

พัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีหนึ่งอาชีพเดน รวมทั้งใหมี การกํากบั ติดตาม และรายงานผลการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทําอยา งเปนระบบและตอเนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุที่ สอดคลองกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคมได อยางมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และ เตรียมพรอ มสําหรับการปรับตัวใหทันตอ การเปลี่ยนแปลงของขา วสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต โดย จัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสําคัญตางๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ คานิยมที่พึงประสงค ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการศึกษารูปแบบตา ง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตงั้ ชมรม/ชุมนุม การสง เสริมความสามารถพิเศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรูแบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู การจัดกิจกรรมจิต อาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละ พนื้ ท่ี เคารพความคิดของผอู ่ืน ยอมรับความแตกตา งและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิต สาธารณะ การสรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอหนาท่ีความเปน พลเมืองดี การสงเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม การบําเพ็ญประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการน้ํา การรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรักษพลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการพัฒนา สงั คมและชุมชนอยา งยั่งยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอด ชีวิตในรูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการ บริหารจัดการความเสยี่ งอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสูความสมดุลและย่ังยืน 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการอานและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดข้ึนในสังคมไทย ใหเกิดข้ึนอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทกุ แหง ใหมีการบริการทท่ี ันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครอื ขายสงเสริม การอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูท่ีหลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพ้ืนที่ตาง ๆ อยางท่ัวถึง สมํ่าเสมอ รวมทั้งเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อปุ กรณเ พ่ือสนบั สนนุ การอา นและการจัดกิจกรรมเพ่ือสง เสรมิ การอานอยางหลากหลาย 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอด ชีวิตของประชาชน เปนแหลงสรางนวัตกรฐานวิทยาศาสตร และเปนแหลง ทองเทยี่ วเชิงศิลปะวิทยาการประจํา ทองถ่ิน โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการ ส่ือและกิจกรรมการศึกษาท่ีเนนการเสริมสรางความรู และสรางแรง บันดาลใจดานวิทยาศาสตร สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค และปลูกฝงเจตคติทาง วิทยาศาสตร ผานการกระบวนการเรียนรูท่ีบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร รวมท้ังสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของของ ชมุ ชน และประเทศ รวมท้ังระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อใหประชาชนมคี วามรูและความสามารถนําความรู และทักษะไปประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนินชีวิต การพฒั นาอาชีพ การรักษาสง่ิ แวดลอม การบรรเทาและปองกันภัย แผนปฏิบัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลีย้ ว หนา 37

พิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ เปนไปอยา งรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Change) ไดอยา งมปี ระสอทธิภาพ 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ท่ีมีแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ เพื่อ สงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบท่ี หลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พิพธิ ภณั ฑ ศนู ยเรียนรู แหลง โบราณคดี หองสมดุ เปนตน แผนปฏบิ ัติงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลีย้ ว หนา 38

2. ดา นหลกั สูตร ส่อื รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผล งานบรกิ ารทาง วิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เพ่ือสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมทง้ั หลักสตู รทองถ่ินทสี่ อดคลองกับ สภาพบรบิ ทของพน้ื ที่ และความตองการของกลมุ เปาหมายและชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออ่ืน ๆ ที่เอ้ือตอการเรียนรู ของผเู รยี นกลมุ เปาหมายท่วั ไปและกลุม เปา หมายพิเศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย ดวยระบบหองเรียนและการ ควบคุมการสอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณ ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมี ประสิทธภิ าพ รวมทง้ั มกี ารประชาสมั พนั ธใ หสาธารณชนไดร บั รูแ ละสามารถเขา ถึงระบบการประเมินได 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam) มาใชอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งใหมีการนําไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับ บรบิ ทอยา งตอ เนอื่ ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน เพื่อพรอมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมิน ภายในดวยตนเอง และจัดใหมีระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยัง ไมไดเขารับการประเมินคุณภาพภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่ี กาํ หนด แผนปฏิบตั งิ าน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเล้ยี ว หนา 39

3. ดานเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพ่ือใหเช่ือมโยงและ ตอบสนองตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจาย โอกาสทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตางๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรูเทาทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพื่อ การมีงานทํา รายการติวเขมเติมเต็มความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอรเ น็ต 3 .2 พั ฒ น าการเผยแพ รการจัดการศึกษ าน อกระบ บและการศึกษ าตามอัธยาศัย โดยผานระบบเทคโนโลยีดิจิทลั และชองทางออนไลนตาง ๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพ่ือสงเสริมให ครู กศน. นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการสรางกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูท่ีมีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยายเครอื ขายการรับฟง ใหสามารถรับฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีทั่วประเทศ และเพิ่มชองทางให สามารถรับชมรายการโทรทัศนไดท้ังระบบ Ku - Band , C – Band Digital TV และทางอนิ เทอรเน็ต พรอมท่ี จะรองรับการพฒั นาเปน สถานีวิทยโุ ทรทัศนเ พอื่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือใหไดหลายชองทางทั้งทาง อนิ เทอรเน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพทเคลื่อนท่ี และ Tablet, รวมทั้งส่ือ Offline ใน รูปแบบตาง ๆ เพ่ือใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพ่ือเขาถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูได ตามความตองการ 3.5 สาํ รวจ วิจัย ตดิ ตามประเมินผลดานการใชส่ือเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาอยา งตอเนือ่ ง เพือ่ นํา ผลมาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ของประชาชนไดอ ยางแทจริง แผนปฏบิ ตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเล้ียว หนา 40

4. ดา นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรอื โครงการอนั เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนนุ การดาํ เนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอัน เก่ยี วเน่อื งจากราชวงศ 4.2 จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ เพ่ือนําไปใชใ นการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การพฒั นางานไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.3 สง เสรมิ การสรา งเครือขายการดาํ เนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ เพ่อื ใหเ กิดความเขมแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” เพ่ือใหมีความพรอมในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนาทีท่ กี่ าํ หนดไวอ ยา งมีประสิทธภิ าพ 4.5 จัดและสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิน่ ทรุ กันดาร และพืน้ ทช่ี ายขอบ แผนปฏิบตั ิงาน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลี้ยว หนา 41

5. ดานการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต พื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่บริเวณ ชายแดน 5.1 พฒั นาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกจิ กรรมสง เสริมการศกึ ษาและการเรียนรูทต่ี อบสนองปญหาและ ความตอ งการของกลุมเปาหมาย รวมท้งั อตั ลักษณและความเปนพหวุ ฒั นธรรมของพื้นท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางเขมขนและตอเนื่อง เพื่อใหผเู รยี นสามารถนําความรูทีไ่ ดร บั ไปใชประโยชนไดจรงิ 3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากรและ นักศึกษา กศน. ตลอดจนผมู าใชบริการอยางท่ัวถึง 5.2 พฒั นาการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความรวมมอื กับหนวยงานที่เกยี่ วของในการจัดทําแผนการศึกษาตามยทุ ธศาสตรและ บรบิ ทของแตละจงั หวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี โดยเนนสาขาที่เปนความตองการของตลาด ให เกิดการพฒั นาอาชพี ไดตรงตามความตองการของพ้ืนท่ี 5.3 จัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคง ของศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนยฝกและสาธิต การประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตนแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง สาํ หรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ดวยวธิ กี ารเรยี นรูที่หลากหลาย 2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใชวิธีการหลากหลาย ใชรูปแบบเชิงรุก เพ่ือการ เขาถึงกลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนํา ดานอาชีพ ที่เนนเร่ืองเกษตรธรรมชาติท่ีสอดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนว ชายแดน แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกา เลีย้ ว หนา 42

6. ดานบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีสว นรวมของทุกภาคสว น 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ทั้งกอน และระหวางการดํารงตําแหนงเพ่ือใหมีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการ การดําเนินงานของหนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกัด พฒั นาตนเองเพอ่ื เล่อื นตาํ แหนง หรือเลื่อนวทิ ยฐานะ โดยเนนการประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จําเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพื่อรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ในสถานศกึ ษา 2) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/ แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผู อํานวยความสะดวกในการเรยี นรูเ พอื่ ใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรูท มี่ ปี ระสิทธภิ าพอยางแทจ รงิ 4) พฒั นาครู กศน. และบคุ ลากรทเี่ ก่ียวของกบั การจดั การศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรู ไดอยางมีคุณภาพ โดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมนิ ผล และการวิจยั เบอ้ื งตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมีความเปน มืออาชพี ในการจัดบริการสงเสริมการเรียนรตู ลอดชีวิตของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมใน การบรหิ ารการดําเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยางมปี ระสิทธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขา ยทั้งในและ ตางประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน รวมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอยางตอเนื่อง อาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสทิ ธิภาพในการทํางาน 6.2 การพัฒนาโครงสรา งพืน้ ฐานและอัตรากําลงั 1) จดั ทาํ แผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรงุ สถานที่ และวัสดุอุปกรณ ใหมี ความพรอมในการจดั การศึกษาและการเรียนรู 2) บริหารอัตรากําลังท่ีมีอยู ท้ังในสวนท่ีเปนขาราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ใหเกิด ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการปฏิบตั งิ าน 3) แสวงหาความรว มมือจากภาคเี ครือขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนํามาใชในการ ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั และการสงเสรมิ การเรยี นรูสาํ หรบั ประชาชน 6.3 การพฒั นาระบบบริหารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหม ีความครบถว น ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกนั ท่ัวประเทศอยาง เปนระบบเพ่ือใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อยา งมปี ระสิทธภิ าพ แผนปฏิบัติงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลย้ี ว หนา 43

