2. การว่ิง การวง่ิ เปน็ การเพม่ิ แรงใหก้ ระโดดไดส้ งู ขน้ึ และเปน็ การเลอื กจดุ และจงั หวะของการกระโดด ทเี่ หมาะสม กอ่ นทจ่ี ะออกวง่ิ ผตู้ บตอ้ งคดิ คาดคะเนตงั้ แตเ่ มอ่ื เหน็ เพอ่ื นรว่ มทมี รบั ลกู บอลจงั หวะแรก ท่ีส่งไปยังคนเซต โดยค�ำนวณระยะทาง ทิศทาง ความเร็ว ความโค้งและจุดตกของลูกบอลจาก การเซตลกู จังหวะสอง เมือ่ คาดคะเนส่ิงต่างๆ ดงั กลา่ วแล้ว ก็พรอ้ มทจี่ ะออกวิ่ง การว่ิงเร็วหรอื ช้า จ�ำนวนก้าวมากหรือน้อยเพียงใดกต็ าม แต่จดุ ม่งุ หมายเพือ่ ว่งิ ไปกระโดดขน้ึ ดงั นน้ั ถ้าจงั หวะของการว่งิ ไม่ดี จะท�ำใหก้ ารกระโดดไมด่ ตี ามไปด้วย จงั หวะและทศิ ทางของการวิ่ง ขึ้นอย่กู ับความเร็ว ความช้าและความสูงของลูกบอลด้วย เนื่องจากความเรว็ ในการวิ่งของแตล่ ะคน แตกตา่ งกนั ผูท้ ี่เคล่อื นไหวช้า ควรออกว่ิงใหเ้ ร็ว คนทเี่ คลื่อนไหวเรว็ อาจเรม่ิ ว่งิ ช้าๆ กอ่ น แสดงลกั ษณะการวิ่งเพื่อเข้าตบลูกบอล การตบแบบวิง่ สองก้าว การตบลูกแบบวิ่งสองก้าว มักจะใชใ้ นการตบลกู เรว็ ผตู้ บจะยนื อยบู่ รเิ วณเส้นรุกถา้ ตบลกู ดว้ ยมอื ขวา จะเรม่ิ กา้ วเทา้ ซา้ ยยาวๆ เปน็ กา้ วแรก พรอ้ มกบั ยอ่ ตวั ตำ�่ ลงเพอื่ ใหเ้ กดิ แรงสง่ ขณะกระโดด แลว้ กา้ วเทา้ ขวาตามเปน็ กา้ วทส่ี อง ปลายเทา้ ขวาอาจจะเสมอหรอื เหลอื่ มกบั ปลายเทา้ ซา้ ยเลก็ นอ้ ย การตบแบบว่ิงสามก้าว การตบแบบวงิ่ สามกา้ วน้ี ถา้ ตบลกู บอลดว้ ยมอื ขวาจะเรม่ิ กา้ วแรกดว้ ยเทา้ ขวาและกา้ วเทา้ ซ้ายตามเป็นก้าวท่ีสอง ก้าวท่ีสามจะก้าวเท้าขวายาวๆ ขณะลอยตัวกระโดดข้ึนตบให้ลากเท้าซ้าย ตามเทา้ ขวาเล็กน้อย การตบท่ีวงิ่ มากกวา่ สามเก้า การตบท่ีผู้ตบต้องวิ่งมากกว่าสามก้าวซึ่งอาจจะวิ่งถึง 7-8 ก้าว จะใช้ส�ำหรับการตบ ลูกยาวหรือลูกโด่งสูง การว่ิงก้าวแรกๆ จะสั้น แต่ก้าวสุดท้ายต้องก้าวยาว การที่ก้าวแรกๆ สั้นๆ เพราะเป็นการสร้างความเร็วในการกระโดด ถ้าก้าวแรกยาวจะไม่สามารถสร้างความเร็วในก้าวต่อไป ก้าวสุดท้ายให้ก้าวยาวเพราะเป็นจุดของจังหวะการกระโดด หากก้าวสั้นอีกอาจจะเสียจังหวะ หรอื ชนตาขา่ ยได้ 144 ค่มู อื ผู้ฝึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
3. การกระโดด จดุ มงุ่ หมายของการกระโดดเพอ่ื สรา้ งความสงู สงิ่ ทจี่ ะชว่ ยใหเ้ กดิ แรงสง่ ใหล้ อยตวั สงู ขนึ้ อกี กค็ ือ การเหวี่ยงแขน สปริงข้อเท้า การยืดล�ำตัว มมุ ของเข่า คือ ก่อนการกระโดดเข่าต้องงอเล็กนอ้ ย โนม้ ตวั ไปขา้ งหนา้ เหวยี่ งแขนทงั้ สองไปขา้ งหนา้ เหยยี ดตวั ขนึ้ พรอ้ มกบั ใชแ้ รงสปรงิ จากขอ้ เทา้ กระโดดขนึ้ การกระโดดใช้ทัง้ ปลายเทา้ และสน้ เทา้ การกระโดดด้วยปลายเท้าใชเ้ ม่ือตบลกู เรว็ หรือลูกสั้น หรอื ลกู ใกลต้ าขา่ ย สว่ นการกระโดดดว้ ยสน้ เทา้ การลอยตวั จะสงู กวา่ จงึ ใชต้ บลกู ไกลหรอื ลกู หา่ งตาขา่ ย 4. การเหว่ยี งแขน การเหวยี่ งแขนนอกจากจะชว่ ยใหม้ แี รงสง่ ตวั ลอยขนึ้ แลว้ ยงั ชว่ ยใหก้ ารทรงตวั ดี โดยบงั คบั ไมใ่ ห้ตวั พ่งุ ไปขา้ งหน้าและช่วยใหล้ อยตัวอยู่กลางอากาศไดน้ าน การเหวีย่ งแขนให้ก�ำมือหลวมๆ กางแขนออกเลก็ น้อย อย่าเหว่ยี งแขนไปขา้ งหลงั มากเกนิ ไป เพราะจะท�ำให้การเหว่ียงแขนไปข้างหน้าช้าลงและจะเหว่ียงแขนทั้งสองข้างขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเหยียดแขนซ้ายไปข้างหน้าเหมือนกับจะจับลูกบอลให้ข้อศอกขวาอยู่หลังใบหูขวา แอ่นล�ำตัว ไปข้างหลังแขนขวาเหยียดตรงไปตบลูกบอลด้วยฝ่ามือและข้อมือของแขนขวา โดยหักข้อศอก ขณะเหว่ียงล�ำตัวโค้งไปข้างหน้า ขณะจะตบลูกบอลให้เหว่ียงแขนท้ังสองข้างข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยเหยียดแขนซ้ายไปข้างหน้าเหมือนกับจะจับลูกบอลให้ข้อศอกขวาอยู่หลังใบหูขวา เหยียดแขน ตรงไปตบลูกบอลด้วยฝ่ามือและหักข้อมือลง ลักษณะของแขนท่ีตบจะเหยียดตึง ข้อมือจะต้องสะบัด ลงเหมือนกับการใช้แส้ตีวัวหรือตีม้า การตบนอกจากการยกแขนและเหว่ียงแขนอย่างถูกต้องแล้ว ยังต้องใช้ขอ้ มือด้วย แสดงลกั ษณะทา่ ทางของแขนในการตบลกู บอล คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 145
5. การลงสู่พนื้ เนื่องจากขณะตบลูกบอลจะยกไหล่ขวาขึ้นสูงกว่าไหล่ซ้าย (ผู้ตบลูกบอลด้วยมือขวา) ดังนั้น ขณะลงสู่พ้ืนเท้าซ้ายมักจะลงสู่พ้ืนก่อน ท�ำให้เท้าซ้ายต้องรับน�้ำหนักมากเกินไปจึงท�ำให้ ข้อเข่าได้รับบาดเจ็บ จึงควรฝึกหัดลงสู่พ้ืนด้วยเท้าคู่ และลงสู่พื้นด้วยปลายเท้าในลักษณะท้ิงย่อ คอื เอนปลายเทา้ ลงสพู่ น้ื พรอ้ มกบั งอเขา่ พบั ตวั ลงเลก็ นอ้ ย เมอื่ ลงสพู่ นื้ แลว้ ใหอ้ ยใู่ นทา่ เตรยี มพรอ้ ม ท่ีจะเล่นลูกบอลได้ต่อไป การเหว่ียงแขนและการลงสู่พื้นด้วยเท้าเดียวอย่างนี้ไม่ถูกต้องอาจได้รับ บาดเจบ็ ทีห่ วั ไหลแ่ ละหวั เขา่ ได้ หลักส�ำคัญของการตบลูกบอลไว้ดงั น้ี 1. การเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หาบอลและกระโดดเพอ่ื ท�ำการตบ การเคลอื่ นทเ่ี ขา้ หาบอล (Approaching and take off) เป็นจดุ ท่สี �ำคัญทส่ี ดุ ในการตบ 1.1 การก้าวเทา้ เขา้ บอล โดยปกติแล้วการก้าวเท้าเข้าหาบอล 2 ก้าวสุดท้ายของผู้เล่นที่ตบด้วยมือขวา จะกา้ วด้วยเทา้ ขวาตามด้วยเท้าซ้ายและถบี ตวั ข้นึ จากพืน้ การก้าวเทา้ แบบนจี้ ะท�ำใหต้ บบอลได้ใน จดุ ทส่ี งู ขึ้น ควบคุมการทรงตัวได้งา่ ย และโดยเฉพาะอย่างย่งิ จะมผี ลดีในการปรับจงั หวะการถีบตัว ขึ้นจากพื้น แสดงลกั ษณะการกา้ วเท้าเข้าหาบอล 1.2 การวง่ิ เขา้ หาบอลดว้ ยความเร็วเตม็ ที่ ทักษะการตบบอลเปล่ียนทิศทาง เช่น วิ่งเข้าหาบอลเป็นแนวเฉียงกับสนาม แต่เปลี่ยนทิศทางตบบอลเป็นแนวตรงต้องอาศัยการก้าวเท้าให้ยาวเต็มที่ เมื่อเริ่มต้นว่ิงเข้าหาบอล แล้วใช้ 2 ก้าวสดุ ท้ายปรับจังหวะในการถบี ตวั ข้ึนจากพ้ืนพรอ้ มทัง้ บดิ ล�ำตัวเพื่อเปล่ยี นทิศทางจาก แนวเฉียงเป็นแนวตรง 146 คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
แสดงลกั ษณะการวง่ิ เข้าหาบอลด้วยความเรว็ เต็มท่ี 2. การถบี ตัวจากพื้นและการกระโดด (Take off and Jump) เป็นการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องกันมาก และเป็นจุดส�ำคัญที่สุดท่ีจะท�ำให้ผู้เล่นกระโดด ได้สูงสุดผู้เล่นหลายๆ คนมีกล้ามเน้ือดีมาก แต่จังหวะการเคล่ือนไหวต่อเน่ืองระหว่างการถีบตัว จากพน้ื และการกระโดดไมด่ ี จึงเป็นเหตใุ หก้ ระโดดได้ไม่สงู สดุ ดงั นนั้ เทคนคิ การฝกึ ตบบอลจะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ ง ตง้ั แตก่ ารเคลอื่ นทเี่ ขา้ หาบอล (Approaching) การถีบตัวจากพ้ืน (Take off) การกระโดด (Jump) การเหว่ียงล�ำตัวและแขน (Arms and Back Swing) หากการเคลื่อนไหวจุดใดจุดหนึ่งขาดความต่อเน่ือง จะท�ำให้ประสิทธิภาพในการตบ ลดลงกวา่ ท่คี วรจะได้รับ 2.1 มุมในการยอ่ ตวั เพือ่ กระโดดตบบอล ผเู้ ล่นจะกระโดดได้ไมส่ ูง ถ้าการยอ่ ตัวตำ่� มากเกินไปหรือน้อยเกนิ ไปในขณะท่ีก้าวเทา้ กา้ วสดุ ทา้ ยเพอ่ื ถบี ตวั ขน้ึ จากพนื้ การยอ่ ตวั ทถ่ี กู ตอ้ ง สะโพกและหวั เขา่ ตอ้ งงอเปน็ มมุ 90-100 องศา สรุปแล้ว ข้อส�ำคัญในการกระโดดจะอยู่ที่ 2 ก้าวสุดท้ายและการย่อตัว เพราะ จะชว่ ยในการปรับจังหวะ เปลี่ยนทิศทาง และช่วยใหก้ ระโดดได้สูง แสดงลักษณะมมุ ในการย่อตวั เพ่อื กระโดดตบบอล 147 คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate
2.2 การก้าวเทา้ ลักษณะหันปลายนิ้วเท้าเขา้ หากนั การก้าวเท้ามีลักษณะหันปลายนิ้วเท้าเท้าทั้งสองข้างเข้าหากันเล็กน้อย ท้ังนี้เพ่ือให้ พลงั ของกล้ามเน้ือขาทงั้ หมดมีศนู ยร์ วมทหี่ วั เข่าและจะท�ำให้กระโดดได้สงู สดุ ถ้าปลายนิ้วเท้าหันออกจากกันขณะก้าวเท้า ศูนย์พลังจะกระจายออกกระโดดได้ สูงสดุ นอ้ ยลง เรอ่ื งเลก็ ๆ น้อยๆ เช่นในรูปสดุ ท้ายเป็นรูปทส่ี �ำคัญ มฉิ ะนั้นแลว้ ฝึกซ้อมกนั หนักเพยี งใด กจ็ ะไมไ่ ด้รบั ผลส�ำเร็จสูงสุด แสดงลักษณะการกา้ วเท้าลักษณะหนั ปลายน้วิ เท้าเขา้ หากนั 3. การเหว่ียงแขนและล�ำตัวเพื่อตบบอล การฝึกเหวี่ยงแขนและล�ำตัวนี้ สามารถช่วยให้ ตบบอลไดร้ นุ แรง และตบไดใ้ นจดุ ที่สูงสุด จุดส�ำคญั ทีจ่ ะตบบอลได้ในจุดสงู สดุ กค็ ือ จงั หวะสดุ ท้าย ในการเหวียงแขนและล�ำตัว การตบบอลข้อศอกและล�ำตวั จะต้องเหยียดตรงขณะท่ีฝ่ามอื ลูกบอลพอดี 3.1 การเหวี่ยงแขน แสดงลกั ษณะการเหวีย่ งแขนเพอื่ การตบ 148 คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate
3.2 การใช้แรงเหวี่ยงของล�ำตัว เมอื่ บอลทเ่ี ซตมาใหต้ บหา่ งจากตาขา่ ย ลอยมาชา้ และสงู ผเู้ ลน่ สามารถใชแ้ รงเหวยี่ ง ของล�ำตวั ชว่ ย โดยง้างข้อศอกใหก้ วา้ ง ยดื หน้าอก แอน่ หลงั แลว้ ตบบอล ขาข้างขวาทีง่ อ 90 องศา จะเหยยี ดออกเพื่อท�ำการตบเพื่อชว่ ยสรา้ งพลงั ในการตบให้รุนแรงย่ิงข้นึ แสดงลกั ษณะการใชแ้ รงเหวี่ยงของล�ำตวั 3.3 การเหวีย่ งแขนเพ่อื ใหต้ บบอลไดใ้ นจดุ สงู สดุ การเหว่ียงแขนตบบอล จังหวะท่ฝี า่ มอื จะถูกบอล ข้อศอกต้องตง้ั สูง แขนเหยียดตรง จุดท่ีฝ่ามือถูกบอลต้องถูกท่ีก่ึงกลางของบอลพอดี ถ้าศอกไม่ตั้ง แขนไม่เหยียดตรง จุดท่ีตบบอล จะอยรู่ ะดับต่�ำ แสดงลกั ษณะการเหว่ียงแขนเพือ่ ใหต้ บบอลไดใ้ นจดุ สูงสดุ 149 คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
การตบลูกในลักษณะตา่ งๆ วิธกี ารตบลูกบอลสงู (หัวเสา) การตบลกู บอลสงู (หวั เสา) เปน็ กลยทุ ธห์ ลกั ของเกมการรกุ ประจ�ำของทกุ ทมี อกี ทงั้ ทกุ ทมี จะต้องมผี เู้ ล่นที่ตบลูกบอลสงู เป็นหลักของทมี อกี ดว้ ย การตบลูกบอลสูงจะกระท�ำตรงต�ำแหนง่ ที่ 4 คอื หนา้ ซา้ ย ชาญฤทธ์ิ วงศ์ประเสริฐ หลักการตบลกู บอลสูง มดี งั น้ี 1. การเคลอ่ื นทเี่ ขา้ หาบอล โดยมองดลู กู บอลทเี่ ซตมาจากตวั เซต ซงึ่ ไปอยใู่ นต�ำแหนง่ สงู สดุ ดงั นี้ แสดงลักษณะการเคลอื่ นทีข่ ณะลกู บอลอย่ใู นต�ำแหน่งสูงสดุ 2. การเคลอื่ นทเี่ ขา้ หาบอล โดยมองดลู กู บอลทเ่ี ซตมาจากตวั เซต ซงึ่ ไปอยใู่ นต�ำแหนง่ สงู สดุ ดงั น้ี แสดงลกั ษณะการก้าวเทา้ ก่อนก้าวสดุ ทา้ ย 150 คูม่ อื ผู้ฝึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
3. การกระโดดหลงั จากเหยยี ดเขา่ และล�ำตวั อยา่ งแรง แลว้ ยกแขนทงั้ สองขน้ึ โดยงอขอ้ ศอก ของแขนท่ีจะตบลกู บอล และตงึ ไปดา้ นหลงั ของไหลด่ ้านนน้ั แสดงลกั ษณะการกระโดดและดึงแขนไปด้านหลัง 4. การตบโดยลดแขนข้างที่ไม่ได้ตบลูกบอลลง เร่ิมเหวี่ยงแขน บิดแขนท่ีตบลูกบอลให้ ข้อศอกอยู่ชิดหู ไหล่ และแขนขา้ งทตี่ บลูกจะตอ้ งเหยยี ดให้เต็มท่ี ตบลูกบอลทอ่ี ยูด่ า้ นหนา้ ของไหล่ ท่ตี บลกู ด้วยการสะบัดมือลง ส่วนอกี แขนหนงึ่ ทีอ่ ยู่ต่ำ� กวา่ ให้ชดิ ล�ำตวั แสดงลกั ษณะการตบลูกบอลโดยตบลกู บอลดา้ นหน้าหวั ไหล่ คู่มือผูฝ้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 151
วธิ ีการตบลูกเรว็ (Quick Spike) การตบลูกเร็ว (Quick Spike) เป็นกลยุทธ์ของการรุกที่ถือว่ามีประสิทธิภาพมากที่สุด ดว้ ยเหตผุ ลเปน็ การรกุ ทเ่ี รว็ ฝา่ ยตรงขา้ มไมส่ ามารถตงั้ รบั หรอื สกดั กนั้ ไดท้ นั เหมาะส�ำหรบั ทมี ทมี่ ผี เู้ ลน่ มีความคล่องตัวสูง สามารถสร้างเกมรุกได้ทันทีเม่ือรับบอลแรกส่งให้ตัวเซต เซตลูกให้ผู้ตบๆ ลูกเร็ว เกมรุกจะเร็วมาก ท�ำให้ทีมฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถป้องกันหรือโต้ตอบด้วยการรุกท่ีมีประสิทธิภาพได้ มดี งั นี้ 1. ตวั เซตปรบั จงั หวะเพอื่ การเซต โดยปรบั เปลย่ี น ท่าทางของตัวเซตของตัวตบจะต้องเข้าหาอย่างรวดเร็ว จบั จังหวะเพอื่ การกระโดด แสดงลักษณะการเคลอ่ื นท่เี ข้าตบลกู บอล 2. การกระโดดข้ึนก่อนที่ตัวเซตจะถูกลูกบอล จากน้ันตวั เซตๆ ลกู ไปข้างหน้าในจดุ ทีส่ ัมผัส แสดงลกั ษณะการกระโดดขึ้นก่อนทต่ี ัวเซตจะถกู บอล 3. ในจังหวะสูงสุดของการกระโดดใหต้ บบริเวณ บนสุดของลูกบอล ด้วยการเหวี่ยงแขนอย่างเร็วและ หกั ขอ้ มือลง แสดงลักษณะจงั หวะสูงสดุ ของการกระโดด 152 คมู่ ือผ้ฝู กึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
4. การตบลูกบอล บิดตัวไปทางด้านตรงข้าม เพอ่ื เปลยี่ นแนวทางในการตบ วธิ กี ารตบเพือ่ การรุกในแบบต่างๆ แสดงลกั ษณะการตบและการบิดตวั วธิ ีการตบเพือ่ การรุกในแบบต่างๆ ดังนี้ 1. การตบลกู สงู ตัวเซตจะอยู่บรเิ วณก่งึ กลางตาขา่ ยหรอื ค่อนขา้ งไปทางด้านขา้ งเลก็ นอ้ ย แล้วเซตบอลให้สูงไปท่บี ริเวณปลายสุดของตาข่ายด้านหน้า เพ่อื ใหผ้ ู้ตบสามารถตบได้ แสดงลักษณะการเคลอ่ื นท่เี ขา้ ตบลกู สูง 2. การตบลูกเร็วด้านหน้าหรือเรียกว่า A-Quick เป็นการตบที่ผู้เซตและผู้ตบต้องมีความสัมพันธ์กันมาก โดยผู้เซตจะพยายามเซตลุกให้ขึ้นจากมือเพียงเล็กน้อย เพ่อื ใหผ้ ู้ตบๆ ดว้ ยความรวดเร็ว คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate แสดงลกั ษณะการตบลูกเร็ว ด้านหน้า (A-Quick) 153
3. การตบลูกเร็วด้านหลัง ใช้วิธีการเหมือนกับ การตบลูกเร็วด้านหน้า แต่ต่างกันที่ผู้เซตลุกไปด้านหลัง เลก็ น้อย ผู้ตบต้องกระโดดใหไ้ ปทางดา้ นหลงั ผู้เซต แสดงลักษณะการตบลกู เร็วด้านหลงั 4. การตบลูกระยะกลางด้านหน้า หรือเรียกว่า B-Quick เป็นการตบลูกท่ีความสูงปานกลาง ซึ่งผู้เซต จะเซตลูกไปทางด้านหน้าสูงประมาณ 1-1 ½ เมตร ผู้ตบสามารถตบในทิศทางต่างๆ ได้ แสดงลกั ษณะการตบลกู ระยะกลาง ดา้ นหน้า B-Quick 5. การตบลูกระยะกลางด้านหลัง ท�ำเช่นเดียว กับการตบลูกเร็วด้านหลัง แต่ต่างกันท่ีระยะความสูง ของลกู บอลนั้นจะสงู กว่าเลก็ นอ้ ย แสดงลักษณะการตบลูกระยะกลางด้านหลงั 154 คู่มือผู้ฝึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
วธิ ีการตบเพื่อการรกุ ในแบบตา่ งๆ ดังน้ี 1. การตบลูกสงู ผเู้ ลน่ ต�ำแหน่งซ้ายหรอื ต�ำแหนง่ ที่ 4 ปกตแิ ล้วจะเปน็ ตัวตบหลักของทมี และจะยืนห่างจากตัวเซตมาก เป็นตัวตบท่ีต้องมีล�ำหักล�ำโค่น เพราะเป็นตัวตบที่ท�ำคะแนน ให้กบั ทีมโดยมตี วั ตบบอลเรว็ หลอกให้ แตต่ อ้ งอาศยั การเซตท่แี มน่ ย�ำ จึงจะท�ำให้การตบท�ำได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ ให้สังเกตลักษณะขอ้ มอื ของตวั เซตเมื่อเซตบอล ตวั เซตทีด่ ี ขอ้ มอื ต้องยดื หย่นุ ได้อยา่ งดียง่ิ เพราะตอ้ งใช้ข้อมอื ดึงดดู บอล เร่งความเรว็ ของบอลและปรับทศิ ทางของบอลใหส้ ัมพนั ธก์ บั จังหวะ ของตัวตบ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การเซตบอลให้ตวั ตบทตี่ �ำแหน่งหนา้ ซ้ายอยู่ห่างจากตัวเซต แสดงการเซตบอลใหผ้ ู้เล่นต�ำแหน่งหน้าซ้าย ท�ำการตบลูกสูง 2. การตบบอลเร็ว เอ. (A-Quick) ตวั ตบจะกระโดดหา่ งจากตัวเซตเล็กนอ้ ยลอยตวั ขนึ้ ในขณะทต่ี ัวเซตก�ำลังจะเซตบอลและจะตบบอลทพี่ ุ่งมาอยา่ งรวดเร็ว ขณะท่ีบอลยงั ลอยไมส่ งู การตบบอลเรว็ เชน่ น้ี ทง้ั ตวั เซตและตวั ตบตอ้ งมคี วามสมั พนั ธใ์ นเรอื่ งของจงั หวะการเซต การกระโดดและการตบอยา่ งดยี ง่ิ การเล่นบอลเร็วแบบนี้ นิยมเรียกกันว่า “บอลเร็ว เอ.” ซึ่งเป็นพื้นฐานของบอลเร็ว แบบอน่ื ๆ ทจ่ี ะได้กล่าวถึงกนั ต่อไป บอลเรว็ เอ. (A-Quick) คือ การเซตบอลเร็วใหต้ วั ตบในระยะใกลก้ ับตัวเซตและอยู่หนา้ ของตัวเซต 155 แสดงความสัมพันธใ์ นการตบบอลเร็ว เอ. (A-Quick) คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
3. การตบบอลเร็ว บี. (Quick) คือ การเซตบอลเร็วให้ตัวตบท�ำการตบในระยะห่าง จากตัวเซตออกไปอีกเล็กน้อย คือ ห่างจากตัวเซตมากกว่าบอลเร็ว เอ. และการเซตบอลเร็ว บี. จะสงู กวา่ บอลเรว็ เอ. เล็กนอ้ ยดว้ ย โดยอยู่หนา้ ตวั เซตเชน่ กนั ตวั เซตจะเคล่อื นทไี่ ปอย่ใู ต้บอล รอตวั ทจี่ ะตบเพ่ือให้จังหวะในการเซตบอลสมั พันธ์กบั ตวั ตบ แลว้ จงึ เซตบอลอยา่ งรวดเรว็ ในระดบั ท่ีไมส่ ูงนกั ส�ำหรบั ตวั ตบทต่ี อ้ งกระโดดขึ้นในขณะท่ตี วั เซตท�ำการเซต ซึง่ จะเปน็ การกระโดดช้ากวา่ การตบบอลเร็ว เอ. ท่ตี วั ตบตอ้ งลอยตวั ขึ้นก่อน ตวั เซตท�ำการเซตบอล จะเหน็ วา่ ตัวตบกระโดดข้นึ ไปแลว้ หยอดด้วยปลายน้วิ แสดงความสมั พนั ธก์ ารตบบอลเรว็ บ.ี (B-Quick) 4. การตบบอลเรว็ ซ.ี (C-Quick) คอื การเซตแบบเดยี ว กับบอลเร็ว เอ. แต่อยู่ด้านหลังของตัวเซต ยุทธวิธีการรุกแบบนี้ ตัวตบกระโดดจากด้านหลังของตวั เซต พร้อมกับที่ตวั เซตจะเซตบอล ใหก้ ารตบบอลเรว็ ซ.ี นี้ ตวั ตบตอ้ งกระโดดกอ่ นทต่ี วั เซตจะเซตบอล 5. การตบบอลเรว็ ด.ี (D-Quick) คอื การเซตแบบเดยี ว กบั บอลเร็ว บี. แตอ่ ย่ดู ้านหลงั ของตัวเซตเช่นเดยี วกบั บอลเรว็ ซี. การเซตรูปน้ีจะสามารถท�ำการรุกได้ท้ังการตบบอล ซี. แสดงลกั ษ(ณCะ-Qกาuรicตkบ)บอลเรว็ ซี และตบบอล ดี. ผสมกันไปผู้สกัดกั้นของทีมตรงข้ามในต�ำแหน่ง กลางหน้าจะท�ำการสกัดกน้ั ไดย้ าก ในภาพจะเห็นว่า ผู้สกัดกั้นต�ำแหน่งกลางหน้าคาดว่า ทีมตรงข้ามจะรุกโดยการตบบอลเร็ว ซี. จึงพร้อมจะกระโดดขึ้น สกัดกั้น แต่ทีมตรงข้ามกลับตบด้วยบอลเร็ว ดี. โดยมีผู้เล่น หมายเลข 8 กระโดดหลอกเหมอื นกับจะตบด้วยบอลเรว็ ซี. แสดงลกั ษ(ณDะ-Qกาuรicตkบ)บอลเร็ว ดี 156 คูม่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
แบบฝกึ ท่ี 1 แบบฝึกเพ่ือการตบ วธิ ปี ฏบิ ัติ 1. นักกีฬายนื เขา้ แถวขนานตาข่าย 2 ดา้ น จบั บอลคนละลกู 2. ใหน้ กั กฬี าโยนลกู ขน้ึ และตบบอลใหล้ กู บอลหมนุ ลงพงุ เขา้ หาตาขา่ ยเพอื่ ฝกึ หดั บงั คับทิศทางและการหมนุ ของลกู บอล แบบฝกึ ที่ 2 วิธปี ฏิบตั ิ 1. นกั กีฬาจับคกู่ นั ยืนเปน็ แถวหนา้ กระดาน 2 แถว แถวหนง่ึ มบี อล 2. ให้นักกีฬาที่มีบอลชูลูกขึ้นสูงสุดแขนด้วยมือท้ังสอง แล้วนักกีฬาท่ีไม่มีบอล ยืนท�ำท่าเง้อื มือจะตบลกู 3. เม่ือผู้ฝึกสอนให้สัญญาณให้นักกีฬาท่ียืนเง้ือมือ ตบลูกท่ีอยู่ในมือของคู่ โดยพรอ้ มเพรยี งกนั แบบฝกึ ที่ 3 วิธปี ฏบิ ัติ 1. นักกีฬายอ่ ตวั มอื แตะพื้นทเ่ี ส้นบนขา้ งทั้งสอง หนั หน้าเข้าสนาม 2. เม่ือผู้ฝึกสอนให้สัญญาณ ให้นักกีฬาทุกคนก้าวเท้าออกหน้า 1 ก้าว พร้อมกับรวบเท้าท�ำท่ากระโดดตบลูกในอากาศ 1 ครั้ง แล้วกลับเขา้ ที่เดิม คูม่ อื ผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 157
แบบฝึกที่ 4 วิธปี ฏิบตั ิ 1. นกั กฬี าว่ิงเหยาะๆ บนเส้นรอบสนาม 2. เมื่อผู้ฝึกสอนให้สัญญาณให้ผู้เล่นรวบเท้าท�ำท่ากระโดดขึ้นตบลูกในอากาศ 1 คร้งั แลว้ วิ่งตอ่ แบบฝกึ ที่ 5 วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 1. ใหน้ กั กฬี าเคลอ่ื นไหว 1 กา้ ว 2 กา้ ว และ 3 กา้ ว แลว้ กระโดดตบมอื เปลา่ หรอื 2. ให้นักกีฬาถือบอลคนละลูกกระโดดในท่าตบลูกแล้วใช้วิธีขว้างบอล 2 มือ ข้ามตาข่ายไปลงแดนตรงข้าม 3. ให้นักกีฬาถือบอลกระโดดชูบอลเหนือตาข่ายแล้วปล่อยมือทั้งสองออกจาก ลกู พรอ้ มกับสะบดั มอื ตบบอลข้ามตาข่ายไปอย่างรวดเรว็ แบบฝึกที่ 6 วธิ ปี ฏิบัต ิ 1. ใหน้ กั กฬี าโยนบอลโดง่ ไปหนา้ ตาขา่ ย แลว้ วงิ่ ไปกระโดดหยอดบอลขา้ มตาขา่ ย ไปหรอื 2. ใหน้ กั กฬี าโยนบอลโดง่ ไปหนา้ ตาขา่ ย แลว้ วงิ่ ไปกระโดดตบลกู ขา้ มตาขา่ ยไปหรอื 3. ให้นักกีฬาโยนบอลโด่งในระดับต่างๆ แล้วว่ิงไปตบลูกให้ข้ามตาข่ายไปลง สนามดา้ นตรงขา้ มในทศิ ทางตา่ งๆ แล้วแตจ่ ะก�ำหนด 158 คู่มือผ้ฝู กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate
แบบฝึกท่ี 5 วิธีปฏบิ ตั ิ 1. ให้นกั กีฬาแต่ละแถวว่ิงกระโดดท�ำตบลูกหน้าตาขา่ ยพร้อมๆ กัน แล้วถอยกลับ ท่เี ดิมอยา่ งรวดเรว็ หรอื 2. ให้นักกีฬาแถวหนึ่งท�ำท่ากระโดดตบลูกอีกแถวหนึ่งย่อตัวท�ำท่ารับลูกสอง มอื ลา่ ง แถวท่ีกระโดดแล้วรบี ถอยกลบั ท่ีเดิมอีกแถวหนึ่งว่งิ เขา้ ท�ำท่ากระโดดตบบา้ งสลบั กนั แบบฝกึ ที่ 6 วธิ ปี ฏิบัติ 1. นักกีฬาเขา้ แถวตอน 3 แถว และมีนกั กฬี า 3 คน ยืนอยใู่ กลต้ าขา่ ย ดังรปู ให้นักกีฬาในแถวโยนบอลให้นักกีฬาท่ีอยู่หน้าตาข่ายๆ รับลูกได้แล้วก็โยนบอลข้ึนในระดับต่างๆ เพ่ือให้นักกฬี าเจา้ ของวิง่ เขา้ ไปกระโดดตบลกู ข้ามตาขา่ ยไปลงแดนตรงข้าม 2. คนตบลูกแล้ววิ่งไปแทนที่คนโยน คนโยนแล้วว่ิงไปเก็บลูกไปต่อท้ายแถว หมนุ เวียนกนั เรื่อยไป (ตบ 1 คร้ัง โยน 1 คร้งั แล้วเก็บลูกไปตบใหม)่ คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 159
การสกัดก้ันหรอื การบล็อก (Blocking) การสกดั กน้ั หรอื การบลอ็ ก (Blocking) นบั วา่ เปน็ ทกั ษะการเลน่ สว่ นบคุ คลทมี่ คี วามส�ำคญั มาก ทักษะหนึ่ง เน่ืองด้วยการสกัดกั้นหรือการบล็อก เป็นท้ังการป้องกันการรุกของฝ่ายตรงข้าม โดยผเู้ ลน่ แดนหนา้ แลว้ การสกดั กน้ั หรอื การบลอ็ กทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพกอ็ าจจะเปน็ การรกุ ไดโ้ ดยทนั ที ทกี่ ารสกัดกนั้ แลว้ ลกู บอลตกลงบนพื้นของฝ่ายตรงข้าม การสกดั ก้นั หรือการบลอ็ กอนุญาตให้ผเู้ ลน่ ยื่นมือไปแดนของคู่ตอ่ สู้ แต่ต้องไมร่ บกวนหรือเลน่ ลูกบอลกอ่ นทีค่ ู่ต่อสู้จะเล่นบอล ความหมายของการสกดั กนั้ หรือการบลอ็ ก (Blocking) กรมพลศกึ ษา ใหค้ วามหมายการสกดั กน้ั ไวว้ า่ การสกดั กนั้ คอื วธิ กี ารปอ้ งกนั การรกุ ของคตู่ อ่ สู้ ที่ถอื ว่าดี และมีประสิทธิภาพมากท่สี ดุ โดยอาจท�ำเพียงคนเดียวหรือเปน็ กล่มุ ก็ได้ การเตรียมพร้อมในการสกดั ทา่ เตรยี มพรอ้ มของผเู้ ลน่ ในการเตรยี มตวั เพอ่ื การสกดั กน้ั นนั้ จะยอ่ ตวั ลงเลก็ นอ้ ย มอื ทง้ั สองขา้ ง พรอ้ มทจ่ี ะเหยยี ดขน้ึ สงู สายตาจอ้ งจบั ทฝี่ า่ ยตรงขา้ ม ถา้ ลกู ฝา่ ยตรงขา้ มรกุ ดว้ ยบอลเรว็ กต็ อ้ งพรอ้ ม ทจ่ี ะกระโดดได้ทนั ที โดยมอื ทัง้ สองยกเตรียมพร้อมอยขู่ ้างใบหู เพอื่ เออ้ื มไปสกดั กน้ั บอล การสกัดก้ันจะได้ผลหรือไม่นั้นจ�ำเป็นต้องอาศัยการก้าวเท้าอย่างรวดเร็ว ซ่ึงปกติแล้ว ถ้าเปน็ 1-2 กา้ ว จะใชว้ ธิ ีการก้าวขึน้ ไปดา้ นหน้า (Side Step) แต่ถา้ เกิน 2 กา้ ว ควรใช้วธิ หี ันกลับตัว ว่ิงและหยุดเท้าเพื่อกระโดดสกัดกั้นและถอยหลังออกจากตาข่ายให้ได้อย่างรวดเร็ว ในลักษณะ เปน็ แนวเฉยี งโดยใช้การก้าวเทา้ แบบไขว้เท้า วอลเลย์บอลที่ดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้ในปัจจุบันเป็นเพราะดูมัน ทันใจ และ สถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นไปอยา่ งรวดเรว็ บางครง้ั จากไดเ้ ปรยี บเปน็ เสยี เปรยี บ แตบ่ างครง้ั จากเสยี เปรยี บ เป็นไดเ้ ปรยี บในชัว่ พริบตาเดียว เทคนคิ ทที่ �ำใหเ้ กิดสงิ่ เหล่านก้ี ค็ อื การสกดั กัน้ จะไดใ้ หบ้ ่อยๆ เม่อื ทมี ท่ที �ำการรุก (Attacking) ต้องผดิ หวังท้งั ที่ขณะผเู้ ล่นกระโดดขนึ้ ตบ ทุกคนคิดว่าฝ่ายรับไม่มีทางจะรับได้ แต่ช่ัวเส้ียวของวินาที สถานการณ์อาจเปล่ียนไปอย่างส้ินเชิง เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งสกัดก้ันการตบไว้ได้อย่างที่เรียกกันว่า “ไม่รู้ว่าใครตบใคร” เป็นเหตุให้ฝ่ายหัวเราะ ต้องกลายเป็นฝ่ายร้องไห้อยู่บ่อยๆ และเป็นที่ยอมรับว่า การสกัดก้ันท�ำให้รับกลายเป็นรุกและ รกุ กลายเปน็ รับได้ในพริบตา การสกัดก้ันจึงเป็นเทคนิคท่ีน่าสนใจฝึกเป็นอย่างย่ิงเช่นเดียวกับการเสิร์ฟ เพราะดูแล้ว เป็นเทคนคิ ธรรมดาๆ แตค่ วามจริงแล้วเป็นกุญแจส�ำคญั ที่จะน�ำทมี ไปสู่ชัยชนะได้อยา่ งงา่ ยๆ 160 คูม่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate
การเคลอ่ื นที่ในการสกดั กั้น การสกดั กั้นจะต้องเคลือ่ นที่ไปชว่ ยกันสกัดกั้น 3 แบบ คือ 1. แบบสไลด์เทา้ การเคล่ือนทีแ่ บบสไลด์เท้าใช้เคลอ่ื นทร่ี ะยะสนั้ ๆ โดยการกา้ วเท้าไปขา้ งๆ แล้วลากอกี เท้าหนง่ึ ตาม เชน่ เคล่อื นท่ไี ปทางขวา ใหก้ า้ วเท้าขวาไปข้างๆ 1 กา้ ว แล้วลากเท้าซา้ ย ตามเท้าขวา พร้อมกบั ถบี ตัวข้นึ บลอ็ ก 5 63 41 2 แสดงลกั ษณะการเคลื่อนที่แบบสไลด์เท้า 2. แบบก้าวไขว้เท้า การเคลื่อนท่ีแบบก้าวไขว้เท้าน้ีใช้บล็อกเม่ือลูกบอลอยู่ไม่ไกลตัว สมมุติว่าจะบล็อกทางขวามือให้บิดล�ำตัวไปทางขวามือเล็กน้อย พร้อมกับถ่ายน�้ำหนักตัวไปยังเท้า ขวาแล้วก้าวเท้าซ้ายไขว้หน้าเท้าขวา 1 ก้าว แล้วก้าวเท้าขวาตามไป ขณะท่ีก้าวเท้าซ้ายลงสู่พื้น ใหบ้ ิดปลายเท้าเข้าหาตาข่าย พรอ้ มกับกา้ วเทา้ ขวาตามในลกั ษณะเท้าขนานกันเพือ่ หันหน้าเขา้ หา ตาข่าย 6 54 32 1 แสดงลกั ษณะการเคลอื่ นท่ีแบบก้าวไขว้เทา้ 3. แบบว่ิง การเคลื่อนที่แบบวิ่งใช้ส�ำหรับการเคล่ือนท่ีไปบล็อกไกลจากตัวผู้บล็อก ถ้าวง่ิ เฉียงขนานกับตาข่าย เม่อื ถึงต�ำแหน่งทจ่ี ะบล็อกกป็ ดิ ปลายเท้าของก้าวสดุ ทา้ ยให้ปลายเท้าชี้ เขา้ หาตาข่ายแล้วกระโดดข้ึนบลอ็ ก แต่ถ้าวง่ิ เรว็ มากจนไม่สามารถบดิ ปลายเทา้ เขา้ หาตาข่ายได้ทัน ล�ำตวั กจ็ ะเฉยี งเขา้ หาตาขา่ ย ในชว่ งจงั หวะทก่ี ระโดดขน้ึ ไปแลว้ จงึ บดิ ตวั กลาอากาศ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ทา่ ทาง ในการบลอ็ กทีถ่ กู ตอ้ ง 135 246 161 แสดงลักษณะการเคลื่อนทแี่ บบว่งิ คมู่ ือผูฝ้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
ชาญฤทธ์ิ วงประเสรฐิ กลา่ ววา่ การเคลอื่ นไปข้างๆ เพ่ือท�ำการสกัดกั้นว่า การเคล่อื นที่ไป ดา้ นข้างขณะยืนอยชู่ ิดกบั ตาขา่ ย สามารถเคลอื่ นท่ไี ด้ 3 แบบ คือ 1. ถ้าเปน็ ระยะใกล้ๆ ควรเคลอ่ื นที่วิธกี ้าวเทา้ ไปดา้ นข้าง (Side Steps) 21 4 36 5 แสดงลกั ษณะก้าวเท้าไปข้างหนา้ (Side Steps) วิธกี ารสกัดกนั้ หรือการบลอ็ ก (Blocking) ทรงศกั ดิ์ เจริญพงศ์ กล่าวถงึ วิธกี ารสกดั กนั้ หรอื การบล็อก (Blocking) ไวด้ งั นี้ 1. การมองเพ่ือสกัดกั้น ล�ำดับการมองขณะท�ำการ สกดั กน้ั ตามองทต่ี วั ตบและเปลยี่ นมาทต่ี วั เซต แขนเหยยี ดขนึ้ ดา้ นหนา้ ชดิ กบั ตาขา่ ย แสดงลกั ษณะการมองเพอ่ื การสกดั กั้น 2. การเตรยี มพรอ้ ม ทา่ เตรยี มพรอ้ มยกมอื ขน้ึ เขา่ งอ เล็กน้อยพร้อมท่ีจะเคลื่อนที่เท้าแยกออก ยืนห่างจากตาข่าย ประมาณ 1 ช่วงแขน ใหไ้ หลท่ ั้งสองขนานกับตาข่าย แสดงลักษณะการยนื เตรยี มพร้อม 162 คูม่ อื ผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate
3. ถา้ ตอ้ งเคลอื่ นทเ่ี ปน็ ระยะไกล กลา่ วคอื ตอ้ งกา้ วเทา้ กนั หลายก้าว การเคลอื่ นที่โดยวธิ กี ารไขว้เท้า (Cross Step) 3 5 1 24 6 แสดงลักษณะเคลอ่ื นทแ่ี บบก้าวไขวเ้ ท้า (Cross Step) 4. การหมนุ ตวั กลบั และวงิ่ ไปยงั ดา้ นนนั้ ๆ (Turn to the Side and Run) เป็นการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว โดยหมุนตัวไป ดา้ นข้างและวิง่ แล้วจงึ หนั ตวั กลบั เข้าหาตาข่ายดว้ ยการหยุดเทา้ แล้วสกดั กัน้ 135 246 แสดงลักษณะการเคลอื่ นทห่ี มุนตวั กลบั และว่ิงไปด้านข้าง 5. พรอ้ มทจ่ี ะเคลอ่ื นทหี่ ลงั จากเคลอ่ื นทไี่ ปยงั ต�ำแหนง่ แลว้ ผสู้ กดั กน้ั ตอ้ งอา่ นรปู แบบการรกุ และพรอ้ มทจี่ ะกระโดด ตาดทู มี่ อื ของตัวเซต ถา้ เปน็ การตบลกู เร็ว มือต้องยกสูงตลอด แสดงลักษณะพรอ้ มทีจ่ ะเคลอ่ื นที่ 6. การย่อเข่าลงให้มาก เมื่อเคล่ือนท่ีไปถึงต�ำแหน่งแล้ว ผู้สกัดกั้นต้องพร้อมที่จะกระโดดให้เร็วท่ีสุด ตามองท่ีตัวตบ ย่อเขา่ ลงให้มากเพ่อื ใหม้ ีแรงส่งมาก คมู่ อื ผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate แสดงลักษณะการยอ่ เขา่ ลง 163
7. การยกแขนขึ้น เหยียดขาขึ้น แขนเริ่มยกข้ึน เพ่ือพร้อมท่ีจะเหยียดไปที่ด้านหน้าล�ำตัว พยายามรักษา การทรงตัวให้ดี แสดงลักษณะการยกแขนข้นึ 8. ไหล่ขนานตาข่าย เข่าและศอกเร่ิมเหยียด โดยใช้ ข้อเท้าดันพ้ืน ไหล่ยังคงขนานตาข่ายแขนทั้งสองข้างอยู่หน้า ล�ำตัวและใบหน้า แสดงลกั ษณะไหล่ขนานตาขา่ ย 9. การเหยียดแขนและขา การเหยียดแขนให้ขึ้นไป เหนือตาข่าย แขนอยู่หน้าล�ำตัวเพ่ือย่ืนเข้าหาตาข่ายได้อย่าง รวดเรว็ ทุกสว่ นของรา่ งกายต้องเหยยี ดใหม้ า แสดงลกั ษณะการเหยยี ดแขนและขา 10. การเหยียดศอกต้องพยายามเหยยี ดแขนใหล้ �ำ้ แนว ตาข่ายเข้าไปในแดนของฝ่ายตรงข้ามข้อศอกเหยียดให้สูงกว่า ตาขา่ ย ตาดทู ่ตี วั ตบ แสดงลักษณะการเหยยี ดศอก 164 คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
11. การเหยียดแขนชิดตาข่าย แขนและมือต้องกว้าง นอ้ ยกวา่ ลกู บอล หักขอ้ มือลงเพื่อให้ลูกกระดอนลงพื้น แขนท้ังสอง อยชู่ ดิ ตาข่ายเทา่ ที่จะท�ำได้ แสดงลักษณะการเหยยี ดแขนชิดตาข่าย 12. การยื่นปลายแขน เหยียดไหล่และยื่นปลายแขน เขา้ ไปเหนือตาขา่ ย มอื และนิว้ เกร็งแขนตงึ แสดงการยน่ื ปลายแขนเข้าไปเหนือตาข่าย 13. การย่ืนมือไปที่ลูก แขนต้องใกล้ตาข่าย ศีรษะ ตง้ั ตรง ตามองท่ตี วั ตบ เหว่ียงแขนขน้ึ เป็นจังหวะเดียวกบั การยื่นมือ ไปหาตาข่าย แสดงการยื่นมือไปที่ลูก แสดงลักษณะการสกัดกั้นหรือการป้องกันของผเู้ ล่นแถวหน้า 3 คน คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 165
ชาญฤทธ์ิ วงษป์ ระเสรฐิ กลา่ ววา่ ลกั ษณะการสกดั กน้ั แบบตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ทา่ ทางของผสู้ กดั กน้ั ต�ำแหนง่ และการเคลอื่ นท่ี (Blockers Posture, Position and Movements) 1.1 ต�ำแหนง่ และทา่ ทางของผสู้ กดั กน้ั ผสู้ กดั กนั้ ตอ้ งยกมอื ทง้ั สองข้างขึ้นมาระดบั หัวไหล่หัวเข่าย่อลงเลก็ นอ้ ย และพงุ่ ความสนใจ ไปยงั การเคลอ่ื นไหวของตวั ตบทมี ตรงขา้ ม เมอื่ ทมี ตรงขา้ มจะเรม่ิ ท�ำการรกุ แสดงลกั ษณะต�ำ แหน่ง ผสู้ กดั กน้ั ตอ้ งอยใู่ นลกั ษณะยอ่ ตวั ลงตำ�่ พรอ้ มจะกระโดด โดยสะเอวและ และท่าทางของผูส้ กัดกน้ั หวั เขา่ งอท�ำมมุ เกอื บ 100 องศา เพอ่ื ใหล้ อยตวั ไดส้ งู ทสี่ ดุ เมอ่ื กระโดดขน้ึ ไป 1.2 ต�ำแหน่งของผู้เล่นแถวหน้า 3 คน แสดงลักษณะของผ้เู ลน่ แถวหน้า ในการสกดั กน้ั ถา้ ทมี ตรงขา้ มมกั จะท�ำการรกุ ดว้ ยการตบ 3 คน ในการสกดั ก้ัน บอลเร็วจากต�ำแหน่งกลางหนา้ ผู้สกดั ก้นั ทงั้ 3 คน ตอ้ ง ยนื ใกลๆ้ กนั ทตี่ �ำแหนง่ กลางหนา้ มงุ่ ความสนใจไปทผี่ เู้ ลน่ ทีมตรงข้าม ซ่ึงเคล่ือนท่ีท�ำการตบท่าทางของตัวเซต และการเคล่ือนท่ีของตัวตบบอลเร็วต�ำแหน่งกลางหน้า เพ่อื คาดการณ์วา่ ทมี ตรงขา้ มจะใชร้ ปู แบบใดในการรุก 1.3 มมุ ในการยอ่ ตวั กอ่ นกระโดด สกดั กน้ั เพอ่ื กระโดดใหส้ งู ในการสกดั กน้ั ผเู้ ลน่ ตอ้ ง ยอ่ ตวั ใหส้ ะเอวและหวั เขา่ ท�ำมมุ ทเ่ี หมาะสม แลว้ จงึ ถบี ตวั ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ ทกุ สว่ นของล�ำตวั ยดื ตรง สะเอวและหัวเข่าควรท�ำมุมประมาณ 100 องศา เช่นเดียวกับการกระโดดตบบอลยกข้อศอกข้ึน ข้างล�ำตวั และเหวี่ยงแขนขนึ้ เพอ่ื ท�ำการกระโดด แสดงลักษณะมมุ ในการย่อตัวก่อนกระโดด สกดั กัน้ เพ่อื กระโดดใหส้ งู ในการสกัดกัน้ 166 คู่มือผู้ฝึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
2. การเออื้ มมือขา้ มตาขา่ ยเข้าไปสกัดกั้น 2.1 ใช้การสกัดกั้นเป็นการรุก ตัวผู้สกัดกั้นเอ้ือม มือเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามได้บอลจะสะท้อนกลับจากมือ เป็นมุมแคบๆ ฝ่ายตรงข้ามจะรับบอลได้ยากมาก การเอื้อมมือ เข้าไปสกัดกั้นในแดนของทีมตรงข้ามได้จะมีผลดีมากกว่า การเหยยี ดแขนขึ้นสกดั กนั้ ในแดนของตนเอง แสดงลักษณะใชก้ ารสกดั กั้นเปน็ การรกุ 2.2 การสกัดกั้นเพื่อให้บอลสะท้อนกลับลงบน พื้นสนาม การสกัดก้ันให้บอลท่ีทีมตรงข้ามตบมาสะท้อนกลับ ลงบนพื้นสนาม ต้องดึงสะโพกออกจากตาข่าย แต่เอ้ือมมือ ข้ามตาข่ายเข้าไปในแดนตรงข้าม พยายามท�ำมือให้เป็นรูป ของหลังคา แสดงลกั ษณะสกัดก้ันเพื่อใหบ้ อล สะทอ้ นกลบั ลงบนพนื้ สนาม 3. การสกดั ก้ัน 3.1 การสกัดก้ันและการดักทิศทางของบอลที่ตบมา การสกัดก้ันที่ดีต้องอาศัย การกระโดดสูงเท่าๆ กับการดักทิศทางของบอล จากรูปนี้จะเห็นได้ว่าผู้สกัดกั้นสองคนจับตา อยทู่ ่ีตัวตบและดกั ทศิ ทางของบอลท่ตี บมา แสดงลกั ษณะการสกัดกั้นและการดกั ทิศทางของบอลท่ตี บมาสนาม 167 คูม่ อื ผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
