Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล

คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล

Description: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล

Search

Read the Text Version

ชนดิ ของการบาดเจบ็ อัตราของการบาดเจ็บ จำ�นวน 0 20 40 60 หัว, ใบหนา้ 6 คอ 1.4 4 ไหล่ 1 54 แขนทอ่ นบน 13.4 3 ข้อศอก 0.9 11 แขน 2.7 5 ขอ้ มอื 1.2 17 มือ, น้ิวมือ 4.2 38 ทรวงอก 9.5 2 หน้าท้อง 0.5 1 หลัง 0.2 56 กระดูกกน้ กบ, สะโพก 13.9 4 ตน้ ขา 1.0 23 เข่า 5.7 98 ขาท่อนล่าง 24.4 11 ข้อเท้า 2.7 60 เท้า, ขอ้ เท้า 14.9 9 2.2 0 20 40 60 แผนภมู ิแสดงอวัยวะสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายท่บี าดเจ็บจากกีฬาวอลเลยบ์ อล รอยบุ๋ม คล�ำพบกอ้ นเนอ้ื ไม่มรี อยชำ้� แบบที่ 1 แบบท่ี 2 แบบที่ 3 ภาพแสดงใหเ้ ห็นจดุ ที่เกิดการบาดเจบ็ การปฐมพยาบาลและการรกั ษา การประคบนำ�้ เยน็ หรอื ใชค้ วามเยน็ ทนั ทที เ่ี กดิ การบาดเจบ็ หยุดการเล่นกีฬา ความเย็นจะท�ำให้เลือดหยุดและลดการบวม ควรประคบวันละ 2 คร้ัง หรือ มากกวา่ นัน้ ได้ตลอด 48 ช่วั โมงแรก ใช้ผา้ ยดื พันไวเ้ พือ่ ลดการบวมในเวลาต่อมา หา้ มทายารอ้ นๆ และถูนวดเด็ดขาด หลังจาก 48 ชั่วโมงไปแล้ว ค่อยประคบร้อนและนวดเบาๆ ด้วยครีมร้อนๆ ที่ส�ำคัญคือ การเร่ิมบริหารกล้ามเน้ือเบาๆ หลังจากการบาดเจ็บประมาณ 3-5 วันไปแล้ว เพ่ือป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนคือมีแผลเป็นภายในกล้ามเนื้ออันจะน�ำไปสู่การเกิดพังผืด ท�ำใหก้ ารเคลอ่ื นไหวและหดยดื ตวั ของกลา้ มเนอื้ แยล่ ง มกี ารเจบ็ ปวดเรอ้ื รงั เมอื่ กลบั ไปเลน่ กฬี าใหม่ และมโี อกาสฉกี ขาดใหมไ่ ด้อกี งา่ ยๆ 94 คู่มือผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate

ภาวะแทรกซอ้ นอนื่ ๆ ทพ่ี บนอกเหนอื จากการเกดิ แผลเปน็ แผลพงั ผดื กม็ กี ารเกดิ กระดกู งอก ในกล้ามเน้ือ เกิดโพรงถุงน้�ำ เกิดการอักเสบติดเช้ือเป็นหนองจากเช้ือแบคทีเรียแทรกซ้อน แตท่ ั้ง 3 แบบทก่ี ล่าวมานี้พบไดน้ อ้ ยกว่าโรคแทรกซ้อนของกลา้ มเนอ้ื การเป็นตะครวิ การเป็นตะคริวเกิดจากกล้ามเนื้อมีอาการเกร็งตัว เน่ืองจากความเย็นท�ำให้เลือดไปเลี้ยง กลา้ มเนอื้ บรเิ วณนน้ั ไมส่ ะดวก หรอื เปน็ ตะครวิ เนอ่ื งจากรา่ งกายเสยี เหงอื่ มาก ท�ำใหม้ กี ารเสยี แรธ่ าตุ เกลอื แร่ หรอื กลา้ มเนอ้ื นนั้ ท�ำงานหนกั จนเกดิ ภาวะเมอ่ื ยลา้ อาการทพ่ี บกค็ อื มกี ารหดเกรง็ ของกลา้ มเนอ้ื สว่ นใหญเ่ ป็นที่กล้ามเนอ้ื ขาและกล้ามเน้อื ท้อง ขณะเกรง็ ผ้ปู ว่ ยจะรสู้ กึ ปวด ผิวหนังชนื้ และเย็น ตะครวิ เปน็ การบาดเจบ็ กบั นักกีฬาทไี่ มส่ มบรู ณ์ หรืออาจมีสาเหตมุ าจาก 1. การขาดเลอื ดไปเลี้ยง เชน่ ใชถ้ งุ เทา้ รัดมาก อากาศเยน็ จัด 2. การขาดเกลือแร่บางอย่าง เช่น เกลือโซเดียม แคลเซียม โพแทสเซียม สังกะสี ซึ่งเสียไปกับเหง่อื 3. จากการถูกกระแทกทก่ี ลา้ มเน้ือ 4. การหดตวั ของกลา้ มเนือ้ อย่างรุนแรงจากสาเหตขุ ้อท่ี 1-2 ประกอบ ตะคริว เมื่อออกก�ำลังกายอย่างเต็มที่ การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่ในเนื้อเย่ือต่างๆ พบวา่ มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การเกดิ ตะครวิ เกลอื แร่ และอเี ลก็ โทรไลดท์ มี่ ผี ลกระทบตอ่ การเกดิ ตะครวิ ไดแ้ ก่ แคลเซียม แมกนเี ซียม โพแทสเซยี ม และเกลอื แรท่ ม่ี ีปริมาณน้อยบางชนดิ แคลเซียม การควบคุมการยืดหดตัวของกล้ามเน้ือข้ึนอยู่กับปริมาณของแคลเซียม ซง่ึ สะสมไวใ้ นเซลลข์ องกลา้ มเนอื้ ปรมิ าณแคลเซยี มทตี่ ำ่� จะท�ำใหเ้ กดิ อาการตะครวิ การกนิ อาหารที่ มปี รมิ าณแคลเซยี มเพยี งพอจะช่วยแก้ปัญหาน้ีได้ แมกนีเซียม มีความส�ำคัญต่อการท�ำงานของกล้ามเนื้อ แคลเซียมจะช่วยเรื่องการหดตัว ของกลา้ มเนื้อ ในขณะทแ่ี มกนีเซยี มจะชว่ ยในการยดื ตวั ของกลา้ มเนอื้ ทงั้ แคลเซยี มและแมกนเี ซยี ม จะควบคมุ การส่งถ่ายระบบประสาทและการเตน้ ของหัวใจ หากได้รับแมกนีเซียมไม่เพียงพอจะมี ผลต่อกล้ามเนื้อ การออกก�ำลังกายมากๆ จะท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงของปริมาณแมกนีเซียม ในกล้ามเนอ้ื และเลือด ซึ่งมีผลตอ่ การยดื หดตัวของกล้ามเน้อื โพแทสเซียม เป็นเกลือแร่ท่ีมีมากในเซลล์กล้ามเน้ือ ท�ำให้การท�ำงานของกล้ามเน้ือ และหัวใจเป็นไปตามปกติ คนที่ขาดโพแทสเซียมเป็นประจ�ำและออกก�ำลังกายหรือท�ำงาน ในอากาศที่ร้อน ควรจะกนิ อาหารทม่ี โี พแทสเซยี มเพ่ิมขึน้ คู่มือผูฝ้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 95

สังกะสี เนื้อเยื่อที่ขาดสังกะสี พบว่า จะมีอนุมูลอิสระมาก ซ่ึงท�ำให้เนื้อเย่ือต่างๆ เสยี่ งตอ่ การถูกท�ำลาย เกิดการเป็นตะครวิ หรือวา่ เกดิ ความอ่อนเพลยี เพ่อื ป้องกันการเกิดตะครวิ ควรกนิ อาหารใหม้ ีความหลากหลายและให้ครบ 5 หมู่ การยืดกลา้ มเนื้อทเ่ี ปน็ ตะครวิ (กล้ามเนอื้ น่อง) การปฐมพยาบาล 1. นวดเบาๆ หรือใช้ของร้อนประคบบรเิ วณทเ่ี ปน็ ตะคริว 2. ช่วยยืดกล้ามเน้ือบริเวณที่เกร็งตัว เช่น ถ้าเป็นน่องให้ยืดกล้ามเนื้อน่อง โดย จับปลายเท้าดึงข้ึนมาทางหน้าแข้ง ถ้าเป็นกล้ามเนื้อต้นขา ให้เหยียดขาให้ตรง ไม่งอเข่า และ ยกต้นขาข้นึ ถ้าเป็นทน่ี ิว้ มอื ใหเ้ หยียดนวิ้ มือท่งี อให้ตรงออก 3. การเป็นตะคริวจากการเล่นกีฬาและเสียเหงื่อมาก จะป้องกันโดยให้นักกีฬา ได้รับเกลือมากเป็นพิเศษ อาจท�ำได้โดยอาหารม้ือก่อนท่ีจะแข่งขันให้ใส่เกลือให้เค็มหรือ รับประทานน�้ำส้มค้ันใส่เกลือมากสักเล็กน้อย สวมเส้ือยืดขณะเล่นกีฬา เพ่ือป้องกันมิให้ร่างกาย เสยี เหงอ่ื เร็วเกนิ ไป การเปน็ ลม อาการเปน็ ลมเกดิ ขนึ้ ไดเ้ นอ่ื งจากเลอื ดไปเลย้ี งสมองไมเ่ พยี งพอ มกั จะเปน็ ชว่ั คราว อาการ ทีแ่ สดงออกจงึ เป็นอาการทางสมอง เชน่ หน้ามดื ใจส่ัน เวยี นศรี ษะ คลนื่ ไสแ้ ละมีอาการคล้ายๆ ชอ็ ก แต่ไม่รุนแรงนัก 96 คู่มือผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

สาเหตุของการเป็นลม มีได้หลายอย่าง เช่น อยู่ในที่ร้อนอบอ้าว ผู้คนแออัด อากาศ ถ่ายเทไม่สะดวก เหล่าน้ีท�ำให้เกิดอาการเป็นลมได้ นอกจากน้ีถ้าอยู่กลางแสงแดดนานเกินไป ร่างกายมีอาการเสียเหงื่ออันเป็นผลให้มีการเสียน้�ำและเกลือแร่อย่างมาก ก็ท�ำให้เกิดอาการ เป็นลมได้ การปฐมพยาบาล 1. เป็นลมหน้าแดง เกิดจากความร้อน ความรอ้ นอาจมาจากภายนอก เชน่ แสงแดด หรอื มากจากภายในร่างกาย เช่น ขณะจบั ไข้สูง ให้เช็ดตัวด้วยน้�ำเยน็ ใหด้ ื่มน�้ำเย็น (ห้ามดม่ื น้ำ� ชา หรอื กาแฟ) 2. เปน็ ลมหนา้ ขาว เกิดจากเสยี เลอื ด เสยี น�ำ้ เจบ็ ปวด หรอื อดอาหาร หม่ ผา้ ให้ความอบอุน่ ให้ดมื่ นำ�้ ชาหรือกาแฟร้อน 3. เป็นลมหนา้ เขยี ว เกดิ จากร่างกายขาดออกซเิ จน ให้ท�ำการผายปอด ตามปกตินักกีฬาวอลเลย์บอลท่ีแข็งแรงย่อมไม่เป็นลมง่าย ถ้าไม่เล่นหักโหมเกินกว่า ที่เคยฝึกซ้อม นักกีฬาอาจเป็นลมเพราะใช้ก�ำลังมากเกินไป อาการที่เกิดใจสั่น หน้ามืด คล่ืนไส้ ตวั เยน็ เหงอื่ ซมึ หายใจเรว็ ไมส่ มำ�่ เสมอ ในกฬี าทอี่ อกก�ำลงั กายนานๆ ตดิ ตอ่ กนั นกั กฬี าอาจเปน็ ลม เพราะเสยี นำ้� และเกลอื แรม่ ากเกนิ ไป กรณอี าการจะคลา้ ยกนั แตผ่ ปู้ ว่ ยจะตวั แหง้ และอาจมไี ขข้ น้ึ สงู กระดูกหกั กระดกู หกั เปน็ เรอื่ งทต่ี อ้ งสง่ ใหแ้ พทย์ การปฐมพยาบาล และเคลอ่ื นยา้ ยท�ำแบบเดยี วกบั ขอ้ หลดุ แต่ถ้ามกี ระดกู หักท่ิมออกมานอกเน้อื ตอ้ งระวังเป็นพิเศษ ใชช้ ะเนาะรดั เหนอื บรเิ วณท่มี ีเลอื ดออก กระดกู หกั (Fracture) หมายถงึ ลักษณะอาการของกระดูกหกั ออกจากกนั Complete Fracture มบี าดแผลหรอื ไมม่ บี าดแผลกไ็ ดแ้ ละอาการของกระดกู ทไ่ี มห่ กั ออกจากกนั Incomplete Fracture จะเปน็ แตก เดาะ หรือรา้ วก็ตาม และลักษณะกระดูกดังกลา่ วไมส่ ามารถท�ำงานไดเ้ ต็มท่ี หรือไม่สามารถท�ำงานได้เลย ในบางรายอาจจะหักออกท่ิมเน้ือหรืออวัยวะภายในก็ได้ ลักษณะเหล่าน้ี ถือว่ากระดูกหักทัง้ สิน้ การปฐมพยาบาลกระดูกหัก มหี ลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. ให้การปฐมพยาบาลอย่างรบี ดว่ น 2. หากมอี าการเป็นลมหรือช็อก ต้องแกไ้ ขใหฟ้ ้ืนกอ่ น 3. ถา้ มอี าการตกเลือด ต้องห้ามเลอื ดดว้ ยวิธที ่ีเหมาะสม 4. การจบั ตอ้ งหรอื ตรวจดบู ริเวณทห่ี ัก ต้องท�ำด้วยความระมดั ระวงั 5. ถ้าจ�ำเปน็ ต้องถอดเสอ้ื ผา้ ออก ควรใช้วิธตี ดั ทิ้ง คู่มือผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 97

6. หากมบี าดแผล ควรเช็ดลา้ งให้สะอาด แตอ่ ย่าลว้ งเข้าไปในแผล 7. หากจ�ำเป็นตอ้ งเขา้ เฝือก ตอ้ งท�ำด้วยความระมัดระวงั และรวดเร็ว 8. การเคลือ่ นยา้ ยผู้ป่วย ตอ้ งกระท�ำใหถ้ ูกหลกั วธิ กี าร 9. รีบน�ำส่งแพทย์ 10. การรักษากระดูกนนั้ ตอ้ งรักษาโดยแพทย์ผชู้ �ำนาญทางกระดูกเทา่ นั้น ข้อเท้าแพลงหรือข้อเท้าเคล็ด (Sprain) หมายถึง การท่ีเอ็นยึดข้อต่อได้รับบาดเจ็บ การบาดเจ็บมีมากหรือน้อยย่อมแตกต่างกันไป สุดแท้แต่ว่าความรุนแรงของภยันตรายที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะประเภทกีฬาต้องใชเ้ ทา้ ในการเล่น เช่น กระโดด วิ่ง ตะกรอ้ ฟุตบอล รกั บี้ วอลเลย์บอล บาสเกตบอล กรฑี า ยมิ นาสตกิ ฯลฯ โดยมกี ารพลกิ ของขอ้ เทา้ และกลายมาเปน็ ขอ้ เทา้ แพลงในทสี่ ดุ โดยพบมากที่สุดเกือบร้อยเปอร์เซน็ ตท์ ี่ดา้ นนอกของขอ้ เท้า ข้อเท้า ประกอบด้วย กระดูกหลายชิ้น โดยมีเอ็นยึดข้อต่อระหว่างกระดูกแต่ละชิ้น เพอ่ื ให้คงสภาพเป็นขอ้ เท้าท่มี น่ั คงแข็งแรง และป้องกนั มใิ หก้ ระดกู ข้อเทา้ แยกออกจากกนั ในขณะ ท่มี ีการเคลอื่ นไหวภายใตแ้ รงกระแทก แรงดงึ หรอื แรงบดิ หมุน การปฐมพยาบาล การใชน้ ำ�้ แขง็ ประคบกบั พนั ดว้ ยผา้ พนั (Elastic Bandage) แบนเดจจ�ำเปน็ ส�ำหรบั บาดแผล เชน่ น้ี การประคบและพนั ผา้ ตอ้ งท�ำสลบั กนั ในชว่ ง 24-48 ชวั่ โมงแรกของการบาดเจบ็ เพอ่ื ระงบั เลอื ด และน�ำ้ เหลอื ง การบาดเจ็บทีน่ ว้ิ หัวแม่มือและขอ้ มอื เกดิ จากเทคนิคการฝึกไมด่ ี เช่น การกระโดดขึ้นสกดั กนั้ ลูกบอลเหนือตาข่ายท�ำให้นิ้วมือมีโอกาสได้รับบาดเจ็บ ควรใช้เทปเหนียว (Adhesive Tape) พนั ยดึ บริเวณน้ิว จึงจะสามารถลดการบาดเจ็บลงได้ การป้องกัน 1. อยา่ ฝนื เลน่ เมอ่ื สภาพร่างกายไมพ่ รอ้ ม หรือเล่นมากเกินไป ตอ้ งมีความแขง็ แรง อดทน มคี วามออ่ นตัวดี 2. เมื่อได้รับบาดเจ็บควรพักให้นานและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของแพทย์ ไม่ควรปล่อยท้ิงไว้ เป็นเวลานาน 3. จดั หาลกู วอลเลยบ์ อลทมี่ ขี นาดมาตรฐานและหลกี เลยี่ งการเลน่ บอลทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย เชน่ คู่ตอ่ สู้ตบลกู บอลใสต่ วั 4. เลือกสวมเสื้อผ้าท�ำด้วยวัสดุโปร่ง ถ่ายเทอากาศดี รองเท้าควรใส่ให้ถูกต้องกับ กีฬาวอลเลยบ์ อล 98 คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate

5. สวมสนับเข่าป้องกันอุบัติเหตุท่ีข้อเข่า เช่น เข่าเคล่ือน เข่าแพลงหรือควรใช้ผ้ายืด หรอื แผ่นเทปปิดรัง้ ปอ้ งกนั ไว้ 6. สนามต้องได้มาตรฐาน พื้นสนามระวังอย่าให้ลื่นและบริเวณข้างสนามอย่าให้มี ส่งิ กีดขวาง 7. สถานที่เลน่ ควรจะมีอากาศถา่ ยเทได้ดี เพราะถา้ ร้อนอบอา้ วมาก จะท�ำให้เกดิ สภาวะ ต่างๆ ท่ีเปน็ อนั ตรายตามมาไดง้ ่าย แสงสว่างตอ้ งสว่างเพยี งพอ ขอ้ ต่อเคล็ด (Sprain) หมายถึง การท่ีข้อตอ่ ต่างๆ ได้รับการเคลอื่ นไหวมากเกนิ ไป ท�ำให้ เนอื้ ออ่ น เยอื่ หมุ้ ขอ้ เอน็ รอบๆ ขอ้ หรอื กลา้ มเนอ้ื บรเิ วณขอ้ มอี าการฉกี ขาดหรอื ชำ�้ ท�ำใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปวด เรยี กว่า “ข้อตอ่ เคลด็ หรือแพลง” บริเวณท่ีพบมาก ได้แก่ ขอ้ เทา้ ขอ้ มอื หัวเข่าและหวั ไหล่ เปน็ ตน้ สาเหตุ เน่ืองจากข้อต่อส่วนนั้นเกิดกระทบกระเทือน ถูกชน ถูกบิด พลิกหรือแพลงอย่างรุนแรง หรอื ตกจากทสี่ ูง ท�ำใหเ้ ยื่อหุ้มหรือเอ็นรอบๆ ขอ้ ต่อพลิกหรอื แพลง ท�ำใหข้ ้อตอ่ เคล็ดหรอื แพลงได้ (ดงั ภาพ) อาการ 1. บรเิ วณขอ้ สว่ นนัน้ จะบวมและมอี ุณหภมู สิ งู ขน้ึ 2. มีอาการเจ็บปวด ถา้ เคลือ่ นไหวหรอื ใชม้ อื กดดจู ะยง่ิ เจบ็ มากขน้ึ 3. ในรายทม่ี อี าการรนุ แรง ไมส่ ามารถกระท�ำการเคลอื่ นไหวสว่ นนน้ั ไดเ้ ลยเพราะจะเจบ็ มาก 4. มีอาการชาท่ัวบรเิ วณน้นั ซึ่งแสดงวา่ อาจมเี สน้ ประสาทส่วนน้ันถกู ฉกี ขาดไปดว้ ย การปฐมพยาบาล 1. ใหข้ ้อตอ่ ส่วนนน้ั พกั ผ่อนใหอ้ ยนู่ ิง่ ๆ 2. ยกขอ้ ตอ่ สว่ นนั้นใหส้ ูงขึ้น ถา้ เป็นข้อตอ่ ควรห้อยแขนด้วยผ้าคล้องคอ 3. ใหค้ วามรอ้ นแกบ่ รเิ วณนน้ั โดยใชน้ ำ�้ อนุ่ ประคบ จะเปน็ ถงุ นำ�้ รอ้ นหรอื ขวดนำ�้ รอ้ นกไ็ ด้ 4. นวดเบาๆ โดยใชน้ ้ำ� มนั สะโตก๊ หรอื น้ำ� มันระก�ำ หรอื ขี้ผง้ึ บาล์มตา่ งๆ ก็ได้ เพ่ือให้เกดิ ความรอ้ นทัว่ บริเวณนน้ั แต่ตอ้ งกระท�ำเบาๆ อย่ารุนแรง แลว้ พนั สว่ นนนั้ ใหแ้ นน่ 5. อาจตอ้ งเขา้ เฝอื กเพ่ือใหส้ ่วนนนั้ พกั ผอ่ นนิ่งท่สี ุด จะท�ำใหห้ ายเร็ว 6. ควรน�ำส่งโรงพยาบาล เพ่ือตรวจฉายรงั สีดูว่า มกี ระดูกหักด้วยหรอื ไม่ คูม่ ือผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 99

การบาดเจบ็ ที่บรเิ วณเข่า “เข่า” มักจะได้รับอันตรายมากท่ีสุดในผู้เล่นกีฬาวอลเลย์บอล เพราะมีการเคลื่อนไหว ในลักษณะของการวิง่ กระโดดหรอื กระโดดอยูก่ บั ทใี่ ช้ในการเลน่ ภาวะ “เข่านักกระโดด” หมายถึง การอักเสบอันเป็นผลจากความเส่ือมและมีการฉีก ยดึ ของใยบางสว่ นของเอน็ กลา้ มเนอื้ เหยยี ดเขา่ (Quadriceps Tendon) และเอน็ สะบา้ (Patellar Tendon) การบาดเจ็บชนิดเรอ้ื รงั นจ้ี ะเกิดข้ึนเนือ่ งจากกจิ กรรมประเภทกระโดด ถีบ ปีน ว่ิง ซึ่งมีความเค้นดงึ เกิดขึ้นอย่างซ้�ำซาก บริเวณของเอ็นที่เสื่อมอาจกลายเป็นเย่ือเมือก (Mucoid Degeneration) และเปื่อยแบบ Fibrinoid Necrosis ซึ่งจะคอ่ ยๆ แปรสภาพเปน็ ปมแผลเปน็ (Scarred Nodule) ในเวลาตอ่ มา ลักษณะอาการ มีความเจ็บปวดท่ีบริเวณกระดูกสะบ้าหรือที่ส่วนหน้าของหัวเข่า ในระยะท่ี 1 นักกีฬา จะรู้สึกปวดตรงต�ำแหน่งท่ีเส่ือมเฉพาะเม่ือหลังจากการเล่นเท่าน้ัน ระยะท่ี 2 จะมีอาการปวด ในระหว่างการเล่นและแม้หยุดเล่นก็ยังปวดอยู่อีกพักหนึ่ง แต่ความสามารถในการเล่นก็ยังดีอยู่ ต่อมาในระยะท่ี 3 จะมีอาการปวดตลอดโดยจะไม่หยุดเมื่อพักและผลการเล่นจะด้วยกว่าปกติ ความแข็งแรงของเอ็นยังไม่ฟื้นคืนสู่สภาพปกติ ถ้าเล่นอย่างหักโหมก็อาจท�ำให้เอ็นฉีกขาดได้ กอ่ นเล่นจะต้องมกี ารยดื และอุ่นกายสว่ นนใ้ี หเ้ ต็มท่ี และหลังเล่นให้ใช้น้�ำแข็งนวด (Ice Massage) หรอื ใชผ้ า้ เย็นประคบ การตรวจของแพทย์ พบต�ำแหนง่ ทกี่ ดเจบ็ ซงึ่ ถา้ ใหเ้ กรง็ กลา้ มเนอ้ื เหยยี ดเขา่ ฝนื แรงตา้ นกจ็ ะเกดิ อาการเจบ็ ปวด มากขนึ้ ภาพเอกซเรยอ์ าจมรี อยกระดกู สลาย (Osteolytic Lesion) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ตรงขอบลา่ ง ของสะบ้า แนวการศกึ ษา ในระยะท่ีหน่ึงและที่สอง อาจให้ยาต้านการอักเสบและลดความหักโหม ในการเล่นลง เพราะยาดังกลา่ วมฤี ทธ์ริ ะงบั ความเจบ็ ปวด ในระยะที่สาม ถ้าหากมีอาการปวดแม้ในขณะเดิน อาจต้องพิจารณาผ่าตัดขูดเอา ส่วนท่ีเสอื่ มออก น่าสังเกตว่าอาการปวดอาจบรรเทาได้ โดยการใชเ้ ขม็ แทงซ�้ำๆ ตรงต�ำแหนง่ ที่ปวด สัก 20 คร้งั โดยไมต่ ้องฉดี ยาเฉพาะทีใ่ ดๆ เจบ็ ปวดทเ่ี อน็ รอ้ ยหวาย อาการเจ็บปวดท่ีเอ็นร้อยหวายจะเกิดขึ้นกับนักกีฬาท่ีวิ่งและมีการฝึกซ้อมหนัก อาการ ที่เกิดจะมีลักษณะดังนี้ จะมีความรู้สึกปวดแสบปวดร้อนบริเวณเอ็นร้อยหวายเมื่อเริ่มเล่นกีฬา 100 ค่มู อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

และเมอ่ื เลน่ หรอื วิ่งไปไดส้ ักระยะหนึง่ อาการเจบ็ ปวดจะลดลงหรือหายไป แตเ่ มอ่ื หยดุ ว่ิงอาการจะ กลบั มากขนึ้ หรอื เมอื่ ตนื่ นอนและลกุ ขน้ึ หรอื ลงจากเตยี งในตอนเชา้ จะมอี าการเจบ็ ปวดทเ่ี อน็ รอ้ ยหวาย และเมื่อใช้ชีวิตประจ�ำวันผ่านไปอาการจะลดน้อยลงไปหรือหายไปเลยในตอนบ่ายๆ อาการเจ็บปวดน้ี จะเป็นท่ีบริเวณ 4-5 เซนติเมตร เหนือข้อต่อส้นเท้าท่ีเป็นที่เกาะของเอ็นร้อยหวาย กดเจ็บ ในรายท่ีเป็นมากๆ หรือเป็นเร้ือรัง จะคล�ำได้ก้อนเล็กๆ หรือขรุขระและบวมอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้ ดเู หมือนน่องโต การปฐมพยาบาล เม่ือเกดิ อาการขน้ึ ชนิดเฉียบพลัน ให้หยดุ เล่นกีฬาหรอื วง่ิ ในทันที ประคบนำ�้ แขง็ ประมาณ 5-10 นาที ยกเท้าใหอ้ ยู่สูง จากนัน้ งอหวั เข่าและยดื เอน็ รอ้ ยหวายสักประมาณ 5 นาที ใหย้ าแกป้ วด และยาตา้ นการอกั เสบแลว้ แตอ่ าการ สว่ นใหญแ่ ลว้ จะใหป้ ระมาณ 1-3 สปั ดาห์ การใหก้ ารรกั ษาทาง กายภาพบ�ำบดั เชน่ การใหค้ วามรอ้ นจากแสงอนิ ฟราเรด หรอื การใหค้ ลนื่ เหนอื เสยี ง จะท�ำใหห้ ายเรว็ ขน้ึ หา้ มฉดี ยาตา้ นการอกั เสบเฉพาะทบ่ี รเิ วณนเี้ ปน็ อนั ขาดถา้ มลี กั ษณะถงึ ขน้ั ฉกี ขาดของเอน็ รอ้ ยหวาย จ�ำเปน็ ตอ้ งรักษาดว้ ยการผ่าตดั ต้องเขา้ เฝอื กไว้ 6 สปั ดาห์ จงึ จะเร่มิ ท�ำการบ�ำบดั รกั ษา การป้องกนั 1. บรหิ ารกลา้ มเนอื้ นอ่ งใหแ้ ขง็ แรง โดยใชน้ ำ้� หนกั ถว่ งทเี่ ทา้ แลว้ กระดกขอ้ เทา้ ขนึ้ ลงชา้ ๆ โดยเร่มิ จากน�้ำหนกั ประมาณ 1 กโิ ลกรัม แล้วเพมิ่ ขึน้ เรื่อยๆ จนได้ประมาณ 5-6 กิโลกรมั ใหท้ �ำ ประมาณ 10 ครงั้ เชา้ และเย็นเปน็ อยา่ งนอ้ ย สลบั กับการยดื กลา้ มเนื้อน่องให้ยดื หยุ่นอยู่เสมอ 2. ตรวจดูลักษณะโครงสร้างของร่างกาย ถ้าไม่เป็นปกติก็ต้องปรับให้เกือบเหมือน หรอื เหมอื นปกติ เล่นกฬี าหรอื ว่งิ วธิ ีท่งี า่ ยท่ีสดุ คอื การปรบั ด้วยรองเท้า เช่น เท้าท่มี อี ้งุ เท้าโค้งสงู ให้ใส่รองเท้าท่ีมีรองอุ้งเท้าสูงทัดเทียมกับอุ้งเท้าของเราและเสริมรองส้นเท้าให้น่ิมมากๆ เพื่อกัน แรงกระเทือนท่ีสน้ เทา้ ขณะวิง่ หรือในรายทเี่ ท้าควำ�่ บดิ เขา้ ในก็ตอ้ งเสรมิ รองเท้าดงั ทไ่ี ด้กลา่ วมาแล้ว 3. รองเท้าที่ใช้เล่นกีฬาจะต้องมีส้นเท้าท่ีนิ่มและนอกจากน้ีส่วนที่เสริมหุ้มส้นเท้า ไม่ควรมี เพราะจะไปท�ำให้มีการเสียดสีกับเอ็นรอ้ ยหวายถึงแมจ้ ะท�ำใหน้ ิม่ เพียงใดก็ตาม หลกั การปฐมพยาบาลภายใน 48 ชัว่ โมงแรก การบาดเจ็บจากการเล่นวอลเลย์บอลในช่วงขณะฝึกซ้อมหรือขณะแข่งขันท่ีพบบ่อย กับนักกีฬา คือ การฟกช�้ำ อักเสบ กล้ามเนื้อพลิกหรือข้อเท้าแพลง ซึ่งการบาดเจ็บจะมีตั้งแต่ ระดับฟกช้�ำ เริ่มฉีกขาดบางส่วนและถึงข้ันระดับฉีกขาดหมด การปฐมพยาบาลในช่วงขณะ ฝึกซ้อมหลังหรือขณะแข่งขันเป็นสิ่งส�ำคัญมาก ไม่ควรรอพบแพทย์โดยที่ไม่ได้ปฐมพยาบาลนักกีฬาด้วย พบวา่ ในทอ้ งถนิ่ ทรุ กนั ดารนกั กฬี าบางคนตอ้ งรอถงึ 4 ชว่ั โมง กวา่ จะไดเ้ ขา้ หอ้ งฉกุ เฉนิ เพอ่ื พบแพทย์ คู่มือผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 101

เพราะยงั มคี นไขท้ อี่ าการหนกั กวา่ รออยู่ โปรดจ�ำไวว้ า่ เมอื่ ใดทเ่ี กดิ อาการบวมชำ�้ อกั เสบ กลา้ มเนอื้ พลกิ หรอื ขอ้ เทา้ แพลง วธิ กี ารรกั ษาตวั อยา่ งงา่ ยๆ คอื P R I C E ซง่ึ กไ็ มไ่ ดแ้ ปลวา่ ขา้ ว หากแตเ่ ปน็ ตวั อยา่ ง ของ Protection, Rest, Ice, Compression และ Elevation 1. P (Protection) ท�ำการปอ้ งกนั สว่ นทบี่ าดเจบ็ โดยการใชผ้ า้ พนั หรอื การใช้ elastic bandages หรือการ splint ให้อยนู่ ่งิ ๆ ไม่ขยับส่วนที่บาดเจ็บ หลักการปฐมพยาบาล ภายใน 48 ชัว่ โมงแรก คือ 2. R (Rest) การหยุดพัก หมายถึง การหยดุ พักเฉพาะสว่ นกลา้ มเน้ือน้นั มใิ หเ้ คล่อื นท่ี หรือเคลื่อนท่ีแต่น้อย และรวมถึงการหยุดพักการฝึกซ้อมนั้นด้วย ส�ำหรับการหยุดพักเฉพาะส่วน ขน้ึ อยกู่ บั สว่ นทบ่ี าดเจบ็ เชน่ ทแี่ ขนอาจใชผ้ า้ คลอ้ งคอ (Sling) ขาอาจใชไ้ มเ้ ทา้ คำ้� ยนั ขอ้ เทา้ พนั ดว้ ย Ankle Plaster Strap เป็นต้น ส่วนการหยุดพักการฝึกซ้อมนั้น ถ้ามีอาการปวดบวมมากอาจต้องพักโดยสมบูรณ์ แตห่ ากเลก็ นอ้ ยอาจเปลย่ี นเลน่ กฬี าอน่ื เพอ่ื มใิ หค้ วามอดทนลดลง หรอื ฝกึ ซอ้ มเฉพาะทา่ ทางไปกอ่ น เชน่ แกวง่ แขนท�ำทา่ ตบลกู บอล เปน็ ตน้ แตโ่ ดยทวั่ ไปจะใชห้ ลกั “กฎของ 3” (Rule of Three) คอื กลา้ มเน้ือ เอน็ กลา้ มเน้ือฟกช�้ำ ควรหยุดพัก 3 วนั เอน็ ยดึ ขอ้ ต่อ กลา้ มเนอื้ ฉีกขาดบางสว่ น ควรหยดุ พัก 3 อาทติ ย์ กระดกู กลา้ มเนื้อฉกี ขาดหมด ควรหยดุ พกั 3 เดือน แต่ทั้งนี้มิได้เป็นกฎเกณฑ์เสมอไปข้ึนอยู่กับหลายประการ เช่น กระบวนการซ่อมแซม ส่วนสึกหรอของแต่ละคนซึ่งไม่เท่ากัน ความร่วมมือในการท�ำกายภาพบ�ำบัด พักเพ่ือการแข่งขัน คราวต่อไปท่ีส�ำคัญกว่า ซ่ึงแพทย์กีฬาและโค้ชควรปรึกษาด้วยกันท้ังสองฝ่ายอย่างจริงจัง เพื่อผล แห่งชยั ชนะและสุขภาพของนกั กฬี าเอง Rest หยุดพกั ในทนั ทีท่ีรู้สึกปวดเจบ็ หากยงั ฝนื เลน่ ตอ่ ไปอาการอกั เสบจะรนุ แรงมากขึน้ 3. I (Ice) การประคบเย็น มีหลายวิธี เช่น การให้ถุงน้�ำแข็ง สเปรย์ ซิลิโคน-เจล ควรใช้เวลา 15 นาที แลว้ พัก ไมค่ วรใชน้ ้ำ� แขง็ แตะผวิ หนังโดยตรง เพราะจะเกิดภาวะขาดเลอื ดจาก เสน้ เลอื ดตบี การประคบนำ้� เยน็ เปน็ วธิ แี รกและอนั ดบั แรกทคี่ วรท�ำกอ่ น นอกจากจะชว่ ยลดบวมแลว้ ยังลดความเจบ็ ปวดด้วยในตา่ งประเทศมีการใชส้ ารเคมีพวกแอมโมเนียมไนเตรท ซ่ึงสามารถเกบ็ ไว้ ไดโ้ ดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งแชเ่ ยน็ แตม่ รี าคาแพงและมโี อกาสเกดิ แพส้ ารเคมไี ด้ ในบา้ นเราควรใชถ้ งุ นำ�้ แขง็ นา่ จะเปน็ วิธที ดี่ แี ละราคาถูกทส่ี ดุ ดว้ ย Ice น้�ำแข็ง ใช้น้�ำแข็งประคบบริเวณที่อักเสบ น�้ำแข็งจะลดอาการบวมช�้ำได้ อย่าใช้ น้�ำแข็งวางท่ีบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บโดยตรง เพราะน้�ำแข็งอาจจะท�ำให้กล้ามเนื้อบริเวณนั้นไหม้ ดว้ ยความเย็นจดั ควรวางผา้ เช็ดตัวบนบรเิ วณทไ่ี ดร้ ับบาดเจบ็ กอ่ น จึงวางน้ำ� แขง็ ทบั บนนนั้ 102 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

4. C (Compression) การกด จุดประสงค์เพ่ือลดอาการปวดบวม อาจใช้ผ้ายืด พันข้อควรระวัง อย่ารัดมากเกินไป สังเกตได้ว่าปวดมากขึ้นและบวมในส่วนปลายของผ้าท่ีพัน อาจมอี าการซดี เซยี วได้ ในทนี่ กี้ ารกดรดั อยา่ เขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ การนวด (Massage) เพราะเปน็ ขอ้ หา้ ม ในระยะ 48 ชว่ั โมง Compression การพนั รดั ชว่ ยจ�ำกัดขอบเขตของการบวมชำ�้ ใช้ผา้ ยางยดื พันโดยรอบ ให้ตงึ พอประมาณ อยา่ พันรดั แน่นจนเลือดไหลเวยี นไม่สะดวก หากมีอาการข้อเทา้ แพลง อยา่ ถอด รองเทา้ ออก เพราะรองเท้าจะจ�ำกดั การบวมชำ�้ ไดส้ ่วนหนงึ่ 5. E (Elevation) การยกส่วนท่ีบาดเจ็บให้สูงขึ้นจะเป็นการลดอาการบวม เช่น เจ็บข้อเท้า เวลานอนก็หาหมอนหรือผ้ามารองไว้ใต้ข้อเท้าให้สูงขึ้น เวลาน่ังก็หาเก้าอ้ีอีกตัวมาวางไว้ ให้ยกขาขนึ้ ไปจะชว่ ยลดอาการบวมได้ คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 103

ทที่ 7 บ ทกั ษะการเล่นกฬี าวอลเลยบ์ อล การเสิรฟ์ (Serving) วอลเลย์บอลเริ่มการแข่งขันด้วยการเสิร์ฟ การเสิร์ฟครั้งแรกของเซตที่ 1 และเสิร์ฟเซตที่ 5 ผู้ตัดสินที่ 1 จะท�ำหน้าที่เส่ียงเพื่อให้หัวหน้าทีมท่ีชนะการเส่ียง เลือกเสิร์ฟหรือรับและเลือกแดน ท่ีจะลงท�ำการแข่งขัน โดยเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง การเสิร์ฟในการแข่งขันวอลเลย์บอลในปัจจุบัน นับว่ามีความส�ำคัญมาก เน่ืองจากการเล่นวอลเลย์บอลมีระบบการนับคะแนนแบบ Rally Point ระบบการนับคะแนนแบบใหม่เป็นจุดผกผันท่ีส�ำคัญของกีฬาวอลเลย์บอลในเรื่องทักษะการเสิร์ฟ เทคนคิ การเสริ ฟ์ เวลาเสริ ฟ์ เปน็ 8 วนิ าที และการยกเลกิ ความพยายามทจ่ี ะน�ำการเสริ ฟ์ ซงึ่ การเปลยี่ นแปลง ระบบการนับคะแนนใหม่ ท�ำใหต้ ้องปรับปรงุ เทคนคิ การเล่นใหเ้ หมาะสม นักกฬี าต้องปรับตวั ใหม้ ี การเล่นทแี่ น่นอน ไม่ฆ่าตวั ตายนั่นเอง การเสิรฟ์ เปน็ ยุทธวิธีของการบกุ อย่างหน่งึ ลูกเสริ ฟ์ ทมี่ คี วามรนุ แรง มีประสทิ ธภิ าพ และ เสิร์ฟได้ตรงช่องว่างหรือตรงกับผู้เล่นท่ีมีทักษะการรับลูกเสิร์ฟไม่ดี เป็นเป้าหมายของการเสิร์ฟ ลูกเสิร์ฟท่ีมีความรุนแรงและแน่นอน นับว่าเป็นการบุกที่ดี อาจจะได้คะแนนจากการเสิร์ฟ หรือ เป็นการกดดนั ทีมคตู่ ่อสู้ในการสร้างเกมรกุ อีกดว้ ย ความหมายของการเสริ ์ฟ ทรงศักด์ิ เจริญพงศ์ (2542 : 8) ได้กล่าวถึงการเสิร์ฟว่า การเสิร์ฟเป็นการน�ำลูกเข้าสู่ การเล่นโดยผเู้ ล่นต�ำแหนง่ หลงั ขวา ดว้ ยการตีลกู บอลด้วยมือขา้ งใดขา้ งหนง่ึ หลังจากผู้เสิรฟ์ ไดโ้ ยน หรือปล่อยลูกแล้ว การเสิร์ฟโดยทั่วๆ ไปไม่ว่าจะเป็นการยืนเสิร์ฟหรือการกระโดดเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟ จะต้องเสิร์ฟลูกให้แม่นย�ำและรุนแรง ทั้งนี้เพราะการเสิร์ฟจะสามารถท�ำคะแนนให้กับทีม ได้อีกวิธีหนึง่ อุทัย สงวนพงศ์ และสมบัติ คุณามาศปกรณ์ (2543 : 35-36) ได้กล่าวว่า การเสิร์ฟ เปน็ การรกุ วธิ หี นงึ่ การแขง่ ขนั จะเรมิ่ จากการเสริ ฟ์ เสมอ ลกู เสริ ฟ์ ทม่ี พี ลงั และมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถขม่ คตู่ อ่ สแู้ ละชงิ ความเปน็ ผคู้ มุ เกมการเลน่ ไดด้ ว้ ย จดุ ประสงคข์ องการเสริ ฟ์ อยทู่ ก่ี ารท�ำคะแนนโดยตรง 104 คมู่ อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

ท�ำลายยุทธวิธีการรุกของฝ่ายตรงข้าม ลดภาระการต้ังรับของฝ่ายตน สร้างโอกาสท่ีได้เปรียบ ในการตอบโตล้ กู เสริ ฟ์ ทด่ี ี สามารถท�ำความหนกั ใจใหฝ้ า่ ยตรงขา้ ม อนั เปน็ การท�ำลายขวญั และจติ ใจ ของคู่แข่งขัน ท�ำให้เกิดความรวนเร ขาดความสัมพันธ์ในการรุกได้ทางหน่ึงด้วย ผู้เล่นจึงควรหา ความช�ำนาญโดยการฝึกหัดเสิร์ฟด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งท่ีเหมาะสมและดีท่ีสุดหรือตามความถนัด ของผูเ้ ล่นแต่ละคน การปฏิบัตใิ นการเสิรฟ์ ศรเี กษม อุ่นประดิษฐ์ และคณะ (2532 : 56) ไดก้ ล่าวถึงการปฏบิ ตั ใิ นการเสิรฟ์ ไว้ดังนี้ 1. ผู้เล่นต้องเสิร์ฟลูกบอลตามล�ำดับที่ส่งในใบส่งต�ำแหน่งระหว่างท�ำการแข่งขัน โดยหมนุ ตามเข็มนาฬกิ า 2. เมอื่ ชดุ ท่ีเสริ ์ฟไดค้ ะแนน ให้ผ้เู สิร์ฟคนเดมิ เป็นผเู้ สิร์ฟต่อ 3. เมอ่ื ชดุ ที่เสริ ์ฟท�ำเสีย ใหฝ้ า่ ยตรงข้ามไดเ้ สริ ์ฟ 4. ผู้เสริ ฟ์ ต้องอยใู่ นพน้ื ทีข่ องเขตเสริ ฟ์ 5. ผู้เสริ ฟ์ ตอ้ งท�ำการเสิรฟ์ ภายในเวลา 8 วินาที 6. การเสิร์ฟถือว่าสมบูรณ์เมื่อผู้เสิร์ฟเสิร์ฟด้วยมือข้างเดียว หรือส่วนใดส่วนหน่ึง ของแขนหลงั จากโยนหรอื ปลอ่ ยลูกบอลกอ่ นลกู บอลจะถูกพ้นื 7. ในขณะท่ีฝ่ายตนเองก�ำลงั ท�ำการเสิร์ฟ หา้ มผเู้ ลน่ ท�ำการก�ำบังฝา่ ยตรงข้าม หลกั ส�ำคัญในการเสิร์ฟ อุทัย สงวนพงศ์ และสมบัติ คุณามาศปกรณ์ (2543 : 36-37) ได้กล่าวถึงหลักส�ำคัญ ในการเสริ ์ฟ มดี ังนี้ 1. ท่าทางในการเสิร์ฟ 2. ต�ำแหนง่ การยืน 3. การโยนลกู บอล 4. การเหว่ียงแขน 5. จุดที่มือกระทบลกู บอล คมู่ อื ผ้ฝู กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 105

ต�ำแหนง่ การยนื ก่อนท่ีจะเร่ิมเสิร์ฟทุกครั้ง ผู้เล่นต้องยืนตามจุดหรือต�ำแหน่งที่เคยฝึกซ้อมมา มีผู้เล่น จ�ำนวนมากทข่ี าดความสงั เกตในเรอื่ งนี้ พอจบั ลกู บอลเขา้ มายนื ในเขตเสริ ฟ์ กเ็ สริ ฟ์ ลกู ไปตามใจตนเอง การยนื หา่ งจากเสน้ หลงั ใกลห้ รอื ไกลเพยี งใด ยนื หา่ งจากมมุ สนามมากนอ้ ยเพยี งใด กต็ อ้ งยนื ทจ่ี ดุ นน้ั ตลอดทกุ ครั้งที่ท�ำการเสิร์ฟ เพราะจะท�ำให้ความแรง ความเรว็ และทศิ ทางของลูกบอลเปน็ ไปตาม เปา้ หมายทีต่ ้องการและท�ำให้การเสิรฟ์ มีผลเสยี น้อยด้วย การโยนลูกบอล ความสูงขณะโยนลูกบอลขึน้ ตอ้ งสม�่ำเสมอ เชน่ ความสูงจากมือท่ีโยนประมาณ 3-4 ช่วง ของลกู บอล ก็จะตอ้ งโยนลูกบอลให้มีความสูงเชน่ นตี้ ลอดไป เพราะการโยนลกู สงู บ้างต่ำ� บ้างท�ำให้ แรงท่ีใช้ตีและทิศทางของลูกขาดความแม่นย�ำ นอกจากน้ีการโยนลูกใกล้ตัวบ้างหรือห่างตัวบ้าง เอยี งไปซา้ ยบ้าง ขวาบ้างก็ยอ่ มมีผลตอ่ การตลี ูกบอลด้วย การเหว่ยี งแขน การเสริ ฟ์ ใหล้ กู บอลพงุ่ ไปตามทศิ ทางและมคี วามแรงตามทตี่ อ้ งการ ขนึ้ อยกู่ บั การเหวย่ี งแขนดว้ ย ผู้เสิร์ฟเคยเหวี่ยงแขนในลักษณะใด มือห่างจากลูกบอลเท่าไร จะต้องท�ำอย่างนั้นทุกครั้งที่เสิร์ฟ จึงตอ้ งฝึกฝนการเหวีย่ งแขนใหค้ ล้ายกับเครอื่ งจักรท่มี ีจังหวะการท�ำงานอยา่ งสม่�ำเสมอ จดุ ท่มี อื กระทบลูกบอล ลักษณะของมือและจดุ ท่มี ือกระทบลกู บอลต้องเหมอื นกนั ทกุ ครง้ั ทต่ี ีลกู บอลในทา่ นัน้ ๆ ด้วย เชน่ การแบมอื ตดี ้านหลังตรงส่วนกึ่งกลางของลูกบอล กต็ อ้ งท�ำในลกั ษณะเชน่ นี้ตลอดทกุ ลกู เสริ ฟ์ เพราะการออกแรงและจุดที่ตีลูกบอลแตกต่างกันก็ย่อมท�ำให้ทิศทางของลูกบอลที่พุ่งออกไป แตกต่างกนั ด้วย ลักษณะของมอื ท่ีใช้สัมผัสลกู บอล เสง่ยี ม พรหมบญั พงศ์ และสุชาติ ทวพี รปฐมกุล (2537 : 77-79) ไดส้ รุปลกั ษณะของมือ ที่ใชส้ มั ผสั ลูกบอลไว้ดงั น้ี 1. ลกั ษณะก�ำมือ หงายฝา่ มือหรือตั้งข้นึ 2. แบบมือดา้ นขา้ ง 3. แบบฝ่ามือนับหัวแมม่ อื อยู่กลางฝา่ มือ หงายฝ่ามอื หรอื ตง้ั ข้ึน 4. นว้ิ มือเรียงชิดกันหรอื กางน้ิวมอื ออก หงายฝา่ มือหรอื ตงั้ ข้นึ 106 คูม่ ือผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การเสริ ์ฟมอื ลา่ ง การเสริ ์ฟมอื บน ลกั ษณะของการเสริ ฟ์ ทรงศกั ดิ์ เจรญิ พงศ์ (2533 : 61-66) ได้แบง่ ลักษณะการเสิร์ฟออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ 1. การเสิร์ฟลกู มือลา่ ง (Under Hand Service) 1.1 การเสริ ฟ์ ลูกมอื ลา่ งดา้ นหนา้ 1.2 การเสิร์ฟลกู มือลา่ งด้านขา้ ง 2. การเสิร์ฟลูกมือบน (Overhand Service) 2.1 การเสริ ฟ์ ลูกมือบนด้านหนา้ 2.2 การเสริ ฟ์ ลกู มือบนด้านขา้ ง 2.3 การกระโดดเสิรฟ์ หลกั การเสิร์ฟลูกมอื ลา่ ง อุทัย สงวนพงศ์และสมบัติ คุณามาศปกรณ์ (2543 : 40) ได้กล่าวถึงหลักการเสิร์ฟ ลกู มอื ล่างไว้ดงั น้ี 1. ผู้เสิรฟ์ ยนื ในเขตเสิร์ฟ หนั หนา้ เขา้ หาตาขา่ ย แยกเท้าห่างกนั ประมาณ 1 ชว่ งไหล่ เทา้ ซ้ายอย่หู นา้ (ถ้าเสิรฟ์ ดว้ ยมอื ขวา) 2. ถือลูกบอลด้วยมือซ้าย ยกลูกบอลไว้ระดับหน้าท้อง งอข้อศอกและโน้มตัวไป ข้างหน้าเล็กน้อย เหว่ียงแขนขวามาข้างหลังจนสุด พร้อมกับโยนลูกบอลขึ้นตรงๆ ไม่ควรโยนลูก สงู กวา่ ระดบั ไหล่ 3. จงั หวะทลี่ กู บอลเรมิ่ ตกใหเ้ หวยี่ งแขนขวากลบั มาขา้ งหนา้ ตลี กู บอลบรเิ วณสว่ นหลงั ดา้ นล่างของลูกบอล ขณะทีแ่ ขนขวาเหว่ยี งจากข้างหลังมาข้างหนา้ ควรย่อเข่าเพอ่ื ชว่ ยแรงส่งด้วย คู่มอื ผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 107

4. ลักษณะของมอื ท่ีตีลกู บอลอาจใช้การแบมอื ก�ำหมดั สนั มอื ตลี กู บอลกไ็ ด้ แต่แขน ทเ่ี หวยี่ งไปตลี กู บอลตอ้ งเหยยี ดตงึ เมอ่ื ตลี กู บอลไปแลว้ ใหเ้ หวย่ี งแขนตามลกู บอล เพอ่ื ชว่ ยบงั คบั ลกู ใหไ้ ปในทศิ ทางท่ีตอ้ งการ ส�ำหรับการเสิร์ฟลูกมือล่างอาจจะหันด้านข้างเข้าหาตาข่ายก็ได้ มีหลักการเสิร์ฟ เช่นเดียวกับการเสิร์ฟลูกมือล่างหันหน้าเข้าหาตาข่าย แต่การยืนของผู้เสิร์ฟจะหันไหล่ซ้ายเข้าหา ตาขา่ ย ก ข กค ข ค ต�ำแหน่งท่ีตีลูกบอลในการเสิร์ฟลูกมือล่างมีส่วนท่ีจะท�ำให้ลูกบอลตกใกล้หรือไกล ได้เหมอื นกนั ถ้าหากตีตรงก่ึงกลางให้ลูกบอล (ก) ลูกบอลแทบจะไม่หมุน ขณะเคล่ือนท่ีไป กลางอากาศก่อนลูกจะตก ลูกบอลอาจสา่ ยได้ ถ้าเสริ ฟ์ ใตล้ ูกค่อนมาทางขา้ งหลงั (ข) และดงึ มือข้นึ ลกู จะหมุนไปข้างหนา้ ถา้ เสริ ฟ์ ใต้ลกู คอ่ นมาทางข้างหลงั (ค) คล้ายเสยมือขน้ึ ลกู บอลจะหมุนกลับหลงั ถา้ ออกแรงเสริ ฟ์ เท่ากนั แต่ต�ำแหน่งท่ีตลี ูกบอลตา่ งกนั ท�ำใหร้ ะยะทางและทิศทางการตก ของลกู แตกตา่ งกันได้ (ดังภาพ) 108 ค่มู ือผฝู้ กึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การเสิร์ฟลูกมอื ล่าง (Under Hand Service) ทรงศักด์ิ เจริญพงศ์ (2533 : 61) ได้กล่าวว่า วิธีการเสิร์ฟลูกมือล่างที่ง่ายที่สุด ซึง่ มลี ักษณะของมอื ขณะสมั ผสั ลกู บอลอยู่ 3 ลกั ษณะ คอื 1. สมั ผสั ตรง 2. สมั ผัสโดยให้ลูกบอลหมนุ เขา้ หาตวั 3. สมั ผัสบอลให้ลูกบอลหมุนออกจากตัว (ดังภาพ) แสดงลกั ษณะของมอื ขณะสัมผัสลูก 3 ลักษณะ ทิศทางของลูกบอลและการเคลอ่ื นไหวของลกู บอล 1. วิธีเสริ ์ฟลกู มอื ล่างดา้ นหนา้ ชนนิ ทร์ ยกุ ตะนนั ทน์ (2532 : 24-25) ไดล้ �ำดบั ขน้ั ตอนวธิ เี สริ ฟ์ ลกู มอื ลา่ งดา้ นหนา้ ดงั น้ี 1.1 ในกรณที ่ีผ้เู ลน่ ถนัดขวา ใหก้ ้าวเทา้ ซ้ายอยหู่ นา้ เทา้ ขวาเล็กนอ้ ย ถือลกู บอลไวด้ ว้ ย มอื ซา้ ย และยนื ไปทางขา้ งหนา้ ดา้ นขวาของรา่ งกาย เพอ่ื ใหล้ กู บอลอยใู่ นแนวเดยี วกนั กบั มอื ขา้ งขวา ท่ีจะเหว่ยี งตีลกู บอล แสดงลักษณะการก้าวเท้า การถอื ลูกบอล 109 และการเหวี่ยงแขนของการเสริ ์ฟลูกมอื ล่างลูกมอื ล่าง คู่มือผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate

ลักษณะการกา้ วเท้า การถือลูกบอล 1.2 โยนลูกบอลขึ้นด้วยมือซ้ายเบาๆ ไม่สูงมากนัก (เพราะกติกาไม่อนุญาตให้ผู้เสิร์ฟ ตลี กู บอลทอ่ี ยใู่ นมอื ) ก�ำมอื ขวาหลวมๆ หรอื จะแบมอื กไ็ ด้ และใชส้ นั มอื ตลี กู บอลเปน็ จดุ สมั ผสั ลกู บอล โดยการเหวย่ี งมือจากข้างหลงั แสดงลักษณะการโยนลูกบอล การตลี กู บอล 1.3 การเสริ ์ฟลักษณะน้จี ะยนื หนั หน้าเขา้ หาตาข่ายหรอื หันขา้ งเขา้ หาตาข่ายก็ได้ แสดงลักษณะการยนื หนั หนา้ เข้าหาตาขา่ ยและการสมั ผสั (การตลี กู บอล) 1.4 การส่งแรง (Follow Thorough) ผเู้ สริ ์ฟตอ้ งก้าวเท้าถ่ายนำ้� หนักตวั ไปท่เี ท้าหนา้ และการเหวีย่ งแขนไปตามแรงส่งไปขา้ งหนา้ แสดงลักษณะการสง่ แรง (Follow Thorough) 110 คูม่ ือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

2. วิธเี สิรฟ์ ลกู มือล่างด้านข้าง เสงี่ยม พรหมบัญพงศ์ และสุชาติ ทวีพรปฐมกุล (2537 : 80) ได้กล่าวถึงวิธีเสิร์ฟ ลูกมือลา่ งด้านขา้ งไวด้ งั นี้ 1. ยนื เตรยี มพรอ้ ม โดยหนั ดา้ นขา้ งเขา้ สนามหรอื หนั ดา้ นซา้ ยเขา้ หาตาขา่ ย กา้ วเทา้ ซา้ ย ไปข้างหน้าขนานกับเส้นหลงั เทา้ ขวาอย่ดู า้ นหลงั 2. มือซ้ายชูลูกบอลเหยียดตรงไปข้างหน้า แขนขวาเหยียดตรงอยู่ข้างหลังระดับต่�ำ กวา่ ไหล่เล็กน้อย 3. การสง่ ลกู บอลใหย้ อ่ ตวั โยนบอลขนึ้ เหวย่ี งแขนขวามาตลี กู บอลโดยบดิ ตวั ทางซา้ ย มือหรือทศิ ทางทจี่ ะส่งลกู ไป 4. การตีบอลให้ใชส้ นั มือหลังหัวแมม่ อื ตีปะทะบอลไป หมายเหตุ วธิ กี ารเชน่ เดยี วกบั การเสริ ฟ์ มอื ลา่ งหนั หนา้ ตา่ งกนั ตรงการหนั ดา้ นขา้ งเขา้ หา สนามหรอื ตาข่ายเทา่ น้นั แสดงลกั ษณะการเสริ ฟ์ ลกู มอื ล่างด้านข้าง ความผดิ พลาดที่พบในการเสิรฟ์ ลูกมือลา่ ง ศรีเกษม อนุ่ ประดิษฐ์ และคณะ (2532 : 59) ได้กลา่ วถงึ ความผดิ พลาดท่ีพบในการเสิร์ฟ ลกู มอื ล่างไว้ดงั นี้ 1. จังหวะของการเหวี่ยงแขนตีกระทบลกู บอลไม่ดี เนอื่ งจากความลังเลไมแ่ นใ่ จตนเอง 2. ต�ำแหนง่ การยืนไมถ่ กู ต้อง 3. การขาดสมรรถภาพของแขนท่ีเหวยี่ งตกี ระทบลกู บอล 4. การโยนบอลไม่ได้จงั หวะ ไมส่ มั พันธ์กับการเหวย่ี งแขนตกี ระทบลูกบอล หลักการเสิรฟ์ ลกู มอื บนด้านหนา้ อุทัย สงวนพงศ์ และสมบตั ิ คุณามาศปกรณ์ (2543 : 40) ไดก้ ล่าวถงึ หลักการเสริ ์ฟลูกมอื บนด้านหนา้ ไว้ดงั น้ี ค่มู อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 111

1. ยนื ในเขตเสริ ฟ์ หนั หนา้ เขา้ หาตาขา่ ย ถอื ลกู บอลดว้ ยมอื ทง้ั สองขา้ ง ถา้ ยนื เสริ ฟ์ อยกู่ บั ที่ ให้ยนื เทา้ แรกประมาณ 1 ชว่ งไหล่ หรือเท้าซา้ ยอย่หู น้า ถา้ ตลี กู บอลดว้ ยมอื ขวา ถา้ หากมีก้าวเทา้ กอ่ นเสริ ฟ์ ก้าวสดุ ท้ายควรเปน็ เท้าซ้ายอย่หู นา้ งอเขา่ ท้ังสองขา้ งเล็กน้อย น้�ำหนกั ตัวอยูท่ เ่ี ทา้ หลัง 2. ตามองไปยังเป้าหมายท่ีจะเสิร์ฟลูกบอลไป โยนลูกบอลขึ้นตรงๆ ถ้ายืนเสิร์ฟอยู่กับที่ แตถ่ า้ เคลอื่ นทเี่ สริ ฟ์ จะโยนลกู ขน้ึ ไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ยความสงู จากมอื ทโี่ ยนประมาณ 3-4 ชว่ งของลกู บอล 3. ขณะโยนลูกบอลใหย้ กแขนขวา ยกศีรษะ แอน่ ทอ้ ง บดิ ล�ำตวั ไปทางขวาเลก็ นอ้ ย ขณะตีลกู บอลใหถ้ ่ายน�ำ้ หนกั ตวั จากเทา้ ขวามาเทา้ ซา้ ย หอ่ หน้าอก แขม่วทอ้ ง ใช้เทา้ ยัน พนื้ ข้นึ เล็กน้อย หมนุ ตวั จากทางขวาไปทางซ้ายเล็กน้อย แขนขวาเหยยี ดขึ้นหวั ไหล่ ใชฝ้ า่ มอื ตตี รงกลาง สว่ นหลังของลูกบอล ลักษณะของน้ิวมือขณะเสิร์ฟลูกมือบนด้านหน้า อาจจะแบมือโดยน้ิวท้ังห้าชิดกัน ก�ำมือ หรือแบมือนิ้วท้ังห้าแยกกัน ซึ่งการแบมือน้ิวแยกนี้สามารถสะบัดข้อมือไปทางซ้ายหรือทางขวา และตีด้านขา้ งของลูกบอลเพื่อใหล้ ูกหมุนขณะเสิร์ฟได้อีกดว้ ย บริเวณทีม่ ือถูกลกู บอล ขณะเสริ ฟ์ ลกู มอื บนด้านหน้า แสดงลักษณะบริเวณที่มือถกู ลูกบอลขณะเสิรฟ์ ลูกมือบนดา้ นหนา้ การเสริ ์ฟลกู มอื บนดา้ นหนา้ (Overhand Service) ชาญฤทธิ์ วงษป์ ระเสรฐิ และทรงศกั ด์ิ เจรญิ พงศ์ (2537 : แผน่ ภาพโฆษณาทกั ษะการเสริ ฟ์ ) ได้เรยี บเรียงวิธีการเสริ ฟ์ ลกู มอื บนด้านหน้าไวด้ ังนี้ 1. ยืนด้วยเท้าทั้งสอง หันหน้าไปทางทิศทางเป้าหมาย ถอื ลูกบอลไวใ้ นฝา่ มือท่ีไมใ่ ชต่ ีลกู บอล แสดงลักษณะการเตรียมพรอ้ มในการเสิร์ฟมอื บนด้านหน้า 112 คมู่ อื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

2. ขณะที่โยนลูกข้ึน ให้เหยียดตัวขึ้นให้ดูเหมือนว่า เป็นการยกลูกบอล แสดงลักษณะการโยนลูกขน้ึ 3. ดึงแขนและศอกที่ใช้ตีลูกบอลไปข้างหลังลูกบอล จะตอ้ งโยนขึ้นไปข้างหลังเล็กน้อยและอย่ดู ้านหน้าของผู้เสิรฟ์ แสดงลกั ษณะการดึงแขนและข้อศอกที่จะใชต้ บี อลไปข้างหน้า 4. ดงึ ศอกให้ไปอยู่ดา้ นหลังหู ตามองที่ลูกบอล แสดงลักษณะการดึงแขนและข้อศอกท่ีจะใชต้ ีบอลไปขา้ งหนา้ 5. เหวีย่ งแขนที่ตลี กู บอลไปข้างหน้าใหเ้ ร็วๆ ถา่ ยน�ำ้ หนกั ไปที่เท้าหนา้ ตีลูกบอลด้วยการเกรง็ ฝา่ มอื แสดงลักษณะการดงึ ศอกใหไ้ ปอยูด่ ้านหลังหู ตามองที่ลูกบอล ค่มู อื ผูฝ้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 113

6. หลังจากตีลูกไปแล้ว ปล่อยให้แขนเหว่ียงไปข้างหน้า โดยไมต่ ้องออกแรงหยดุ ปลอ่ ยแขนที่ไมไ่ ดต้ ีลูกบอลลงข้างตัว แสดงลกั ษณะการสง่ แรงหลังจากการตีลกู บอล หลักการเสริ ฟ์ ลกู มอื บนด้านขา้ ง อุทัย สงวนพงศ์ และสมบัติ คุณามาศปกรณ์ (2543 : 41) ได้กล่าวถึงลักษณะการเสิร์ฟ ลูกมือบนด้านข้างไวด้ งั น้ี 1. ลักษณะการยืนเหมือนกับการเสิร์ฟลูกมือบนด้านหน้า แต่หันไหล่ซ้ายเข้าหาตาข่าย ท�ำมุมกบั ตาข่ายประมาณ 45 องศา 2. โยนลกู บอลดว้ ยมอื ซา้ ยใหล้ กู ไปทางไหลซ่ า้ ยเลก็ นอ้ ย ความสงู จากมอื ทโี่ ยนประมาณ 3-4 ชว่ ง ของลูกบอล พรอ้ มกบั เหยียดแขนขวาไปขา้ งหลงั เงยหนา้ มองลูกบอล 3. จังหวะทต่ี ีลกู บอลให้เหวีย่ งแขนขวาขนึ้ มา พร้อมกับบิดล�ำตัวมาทางซ้าย เทา้ ขวายันพ้ืน หมุนตัวอย่างเร็วเข้าหาสนาม ถ่ายน�้ำหนักตัวเข้าสู่เท้าซ้าย เหยียดแขนขวาตรงและต้องเหว่ียงโค้ง ขนึ้ ไปข้างหน้า ลักษณะของมือขณะเสิร์ฟลูกมือบนด้านข้าง ซึ่งจุดที่สัมผัสลูกจะอยู่ตรงด้านหลังของลูก ค่อนข้างมาข้างล่างเล็กน้อย ถ้าจุดที่ตีลูกบอลเลยกึ่งกลางของลูกขึ้นมาข้างบน จะท�ำให้เสิร์ฟลูก ไม่ข้ามตาข่ายแต่ถา้ ตดี า้ นลา่ งของลูกจะท�ำใหล้ กู พุ่งขึน้ สูง อาจจะออกนอกสนาม แสดงลักษณะของมือขณะเสริ ฟ์ ลูกมอื บนดา้ นขา้ ง ซง่ึ จุดทส่ี มั ผัสลูกจะอยดู่ า้ นหลงั ของลูก 114 คูม่ อื ผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การเสิร์ฟลกู มอื บนดา้ นข้าง ชาญฤทธ์ิ วงษ์ประเสริฐและทรงศักดิ์ เจริญพงศ์ (2537 : แผน่ ภาพโฆษณาทกั ษะการเสริ ฟ์ ) ไดเ้ รยี บเรยี งวธิ กี ารเสริ ฟ์ ลูกมือบนดา้ นข้างไว้ดังน้ี 1. หนั หนา้ โดยเอาดา้ นขา้ งเขา้ หาตาขา่ ยถอื ลกู บอลในระดบั เอว แสดงลกั ษณะการเตรียมพร้อมในการเสิร์ฟมือบนดา้ นขา้ ง 2. ดึงแขนท่ีใช้ตีลูกบอลไปด้านหลังเฉียดสะโพก บิดล�ำตัว ท่อนบนเลก็ นอ้ ยเพอื่ ใหเ้ พิม่ แรงมากขนึ้ ตามองทีล่ ูกบอล แสดงลกั ษณะดงึ แขนทใ่ี ชต้ ลี ูกบอลไปดา้ นหลัง 3. ถา่ ยนำ้� หนกั ตวั ไปยงั เทา้ หนา้ เหยยี ดแขนทใ่ี ชต้ ลี กู บอล และเหว่ยี งข้ึนด้านบน แสดงลกั ษณะการถ่ายนำ้� หนกั ตัวและการเหยยี ดแขนทใ่ี ชต้ ลี กู บอล 4. ตีลูกบอลขณะที่ลูกบอลอยู่เหนือไหล่และค่อนไปทาง ดา้ นหนา้ เลก็ นอ้ ย เกบ็ แขนขา้ งทไ่ี มไ่ ดต้ ลี กู บอลดงึ กลบั หลงั ใหต้ า้ น กบั ล�ำตวั แสดงลกั ษณะการตลี กู บอลขณะท่ีลูกบอลอยเู่ หนอื หัวไหล่ คมู่ ือผูฝ้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 115

5. หลังจากการตีลูกบอลปล่อยให้แขนเหว่ียงไปข้างหน้า โดยไม่ตอ้ งออกแรงหยุดปล่อยแขนทไี่ ม่ไดต้ ลี ูกบอลลงขา้ งตัว แสดงลักษณะการส่งแรงหลังจากการตลี กู การกระโดดเสิรฟ์ (Jumping Service) การกระโดดเสิร์ฟ เป็นเทคนิคการเล่นที่น�ำมาใช้กันมากในปัจจุบัน การเสิร์ฟถือว่า เป็นการรุกครั้งแรกของทีม ผู้เล่นท่ีสามารถกระโดดเสิร์ฟได้ดีมีประสิทธิภาพ รุนแรงและแม่นย�ำ ย่อมได้เปรียบคตู่ อ่ สู้ในเกมการแขง่ ขัน มวี ิธปี ฏิบตั ิ ดังนี้ 1. การยนื เตรยี มพร้อมภายในเขตเสิร์ฟ 9 เมตร 2. โยนลกู บอลขึน้ ขา้ งหนา้ การโยนตอ้ งโยนให้สูงเพ่ือมจี ังหวะในการกระโดดเสิรฟ์ ได้รุนแรง 3. การกระโดดและลอยตวั ลกั ษณะการกระโดดและลอยตวั ปะทะเชน่ เดยี วกบั การกระโดดตบ ลกู บอลหนา้ ตาขา่ ย 4. การปะทะหรือสัมผัสลูกบอล ส่วนใหญ่ผู้เสิร์ฟมักปะทะหรือสัมผัสลูกบอลด้านบน ของลกู เน่อื งจากผู้กระโดดเสริ ์ฟจะกระโดดไดส้ งู แตไ่ ม่สามารถบงั คับลูกบอลไดเ้ หมือนการตบลูก หนา้ ตาขา่ ย 116 คูม่ อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

แบบฝกึ เพือ่ การเสิรฟ์ แบบฝึกท่ี 1 นักกีฬาจับบอลคนละลูกเมื่อผู้ฝึกสอนให้สัญญาณนักกีฬาทุกคนก็ปฏิบัติพร้อมกัน แลว้ แตว่ ่าผฝู้ ึกสอนจะสงั่ ใหป้ ฏบิ ัติตามขน้ั ตอนอย่างไร แบบฝึกที่ 2 นักกีฬาเข้าแถวตอนที่เขตเสิร์ฟถือบอลคนละลูกให้นักกีฬาเสิร์ฟบอลไปทางตรงไปลง แดนตรงข้าม แลว้ ว่งิ ไปรับลกู จากการเสริ ์ฟของฝ่ายตรงขา้ มน�ำกลับไปต่อทา้ ยแถวตนเองตอ่ ไป แบบฝึกที่ 3 นักกีฬาถือบอลคนละลูกเข้าแถวที่เขตเสิร์ฟก�ำหนดเขตที่ลูกบอลจากการเสิร์ฟจะตก ณ มุมหลังสนามท้ังสองในแดนตรงข้าม นักกีฬาต้องพยายามเสิร์ฟบอลให้ข้ามตาข่ายไปตกยังเขต ทก่ี �ำหนดให้ไป แล้ววง่ิ ไปเกบ็ บอลเอง กลับมาเสริ ์ฟต่อไป คมู่ ือผฝู้ กึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 117

แบบฝึกที่ 4 นักกีฬาถือบอลคนละลูกเข้าแถวตอนที่เขตเสิร์ฟก�ำหนดเขตที่ลูกบอลจากการเสิร์ฟ จะตกท่ีต�ำแหน่งของผู้เล่นกองหลังทั้งสนามในแดนตรงข้ามนักกีฬาต้องเสิร์ฟบอลให้ข้ามตาข่ายไป ยงั เขตก�ำหนดแล้ววิ่งไปเกบ็ บอลกลับมาเสิร์ฟต่อไป แบบฝึกที่ 5 นักกีฬาเขา้ แถวตอน 3 แถวทเี่ สน้ หลังคนหวั แถวทัง้ สามเสิร์ฟลูกพร้อมกนั ให้ลูกขา้ ม ตาข่ายไปตกในเขตก�ำหนดเดยี วกัน นักกฬี าคนใดเสิร์ฟลูกไม่ลงในเขตก�ำหนดต้องเป็นคนวิ่งไปเก็บ ลกู ทงั้ หมดกลบั มา แบบฝึกท่ี 6 นักกีฬาเข้าแถวตอนท่ีเขตเสิร์ฟและต้องเสิร์ฟลูกไปลงในพื้นที่แดนหลังด้านตรงข้าม ทางซีกซ้ายหรือขวา แล้วแต่ค�ำส่ังของผู้ฝึกสอนซ่ึงจะส่ังในขณะท่ีนักกีฬาโยนบอลข้ึนเพ่ือจะเสิร์ฟ และลกู บอลก�ำลงั ลอยอย่กู ลางอากาศ 118 คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate

การเล่นลูกสองมือล่าง (Underhand) ความหมายการเลน่ ลกู สองมือลา่ ง ทรงศักดิ์ เจริญพงศ์ กล่าวว่าการเล่นลูกสองมือล่างหรือลูกอันเดอร์ว่า เป็นวิธีการเล่นลูก โดยใช้แขนท่อนล่างของท้ังสองมือบังคับหรือส่งลูกบอลให้ไปยังทิศทางหรือต�ำแหน่งท่ีต้องการ การเล่นแบบนี้เป็นปัจจัยส�ำคัญของการเล่นวอลเลย์บอลอีกอย่างหน่ึง เพราะพ้ืนฐานการเล่นทีม ที่ดีนั้น ผู้เล่นจะต้องเล่นลูกสองมือล่างได้ดีก่อน เนื่องจากเป็นเทคนิคหรือวิธีการรับลูกที่มาจาก ฝา่ ยตรงขา้ มในลกั ษณะทค่ี อ่ นขา้ งแรง เชน่ ลกู เสริ ฟ์ หรอื ลกู ตบ หรอื ลกู ทมี่ าลกั ษณะตำ�่ แตใ่ นบางโอกาส การเลน่ ลูกสองมือล่างน้อี าจจะตอ้ งใช้มอื เดยี วกไ็ ด้ตามแต่โอกาสทีจ่ ะเกิดขน้ึ อาภรณ์ ธรรมนิยม (2530 : 56) ไดก้ ลา่ วถงึ ความส�ำคัญของการเลน่ ลกู สองมอื ลา่ งไวว้ า่ การเลน่ ลกู สองมอื ลา่ งเปน็ ทกั ษะทส่ี �ำคญั ทใี่ ชม้ ากทส่ี ดุ ในการเลน่ วอลเลยบ์ อล ทมี ใดมคี วามสามารถ ในการเล่นลกู สองมอื ลา่ งได้สูง สามารถรบั ลูกบอลอาการรนุ แรงของฝ่ายตรงขา้ มไดม้ ีประสทิ ธภิ าพ จะมีโอกาสเอาชนะฝา่ ยตรงข้ามได้ไม่ยากนัก การเตรยี มพร้อมการเล่นลกู สองมือล่าง อุทยั สงวนพงศ์ (ม.ป.ป. : 8) ได้กล่าวถึงการเตรียมพร้อมการเล่นลูกสองมือล่างไว้ดงั น้ี 1. ยนื หนั หน้าเขา้ หาลูกบอล 2. แยกเทา้ ทัง้ สองออกกวา้ งกว่าช่วงไหล่เลก็ น้อย 3. ผ้เู ล่นที่ยนื ดา้ นซ้ายของสนามเทา้ ซ้ายอยูห่ น้าเทา้ ขวา 4. ผู้เล่นทย่ี นื ดา้ นขวาของสนามเท้าขวาอยหู่ น้าเทา้ ซา้ ย 5. ผเู้ ลน่ ทย่ี ืนกลางสนามให้วางเทา้ เสมอกัน 6. ยกส้นเทา้ เล็กน้อย 7. งอเข่าทั้งสองหัวเข่าลำ�้ ปลายเท้าเล็กนอ้ ย 8. โนม้ ตัวไปขา้ งหน้าท้งิ นำ้� หนกั ตัวลงบนหัวแม่เทา้ ท่ีอยูห่ น้า 9. ยกมือทงั้ สองอยู่ระดบั หน้าทอ้ ง 10. ตามองลกู บอลตลอดเวลา ชนินทร์ ยุกตะนันทน์ (2532 : 52) ได้กล่าวถึงลักษณะท่าทางการเตรียมพร้อม เพื่อเล่นวอลเลย์บอล 1. อยใู่ นลกั ษณะการทรงตวั ยอ่ เขา่ ใหก้ ม้ ตำ่� ลง โดยใหล้ �ำตวั ตงั้ ตรง อยา่ ใหล้ �ำตวั ลำ้� หนา้ หรือโล้ไปขา้ งหน้ามาก คู่มือผ้ฝู ึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 119

2. ลกั ษณะของเทา้ ทงั้ สอง ยนื คขู่ นานกนั หา่ งกนั ประมาณชว่ งไหลห่ รอื จะยนื ใหเ้ ทา้ ใด เทา้ หนงึ่ อย่หู นา้ อกี เทา้ หนึ่งกไ็ ด้ (ข้นึ อยูก่ บั ความถนดั ) 3. ให้น้�ำหนักตัวอยู่บนเท้าทั้งสอง ถ้ายืนลักษณะเท้าใดเท้าหนึ่งอยู่หน้า ให้น�้ำหนักตัว ลงทเี่ ทา้ หนา้ ซ่งึ ใชเ้ ป็นหลกั 4. การยนื ตอ้ งยนื ดว้ ยปลายเทา้ เสมอ เพอื่ ความคลอ่ งตวั ในการเคลอ่ื นท่ี สามารถกระท�ำ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ หรอื ทีเ่ รียกกนั วา่ ลักษณะพรอ้ มในการเคลอื่ นท่ี การยืนอยู่ในท่าเตรียม โดยยืนให้เท้าท้ังสองข้างแยกจากกัน แต่ปลายเท้าท้ังสองข้าง หันเข้าหากันเล็กน้อย จะท�ำให้เท้าไม่ตายและช่วยเคล่ือนท่ีได้เร็วขึ้น การหดหัวแม่มือแล้วแขนจะตึง แนบชิดกัน วิธกี ารเลน่ ลกู สองมอื ลา่ ง วิธีการเลน่ ลูกสองมอื ล่างไวเ้ ป็นขอ้ ๆ ดังนี้ 1. เคลือ่ นท่เี ขา้ หาลกู บอล 2. หยุดและย่อเข่าลงให้ต�ำ่ พอประมาณ พร้อมกบั ประสานมอื 3. ขณะทลี่ ูกบอลก�ำลังตกลงมานน้ั เหยยี ดแขนให้ตึง พรอ้ มกบั ยกแขนและเหยียดเข่า ขน้ึ ปะทะกบั ลูก 4. ในขณะทแี่ ขนสมั ผสั ลกู บอล อยา่ ยกแขนสงู เกนิ ไป ควรท�ำมมุ ประมาณ 70-80 องศากบั พนื้ วธิ กี ารเลน่ ลูกสองมอื ล่างไว้เปน็ ข้อๆ ดังน้ี 1. เคลื่อนทีไ่ ปดา้ นหนา้ หรือด้านขา้ งเพอ่ื รบั ลูกบอล 2. แขนจะต้องเหยียดตึงและอยู่ในระดับต�่ำใกล้ลูกบอล การที่จะให้แขนตึงก็เพียงแต่ กดปลายหัวแมม่ อื ลง แขนจะตงึ เอง 3. แขนกระทบลูกและสง่ แขนไปตามทิศทางท่ตี อ้ งการ 4. การเคล่ือนรับลกู บอลระดับต่�ำผ้เู ล่นจะตอ้ งย่อตัวและแขนใหอ้ ยใู่ ต้ลกู บอล 5. เมอ่ื ลกู บอลอยูร่ ะดับต�ำ่ มากกจ็ �ำเปน็ จะต้องน่ังชนั เข่ารบั ลกู บอล 6. การเคลอื่ นทไ่ี ปดา้ นขา้ งเพอ่ื รบั ลกู บอล ถา้ ลกู บอลอยไู่ กลตวั ตอ้ งการเคลอ่ื นทรี่ วดเรว็ โดยใช้วิธีการไขวเ้ ท้า และระยะใกลใ้ ช้วธิ ีการสไลด์เทา้ 7. จดุ ส�ำคญั ของการเคลอ่ื นท่ี คอื จะตอ้ งเคลอ่ื นทใ่ี หล้ กู บอลอยตู่ รงกลางล�ำตวั เพอื่ ท�ำให้ การรับลูกได้งา่ ยขนึ้ 120 คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate

ลกั ษณะของมอื ขณะสมั ผัสลกู บอล การเล่นลูกสองมือล่างต้องค�ำนึงถึงการจับมือหรือการให้นิ้วหัวแม่มือชิดกัน มือทั้งสอง สมั ผัสกนั แนบแน่นเพ่อื ใหแ้ ขนทัง้ สองเสมอกัน ท�ำให้ควบคุมลูกเปน็ ไปตามทศิ ทางทีต่ อ้ งการไดง้ า่ ย วธิ ที จี่ ะท�ำให้มอื ทั้งสองขา้ งแนบชดิ กัน มี 3 ลักษณะ ดงั นี้ 1. โดยวิธซี อ้ นมือ 2. โดยวิธโี อบหมดั 3. โดยวิธีก�ำหมัดท้งั สองขา้ งชดิ กัน สรุปลักษณะของมือขณะสัมผัสลูกบอล จะมีการจับมือเพื่อให้แขนท้ังสองส่วนของมือ และมือเรียงชิดติดกัน เมื่อเวลาสัมผัสลูกบอลแล้วสามารถควบคุมทิศทางของลูกบอลไปในทิศทาง ท่ีต้องการได้ ดังน้นั ลักษณะของมือขณะสมั ผสั ลกู บอลจึงมี 3 วธิ ี คอื ค่มู อื ผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 121

การเลน่ ลูกสองมอื ลา่ ง (Underhand) 1. วิธีซ้อนมือ เป็นวิธีท่ีนิยมเล่นกันมาก โดยเอามือหนึ่งไปวางซ้อนทับอีกมือหน่ึง แล้วใหน้ ิ้วหวั แม่มือชดิ ติดกนั 1 แสดงลกั ษณะของมอื ขณะสมั ผสั ลูกบอลวิธซี ้อนมอื 2. วธิ โี อบหมดั ใชม้ อื ใดมอื หนงึ่ ก�ำหมดั แลว้ ใชอ้ กี มอื หนงึ่ โอบหมดั นว้ิ หวั แมม่ อื ทง้ั สองชดิ ตดิ กนั 2 แสดงลกั ษณะของมือขณะสัมผสั ลูกบอลวิธีโอบหมดั 3. วธิ ีก�ำมอื ทั้งสองขา้ งชดิ กัน โดยก�ำมอื ท้งั สองแลว้ น�ำมาชดิ กัน พยายามให้น้วิ หัวแม่มือ ทง้ั สองขา้ งเสมอกนั 3 แสดงลกั ษณะของมือขณะสมั ผัสลูกบอลวธิ ีก�ำมือทั้งสอง 122 คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate

การสมั ผัสลูกบอลในการเลน่ ลูกสองมอื ล่าง ชนนิ ทร์ ยกุ ตะนันทน์ (2532 : 16) ไดก้ ล่าวถงึ การสัมผัสลูกบอลไว้วา่ 1. ใช้บริเวณแขนท่อนล่างจากข้อมือขึ้นไปประมาณ 1 ฝ่ามือ หรือบริเวณข้อมือ ที่ผกู นาฬิกา 2. ขณะที่จะสัมผัสลูกบอลให้เกร็งแขนทั้งสองเล็กน้อย โดยให้แขนท้ังสองเหยียดตึง ยอ่ ตัวลงพอประมาณ เทา้ ทงั้ สองมหี ลกั ท่ีมน่ั คง 3. ขณะทแ่ี ขนทงั้ สองสมั ผสั ลกู บอลใหย้ กล�ำตวั ขนึ้ พรอ้ มกบั ยกแขนทง้ั สองขนึ้ เลก็ นอ้ ย เป็นการส่งลูกบอลไปในทิศทางที่ต้องการ ท�ำหลายๆ คร้ังจะรู้น้�ำหนักของลูกบอลและสามารถส่ง ลูกบอลไปในระยะทางทีต่ ้องการได้ อทุ ยั สงวนพงศ์ (2543 : 29) ได้กลา่ วถงึ การสมั ผัสลูกบอลไวว้ ่า บรเิ วณทถ่ี กู ลกู บอลคอื บรเิ วณท่อนแขนดา้ นหน้าท้ังสองแขนพรอ้ มๆ กนั ตัง้ แต่เหนอื ขอ้ มอื ขึน้ มาประมาณ 10 เซนติเมตร แสดงการสมั ผสั ลูกบอลในการเลน่ ลกู สองมอื ล่าง วิธีการเล่นลูกสองมือล่าง ทรงศักดิ์ เจริญพงศ์ ได้เรยี บเรยี งไวด้ ังน้ี 1. การย่อเข่าลงท่าเตรียมพร้อม แยกเท้าออก ให้มากกว่าช่วงไหล่เล็กน้อย เท้าขวาอยู่หน้า ยกส้นเท้า เล็กนอ้ ย คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate แสดงลกั ษณะการยอ่ เขา่ ลง 123

2. ตามองที่เป้าหมาย พยายามให้ลูกบอล อยู่หน้าล�ำตัวระหว่างเท้าท้ังสอง ตามองท่ีเป้าหมาย ท่ีจะส่งไป ถ้าเป้าหมายอยู่ทางขวาของสนาม ผู้รับต้อง พยายามก้าวเท้าซ้ายก่อน เพ่ือเป็นการถ่ายน�้ำหนักตัวไปสู่ เท้าขวาในทศิ ทางเดียวกบั เปา้ หมาย แสดงลกั ษณะตามองที่เป้าหมาย 3. การแยกเท้าออกให้กว้างขณะเตรียมจะส่งลูก เท้าท้ังสองต้องแยกออกให้กว้างและมีความมั่นคง ยกสน้ เทา้ ซา้ ยขน้ึ เลก็ นอ้ ย และพรอ้ มจะเคลอื่ นทไี่ ปขา้ งหนา้ ตามทิศทางของลกู บอล แสดงลักษณะการแยกเท้าออกใหก้ วา้ ง 4. การก้าวเท้าไปหน้าลูก ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ แสดงลักษณะการกา้ วเท้าไปหนา้ ลูก การส่งลูกจากด้านข้าง จะต้องพยายามรับลูกบอลก่อนที่ ลกู จะเคล่ือนทเ่ี ลยไปทางด้านข้างหรือดา้ นหลงั เท้าจะตอ้ ง ก้าวไปอยู่ในต�ำแหน่งหน้าลูกบอลเพ่ือให้แขนสามารถรับ และควบคมุ ลูกให้ไปยังเป้าหมายได้ 5. การอยู่ด้านหลังลูกบอล ผู้รับจะต้องเคล่ือนที่ ไปรบั ลกู บอลก่อน กม้ ตัว ย่อเข่า เท้าทั้งสองพร้อมท่ีจะเหยยี ด ข้ึนตามลูกบอล แขนอยู่ห่างจากล�ำตัวประมาณ 45 องศา กบั พ้นื และยกแขนขน้ึ ท�ำมุม 60 องศาขณะถกู ลูก แสดงลกั ษณะการอย่ดู ้านหลงั ลกู บอล 124 คู่มือผ้ฝู ึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate

6. แขนทั้งสองชิดกัน ขณะท่ีถูกลูกบอลแขน ตอ้ งชดิ ตดิ กนั โดยจบั มอื ทงั้ สองเขา้ ดว้ ยกนั บบี บรเิ วณขอ้ ศอก เข้าหากัน ห่อไหล่เข้าหากันเล็กน้อย ใช้บริเวณแขนด้านใน ถกู ลูกบอลเพ่ือการกระดอนท่ีดี แสดงลกั ษณะแขนทง้ั สองชดิ กนั 7. การยกไหล่ข้ึน ขณะส่งลูกไหล่ต้องยกข้ึน เหยียดเท้าหลังข้ึน ถ่ายน�้ำหนักตัวไปตามทิศทางที่ลูกบอล กระดอนออกไป แสดงลักษณะการยกไหล่ขน้ึ แบบฝึกการเลน่ ลกู สองมือล่าง แบบฝึกที่ 1 วิธีปฏบิ ตั ิ 1. แบง่ นักกีฬาออกเป็น 2 กลุ่ม กล่มุ หนึ่งยนื เปน็ แถวสลบั ฟันปลา มือถือบอล ยื่นออกข้างหน้าระดับเข่า 2. ให้นักกีฬากลุ่มท่ีไม่มีบอลเคลื่อนที่ไปท�ำท่าเล่นลูกสองมือล่างกับนักกีฬา ท่ียนื ถอื ลกู สลบั ฟนั ปลาทลี ะลูกจนครบทกุ ลกู แล้ววง่ิ กลับไปตอ่ ทา้ ยแถวเรม่ิ ใหม่ คูม่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 125

แบบฝกึ ท่ี 2 วธิ ีปฏิบตั ิ 1. นกั กีฬายนื เป็นแถวหนา้ กระดานสองแถวห่างกนั 4 เมตร 2. ให้นักกีฬาแถวหน่ึงซึ่งมีบอลย่ืนบอลออกข้างหน้าระดับเข่า แล้วให้นักกีฬา แถวทไ่ี มม่ บี อลซงึ่ ยนื เปน็ คกู่ นั วงิ่ เขา้ มาท�ำทา่ เลน่ ลกู สองมอื ลา่ งกบั บอลทย่ี น่ื อยนู่ นั้ แลว้ ถอยหลงั กลบั ทีเ่ ดมิ อยา่ งรวดเรว็ ปฏบิ ตั ิตอ่ เนอื่ งลกู บอลประมาณ 10 คร้งั แลว้ สลบั กนั แบบฝกึ ท่ี 3 วิธปี ฏบิ ัต ิ 1. นกั กีฬาจับคู่กันยนื 1 คน นัง่ 1 คน คนนั่งถือลกู บอล 2. ให้คนน่ังย่ืนบอลออกข้างหน้า คนยืนรีบว่ิงไปท�ำท่าเล่นลูกสองมือล่างกับ บอลที่ถูกยื่นออกมาน้ัน คนน่ังก็หงายหลังไปแล้วรีบลุกขึ้นนั่งใหม่ จะลุกขึ้นหันหน้าไปทางใดก็ได้ แล้วยื่นบอลซ้�ำอีกคนยืนต้องรีบวิ่งไปท�ำท่าเล่นลูกสองมือล่างกับบอล ท่ีถูกย่ืนออกมาใหม่อย่าง รวดเรว็ แบบฝึกที่ 4 วิธีปฏิบัติ 1. นกั กีฬาท้ังหมดยืนถอื บอลอยใู่ นสนาม 126 คมู่ ือผูฝ้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate

2. ให้นักกีฬาตีบอลด้วยวิธีเล่นลูกสองมือส่งบอลขึ้นในแนวดิ่ง แล้วรีบนอนหงาย ท�ำลกุ -นงั่ 1 ครงั้ แล้วรบี ว่งิ ไปตบี อลอีกโดยให้โอกาสบอลตกกระทบพ้ืนได้ 2 ครั้ง แบบฝกึ ที่ 5 วิธีปฏิบัต ิ 1. นักกฬี าจบั คยู่ นื หันหนา้ เข้าหากนั ห่างกัน 5 เมตร แตล่ ะคมู่ บี อล 1 ลกู 2. ให้นักกีฬาท่ีมีบอลขว้างบอลลงพ้ืน เมื่อบอลกระดอนไปท่ีใดก็ให้นักกีฬา อกี คนหน่ึงทเี่ ปน็ คกู่ นั ว่ิงไปเล่นลูกสองมือลา่ งส่งบอลกับมาใหค้ นขว้างใหไ้ ด้ แบบฝกึ ท่ี 6 วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 1. นกั กฬี าเขา้ แถวตอนนอกสนาม น�ำเกา้ อี้ 4 ตวั ไปวางทม่ี มุ สนาม ทงั้ 4 ดงั รปู 2. ผู้ฝึกสอนยืนบนท่ีสูงส่งลูกมายังต�ำแหน่งกลางหลังให้นักกีฬาว่ิงเข้าไปเล่น ลูกสองมือล่าง ส่งบอลไปในต�ำแหน่งกลางหน้า แล้วรีบว่ิงไปแตะเก้าอ้ีตัวใดตัวหน่ึงแล้วกลับมารับ ลกู ต่อไปให้ทัน ปฏิบัตติ อ่ เนือ่ ง 4 ครัง้ 4 มมุ แลว้ เปลย่ี นคนต่อไป คูม่ ือผูฝ้ กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 127

การเซต (Setting) การเซตเป็นการเล่นบอลด้วยมือทั้งสองข้างพร้อมกันหรือมือข้างเดียว โดยมีเป้าหมาย ส�ำคัญในการเล่นเพื่อส่งบอลไปให้คนตบ การเซตมักจะใช้การเล่นครั้งที่ 2 ในจ�ำนวน 3 คร้ัง ผู้เล่นฝ่ายหนึ่งมีสิทธิ์เล่นได้ก่อนลูกน้ันจะถูกส่งไปฝ่ายตรงข้าม การเซตนับเป็นทักษะที่ยากท่ีสุด ในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล การเซตก็นับเป็นอาวุธส�ำคัญในการท�ำคะแนนของทีมด้วย การที่ทีม จะประสบผลส�ำเรจ็ หรอื ไม่ ในการแขง่ ขนั อาศัยความสามารถในการเซตเปน็ เครอื่ งบง่ ชไี้ ด้ 60-70% เน่ืองจากการเซตเป็นทักษะที่ฝึกหัดยากและอาจเกิดการผิดกติกาได้ง่าย ถ้าหากยังฝึกหัดได้ไม่ดี เทา่ ท่ีควร ดงั นนั้ จึงไมค่ อ่ ยมผี สู้ นใจฝกึ หัดเซต ท�ำใหก้ ารเล่นวอลเลยบ์ อลของนกั วอลเลย์บอลชาวไทย โดยทั่วไปยังไม่สมบูรณ์เท่าท่ีควร มาตรฐานการเล่นจึงไม่สามารถทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบ้าน ใกลเ้ คยี งได้ สว่ นประกอบของการเซต 1. การทรงตวั ใหย้ นื เทา้ น�ำเทา้ ตาม โดยจะใชเ้ ทา้ ใดน�ำ กไ็ ด้ ชว่ งหา่ งระหวา่ งเทา้ ทง้ั สองประมาณ 1 ชว่ งไหล่ หยอ่ นเขา่ ลง เล็กน้อย หน้าเงยมองลกู มือท้ังสองยกขน้ึ ระดบั อก อยดู่ ้านหน้า 2. การวางมือ เมื่อลูกเคล่ือนมาได้ระยะ ให้ยกมือ ท้ังสองข้ึนมาวางไว้เหนือหน้าผากโดยให้ห่างจากหน้าผาก ประมาณ 20 เซนติเมตร ศอกท้ังสองข้างวางออกด้านข้าง เปน็ มมุ 45 องศา ยกขน้ึ ในระดบั หวั ไหล่ ตามองลอดชอ่ งระหวา่ ง มือทั้งสอง มือท้ังสองกางน้ิวออกพอประมาณ ท�ำมือทั้งสอง ให้คลา้ ยลกั ษณะมีลกู บอลอยใู่ นมือไมเ่ กร็งน้ิวหรอื ฝา่ มอื 3. การส่งแรง เม่ือลูกบอลเคลื่อนมาเกือบถึงมือให้ ผ่อนมือตามลูกลงมาเล็กน้อย ให้บอลสัมผัสมือและน้ิวให้มาก ที่สดุ เทา่ ที่จะท�ำได้ เพอ่ื โอกาสในการบังคับลูก เมือ่ มอื เร่มิ สัมผัส กับลูกบอลให้เกร็งมือและน้ิวต้านน�้ำหนักของลูกไว้ ถึงตอนน้ี มือท้ังสองจะมีระยะห่างจากหน้าผากประมาณ 10 เซนติเมตร ใหใ้ ชแ้ รงสง่ จากนวิ้ -ขอ้ มอื -ศอก-หวั ไหล-่ เขา่ และขอ้ เทา้ รวมเปน็ แนวเดียว สง่ ลกู ออกไปสู่เปา้ หมายทต่ี อ้ งการ 128 คูม่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

การเซตบอลไปขา้ งหลงั 129 การเซตบอลไปขา้ งหลงั จ�ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะตอ้ งแอน่ หลงั แล้วดันสะโพกขึ้นไปข้างหน้าขณะที่มือจะถูกบอล เท้าหลัง จะตอ้ งกา้ วไปขา้ งหนา้ พรอ้ มกบั ยกขอ้ ศอกตามบอลทเ่ี ซตออกไป โดยหงายข้อมือไปขา้ งหลงั และฝ่ามือหงายขนึ้ เพดาน การเซตบอลท่ีจะเซตไปด้านหน้าและหลัง การเซตบอลทจ่ี ะท�ำใหผ้ สู้ กดั กน้ั ดไู มอ่ อกวา่ จะเซตบอล ไปทางทิศไหน จะต้องย่อเข่าท้ังสองข้างลง แต่ล�ำตัวต้องตรง ซ่งึ สามารถเซตบอลไปในทศิ ทางใดกไ็ ด้ การเซตบอลทจี่ ะเปลยี่ นทศิ ทางของบอลไดอ้ ยา่ งฉบั พลนั สงั เกตการณย์ กขอ้ ศอก การกางนว้ิ มอื รวมทงั้ ทรวดทรง ของล�ำตัวผู้เล่นต้องเร่ิมจากการย่อตัวแล้วยืดตัวขึ้นสูง เมื่อเซต บอลและสามารถเปลีย่ นทิศทางไดท้ นั ที เปน็ การเลน่ บอลทตี่ วั เซตตอ้ งใชเ้ ทคนคิ หลอกทมี ตรงขา้ ม ไมใ่ หอ้ า่ นทศิ ทางของบอลได้ ไมว่ า่ จะเปน็ การยนื เซตหรอื กระโดด เซตก็ตาม จดุ ส�ำคญั คือ ต้องเคลือ่ นทีใ่ หบ้ อลอยู่ตรงใบหนา้ ล�ำตวั ตอ้ งตรงลกั ษณะอยา่ งนจ้ี ะท�ำใหท้ มี ตรงขา้ ม มองไมอ่ อกวา่ ตวั เซต จะเซตบอลไปทางไหน ส�ำหรับตัวเซตเอง เมื่ออยู่ในลักษณะดังกล่าวแล้ว จะสามารถเปลยี่ นทิศทางของบอลไปขา้ งหนา้ ข้างหลัง ทางซา้ ย หรอื ขวา ไดง้ า่ ยมาก โดยเพียงขยบั มือเท่านนั้ คู่มือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การกระโดดเซตบอล การกระโดดเซตบอลในลักษณะน้ีใช้หลักการเดียวกับ หลักการท่ีกล่าวมาคือ การยกมือขึ้น กางน้ิวออก ล�ำตัวต้ังตรง และขาต้องงอ เพื่อให้สามารถเพ่ิมก�ำลังได้มากข้ึน เมื่อต้องการ จะเซตบอลไปใหไ้ กลๆ การเซตบอลทอี่ ย่หู า่ งจากตาข่าย เมอื่ ผเู้ ลน่ เคลอื่ นทเี่ ขา้ หาบอลทอ่ี ยหู่ า่ งจากตาขา่ ยเลก็ นอ้ ย ผูเ้ ลน่ ตอ้ งเคลือ่ นที่อย่ใู ต้บอลแล้วจึงเซตบอล การเซตเปน็ หวั ใจและกญุ แจส�ำคญั ทจ่ี ะน�ำทมี ไปสชู่ ยั ชนะ ปกตแิ ลว้ ผ้เู ลน่ ในรูปควรเซตบอลไปทางไหล่ขวาเพอื่ ประสานกบั ตวั ตบกลางหนา้ แตใ่ นรปู น้ีนา่ จะเป็นการเซตบอลใหผ้ ูเ้ ล่นแดนหลัง ท�ำการรกุ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งศกึ ษาเรอื่ งนก้ี นั เปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กค็ อื ทา่ ทางอยา่ งไรทเ่ี ซตบอลแลว้ ทมี ตรงขา้ มจะอา่ นทศิ ทางไมไ่ ด้ เช่น ในขั้นพ้นื ฐานล�ำตัวต้องตั้งตรง แต่ส�ำหรับการเซตที่สูงข้ึน ท่าทางต้องเปลี่ยนไปบ้าง เช่น ล�ำตัวควรเอนไปข้างหลงั เล็กนอ้ ย การเตรยี มพรอ้ มทีจ่ ะเซต โดยล�ำตวั เอนไปด้านหลังเลก็ นอ้ ย ท่านี้เป็นท่าที่พร้อมจะเซตบอลไปในทิศทางใดก็ได้อีก ทา่ หนง่ึ เรมิ่ จากการเคล่ือนทอี่ ย่างรวดเรว็ ไปอยู่ใต้บอล แล้วเอน สว่ นบนของล�ำตวั ไปด่านหลงั เล็กนอ้ ย บอลต้องอยู่ตรงหน้าผากจึงจะเป็นจุดท่ีดีท่ีสุดเพราะ จะท�ำใหส้ ามารถเซตบอลไปขา้ งหนา้ หรอื ขา้ งหลงั กไ็ ดท้ มี ตรงขา้ ม จะไมส่ ามารถหาทิศทางของบอลไดเ้ ลย 130 คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การเซตบอลอยา่ งกะทนั หนั 131 ได้ศึกษาท่าทางการเซตบอลที่ดีกันมามากแล้วทีน้ี ลองมาดูท่าเซตบอลท่ีไม่ดีกันบ้าง ต้องท�ำความเข้าใจกันว่าผู้เล่นนี้ เล่นระดับชาติ ที่ผ่านเกมส�ำคัญๆมาอย่างโชกโชน ท้ังเวิร์ลด์คัพ เวิรล์ ดแ์ ชมเป้ียนชพิ และโอลมิ ปกิ เกมส์ แต่ต้องมาอยู่ในท่าทางท่ีไม่ถูกต้อง น่าจะเป็นเพราะ เพอื่ นร่วมทีมส่งบอลแรกให้ไมด่ มี ากกว่า ทีน้ีจะดูกันว่าท่านี้ท�ำไมไม่ดี ที่ไม่ดีก็เพราะว่าบอลอยู่ ด้านหนา้ ของล�ำตัว ท�ำให้ส่วนบนของล�ำตวั เอนไปขา้ งหนา้ การเซตบอลจะต้องเซตไปทางด้านหน้าเท่าน้ัน หากเซตกลับหลังก็เป็นการพาบอล (Hold Ball) จึงท�ำให้ ทีมตรงข้ามอ่านทิศทางของบอลได้และจะท�ำการสกัดกั้น ไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายดว้ ย ทถี่ กู ตอ้ งแลว้ ผเู้ ลน่ ตอ้ งเคลอ่ื นทอ่ี ยใู่ ตบ้ อลอยา่ งรวดเรว็ และเซตขณะบอลอยเู่ หนอื หน้าผากถา้ ท�ำได้ ตวั อยา่ งท่าทางการเซตบอลทถี่ กู ตอ้ งและไม่ถกู ตอ้ ง โดยสรุปแล้วข้ันตอนในการเซตข้ันพื้นฐานที่ถูกต้องก็คือ ทา่ ทต่ี วั เซตจะสามารถเซตบอลไปในทศิ ทางใดกไ็ ดโ้ ดยตอ้ งเคลอ่ื นที่ ไปอยู่ใต้บอล ให้บอลอยู่ตรงหน้าผาก ล�ำตัวส่วนบนต้องเอนไป ข้างหลงั เล็กนอ้ ย (รปู ขวามือ) ถา้ บอลอยดู่ า้ นหนา้ หรอื ดา้ นหลงั ของล�ำตวั มากเกนิ ไป การเซตบอลจะท�ำได้เฉพาะทิศทางเดียวเช่นถ้าบอลอยู่ด้านหน้า มากล�ำตัวส่วนบนจะเอนไปข้างหน้า จึงเซตบอลไปข้างหน้า ได้เทา่ นน้ั ในท�ำนองเดียวกัน ถ้าบอลอยู่ด้านหลังมากล�ำตัว ส่วนบนจะเอนไปข้างหลังและจะเซตบอลไปข้างหลังได้เท่าน้ัน (รูปซา้ ยมอื ) ถ้าพยายามฝนื เปลี่ยนทิศทางกจ็ ะเป็นลกั ษณะพาบอล (Hold ball) ดังน้ันทีมตรงข้ามจะอ่านทิศทางของบอลได้ง่ายและ ดกั ท�ำการสกดั กัน้ จนท�ำใหต้ บบอลไดย้ าก คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การปรบั จงั หวะในการเซตบอลใหส้ มั พนั ธก์ บั การเคลอื่ นที่ ของตัวตบ ทกั ษะทส่ี �ำคญั ทสี่ ดุ อยา่ งหนงึ่ ของตวั เซตกค็ อื การเซตบอล ให้สัมพันธ์กับการเคล่ือนที่ของตัวตบ ตัวเซตจะต้องสามารถ เร่งเซตบอลใหเ้ ร็วข้ึน โดยการกระโดดขึน้ ไปหาบอล หรือรอเวลา เซตบอลให้ชา้ โดยการย่อตวั ลงมา นอกจากนนั้ จะต้องสามารถเซตบอลใหส้ ูง ต่ำ� ช้า และ เรว็ ไดอ้ กี ดว้ ย เพอ่ื ใหต้ วั ตบเคลอื่ นทเ่ี ขา้ ตบบอลไดด้ ที ส่ี ดุ เชน่ ในรปู ตัวเซตก�ำลังปรับจังหวะในการเซตให้สัมพันธ์กับตัวตบหมายเลข 9 ทก่ี �ำลังเคล่อื นท่ไี ปตบทางด้านหลังของตัวเซต การเตรยี มพรอ้ มเซตบอลไปในทศิ ทางใดกไ็ ด้ จากทา่ เตรยี มพรอ้ มในรปู ท�ำใหผ้ สู้ กดั กนั้ ของทมี ตรงขา้ ม ต้องอยู่ใกล้ๆ ตัวเซตเพราะไม่สามารถอ่านทิศทางการเซตบอล ของตัวเซตได้ จากน้ันตัวเซตก็พร้อมที่จะเซตบอลในจุดท่ีตัวตบ จะท�ำการตบไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพทส่ี ดุ การคกุ เขา่ เซตบอล ถา้ บอลแรกถูกสง่ มาในระดบั ต�่ำมาก ปรกตแิ ลว้ จะตอ้ งใช้ มือล่าง (Under Hand) ส่งบอลให้เพื่อนร่วมทีมตบซ่ึงเหมือนกับ แก้ไขสถานการณ์เฉพาะหนา้ แบบขอไปที ถา้ สามารถเคลอ่ื นทอี่ ยา่ งรวดเรว็ ไปอยใู่ ตบ้ อลทลี่ อยมา ในระดบั ตำ�่ คกุ เขา่ ลง และเอนสว่ นบนของล�ำดวั ยไปดา้ นหลงั เลก็ นอ้ ย กจ็ ะสามารถเซตบอลในระดบั ตำ�่ ไปในทศิ ทางใดกไ็ ด้ เชน่ ทา่ เซตบอล ไปดา้ นหลังและคุกเข่า การกระโดดเซตบอลไปด้านหลัง ตัวเซตจะกระโดดพร้อมทั้งเอนตัวไปด้านหลังเล็กน้อย เซตบอลไปยังด้านหลัง โดยไม่ให้ผู้สกัดก้ันของทีมตรงข้าม คาดคะเนทศิ ทางของบอลได้ 132 คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

การกระโดดเซตบอลไปด้านหลงั กระโดดเซตบอลไปทางด้านหลังนั้นต้องให้ลูกบอล คล้อยไปทางด้านหลังของหน้าผาก เมื่อกระโดดขึ้นไปแล้ว เอนสว่ นบนของล�ำตัวไปด้านหลงั เลก็ น้อยพร้อมกบั แหงนคอขึ้น บอลจะได้ลอยอยู่เหนือหน้าผากพอดี แล้วจึงเซตบอล ไปขา้ งหลงั ด้วยการขยับข้อมอื เมื่อพิจารณากันให้ดีแล้วจะพบว่าท่ากระโดดเซตบอล ไปทางด้านหลังของผเู้ ล่นทัง้ สองคนไมไ่ ดแ้ ตกตา่ งกัน การเซตบอลให้ตบ ต้องให้ความสนใจกับการเซตเป็นพิเศษ เพราะการเซตเป็นกุญแจส�ำคัญท่ีสุดท่ีจะน�ำทีม ไปสชู่ ัยชนะ ต่อไปน้ีจะเป็นการเซตบอลให้ตบแบบที่เรียกกันว่า “เซตบอลเร็ว” (Quick Setting) เพ่อื ให้เพอื่ นร่วมทีม “ตบบอลเร็ว” (Fast Spiking) ทั้งระยะใกล้และห่างจากตวั เซต การเซตบอลใหเ้ พอ่ื นร่วมทีมตบบอลเรว็ ในระยะห่างจากตัวเซต การเซตใหต้ วั ตบ ตบบอลเรว็ ทกุ รปู แบบจะไดผ้ ลดแี ละหลอกทมี ตรงขา้ มใหท้ �ำการสกดั กนั้ ได้ยากตอ้ งอาศยั การสง่ บอลแรกทีด่ คี อื บอลแรกต้องส่งเข้าข้างตาข่ายให้ตัวเซตกระโดดเซต เพราะจะท�ำให้ผู้สกัดก้ันของ ทมี ฝา่ ยตรงข้ามกงั วลใจว่าตัวเซตจะตบบอลเองหรือไม่ ค่มู ือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 133

ในรูปน้ีเป็นการกระโดดเซตให้ลูกพุ่งไปอย่างรวดเร็ว เพื่อให้เพื่อนร่วมทีมตบบอลเร็ว ในระยะท่ีห่างจากตวั เซต การเซตเช่นนี้ จะต้องหงายข้อมือกลับเข้าหาตัวให้เต็มท่ีและเซตบอลด้วยการเคล่ือนไหว ข้อมอื ที่ดดี ้วย เพือ่ ใชใ้ นการบังคับบอลใหพ้ ุ่งไปเร็ว ช้า ไกล หรือใกล้ได้ ขอให้สังเกตขอ้ มือของตวั เซต ขณะกระโดดข้ึนเซตบอล ในรปู นีใ้ หไ้ ด้ การเซตบอลเรว็ ใหเ้ พอื่ นรว่ มทมี ตบในระยะใกลๆ้ กบั ตวั เซต การเซตบอลเรว็ แบบนก้ี เ็ ชน่ เดยี วกนั คอื บอลแรกทสี่ ง่ มา ควรอยใู่ นระดบั ทต่ี วั เซตตอ้ งกระโดดเซตเพอื่ หลอกลอ่ การสกดั กนั้ ของทมี ตรงข้ามได้ดว้ ย การเซตบอลเร็วแบบน้ี จะต้องยืดแขนออกให้สุดแล้ว เซตบอลด้วยการเคล่ือนไหวของข้อมือเท่าน้ัน โดยต้องควบคุม ความสูง และความเร็วของบอลให้สัมพันธ์กับจังหวะการเข้าตบ ของตัวตบด้วย การเซตบอลเรว็ ใหเ้ พอ่ื นรว่ มทมี ตบในระยะใกล้ กับตัวเซตอีกทา่ หน่งึ การตบบอลเรว็ ทจี่ ะหลอกลอ่ หรอื ตบจรงิ ๆ ใหไ้ ดผ้ ลนน้ั ส�ำคัญอยู่ท่ีลักษณะการกระโดดของตวั ตบบอลเรว็ กลา่ วคอื ตัวตบจะต้องกระโดดขึ้นก่อนท่ีตัวเซตจะเซตบอลห่าง จากตัวเซตประมาณ 1 เมตร ลอยตัวรออยู่ในอากาศเพอ่ื ตบบอล ทตี่ วั เซตสง่ มาให้ การลอยตวั รออยกู่ ลางอากาศ จะท�ำใหผ้ สู้ กดั กนั้ ของทมี ตรงขา้ มจ�ำเปน็ ตอ้ งคอยสกดั กน้ั ตวั ตบบอลเรว็ ตลอดเวลา อยา่ งน้อย 1 คน ตัวเซตจะส่งบอลให้ตบบอลเร็วในระยะใกล้ตัวหรือไม่ ยินยอมขึ้นอยู่กับไหวพริบของตัวเซตที่จะสังเกตการสกัดกั้นของ ทมี ตรงขา้ มว่าจะออ่ น ณ จดุ ไหน แต่ถา้ ตวั ตบบอลเร็วไมล่ อยตวั รออย่กู อ่ นทมี ตรงขา้ มจะสามารถท�ำการสกดั กั้นได้ 2 หรอื 3 คน พร้อมๆ กนั โดยดจู ากบอลที่ตัวเซตส่งออกไป ไมต่ ้องเสียคนทจ่ี ะ คอยคมุ ตัวตบบอลเรว็ 134 คูม่ อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate

ความสัมพันธ์ในการตบบอลเร็วระยะใกล้กับตัวเซต ของตวั เซตและตัวตบ ตัวตบจะกระโดดออกห่างจากตัวเซตเล็กน้อย ลอยตัวข้ึนในขณะท่ีตัวเซตก�ำลังจะเซตบอลและจะตบบอล ทีพ่ งุ่ มาอย่างรวดเร็วขณะทบ่ี อลยังลอยตวั ไมส่ งู การตบบอลเร็วเช่นนี้ ทั้งตัวเซตและตัวตบต้องมี ความสัมพันธ์ในเรื่องของจังหวะ การเซต การกระโดด และ การตบอย่างดีย่ิง การเล่นบอลเรว็ อย่างน้ี นยิ มเรยี กกันว่า “บอลเร็วเอ” ซง่ึ เปน็ พน้ื ฐานของบอลเรว็ แบบอ่นื ๆ ทีจ่ ะได้กลา่ วถึงกนั ต่อไป ขอชแ้ี จงท�ำความเขา้ ใจเรื่องของ “บอลเรว็ ” ดังน้ี บอลเร็ว เอ. คือ การเซตบอลเร็วให้ตัวตบท�ำการตบในระยะใกล้ตัวเซตและอยู่หน้า ของตัวเซต บอลเรว็ บ.ี คอื การเซตบอลเรว็ ใหต้ วั ตบท�ำการตบในระยะหา่ งจากตวั เซตออกไปเลก็ นอ้ ย คือห่างจากตัวเซตมากกว่าบอล เอ. และการเซตบอลเร็ว บี. จะสูงกว่าบอลเร็ว เอ. เล็กน้อยด้วย โดยอยู่หนา้ ตวั เซตเชน่ กนั บอลเร็ว ซี. เป็นการเซตแบบเดยี วกับบอลเร็ว เอ. แตอ่ ยูด่ ้านหลังของตัวเซต บอลเรว็ ด.ี เปน็ การเซตแบบเดยี วกับบอลเรว็ บ.ี แตอ่ ยู่ด้านหลังของตัวเซตเช่นเดียวกับ บอลเร็ว ซ.ี ดงั นน้ั การเซตบอลเรว็ ใหท้ �ำการรกุ แบบผสม (Combinaion Attack) นน้ั โดยพน้ื ฐานแลว้ จะประกอบดว้ ยดา้ นหน้าและหลังของตัวเซต ดา้ นหน้า คอื บอลเรว็ เอ. บ.ี หรือหวั เสา ด้านหลัง คือ บอลเรว็ ซี. ด.ี หรือหวั เสา ลกั ษณะการ 2 แบบทกี่ ลา่ วถงึ นเ้ี ปน็ ลกั ษณะการรกุ ขน้ั พนื้ ฐานเทา่ นน้ั เพราะการรกุ แบบผสม ยงั มอี กี หลายอยา่ งทจ่ี ะกลา่ วถึงในภายหลัง ถึงตอนนีค้ งต้องดูรูปประกอบ การเซตบอลเรว็ บ.ี ซ.ี และด.ี ตอ่ จากการเซตบอลเร็ว เอ. ซง่ึ ไดก้ ลา่ วไปแลว้ อยา่ งไรกต็ ามหากกลา้ มเนอื้ ไมแ่ ขง็ แรงพอ อยา่ พงึ ฝกึ การรกุ ทพี่ ดู ถงึ ตอ่ ไปนเ้ี ดด็ ขาด คูม่ ือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 135

การเซตบอลเร็ว บ.ี ตวั เซต จะเคลอื่ นทไ่ี ปอยใู่ ตบ้ อล รอตัวที่ตบเพื่อให้จังหวะในการเซตบอล สัมพันธ์กับตัวตบแล้วจึงเซตบอลอย่าง รวดเรว็ ในระดับท่ไี มส่ ูงนกั ส�ำหรับตัวตบต้องกระโดดขึ้น ในขณะทต่ี วั เซตท�ำการเซต ซง่ึ จะเปน็ การ กระโดดช้ากว่าการตบบอลเร็ว เอ. ท่ีตัวตบ ต้องลอยตัวขึ้นก่อนตัวเซตท�ำการเซตบอล ในรูปที่ 3 จะเห็นว่าตวั ตบกระโดดขนึ้ ไปแลว้ หยอดดว้ ยปลายนว้ิ การเซตบอลเรว็ ซ.ี ยุทธวิธีการรุกแบบน้ีตัวตบจะกระโดดจากด้านหลัง ของตวั เซต พรอ้ มกบั ทต่ี วั เซตจะเซตบอลให้ การตบบอลเรว็ ซ.ี น้ี ตวั ตบตอ้ งกระโดดกอ่ นท่ตี ัวเซตจะเซตบอล การเซตบอลเรว็ ด.ี การเซตรูปนี้สามารถท�ำการรุกได้ท้ังการตบบอล ซี. และด.ี ผสมกนั ไป ผสู้ กดั กนั้ ของทมี ตรงขา้ มในต�ำแหนง่ กลางหนา้ จะท�ำการสกดั กน้ั ได้ยาก ในรูปจะเห็นว่า ผู้สกัดก้ันต�ำแหน่งกลางหน้าคาดว่า ทีมตรงข้ามจะรุกโดยการตบบอลเรว็ ซ.ี จงึ พรอ้ มจะกระโดดขนึ้ สกัดก้ันแต่ทีมตรงข้ามตบบอลเร็ว ซี. จึงพร้อมจะกระโดดขึ้น สกดั กนั้ แต่ทมี ตรงข้ามกบั ตบบอลเรว็ ด.ี โดยมีผเู้ ล่น หมายเลข 8 กระโดดหลอกเหมอื นกับจะตบดว้ ยบอลเรว็ ซี. 136 ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การเซตบอลเร็วที่อยู่ห่างจาก ตาข่าย ถ้าบอลแรกลอยอยู่ห่างจาก ตาขา่ ย ตัวเซตตอ้ งเคลื่อนท่ไี ปอยูใ่ ต้บอล อย่างรวดเร็วให้บอลอยู่เหนือไหล่ขวา (ถา้ ทศิ ทางกลบั กนั ตอ้ งอยเู่ หนอื ไหลซ่ า้ ย) หมนุ ตวั ไปยงั ทศิ ทางทต่ี อ้ งการจะเซตบอล ไปแล้วจงึ ท�ำการเซต การเซตบอลให้ผู้เล่นต�ำแหน่ง หนา้ ซา้ ยท�ำการตบ ผู้เล่นต�ำแหน่งหน้าซ้ายหรือ ต�ำแหน่งที่ 4 ปกตแิ ลว้ จะเปน็ ตัวตบหลัก ของทีม และจะยืนหา่ งตัวเซตมากเปน็ ตวั ตบทต่ี อ้ งมลี �ำหกั ล�ำโคน่ เพราะเปน็ ตวั ตบ ที่ท�ำคะแนนให้กับทีม โดยมีตัวตบบอล เร็วหลอกให้ แต่ต้องอาศัยการเซตบอล ท่แี ม่นย�ำจงึ จะท�ำให้การตบไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ให้สังเกตลักษณะข้อมือของตัวเซต เมื่อเซตบอลตัวเซตท่ีดีข้อมือต้องยืดหยุ่นได้อย่างดีย่ิง เพราะต้องใชข้ อ้ มือดงึ ดูดบอล เรง่ ความเรว็ ของบอล และปรับทศิ ทางของบอลให้สมั พันธก์ ับจงั หวะ ของตวั ตบโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการเซตบอลให้ตวั ตบทีต่ �ำแหน่งหนา้ ซา้ ยซ่งึ อยหู่ า่ งจากตัวเซต การกระโดดเซตดว้ ยมือเพียงขา้ งเดยี ว เม่ือถูกส่งมาในระดับสูงใกล้ตาข่ายจนท�ำการเซต สองมือไม่ได้ ตัวเซตต้องพยายามเซตด้วยมือเพียงข้างเดียว โดยหน้าฝ่ามือมาทางแดนของตัวเอง แล้วเซตบอลด้วยการดีดนิ้ว อย่างเดียว การเซตบอลด้วยมือเดียวถือว่าเป็นทักษะชั้นสูงสุด ของตวั เซต คู่มอื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 137

การหยอดโดยวธิ ีหยอดบอลด้วยปลายนว้ิ ตัวเซตในปัจจุบันมักจะมีรูปร่างสูง เป็นผู้เล่นที่ถนัด มือซ้าย เพราะขณะท่ีหันหน้าเซตบอลไปให้ผู้เล่นต�ำแหน่งหน้า ซ้ายตบ ตัวเซตประเภทนี้ จะมีโอกาสตบบอลตามน้�ำหรือหยอด ด้วยปลายน้ิวมือข้างซ้ายได้ โดยทีมตรงข้ามมักจะหลงทาง อยู่เสมอ การหยอดโดยการเซตบอลดว้ ยปลายน้วิ ตวั เซตมกั จะหยอดบอลเบาๆ ลงในแดนของทมี ตรงขา้ มดว้ ยการเซตบอลยทุ ธวธิ แี บบนไ้ี ดผ้ ลดี และเปน็ การหลอกทมี ตรงข้าม ซ่งึ คดิ วา่ ตวั เซตจะเซตบอลใหต้ ัวตบ 138 คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