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และ เรง รดั การเบกิ จา ยงบประมาณใหเปนตามเปาหมายท่ีกาํ หนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และ เช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษา ใหก ับผเู รยี นและการบริหารจดั การอยางมีประสิทธิภาพ 4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพอ่ื สามารถนํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาํ เนินงานท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชนและ ชุมชนพรอ มทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชงิ การแขงขันของหนว ยงานและสถานศึกษา 5) สรางความรวมมอื ของทุกภาคสวนทง้ั ในประเทศและตา งประเทศ ในการพัฒนาและสงเสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรียนรูตลอดชวี ิต 6) สงเสริมการใชร ะบบสํานกั งานอิเล็กทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหอ งประชุม เปน ตน 6.4 การกาํ กับ นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหเชือ่ มโยงกับหนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครือขายทงั้ ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ รายงานผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตละเร่ือง ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่นๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกํากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปของหนวยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป ของสาํ นักงาน กศน.ใหดาํ เนนิ ไปอยางมปี ระสิทธิภาพ เปน ไปตามเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาที่กาํ หนด 5) ใหมกี ารเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคก ร ตง้ั แต สว นกลาง ภูมภิ าค กลุม จงั หวดั จงั หวัด อาํ เภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่อื ความเปนเอกภาพในการใชขอ มูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย แผนปฏิบตั ิงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตาํ บลเกาเลยี้ ว หนา 44

ทิศทางการดําเนนิ งานของสํานักงาน กศน.จังหวัดนครสวรรค วสิ ยั ทศั น “คนไทยไดรับโอกาสการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชวี ิตอยางมคี ุณภาพ สามารถดาํ รงชวี ิตทเี่ หมาะสม กับชว งวัย สอดคลองกบั ปลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะทจ่ี าํ เปน ในโลกศตวรรษที่ 21” พันธกิจ 1. จัดและสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มคี ุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พฒั นาทกั ษะการเรยี นรขู องประชาชนทุกกลุม เปา หมายใหเ หมาะสมทุกชว งวัย พรอ มรบั การเปลีย่ นแปลง บริบททางสงั คม และสรางสังคมแหงการเรียนรตู ลอดชวี ติ 2. สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขาย ในการมีสวนรวมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลงการ เรยี นรอู ื่นในรปู แบบตา งๆ 3. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใหเ กิดประสิทธภิ าพ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก บั ประชาชนอยางท่ัวถึง 4. พัฒนาหลักสตู ร รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู สอื่ และนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผล ในทกุ รปู แบบใหส อดคลอ งกับบริบทในปจจบุ นั 5. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบริหารจดั การใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื มุงจดั การศึกษาและการเรียนรู ที่มคี ุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เปาประสงค 1. ประชาชนผดู อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้งั ประชาชนท่วั ไปไดรบั โอกาส ทางการศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน การศกึ ษาตอเนื่อง และการศกึ ษา ตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพอยางเทา เทยี มและทัว่ ถึง เปนไปตามสภาพ ปญ หา และความตองการของแตละ กลมุ เปา หมาย 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศึกษา สรางเสรมิ และปลกู ฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน พลเมอื ง อนั นําไปสกู ารยกระดบั คุณภาพชวี ติ และเสรมิ สรา งความเขมแขง็ ใหชุมชน เพอ่ื พัฒนาไปสูค วามมนั่ คง และยง่ั ยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร และส่ิงแวดลอม 3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรู และมีเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม สามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใชใ นชีวติ ประจําวนั รวมทั้งแกปญ หาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอ ยา ง สรา งสรรค 4. ประชาชนไดร บั การสรางและสง เสริมใหมนี สิ ัยรกั การอานเพื่อการแสวงหาความรดู ว ยตนเอง 5. ชุมชนและภาคเี ครอื ขา ยทุกภาคสวน รวมจดั สงเสริม และสนบั สนนุ การดําเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรูข องชมุ ชน 6. สถานศกึ ษานําเทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยีดจิ ิทัล มาใชในการยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรยี นรูและเพิ่มโอกาสการเรยี นรใู หกบั ประชาชน 7. สถานศกึ ษาพฒั นาสือ่ และการจัดกระบวนการเรยี นรู เพ่ือแกป ญหาและพัฒนา คุณภาพชวี ิต ทต่ี อบสนองกับการเปล่ียนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และสิ่งแวดลอม รวมท้งั ตามความตอ งการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย 8. หนวยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจดั การที่เปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร ับการพฒั นาเพ่ือเพิม่ สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ าน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยางมีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติงาน ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกา เลยี้ ว หนา 45

