Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

Description: สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

Search

Read the Text Version

เพอ่ื ส่งเสรมิ งานศลิ ปาชพี ใหเ้ ป็นอาชพี เสรมิ แกร่ าษฎร รวมท้งั ทรงกอ่ ต้งั โรงฝกึ ศลิ ปาชพี สวนจติ รลดาและ ศนู ย์ศลิ ปาชพี ท่วั ประเทศ โดยมกี ารดำเนนิ งานนับตง้ั แตน่ ้นั เปน็ ตน้ มาจนถงึ ปัจจบุ ัน ชว่ ยใหร้ าษฎรมีรายไดด้ ี จนบางครอบครวั ยึดเปน็ อาชีพหลัก ปี ๒๕๒๒ มีพระราชดำริให้จัดตัง้ ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริแห่งแรก ท่ีเขาหนิ ซอ้ น อำเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา เพ่อื เป็นตวั อย่างความสำเรจ็ ในดา้ นการเกษตรกรรม และการพัฒนาอาชีพให้แก่เกษตรกรและผูท้ ีส่ นใจนำไปประยุกต์ใช้ ซึง่ ต่อมาได้พระราชทานศูนย์ศึกษา การพฒั นาฯ ในภาคตา่ งๆ รวมเป็น ๖ แห่ง จนถึงปี ๒๕๕๖ มผี ลการศกึ ษาวจิ ยั ถงึ ๑,๒๔๐ เร่ือง ปี ๒๕๒๕ มพี ระราชดำริให้จัดตั้งโครงการป่ารักน้ำ เริม่ ทดลองเปน็ ครัง้ แรกทบี่ า้ นนำ้ ติว้ อำเภอสอ่ งดาว จังหวัดสกลนคร เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าทีเ่ สอื่ มโทรมให้เป็นบริเวณต้นน้ำลำธาร กักเก็บน้ำ ไว้ใช้ประโยชน์ และอนรุ ักษ์ทรัพยากรป่าไม้เดิมไว้ ขณะเดียวกันก็ปลูกปา่ เสริมด้วย โดยราษฎรเปน็ ผ้ลู งแรงปลกู และดแู ลบำรงุ เล้ียง บนพ้นื ดนิ ท่ีทรงซอ้ื และทรงเชา่ พระราชทาน รวมท้งั พระราชทานเงนิ เดอื น แกร่ าษฎรผู้ยากจนท่ีเขา้ รว่ มโครงการ ชว่ ยใหม้ อี าชพี และรายไดเ้ ล้ยี งครอบครวั เกดิ ความรกั และหวงแหน ทรัพยากรป่าไม ้ โครงการนไี้ ด้ขยายไปอีกหลายพืน้ ท ี่ มีราษฎรเข้าร่วมโครงการและถวายทดี่ ิน เป็นจำนวนมาก ป ี ๒๕๓๑ มพี ระราชดำรใิ หพ้ ฒั นาบรเิ วณวดั มงคลชยั พฒั นา จงั หวดั สระบรุ ี เพอ่ื ศกึ ษาและจดั ทำ เปน็ ศูนยส์ าธิตการทำเกษตรทฤษฎีใหม่อยา่ งเปน็ รูปธรรม เพือ่ ให้เกษตรกรนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ 294

ของตนเอง ซง่ึ นบั เป็นจดุ กำเนดิ ของเกษตรทฤษฎีใหม่แห่งแรก ประชาชนไดใ้ ชเ้ ปน็ ทศ่ี กึ ษาดงู าน จนเกิดความเข้าใจและนำไป ประยุกต์ใช้ในพ้ืนท่ีของตนเอง เปน็ จำนวนมาก ปี ๒๕๓๔ มพี ระราชดำริ ให้ศกึ ษาและใช้ประโยชน์จาก หญ้าแฝกเพื่ออนรุ ักษ์ดินและ น้ำ จนถึงปจั จุบันมีการสง่ เสริม และรณรงค์การใช้หญ้าแฝก ไปแล้ว ๔,๕๐๐ ลา้ นกลา้ อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ ในพนื้ ท่ีกวา่ ๑๐ ล้านไร่ทว่ั ประเทศ และมกี ารวิจัยเกยี่ วกับ การใช้ประโยชน์จากหญา้ แฝกกวา่ ๒๐๐ เรอื่ ง ปี ๒๕๓๕ เสดจ็ ฯ ไปสำรวจพืน้ ท่กี อ่ สร้างอ่างเก็บนำ้ ลำพะยงั จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ สง่ เสรมิ ใหร้ าษฎร พฒั นาอาชีพการเกษตรทฤษฎีใหม ่ และระหว่างปี ๒๕๔๖ - ๒๕๔๙ ไดพ้ ฒั นาใหม้ ีความจุมากข้ึน และ ผนั นำ้ จากอา่ งเก็บน้ำห้วยไผม่ าเพิ่มเติมให้พืน้ ทีล่ ุม่ นำ้ ลำพะยัง และได้พระราชทานภาพร่างฝพี ระหัตถ์ ตัวยกึ ยือ เป็นแนวทางพัฒนาลุม่ นำ้ ก่ำ จังหวัดสกลนคร-นครพนม โดยการสร้างประตูระบายนำ้ เปน็ ตอนๆ กกั เกบ็ น้ำไดร้ วม ๖๘.๓ ลูกบาศก์เมตร ช่วยเหลือพืน้ ท่กี ารเกษตรได ้ ๑๖๕,๐๐๐ ไร่ นอกจากน้ ี มีพระราชดำรใิ หจ้ ดั ต้งั โครงการบา้ นเลก็ ในปา่ ใหญแ่ หง่ แรก ท่บี า้ นทันสมยั ตำบลมหาชยั อำเภอปลาปาก จงั หวัดนครพนม เพ่ือให้คน ปา่ และสตั วป์ า่ สามารถอยู่ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งอาศยั เกือ้ กลู กัน พรอ้ มท้งั ส่งเสรมิ อาชพี เสรมิ ใหก้ บั ประชาชน เพอ่ื มรี ายไดเ้ พยี งพอตอ่ การเล้ยี งครอบครวั และมีความเปน็ อยู่ ที่ดีขึ้น ซึง่ ช่วยให้ประชาชนหยุดการบกุ รุกทำลายป่าไม ้ และช่วยดูแลรักษาให้มีสภาพสมบรู ณด์ ังเดิม จนปจั จบุ นั ไดข้ ยายการดำเนนิ งานไปในหลายพน้ื ทช่ี ว่ ยรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตใิ หค้ งอยบู่ นแผน่ ดนิ ไทย ปี ๒๕๓๖ มพี ระราชดำริให้พฒั นาลุม่ น้ำปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราช แก้ปัญหาน้ำเค็ม รกุ เขา้ ไปในลำนำ้ ฟน้ื ฟพู น้ื ท่กี ารเกษตรและนารา้ ง ๑.๙ ล้านไร ่ แบ่งเขตทำกนิ ระหวา่ งการเล้ียงก้งุ ท่ใี ชน้ ้ำเคม็ และการเกษตรทใ่ี ช้น้ำจดื อนั เป็นการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของคนในพื้นท่ ี นอกจากน ้ี มพี ระราชดำริ ใหส้ ร้างเขอ่ื นขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก ความจุ ๒๒๔ ล้านลูกบาศก์เมตร แก้ปัญหาน้ำทว่ ม ชะล้างดินเปร้ยี ว และชว่ ยเหลอื พน้ื ทกี่ ารเกษตร ๑๘๕,๐๐๐ ไร่ 295

ปี ๒๕๓๗ มีพระราชดำริใหพ้ ัฒนาลุ่มน้ำห้วยบางทราย จังหวัดมุกดาหาร โดยสร้างอา่ งเก็บนำ้ ๗ แห่ง ความจุรวม ๒๔.๕ ลา้ นลูกบาศก์เมตร ส่งน้ำได้ ๘,๙๐๐ ไร่ พัฒนาอาชีพแบบบรู ณาการและ ฟ้ืนฟูป่าไม้ และจัดตัง้ ศนู ย์พฒั นาการเกษตรภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ ช่วยเหลือการประกอบอาชีพ ของราษฎรในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ ง อกี ทงั้ พระราชทานโครงการศนู ย์พฒั นาและ บริการดา้ นการเกษตร (หลัก ๒๒) นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) เพื่อให้บริการด้านความรู ้ ปจั จัยการผลติ พัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตประชาชนลาว ๙ หมบู่ ้าน เป็นการขยายผลการพัฒนาสสู่ ากล และสร้างความสมั พันธ์ระหว่างประเทศให้แน่นแฟ้น ย่งิ ขน้ึ ตอ่ มา สปป.ลาว ไดข้ ยายผลโครงการไปยังแขวงอนื่ ๆ ทั่วประเทศ ปี ๒๕๔๒ มพี ระราชดำรใิ หส้ ร้างเข่อื นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ จงั หวดั ลพบุร ี ความจ ุ ๙๖๐ ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร ช่วยเหลอื พื้นทีก่ ารเกษตร ๑๗๔,๕๐๐ ไร่ รวมทงั้ ช่วยบรรเทาปัญหานำ้ ท่วมในพืน้ ทภี่ าคกลาง ตอนล่าง และกรงุ เทพฯ และโปรดเกล้าฯ ให้กองทพั ภาคที่ ๓ จดั ตั้งหม่บู ้านยามชายแดนแหง่ แรกข้นึ ในพ้นื ทบี่ า้ นมะโอโคะ อำเภออมุ้ ผาง จังหวัดตาก และบา้ นปางคอง อำเภอปางมะผา้ จงั หวดั แม่ฮ่องสอน เป็นหมูบ่ ้านจัดตั้งใหม่บนเขา เพื่อให้ชาวเขาทอี่ ยตู่ ามแนวชายแดนร่วมปกปอ้ งรักษาประเทศ ด้วยการ ใหค้ วามชว่ ยเหลือในด้านตา่ งๆ ทั้งทอ่ี ยอู่ าศยั และการพัฒนาอาชีพ และตอ่ มาจัดตัง้ เพ่ิมเติมอกี ๓ แหง่ ในจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ไดช้ ว่ ยสรา้ งความผาสุกใหแ้ กร่ าษฎรชาวเขา อกี ท้ังสรา้ งสำนกึ รกั ปา่ และท่ีสำคญั ย่ิง คอื ชว่ ยปกป้องรักษาแผ่นดินไทยตามแนวชายแดนเป็นอยา่ งดี 296

ปี ๒๕๔๖ มพี ระราชดำรใิ หส้ ร้างเข่อื นแควนอ้ ยบำรงุ แดน จงั หวัดพษิ ณโุ ลก ความจุ ๙๓๙ ลา้ น ลูกบาศกเ์ มตร ชว่ ยเหลอื พ้นื ท่กี ารเกษตร ๗๕,๐๐๐ ไร ่ และบรรเทาปญั หาน้ำท่วมในพน้ื ท่ีจงั หวดั พษิ ณุโลก และภาคเหนือตอนลา่ ง นอกจากนี ้ มีพระราชดำริให้จัดตั้งโครงการสถานพี ฒั นาการเกษตรทีส่ ูง ตามพระราชดำริภพู ยคั ฆ์ ณ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนา่ น ข้ึนเปน็ แหง่ แรก โดยขณะนม้ี จี ำนวน ๑๗ แหง่ กระจายอยู่ใน ๖ จงั หวดั ทางภาคเหนอื ช่วยสร้างความผาสกุ ใหแ้ ก่ราษฎรในพนื้ ทเ่ี ปน็ อย่างมาก ชาวไทยภูเขาได้มีอาชีพเกษตรตามหลกั วิชาการแผนใหม่ ทดแทนการทำไร่เลือ่ นลอย มีอาชีพ รายได้ และความเปน็ อยู่ดขี ้นึ ตลอดจนมสี ่วนร่วมฟืน้ ฟ ู อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ นอกจากโครงการทีม่ พี ระราชดำริดงั ตวั อยา่ งข้างตน้ ยงั มีโครงการที่ทรงรับ ฎกี าราษฎรไว้เปน็ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริอีกเป็นจำนวนมาก โดยในชว่ งปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ มีจำนวน ๗๙ โครงการ กระจายอยู่ในจังหวัดต่างๆ ทกุ ภูมิภาค ๔,๓๕๐ โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ ได้ประมวล โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำรดิ า้ นตา่ งๆ จนถงึ เดอื นกนั ยายน ๒๕๕๕ รวมแล้วมจี ำนวนถงึ ๔,๓๕๐ โครงการ และจะเพิม่ จำนวนขึน้ ทกุ ปี กระจายอยทู่ ัว่ ทกุ ภูมิภาคทกุ จังหวัดของประเทศ ประเภททมี่ ี 297

จำนวนมากทสี่ ดุ คือโครงการพฒั นาแหล่งนำ้ ๒,๙๕๕ โครงการ ซึง่ สะท้อนให้เห็นความหมาย ท่พี ระองค์มพี ระราชดำรวิ า่ “น้ำคือชีวติ ” ซึง่ ทรงให้ ความสำคญั ในเรอ่ื งการบรหิ ารจดั การนำ้ แบบบรู ณาการ ทง้ั ในมติ ิของน้ำทว่ ม น้ำแลง้ และนำ้ เสีย โครงการทีม่ ีจำนวนมากรองลงมาตามลำดับ ได้แก่ โครงการพัฒนาด้านสวัสดิการสังคมและ การศกึ ษา ๓๙๕ โครงการ โครงการพฒั นาสง่ เสริม ด้านอาชพี ๓๒๕ โครงการ โครงการพฒั นาแบบ บูรณาการและอื่นๆ ๒๓๔ โครงการ โครงการพฒั นา ดา้ นการเกษตร ๑๖๕ โครงการ โครงการพฒั นาด้าน สิง่ แวดล้อม ๑๔๕ โครงการ โครงการพฒั นาดา้ น คมนาคมและการส่อื สาร ๗๖ โครงการ และโครงการ พฒั นาดา้ นสาธารณสุข ๕๕ โครงการ หากพิจารณาถึงการกระจายตัวของโครงการ ไปในภูมิภาคต่างๆ แล้ว ปรากฏว่ามีโครงการในภาคเหนอื มากทีส่ ุดถึง ๑,๖๖๐ โครงการ รองลงมา ตามลำดับได้แก่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ๑,๐๘๘ โครงการ ภาคใต้ ๘๒๒ โครงการ ภาคกลาง ๗๖๖ โครงการ และไม่ระบุภาค ๑๔ โครงการ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริเหล่าน ี้ สามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาทีต่ ้นเหตุ เปน็ ต้นแบบ และแหลง่ เรียนรูท้ ีเ่ ข้าถึงได้ง่าย สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ได้จริง เปน็ การเรียนรู้ทีม่ รี ากฐานมาจาก ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ของวิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทย แนวพระราชดำริอันเป็นสัจธรรมแห่งการพัฒนา เกดิ จากพระวสิ ัยทศั นท์ ่ีกวา้ งไกล ลุ่มลึก และรอบดา้ น ทรงแกไ้ ขปัญหาแบบบูรณาการ มีการใชท้ รพั ยากร อย่างคุม้ คา่ จวบจนวนั นไี้ ดป้ รากฏผลสัมฤทธ์ิใหเ้ หน็ อย่างเปน็ รปู ธรรมแล้วในทกุ ๆ ด้าน พระมหากษตั ริยแ์ ละพระราชนิ ี ผทู้ รงงานเพือ่ ประโยชนส์ ุขของปวงชนอยา่ งย่งั ยนื ทกุ วันนพี้ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ รวมถึง พระบรมวาศานวุ งศ์ทุกพระองค ์ ยงั คงทรงงานเพ่ือประชาชนที่พระองคท์ รงรักอยา่ งต่อเนอื่ ง ผลทไี่ ดร้ ับ จากโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริมากมายดังกล่าว รวมทงั้ จากการทพี่ ระองค์ทรงร่วมมีบทบาท 298

ในการแนะนำแนวทางเพ่อื พัฒนาประเทศมาโดยตลอด ย่อมเปน็ ประจกั ษ์พยานวา่ การทรงงานพัฒนา ประเทศเพ่อื ต่อสู้กับความยากจนของพระองคไ์ ด้ประสบชยั ชนะแลว้ อย่างงดงาม จึงกลา่ วไดว้ า่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมี พระมหากรุณาธิคุณต่อแผ่นดินไทยและประชาชนชาวไทยอย่างใหญห่ ลวง รวมทัง้ ยังแผ่ไพศาลไปยงั นานาประเทศ การทรงงานพฒั นาของพระองคไ์ ดห้ ย่งั รากการพฒั นาทม่ี ่นั คงและย่งั ยนื ใหแ้ กป่ ระเทศไทย อยา่ งครบถว้ นในทกุ ๆ ดา้ น ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ขณะเดยี วกนั ทรงสอนใหเ้ จ้าหนา้ ท่แี ละประชาชนเกดิ การเรยี นรู้เพื่อการพงึ่ ตนเอง อันนำสูก่ ารพฒั นาอย่างยง่ั ยืน พระราชกรณยี กจิ ทง้ั ปวงทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงปฏิบตั ิด้วยพระปรีชาสามารถและพระวิริยะอตุ สาหะทีอ่ ญั เชิญมาเสนอไว้ในหนังสือเล่มนี ้ เป็นเพียงสว่ นเสีย้ วเล็กน้อยของพระราชกรณยี กิจ แนวพระราชดำริ และโครงการพัฒนาเทา่ นนั้ ซึ่งได้สะทอ้ นให้เห็นชัดเจนว่า “การทรงงานช่วยเหลือประชาชนของทัง้ สองพระองค์ เป็นการวาง รากฐานการพฒั นาสคู่ วามยง่ั ยนื อยา่ งแทจ้ รงิ ” และแม้ทรงประทบั ณ โรงพยาบาลศริ ริ าช ยังทรงหว่ งใย และทรงดแู ลทกุ ขส์ ขุ ของประชาชนอยตู่ ลอดเวลา เปน็ ไปตามพระราชปณธิ านในพระปฐมบรมราชโองการ ที่ว่า 299

ในโอกาสอันเปน็ มหามงคลยงิ่ น ี้ สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ ขอถวายความจงรกั ภกั ดี และขอเทดิ ทนู พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ และพระบรมวงศานุวงศท์ ุกพระองค์ไว้เหนือเกล้าเหนอื กระหม่อม ด้วยสำนึก ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาทีเ่ ปรียบมไิ ด้ และขอเชิญชวนประชาชนชาวไทยทัว่ ทัง้ ประเทศ เรียนรู้ ตามรอยพระยคุ ลบาท น้อมนำแนวพระราชดำรมิ าศกึ ษาและยึดถอื เปน็ แนวปฏบิ ตั ิ เพอ่ื นำพาประเทศไทย สูค่ วามเจรญิ รุ่งเรือง และประชาชนมีความสขุ อยา่ งยั่งยืนตลอดไป ขอพระองค์ทรงพระเจริญย่งิ ยนื นาน 300

บรรณานุกรม หนงั สอื / เอกสารส่ิงพมิ พ์ กรมชลประทาน. เทดิ ไทอ้ งค์ราชัน ดวงใจราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ นำ้ ๑๐๙ ปี ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ กรมชลประทาน งานเพอื่ แผ่นดนิ . กรุงเทพฯ : บรษิ ัท เนชนั่ พริ้นต้งิ เซอร์วสิ จำกัด, ๒๕๕๔. กรมส่งเสริมคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มและพัฒนาคุณภาพชวี ติ . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบย้ี , ๒๕๕๑. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. พระเจ้าแผ่นดนิ นักส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการเกษตร, ๒๕๕๐. กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั พระผอู้ ยใู่ นหัวใจนกั ปกครอง. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ าสารกั ษาดนิ แดง, ๒๕๔๒. กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. พระบดิ าแหง่ เทคโนโลยขี องไทยพระบดิ าแหง่ นวตั กรรมไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาต,ิ ๒๕๕๔. กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั กบั การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ ม. กรงุ เทพฯ : หจก.อรุณการพิมพ,์ ม.ป.ป. กระทรวงศึกษาธิการ. พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตร แหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๔. กระทรวงศึกษาธิการ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. ในกระแสพระราชดำรัสแนวทางการพฒั นา คุณธรรมจริยธรรมของคนไทย. กรงุ เทพฯ : บริษัท ดบั บลิว.เจพรอ็ พเพอตี ้ จำกัด, ๒๕๔๘. กระทรวงสาธารณสุข. ร่มเกล้า ปกฟ้า สาธารณสุขไทย. จังหวัดนนทบุรี : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั , ๒๕๔๔. กระทรวงอตุ สาหกรรม. อตุ สาหกรรมไทยใตร้ ม่ พระบารมี. กรงุ เทพฯ : บริษัท อมรินทรพ์ ริ้นต้ิงแอนดพ์ ับลชิ ชิง่ จำกดั (มหาชน), ๒๕๔๙. กรุงเทพมหานคร. กรงุ เทพฯ เมืองสวรรค์ ตามแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ : สำนักยทุ ธศาสตร์และ ประเมินผลกรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร. ทรงเป็นแรงบันดาลใจ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ดาวฤกษ์ คอมมนู เิ คชน่ั จำกัด, ๒๕๕๐. กรุงเทพมหานคร. แนวพระราชดำริดา้ นการบริหารจัดการกรุงเทพมหานคร ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัว เน่อื งในโอกาสงานฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๙. กรงุ เทพฯ : บริษทั อมรินทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนดพ์ ับลิชชิง่ จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๐. กองบรรณาธกิ ารสำนักพมิ พ ์ บี พลัส. ธรรมะจากพระเจ้าแผน่ ดิน. กรงุ เทพฯ : บริษัท ไทยยูเนยี นกราฟฟกิ ส์ จำกดั , ๒๕๕๓. คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี. สารานุกรมพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ในรอบ ๖๐ ปแี ห่งการครองราชย์. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พิมพด์ ี จำกดั . ๒๕๕๑. 301

คณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว. เดชะพระบารมีปกเกล้า เฉลิมพระเกยี รตพิ ระชนมพรรษา ๗ รอบ. กรุงเทพฯ : หจก.อรุณการพมิ พ,์ ๒๕๕๕. งามพรรณ เวชชาชีวะ. พระเมตตาใต้ฟ้าเดยี วกัน. กรุงเทพฯ : มลู นิธิเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนกั งานเสริมสร้างเอกลกั ษณข์ องชาติ, ๒๕๕๕. ตำรวจตระเวนชายแดน กองบังคับการ กองรอ้ ยท ่ี ๕. โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน. นราธิวาส, ๒๕๒๔. มนู วรี บุรษุ , วชิ า จวิ าลัย, ผู้ขอพระราชทานสมั ภาษณ.์ รายการพูดจาประสาชา่ ง. กรงุ เทพฯ : คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖. ราเชนทร์ ถิรพร. การพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. เอกสารเสนอการ ประชุมสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ณ โรงแรมรเี จนต์ชะอำ อำเภอชะอำ จังหวดั เพชรบุร,ี ๒๕๓๗. โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกลา้ สภาอาจารย ์ ส่วนการศึกษา. ถนนสายรุง่ เรืองนำสูส่ ุข. วารสารทาง วชิ าการ. ๒๕๔๘. โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า สภาอาจารย ์ ส่วนการศึกษา. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา. วารสารทางวชิ าการ. ๒๕๔๘. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “เจ้าฟา้ นักพัฒนา ทรพั ยากรน้ำ”. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรินทร์พรน้ิ ติง้ แอนดพ์ ับลชิ ช่ิง จำกัด (มหาชน), ๒๕๓๗. วรลกั ษณ์ ผ่องสุขสวัสดิ.์ ธ ทรงเป็นยิง่ กวา่ มหากษตั ริย์. กรุงเทพฯ : ห้างหุน้ ส่วนจำกัดบ้านหนังสือ โกสนิ ทร,์ ๒๕๓๗. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี “บางแงม่ มุ แหง่ ความคดิ คำนงึ ” วารสารเศรษฐกจิ และสงั คม. ฉบบั พิเศษ : ๕ ; ๒๕๒๘. สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี. สมเด็จแม่กับการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงเรียนจิตรลดา, ๒๕๕๕. สภาสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย. พระมหากษัตริย์นักวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรนิ ทรพ์ ร้นิ ตง้ิ แอนดพ์ ับลซิ ซง่ิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๔๓. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. พระมหากษตั ริย์นักพฒั นา เพอ่ื ประโยชน์สุขสูป่ วงประชา. นนทบรุ ี : ศนู ยก์ ารพมิ พ์เพชรรุ่ง, ๒๕๕๔. สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ. ๔๓๕๐ การทรงงาน เพือ่ ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชน. กรงุ เทพฯ : บจก. สขุ มุ วิทมเี ดีย มาร์เก็ตติ้ง, ๒๕๕๖. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ. ๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต.์ พิมพ์ครั้ง ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำร,ิ ๒๕๕๐. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. กษตั ริย์นักพฒั นา. พิมพ์ครงั้ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ดอกเบย้ี , ๒๕๔๘. 302

สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ. แนวคิดและ ทฤษฎีการพฒั นาอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว. กรุงเทพฯ : บริษัท ๒๑ เซน็ จรู ่ี จำกัด, ๒๕๔๐. สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ. ผลสำเร็จ โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ ๘๔ พรรษา ประโยชนส์ ขุ ส่ปู วงชา, บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ต้งิ แอนด์ พบั ลิชช่งิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๕. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระดำริ. รวบรวมผลงานดีเดน่ ในโครงการศนู ย์พัฒนาและบริการดา้ นการเกษตร ห้วยซอน-ห้วยซัว่ (หลัก ๒๒) สปป.ลาว. ม.ป.ท., ม.ป.ป. สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ. อันเนือ่ งมาจาก พระมหากรุณาธิคณุ . กรุงเทพฯ : บรษิ ัท เซเว่น พร้ินต้ิง กร๊ปุ จำกัด, ๒๕๕๐. สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. อันเนื่องมาจาก พระราชดำร.ิ กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (๑๙๗๗) จำกดั , ๒๕๔๗. สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยกี บั การพฒั นา. ม.ป.ท., ๒๕๕๐. สำนักงานสถติ แิ หง่ ชาต.ิ จดจารพระมหากรณุ า พระมหากษตั รยิ น์ กั พฒั นา เพ่อื ปวงประชารม่ เยน็ . กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ลชิ ช่ิง จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๑. สเุ มธ ตันติเวชกุล. เอกสารวิจัยส่วนบุคคล เรื่องบทบาทของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการ สนบั สนนุ การรกั ษาความม่ันคงของชาตพิ ืน้ ทีช่ นบทของประเทศ. ม.ป.ท., ๒๕๒๙. เวบ็ ไซต์ สือ่ ออนไลน์ มูลนธิ ิชยั พัฒนา. แนะนำมลู นิธิชยั พฒั นา. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.chaipat.or.th/chaipat/ index.php/th/publication/recommended-chai-pattana-foundation (วันทีค่ ้นข้อมูล : มถิ นุ ายน ๒๕๕๖). มลู นธิ ชิ ยั พฒั นา. ระบบปรับปรุงคณุ ภาพนำ้ ดว้ ยรางพชื รว่ มกบั เคร่อื งกลเตมิ อากาศ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.chaipat.or.th/ (วันทีค่ น้ ข้อมูล : มิถุนายน ๒๕๕๖). สถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนจากน้ำมันปาล์มและพืชน้ำมัน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั กบั ปาลม์ นำ้ มนั และไบโอดีเซล. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www. biodiesel.eng.psu.ac.th/pdf/king&biodiesel.pdf (วันทค่ี น้ ขอ้ มูล : มถิ ุนายน ๒๕๕๖). สารานุกรมในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว. เคร่อื งกลเติมอากาศ. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www. haii.or.th/wiki84/index.php/ค.เครื่องกลเติมอากาศ/ (วันท่คี น้ ข้อมลู : มิถุนายน ๒๕๕๖). สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพ่อื ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำร.ิ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.rdpb.go.th/ (วันทคี่ ้นข้อมูล : มถิ ุนายน ๒๕๕๖). 303

คณะที่ปรึกษาจัดทำหนงั สอื “สัจธรรมแหง่ แนวพระราชดำริ สู่การพัฒนาอย่างย่ังยนื ” ประธาน เลขาธิการมูลนธิ ิชยั พฒั นา นายสุเมธ ตันติเวชกลุ ท่ีปรกึ ษา ประธานกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ นายพารณ อิศรเสนา ณ อยธุ ยา เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ นายอาคม เตมิ พทิ ยาไพสฐิ คณะทำงานจัดทำหนังสือ “สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริ สู่การพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื ” ประธาน รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นางเพ็ญจา อ่อนชติ รองประธาน รองเลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ นางนติ ยา กมลวทั นนศิ า คณะทำงาน นางสาวกญั ญารักษ์ ศรีทองรุง่ นายสุทนิ ล้ีปิยะชาติ นางสาวชอ่ ผกา แก้วใหญ่ นางจนั ทรท์ ิพย์ ปาละนนั ทน์ นางสาวจรี วจั น์ วงศาโรจน์ นางสาวอาทสิ ดุ า ณ นคร นางสาวรววี รรณ เลียดทอง นายนพดล ธัญญาดี นายคมสัน วรววิ ฒั น์ นางสาววสิ สุตา บุญมี นางวรารตั น์ ดลุ ยพิทกั ษ์ นางสาววนั ทนีย์ สุขรัตนี นางสาวพนิดา วงษภ์ ักดี ขอ้ มูลเก่ียวกบั หนงั สอื “สจั ธรรมแหง่ แนวพระราชดำริ ส่กู ารพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื ” พิมพค์ รง้ั ที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๗,๕๐๐ เลม่ ISBN 978-974-9769-09-6 พิมพท์ ่ี บรษิ ทั อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์พับลชิ ชง่ิ จำกดั (มหาชน)











“...ประโยชน์อันพึงประสงค์ของการพัฒนานั้น กค็ ือ ความผาสุกสงบ ความเจริญมั่นคง ของประเทศชาติและประชาชน. แต่การทจี่ ะพฒั นาให้บรรลุผลเปน็ ประโยชน์ดังกลา่ วได้ จำเปน็ ท่จี ะตอ้ งพัฒนาฐานะความเป็นอยขู่ องประชาชนใหอ้ ยู่ดีกินดี เป็นเบื้องตน้ กอ่ น เพราะฐานะความเปน็ อยู่ของประชาชนนน้ั คือรากฐานอยา่ งสำคัญของความสงบและความเจริญม่นั คง. ถ้าประชาชนทุกคนมฐี านะความเป็นอยทู่ ด่ี ีแลว้ ความสงบ และความเจริญ ย่อมจะเป็นผลกอ่ เกิดตอ่ ตามมาอย่างแน่นอน. จึงอาจพูดได้ว่า การพฒั นาก็คือการทำสงครามกบั ความยากจน เพ่ือความอยูด่ ีกินดขี องประชาชนโดยตรง. เมอ่ื ใดกต็ าม ทีป่ ระชาชนมีความอยดู่ ีกินดีและประเทศชาติมคี วามสงบ มีความเจรญิ เม่อื นน้ั การพฒั นาจงึ จะถอื ไดว้ ่าประสบความสำเรจ็ เปน็ ชยั ชนะของการพัฒนาอยา่ งแท้จรงิ ...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ อาคารจักรพนั ธ์เพ็ญศิริ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙ สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศตั รูพา่ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๖๒๘-๒๘๔๗ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๒๘๔๖ www.nesdb.go.th

“...ประโยชน์อนั พงึ ประสงคข์ องการพฒั นานนั้ ก็คือ ความผาสกุ สงบ ความเจริญมน่ั คง ของประเทศชาติและประชาชน. แตก่ ารทีจ่ ะพัฒนาให้บรรลุผลเปน็ ประโยชนด์ งั กล่าวได้ จำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งพฒั นาฐานะความเปน็ อยขู่ องประชาชนใหอ้ ยู่ดกี นิ ดี เปน็ เบอ้ื งต้นกอ่ น เพราะฐานะความเปน็ อยขู่ องประชาชนนนั้ คือรากฐานอย่างสำคญั ของความสงบและความเจริญมนั่ คง. ถ้าประชาชนทกุ คนมฐี านะความเป็นอยู่ที่ดีแลว้ ความสงบ และความเจรญิ ยอ่ มจะเปน็ ผลกอ่ เกิดตอ่ ตามมาอยา่ งแนน่ อน. จงึ อาจพดู ไดว้ ่า การพฒั นาก็คอื การทำสงครามกบั ความยากจน เพ่อื ความอยูด่ กี ินดีของประชาชนโดยตรง. เม่ือใดกต็ าม ท่ปี ระชาชนมคี วามอยดู่ ีกนิ ดแี ละประเทศชาติมคี วามสงบ มคี วามเจรญิ เม่อื น้นั การพัฒนาจึงจะถือไดว้ ่าประสบความสำเรจ็ เป็นชยั ชนะของการพฒั นาอย่างแทจ้ ริง...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ในพธิ พี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ อาคารจกั รพนั ธเ์ พ็ญศิริ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ๙๖๒ ถนนกรงุ เกษม เขตปอ้ มปราบศตั รพู า่ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๖๒๘-๒๘๔๗ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๒๘๔๖ www.nesdb.go.th