แบบฝึกที่ 1 แบบฝึกเพอื่ การเซต วิธีปฏิบัติ 1. นกั กฬี ายนื จบั คกู่ นั เปน็ แถว 2 แถว หา่ งกนั 5 เมตร แถวหนง่ึ ถอื บอลยนื่ ออก ข้างหน้าระดบั อก 2. ใหน้ กั กฬี าแถวทไี่ มม่ บี อลวงิ่ ไปยอ่ ตวั เซตลกู ในมอื ของคขู่ องตนเองแลว้ ถอย กลบั ทเี่ ดมิ ปฏบิ ัติตอ่ เนื่องอยา่ งรวดเร็ว 10 คร้งั แลว้ เปล่ยี นกนั แบบฝึกท่ี 2 วธิ ีปฏบิ ัติ 1. นกั กีฬายนื จบั คกู่ ัน คนหนึง่ ถือบอล 2. ให้นักกีฬาที่ถือบอลยื่นบอลออกข้างหน้าระดับอกในทิศทางต่างๆ รอบตัว นักกีฬาอีกคนท่ไี มม่ บี อล ตอ้ งพยายามเคลื่อนท่เี ขา้ ไปเซตลกู ทยี่ น่ื ออกมานั้นอยา่ งรวดเร็ว ปฏบิ ัติ ตอ่ เนอ่ื ง 10 คร้ัง แลว้ เปลย่ี นกัน แบบฝกึ ท่ี 3 วธิ ีปฏิบตั ิ 1. นักกีฬาเข้าแถวตอนด้านใดด้านหน่ึงในสนาม ผู้ฝึกสอนโยนบอลไปใน ต�ำแหน่งกลางหนา้ ใหน้ ักกีฬาในแถวว่ิงไปเซตลกู ในระดับการตบต่างๆ ส่งไปยังริมสนาม ดา้ นหน้า คนละลูกแล้ววิง่ ไปต่อท้ายแถวต่อไป หรอื 2. ถา้ วิ่งไปไมท่ ันกใ็ หน้ กั กฬี าต้งั บอลขึ้นเพ่อื การตบโดยวิธีเลน่ ลูกสองมือลา่ ง คู่มือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 139

แบบฝึกที่ 4 วิธปี ฏิบตั ิ 1. นักกีฬาเข้าแถวตอน ดังรูป ผู้ฝึกสอนโยนบอลไปในต�ำแหน่งกลางหน้า ให้นักกีฬาในแถววิ่งไปเซตลูกส่งออกด้านหลังในระดับการตบต่างๆ ส่งไปยังริมสนามด้านหลัง คนละลูกแล้ววง่ิ ไปต่อทา้ ยแถวตอ่ ไป หรือ 2. ผฝู้ กึ สอนใชว้ ธิ สี ง่ ลกู หมนุ ในทศิ ทางตา่ งๆ ใหน้ กั กฬี าวงิ่ ไปเซตลกู เพอื่ การตบ ในระดบั ตา่ งๆ สง่ ไปยังต�ำแหน่งการตบตา่ งๆ แบบฝกึ ที่ 5 วิธปี ฏบิ ตั ิ 1. นกั กีฬาเขา้ แถวตอนทีร่ มิ ขวาของสนามในแดนตนเอง ผูฝ้ ึกสอนยืนบนทส่ี ูง นกั กีฬาคนหน่ึงอยู่ต�ำแหน่งหน้าซา้ ย 2. ผู้ฝึกสอนตบบอลข้ามตาข่ายไปให้นักกีฬาที่ต�ำแหน่งหน้าซ้าย รับลูกส่งมา ต�ำแหน่ง กลางหน้าให้นกั กฬี าหวั แถววง่ิ ไปเซตลูกสูงเพ่อื การตบส่งไปยังต�ำแหนง่ หน้าซา้ ย 3. คนเซตลกู แลว้ วิง่ ไปคอยรบั ลูกตบ คนรับลกู ตบแลว้ ว่ิงไปรบลูกจากการเซต น�ำไปส่งให้ผฝู้ กึ สอนแล้วไปต่อทา้ ยแถว ปฏบิ ตั ิตอ่ เนอ่ื งเรื่อยไป แบบฝึกที่ 6 วิธปี ฏิบตั ิ 1. นกั กีฬาเขา้ แถวตอน ดงั รูป มนี ักกีฬาคนหน่ึงคอยรับลูกเสิรฟ์ 2. ผฝู้ กึ สอนเสริ ฟ์ บอลขา้ มตาขา่ ยมาใหน้ กั กฬี ารบั ลกู เสริ ฟ์ สง่ ไปต�ำแหนง่ กลางหนา้ ให้นกั กฬี าคนหวั แถวรีบวง่ิ ไปเซตบอลขา้ มศีรษะของตนเอง เพอื่ การตบสง่ ไปต�ำแหนง่ หนา้ ขวา 3. คนเซตผลดั กันเซตคนละลูก คนรบั ลูกเสิรฟ์ รับ 10 ครัง้ แลว้ เปลีย่ นคนตอ่ ไป 140 คมู่ ือผ้ฝู กึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

การตบ (Spiking) การเล่นกีฬาวอลเลย์บอลมีทักษะพื้นฐานที่ผู้เล่นจะต้องฝึกฝนเพ่ือให้เกิดความช�ำนาญ การตบ (Spiking) เป็นทักษะพ้ืนฐานที่มีความส�ำคัญอย่างย่ิง เพราะการตบถือว่าเป็นการรุกท่ีมี ประสิทธิภาพมากที่สุด การแข่งขันวอลเลย์บอลคะแนนที่ได้จากการแข่งขัน ส่วนมากเกิดจากการตบ ด้วยเหตุน้ีทีมตรงข้ามจึงต้องป้องกันการตบด้วยทักษะต่างๆ เช่น การสกัดก้ัน และการรับลูกตบ รปู แบบตา่ งๆ การตบเปน็ การรกุ ไดท้ ง้ั ผเู้ ลน่ แดนหนา้ และผเู้ ลน่ แดนหลงั การแขง่ ขนั กฬี าวอลเลยบ์ อล ในปจั จบุ ันทมี ท่ีมรี ปู แบบการตบทีห่ ลากหลายและมปี ระสทิ ธภิ าพจะได้เปรยี บคูต่ ่อสู้ อกี ทง้ั การตบ ที่รุนแรง ยังสามารถควบคุมเกมรุกของฝ่ายตรงข้ามได้อีกด้วย เนื่องจากการตบที่รุนแรงจะท�ำให้ คตู่ อ่ สูไ้ ม่สามารถโตต้ อบด้วยเกมการรุกทีร่ นุ แรงได้ หรืออาจจะเสียคะแนนจากการรกุ นัน้ ได้ ทรงศกั ด์ิ เจริญพงศ์ กลา่ วว่า การตบเปน็ ทักษะท่ีใชใ้ นการรกุ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพทสี่ ุด ท้ังนี้ผู้ตบจะต้องมีความสามารถในการกระโดดได้สูงทรงตัวได้ดี ใช้แขนและข้อมือในการตบลูก ได้อย่างรุนแรง ในปัจจุบันถ้าทีมใดมีการรุกจากการตบท่ีไม่รุนแรงเม่ือใด ฝ่ายตรงข้ามจะสามารถ รุกกลับได้โดยง่าย การตบจะต้องมีความสมั พนั ธ์อยา่ งดรี ะหว่างตัวเซตกบั ตัวตบ ดังน้นั การตบจะมี ประสทิ ธภิ าพดีหรือไม่นน้ั จะขึ้นอยกู่ บั ตัวเซตเชน่ กัน หลกั ส�ำคญั ของการตบลกู บอล ศรเี กษม อนุ่ ประดิษฐ์ กล่าวว่า ทกั ษะของการตบลูกบอล เป็นทักษะของการรกุ เมอื่ เป็น เกมรุกในขณะทผ่ี เู้ ล่นสามารถกระโดดไดส้ งู ทส่ี ดุ บรเิ วณเหนอื ตาขา่ ย ผู้เลน่ ตบหรอื ตลี กู บอลอย่างแรง เพ่ือให้ลูกบอลตกลงพื้นสนามของฝ่ายตรงข้าม มีผู้ศึกษาว่าความเร็วของลูกบอลเคลื่อนท่ี 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นได้ทดสอบจับเวลาจากการตบลูกบอลของนักกีฬาชั้นดี ปรากฏความเรว็ ตบลกู บอลจนกระทงั่ กระทบเสน้ หลงั ของพนื้ สนาม ใชเ้ วลาเพยี ง 0.33 วนิ าทเี ทา่ นน้ั คดิ เปน็ ความเรว็ เฉลย่ี 90 กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมง การตบลกู บอลถอื วา่ เปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ยในการเลน่ ลกู บอล เพอ่ื เป็นการรกุ ดงั นนั้ การที่ทีมจะชนะการเลน่ หรือไมก่ ข็ ้ึนอยู่กบั รกุ ดว้ ยการตบ การตบลกู บอลน้ัน ตอ้ งการผเู้ ลน่ ทม่ี ีความสามารถในการกระโดดในแนวดิ่ง และตอ้ งการผู้เลน่ ท่สี งู ใหญอ่ ีกดว้ ย คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 141

ทกั ษะการตบลูกบอล ประกอบดว้ ย 1. ท่าเตรียม นักกีฬาท่ีจะตบลูกบอลจะต้องยืนเตรียมพร้อมท่ีจะวิ่งเข้ากระโดดตบ ในลักษณะเท้าน�ำเท้าตาม ประมาณระยะก้าวในการวิ่งประกอบการวางเท้า ถ้าผู้ตบถนัดขวา ระยะทางในการวง่ิ เข้ากระโดดตบ 3 ก้าว ให้นกั กีฬายนื ทา่ เตรียมพร้อมในลกั ษณะเท้าน�ำเทา้ ตาม โดยมีเท้าข้างที่ไม่ถนัด คือ เท้าซ้ายอยู่หน้าและถ่ายน้�ำหนักตัวลงท่ีเท้าซ้าย เพื่อเตรียมพร้อมท่ีจะ วงิ่ เขา้ ตบ กา้ วที่ 1 ดว้ ยเทา้ ขวาตอ่ ไปแตถ่ า้ นกั กฬี าถนดั ซา้ ยและระยะทางในการวงิ่ 3 กา้ ว กใ็ หน้ กั กฬี า เอาเทา้ ขวาน�ำ ถา่ ยนำ�้ หนกั ตวั ลงเทา้ ขวาเพอื่ เตรยี มพรอ้ มจะเรม่ิ วงิ่ เขา้ ตบ กา้ วท่ี 1 ดว้ ยเทา้ ซา้ ยตอ่ ไป ในระยะเตรยี มตัว นอกจากการยืนเท้าน�ำเทา้ ตามแลว้ นกั กีฬาจะต้องหย่อนเข่าขา้ งหนา้ ลงเล็กน้อย สายตามองลูกบอลท่ีจะถูกส่งมาเพ่ือทราบและถ้าเป็นไปได้อาจมีการช�ำเลืองมองฝ่ายรับ บา้ งเลก็ นอ้ ย เพ่ือใช้องคป์ ระกอบในการเลือกทิศทางในการตบ 2. การว่ิงเข้าตบลูกบอล เนื่องจากการตบลูกวอลเลย์บอลต้องอาศัยการกระโดด อยา่ งเตม็ ท่ี การทน่ี กั กฬี าจะยนื อยกู่ บั ทแี่ ลว้ กระโดดขน้ึ ตบเฉยๆ ไมช่ ว่ ยใหน้ กั กฬี ากระโดดไดส้ งู เทา่ ทค่ี วร ฉะน้ัน จึงต้องใช้การวิ่งเพื่ออาศัยแรงจากการว่ิงเข้าช่วยในการกระโดด การว่ิงเข้าตบลูกจะใช้ การว่ิงไปกับพื้น ไม่ใช่ว่ิงยกเท้าสูงและในขณะว่ิงล�ำตัวจะต้ังเกือบตรง ทั้งนี้ เพราะหน้าจะต้องเงย มองลกู บอลอยตู่ ลอดเวลา การวงิ่ นจี้ ะสมั พนั ธก์ บั การเหวยี่ งแขนและในขณะวง่ิ ชว่ งกา้ วสดุ ทา้ ยและ รองสดุ ทา้ ยถา้ ผตู้ บเขา้ วง่ิ ตบลกู โดยใชร้ ะยะทางในการวง่ิ 3 กา้ ว กา้ วท่ี 2 และกา้ วท่ี 3 จะสมั พนั ธก์ บั การเหวย่ี งแขนเปน็ อยา่ งมาก เพราะในการวง่ิ กา้ วที่ 2 นนั้ ผตู้ บจะตอ้ งเหวย่ี งแขนออกขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย และในการวิ่งก้าวที่ 3 ซ่ึงเป็นก้าวสุดท้ายน้ัน แขนทั้งสองของผู้ตบจะต้องเหว่ียงไปข้างหน้า เพอื่ เตรยี มเปลย่ี นทศิ ทางการเคลอ่ื นไหว จากแนวขนานพนื้ เปน็ แนวดงิ่ กบั พน้ื นน้ั แขนทงั้ สองจะถกู เหวยี่ ง กบั มาขา้ งหนา้ และเลยขน้ึ ไปเหนอื ระดบั ไหลด่ า้ นหนา้ เพอ่ื ชว่ ยสง่ แรงในการกระโดดและการทรงตวั กลางอากาศประสานงานกบั การสง่ แรงของขาท้งั สองข้าง ในการวิ่งตบลูกโดยท่ัวไปการก้าวเท้าแต่ละข้างล้วนมีความส�ำคัญเป็นอย่างย่ิง ไม่ว่าจะเป็น การว่ิงเข้าตบโดยใช้ช่วงก้าวกี่ก้าวก็ตาม เพราะถ้านักกีฬาก้าวเท้าผิดข้าง จะท�ำให้จังหวะใน การกระโดดเสียไป 3. การเหวยี่ งแขน เนอ่ื งจากการกระโดดทต่ี อ้ งการความสงู และการทรงตวั ทด่ี กี ลางอากาศ การเหวี่ยงแขนจึงเป็นกิจกรรมช่วยเสริมการกระโดดตบได้เป็นอย่างดี การเหว่ียงแขนท่ีได้จังหวะ สมั พนั ธก์ บั การกระโดด จะชว่ ยใหน้ กั กฬี ากระโดดไดส้ งู ทรงตวั กลางอากาศไดด้ ี และสามารถลอยตวั อยู่กลางอากาศได้นาน การเหว่ียงแขนต้องท�ำพร้อมกันท้ังสองแขนในขณะส่งตัวข้ึนจากพ้ืนเพ่ือให้ได้ แรงส่งมากๆ และการรักษาสมดุลการลอยตัวในอากาศ หรืออาจจะช่วยให้ร่างกายเคลื่อนท่ีไปใน ต�ำแหนง่ ที่ตอ้ งการได้จากทา่ เตรียมกระโดด แขนจะอยู่ด้านหลงั เพ่ือเตรียมเหวี่ยงออกหนา้ 142 คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate

4. การลอยตวั กลางอากาศ เมอื่ วอลเลยบ์ อลกระโดดขน้ึ จากพนื้ แลว้ ชว่ งเวลาในการลอยตวั อยใู่ นอากาศ คอื ชว่ งเวลาทสี่ �ำคญั ในการท�ำคะแนนเปน็ อยา่ งยงิ่ นกั กฬี าจะใชก้ ลวธิ ใี ดๆ ในการท�ำคะแนน ไมว่ า่ จะเปน็ การตบ การหยอด การเคาะเบาๆ ลว้ นตอ้ งอาศยั เวลาส�ำคญั น้ี นกั กฬี าใดสามารถลอยตวั กลางอากาศได้นานก็นับว่าไดเ้ ปรียบ เพราะมีชว่ งเวลาท�ำคะแนนมาก การลอยตวั ไดน้ านนน้ั มอี งคป์ ระกอบ 3 ประการ คอื 1) สามารถกระโดดได้สูง 2) เวลากระโดดข้ึนจากพื้นแล้วต้องไม่เกร็งตัว จะต้องปล่อยร่างกายให้ผ่อนคลาย การเกร็งกล้ามเน้ือจากการกระโดด แล้วจึงช่วยเกร็งกล้ามเนื้อเพื่อการตบลูกอีกคร้ังหนึ่ง เมอื่ ตวั เร่ิมตกสูพ่ ืน้ 3) ตอ้ งลอยตัวในลักษณะตัวเกอื บนิง่ ไมด่ ้ิน ไม่กระตุกแขนขา หรือโยกตวั ขณะลอยตัว อยู่ในอากาศ 5. การลงสู่พ้ืน เม่ือตบลูกเสร็จเรียบร้อยแล้ว การกลับลงสู่พ้ืนก็เป็นวิธีท่ีส�ำคัญเช่นกัน เพราะถา้ ผู้เล่นลงสู่พนื้ ไดอ้ ยา่ งถกู วธิ กี ส็ ามารถรักษาความปลอดภยั ใหก้ บั ตนเองได้ และยงั สามารถ เล่นลูกต่อไปได้อย่างรวดเรว็ การลงสู่พื้นท่ีถูกวิธีคือ ให้ผู้เล่นลงสู่พื้นด้วยปลายเท้าทั้งสองเกือบพร้อมกันในลักษณะ ทงั้ ยอ่ เข่างอ แล้วเตรียมพรอ้ มท่จี ะเล่นลกู หรือเคลือ่ นไหวต่อไปไดท้ นั ที อุทยั สงวนพงศ์ และสมบตั ิ คณุ ามาศปกรณ์ กลา่ ววา่ การตบลูกบอลโดยทั่วไป จะมีหลกั การ ท่สี �ำคัญอยู่ 5 ประการคอื 1. ทา่ เตรียม 2. การวง่ิ 3. การกระโดด 4. การเหวย่ี งแขน 5. การลงสูพ่ ้นื การตบที่ประสบผลส�ำเร็จต้องมาจากการรับลูกจังหวะแรก และการส่งลูกจังหวะสอง ทสี่ มั พันธก์ ัน 1. ทา่ เตรยี ม ท่าทางการเตรียมพร้อมที่จะตบลูกบอล โดยยืนแยกเท้าท้ังสองออกตามธรรมชาติ งอเข่าท้งั สองเลก็ น้อย โล้ตัวไปขา้ งหนา้ พอสมควร ตามองท่ลี ูกบอลตลอดเวลา เตรียมพร้อมทจ่ี ะวิ่ง ไปยงั ทศิ ทางต่างๆ ค่มู อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 143