ตวั ชวี้ ดั ตัวชว้ี ัดเชิงปริมาณ 1. จํานวน 15,000 คน ของผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ไดรับการ สนับสนุนคาใชจายตามสทิ ธิที่กําหนดไว 2. จํานวน 11,260 คน ของประชาชนกลุมเปา หมาย ทีเ่ ขารว มกิจกรรมการเรยี นรู ไดรับบรกิ าร กิจกรรมการศึกษาตอเนื่องและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ีสอดคลองกับสภาพ ปญหา และความตอ งการ 3. จาํ นวน 5,200 คน ของผูรับบรกิ ารในพื้นที่เปาหมาย ไดร ับการสงเสรมิ ดานการรหู นังสือและการ พัฒนาทักษะชีวติ 4. จาํ นวน 4,045 คน ของผูผานการอบรมตามหลกั สตู รท่ีกําหนดของกิจกรรมสรา งเครือขา ยดจิ ิทัล ชมุ ชนระดับตาํ บล 5. จํานวน 1,350 คน ของประชาชนที่เขารบั การอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สาร ดา นอาชพี (ระยะสั้น) สาํ หรบั ประชาชน 6. จาํ นวน 1,300 คน ของประชาชนทเี่ ขา รบั การอบรมใหมคี วามรูในอาชพี การเกษตรท่ีเหมาะสมกับ สภาพบรบิ ทและความตองการของพื้นท่ี/ชมุ ชน 7. จํานวน 15,000 คน ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปท่ีเขา ถงึ บริการการศึกษาตาม อัธยาศัย 8. จํานวน 15,000 คน ของนกั ศึกษาที่ไดรับบริการตวิ เขมเตม็ ความรู 9. รอ ยละ 100 ของสถานศึกษาท่ีมรี ะบบประกันคณุ ภาพภายในและมีการจดั ทาํ รายงานการประเมนิ ตนเอง 10. รอ ยละ 100 ของหนว ยงานและสถานศึกษาทม่ี ีการใชระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลในการจัดทํา ฐานขอมูลชุมชนและการบรหิ ารจดั การ เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 11. จํานวน 80 คน ของบคุ ลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดร บั การพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะ ในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 12. จาํ นวน 5 ขององคก รภาคสวนตาง ๆ ท่รี ว มเปน ภาคีเครอื ขา ยในการดาํ เนนิ งานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั ช้วี ดั เชิงคณุ ภาพ 1. รอ ยละ 80 ของวยั แรงงานท่สี ําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตนหรอื เทียบเทา ไดร ับการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 2. รอยละ 80 ของคะแนนเฉล่ียที่เพิ่มขึ้นจากผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศกึ ษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) 3. รอ ยละ 80 ของนกั เรียน/นกั ศกึ ษาที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าทไ่ี ดร บั บรกิ ารติวเขม เต็ม ความรูเ พ่มิ สงู ข้ึน 4. รอ ยละ 80 ของผูเขารว มกิจกรรมที่สามารถอา นออกเขียนไดและคิดเลขเปน ตามจุดมุงหมาย ของกจิ กรรม 5. รอ ยละ 80 ผูจบหลกั สูตร/กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบทีส่ ามารถนําความรคู วามเขาใจไปใชได ตามจดุ มุงหมายของหลกั สตู ร/กิจกรรมท่ีกาํ หนด 6. รอ ยละ 80 ของประชาชนกลุมเปาหมายท่ลี งทะเบยี นเขารวมกิจกรรม มีรายไดเ พ่ิมข้ึนจากการ พฒั นาอาชีพตามโครงการศนู ยฝก อาชพี ชุมชน แผนปฏิบตั งิ าน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตําบลเกาเลยี้ ว หนา 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook