Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

Description: สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

Search

Read the Text Version

“...ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ. แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือย แต่ถ้าทำให้มีความสุข ถ้าทำได้ก็สมควรที่จะทำ สมควรที่จะปฏิบัติ. อันนี้ก็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกิจ หรือระบบพอเพียง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย. ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข... พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น. ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

๓ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำสคู่ วามสขุ อยา่ งย่ังยนื

ส่วนที่ ๓ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นำสู่ความสขุ อยา่ งยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ทรงมีพระวสิ ยั ทัศน์กวา้ งไกล โดยทรงมองเห็นอันตรายท่จี ะเกิดขน้ึ กับสงั คมไทยในอนาคต อนั เนือ่ งมาจากการพัฒนาทีข่ าดความสมดุล ทีเ่ นน้ การสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ และความเจริญทางวตั ถุ โดยการนำทรัพยากรธรรมชาติทีม่ อี ยมู่ าใช้ แต่สดุ ทา้ ยความเจรญิ ส่วนใหญย่ ังไมส่ ามารถกระจายไปส่คู นในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสงั คมไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง ในพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เม่ือวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว จึงได้พระราชทานพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศทนี่ ำสู่ ความสขุ อย่างย่ังยนื เพ่อื ใหป้ ระชาชนชาวไทยตระหนกั ถงึ ปัญหาท่กี ำลังเกดิ ขน้ึ วา่ การพฒั นาประเทศน้นั จำเป็นตอ้ งทำตามลำดบั ข้นั และตอ้ งสรา้ งพน้ื ฐานความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญก่ อ่ น จากนนั้ ทรงมพี ระราชดำรัสเกีย่ วกับความพอเพียงอยา่ งต่อเนอื่ งแต่ผคู้ นส่วนใหญ่ยังคงหลงอยกู่ ับ ความเจริญทางวตั ถุ ทำให้มิได้นำมาไตร่ตรองและปฏิบัติเทา่ ทีค่ วร จนกระท่ังเกดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ ในปี ๒๕๔๐ สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคม แห่งชาติ (สศช.) ได้ตระหนักถึงความสำคญั ของพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสดงั กล่าว จงึ ไดเ้ ชิญ ผทู้ รงคุณวุฒจิ ากสาขาต่างๆ มาร่วมกันกลัน่ กรองพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสทีเ่ กี่ยวข้องกับ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สรปุ เปน็ นยิ ามความหมาย “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และทลู เกล้าฯ ถวาย เพอื่ ทรงมพี ระบรมราชวนิ จิ ฉัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงพระกรุณาปรับปรงุ แกไ้ ขและ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้ สศช. นำไปเผยแพร่เพื่อเปน็ แนวทางปฏิบตั ิของทกุ ฝ่าย ทีเ่ กี่ยวข้องและประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทัง้ ใน การพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง เพือ่ ให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ซึง่ นบั แต่นัน้ มา สศช. ได้อญั เชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” มาเป็นปรัชญานำทาง ในการกำหนดยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙) จนถงึ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ในปัจจุบัน ภายในสว่ นนีจ้ ึงนำเสนอองค์ประกอบของความพอเพียงและตัวอย่างของประชาชนกลุม่ ต่างๆ ทีน่ ้อมนำไปปฏิบัตแิ ละเกิดประโยชน์สุขอย่างเหน็ เปน็ รูปธรรม ได้แก่

๑. ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีระบบภูมิคุม้ กันในตวั ที่ดี ประกอบด้วย “พอเพยี ง พออยู่พอกิน” รู้จัก “พึง่ ตนเอง” เน้นความคุ้มค่า “ประหยัด เรียบงา่ ย ได้ประโยชนส์ ูงสุด” มีการ “ศกึ ษาข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบ” รวมทง้ั เน้นการ “แกป้ ญั หาจากจุดเล็ก” ๒. ใชห้ ลกั วชิ าความรู้ มคี ณุ ธรรม ดำเนินชีวิตดว้ ยความเพยี ร ประกอบดว้ ยการใช้ “หลกั วชิ า อันถกู ตอ้ ง” มีความ “ซื่อสตั ย์ สจุ รติ จริงใจตอ่ กัน” ตลอดจน “มคี วามเพียรดังพระมหาชนก” ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นแนวทางการพัฒนาทีค่ รอบคลุมทกุ มติ ิการพัฒนาบนวิถี แห่งความมั่นคงย่งั ยืน และเอื้อประโยชนส์ ุขแกป่ วงชนชาวไทยอย่างแทจ้ ริง จนนานาประเทศต่างยกยอ่ ง และนอ้ มนำมาส่งเสริมให้เกิดการปฏิบตั ติ ามแนวพระราชดำรขิ องพระองคอ์ ยา่ งกว้างขวาง ตัวอย่างของผทู้ ีน่ ้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิต่างได้พบกับความสขุ ในชีวิต อยา่ งยัง่ ยนื หากประชาชนชาวไทยพร้อมใจกันนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับ ตนเอง จนถงึ ระดบั ประเทศ บนพืน้ ฐานของการ รู้ รกั สามัคคี จะทำใหป้ ระเทศไทย มีความก้าวหน้า อยา่ งสมดุล มัน่ คง ย่ังยนื พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงทจ่ี ะเกดิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็ว และกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สงิ่ แวดล้อม วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี นำมาซึ่งความสุขของคนในสังคมไทย อยา่ งย่ังยนื ตลอดไป

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็นปรชั ญาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวทรงชี้แนะแนวทางการดำเนนิ ชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด เพือ่ ให้สามารถดำรงอยูไ่ ด้อย่างมนั่ คงและยงั่ ยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์และความเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้เชิญผูท้ รงคุณวุฒิ จากหลายสาขาวิชามาร่วมกันประมวลและกลัน่ กรองพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว เรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง และได้กราบบงั คมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินจิ ฉยั บทความ เรื่อง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตนำบทความดังกล่าว ไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบตั ิของ สศช. และทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทัว่ ไป สำนกั ราชเลขาธิการได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝา่ ละอองธุลีพระบาทแลว้ และ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงพระกรณุ าปรบั ปรงุ แกไ้ ขพระราชทาน และทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตตามท่ขี อพระมหากรุณา เม่ือวนั ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ให้ สศช. นำไปเผยแพร่เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั ขิ องทกุ ฝา่ ยทเี่ ก่ียวข้องและประชาชนทว่ั ไป ดงั น้ี 198

เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชน ในทกุ ระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทงั้ ในการพัฒนาและ บรหิ ารประเทศใหด้ ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นทจี่ ะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดพี อสมควรต่อการมผี ลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทัง้ นี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวงั อย่างยง่ิ ในการนำวิชาการตา่ งๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนนิ การทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของ คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึก ในคุณธรรม ความซ่อื สตั ย์สจุ รติ และใหม้ คี วามรอบรทู้ ่เี หมาะสม ดำเนินชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปญั ญาและความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวางท้งั ดา้ นวตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดล้อม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี สศช. ได้อัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น ปรัชญานำทางในการพัฒนาและบริหารประเทศในการจัดทำแผน พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙) ซึ่งนบั เป็นการเผยแพร่ปรัชญาฯ สู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ทั้งนหี้ าก พิจารณานยิ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทีข่ ้างต้น จะพบว่า การพัฒนาประเทศตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงนนั้ คือการพัฒนา ที่ตัง้ อยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดย คำนงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลการมีภูมิคุม้ กันในตัว ที่ดี ตลอดจนใช้หลักวิชาความรู้ มีคุณธรรม ดำเนนิ ชีวิตด้วย ความเพียร อย่างรอบคอบ ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และในการกระทำ ทำงานอย่างมีความสุข รู้ รัก สามัคคี ก็จะ นำไปสูค่ วามก้าวหนา้ อย่างสมดุล มัน่ คง ยั่งยืน พร้อมรับต่อ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวางท้งั ดา้ นวตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็นอย่างดี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงเน้นย้ำว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมัน่ คงของแผน่ ดิน ดังพระราชดำรสั จากวารสารชยั พัฒนา ฉบับประจำเดอื นสงิ หาคม ๒๕๔๒ ความตอนหน่งึ ว่า 199

“...เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เสมอื นรากฐานของชวี ติ รากฐานความมน่ั คงของแผน่ ดนิ เปรยี บเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรบั บ้านเรอื นตัวอาคารไดน้ นั่ เอง สิ่งก่อสรา้ งจะ มน่ั คงไดก้ อ็ ยทู่ เ่ี สาเขม็ แตค่ นสว่ นมากมองไมเ่ หน็ เสาเขม็ และลมื เสาเขม็ เสยี ดว้ ยซำ้ ไป...” ๑. พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ที่ดี เศรษฐกิจพอเพียง หรือความพอเพียงนนั้ ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบ ซึง่ ดำเนินไปพร้อมๆ กนั ได้แก่ “ความพอประมาณ” หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็นและเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ วัฒนธรรมในแต่ละทอ้ งถิน่ ไมม่ ากเกินไป ไมน่ อ้ ยเกินไป ต้องไม่เบยี ดเบียน ตนเองและผูอ้ ืน่ และเป็นการบริหารทรัพยากรให้เกิดการใช้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพทสี่ ดุ ซึง่ เมอื่ พิจารณา จากสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทย จะพบว่า ความพอประมาณนนั้ นบั เปน็ แนวปฏิบตั ิทมี่ มี ายาวนาน แล้ว สังเกตไดจ้ ากการดำเนนิ ชวี ติ ของคนไทยท่เี รยี บงา่ ย “พออยู่ พอกนิ ” “พง่ึ ตนเอง” “ประหยัด เรยี บงา่ ย และได้ประโยชนส์ ูงสุด” “ความมเี หตผุ ล” หมายถึง การตัดสินใจเก่ยี วกบั ระดบั ของความพอเพยี ง และการดำเนนิ การอยา่ งพอเพยี ง นน้ั ตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ลตามหลกั วชิ าการหลกั กฎหมาย หลกั คุณธรรม และวัฒนธรรมทดี่ ีงามโดยคำนงึ ถึงปจั จัย ทเี่ กีย่ วข้อง ตลอดจนคำนึงผลทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จาก การกระทำน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ ถว้ นถ่ี “รจู้ ดุ ออ่ น จดุ แขง็ โอกาส อปุ สรรค” และคาดการณผ์ ลทจี่ ะเกิดขึน้ อยา่ ง รอบคอบ “รู้เขา รเู้ รา รจู้ กั เลอื กนำส่งิ ทด่ี ีและเหมาะสม มาประยุกต์ใช้” ทัง้ นี้ ความมีเหตุผลในปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มคี วามหมายทีส่ ะทอ้ นถึงความเข้าใจ ถึงผลทีอ่ าจเกิดขึ้นจากการกระทำ ณ สถานการณ์ใดสถานการณห์ นงึ่ โดยความมเี หตุผลจะเกิดขึน้ ได้ ต้องอาศัยการสงั่ สมความรู้และประสบการณม์ าอยา่ งต่อเนอื่ ง มีการศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบและ รู้วิธีประมวลปัจจัยทีซ่ ับซ้อนมาประยกุ ต์ใช้ในการตัดสินใจ เพื่อให้ความคิดและการกระทำอยูใ่ นกรอบ ท่ีถกู ตอ้ งตามหลกั เหตผุ ล ดงั น้นั ความมีเหตผุ ลในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเนน้ การตดั สินใจและ การปฏบิ ตั ิบนพนื้ ฐานของความรู้และประสบการณ์ “การมีภูมิคมุ้ กันในตัวทีด่ ”ี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลง ด้านเศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดล้อม และวฒั นธรรมจากท้ังในประเทศและต่างประเทศทจ่ี ะเกิดขนึ้ เพอ่ื ให้ 200

สามารถบรหิ ารความเส่ยี ง ปรบั ตวั และรบั มอื ไดอ้ ยา่ งทันท่วงที โดยคำนงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ ต่างๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคตทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว ทัง้ นี้ การมีภูมคิ ุม้ กันในตัวทดี่ ี อาจเกิดขึน้ เองตามธรรมชาติหรือเกิดจากความไม่ประมาท ซึง่ ต้องดำเนนิ ไปพร้อมๆ กับความมเี หตุผล และความพอประมาณ หลีกเลีย่ งความต้องการทีเ่ กินพอดีของแต่ละบุคคล เปน็ การสร้างวินยั ในตัวเอง ให้เกิดขึน้ ในระดับบคุ คล เพือ่ ปกป้องตัวเองจากกระแสบริโภคนิยม หรือความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ จากกระแสโลกาภิวัตน์ต่างๆ เป็นกลไกการรองรับผลกระทบจากสถานการณ์ต่างๆ โดยดำเนนิ การ อย่างเป็นขั้นเปน็ ตอน เรม่ิ จากการ “แกไ้ ขปัญหาท่จี ุดเลก็ ” หรือ คิด Macro ทำ Micro แนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวมแี นว พระราชดำริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในแต่ละ เร่อื ง พอเพียง พออย่พู อกิน พ่งึ ตนเอง ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สงู สดุ และศึกษาข้อมูล อยา่ งเป็นระบบและแกป้ ัญหาท่ีจดุ เล็ก (คดิ Macro ทำ Micro) ตลอดจนมตี วั อยา่ งการดำเนนิ โครงการ ตามแนวพระราชดำรแิ ละตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ช้ ตามแนวพระราชดำริ ดังนี้ ๑.๑ พอเพยี ง พออยู่พอกนิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงชี้แนะแนวทางการดำเนนิ ชีวิตแบบพอเพียงและพออยพู่ อกิน ว่าเปน็ พื้นฐานทีส่ ำคัญต่อการดำเนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือทที่ รงใช้คำ ภาษาอังกฤษว่า “Sufficiency Economy” ซง่ึ แบ่งไดเ้ ป็น ๒ แบบ คอื เศรษฐกิจพอเพียงแบบพ้นื ฐาน และเศรษฐกจิ พอเพียงแบบกา้ วหนา้ ดงั แนวพระราชดำริ ดังน้ี  เป้าหมายของการพัฒนา คือ การทำให้ประชาชนพออยู่พอกิน และประเทศมีความสงบ ซง่ึ หากสามารถรกั ษาไวไ้ ด้ กจ็ ะมีสว่ นนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุง่ เรอื ง พระบาทสมเด็พระเจ้าอยหู่ วั ได้พระราชทานแนวพระราชดำริเร่ืองเศรษฐกจิ พอเพียง และทรงใช้คำว่า “พออยู่พอกนิ ” เป็นครั้งแรก เมอื่ ปี ๒๕๑๗ ดังพระราชดำรัสพระราชทานในโอกาสวันเฉลมิ พระชนพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา พระราชวังดสุ ิต เมอ่ื วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗ ความตอนหน่ึงวา่ 201

“...คนอ่นื จะวา่ อยา่ งไรกช็ ่างเขา จะวา่ เมอื งไทยลา้ สมยั วา่ เมอื งไทยเชย วา่ เมอื งไทย ไมม่ สี ง่ิ ทสี่ มยั ใหม ่ แต่เรา พอมพี อกนิ และขอใหท้ กุ คนมคี วามปรารถนาทจ่ี ะใหเ้ มอื งไทย พออย่พู อกนิ มคี วามสงบและทำงานต้งั จิตอธษิ ฐานต้งั ปณธิ าน ในทางน้ีท่จี ะใหเ้ มอื งไทย อยูแ่ บบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรงุ่ เรืองอย่างยอด แต่วา่ มีความพออยู่พอกิน มคี วามสงบเปรียบเทยี บกับ ประเทศอนื่ ๆ ถา้ เรารกั ษา ความพออยูพ่ อกินนีไ้ ด ้ เราก็จะ ยอดยิ่งยวดได้ ประเทศตา่ งๆ ในโลกน้ีกำลงั ตก กำลงั แย ่ กำลงั ยงุ่ เพราะแสวงหาความ ยิง่ ยวด ทั้งในอำนาจ ทั้งในความก้าวหนา้ ทางเศรษฐกิจ ทางอุตสาหกรรม ทางลัทธิ ฉะนัน้ ถ้าทุกท่านซงึ่ ถือว่าเป็นผู้ที่มีความคิดและมีอิทธิพล มีพลังทีจ่ ะทำให้ผู้อืน่ ซงึ่ มีความคดิ เหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้ำ พอควร พออยพู่ อกนิ มคี วามสงบ ไมใ่ หค้ นอ่นื มาแยง่ คณุ สมบตั ิน้จี ากเราไปไดก้ จ็ ะเปน็ ของขวญั วนั เกิดทถี่ าวร ทจี่ ะมีคุณคา่ อยูต่ ลอดกาล...” ในระยะตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ทรงให้ความสำคัญกับความพอเพียงหรือความ พออยู่พอกนิ วา่ เป็นพน้ื ฐานท่ีสำคญั ตอ่ การดำเนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยทรงเตือนสติประชาชนให้มคี วามพอเพียง พออยพู่ อกิน พอดี พอเหมาะตามอตั ภาพ ด้วยทรงชีใ้ ห้เห็นว่าความพอมพี อกินพอใช้ของ ประชาชนเปน็ จุดทคี่ วรเริ่มต้นก่อน และเมอื่ มี พืน้ ฐานมัน่ คงแล้ว จึงสร้างความเจริญและ ฐานทางเศรษฐกจิ ท่สี งู ข้นึ ซ่งึ หมายถงึ การทำใหป้ ระชาชนในชนบทท่ีเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ พอมี พอกิน เพอ่ื เปน็ การสรา้ งพื้นฐานทเ่ี ข้มแข็งก่อนท่ีจะพัฒนาในด้านอนื่ ๆ ตอ่ ไป ดงั พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นสิ ติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เมอื่ วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ความตอนหน่งึ ว่า “...การชว่ ยเหลือ สนับสนนุ ให้ประชาชนในการประกอบอาชพี และตัง้ ตวั ให้มี ความพอกินพอใช้ก่อนอืน่ เป็นพืน้ ฐานนนั้ เป็นสิง่ สำคัญอย่างยิง่ ยวด เพราะผู้ทีม่ ีอาชีพ และฐานะเพยี งพอทีจ่ ะพงึ่ ตนเอง ย่อมสามารถสร้างความเจรญิ ก้าวหน้าระดับที่สูงขนึ้ ตอ่ ไปไดโ้ ดยแน่นอน… ในการสรา้ งความเจริญก้าวหน้านีค้ วรอย่างยิ่งที่จะคอ่ ยสร้าง คอ่ ยเสรมิ ทีละเล็กทีละน้อยให้เป็นลำดับ ให้เป็นการทำไปพิจารณาไปและปรบั ปรงุ ไป ไม่ทำดว้ ยอาการเรง่ รีบ ตามความกระหายที่จะสรา้ งของใหม่เพือ่ ความแปลกใหม่ เพราะความจริง ส่ิงทใี่ หมแ่ ทๆ้ นนั้ ไมม่ ี สงิ่ ใหมท่ ั้งปวงยอ่ มสืบเนอื่ งมาจากสง่ิ เกา่ และ ตอ่ ไปย่อมจะต้องกลายเป็นสิ่งเกา่ …” 202

l การปฏิบัตติ ามเศรษฐกิจพอเพียงนัน้ คือ การปฏิบตั อิ ย่างพอมีพอกนิ ท้ังในระดบั บคุ คล และประเทศ โดยระดับบุคคลนนั้ คือ ให้แต่ละคน พอมีพอกนิ ส่วนในระดบั ประเทศน้ัน ตอ้ งมีนโยบาย ทีจ่ ะทำเศรษฐกิจพอเพียงให้ทุกคนมพี อเพียงได้ คือ มีกินมอี ยู่ ไม่ฟมุ่ เฟอื ย แม้บางอยา่ งจะดหู รูหรา แต่ถ้าทำให้มีความสุขและไมเ่ บียดเบยี นคนอนื่ ก็สามารถปฏิบตั ิและใช้การได้ ดังพระราชดำรัส พระราชทานเนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ความตอนหน่ึงวา่ “...คำว่าพอเพยี งมีความหมายอกี อยา่ งหนง่ึ มคี วามหมายกวา้ งออกไปอกี . ไมไ่ ด้ หมายถึงการมีพอสำหรับใชเ้ องเท่านัน้ แต่มีความหมายว่า พอมีพอกิน. พอมีพอ กนิ นี้ถ้าใครได้มาอยู่ทน่ี ใี่ นศาลาน.ี้ เม่ือปี ๒๕๑๗... วนั นนั้ ได้พดู ถึงคำว่า เราควรปฏิบัติ ให้พอมีพอกินพอมีพอกินนีก้ ็แปลวา่ เศรษฐกิจพอเพยี งนนั้ เอง. ถ้าแตล่ ะคนพอมี พอกิน ก็ใช้ได้. ยิง่ ถ้าประเทศพอมีพอกินก็ยิง่ ด.ี สมัยก่อนน ี้ พอมีพอกิน มาสมัยนี้ ชกั จะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมีนโยบายทีจ่ ะทำเศรษฐกิจพอเพียงเพอื่ ที่จะให้ทุกคนมี พอเพียงไดใ้ หพ้ อเพยี งน้กี ห็ มายความว่า มกี นิ มอี ย ู่ ไมฟ่ ุ่มเฟอื ย ไมห่ รหู รา กไ็ ดแ้ ต่วา่ พอ. แม้บางอย่างอาจจะดูฟมุ่ เฟือยแต่ถ้าทำให้มีความสุข ถ้าทำได ้ ก็สมควรทีจ่ ะ ทำสมควรที่จะปฏิบัต.ิ อนั นกี้ ็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกิจหรือระบบพอเพียง... พอเพียงนอี้ าจจะมีมากอาจจะมีของหรหู ราก็ได ้ แตว่ า่ ตอ้ งไม่ไปเบียดเบียนคนอนื่ . ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พดู จาก็พอเพยี งทำอะไรก็พอเพยี งปฏิบัตติ น กพ็ อเพียง...”  ในเรือ่ งของการพัฒนา ประเทศนัน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงเนน้ ย้ำใหป้ ระเทศไทย มเี ศรษฐกจิ แบบพอมพี อกนิ คือ ใหส้ ามารถเลย้ี งตวั เองได้ โดยท่ีไมไ่ ดป้ ดิ ประเทศหรอื ไมต่ ดิ ตอ่ กบั สงั คม ภายนอก ดังพระราชดำรัสพระราชทานเนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต ความตอนหน่ึงว่า 203

“...การจะเปน็ เสอื นน้ั ไมส่ ำคญั . สำคญั อยทู่ เ่ี รามเี ศรษฐกจิ แบบพอมพี อกนิ . แบบพอมี พอกินนนั้ หมายความวา่ อมุ้ ชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตวั เอง. อันนีก้ ็เคยบอกว่า ความพอเพยี งน ี้ ไม่ไดห้ มายความวา่ ทุกครอบครัวจะตอ้ งผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง. อย่างนัน้ มันเกินไป แตว่ ่าในหมูบ่ ้านหรอื ในอำเภอจะต้องมี ความพอเพยี งพอสมควร. บางสิ่งบางอย่างทีผ่ ลิตได้มากกวา่ ความตอ้ งการ ก็ขายได ้ แตข่ ายในทไ่ี ม่หา่ งไกลเท่าไร ไม่ต้องเสยี ค่าขนส่งมากนกั ...”  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้ภาษาอังกฤษแทนคำ “เศรษฐกิจพอเพียง” ว่า “Sufficiency Economy” และคำวา่ “เศรษฐกจิ พอเพียง” น้มี คี วามหมายท่คี รอบคลมุ ความพอเพยี ง ท่มี ากกว่าการพออย่พู อกนิ สำหรับตนเอง แตค่ รอบคลมุ ไปจนถงึ ระดับองคก์ ร ชมุ ชน และประเทศดว้ ย โดยแบง่ ได้เป็น ๒ แบบ คอื เศรษฐกจิ พอเพียงแบบพ้ืนฐานและเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบกา้ วหนา้ ดงั นี้ ๑) แบบแรก เศรษฐกิจพอเพียงแบบพนื้ ฐาน คือ ความพอเพียงในระดับบคุ คลและระดับ ครอบครวั โดยเฉพาะเกษตรกร เปน็ เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืน้ ฐานซึง่ เทยี บได้กบั ทฤษฎีใหมข่ น้ั ที่ ๑ คอื มุ่งแก้ไขปัญหาของเกษตรกรที่อยหู่ ่างไกลแหลง่ นำ้ หรือมคี วามเสี่ยงจากการทน่ี ้ำไม่พอ จงึ เนน้ เพาะปลูก หรือบริหารจัดการพื้นที่ เพื่อให้เกษตรกรพออยพู่ อกิน หรือเพื่อสนองความต้องการอุปโภคบริโภค ในครัวเรอื นเท่านั้น แต่หากมเี หลอื จากการบริโภคก็สามารถนำไปขาย เพือ่ มรี ายไดท้ ่จี ะใช้เปน็ คา่ ใช้จ่าย อ่ืนๆ ท่ไี มส่ ามารถผลติ เองได้ นับเป็นการสร้างภมู คิ ุมกันในตวั ให้เกดิ ขน้ึ ในระดบั ครอบครวั ๒) แบบที่สอง เศรษฐกิจพอเพยี งแบบก้าวหนา้ คือ ความพอเพียงในระดับชุมชน/องค์กร และความพอเพยี งในระดับประเทศ ซึง่ เทียบได้กับทฤษฎใี หม่ขั้นท่ี ๒ และ ๓ มีรายละเอยี ดดังน้ี ๒.๑) ความพอเพียงในระดับชุมชน/ องค์กร ซง่ึ ตรงกับทฤษฎีใหม่ข้ันที่ ๒ เปน็ เรือ่ งของ การสนบั สนุนใหเ้ กษตรกรรวมพลงั กนั ในรปู กล่มุ หรอื สหกรณ์ หรอื การท่ีธรุ กจิ ตา่ งๆ รวมตวั กนั ในลักษณะ 204

เครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ กล่าวคอื เม่อื สมาชกิ แตล่ ะครอบครวั หรอื องคก์ รมคี วามพอเพยี งขน้ั พน้ื ฐานในเบ้อื งตน้ แล้ว กจ็ ะรวมกล่มุ กนั เพอ่ื รว่ มกนั สรา้ งประโยชน์ใหแ้ กก่ ล่มุ และส่วนรวม บนพื้นฐานของการไมเ่ บียดเบียนกัน มีการแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามกำลังและ ความสามารถของแต่ละคน ทำให้ชุมชนหรือ เครือข่ายวิสาหกิจมีความพอเพียงในวิถีปฏิบัติได้ อยา่ งแทจ้ ริง ๒.๒) ความพอเพียงในระดบั ประเทศ ซึง่ ตรงกับทฤษฎีใหม่ขัน้ ที่ ๓ เป็นการสง่ เสริมให้ ชมุ ชนหรอื เครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ สรา้ งความรว่ มมอื กบั องคก์ รอ่นื ๆ ในประเทศ เชน่ บรษิ ทั ขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบนั ต่างๆ เป็นต้น โดยการสร้างเครือข่ายในลกั ษณะนเี้ ป็นประโยชน์ต่อการสบื ทอดภูมปิ ัญญา แลกเปล่ยี นความรู้ เทคโนโลยี และบทเรยี นจากการพฒั นา หรอื เกดิ การรว่ มกนั พฒั นาตามแนวปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ จะสง่ ผลใหป้ ระเทศอันเปน็ สังคมใหญ่ ท่ปี ระกอบดว้ ย ชมุ ชน องคก์ รและธรุ กจิ ตา่ งๆ ดำเนินชีวิตได้อย่างพอเพียง เกิดเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงทีเ่ ชือ่ มโยงกันด้วยหลกั คุณธรรม คือ ไมเ่ บียดเบียนกนั แต่มีการแบ่งปันและชว่ ยเหลอื กันและกนั ไดใ้ นที่สดุ  พระราชดำรัสพระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวังดุสติ ความตอนหน่งึ ว่า “...เศรษฐกจิ พอเพยี ง แปลวา่ Sufficiency Economy โดยเขยี นเปน็ ตวั หนาในหนงั สอื เสรจ็ แลว้ เขากม็ าบอกวา่ คำวา่ Sufficiency Economy ไมม่ ใี นตำรา เศรษฐกจิ จะมไี ดอ้ ยา่ งไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ เป็นตำราใหม่... เศรษฐกิจพอเพียงก็มีเป็นขั้นๆ แต่ว่าต้องดูว่า เศรษฐกิจพอเพียงทีจ่ ะมาบอกว่าให้พอเพียงเฉพาะตัวเอง ๑๐๐ % เป็นสิ่งทีท่ ำไม่ได้ จะตอ้ งมกี ารแลกเปล่ยี น ตอ้ งมกี ารชว่ ยกนั ถา้ มกี ารชว่ ยกนั แลกเปลย่ี นไมใ่ ชเ่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง แตว่ า่ พอเพยี งในทฤษฎหี ลวงน้คี อื สามารถทจ่ี ะดำเนนิ งานได.้ .. ขอใหท้ กุ คนมคี วามปรารถนา ท่จี ะให้เมืองไทยพออยูพ่ อกนิ มีความสงบและทำงานต้งั อธิษฐาน ตง้ั ปณธิ านในทางน ้ี ทจ่ี ะให้ เมืองไทยอยูแ่ บบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุง่ เรืองอย่างยอดแต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอืน่ ๆ ถ้าเรารักษาความพออยูพ่ อกินนีไ้ ด้ เราก็จะยอด ยิ่งยวดได้... ฉะนั้นถ้าทุกท่านซึง่ ถือว่าเป็นผูท้ ีม่ ีความคิดและมีอิทธิพล มีพลังที่จะทำให้ผู้อืน่ ซง่ึ มคี วามคดิ เหมอื นกนั ชว่ ยกนั รกั ษาสว่ นรวมใหอ้ ย่ดู กี นิ ดพี อสมควร ขอยำ้ พอควร พออยพู่ อกนิ มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่ง คุณสมบัตินีจ้ ากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวร ทจ่ี ะมคี ณุ ค่าอย่ตู ลอดกาล...” 205

๑.๒ พึง่ ตนเอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงให้ความสำคัญกับการพึ่งตนเองให้ช่วยเหลือประชาชน ในพื้นทีใ่ ห้มีความเข้มแข็งเพียงพอทีจ่ ะพึง่ พาตนเองให้ได้ก่อน โดยหลักการพึ่งตนเองนคี้ วรครอบคลมุ ทงั้ ๕ ด้าน ได้แก่ จิตใจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมเทคโนโลยีและเศรษฐกิจ ดงั แนวพระราชดำริ ดังน้ี  ตามแนวพระราชดำริ หลักการพงึ่ ตนเอง ถือเป็นพนื้ ฐานสำคญั ของหลักการพัฒนา เพอื่ แก้ไขปัญหาในเบื้องตน้ คือ ช่วยเหลือสนับสนุ นประชาชนในพืน้ ทใี่ ห้มีความพอกิน พอใช้ และมคี วามเข้มแข็งเพียงพอทจี่ ะพึ่งพาตนเองให้ได้ก่อน เพื่อเปน็ พืน้ ฐานอันมนั่ คงให้มีความพร้อมทจี่ ะ รับมือกับสถานการณค์ วามเปลยี่ นแปลงต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นอยา่ งหลากหลาย และให้อยูร่ อดได้อยา่ งสมดุล ม่ันคง และยง่ั ยนื ดังจะเห็นไดว้ ่าภายใต้สถานการณ์ปัจจบุ นั ประเทศไทยต้องเผชญิ กบั ความทา้ ทายและความเสยี่ ง อันเกิดจากความเปลยี่ นแปลงในหลากหลายด้านทัง้ ในระดับประเทศและระดับโลก โดยเฉพาะ ความผันผวนดา้ นเศรษฐกจิ พลงั งาน และภมู อิ ากาศ ท่ีเกดิ ข้นึ อย่างรวดเรว็ และสง่ ผลกระทบตอ่ ประชาชน ในวงกวา้ ง แมใ้ นภาพรวมสังคมไทยจะมีภมู ิคมุ้ กนั มากข้นึ และมคี วามแขง็ แกรง่ แตกตา่ งกนั ไปท้งั ในระดบั ปัจเจก ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม แตก่ ย็ งั ไม่เพยี งพอท่จี ะรองรบั สถานการณท์ ่จี ะเปล่ยี นแปลงในอนาคต ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ส่งผลให้ประเทศตอ้ งเผชญิ กบั ความเสย่ี งในหลากหลายมติ ิ ได้แก่ ความเส่ียงจาก การบรหิ ารภาครฐั ท่ีออ่ นแอ โครงสร้างเศรษฐกิจท่ไี ม่สามารถรองรับการเตบิ โตไดอ้ ย่างยงั่ ยืน ความเส่ียง จากความเสือ่ มถอยของค่านยิ มทีด่ ีงาม ความเสือ่ มโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และความเสยี่ งจากความมน่ั คงของประเทศ 206

นอกจากนี้ การไหลเวียนของข้อมลู ข่าวสารและความก้าวหนา้ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมไทยตอ้ งเตรียมศึกษาและ พัฒนาองค์ความรู้เกีย่ วกับระบบเทคโนโลยีใหม่ๆ ทีจ่ ะทำให้เกิดการ ไหลเวียนของวัฒนธรรมจากประเทศต่างๆ อันรวมถึงประเทศสมาชิก ในประชาคมอาเซียน และเกิดการไหลบ่าของข้อมลู ทัง้ ในเชิงลบและ เชงิ บวกเขา้ มาในประเทศไทย ดังน้ัน เพ่ือจะรับมือกับสถานการณ์ข้างต้น สังคมไทยจำเป็น จะต้องเร่งกำหนดทิศทางการบริหารจัดการประเทศทีอ่ ยูบ่ นฐาน ของการพึ่งตนเอง พัฒนา ศักยภาพของคนในประเทศให้ใช้สติและปัญญา โดยแต่ละ บุคคลจะต้องปรับเปลีย่ นวิธีคิด วิธีการดำเนินชีวิตให้มุง่ พึง่ ตนเองให้ได้ รับผดิ ชอบตนเองให้ได้ แล้วจึงช่วยคนทีย่ ัง อ่อนแอกว่าให้เขาพึง่ ตนเองได้ โดยการให้ความรู้ เสริมสร้าง ทกั ษะ พัฒนาอาชีพ และสวัสดิการขั้นพื้นฐานให้มคี ุณภาพ เพ่ือใหเ้ ขายืนอยบู่ นขาของตวั เองได้ โดยเฉพาะในกลุม่ ข้าราชการหรือเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐต้อง ตระหนกั ถงึ บทบาทหน้าท่ขี องตนในการเปน็ ผู้ใหบ้ รกิ ารแกส่ งั คม ร่วมเสริมสร้างสภาวะแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ต่อการอยูร่ ่วมกันของคน ในสังคม โดยไม่ควรเขา้ ไปส่งั การหรอื ชน้ี ำประชาชน หรอื ชมุ ชนมากเกนิ ไป แตค่ วรสนับสนุนใหป้ ระชาชน หรือชุมชนสามารถช่วยตนเอง กำหนดทศิ ทางการพัฒนาหรือแผนงาน กิจกรรมทีย่ ืนอยูไ่ ด้บนขาของ ตวั เอง พง่ึ พาตนเองได้ โดยมีขา้ ราชการและเจา้ หน้าท่ขี องรฐั เปน็ ผ้สู นับสนนุ ใหก้ จิ กรรมตา่ งๆ เปน็ จรงิ ข้นึ มา ตามหลกั การพฒั นาท่ีว่าม่งุ ช่วยเหลือประชาชนหรือชุมชนให้เขาชว่ ยตนเองได้  การพ่งึ ตนเองน้ีถอื เปน็ แนวคิดพ้ืนฐานในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทยทกุ ระดับให้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตและเป็นวิถี ปฏิบตั ินำสูค่ วามสมดุล เพือ่ ผลแห่งความสุขอยา่ งยงั่ ยนื โดยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนนั้ มคี วามหมายท่ีกวา้ งกวา่ การพ่งึ ตนเองหรอื ท่ีเรยี กวา่ Self-sufficiency คอื ผลิตอะไรใหพ้ อมพี อใช้ ไม่ตอ้ งไป ขอซื้อจากผอู้ นื่ แต่พอเพียงนใี้ ห้มีความหมายรวมถึง ความพอเพียงทางความคิดและการกระทำ ทีม่ ี ความโลภน้อยและไม่เบยี ดเบยี นผู้อ่นื ดว้ ย ดงั พระราชดำรสั พระราชทานในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา เมื่อวนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดุสิต ความตอนหนึ่งว่า 207

“...เมือ่ ปีที่แล้วตอนท่พี ดู พอเพยี ง แปลในใจ แลว้ กไ็ ดพ้ ดู ออกมาด้วยว่าจะแปล เป็น Self-suficiency. (พงึ่ ตนเอง) ถึงได้บอกว่า พอเพียงแก่ตนเอง แต่ความจริง เศรษฐกิจพอเพียงน ี้ กวา้ งขวางกว่า Self-sufficiency คือ Self-sufficiency นัน้ หมายความวา่ ผลิตอะไรมีพอที่จะใช ้ ไม่ตอ้ งไปขอซอื้ คนอนื่ อยู่ได้ดว้ ยตนเอง (พ่งึ ตนเอง)... บางคนแปลจากภาษาฝร่งั วา่ ใหย้ นื บนขาตัวเอง. คำวา่ ยนื บนขาตวั เองน่ี มีคนบางคนพูดวา่ ชอบกล. ใครจะมายืนบนขา. คนอนื่ มายืนบนขาเรา เราก็โกรธ แต่ตวั เอง ยืนบนขาตวั เองก็ตอ้ งเสียหลักหกล้มหรือล้มลง. อันนกี้ ็เป็นความคดิ ที่อาจจะเฟือ่ งไปหนอ่ ย. แต่ว่า เป็นตามที่เขาเรยี กว่า ยืนบนขาของตัวเอง (ซงึ่ แปลวา่ พงึ่ ตนเอง). หมายความว่าสองขาของเราน ี่ ยืนบนพืน้ ให้อยู่ได้ไม่หกล้ม. ไม่ตอ้ งไปขอยืมขาของคนอนื่ มาใชส้ ำหรับยืน. แต่พอเพยี งนีม้ ีความหมายกวา้ งขวาง ยิ่งกวา่ นอี้ ีก คอื คำวา่ พอก็เพียงพอ เพยี งนกี้ ็พอดังนัน้ เอง. คนเราถ้าพอใน ความต้องการ ก็มีความโลภนอ้ ย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอนื่ น้อย. ถ้าทุกประเทศมีความคิด “อันนีไ้ ม่ใช่เศรษฐกิจ” มีความคิดวา่ ทำอะไรต้องพอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ไมส่ ุดโตง่ ไมโ่ ลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...” หลังจากทไี่ ด้ทอดพระเนตรเห็นความเสีย่ งของเศรษฐกิจและสงั คมไทยทีพ่ ึง่ พิงปจั จัย ภายนอกมากเกินไป ทา่ มกลางกระแสโลกาภิวัตนแ์ ละความเปลยี่ นแปลงต่างๆ ทเี่ กิดขึน้ อยา่ งรวดเร็ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวจึงทรงเตือนพสกนิกรให้ตระหนักถึงความสำคัญของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ นำสกู่ ารพัฒนาทีย่ ัง่ ยนื และทรงเน้นย้ำว่า การพัฒนาต้องเริม่ จาก การพึง่ ตนเอง สร้างพืน้ ฐานให้พอมี พอกิน พอใช้ ด้วยวิธีการประหยัดและถูกต้องตามหลักวิชา ให้คนทีเ่ ราจะเข้าไปพัฒนาให้เข้มแข็งและมคี วามพร้อมก่อนดำเนินชีวิตด้วยความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และทำตามลำดับขั้นตอน สูก่ ารร่วมมือช่วยเหลือกันและกัน ต่อเมอื่ พัฒนาตนเองและ ชุมชนให้เข้มแข็งแลว้ จึงได้พัฒนาเครือข่ายเชื่อมสสู่ งั คมภายนอกอยา่ งเข้มแข็ง มนั่ คง และยัง่ ยืนต่อไป ดังที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กลา่ วถึงเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ในหนังสอื ใต้เบอื้ งพระยุคลบาทไว้ว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดำรงชีวิตให้สามารถพึง่ ตนเองได้ โดยใชห้ ลักการพ่งึ ตนเอง ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ประการแรก ด้านจิตใจ คือ การทำตนให้เปน็ ทพี่ ึ่งของตนเอง มจี ิตใจทเี่ ข้มแข็ง มีจิตสำนึกทดี่ ี สร้างสรรค์ตนเองและสงั คมโดยรวม และเปน็ จิตใจทีเ่ อือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ประนปี ระนอมกัน ซือ่ สตั ย์สจุ ริต และเนน้ ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ทีต่ ัง้ ประการท่สี อง ด้านสงั คม คอื แตล่ ะคนในชมุ ชนและสงั คมจะตอ้ งชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู กนั มีเครอื ขา่ ย ชุมชนที่เข้มแข็งและเป็นอิสระ 208

ประการทีส่ าม ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม คือ ต้องรูจ้ ักใช้และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาด พร้อมทงั้ เพิ่มมูลค่าโดยยดึ หลกั การของความยัง่ ยืนและให้คุ้มค่า เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ประการท่สี ่ี ด้านเทคโนโลยี คอื จากสภาพแวดลอ้ มท่เี ปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ทำใหม้ เี ทคโนโลยี ใหมๆ่ ทงั้ ทดี่ ีและไม่ดีไหลบา่ เข้ามาอยา่ งมาก ชุมชนจึงต้องแยกแยะ โดยเลอื กใช้เฉพาะทีส่ อดคลอ้ งกับ ความตอ้ งการของสภาพแวดลอ้ ม ภมู ปิ ระเทศและสภาพสงั คม รวมทง้ั พจิ ารณาจากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดว้ ย ประการที่ห้า ด้านเศรษฐกิจ คือ ต้องสนบั สนุนให้ปรับทิศทางการพัฒนาประเทศใหม่ มุง่ ลด รายจ่ายและยึดหลกั ความพออยู่ พอมี พอกิน พอใช้ ก่อนเป็นสำคัญให้สามารถอยูไ่ ด้ด้วยตนเองก่อน เป็นลำดับแรก ๑.๓ ประหยดั เรยี บง่าย ไดป้ ระโยชน์สงู สดุ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงมพี ระราชจริยวัตรทพ่ี อเพียง ประหยดั และมัธยสั ถโ์ ดยได้ทรง แนะแนวทางปฏบิ ตั ติ นใหป้ ระชาชนตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการประหยดั วา่ ปน็ พน้ื ฐานและหลกั ประกนั สำคญั ในการสรา้ งความสมบรู ณ์และมัน่ คงใหก้ บั ผูป้ ระหยัดและครอบครวั ด้วยดัง แนวพระราชดำริ ดังน้ี  สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนที รงสอนพระราชโอรส พระราชธดิ าใหด้ ำเนินชวี ติ และบรโิ ภคดว้ ยปัญญา โดยทรงใช้ชีวิตเรียบง่ายอยา่ งสามัญชน มธั ยสั ถ์อดออม ใฝ่หาความรู้ มคี วาม รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม แบ่งปนั และชว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื  พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทรงมพี ระราชจริยวตั รทพ่ี อเพยี ง ประหยดั และมธั ยสั ถม์ าต้งั แต่ ทรงพระเยาว์ ดังจะเห็นได้จากการศึกษาพระราชประวัติและพระราชจริยวัตร พบว่า เมือ่ ครัง้ ยงั ทรง พระเยาว์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงเก็บออมเงินทเี่ หลือจากค่าขนม เพือ่ นำไปซือ้ ของเลน่ ตามพระราชประสงค์ หรือไม่ทรงซื้อของเล่นทีม่ ีราคาสูงกว่าทรัพย์ทีม่ ี รวมทัง้ ทรงมพี ระราชจริยวัตรที่ พอเพยี ง อาทิ ทรงจกั รยานไปโรงเรียนแทนการเสด็จพระราชดำเนนิ โดยรถยนต์พระทน่ี ัง่ 209

เมื่อทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ์ก็ยัง ทรงประหยัดในเรือ่ งส่วนพระองค์ อาทิ หลอดยาสีพระทนต์ ทรงใช้อย่างคุม้ ค่า หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยเู่ ปน็ เวลานาน และในยามปฏิบตั ิพระราชภารกิจ ทรงใช้ดินสอไมร้ าคาไม่แพง มียางลบ ติดอยตู่ รงปลายดินสอเพื่อลบคำทเี่ ขียนผิด ออกไดง้ า่ ย ไม่เปลอื งกระดาษเหมือนใชป้ ากกา และจะทรงเหลาดินสอด้วยพระองค์เอง เหน็บไว้ทีก่ ระเป๋าฉลองพระองค์เดือนละ หนึง่ แท่งใช้จนกุดสัน้ ทรงถ่ายรูปจนสุดมว้ น ฟิล์ม และทรงเลอื กใช้ยานพาหนะทีไ่ มใ่ ช้ เชือ้ เพลงิ จากฟอสซิล ยามน้ำมันมีราคาสูง ตลอดจนทรงชีแ้ นะให้ยึดแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ กรอบในการดำเนนิ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำริต่างๆ ดร. สเุ มธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ มลู นิธิชยั พัฒนา ไดก้ ลา่ วถึงพระราชดำริและ พระราชจริยวัตรในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวตลอดระยะเวลาทีท่ รงครองราชยม์ ากว่า ๖๗ ปี วา่ ทรงเปน็ ตน้ แบบแห่งความพอเพยี ง ดำเนินชีวิตอยา่ งประหยัด เรียบง่ายวา่ “...กองงานในพระองค์ โดยทา่ นผหู้ ญิงบตุ รี วีระไวทยะ บอกว่าปีหนงึ่ พระองค์ทรงเบกิ ดินสอ ๑๒ แท่ง เดือนละแทง่ ใช้จนกระทงั่ กุด ใครอยา่ ไปทิง้ ของท่านนะจะกริว้ เลยโดยทรงประหยัดทกุ อยา่ ง เปน็ ต้นแบบทุกอยา่ ง ทกุ อย่างนีม้ คี ่าสำหรับพระองค์หมด ทกุ บาททุกสตางค์จะใช้อยา่ งระมัดระวัง จะสง่ั ใหเ้ ราปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ...” และ “...หากนำพระบรมฉายาลักษณ์เก่าๆ มาเปรียบเทียบกันในระยะเวลาห่างกันสบิ ปี ยสี่ บิ ปี จะสังเกตเห็นได้ว่า ฉลองพระองค์และสนับเพลาหลายองค์ก็ยังทรงใช้อยู่ ดังเช่น ฉลองพระบาทใบ (ร้องเท้าผา้ ใบ) ก็ยังทรงใช้แบบเดิม ราคาไม่กีร่ ้อยบาท หรือเวลาเสวยเครื่องเสวย ก็เรียบง่าย ธรรมดา ไมท่ รงใสพ่ ระราชหฤทัยว่า บนโต๊ะเสวยมอี ะไรบา้ ง ไม่ทรงเคยปรุงหรือแต่งเติม อะไร ทรงเหมือนพระ ละซึง่ สงิ่ ต่างๆ แลว้ เสวยของทเี่ รียบง่าย และด้วยวิถีแห่งพระชนม์ชีพแล้ว กถ็ อื วา่ ทรงดำเนินชีวติ แบบเรียบง่าย เวลามปี ญั หาอะไรกท็ รงค้นพบวธิ กี ารท่เี รยี บงา่ ยเสมอในการหา ทางออก ทรงใช้ความเรียบง่ายหรอื ศิลปะชน้ั สูงของสติปัญญาในการแกไ้ ข...” 210

 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงแนะแนวทางปฏบิ ตั ติ นใหป้ ระชาชน ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการประหยดั ว่าเป็นพืน้ ฐานและหลักประกันสำคัญ ในการสร้างความสมบรู ณ์และมนั่ คง ใหก้ บั ผปู้ ระหยดั และครอบครวั เพอ่ื เตรยี ม ความพรอ้ มรบั มือกบั ผลท่อี าจจะเกดิ ข้นึ จากสภาวะทีป่ ระเทศไทยต้องเผชิญ กับการเปลีย่ นแปลงทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ดังพระราชดำรัส พ ร ะ ร า ช ท า น แ ก่ ป ว ง ช น ช า ว ไ ท ย เน่อื งในโอกาสวนั ขึ้นปใี หม่ ๒๕๐๓ เมื่อวันท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๐๒ ความตอนหนงึ่ วา่ “...การใชจ้ ่ายโดยประหยัดนัน้ จะเป็นหลักประกันความสมบูรณ์พนู สุขของ ผู้ประหยัดเองและครอบครวั ชว่ ยป้องกันความขาดแคลนในวันข้างหน้าการประหยัด ดังกล่าวน ี้ จะมีผลดไี ม่เฉพาะแก่ผู้ประหยัดเท่านนั้ แต่ยังจะเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ชาติด้วย...” l พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวได้ทรงเตือนสติให้ประชาชนชาวไทยตระหนกั ถึงความสำคัญ ของการประหยัดวา่ เป็นพืน้ ฐานความประพฤตทิ ี่สำคัญต่อการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รของสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าฯ เมอื่ วันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๑ ความตอนหนง่ึ ว่า “...การประหยัด เปน็ สง่ิ ทพ่ี ึงประสงค์อยา่ งยง่ิ ในทกุ แหง่ และในกาลทุกเมอื่ ... ขอให้ คำนงึ ถึงผลทีเ่ กิดขึน้ จากการประหยัดนใี้ ห้มาก... การประหยัดน ี้ ควบคไู่ ปกับหลักการ พออยู ่ พอกิน พอใช้ จงึ ใชไ้ ด้ทุกยุคทุกสมัย และเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติตน ตามเศรษฐกิจพอเพียงโดยแท้...”  การพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยความเรียบง่ายและ ประหยัด ไดป้ ระโยชน์สูงสุด ราษฎรสามารถทำได้เอง หาวสั ดุได้ในท้องถิ่น และประยุกต์ใชส้ ิง่ ที่มี อยูใ่ นภมู ภิ าคนนั้ ๆ มาแกไ้ ขปญั หา โดยไมต่ ้องลงทนุ สูง และใช้เทคโนโลยที ี่ไมย่ ุ่งยากนัก ทรงเนน้ เรื่อง ความคุ้มคา่ และคุ้มทนุ แต่ไม่ใชเ่ ป็นการขาดทนุ หรอื กำไร ดังเชน่ ทห่ี ลกั วิชาการสมัยใหม่ยดึ ถอื  การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้มิได้หมายความว่า จะต้องใช้ ชีวติ อย่างขีเ้ หนยี วหรือตระหนี่ หรือปิดประเทศ และปฏิเสธกระแสโลกาภิวตั น์ หากแต่เปน็ การ ใช้ชีวิตอยา่ งเข้าใจและเข้าถึงตนเอง รูศ้ ักยภาพและความสามารถของตนเอง ตลอดจนเข้าใจบริบทและ 211

สถานการณใ์ นประเทศ สามารถพัฒนาประเทศและเชือ่ มโยงกับตลาดหรือสถานการณภ์ ายนอกได้เปน็ อยา่ งดี ดังพระราชดำรัสในสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงชีแ้ จงไว้ใน การประชุมนานาชาตริ ะดบั รฐั มนตรี เม่อื เดอื นพฤศจิกายน ๒๕๔๗ ความตอนหน่ึงว่า “...แนวคิดเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ การแกป้ ญั หาท้งั ในเมอื งใหญแ่ ละในชนบท คำว่าเศรษฐกิจพอเพยี งมิได ้ หมายความวา่ จะต้องใชช้ วี ิตอย่างขดั สนและตระหนี่ และไม่ได้หมายความวา่ จะต้องปฏิเสธกระแสโลกาภิวัตน ์ ระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ แตส่ ามารถเชอื่ มโยงกับตลาดภายนอกไดโ้ ดยการจดั ตัง้ เป็นสหกรณ ์ ซึง่ ทำให้เป็นกลุ่ม ที่มีอำนาจตอ่ รองมากขึน้ เนือ่ งจากระบบการซือ้ ขายจะทำเป็นกลุม่ ซึง่ หมายถึงว่า มีคา่ ใช้จา่ ยน้อยลงและใชป้ ระโยชนม์ ากขึน้ โดยคำนงึ วา่ จะต้องมีการควบคมุ งบประมาณรายจา่ ยในระดบั หมบู่ า้ นและชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบและพอเพยี ง ซง่ึ หมายถงึ วา่ จะตอ้ งมคี วามสมดุล ระหว่างการอนุรกั ษแ์ ละการพฒั นา...”  หากพิจารณาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประหยัดนนั้ คือการใชจ้ า่ ย อย่างพอประมาณ มีเหตผุ ล และมีภูมิคมุ้ กันในตัวทีด่ ี และเป็นการดำเนนิ ชีวติ ตามทางสายกลาง ไม่สุดโต่งไปด้านหนงึ่ คือขีเ้ หนียว หรือสดุ โต่งไปอีกข้างหนึง่ คือฟุ่มเฟือยคนทีด่ ำเนนิ ชีวิตอย่าง ประหยดั และพอประมาณจะเป็นคนเรียบง่าย สมถะ และมสี นั โดษในการดำเนินชีวิต คือ ไม่สร้างเงือ่ นไขชีวิตทขี่ าดเหตุผลหรือนำไปสคู่ วามฟุ้งเฟ้อ จนทำให้เปน็ หนีส้ นิ ดังนัน้ ท่ามกลาง สภาพสงั คมไทยในปจั จุบนั หากประชาชนชาวไทยพร้อมใจกันดำเนนิ ชีวิตอย่างฉลาดรูต้ ามแนว พระราชดำริ คือ ศึกษาและทำความเข้าใจแนวพระราชดำริและมีไหวพริบทจี่ ะนำมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ รูจ้ ักใช้อะไรก็ตามอยา่ งประหยดั ไม่ขีเ้ หนียว ก็จะทำให้ประเทศไทยมเี งินออมมาก และมีทุนทเี่ พียงพอสำหรับลงทนุ โครงการใหญท่ ีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อสาธารณะได้มากโดยไมต่ ้องไปกูย้ มื ใครจนเกินตัว หรือเปน็ หนเี้ ปน็ สนิ มากขึน้ ตรงกันข้าม หากประชาชนชาวไทยรู้จักดำเนนิ ชีวิต 212

อยา่ งประหยัดท้งั ในชวี ติ ประจำวนั และในการทำงาน ประกอบธรุ กจิ ท่จี ะทำใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ตวั เองและ สังคม ตลอดจนประหยัดในการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดและย่งั ยนื นำไปสู่วิถีชวี ติ ทีพ่ อเพียงในท่สี ดุ  พืน้ ฐานสำคัญเบอื้ งต้น แห่งแนวทางการปฏิบัติตนตาม แนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ผู้ประยุกต์ใช้ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งตอ้ งยึดความ ประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ ไมจ่ ำเปน็ และความฟุ่มเฟือยลง ใช้จ่ายในสิง่ ทีจ่ ำเปน็ แต่ก็ไมใ่ ช่ ตระหนถี่ ีเ่ หนียวไมย่ อมใช้เงินเลย ส ่ว น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย จ ะ ม า ก น ้อ ย เพียงใดนัน้ ขึน้ อยกู่ ับอัตภาพของแต่ละบคุ คลจากรายได้ทีส่ ุจริตและไม่คดโกง หรือเบียดเบียนให้ คนอืน่ ได้รับความเดือดร้อน ด้วยเหตุนี้ ความประหยัดจึงต้องตัง้ อยบู่ นพืน้ ฐานของความพอเพียง คือ การตระหนักร้ถู งึ คุณค่าของเงิน ฉลาดใช้ ฉลาดออม และฉลาดทำบุญตามอัตภาพ โดยเฉพาะระดับครอบครัวนัน้ ประการสำคัญ อันดับแรกนนั้ ต้องพฒั นาสมาชิกในครอบครัว ให้ปลอดจากหนีส้ ินและมีฐานะดีขึน้ อย่างนอ้ ยในระดบั พอกินพอใชก้ ่อน แล้วจงึ พฒั นาต่อเนอื่ ง ให้เป็นครอบครัวที่อยู่ดกี ินดี เป็นครอบครัวทพี่ ึงประสงค์ในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ให้บังเกิดผลต่อไป โดยต้องเริม่ ต้นจาก การรูจ้ ักจัดการแผนการเงินของตนเองและครอบครัว ประหยดั อดออม ทำอะไรด้วยความอะลมุ้ อลว่ ย มเี หตุมผี ล ไม่ใช้จ่ายในสิง่ ทีไ่ ม่จำเป็น จนกลายเป็น ความฟุ่มเฟือยจนเกินอัตภาพทีเ่ ป็นอยู่ แต่ให้ปลกู ฝงั นิสัยความประหยดั สร้างวินัยรักการออมและ มที กั ษะในการจัดการทางการเงินได้เปน็ อยา่ งดี โดยเฉพาะการปลกู ฝังในวัยเด็กให้รู้จักคุณค่าของเงิน ใช้จ่ายอย่างมีวินยั รูจ้ ักทำบญั ชีรายรับรายจ่ายเปน็ ประจำ เพือ่ ให้รู้ถึงสถานะการเงินของตน จะได้ ใช้จ่ายตามอัตภาพและฐานะของตนและครอบครัว และเมอื่ สะสมเงินออมไว้ใช้ในยามจำเปน็ ได้ อยา่ งพอเพยี งแล้ว ใหแ้ บง่ เงนิ สว่ นหน่ึงไปทำทานในโอกาสตา่ งๆ เพ่อื ปลูกฝงั ความมนี ำ้ ใจและเหน็ อกเหน็ ใจ ผูอ้ ืน่ ลดความเห็นแก่ตัว และเปน็ การสร้างภูมิคุม้ กันทางด้านศีลธรรมและวัฒนธรรมการให้ ให้บงั เกิด ขึ้นในตัวเด็กและสมาชิกของสังคม อันเป็นองค์ประกอบสำคัญประการหนงึ่ สูก่ ารดำเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 213

๑.๔ ศึกษาข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ และแกป้ ญั หาจากจุดเลก็ (คดิ Macro ทำ Micro) การศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ นบั เป็น หนทางพื้นฐานสกู่ ารแก้ไขปญั หาให้สัมฤทธิผ์ ล โดยเริ่มจากการแก้ไขปัญหาจากจุดเลก็ ๆ ค่อยๆ ทำไป แก้ไขไป โดยเนน้ ให้เห็นภาพรวมของ ปัญหาก่อน แลว้ จึงค่อยลงมอื แก้ไขทีละจุด จากจุดเลก็ ๆ เนน้ ให้ดำเนนิ ไปอยา่ งมนั่ คง ดังแนวทางการทรงงานตามแนวพระราชดำริ ดังน้ี  ในการจะพระราชทานโครงการใด โครงการหนึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว จะทรงศกึ ษาขอ้ มลู รายละเอียดอยา่ งเปน็ ระบบ ท้งั จากขอ้ มูลเบ้ืองตน้ จากเอกสารแผนท่ีสอบถาม จากเจา้ หนา้ ท่ี นักวชิ าการ และราษฎรในพน้ื ท่ีให้ ได้รายละเอียดทถี่ ูกต้อง เพื่อทีจ่ ะพระราชทาน ความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ตรงตามความตอ้ งการของประชาชนในพ้นื ท่ีไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ และภายหลังจากท่ีไดร้ บั ขอ้ มูล รวมท้ังปัญหา ต่างๆ ของราษฎรแล้วจงึ ทรงหาวิธกี ารแก้ไขปญั หา  การพิจารณาและแก้ไขปัญหาต่างๆ นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมองปัญหา ในภาพรวม(คดิ Macro)กอ่ นเสมอ และเมื่อต้องการแก้ปัญหาจึงจะทรงเริ่มจากจุดเล็กๆ (ทำ Micro) คือ แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า ทีค่ นมกั จะมองข้าม พิจารณาและทำทุกๆ สงิ่ อย่างค่อยเปน็ ค่อยไป ตามลำดบั ขัน้ เพ่ือผลแห่งความมน่ั คงอย่างยง่ั ยืนทจ่ี ะตามมา  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นว่า ต้องเร่มิ จากสง่ิ ท่ีจำเปน็ ของประชาชนที่สดุ ก่อน คือ สขุ ภาพร่างกาย การมีอยูม่ ีกิน จากนั้นจึงเป็นเรือ่ งสาธารณปู โภคขัน้ พืน้ ฐาน และสงิ่ จำเปน็ ในการประกอบอาชีพ ตลอดจนต้องมคี วามพอเพียง เหมอื นกับการการสร้างบา้ น สงิ่ แรกทตี่ ้องทำนนั้ คือ ต้องวางรากฐานให้มนั่ คง วางเสาเข็ม ให้พร้อมเพรียงทจี่ ะแบกนำ้ หนกั บา้ นให้ได้ และต่อจากนัน้ จึงต่อเติมรุดหนา้ ไปเรือ่ ยๆ ตามลำดับขัน้ ไม่ใจร้อน ไมท่ ำอะไรทเี่ กินตัว เพราะถ้าเกินตัวเมอื่ ใด ภูมคิ ุม้ กันก็จะไมม่ ี และความเสยี่ งก็จะเกิดขึน้ หรือถ้าทำน้อยไปก็ขาดประสิทธิภาพ ดังนัน้ จงึ ตอ้ งยดึ ความพอเพียง ความพอดี ทำอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ กจ็ ะนำไปสคู่ วามมนั่ คง สมดลุ และย่ังยนื ได้ ดังพระราชดำรัสพระราชทานไว้ ความตอนหน่งึ ว่า 214

“…ถา้ ปวดหวั กค็ ดิ อะไรไมอ่ อก เปน็ อยา่ งนน้ั ตอ้ งแกไ้ ขการปวดหวั นก้ี อ่ นมนั ไมไ่ ดเ้ ปน็ การแกอ้ าการจรงิ แต่ต้องแกป้ วดหวั กอ่ น เพ่ือทจ่ี ะใหอ้ ย่ใู นสภาพท่คี ิดได้... แบบ (Macro) น ี้ เขาจะทำแบบรือ้ ทั้งหมด ฉนั ไม่เห็นด้วย... อย่างบ้านคนอยู่เราบอกบ้านนมี้ ันผุตรงนนั้ ผุตรงนี้ ไม่คุม้ ทจ่ี ะซ่อม... เอาตกลงรอ้ื บ้านนี ้ ระเบิดเลย เราจะไปอยูท่ ี่ไหน ไม่มที ่ีอย.ู่ .. วธิ ีทำตอ้ งค่อยๆทำ จะไประเบิดหมดไมไ่ ด.้ ..”  การศึกษาข้อมลู อย่างเป็นระบบและการแก้ปัญหาจากจุดเลก็ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงองค์ประกอบ เรื่องความมเี หตุผลในการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ และมกี ารวางแผนในทุกเรื่อง ตลอดจนเป็นพืน้ ฐานสำคัญ ของการสร้างและพัฒนาองค์ความรูท้ ีถ่ ูกต้อง ตลอดจนพิจารณาอย่างเป็นลำดับขั้นและค่อยเปน็ ค่อยไป ซง่ึ เปน็ องค์ประกอบและเงื่อนไขสำคัญของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และตปัวรอะยย่าุกงตก์ใาชร้เดศำรเษนฐินกโิจคพรงอกเพารียง ตัวอย่างโครงการทนี่ ำหลักความพอเพียง / พออยพู่ อกินมาใช้เปน็ พื้นฐานของการพัฒนา และดำเนนิ โครงการ ได้แก่ โครงการอมั พวา ชัยพัฒนานรุ ักษ์ อำเภออัมพวา จังหวัดสมทุ รสงคราม ส่วนตัวอยา่ งการน้อมนำหลกั การทรงงานมาใช้ในการปฏิบตั ินัน้ สามารถเรียนรู้ได้ตามลำดับดังนี้ หลักการทรงงานในเรือ่ งการพึ่งตนเอง สามารถเรียนรู้ได้จากการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ : แนวคิด แห่งการพึง่ ตนเองตามแนวพระราชดำริ ส่วนหลกั การทรงงานในเรื่องประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชน์ สงู สดุ นัน้ สามารถเรียนรู้ได้จากการเรียนรูต้ ามแนวพระราชดำริของประชาชนในพื้นทีท่ ีป่ ระสบ ความสำเร็จจากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ รวมทัง้ ตัวอย่างการนำหลกั การทรงงานเรือ่ ง การศกึ ษาขอ้ มูลอยา่ งเปน็ ระบบและการแกป้ ญั หาจากจดุ เล็กไปใชเ้ ป็นแนวทางปฏบิ ัตนิ ้นั สามารถเรยี นรไู้ ด้ จากโครงการธนาคารขา้ ว ซง่ึ ในแตล่ ะตวั อยา่ งมสี าระสำคัญ สรุปได้ดงั นี้ โครงการอมั พวา ชยั พฒั นานุรกั ษ์ อำเภออมั พวา จงั หวดั สมุทรสงคราม ๑) ความเป็นมาของโครงการฯ โครงการ อมั พวา ชัยพัฒนานรุ ักษ์ อำเภออมั พวา จังหวัด สมุทรสาคร เปน็ โครงการทเี่ กิดขึน้ จากการที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 215

มพี ระราชดำรใิ หส้ ำนักงานมลู นธิ ชิ ยั พัฒนานำทีด่ ินท่ีคุณประยงค์ นาคะวะรังค์ ชาวอัมพวา น้อมเกลา้ ฯ ถวายมาดำเนินการพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์ เพ่อื สืบสานภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นและอนรุ กั ษว์ ถิ กี ารดำเนนิ ชวี ติ ของชาวอัมพวา นับเป็นแบบจำลองเศรษฐกจิ พอเพียงทค่ี วรคุณคา่ แก่การเรียนรู้ ๒) เปา้ หมายของโครงการอมั พวา ชยั พัฒนานรุ กั ษ์ คอื มงุ่ ฟืน้ ฟเู ศรษฐกจิ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ฟ้นื ฟู สืบสานชีวิตพอเพียงแบบอมั พวา โดยเสริมสร้างปจั จัยเกือ้ หนุนต่างๆ ทเี่ ปน็ รูปธรรมและนามธรรม เพื่อให้เอกลักษณแ์ ห่งวิถีภูมิปัญญาไทยดำรงไว้อย่างยัง่ ยนื และเสริมสร้างศักยภาพการมสี ่วนร่วมของ ชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ตลอดไป ตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว และเพื่อ พัฒนาให้เป็นชุมชนต้นแบบตัวอย่างของหมูบ่ า้ นอตุ สาหกรรมเศรษฐกิจพอเพียงด้านการท่องเทีย่ ว เชงิ อนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและส่งิ แวดล้อมสมบรู ณแ์ หง่ หน่ึงของประเทศไทย ซ่งึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ได้ทรงย้ำถึงการวางรากฐานให้ประชาชนพึง่ พาตนเองให้ได้ มคี วามพออยูพ่ อกิน และไม่ผนั แปร ไปตามกระแสความเปลี่ยนแปลงตา่ งๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ๓) ความสอดคล้องกับหลักความพอเพียง จากการศึกษาศักยภาพของอัมพวา โดยอาศัย ข้อมลู ทีว่ ิเคราะห์ได้จากโครงการนำร่องเพื่อการอนรุ ักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมคลองอัมพวา จัดทำโดยคณะผูศ้ ึกษาจากคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั พบว่า การพัฒนา ภายใต้โครงการอมั พวา ชัยพัฒนานรุ ักษ์นี้ เป็นการดำเนนิ การตามองค์ประกอบปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ ดังนี้ ๓.๑) ความพอประมาณ การกำหนดวิสยั ทศั นใ์ น การพัฒนาเปน็ ไปตามศักยภาพ สภาพความเหมาะสม และความเป็นจริงของชุมชน ซึ่งได้จากการศึกษาและ วเิ คราะหจ์ ดุ อ่อนและจดุ แขง็ ของชมุ ชน โดยมีการศกึ ษาขอ้ มูล อย่างเปน็ ระบบ พบว่า อัมพวามีศักยภาพเป็นพื้นที่ ประวัติศาสตร์สำคัญเกีย่ วกับราชนิกุลของพระบรมจักรีวงศ์ มรี ูปแบบการตั้งถิน่ ฐานทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ คือเปน็ ชุมชน ริมนำ้ มสี ภาพแวดล้อมทีง่ ดงาม น่าอยูแ่ ละคมนาคม สะดวกเพราะตัง้ อยใู่ กลก้ รุงเทพฯ ชาวอมั พวาเปน็ คนมีนำ้ ใจ รักสนั ติ และมวี ิถีชีวิตทีเ่ รียบง่าย มกี ารรวมกลมุ่ ของชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง จึงนำไปสกู่ ารกำหนดวิสัยทศั น์การพัฒนาอมั พวาได้ว่า “จะมงุ่ ฟื้นฟู อมั พวาใหเ้ หมอื นเวนิสตะวนั ออก โดดเดน่ ดว้ ยศลิ ปวฒั นธรรมและส่ิงแวดล้อม ตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชีวติ เรยี บง่าย สงบและมีสนั ติสขุ ” ๓.๒) ความมเี หตุผล ขัน้ ตอนในการหาขอ้ มลู เพอ่ื กำหนดแนวทางการพัฒนาอัมพวาน้นั เปน็ ไปอย่างมีเหตุผล มหี ลกั เกณฑ์ คำนงึ ถงึ ปจั จยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนผลท่คี าดว่าจะเกดิ จากการดำเนิน 216

กจิ กรรมหรอื โครงการพัฒนาอย่างรอบคอบ ดังจะเหน็ ไดว้ า่ ได้อาศยั กระบวนการมีส่วนร่วมในการรบั ฟัง หรือประเมินข้อมลู และความคิดเห็น ตลอดจนมกี ารรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล โดยวางแผนกิจกรรม โครงการต่างๆ ทีจ่ ะดำเนนิ การจากข้อเทจ็ จริงอยา่ งเป็นขั้นเปน็ ตอน จึงสามารถกำหนดกรอบแนวทาง การดำเนนิ งานของโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานรุ ักษ์ทีป่ ระมวลได้จากการศึกษาข้อมลู อยา่ งเป็นระบบ เกี่ยวกับความต้องการของคนในชุมชนอัมพวา สรุปได้ว่า จะมงุ่ อนรุ ักษ์ ๓ ประการ ได้แก่ (๑) การอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรมทอ้ งถิน่ (๒) การอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชนอมั พวา ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกจิ พอเพียง และ (๓) การอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ๓.๓) การมีภูมิคุม้ กันในตวั ที่ดี โครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ์ได้กำหนดเปา้ หมาย การพัฒนาไว้ว่า การดำเนินการใดๆ ต้องเป็นไปเพือ่ มุง่ อนรุ ักษ์วิถีชีวิตความเป็นอยขู่ องชุมชนอัมพวา แบบดัง้ เดิมไว้ ให้เยาวชนรุ่นหลงั และผสู้ นใจได้เรียนรูแ้ ละศึกษา เพื่อเห็นคุณค่า และสบื สาน วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทีด่ ีงามไว้ร่วมกัน เป็นการสร้างภูมคิ ุ้มกันให้ชุมชนเข้มแข็ง ไม่หวัน่ ไหวไปกับ ผลกระทบต่างๆ ทา่ มกลางกระแสความเปลย่ี นแปลงในยุคปัจจบุ ัน ๓.๔) เงอื่ นไขความรแู้ ละคุณธรรม ในการดำเนนิ การนัน้ ได้มุง่ พัฒนาองค์ความรูแ้ ละ สนบั สนนุ ให้เกิดการเรียนรูร้ ่วมกันในชุมชนอย่างต่อเนอื่ ง ซึง่ ดำเนนิ ไปบนพื้นฐานของความรักและ สามัคคี ทุกฝ่ายมเี ปา้ หมายร่วมกัน คือ ยึดประโยชน์สว่ นรวม ชุมชนร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชน ใหช้ าวอัมพวาสามารถดำเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ย่าง ภาคภูมใิ จในศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา ท้องถน่ิ และเป็นการอนุรักษ์วฒั นธรรม ประเพณไี ทยให้คงอยตู่ ่อไปชั่วลกู ช่ัวหลาน การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ : แนวคดิ แห่งการพ่งึ ตนเอง ตามแนวพระราชดำริ หลักของการพึ่งตนเองสะทอ้ น ออกมาเปน็ ตัวอยา่ งแนวคิดของ การพ่ึงตนเอง ดังเชน่ เมอื่ ปี ๒๕๒๙ ท่เี ศรษฐกจิ ของประเทศไทยเริ่มพุ่งทะยานขึ้นอย่างต่อเน่อื งอนั เปน็ ผลจากกระแสโลกาภิวัตน์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวได้ทรงเตือนสติปวงชนชาวไทย และทรงเสนอ รูปแบบการดำเนนิ ชีวิตทดี่ ูเหมือนจะเปน็ การสวนกระแสกับสภาวะเศรษฐกิจดังกล่าว โดยทรงแสดง 217

ให้เห็นถึงตัวอยา่ งของการทำเกษตรทฤษฎีใหมใ่ นระดับครอบครัว ซึง่ พระองค์ได้ทรงเริ่มทดลองรูปแบบ ดังกล่าวในพืน้ ทีข่ นาดเล็กในจังหวัดสระบุรี บนพืน้ ที่ ๑๕ ไร่ ซึง่ ถือเป็นทีด่ ินขนาดปานกลางสำหรับ การถอื ครองของเกษตรกรรายยอ่ ยท่วั ไป โดยมีหลกั การสำคญั ทีพ่ ึงตระหนัก ดังนี้ หลักการทีห่ นึง่ ต้องเปน็ ระบบการผลิตแบบพอเพียงทีเ่ กษตรกรสามารถเลีย้ งตัวเองได้ ในระดับทปี่ ระหยดั ก่อน โดยชุมชนต้องมีความสามคั คี เพราะความร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั เป็นปจั จยั สำคญั ในการปฏิบตั ิ เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในการจา้ งแรงงานได้อกี ดว้ ย หลักการที่สอง กำหนดให้ทกุ ครัวเรือนทำนา ๕ ไร่ เพราะข้าวเป็นอาหารหลักของชุมชน ต้องปลกู เพื่อให้มีข้าวเพียงพอต่อการบริโภคทัง้ ปี และสามารถพึ่งตนเองได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพไมต่ ้อง ซ้อื หาในราคาแพง หลักการที่สาม ต้องมีน้ำเพือ่ เพาะปลกู สำรองไว้ใช้ในฤดูแลง้ หรือระยะฝนทงิ้ ช่วงได้อยา่ ง พอเพียง ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวได้พระราชทานพระราชดำริเป็นแนวทางไว้ว่า ต้องมนี ้ำ ๑,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่ หากทำนา ๕ ไร่ และปลกู พชื ผลอกี ๕ ไร่ รวมเป็น ๑๐ ไร่ จึงต้องมีน้ำ ๑๐,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตรต่อปี ดังนัน้ จึงจำเปน็ ต้องกันทดี่ ินส่วนหนึง่ ไว้ขุดสระนำ้ เพือ่ ใหม้ นี ำ้ พอเพยี งตอ่ การทำการเพาะปลูกได้ตลอดปี หลักการท่ีสี่ คอื เป็นการจัดแบ่งแปลง ทีด่ ินเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ซึง่ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงคำนึงให้ถือครอง ท่ดี นิ ถวั เฉล่ยี ครวั เรอื นละ ๑๕ ไร่ อย่างไรกต็ าม หากเกษตรกรมพี ื้นทถี่ ือครองน้อยหรือ มากกวา่ น้ี สามารถพจิ ารณาสัดสว่ นการบรหิ าร พื้นที่ ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ ไปปรับใช้ได้ ตามความเหมาะสมกับพืน้ ทแี ละตามสภาพ ของทีด่ ิน ปริมาณนำ้ ฝน และสภาพแวดลอ้ ม โดยสดั สว่ นการบริหารพื้นทีด่ ังกลา่ วมี รายละเอียดในแต่ละส่วนดงั นี้ ส่วนแรก ๓๐ เปอร์เซ็นต์ ให้เป็นพื้นทสี่ ำหรับขุดสระน้ำ เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้โดยยึดหลักให้มี นำ้ ๑,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตรต่อไร่สำหรับปลกู พืชในฤดูแล้ง เพื่อจะได้ไม่ต้องพึง่ พิงนำ้ จากธรรมชาติเพียง อย่างเดยี ว และสระน้ำน้ยี งั สามารถใชเ้ ลี้ยงปลา เพอ่ื เปน็ อาหารโปรตนี ราคาถูกและขายเป็นอาชพี เสริม ได้อีกดว้ ย 218

ส่วนที่สอง ๓๐ เปอรเ์ ซ็นต์ ใช้เป็นพืน้ ทีป่ ลูกข้าว เพื่อไว้กินเป็นอาหารหลักของครอบครัวอยา่ ง พอเพยี งตลอดปี และใช้รำข้าวไว้เล้ยี งหมูดว้ ย สว่ นทส่ี าม ๓๐ เปอร์เซน็ ต์ ใหเ้ ป็นพนื้ ทีป่ ลกู พชื ไร่ พชื สวน ไม้ยืนตน้ และไม้ผล สำหรบั บริโภค ในครวั เรือนและขายไดอ้ กี ดว้ ย สว่ นท่ีส่ี ๑๐ เปอร์เซ็นต์ทีเ่ หลือ ให้กนั ไวเ้ ปน็ บริเวณที่อยู่อาศัย โรงเรือน ยงุ้ ฉาง โรงเก็บเครื่องมือ รวมทัง้ ไว้เปน็ พื้นทปี่ ลกู พืชสวนครัวและเลยี้ งสัตว์เพื่อบริโภคในครัวเรือน ตลอดจนให้ใช้วิธีธรรมชาติ ทงั้ หมดในการฟืน้ ฟูความอุดมสมบรู ณข์ องดิน การควบคุมวัชพืชและการควบคุมแมลงศัตรูพืช ขณะที่ระบบการผลติ จะเน้นการเก้อื กลู กันระหวา่ งสัตว์เลี้ยงและพชื ผล เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ต้นแบบการทำเกษตรทฤษฎีใหมท่ ีพ่ ระราชทานข้างต้นนี้ สามารถแก้ไขปัญหาจากการปลูกพืช เชงิ เดย่ี วของเกษตรกรท่ดี ำเนินการมาหลายช่วั อายุคนได้ เพราะเป็นการปรบั แนวคดิ การทำเกษตรจากเดมิ ท่เี กษตรกรปลูกพืชเชงิ เด่ียว ทำใหต้ อ้ งพึง่ พาสารเคมีและองิ กับความไม่แนน่ อนของตลาดมาก แตก่ ารทำ เกษตรในรปู แบบใหมน่ ้ชี ่วยแก้ปญั หาความขาดแคลนน้ำ และเป็นวธิ กี ารทีท่ ำใหเ้ กษตรกรพ่ึงตนเองได้ ท้ังนี้ แนวคิดการพึง่ ตนเองตามการทำเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ มิได้หมายถึงการอยูอ่ ย่างโดดเดี่ยว ไม่ติดต่อกับภายนอก แต่เป็นแนวทางการพึ่งตนเองให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมัน่ คงใน ๓ ระดับ ไดแ้ ก่ ระดบั แรก เป็นการพ่งึ ตนเองในลักษณะของการเสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานใหเ้ กษตรกรยืนไดอ้ ย่บู นลำแขง้ ของตนเอง ให้พออยู่ พอกิน มผี ลผลติ เพียงพอทจี่ ะบริโภคภายในครัวเรือนก่อนหากมีส่วนเกินจึงนำไป แลกเปล่ยี น ซือ้ ขายในตลาดทอ้ งถนิ่ ได้ เข้าสูก่ ารพฒั นาร่วมกันในระดบั ทสี่ องตอ่ ไป ระดับที่สอง คือ พัฒนาให้มีความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับชุมชน โดยการเพิ่มการผลิต และทำให้มสี ินค้าและบริการในทอ้ งถิ่นเพิ่มมากขึน้ ด้วยการนำเอาผลผลติ สว่ นเกินในครอบครัว 219

ต่างๆ มาจัดการร่วมกันในระดับชุมชน ซึง่ สามารถดำเนนิ การได้หลายทาง เช่น ผ่านการจัดตั้งกลุม่ การผลิตร่วมกัน รวมกลมุ่ กันในรูปสหกรณ์ออมทรัพย์ ของชมุ ชน ร่วมมือกันดา้ นการผลติ จัดการ ตลาดและพัฒนาสวัสดิการของชุมชน ในรูปแบบต่างๆ ทีอ่ ยูบ่ นพื้นฐานของ ความสามคั คใี นทอ้ งถ่นิ เป็นตน้ โดยมีพน้ื ฐาน แนวคิดหลัก คือ มุง่ ผลิตสินค้าและบริการ เพิม่ ขึ้นในชุมชนด้วยการแบ่งงานกันทำ เพือ่ ความประหยดั และคุ้มค่า ลดต้นทุน โดยการใช้ความสามารถและทรัพยากรทีม่ ี อยูใ่ นชุมชน ตลอดจนเนน้ การแลกเปลยี่ น กันเองภายในชุมชนเป็นหลักเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งขั้นพืน้ ฐานให้ชุมชนก่อน แม้ว่าชุมชนจะเริม่ มีความสมั พันธ์กับ ภายนอกมากขนึ้ บ้างแล้วก็ตาม ระดบั ทสี่ าม คือ เม่อื ชุมชนสามารถ พึ่งพาตนเองได้แล้ว ก็เข้าสูก่ ารพัฒนา ชุมชนให้สามารถติดต่อสัมพันธ์กับระบบ ตลาดและเศรษฐกิจนอกหมูบ่ า้ น เพื่อจำหนา่ ยผลผลติ ส่วนเกิน จัดหาทนุ วิชาการและแสวงหาความรู้ ทางเทคโนโลยีและทรัพยากรจากภายนอกเพื่อใช้ในกิจการของชุมชน ซึ่งหากชุมชนมีความเข้มแข็ง เพม่ิ ข้นึ กอ็ าจมกี ารเจรจาตอ่ รองความรว่ มมอื กบั บรรษทั ตา่ งๆ เพ่อื ประโยชน์ของชมุ ชนและธรุ กจิ ระหวา่ ง ประเทศเหล่าน้ันได้ อยา่ งไรก็ตาม ผสู้ นใจสามารถเรียนรูต้ ัวอย่างการทำเกษตรทฤษฎีใหมน่ ี้ ได้จากโครงการพัฒนา พื้นทีน่ ้ำฝนทีบ่ ้านแดนสามัคคี ตำบลคุ้มเก่า อำเภอเขาวงจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึง่ เป็นการทำเกษตรกรรม ตามแนวพระราชดำริทฤษฎีใหม่ และเป็นแบบอยา่ งการจัดการนำ้ และทีด่ ินของเกษตรกรให้เกิด ประโยชนส์ ูงสดุ เพื่อให้ได้ผลผลิตและรายได้พอเลยี้ งตนเองอยา่ งพอเพียง ตามหลักการทำเกษตร ทฤษฎีใหมต่ ามแนวพระราชดำริ 220

การเรยี นรตู้ ามแนวพระราชดำรใิ นเร่อื งประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุดของประชาชน ในพืน้ ทีท่ ี่ประสบความสำเร็จจากการนำปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ จากการศึกษาแนวทางความประพฤติของประชาชน ในพื้นทหี่ ่างไกลทนี่ อ้ มนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างสำเร็จ จนทำให้มี ฐานะความเปน็ อย่ทู ี่มัน่ คงและสามารถยดึ อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำสวนยางพาราและสวนลองกองเป็นแนวทาง ในการหาเลีย้ งชพี พบวา่ การปลกู ฝังนสิ ัยแหง่ การประหยัด ให้ใช้จา่ ยอย่างไม่ฟุม่ เฟือย นับเป็นการสร้างภูมิคมุ้ กัน ทางเศรษฐกจิ เพอ่ื การดำเนนิ ชวี ติ ทม่ี น่ั คง โดยควรดำเนนิ การ ควบคไู่ ปกบั การสนับสนนุ ใหค้ รวั เรอื นมีการออม ทำบัญชรี ายรบั รายจา่ ยของครอบครวั พรอ้ มถา่ ยทอดและ สง่ เสรมิ ใหเ้ พอื่ นบ้านรจู้ กั การทำบัญชีครัวเรอื น ซง่ึ ช่วยใหช้ วี ิตมคี วามมัน่ คงในปจั จบุ ันด้วย นอกจากการเพิม่ รายได้ จากอาชีพทำนา ทำสวนแลว้ ผูป้ ระยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงควรมุง่ ลดค่าใช้จ่าย ในครัวเรือน โดยปลูกไมผ้ ล หรือพืชหมุนเวียนและปลูกพืชผกั สวนครัว เลยี้ งเปด็ และเลีย้ งปลา และดำเนนิ ชีวิตอยา่ งประหยัด โดยนำผลผลติ ทีเ่ ปน็ สว่ นเกินจาก การบริโภคในครอบครัวไปขายใน ตลาดชุมชนและต้องทำบญั ชี ครัวเรือน รูจ้ ักออมและปรึกษา หารือกับสมาชิกในครอบครัว เพือ่ วางแผนการลงทุนในแต่ละปีอย่างรอบคอบ การดำเนินชีวิตด้วยวิธีนี้ จะทำให้มภี ูมิคุ้มกัน ซึง่ เป็นองค์ประกอบหนงึ่ ของการดำเนนิ ชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งได้อย่างมีประสิทธิภาพ 221

การเรียนรู้ตามแนวพระราชดำริ ในเรอ่ื งการศกึ ษาขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบและการแก้ปัญหาจาก จดุ เล็กผา่ นโครงการธนาคารขา้ ว แนวพระราชดำรหิ ลักการทรงงาน เรอ่ื งการศกึ ษาขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบและ การแก้ไขปัญหาจากจุดเลก็ นไี้ ด้ถูกนำมา ใช้เปน็ แนวทางในการเรียนรู้และปฏิบัติ จรงิ ในกรณีการกอ่ ต้งั “โครงการธนาคาร ข้าวตามแนวพระราชดำริในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ” ท่เี กิดขนึ้ ขณะทเี่ สดจ็ ฯ ไปทรงเยี่ยมเยยี นราษฎรในภมู ภิ าคตา่ งๆ และได้ทรงพบ เหน็ สภาพความยากจนและเดือดรอ้ นของเกษตรกรไทย ทงั้ นี้ จากการเสด็จลงพืน้ ทีเ่ พื่อเยีย่ มเยยี นราษฎรแต่ละครัง้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวได้ ทรงศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยพระองค์เองจากแหล่งต่างๆ เช่น เอกสารของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง หรือ จากข้อมลู ความรับผิดชอบด้านการพัฒนาชีวิตความเปน็ อยูข่ องราษฎรในแต่ละท้องถิ่น ทมี่ ีผนู้ ำขึ้น ทลู เกลา้ ฯ ถวายเพอ่ื ทรงมพี ระบรมราชวนิ จิ ฉยั หรอื ทรงสอบถามรายละเอยี ดจากราษฎรโดยศกึ ษาขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ ทำให้ทรงได้ข้อมลู ทเี่ กิดประโยชน์ ถูกต้อง และตรงตามสภาพความเป็นจริง รวมทัง้ สามารถค้นพบปญั หาแทจ้ รงิ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในหมู่เกษตรกรไทย อย่างไรก็ตาม ยังมีปัญหาอืน่ ๆ ทเี่ กิดขึ้นอีกและเป็นปญั หาทไี่ มอ่ าจแก้ไขให้สนิ้ สุดลงได้ เช่น ปญั หาเกษตรกรขาดแคลนเงินทนุ เมอื่ ต้องการซือ้ พันธุพ์ ืช โคหรือกระบือ เกษตรกรก็มกั จะแก้ ปัญหาด้วยการกูเ้ งินจากแหลง่ ทีม่ อี ตั ราดอกเบยี้ สงู โดยเกษตรกรหวังว่าจะสามารถแบ่งรายได้จาก ผลผลิตของตนทีเ่ ก็บเกี่ยวได้ไปใช้หนีใ้ นภายหลัง แต่เมือ่ ปใี ดสภาวะทางธรรมชาติไมเ่ ป็นใจ เกิดฝนแล้ง นำ้ ท่วม ต้องประสบกับภัยธรรมชาติ เกษตรกรจึงสูญเสียผลผลิตในปนี ัน้ ทัง้ หมดหรือ เกอื บท้ังหมด และไม่อาจชำระหน้ที ่มี ีอย่ไู ด้ การลงทนุ ในปีตอ่ ไป เกษตรกรกย็ ังตอ้ งพ่งึ พาทุนจากผู้ใหก้ อู้ ีก และหากเกิดภัยธรรมชาตอิ กี หนีส้ นิ ก็จะยง่ิ พอกพูน แมห้ ากมีผลผลิตบ้าง ชาวนากม็ กั จะถกู กดราคา จากเหตุผลข้างต้น ทำให้เมือ่ ต้องการซือ้ ข้าวเพื่อบริโภค ประชาชนจึงต้องซื้อข้าวในราคาแพง เกษตรกรไทยซงึ่ เปน็ ผผู้ ลิตจงึ ไมอ่ าจมสี ภาพกนิ ดี อยดู่ ไี ด้ ตอ้ งประสบกบั ความยากลำบากมปี ญั หาหน้สี นิ มีปญั หาผลิตผลถูกกดราคา และมปี ญั หาข้าวบริโภคทมี่ ีราคาแพง ซึ่งปัญหาทกุ ปัญหาในวงจรล้วน เกย่ี วเนือ่ งสมั พันธก์ ันและนำไปส่ปู ญั หาทีย่ ่ิงใหญ่ คอื ความยากจนของเกษตรกรไทยทัว่ ประเทศ 222

ดงั นน้ั เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความยากจน และการขาดแคลนทนุ ทางการเกษตร ของเกษตรกร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จึงทรงตงั้ พระราชหฤทัยทรงเริม่ แก้ไขปัญหาจากจุดเล็กๆ ทีเ่ ป็นปัญหา เดอื ดร้อนเฉพาะหนา้ ของประชาชนกอ่ น โดยเฉพาะในเรือ่ งข้าว โดยที่ทรง พยายามทำทุกวถิ ีทางให้เกษตรกร มีขา้ วพอกินก่อน ดร.สเุ มธ ตันติเวชกุล ได้กลา่ ว ไวใ้ นสารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน ฉบับที่ ๑๒ ว่า พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงมีพระราชปรารภ ความตอนหนงึ่ วา่ “...ขณะน ี้ ราษฎรต้องซอื้ ขา้ วบรโิ ภคในราคาสูงทัง้ ๆ ที่ข้าวเปลือกมีราคาต่ำ เน่อื งจาก พอ่ ค้าคนกลางแสวงหากำไรเกนิ ควร บางทอ้ งทช่ี าวนาขาดแคลนขา้ วบรโิ ภค ในบางฤดูกาล...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวจึงมีพระราชประสงค์ให้พิจารณาตั้งธนาคารข้าวแก่ราษฎรขึน้ โดยทัว่ ไป เพื่อเปน็ ช่องทางหนงึ่ ในการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักช่วยเหลอื ตนเองและรวมกลมุ่ เพื่อช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ตลอดจนเพื่อช่วยเหลอื ประชาชนผยู้ ากจนให้ได้กูย้ ืมข้าวไปใช้บริโภคและ ทำพันธใ์ุ นฤดทู ำนา และเพื่อให้ธนาคารเป็นแหลง่ กลางในการรวบรวมขา้ วไว้ขายในราคายุตธิ รรมดว้ ย เพื่อเป็นการดำเนนิ การตามแนวพระราชดำริ คณะรัฐมนตรีได้มมี ติในการประชุมเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ เป็นกรณพี ิเศษ เมือ่ วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนเป็นเจ้าของเรือ่ ง ปรับปรุงโครงสร้างฉางข้าวของบ้านท่าส้มป่อย ตำบลทุง่ ฝาย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ซึง่ เปน็ พื้นที่ ดำเนินโครงการกลมุ่ ออมข้าวช่วยเหลือคนจน มาตัง้ แต่ปี ๒๕๑๕ และหลังจากทีไ่ ด้ปรับปรุงโครงการ เสรจ็ แล้ว กรมการพัฒนาชุมชนได้ใหจ้ ังหวดั ตา่ งๆ ดำเนินการเกยี่ วกับเรื่องน้ีมาตัง้ แต่วันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๐ เร่อื ยมา จนกระท่ังในปี ๒๕๔๘ กม็ ีการจดั ตง้ั ธนาคารขา้ วขน้ึ ในทอ้ งถ่นิ ตา่ งๆ อกี ๔,๐๐๐ กวา่ แหง่ ครอบคลุมพืน้ ท่ี ๕๗ จงั หวดั และในปจั จบุ ันกไ็ ด้มีหนว่ ยงานรเิ ริม่ โครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจน และ การขาดแคลนทุนเพ่ือเลี้ยงชพี ของเกษตรกรตา่ งๆ อกี มากมาย เชน่ ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธกส.) หรอื การใหส้ นิ เชอ่ื ทางการเกษตรของธนาคารพาณชิ ย์ เพ่อื แกไ้ ขปัญหาเรอ่ื งเงนิ ทุนของ เกษตรกร และการจดั ตั้งธนาคารโค กระบือ เพอ่ื แกป้ ัญหาการขาดแคลนแรงงานท่นี ำมาใช้ไถนา ฯลฯ 223

ท้งั น้ี การจัดต้งั หน่วยงาน ต่างๆ เหลา่ นไ้ี มไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งทนั ทที นั ใดหากแต่ มจี ดุ เรม่ิ ตน้ มาจากการคน้ ควา้ และศกึ ษา ข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อทจี่ ะทราบ รายละเอียดและค้นพบปัญหาทมี่ ีอยู่ แล้วจึงทำการศึกษาทดลองและแก้ไข ปญั หาท่ีจดุ เลก็ ๆ เรยี นรู้ ปรับปรงุ และ พฒั นาการดำเนินงานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ข้นึ เร่อื ยๆ ดงั เชน่ การจดั ตง้ั ธนาคารขา้ ว ทีเ่ ริ่มต้นจากการศึกษาสาเหตุของข้าว และสงิ่ ของเพือ่ การอุปโภคบริโภคทีม่ รี าคาแพงของเกษตรกรชาวไทย ก่อนมุง่ พิจารณาพัฒนา แนวทางการแก้ไขปัญหาจากจุดเลก็ ๆ โดยเริม่ จากการปรับปรุงโครงการกลมุ่ ออมข้าวช่วยเหลือ คนจนก่อน เปน็ ตน้ ๒. ใช้หลกั วิชาความรู้ มคี ณุ ธรรม ดำเนนิ ชวี ติ ดว้ ยความเพยี ร การตัดสนิ ใจและการดำเนินกจิ กรรม ตา่ งๆ ให้อยูใ่ นระดบั พอเพยี งนัน้ ตอ้ งมีคณุ ธรรม ใช้หลกั วิชา ความรู้ ดำเนนิ ชวี ิตด้วยความเพยี รเป็นพื้นฐานสำคัญ ดงั นี้ “ใช้หลักวิชาความร”ู้ โดยนำหลักวิชาและความรู้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมมาใช้ ทัง้ ในขั้น การวางแผนและปฏิบตั ิอย่างรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั กล่าวคอื นำวชิ าการต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมาศึกษา อยา่ งรอบด้าน และมคี วามรอบคอบทจี่ ะนำความรู้เหล่านนั้ มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพือ่ ประกอบ การวางแผน ตลอดจนมคี วามระมัดระวังในขัน้ ของการปฏบิ ัติ “มีคุณธรรม” การปฏิบัติเพือ่ ให้เกิดความพอเพียงนัน้ ต้องเสริมสร้างให้คนในชาติมีพื้นฐาน จิตใจในการปฏิบตั ิ โดยเสริมสร้างคุณธรรมสำคัญให้เกิดขึ้น ประกอบด้วย มคี วามตระหนักใน ความซอื่ สตั ย์ สุจรติ จริงใจ ทัง้ น้ี การท่บี ุคคล ครอบครัว องค์กร และชมุ ชนจะนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ต้องนำระบบคุณธรรมและความซื่อสตั ยส์ จุ ริตมาประพฤติปฏิบัติก่อน โดยเริ่มจาก การอบรมเลีย้ งดูในครอบครัว การศึกษาอบรมในโรงเรียน การสัง่ สอนศีลธรรมจากศาสนา ตลอดจน การฝึกจติ ข่มใจตนเอง “ดำเนินชวี ิตด้วยความเพยี ร” มคี วามอดทน ความรอบคอบ และความเพียร ตลอดจน ใช้สติปัญญาในการดำเนินชวี ิต 224

แนวพระราชดำริและพระราชจริยวัตร ๒.๑ หลักวชิ าอนั ถกู ตอ้ ง หลกั วิชาอนั ถูกต้องถือเปน็ เงื่อนไข สำคัญประการหนงึ่ ของการดำเนินชีวิตตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยทรง สนับสนนุ ให้แต่ละบคุ คลหมนั่ แสวงหาความรู้ และใช้ความรูน้ นั้ บนพื้นฐานของคุณธรรม เพื่อให้สามารถดำเนนิ ชีวิตได้อย่างก้าวหนา้ ดงั แนวพระราชดำริ ดังน้ี  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนให้ทุกคนหมัน่ แสวงหาความรเู้ พมิ่ เติม คิดวิเคราะห์บนพนื้ ฐานของการมีหลักวชิ า อันถูกต้อง โดยใช้ควบคู่ไปกับเงือ่ นไขด้านคุณธรรม ซึ่งเป็น ๒ เงื่อนไข สำคัญต่อการดำเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดังเช่นที่ ดร. สเุ มธ ตันตเิ วชกุล ไดเ้ ล่าประสบการณ์ท่ไี ดจ้ ากการถวายงาน ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาทไว้ในหนงั สือ การทรงงานพัฒนาประเทศในพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ความตอนหนงึ่ ว่า “....พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงมคี วามเปน็ ครมู าก โดยทรงมวี ธิ กี ารสอน ทมี่ ศี ิลปะสูงและพระราชทานคำอธิบาย ท่ีมีแง่มุมต่างๆ ได้อย่างครอบคลุม เรยี กไดว้ า่ ทรงอธบิ ายทุกหน้าของเหรยี ญ เนอื่ งจากเรื่องบางเรือ่ ง หากอธิบายด้านเดียวก็อาจจะทำให้เข้าใจผดิ ได้ นอกจากนเี้ วลารับสัง่ กับ คณะผูถ้ วายงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวจะทรงกระตุน้ ให้ทกุ คนคิดตามไปด้วย โดยจะไมท่ รง รับสัง่ ทัง้ หมดหรือรับสัง่ สำเร็จรูป แต่ทรงต่อวิชา ต่อความรู้ เพื่อให้ผูถ้ วายงานแต่ละคนได้ใช้ดุลยพินิจ และสติปัญญา คิดตาม เสมือนเปน็ การลบั สมองและพัฒนาวิชาความรูใ้ ห้คมอยูเ่ สมอ ผูถ้ วายงาน ทุกคนจึงต้องหมนั่ ฝึกฝนทักษะในเรื่องการคิด การใช้ความรู้ ค้นคว้า และในขณะเดียวกันก็ต้องคิดและ กราบบงั คมทูลฯ ด้วย เรียกได้วา่ ต้องมสี ติ เพราะทุกอย่างตอ้ งประสานสัมพนั ธก์ ันหมด....” 225

 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสเกี่ยวกับการแสวงหาความรู้เพื่อสร้างตนนี้ว่า ในขั้นแรกนอกจากจะทำเพือ่ ให้ตนเองก้าวหน้าอย่างมีความสุข และยังถือเป็นการให้เกียรติ ตนเองท่ีสามารถยนื ได้ดว้ ยลำแขง้ ของตัวเองด้วย ดังพระราชดำรสั ความตอนหนง่ึ ว่า “...การทีต่ ้องการให้ทุกคนพยายามทีจ่ ะหาความรแู้ ละสรา้ งตนเองให้มัน่ คงนี ้ เพือ่ ตนเอง เพอื่ ทีจ่ ะให้ตวั เองมีความเป็นอยู่ที่ก้าวหนา้ ทีม่ ีความสุข พอมีพอกินเป็น ขั้นหนงึ่ และขัน้ ต่อไปก ็ คือ ให้มีเกียรติวา่ ยนื ได้ดว้ ยตนเอง...”  ในการใชค้ วามรนู้ ้ัน พระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทรงสอนใหใ้ ชห้ ลกั วชิ าการความรคู้ วบคไู่ ปกบั การเปน็ คนมี คุณธรรมเสมอ คอื ใหพ้ ัฒนาทางวัตถุซึง่ เปน็ สงิ่ ของภายนอกและในขณะเดยี วกนั ต้องพัฒนาจิตใจควบคูไ่ ปด้วยเสมอ เพือ่ ให้เป็นคนทมี่ คี วามรูค้ ูค่ ุณธรรม โ ด ย คุ ณ ธ ร ร ม ท่ี จ ะ น ำ ไ ป ใ ช้ น้ั น ก็ มี ไ ด้ หลายเรอ่ื ง เชน่ ความเพยี ร ความซอ่ื สตั ย์ การเห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม เป็นต้น ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธี พระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ กนั ยายน๒๕๐๔ ความตอนหนง่ึ วา่ “...การดำเนินชีวิตโดยใชว้ ิชาการอย่างเดียวยังไมเ่ พยี งพอ จะต้องอาศยั ความรู้ รอบตวั และหลักศีลธรรมประกอบดว้ ย ผู้ทีม่ ีความรดู้ ีแตข่ าดความยั้งคดิ นำความรู้ ไปใช้ในทางมิชอบ กเ็ ท่ากบั เปน็ บคุ คลที่เป็นภัยแกส่ งั คมมนษุ ย์...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงขยายความเกี่ยวกับเรือ่ งความสำคัญของคุณธรรมทจี่ ะต้อง ดำเนนิ ควบคูก่ ันไปกับหลักการของความรูท้ ีน่ ำมาใช้บริหารบา้ นเมอื ง อนั ประกอบด้วย การระมัดระวัง พิจารณาเรือ่ งราวและและปัญหาด้วยจิตใจมนั่ คงกับความจริงใจในภาระหน้าทงี่ านทปี่ ฏิบัติ ดงั พระบรมราโชวาทพระราชทานในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบัตรของจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เม่ือวนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๒๖ ความตอนหนึ่งวา่ “...วชิ าความรทู้ ีแ่ ตล่ ะคนมีอยู่เป็นปัจจยั สำคญั สำหรบั การทำงาน สร้างฐานะ ความเจริญมน่ั คงของตนเองและบา้ นเมอื ง. แต่นอกจากน้ันบคุ คลยงั ตอ้ งอาศยั คุณธรรม 226

อีกหลายอย่างเป็นพืน้ ฐานรองรบั และส่งเสริมวชิ าการ เพอื่ ให้สำเร็จความมุ่งหมายได้ โดยสมบรู ณ์ คุณธรรมขอ้ แรก คือ การระมดั ระวงั พจิ ารณาเรอ่ื งราวและปัญหาทุกอยา่ ง ด้วยจิตใจที่มั่นคง และเป็นกลางปราศจากอคต ิ ซงึ่ จะช่วยให้มองเห็นเหต ุ เห็นผล เห็นสาระของเรือ่ งไดอ้ ย่างถูกต้อง ทำให้สามารถจำแนกความถูกผิด ดีช่ัว และปฏิบัตติ น ปฏิบัติงานได้ถูกถ้วน เทีย่ งตรง พอเหมาะพองาม. ขอ้ ที่สอง คือ ความจริงใจต่อฐานะหน้าทีข่ องตน ไม่หลอกลวงตนเอง ไม่หลอกลวงกันและกัน อนั เป็นมูลเหตุสำคญั ของความผิดพลาดล้มเหลวของภารกิจทั้งปวง. ความจริงใจนี้ ทำให้บุคคลเข้าถึงกันเข้าถึงงาน เขา้ ถึงเป้าประสงคไ์ ด้โดยตรงและชว่ ยให้สามารถ สร้างสรรค ์ ความดีความเจรญิ ไดโ้ ดยอิสระ คล่องตัวและมปี ระสทิ ธภิ าพ...” ดังนัน้ จึงสามารถสรุปได้ว่า ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผูท้ ีจ่ ะนำความรู้หรือ หลกั วิชาการไปประยุกต์ใช้ จำเปน็ จะต้องมีสติและคุณธรรมกำกับความรู้ เพือ่ ให้เป็นความรูท้ ีเ่ ป็น ปญั ญาและมคี ุณค่าต่อการนำไปใช้หรือนำไปประกอบการปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ แก่ส่วนรวมได้อยา่ ง แท้จริง ทงั้ นี้ การใช้ความรูอ้ ยา่ งถูกต้องนัน้ เปน็ เงือ่ นไขสำคัญในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ให้ได้ผล โดยหลักวิชาหรือความรูท้ ีน่ ำมาใช้นัน้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังดว้ ย ดงั จะขออธิบายเพิม่ เติมในแต่ละประเดน็ ดงั น้ี ความรอบรู้ คือ การมีความรู้เกย่ี วกบั วิชาการตา่ งๆ อยา่ งรอบดา้ น เขา้ ใจและมคี วามรู้ในเน้อื หา ของเรือ่ งตา่ งๆ อยา่ งถอ่ งแท้ จนสามารถใช้เป็นพน้ื ฐานสำหรับการนำความร้นู ัน้ ไปใชใ้ นโอกาสต่างๆ ได้ ความรอบคอบ คือ ความสามารถทีจ่ ะนำความรูแ้ ละหลกั วิชาต่างๆ มาพิจารณา วิเคราะห์ให้ เชือ่ มโยงสมั พันธ์กันอย่างเปน็ ขัน้ เปน็ ตอน เพือ่ ใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการวางแผน ก่อนทีจ่ ะนำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิทกุ ขัน้ ตอน 227

ความระมัดระวัง คือ การมีสติในการนำแผนการดำเนนิ งานตามหลักวิชาต่างๆ เหลา่ นัน้ ไปใช้ ในทางปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เปน็ ความรู้ทมี่ คี วามทันสมยั ต่อสถานการณค์ วามเปลยี่ นแปลงต่างๆ ทเี่ กิดขึ้น อยตู่ ลอดเวลา ๒.๒ มีความเพียร ซื่อสัตย์ สุจรติ จริงใจต่อกนั รู้ รัก สามคั คี ทำงานอย่าง มีความสุข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรง บำเพ็ญพระราชกรณียกิจด้วยความเพียร โดยทรงเน้นย้ำถงึ การมคี วามพยายามในการทำ สงิ่ ใดๆ กต็ ามเพื่อให้เกิดผลสำเร็จ ทรงสงั่ สอน พสกนกิ รใหม้ คี วามเพยี ร มคี วามซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ และจรงิ ใจตอ่ กนั รวมถงึ ทรงปลกู ฝังใหพ้ สกนิกร มีความรัก ความสามัคคี และความปรองดอง โดยทรงเนน้ ย้ำให้สิง่ เหลา่ นีเ้ กิดขึน้ ในจิตใจของ ทกุ คน อกี ทงั้ ทรงแนะนำให้พสกนิกรรู้จัก การทำงานอยา่ งมคี วามสขุ เรยี นรทู้ จ่ี ะเปน็ ผใู้ หแ้ ละ ผรู้ บั ทด่ี ี ดงั เชน่ เมอ่ื ทรงบำเพญ็ พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวไม่ทรงเหนด็ เหนือ่ ย จากการทำงาน แต่ทรงมีความสขุ จากการเป็นผู้ให้ ด้วยทรงเห็นว่าคุณสมบตั ิต่างๆ เหลา่ นีล้ ้วนเป็นองค์ประกอบสำคัญต่อการพัฒนาชาติบา้ นเมอื ง ให้มคี วามเจริญกา้ วหน้า กอ่ เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและสว่ นรวม ดังแนวพระราชดำริ ดังน้ี  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงแนะแนวทางปฏบิ ตั ิใหป้ ระชาชนตระหนกั ถึง การใชช้ ีวติ ในการทำงาน เมอื่ มีโอกาสได้ทำงาน ไม่ว่างานนัน้ จะเปน็ งานอะไรก็ตาม ทุกคนควรมีความสุข และเต็มที่กับการปฏิบัติหนา้ ทีท่ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ไมต่ ั้งข้อแม้หรือเงื่อนไขใดๆ กับงานนนั้ ๆ แตค่ วรมีความเพยี ร ขยันอดทน และมีความซือ่ สัตย์สุจริต สิ่งเหล่านีจ้ ะชว่ ยให้ประสบผลสำเร็จ ในหนา้ ที่การงาน ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา เมอ่ื วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐ ความตอนหนงึ่ ว่า “...เม่อื มโี อกาสและมงี านทำ ควรเต็มใจทำโดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งต้ังขอ้ แมห้ รอื เง่ือนไข อนั ใด ไวใ้ หเ้ ปน็ เครอ่ื งกดี ขวาง คนทท่ี ำงานไดจ้ รงิ ๆ นน้ั ไมว่ า่ จะจบั งานสง่ิ ใด ยอ่ มทำไดเ้ สมอ ถ้ายิง่ มีความเอาใจใส่ มีความขยันและความซือ่ สัตย์สุจรติ ก็ยิ่งจะชว่ ยให้ประสบ ผลสำเรจ็ ในงานที่ทำสูงข้ึน...” 228

 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงให้ความสำคัญกับการมคี วามเพียร หรอื ความอดทนวา่ เป็นส่ิงท่สี ามารถกำจดั ความเสอ่ื มใหห้ มดไปได้ และเปน็ การพฒั นา ความสามารถในการนำมาซึง่ สงิ่ ดีงาม โดยทรงเชื่อม่นั ว่า ผ้ใู ดทม่ี ีความเพียรในตัว ไม่วา่ จะปฏบิ ตั สิ ่งิ ใดกย็ ่อมจะเกดิ ประโยชน์ และเกิดผลสำเร็จ อนั นำมาซึ่งความเจริญ กา้ วหนา้ ในหนา้ ทข่ี องตนเองและประเทศชาติ ดังพระราชดำรัสพระราชทานในพิธี กาญจนาภิเษก ทรงครองราชย์ครบ ๕๐ ปี เมือ่ วันท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ ความตอนหนึ่งว่า “...ความเพยี รที่ถูกตอ้ งเป็นธรรม และพงึ ประสงค์นัน้ คอื ความเพียรทีจ่ ะกำจดั ความเสื่อมให้หมดไป และระวังป้องกันมิให้เกิดขนึ้ ใหม่อย่างหนึง่ กับความเพยี ร ทีจ่ ะสร้างสรรค์ความดีงาม ให้บังเกิดขนึ้ และระวังรกั ษามิให้เสื่อมสิ้นไปอย่างหนงึ่ ความเพยี รทั้งสองประการนี ้ เป็นอุปการะอย่างสำคญั ต่อการปฏิบัตติ น ปฏิบัตงิ าน ถ้าทุกคนในชาติจะได้ตัง้ ตน ตัง้ ใจอยูใ่ นความเพียรดงั กล่าว ประโยชน์และความสุข กจ็ ะบังเกิดขน้ึ พรอ้ มทงั้ แก่ส่วนตวั และส่วนรวม...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวยังได้ทรงชี้แนะ ให้พสกนิกรรู้จักอดทนอดกลัน้ และปลกู ฝังเรื่อง ความเพียรโดยได้ทรงพระราชนิพนธ์เรือ่ ง “พระมหาชนก” พระราชทาน เป็นธรรมะแก่พสกนกิ รให้มี ความเพียรด้วยความอดทน โดยไม่ท้อแท้ จนกว่าจะประสบความสำเรจ็ และไมห่ วงั ผลตอบแทน ซึ่งเปน็ พระราชนพิ นธ์ทีท่ รงใช้เวลาค่อนข้างนานในการคิดประดิษฐ์ให้เข้าใจง่ายและปรับเปลยี่ นให้เข้ากับ สภาพสังคมปจั จุบนั มที ั้งภาคภาษาไทยและภาษาองั กฤษโดยทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ัดพมิ พ์ขนึ้ ในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนาภิเษกทีท่ รงครองสิริราชสมบัติเป็นปีที่ ๕๐ ในปี ๒๕๓๙ และได้ทรง พระราชปรารภจากพระราชนิพนธเ์ รอ่ื งพระมหาชนก คอื “ขอจงมคี วามเพยี รท่ีบรสิ ุทธ์ิ ปัญญาท่เี ฉยี บแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์” ด้วย ประชาชนชาวไทยสมควรที่จะได้ศกึ ษาหนงั สือเล่มนี้ แลว้ น้อมรับมาวิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตามรอย พระมหาชนก พระมหากษัตริยผ์ ูม้ ีความเพียรอนั บริสุทธิ์ทพี่ ยายามว่ายน้ำข้ามมหาสมทุ รต่อไป เมอื่ เรืออับปาง แมจ้ ะไมเ่ ห็นฝัง่ เพราะถ้าไมเ่ พียรว่ายก็จะตกเป็นอาหารของสัตว์นานาชนิด ทงั้ ปู ปลา และไมไ่ ด้พบกับนางมณีเมขลา เทพธิดาผูด้ ูแลรักษาสตั ว์ทงั้ หลายผปู้ ระกอบคุณความดี ทมี่ าช่วยเหลือ มิให้จมนำ้ ไป 229

เมือ่ นางมณีเมขลาได้เหาะมาช่วยเหลอื พระมหาชนกแล้ว ก็ได้คำตอบว่า ถึงแมม้ องไม่เห็นฝัง่ แต่พระองค์ยงั เพียรว่ายน้ำต่อไป เพราะไตร่ตรองเอาไว้แล้วว่า อานิสงส์แห่งความเพียรย่อมไม่นำ ความเดอื ดรอ้ นมาใหใ้ นภายหลงั เปน็ แน่ ดงั ทพี่ ระมหาชนกได้ตรัสตอบว่า “...เราไตรต่ รองเหน็ ปฏปิ ทาแหง่ โลก และอานิสงสแ์ ห่งความเพยี ร เพราะฉะน้นั ถึงจะมองไม่เห็นฝัง่ เราก็จะตอ้ งพยายามวา่ ยอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร และทำความ พยายามแมต้ ายกจ็ ักพ้นครหา บคุ คลเม่อื กระทำความเพียร แมจ้ ะตายกช็ ่อื ว่าไมเ่ ปน็ หน ้ี ในระหว่างหมูญ่ าต ิ เทวดา และบิดา มารดา อน่ึง บุคคลเมือ่ ทำกิจอย่างลูกผูช้ าย ย่อมไม่เดือดรอ้ นในภายหลงั ...”  นอกจากความเพยี รพยายาม ทที่ รงเนน้ ยำ้ ให้พสกนิกรพึงตระหนกั และยดึ ถือนำไปปฏิบตั ิแล้ว พระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวยังทรงเน้นย้ำให้ พสกนกิ รทุกหมู่เหล่ามีความซอื่ สัตย์ สุจรติ จริงใจต่อกัน โดยทรงเห็นว่า หากคนไทยทกุ คนไดร้ ว่ มมอื ชว่ ยพฒั นาชาติ ดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ จรงิ ใจตอ่ กนั แลว้ ประเทศไทยจะเจรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งมาก การเป็นคนมคี วามซือ่ สัตย์ แม้ว่าจะมคี วามรู้น้อย ก็สามารถสร้างประโยชนใ์ ห้แก่ประเทศชาติ ได้มากกว่าคนทมี่ ีความรู้มาก แต่ไม่มคี วามซือ่ สัตย์สจุ ริต ดังพระราชดำรัสพระราชทานเมือ่ วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๓ ความตอนหนึ่งว่า “…ผูท้ ี่มีความสุจริตและบริสุทธิใ์ จ แม้จะมีความรนู้ ้อยก็ย่อมทำประโยชนใ์ ห้แก่ ส่วนรวมได้มากกวา่ ผ้ทู ม่ี ีความรู้มาก แต่ไม่มคี วามสจุ รติ ไมม่ ีความบริสทุ ธใิ์ จ...”  ในการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงกำชับอยูต่ ลอดเวลาให้ผู้ปฏิบัตยิ ึด ความซ่อื สตั ย์ สจุ รติ เปน็ พ้ืนฐานของความคดิ และการกระทำ ดว้ ยถอื เปน็ คณุ ธรรมสำคญั ขอ้ แรกท่ตี อ้ ง ปลูกฝงั ใหม้ ขี ้นึ เพ่อื การพฒั นาตนของแตล่ ะบคุ คลใหเ้ ป็นคนดขี องสังคม ดงั พระบรมราโชวาทเร่อื งคณุ ธรรม ๔ ประการ ทจี่ ะช่วยให้ประเทศชาติเจริญงอกงาม หากได้รับการปลูกฝงั โดยทัว่ กัน อนั ได้แก่ การรกั ษาความสัจ การร้จู ักอดทน อดกลน้ั และการรู้จักละวางความช่ัวพระราชทานแกป่ วงชนชาวไทย เม่อื คราวสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี เมื่อวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๕ ความตอนหนง่ึ วา่ 230

“...ประการแรก คอื การรกั ษาความสจั ความจรงิ ใจตอ่ ตวั เองทจ่ี ะประพฤติปฏบิ ตั ิ แตส่ งิ่ ที่เป็นประโยชน์ และเป็นธรรม ประการที่สอง คือ การรจู้ ักข่มใจตนเอง ฝึกตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ ในความสัจอนั ดีนน้ั ประการท่สี าม คือ การอดทน อดกล้นั และอดออมท่จี ะไม่ประพฤติล่วงความ สจั สจุ รติ ไมว่ า่ ดว้ ยเหตปุ ระการใด ประการทีส่ ่ี คือ การรจู้ กั ละวางความช่วั ความทจุ ริต และรู้จกั เสียสละประโยชน์ สว่ นน้อยของตน เพ่อื ประโยชน์สว่ นใหญข่ องบ้านเมือง คณุ ธรรมส่ีประการน ี้ ถ้าแต่ละคนพยายามปลกู ฝังและบำรงุ ให้เจริญงอกงามขน้ึ โดยทัว่ กันแล้วจะช่วยให้ประเทศชาติบังเกิดความสุข ความร่มเย็น และมีโอกาส ทจ่ี ะปรับปรงุ พฒั นาใหม้ ่ันคงกา้ วหน้าต่อไปไดด้ ังประสงค.์ ..”  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นย้ำถึงคุณค่าของความซื่อสัตย์สุจริตว่าจะนำมา ซึง่ งานอนั เกิดประโยชน์ แตกต่างจากคนไมส่ จุ ริตทีไ่ ม่สามารถก่อให้เกิดงานอนั เกิดประโยชน์ แก่สว่ นรวมได้ ดงั พระราชดำรสั พระราชทานเมื่อวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๒ ความตอนหนงึ่ วา่ “...คนท่ไี มม่ คี วามสจุ ริต คนท่ไี มม่ คี วามม่นั คง ชอบแตม่ กั งา่ ย ไมม่ วี ันจะสรา้ งสรรค ์ ประโยชน์สว่ นรวมท่สี ำคัญอนั ใดได้ ผทู้ ม่ี คี วามสจุ ริตและความม่งุ มน่ั เทา่ น้นั จงึ จะทำงาน สำคัญย่ิงใหญท่ ่ีเป็นคุณ เป็นประโยชน์แท้จรงิ ไดส้ ำเรจ็ ...”  นอกจากความซื่อสัตยส์ จุ ริตทตี่ ้องมที งั้ ต่อตนเองและผอู้ นื่ แล้ว ยังต้องอาศยั ความบรสิ ุทธิใ์ จ และจริงใจ เป็นองคป์ ระกอบสำคัญในการทำงานให้สัมฤทธิ์ผลอย่างถูกต้อง โดยพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ทรงเปรยี บเทยี บความรเู้ ป็นเหมือนเคร่อื งยนตท์ ่ีขบั เคล่อื นไปได้ แตค่ ณุ ธรรมเปน็ ดงั หางเสือ ทกี่ ำหนดทศิ ทางการดำเนนิ ไปให้ถูกให้ควร ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทาน ปรญิ ญาบตั ร มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง เมือ่ วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๒๐ ความตอนหน่งึ ว่า 231

“...การท่จี ะทำงานใหส้ มั ฤทธผ์ิ ลท่พี ึงปรารถนา คือ ท่เี ปน็ ประโยชน์และเปน็ ธรรม ด้วยนนั้ จะอาศยั ความรูแ้ ตเ่ พียงอย่างเดียวมิได ้ จำเป็นตอ้ งอาศัยความสุจรติ ความบริสุทธิใ์ จ และความถูกตอ้ งเป็นธรรมประกอบดว้ ย เพราะเหตุวา่ ความรูน้ นั้ เปน็ เหมอื นเคร่ืองยนตท์ ท่ี ำใหย้ วดยานเคลอ่ื นท่ไี ปไดป้ ระการเดียว สว่ นคณุ ธรรมดงั กลา่ ว เป็นเหมือนหนงึ่ พวงมาลัยหรือหางเสือ ซึง่ เป็นปัจจัยทีจ่ ะนำพาให้ยวดยานดำเนนิ ไป ถูกทางด้วยความสามัคค ี คอื ปลอดภัย จนบรรลถุ งึ จุดหมายท่พี งึ ประสงค.์ ..” การมีความเพียร ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต และจริงใจ ตอ่ กัน นบั ว่าเปน็ สิง่ ท่ดี ีงามแลว้ แต่หากคนในชาตริ ้จู ักวิธกี าร ดำเนินชวี ติ ที่ถูกวธิ ี และมีความรู้ รัก สามัคคี ตลอดจน มคี วามสุขในการทำงาน โดยรจู้ กั ทีจ่ ะเปน็ ทง้ั ผู้ให้ ผรู้ ับ และ สิง่ เหลา่ นี้ย่อมจะนำพาใหช้ าติบ้านเมืองสุขสวสั ดี ตลอดระยะเวลาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงครองราชย์ พระองค์ได้ทรงทมุ่ เทพระวรกายตรากตรำ และมงุ่ มนั่ เพือ่ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้แก่พสกนิกร ทว่ั ประเทศ ไมว่ า่ จะเชอ้ื ชาตใิ ด ศาสนาใด หรอื อยหู่ า่ งไกลเพยี งใด ก็มิทรงย่อทอ้ พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทัว่ ทุกพื้นที่ เพือ่ เข้าไป ชว่ ยเหลอื ราษฎรในดา้ นตา่ งๆ ท้ังทางดา้ นสาธารณสุข การศกึ ษา สาธารณูปโภคขน้ั พน้ื ฐาน การเกษตร ฯลฯ โดยทรงงานหนกั และบำเพ็ญพระราชกรณยี กิจด้วยพระวิริยะอุตสาหะ ใช้ความรู้ ความสามารถและความร่วมมอื ร่วมใจ ในการฝา่ ฟนั อปุ สรรคนานปั การ เพอ่ื ผลแหง่ ความอย่ดู ี กนิ ดี ของพสกนิกรชาวไทยใหไ้ ดม้ ีชวี ติ ความเป็นอยู่ ที่ดขี น้ึ ดังจะเห็นว่า ในการจะริเริ่มโครงการหรือมลู นิธิใดๆ จะทรงมุง่ เนน้ ไปทีเ่ ป้าหมายคือ เพื่อความ อยดู่ ีมีสขุ ของพสกนิกรทงั้ สนิ้ ดังเช่น เป้าหมายสำคัญของการจัดตั้งมลู นธิ ิชัยพัฒนา เพื่อสงเคราะห์ ช่วยเหลือประชาชนให้มีความร่มเย็นเป็นสุขและอยูด่ ีกินดี ซึ่งจะนำไปสูค่ วามมนั่ คงของประเทศคือ ชัยชนะแห่งการพฒั นา  ในการนอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดม้ พี ระราชดำรสั ถึงความซือ่ สัตย์สุจริต ทีต่ อ้ งปลูกฝังให้เกิดมีขนึ้ ไปพรอ้ มๆ กับการดำเนินชีวิตดว้ ยความอดทนและ การมีความเพยี รว่าเป็นเงื่อนไขสำคัญประการหนึง่ ทีต่ ้องพัฒนาให้เกิดขึน้ กับการมสี ติปัญญา ความรอบรแู้ ละความรอบคอบ ดงั ที่ปรากฏในนิยามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตอนหน่ึงวา่ 232

“...ในการนำวิชาการต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดำเนินการทุกขน้ั ตอน และขณะเดยี วกันก็ตอ้ งเสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานทางจติ ใจของคนในชาต ิ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เจา้ หนา้ ทีข่ องรฐั นกั ทฤษฎี นักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนกึ ในคณุ ธรรมความซือ่ สัตย์ สุจริต มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชวี ติ ดว้ ยความอดทน มคี วามเพยี ร มสี ติปญั ญา และความรอบคอบ หลักการน้ี คือ เง่อื นไขท่สี ำคญั ทส่ี ดุ ...”  นิยามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งน้ัน แสดงใหเ้ หน็ วา่ ในการปฏบิ ัติ เพือ่ ให้เกิดความพอเพียงนัน้ จะต้อง เสริมสร้างให้คนในชาติมพี ืน้ ฐานจิตใจ ท่เี ขม้ แขง็ โดยปลูกฝงั ระบบคณุ ธรรมและ ความซือ่ สัตย์สุจริตในแต่ละบคุ คลก่อน เริ่มจากการอบรมเลยี้ งดูในครอบครัว การศึกษาอบรมในโรงเรียนการสัง่ สอน ศีลธรรมจากศาสนา ตลอดจนหมนั่ ฝกึ ฝนฝึกจิตและข่มใจของตนเอง ควบคู่ไปกับการปลกู ฝงั ความเพียร ความอดทน มสี ติปัญญาในการดำเนนิ ชีวิต และรู้จักนำหลกั วิชาและความรู้ เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมมาใช้ ทัง้ ในขั้น การวางแผนและปฏิบัติ ด้วยความ รอบรูร้ อบคอบและระมดั ระวังอย่างยิง่ โ ด ย ป ร ะ ช า ช น จ า ก ท กุ ภ า ค ส ว่ น โดยเฉพาะกลุม่ นักธุรกิจ ข้าราชการ และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีค่ วรจะต้องตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ ของตนและมงุ่ พัฒนาใน ๒ ระดับ ได้แก่ ๑) ระดบั แรก ระดบั บุคคลหรือเจา้ หนา้ ที่ : ควรปรับวิถีและใช้ชีวิตแบบพอเพียง รูจ้ ัก พอประมาณและพง่ึ ตนเองเปน็ หลกั ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความรบั ผดิ ชอบ รอบคอบและระมดั ระวงั ในการใชจ้ า่ ยอยา่ งเหมาะสมกบั รายได้ พฒั นาตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ และรว่ มเสรมิ สรา้ งสภาวะแวดลอ้ ม ทเี่ ออื้ ต่อการอยูร่ ่วมกันของคนในสังคม อยรู่ ่วมกับระบบนิเวศได้อย่างสมดุล มสี ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสตั ย์ สุจริต มีสติยัง้ คิด ใช้ปญั ญาพิจารณาอย่างรอบคอบในการดำเนนิ ชีวิต และปฏิบตั ิหน้าที่ บนพื้นฐานของความมเี หตุผล พอประมาณกับศักยภาพและสถานภาพของตน ตลอดจนต้องหมนั่ 233

เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม รู ้ใ ห้ เ ท ่า ท ัน ก า ร เปลยี่ นแปลงตา่ งๆ เพ่อื จะไดม้ ีภมู คิ ุ้มกนั ในตัวทีด่ ี ทีส่ มัยใหมเ่ รียกว่าการบริหาร ความเสีย่ งดว้ ย ๒) ระดบั ที่สอง ระดบั องค์กร หรือผูบ้ ริหาร : ต้องมกี ารบริหาร ความเสยี่ ง ไม่ทำธุรกิจ หรือโครงการ ท่ีเกนิ ตวั หรอื เส่ียงเกนิ ไป แตต่ อ้ งรจู้ กั ปรบั ขนาดองค์กรให้เหมาะสม จัดกำลังคน ตามความรู้ความสามารถบริหารงาน ตามหลักธรรมาภิบาลด้วยความโปร่งใส มีคณุ ธรรม บรหิ ารจดั การทรพั ยากรอย่าง ประหยดั และคุ้มค่า ตลอดจนมกี าร พฒั นาศกั ยภาพของเจา้ หนา้ ทใ่ี นองคก์ รและถา่ ยทอดความรใู้ นการปฏบิ ตั งิ านเตรยี มแผนงาน โครงการตา่ งๆ อยา่ งสอดคลอ้ งกบั แนวทางการบริหารและพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นอกจากการเสรมิ สร้างและปลกู ฝงั จิตสำนกึ คุณธรรม เร่อื ง การมีความเพียร ความซื่อสัตย์สุจรติ จริงใจต่อกัน อันเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชน ข้างตน้ แลว้ บนั ได ๓ ขนั้ ท่เี ปน็ แนวคิดที่ศาสตราจารย์เกยี รติคุณนายแพทยเ์ กษม วฒั นชยั องคมนตรี ได้น้อมนำและเรียนรู้ตามแนวพระราชดำริ ก็เปน็ กลไกสำคัญทีช่ ่วยขับเคลอื่ นให้การใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งบรรลุผลไดง้ า่ ยย่ิงข้นึ โดยมีจดุ มุ่งหมายใหเ้ ป็นแนวทางสำหรบั ประชาชนผ้ปู ระยกุ ต์ ใช้ปรชั ญาดงั กลา่ วได้น้อมนำไปเป็นแนวทางปฏิบตั ิ ไดแ้ ก่ การเรียนรู้และมีศรัทธา การประยุกต์ใช้ และ การปลูกฝงั จนกลายเป็นวัฒนธรรม ซง่ึ มรี ายละเอียดในแต่ละขั้น ดงั นี้ บันไดข้ันท่ีหน่ึง คือ ต้องเรียนรูแ้ ละมศี รัทธาในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยต้องน้อมนำ พระราชดำรัสเรอื่ ง “ความรู้ รัก สามัคคี” มาใช้ โดย “รู”้ คอื การท่แี ตล่ ะบุคคลได้มาร่วมกันถกแถลง และศกึ ษา เพ่อื ใหร้ ้แู ละเขา้ ใจแกน่ สาระท่แี ท้จรงิ ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งวา่ เป็นการดำเนินชวี ติ ตามทางสายกลางทีไ่ ม่สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึง่ ผา่ นเวทีการหารือในรูปแบบต่างๆ เช่น การบรรยาย การประชมุ กลุ่มยอ่ ย การถกแถลงกนั ฯลฯ เม่ือทุกคนเขา้ ใจตรงกนั อย่างถกู ตอ้ งแล้วกจ็ ะนำมาสู่ บนั ไดข้ันท่สี อง คอื เหน็ คณุ คา่ และรกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งนี้ จนเกิดศรัทธาท่ีจะน้อมนำไปปฏิบัติ 234

หลงั จากนน้ั จงึ เขา้ สบู่ นั ไดขน้ั ทส่ี าม คอื การนำปรชั ญาฯ ไปประยกุ ตใ์ ชจ้ นกลายเปน็ วฒั นธรรมของสงั คม ต้องต้งั อยบู่ นพน้ื ฐานของความสามคั คี แต่ละภาคสว่ น ทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือประชาชน ต้องชว่ ยกัน ขบั เคลอ่ื นปรชั ญาฯ น้ี ไปสรู่ ะดบั ครวั เรอื นใหไ้ ดแ้ ละเมอ่ื ปรชั ญาฯ น้ี ถกู ใชบ้ อ่ ยๆ จนเปน็ หลกั ในการดำเนนิ ชวี ติ กจ็ ะกลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวฒั นธรรมและวธิ คี ดิ ของคนไทย นำมาซง่ึ ผลแหง่ ความสขุ จากการปฏบิ ตั ขิ องทกุ คน  พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงสนบั สนุนใหพ้ สกนิกรมคี ุณธรรมในจติ ใจทเ่ี ปน็ ทต่ี ง้ั ของ ความรักและความสามคั คขี องคนในชาติ และเปน็ พ้ืนฐานสำคญั ตอ่ การพฒั นาประเทศใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื ง ต่อไป ดังพระราชดำรัสเกีย่ วกับคุณธรรมทีจ่ ะช่วยให้เกิดความรัก ความสามคั คีในชาติ ในวโรกาส เสดจ็ ออกมหาสมาคมฯ เมอื่ วันที่ ๙ มถิ ุนายน ๒๕๔๙ ความตอนหน่งึ ว่า “...คณุ ธรรมซงึ่ เป็นที่ตัง้ ของความรกั ความสามัคคีที่ทำให้คนไทยเราสามารถ รว่ มมือรว่ มใจกันรักษา และพฒั นาชาติบ้านเมืองให้เจรญิ รุง่ เรืองสืบต่อกันไปไดต้ ลอด รอดฝั่ง ประการแรก คอื การท่ีทุกคนคิด พดู ทำด้วยความเมตตา มงุ่ ดี มงุ่ เจริญต่อกัน ประการทส่ี อง คอื การท่แี ตล่ ะคนตา่ งชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ประสานงาน ประสาน ประโยชนก์ นั ใหง้ านทีท่ ำสำเรจ็ ผล ทัง้ แก่ตน แก่ผู้อ่ืน และแกป่ ระเทศชาติ ประการทส่ี าม คือ การที่ทุกคนประพฤตปิ ฏบิ ัติตนอยูใ่ นความสจุ รติ ในกฎ กติกา และในระเบยี บแบบแผน โดยเทา่ เทียมเสมอกัน ประการทีส่ ี่ คือ การทีต่ า่ งคนตา่ งพยายามทำความคิด ความเห็นของตน ใหถ้ ูกตอ้ ง เทย่ี งตรง และมัน่ คงอย่ใู นเหตุในผล...”  ผลจากการนอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ จะนำส่กู ารพฒั นาและความอย่ดู ี มสี ุขของคนในสงั คมไทย ให้ก้าวหน้าไปอย่างสมดุล มั่นคง ยั่งยืน พรอ้ มรบั ต่อการเปลีย่ นแปลง ในทุกด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดล้อม ความรแู้ ละเทคโนโลยี 235

 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงเนน้ เรอ่ื งความสขุ เปน็ เป้าหมายสุดท้ายของการดำเนินชีวิต ทเี่ กิดจาก ความพอมพี อกินของทุกคน โดยไมไ่ ด้ทรงเน้นไปทเี่ งินรายได้ แต่เน้นไปทผี่ ลแห่งการมคี วามสขุ หรือความอยูเ่ ยน็ เป็นสุข ให้ทุกคนทงั้ ทีเ่ ป็นผูม้ หี นา้ ทีแ่ ละประชาชนทวั่ ไปไมว่ ่ามาจาก สาขาอาชีพใดยดึ ถือ “การทำงานอย่างมีความสุข” หรือ การมีความสุขเปน็ คา่ นยิ มหลักในการดำเนินชวี ติ โดยมีวถิ ชี วี ติ แบบไทยทอ่ี ยบู่ นพน้ื ฐานของความพออยพู่ อกนิ พอดี ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย ไมย่ ดึ วัตถุเป็นทีต่ ั้ง แต่ให้ยึดทางสายกลางและใช้สติปัญญา เป็นหลักในการดำเนนิ ชวี ติ ใหพ้ ฒั นาและเตบิ โตอยา่ งคอ่ ยเปน็ ค่อยไปตามลำดับขั้น บนหลกั ของการ “รู้ รัก สามัคคี” และ มุง่ รักษาผลประโยชนส์ ว่ นรวม ตลอดจนมคี วามปรารถนาดี และมีเมตตาที่จะพัฒนาให้สงั คมพ้นจากภัยพิบัติ เพื่อผลแห่งความสุขของสงั คมโดยรวม โดยความสุขนี้ ครอบคลมุ ทัง้ ในเรื่องระดับความอยเู่ ย็นเป็นสขุ ของคนและสังคม และปัจจัยท่ีเอ้ือให้เกดิ ความสุขดว้ ย  ดังจะเห็นได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระเกษมสำราญและทรงมีความสุข ทกุ คราทไ่ี ดช้ ว่ ยเหลอื ประชาชน ทรงเชอ่ื มน่ั วา่ การมคี วามสขุ จากการเปน็ ผใู้ หน้ น้ั เปน็ ผลตอบแทนทย่ี ง่ิ ใหญ่ ทีผ่ ปู้ ฏิบตั ิสมควรจะได้รับ อนั จะนำมาซึง่ ความสขุ และอมิ่ เอบิ ใจ เป็นความสุขทพี่ อเพียงจากการดื่มด่ำ ในจิตใจท่สี ะอาด สว่าง สงบ โดยไม่ต้องอาศยั อามสิ ใดๆ ดงั พระราชดำรัสท่ีเคยรับสั่งไว้ครั้งหนึ่งความว่า “...ทำงานกับฉนั ฉนั ไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขรว่ มกันในการ ทำประโยชน ์ ให้กบั ผู้อนื่ ...”  ในการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งเน้นให้ทุกคน ตระหนักถึงการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ที ีจ่ ะต้องทำตัวเองให้ดเี พอ่ื ประโยชนข์ องสว่ นรวม ดังน้ี ๑) ให้ทกุ คนถือเป็นหน้าทคี่ วามรับผิดชอบทีจ่ ะต้องปฏิบตั ิหน้าทใี่ ห้เต็มกำลงั ด้วยสติ รูต้ ัว ด้วยปัญญา รูค้ ิด และด้วยความสุจริต จริงใจ โดยเห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าสว่ นอนื่ เพื่อความเจรญิ มั่นคงของประเทศชาตเิ ป็นสำคัญ ๒) ผูป้ ระพฤติปฏิบตั ิหนา้ ทีข่ องตนอย่างสมบรู ณ์ก็จะได้รับการพัฒนารากฐานทางจิตใจ ให้เข้มแข็งและมีความเจริญทางจิตใจมากขึน้ ซึ่งความเจริญทางจิตใจนเี้ ปน็ สิง่ ทีท่ กุ คนต้องมุง่ ฝึกฝน และพัฒนาอยา่ งยง่ิ ยวด ไม่สามารถหาซ้อื ด้วยเงินได้ แนวพระราชดำรินีส้ อดคล้องกับพระราชดำรัสพระราชทานในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา เม่ือวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๒ ความตอนหน่ึงว่า 236

“...ความสุข ความสวัสดี ของขา้ พเจา้ จะเกิดขึน้ ไดก้ ็ด้วย บ้านเมืองของเรามีความเจรญิ มน่ั คง เปน็ ปกตสิ ขุ ความเจรญิ มน่ั คง ทัง้ นัน้ จะสำเร็จผลเป็นจรงิ ไปได ้ ก็ดว้ ยทุกคนทุกฝ่ายในชาต ิ ม่งุ ทจ่ี ะปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ขี องตนใหเ้ ตม็ กำลัง ดว้ ยสต ิ รู้ตัว ด้วยปัญญา รคู้ ดิ และด้วยความสุจรติ จรงิ ใจ โดยเหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนรวมยิ่งกวา่ สว่ นอน่ื . จงึ ขอใหท้ ่านทั้งหลายในที่น ้ี ทม่ี ีตำแหน่ง หนา้ ทีส่ ำคัญอยู่ในสถาบันหลักของประเทศและชาวไทยทุกหมูเ่ หล่า ทำความเขา้ ใจ ในหน้าทีข่ องตนให้กระจ่าง แล้วตงั้ จติ ตัง้ ใจให้เทีย่ งตรงหนกั แนน่ ทีจ่ ะปฏิบัติหน้าที่ ของตนให้ดที ี่สุด เพอื่ ใหส้ ำเรจ็ ประโยชนส์ ่วนรวมอันไพบลู ย์ คือชาตบิ ้านเมือง อนั เปน็ ถนิ่ ทีอ่ ยู่ท่ีทำกินของเรา มคี วามเจรญิ มน่ั คงยัง่ ยืนไป...”  ความรักความสามคั คีและความปรองดองเปน็ อีกคณุ สมบตั หิ น่งึ ท่ีทุกคนในชาตพิ งึ มีหากสมาชกิ ในชาติใดยึดถือและปฏิบตั ิสงิ่ เหลา่ นี้ ก็ย่อมจะนำมาซึง่ ความกลมเกลยี วกันของชาติบ้านเมอื ง อันจะนำพาใหป้ ระเทศชาติมคี วามเจริญร่งุ เรอื งต่อไป  พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั มพี ระราชดำรัสเร่อื ง “รู้ รัก สามคั ค”ี มาอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่อื เป็น หลกั ปฏิบัติของชาวไทยทุกคน ซึ่งถือเปน็ คำ ๓ คำทมี่ ีค่าและความหมายลึกซึ้ง สามารถนำไป ปรบั ใช้ได้ในทกุ ยคุ ทกุ สมยั ดงั นี้ ร ู้ คือ การที่เราจะลงมอื ทำสิ่งใดนัน้ จะตอ้ งรู้เสยี กอ่ น รูถ้ ึงปจั จยั ทั้งหมด ร้ถู งึ ปัญหาและ รถู้ ึงวิธกี ารแกป้ ญั หา รกั คือ ความรกั เมอ่ื เรารคู้ รบด้วยกระบวนความแลว้ จะต้องมคี วามรัก การพจิ ารณา ทจ่ี ะเขา้ ไปลงมือปฏบิ ตั ิแก้ไขปัญหานั้นๆ สามัคค ี คือ การที่จะลงมือปฏิบัตินนั้ ควรคำนงึ เสมอว่า เราจะทำงานคนเดยี วไม่ได ้ ต้องทำงานร่วมมือรว่ มใจเป็นองคก์ ร เป็นหมูค่ ณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหา ให้ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี 237

ตัวอยา่ งการน้อมนำหลักการทรงงานไปประยกุ ตใ์ ช้ หลักการทรงงานในเรื่องหลกั วิชาอันถูกต้อง มคี วามเพียรซือ่ สตั ย์สจุ ริตจริงใจต่อกัน การทำงาน อย่างมีความสุข และรู้ รักสามัคคี สามารถเรียนรูไ้ ด้จากตัวอยา่ งการเรียนรูแ้ ละประยกุ ต์ใช้หลกั การ ทรงงานดงั กล่าวทง้ั ในระดบั บคุ คลหรือองค์กร ดังนี้  การเรียนรตู้ ามแนวพระราชดำริ ในเรื่องหลกั วิชาอนั ถูกตอ้ ง ในการนำความรูไ้ ปใช้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนัน้ ผูใ้ ช้ต้องตระหนักว่า ใช้ความรู้ บนพื้นฐานของการมีคุณธรรมกำกับเสมอ ดังเช่นทีป่ ราชญช์ าวบ้านหรือเกษตรกรดีเด่นในหลายชุมชน ทเี่ ข้มแข็งได้น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลกั การทรงงานทีส่ อดคล้องกับองค์ประกอบ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ หลักวิชาอันถูกต้อง การมีความเพียร และความซื่อสัตยส์ ุจริต จริงใจตอ่ กนั ไปใช้ในการดำเนินชวี ิต ดงั นี้ จากการเรียนรู้ประสบการณ์ของปราชญช์ าวบา้ นทีป่ ระสบความสำเร็จจากการพัฒนาชุมชนให้ เข้มแข็ง พบว่า ต้องเริม่ ต้นจากการมีความเชือ่ มัน่ ในผลแห่งความยั่งยืนจากการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ และยดึ มน่ั ในแนวคิดหลกั คอื การพ่ึงพาตนเอง โดยมุ่งม่ันท่ีจะพฒั นาตนเองให้ สามารถยนื อยบู่ นลำแข้งของตัวเองได้ แลว้ จึงสนใจ ใฝเ่ รียนรู้และใฝ่หาความรูจ้ ากสอื่ ต่างๆ เพื่อนๆ เครอื ขา่ ย หรอื เวทีการประชมุ สัมมนาตา่ งๆ เพ่อื ใหม้ คี วามรเู้ ทา่ ทันตอ่ ความเคล่อื นไหว ความเปล่ยี นแปลง และเกดิ ความคดิ รเิ รม่ิ พฒั นาตนเอง เปน็ ปญั ญาชนทอ้ งถน่ิ ทม่ี สี ว่ นสำคญั ในการรว่ มแกไ้ ขปญั หากบั ชาวบา้ น หลงั จากน้นั จึงพัฒนาความรู้และหลกั วิชาท่ไี ดศ้ ึกษามา โดยส่งเสรมิ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ใหค้ รบถว้ น รอบดา้ น เพอ่ื ใชป้ ระกอบการจดั ทำแผนแมบ่ ทชมุ ชน ทำใหม้ คี วามรเู้ กย่ี วกบั ทนุ ในชมุ ชน ทง้ั ทนุ เศรษฐกจิ ทนุ ทรพั ยากร ทนุ ทางภมู ปิ ญั ญา ทนุ ทางวฒั นธรรม ฯลฯ ตลอดจนรจู้ ดุ ออ่ นและจดุ แขง็ ของชมุ ชน และรวู้ า่ ชุมชนขาดความรู้ในการจัดการทุนท่ีมอี ยู่ ทำให้เสยี เปรยี บคนนอกชุมชนทเี่ ขา้ มาแสวงหาผลประโยชน์ 238

เมือ่ มคี วามรู้แล้ว จึงใช้ความรู้เหล่านัน้ อยา่ งมคี ุณธรรม ทำให้ความรูน้ ัน้ เป็นความรู้ ทีม่ ีคุณค่า โดยนำความรูน้ ัน้ ไปเผยแพร่ ขยายผล ให้แก่ผูอ้ ืน่ ทีส่ นใจนำไปใช้แก้ปัญหาในชุมชนได้ อย่างกว้างขวางขึ้นและทำตัวเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี มชี ีวิตความเป็นอยอู่ ย่างพอเพียง เนน้ ความสุขและ ความสงบมากกว่าตัวเงิน ทำประโยชน์ให้ผูอ้ ืน่ และ ชุมชนโดยไม่หวังสิง่ ตอบแทน นอกจากความสำเร็จ ของการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และเปน็ ชุมชน ตน้ แบบหรอื เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรปู้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไดต้ อ่ ไป หลงั จากน้นั เม่อื ไดพ้ จิ ารณาแลว้ วา่ สง่ิ ใดทำแลว้ เปน็ ประโยชน์ จงึ มงุ่ มน่ั บากบน่ั มีความเพยี รพยายามทำจนสำเรจ็ อยา่ งไม่ท้อถอย นับเปน็ การใชค้ วามรู้ค่คู ณุ ธรรม ดว้ ยมงุ่ หวงั ใหเ้ ปน็ ประโยชน์แก่ผู้อื่นและส่วนรวมอยา่ งจรงิ ใจ  การเรยี นรตู้ ามแนวพระราชดำริในเรอ่ื งการมีความเพียร ความซือ่ สตั ย์ สุจริต จรงิ ใจตอ่ กนั ในระดบั บคุ คลและระดบั องคก์ ร ระดบั บคุ คล : เกษตรกรหลายๆ ทา่ นทไ่ี ดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ เกษตรกรดเี ดน่ เปน็ ปราชญช์ าวบา้ น สว่ นใหญ่มกี ารนอ้ มนำเอาแนวพระราชดำริและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมายดึ ถือและปฏิบตั ิตาม โดยคณุ สมบัตทิ ่สี ามารถพบไดจ้ ากเกษตรกรผ้ไู ดร้ บั การยกย่องท้ังจากคนในชมุ ชนและหนว่ ยงานตา่ งๆ คอื การมีความวิริยะอุตสาหะและเพียรพยายาม การดำรงตนในหลักคุณธรรม มคี วามซือ่ สัตย์ สุจริต และ ร้จู กั ใชช้ วี ิตอย่างถูกวิธีโดยทำงานดว้ ยความสขุ จากการศกึ ษาประวตั ขิ องเกษตรกรและผู้นำชมุ ชนหลายท่านท่ีประสบความสำเรจ็ ในการประกอบ อาชพี โดยถกู ยกยอ่ งใหเ้ ป็นบคุ คลตน้ แบบน้ัน พบวา่ กวา่ ท่ีบุคคลเหล่าน้ีจะสามารถประสบความสำเรจ็ ได้ ดงั เชน่ ปัจจบุ ัน พวกเขาตา่ งเคยประสบกบั ภาวะวกิ ฤตท้งั เลก็ และใหญม่ าแลว้ บางราย แรกเรม่ิ เคยมฐี านะดี แต่เนือ่ งจากใช้ชีวิตอยา่ งไม่ระมดั ระวัง เมอื่ เกิดวิกฤตก็วิง่ ตามกระแส ถูกคนหลอกจนหมดตัว สดุ ทา้ ย เงินทองทีส่ ะสมมากเ็ รม่ิ เหลอื นอ้ ยลง ประกอบกับการทำการเกษตรที่ผิดวธิ ี ทำใหข้ าดทนุ ลม้ ละลาย หรือบางราย แรกเริ่มลงทนุ ปลกู พืชผลด้วยสารเคมเี ป็นหลัก หวังผลิตเพือ่ จำหน่ายอย่างเดียว แต่เนอื่ งจากเปน็ การพึ่งพาจากภายนอกตลอดเวลาทำให้มีต้นทุนในการเพาะปลกู สงู รายได้ทีพ่ ึงได้จึง นอ้ ยกวา่ รายจา่ ยท่เี สียไป เกดิ หน้สี นิ ท่ตี อ้ งชำระเป็นจำนวนมาก หรอื แม้กระท่ังบางรายท่ีไดร้ บั ผลกระทบ จากภยั ธรรมชาติ ทงุ่ นาท่เี คยสรา้ งรายไดใ้ ห้กับครอบครวั ถกู น้ำเขา้ ท่วม นอกจากจะสูญเสยี แหล่งทำกนิ หลกั แล้วยังเกิดเป็นหนสี้ ินจำนวนหนึง่ ขน้ึ มาแทนดว้ ย 239

แม้ว่าบุคคลทัง้ หลายจะประสบกับวิกฤตทรี่ ุนแรงแค่ไหนก็ตาม แต่พวกเขาก็ไมเ่ คยย่อทอ้ ตอ่ ความยากลำบากท่เี ขา้ มาในชวี ติ ทุกคนตา่ งมีความเพยี รพยายามในการเรม่ิ ตง้ั ตน้ ใหม่ ไมท่ อ้ แทต้ อ่ ปัญหา และอุปสรรคท่เี กดิ ขน้ึ ดว้ ยอาศยั ความตง้ั ใจจรงิ และอดทนเป็นพน้ื ฐาน ตา่ งเรยี นร้แู ละหาวธิ ที ำการเกษตร เพื่อความยัง่ ยืนและรู้จักความพอประมาณตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรบางท่านทำการเกษตร ตามแนวคิดทฤษฎีใหม่ บางทา่ นใช้หลักการปลกู พืชหมุนเวยี น แตท่ ัง้ นีต้ า่ งก็พยายามลงมือทำด้วยกำลงั ความสามารถทตี่ นมี ใช้แรงกายและแรงใจของตนและคนในครอบครัว ไม่กู้ยมื เงินใครให้เกิดเปน็ ภาระ อกี ทงั้ ในส่วนของคา่ ใช้จา่ ย ก็พยายามลดคา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ มจ่ ำเป็นโดยการทำบัญชีครวั เรอื น จดบันทกึ การใช้ จ่ายเงินของครอบครัวและใช้วิธี ซื้ออะไรก็ปลูกอย่างนัน้ นอกจากนีย้ ังหาวิธีทำปยุ๋ เองซึ่งจากเดิมเคยใช้ ปุย๋ เคมที ีม่ ีราคาแพง ก็ทำให้ลดรายจ่ายลงได้มาก หรือปลูกพืชผักผลไม้เลีย้ งสัตว์ เลีย้ งปลา ทำให้มกี ิน มีเก็บ และครอบครัวสามารถอยูร่ ่วมกันได้อยา่ งมคี วามสขุ เนือ่ งจากคนในครอบครัวต่างช่วยเหลอื เก้ือกูลกัน หลกี เลย่ี งการทะเลาะวิวาทอนั จะนำมาซ่ึงความสูญเสียนอ้ ยใหญ่ ดังเช่นหลกั คิดและแนวทางในการดำเนนิ ชีวิตของเกษตรกรต้นแบบของชาวบ้านในชุมชน ทีก่ ล่าวไว้ว่า “ต้องทำงานแบบยึดความสขุ และความพอเพียงเปน็ ทตี่ ัง้ อย่ายดึ ทีต่ ัวเงินแลว้ ก็จะพบกับ ความสุขทีย่ งั่ ยนื ” คำกล่าวนชี้ ่วยเตือนให้เรามีสติในการดำเนนิ ชีวิต ตระหนักถึงระดับความพอดีพอประมาณ ไม่โลภมาก ตง้ั อยู่ในหลักคณุ ธรรม ประพฤติชอบ ไมค่ ดโกง มคี วามซื่อสตั ย์สจุ รติ อันจะนำมาซึง่ ผลงาน ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ประโยชน์ เพราะตั้งอยบู่ นพนื้ ฐานคณุ ธรรม ระดบั องคก์ ร : จากการศึกษาปจั จัยแหง่ ความสำเรจ็ ขององคก์ รธุรกจิ ท้งั ขนาดใหญแ่ ละขนาดเลก็ พบวา่ การพฒั นาบคุ ลากรในองคก์ รใหเ้ ปน็ ทง้ั คนดแี ละคนเกง่ โดยเฉพาะการปลกู ฝงั ใหบ้ คุ ลากรมคี วามเพยี ร มุมานะในการเรียนรูป้ รับตัวและพัฒนาตนเอง รวมถึงการรูจ้ ักวิธีการทำงานทีด่ ี ทำด้วยใจรักและ มคี วามสขุ ในการทำงาน มคี วามสามัคคี รว่ มแรงรว่ มใจกนั ถอื เป็นปัจจยั สำคญั ท่ที ำใหอ้ งคก์ รสามารถผ่านพน้ 240

วิกฤตการณแ์ ละความเปลยี่ นแปลง ตา่ งๆ จนไดร้ บั การยอมรบั ในวงกวา้ ง และเป็นแบบอยา่ งให้องค์กรอนื่ ๆ ทงั้ ในระดบั ประเทศและระดบั โลก ขณะที่ผบู้ ริหารองค์กรมี หน้าท่ีตอ้ งกำหนดนโยบายและแนว ปฏิบตั ิในการประกอบธุรกิจและ บริหารงานบุคคล เน้นให้พนักงาน ทกุ คนของบริษัทยดึ มัน่ อุดมการณใ์ นการทำธุรกิจและมคี วามซื่อสัตยท์ ีจ่ ะปฏิบัติตามจรรยาบรรณของ บริษัทอย่างเคร่งครัด และสมำ่ เสมอในทุกกรณขี ณะทรี่ ะดับผจู้ ัดการและผบู้ งั คับบัญชาต้องบริหารงาน อย่างรบั ผิดชอบ มีจรยิ ธรรม ความเพยี ร ซอ่ื สัตยแ์ ละยดึ ม่ันในหลกั การ ระบบและแผนงานอยา่ งมืออาชพี มคี วามรูใ้ นหนา้ ท่ีการงานท่ีได้รับ รักท่ีจะปฏิบัตงิ าน พร้อมรบั ฟงั และเข้าชว่ ยเหลอื ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชา ในสว่ นของการพัฒนาองค์กรก็ต้องวางระบบการสรรหาพนกั งาน โดยใช้ระบบการคัดเลอื กทีม่ ี ประสทิ ธิภาพและอยบู่ นพื้นฐานของการมีคุณธรรม สร้างบุคลากรให้เป็นทงั้ คนเก่งและคนดี มีคุณภาพ และความซื่อสัตยส์ จุ ริตเข้ามาร่วมปฏิบัติงานกับองค์กร หากมีความทจุ ริตแมเ้ พียงนดิ เดียว ก็ถือเป็น สงิ่ ทบ่ี ริษัทไมส่ ามารถยอมรบั ได้ นอกจากนี้ ในการขยายธุรกิจก็ต้องดำเนินไปอยา่ งพอประมาณขยายการลงทนุ อย่างค่อยเป็น ค่อยไป เป็นขัน้ เป็นตอน ทำธุรกิจโดยไม่หวังเพียงผลกำไร แต่มงุ่ พัฒนาสภาพแวดล้อมและต่อยอด ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ไปด้วย ทำธุรกิจโดยอยบู่ นพื้นฐานของหลกั ธรรมาภิบาลและความซือ่ สตั ย์ สจุ ริต อดทน มุง่ มน่ั จริงใจ ไมเ่ อาเปรียบลกู คา้ และคนในชมุ ชน สังคมและสภาพแวดลอ้ มท่อี งคก์ รต้ังอยู่ ทา้ ยที่สุด องค์กรทกุ องค์กร ไม่ว่าจะขนาดเลก็ หรือขนาดใหญ่ ทสี่ ามารถประสบความสำเร็จ และยนื หยัดอยใู่ นปัจจุบนั ได้ เป็นผลลัพธ์จากการมีความรับผิดชอบและพร้อมใจกันของบคุ ลากร ในองค์กร ร่วมแรงรว่ มใจ รู้ รัก สามคั คี ในการฝนั ฝ่าอุปสรรคตา่ งๆ ไปด้วยกันน้นั เอง  การเรยี นรู้ตามแนวพระราชดำริในเร่อื ง รู้ รกั สามคั คี ของชมุ ชนเขม้ แข็ง ชุมชนทีเ่ ข้มแข็งนยิ มใช้หลกั การทรงงาน เรือ่ ง รู้ รัก สามัคคี มาเปน็ แนวทางพืน้ ฐาน ในการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาชมุ ชน ทำใหช้ มุ ชนน้นั มภี มู คิ มุ้ กนั ทางสังคมเป็นอยา่ งดี โดยสมาชกิ ในชมุ ชน ไดร้ ว่ มกนั พฒั นาชมุ ชนมาไดจ้ นถงึ ทุกวนั นี้ก็เพราะพลังแหง่ สามัคคีปรองดองเป็นสำคญั 241

ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการศกึ ษาประวตั กิ ารพฒั นาชมุ ชนเขม้ แขง็ หลายแหง่ พบวา่ หากย้อนหลงั ไปในอดตี ชาวบา้ นส่วนใหญม่ คี วามเหน็ ไมต่ รงกนั แตล่ ะคนไมย่ อมเสียสละเพ่อื สว่ นรวม และยงั เคยบกุ รกุ ท่สี าธารณะ ทำไร่ส่วนตัว เมอื่ ทำไร่ไม่ได้ผล ก็ปลอ่ ยทิง้ ร้าง แต่ละคนมคี วามคิดเกีย่ วกับการใช้พืน้ ทแี่ ตกต่างกันไป ชุมชนจึงทะเลาะกัน ดังคำบอกเล่าของผนู้ ำชุมชนทีไ่ ด้เลา่ ให้ฟังว่า “ทีน่ ี่ แต่เดิม พื้นทีใ่ นชุมชนเป็นที่ สาธารณประโยชน์ โลง่ เตียนไปหมด ชาวบา้ นบางสว่ นก็อยากสงวนไว้เลีย้ งสตั ว์ บางส่วนก็อยากได้เมรุ เอาไวท้ ำพธิ เี ผาศพ จงึ ไมล่ งรอยกนั บางสว่ นกไ็ มไ่ ดอ้ ยากได้ อยากจะทำเป็นท่รี ว้ั รอบขอบชดิ เปน็ ท่หี วงหา้ ม ทำให้ไม่มีทเ่ี ล้ยี งสัตว์ ชาวบ้านกเ็ ลยขัดแย้งกนั และไมส่ ามารถร่วมกิจกรรมใดๆ กนั ได”้ ตอ่ มา เม่ือสมาชกิ ในชมุ ชนไดน้ ้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและแนวปฏบิ ัตแิ บบ รู้ รกั สามัคคี มาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ โดยผา่ นรปู แบบการปลกู ฝงั ทห่ี ลากหลาย ทง้ั จากการสอนของผนู้ ำชมุ ชน การประพฤติ ปฏิบัติทีด่ ี หรือการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง และการชักชวนโดยใช้เครือข่ายกัลยาณมิตร ซึ่งต้องตระหนักว่า เป็นเรื่องทีต่ ้องใช้เวลา ใจเย็นๆ ทำบอ่ ยๆ และพอถึงเวลาทีเ่ หมาะสมในโอกาสใด โอกาสหนึ่ง แล้วพฤตกิ รรมต่างๆ ก็จะสนับสนนุ และเกอ้ื กลู กนั เรือ่ ยๆ ดงั เชน่ ประสบการณ์พัฒนาชุมชน ให้เข้มแข็งสว่ นใหญ่ มกั เริ่มต้นจากการทำกิจกรรมในวัด หรือ สหกรณโ์ รงเรียนตามแนวพระราชดำริ เพอ่ื พฒั นาชมุ ชนรว่ มกนั มากขน้ึ ทำใหช้ าวบา้ นไดร้ จู้ กั กนั เกดิ ปรองดองระหวา่ งกนั จนชมุ ชนมีความสงบสขุ และมพี ลังที่จะร่วมกันทำกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาชมุ ชนในดา้ นต่างๆ ดว้ ยกนั มากขน้ึ ดงั จะเหน็ ได้ว่า ไดข้ ยาย ความรว่ มมือกันไปทำกจิ กรรมพฒั นาสภาพแวดล้อมรอบๆ ชุมชนใหส้ ะอาดและปลอดภัย กิจกรรมทีจ่ ะ ปลูกฝงั เรือ่ งความสามัคคีใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชนไปพรอ้ มๆ กันดว้ ย  การเรียนรูต้ ามแนวพระราชดำริในเรอื่ งการทำงานอย่างมีความสุขในระดับบุคคล : กรณี ตวั อยา่ ง “ดาบวชิ ัย ปลกู ตน้ ไม”้ ประสบการณ์ของดาบวิชัย ผูป้ ระสบความสำเร็จจากการ ทำงานทีร่ ัก สรุปได้ว่า จุดเริม่ ต้นของแรงบันดาลใจทีท่ ำให้ หันมาปลกู ต้นไม้จนโด่งดังไปทัว่ ประเทศนัน้ เริ่มต้นประมาณ ปี ๒๕๒๐ เมือ่ กระทรวงมหาดไทยประกาศว่า อำเภอปรางกู่ จงั หวดั ศรสี ะเกษ เปน็ อำเภอท่ยี ากจนท่สี ดุ ในประเทศไทย ดาบวชิ ยั จึงเริม่ หาข้อมูลและเดินทางไปยังจังหวัดอนื่ ๆ ซึ่งก็พบว่า อำเภอ ปรางก่ดู อ้ ยกวา่ ท่ีอ่นื จรงิ ๆ ท้งั ดา้ นการพฒั นา การศกึ ษา การคมนาคม หรอื ดา้ นเศรษฐกจิ ฯลฯ และในฐานะท่ีเปน็ ลูกชาวนาท่ีลำบากยากจนมาคนหน่ึง ดาบวชิ ยั จงึ เร่มิ ขวนขวาย และหาเงนิ เรยี นหนงั สือ ด้วยหวงั วา่ เมือ่ จบมาแลว้ จะมาช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนของชาวปรางกูไ่ ด้ 242

เม่อื เรยี นจบมา ดาบวชิ ยั ไดเ้ ปน็ เสมียนชว่ั คราวท่อี ำเภอกอ่ นเป็นงานแรก โดยในขณะท่ที ำงานอย่นู ้นั กต็ ระหนกั มาตลอดวา่ ความตอ้ งการของชาวบา้ นน้ันคอื อะไร และเม่อื เร่มิ เหน็ วา่ งานท่ีอำเภอไม่น่าตน่ื เตน้ แลว้ ดาบวิชยั จึงลาออกมาสอบเป็นตำรวจ และได้มโี อกาสไปคมุ จำเลยในศาล โดย ณ ที่น้นั เอง ทำให้ ไดร้ ูเ้ หตแุ ละรู้ผลว่าคนมาเปน็ โจรผูร้ ้ายเพราะความจน และจนเพราะอะไร ประกอบกบั ในขณะนัน้ ได้มี โอกาสเข้ารับการอบรมภายใต้โครงการแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง ก็ทำให้รูเ้ พิ่มถึงสาเหตุของความจน และถ้าจะพัฒนาจะต้องเริ่มทกี่ ารพัฒนาจิตใจและความคิด ติดอาวุธความคิดทางปญั ญาให้มคี วามรู้ เพราะพระพุทธเจ้าสอนให้เรากำหนดพุทโธ คือต้องรู้และตื่นตัว มจี ิตใจทเี่ บกิ บานและแจ่มใสและ ปฏิบตั ิตนตามศลี ใหม้ ีสมาธิ คอื ความตั้งใจและมคี วามสุขจากการทำงาน หลงั จากทไี่ ด้คิดในวันนนั้ เขาจึงตั้งเปา้ หมายในชีวิตว่าจะเดินหนา้ พัฒนาชุมชนบ้านปรางกู่ อย่างจริงจัง และยึดหลักปรัชญาของนักพัฒนาทวี่ ่า “จะปลูกพืชต้องเตรียมดนิ จะกินต้องเตรียม อาหาร จะพฒั นาการต้องเตรียมประชาชน จะพัฒนาคนตอ้ งพัฒนาทีจ่ ิตใจ ส่วนจะพฒั นาใคร กใ็ หพ้ ัฒนาท่ีตวั เราก่อน” ดังน้ัน ต้ังแต่ปี ๒๕๓๑ เป็นตน้ มา ดาบวิชัยจึงเร่มิ ตน้ ทำเปน็ ตัวอยา่ งด้วยการ ปลกู ต้นไม้ เนือ่ งจากเปน็ สงิ่ ทีร่ ัก และต้นไม้ถือเป็นปัจจัยสดี่ ้วย คือ เปน็ ได้ทัง้ อาหาร เครื่องนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค และท่ีอยู่อาศยั สามารถเป็นจดุ เร่มิ ตน้ ของการลดรายจา่ ย และชว่ ยแกไ้ ขปญั หาความยากจน ในชมุ ชนได้ ทำมานานกว่า ๑๐ ปี จนกระท่งั ปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙ ชาวบ้านในชุมชนปรางกถู่ ึงไดต้ ระหนักวา่ ดาบวิชัยทำเพือ่ ชุมชน และเห็นคุณค่าของกิจกรรมดังกล่าว จึงมาร่วมขบวนการปลูกต้นไม้กับดาบวิชัย มากขนึ้ ดาบวชิ ยั ไดเ้ ผยเปา้ หมายชวี ติ ในบ้นั ปลายของตนเองวา่ “จะปลกู ตน้ ไมไ้ ปจนวนั ตาย” โดยวนั หน่ึงๆ ของดาบวิชยั น้นั จะเหมือนกันทุกวัน คือ ขนกล้าไม้ออกไปปลูก เพราะเปน็ งานท่ีทำแล้วมีความสุข ไดท้ ำ เพอ่ื ตวั เองและเพ่อื ชมุ ชนคนอ่ืนๆ ดว้ ย และยังทำงานจติ อาสาเพอ่ื สาธารณะ คอื รบั ไปเป็นวทิ ยากรบรรยาย ให้กับหนว่ ยงานต่างๆ เช่น ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร อบต. ฯลฯ รวมทัง้ ได้ตั้ง มหาวิทยาลยั ของตนเองชือ่ “มหาวิทยาลัยธรรมชาต”ิ ทีเ่ น้นให้คนรักถิ่นฐานบา้ นเกิด ไมห่ ัน ไปเปน็ แรงงานในเมือง แต่จะมงุ่ ปลกู ฝงั ให้เด็กและสมาชิกรุ่นใหมอ่ ยูก่ ับชุมชนปรางกู่ ปลูกฝังความรัก และสติปญั ญาทีจ่ ะอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมร่วมกับชุมชน โดยมีสมาชิกในชุมชน ทีเ่ ปน็ ผูใ้ หญไ่ ด้ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างทดี่ ี พัฒนาองค์ความรูเ้ กี่ยวกับพันธุ์ไม้และความรู้เกีย่ วกับ การเกษตรใหเ้ พียงพอ เพ่ือทวี่ า่ จะได้ถ่ายทอดไปยังเดก็ รนุ่ ต่อๆ ไปได้ ทุกวันนี้ ดาบวิชัยมีความสขุ อยูก่ ับการปลกู ต้นไม้ ซึ่งเป็นงานทรี่ ักและเป็นงานทีม่ ปี ระโยชน์ โดยเฉพาะในยุคปจั จบุ นั ทเ่ี ข้าสูภ่ าวะโลกร้อน การปลกู ตน้ ไมข้ องดาบวิชยั จงึ เป็นงานทม่ี คี ณุ ค่าและนำมา ซง่ึ ความสุขยงั ผปู้ ฏบิ ัติและสมาชกิ คนอ่นื ๆ ในชมุ ชนได้ นบั เปน็ การดำเนนิ ตามรอยพระยุคลบาทในเรือ่ ง การทำงานเพอื่ ประโยชนส์ ุขของสว่ นรวมและทำงานอยา่ งมีสขุ ทีแ่ ท้จริง 243