3.2 การโยกตัวในอากาศ ขณะท�ำการสกัดกั้น การสกัดกั้นผู้เล่น จะกระโดดเหยียดแขนสูงข้ึนไปในอากาศ ถ้ามีช่องว่างระหว่างผู้สกัดก้ันสองคน จะต้องพยายามปิดช่องว่างโดยการโยกตัว เข้าหากัน การสกัดก้ันเป็นการเคล่ือนท่ี หลังจากการกระโดดผู้สกัดก้ันต้องปรับ ต�ำแหน่งของตนเองขณะลอยตัวในอากาศ ตามทศิ ทางของตัวตบ แสดงลกั ษณะการโยกตัวในอากาศขณะทำ�การสกัดก้นั 3.3 การสกดั กน้ั ซอ้ นกนั ของผเู้ ลน่ สองคน ถา้ ผเู้ ลน่ สองคน ท�ำการสกดั ก้นั ทิศทางของบอลทีถ่ กู ตบมาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แต่มอื ของ ผเู้ ลน่ สกดั กนั้ ซอ้ นกนั ดงั ในภาพ ท�ำใหก้ ารสกดั กนั้ แคบลง ดงั นน้ั ผสู้ กดั กน้ั สองคนตอ้ งรว่ มกนั ก�ำหนดศนู ยก์ ลางของการสกดั กนั้ เพอ่ื ควบคมุ พน้ื ท่ี สนามไดม้ ากท่ีสดุ แสดงลักษณะการสกดั กั้นซ้อนกันของผ้เู ลน่ สองคน 3.4 การสกัดกน้ั เกิดชอ่ งว่างของผเู้ ลน่ สองคน ถา้ บอล ผ่านช่องว่างระหว่างผู้สกัดก้ันสองคน ถือว่าเป็นความผิดพลาดของ ผเู้ ลน่ กองหนา้ ทไ่ี มก่ ระโดดขนึ้ สกดั กนั้ ใหช้ ดิ กบั ผสู้ กดั กนั้ หลกั หมายเลข 6 ยังดีท่ีผู้สกัดก้ันหลักในรูปนี้สกัดก้ันได้ตรงกับทิศทางของบอลพอดี จงึ ท�ำการสกัดก้นั ไดส้ �ำเรจ็ แสดงลกั ษณะการสกดั กนั้ เกดิ ช่องวา่ งของผู้เลน่ สองคน 4. การสกัดก้ันสามคน ถา้ ตวั ตบทมี ตรงข้ามตบดมี าก หรอื สามารถอ่านทศิ ทาง การสง่ บอลของตวั เซตไดถ้ กู ตอ้ งกจ็ �ำเปน็ ทผี่ เู้ ลน่ สามคนท�ำการสกดั กนั้ พร้อมกัน อย่างไรก็ตามการสกัดกั้นสามคน ท�ำให้เหลือผู้ต้ังรับบอล เพยี งสามคน อาจท�ำให้การรับมีประสทิ ธภิ าพน้อยลง แสดงลกั ษณะการสกัดกั้นสามคน 168 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
แบบฝึกการสกดั ก้ัน แบบฝึกท่ี 1 วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 1. นกั กฬี ายนื เขา้ แถวหนา้ กระดาน 3 แถว หนั หนา้ ไปทางผฝู้ กึ สอนทแี่ ดนตรงขา้ ม 2. ผู้ฝึกสอนให้จังหวะการเคลื่อนที่ประกอบทักษะการสกัดกั้น (ซ้าย-กระโดด, ขวา-กระโดด, หนา้ -กระโดด) ให้นกั กฬี าปฏบิ ตั พิ รอ้ มกันทั้งหมด แบบฝกึ ท่ี 2 วธิ ีปฏบิ ัต ิ 1. นกั กฬี าจบั คกู่ ัน น่งั -ยนื ยกมืออยูใ่ นท่าเตรยี มสกัดก้ัน 2. เมื่อผู้ฝึกสอนให้สัญญาณ ให้นักกีฬาคนหนึ่ง (น่ัง-ยืนหรือกระโดด ย่ืนมือ ท�ำทา่ สกดั กน้ั ตรงหน้า, ซ้ายหรอื ขวา นกั กฬี าอีกคนหนงึ่ ตอ้ งพยายามปฏิบัตติ ามให้ถูกทิศทางโดยเร็ว เป็นการฝึกการคาดคะเนทศิ ทางของคู่ตอ่ สู้ แบบฝึกท่ี 3 วธิ ีปฏิบตั ิ 1. นักกีฬาเขา้ แถวตอนนอกสนาม คนละด้าน 2. ใหน้ กั กฬี าหวั แถวแตล่ ะดา้ น เดนิ ไปทหี่ นา้ ตาขา่ ยท�ำการกระโดดสกดั กน้ั แลว้ เคล่ือนทพี่ รอ้ มกนั 3 จดุ หน้าตาข่าย แล้วว่ิงไปต่อท้ายแถวต่อไป ค่มู ือผ้ฝู กึ สอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate 169
แบบฝกึ ท่ี 4 วิธปี ฏิบตั ิ 1. นักกีฬาเข้าแถวตอน 4 แถว ดงั รปู 2. ให้นักกฬี าหัวแถวแตล่ ะแถว กระโดดสกดั กัน้ กับนกั กีฬาทอ่ี ยู่ตรงข้ามตนเอง ด้านตรงข้ามอยู่กับท่ี 1 คร้ัง แล้วเคลื่อนไหวไปต�ำแหน่งกลางหน้า กระโดดสกัดก้ันพร้อมกัน ทง้ั 4 คน อีก 1 ครั้งแลว้ กลบั ไปตอ่ ท้ายแถวตนเอง แบบฝกึ ท่ี 5 วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 1. นกั กฬี าเขา้ แถวตอนสองแถว ผฝู้ กึ สอนยนื บนทส่ี งู หนา้ ตาขา่ ยในแดนตรงขา้ ม 2. ให้นักกีฬาหัวแถวทั้งสองกระโดดสกดั กน้ั ลกู จากการตบของผู้ฝกึ สอนพรอ้ มกนั แล้วว่ิงไปต่อท้ายแถวตนเอง แบบฝึกที่ 6 วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 1. นกั กฬี าถอื บอลทแี่ ถวตอนดงั รปู โดยมนี กั กฬี าทจ่ี ะฝกึ การสกดั กน้ั ยนื หนา้ ตาขา่ ย ด้านตรงข้าม ผู้ฝึกสอนยืนในต�ำแหน่งกลางหน้า 2. นักกีฬาคนหัวแถวส่งบอลให้ผู้ฝึกสอนเซตลูกสูง แล้ววิ่งเข้าตบลูก นักกีฬา ทฝ่ี ึกการสกดั ก้ันก็กระโดดการสกดั ก้ันลกู ไว้ ใหค้ นตบๆ บอลใส่มอื ผ้สู กดั กนั้ แล้วเก็บบอลไปต่อท้ายแถว เตรยี มตบต่อไป 170 คมู่ อื ผ้ฝู กึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate
ผูเ้ ลน่ ตวั รบั อิสระหรอื ลโิ บโร่ (The Libero) ลโิ บโร่ หรอื ผเู้ ลน่ ตวั อสิ ระ ส�ำหรบั นกั กฬี าวอลเลยบ์ อลในปจั จบุ นั ลโิ บโร่ ถอื วา่ เปน็ ต�ำแหนง่ ท่ีมบี ทบาทส�ำคญั ต�ำแหนง่ หน่งึ เพราะหลงั จากท่ีกตกิ าการนับแตม้ ได้เปลีย่ นมาเป็นระบบ Rally-Point ท�ำให้ทีมต่างๆ น้ัน ต้องใส่ใจในรายละเอียดในการท�ำแต้ม และการป้องกันการเสียแต้มมากขึ้น ดงั นนั้ ลโิ บโรจ่ ะมอี ทิ ธพิ ลในการทจ่ี ะท�ำใหแ้ ทค็ ตคิ และยทุ ธวธิ ใี นการเลน่ ของทมี ประสบความส�ำเรจ็ มากข้นึ ลิโบโร่ เป็นผู้เล่นท่ีช่วยให้ยุทธวิธีในการรุกมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในเรื่องของการท�ำการรุก ครั้งแรกในประเทศไทย จะใช้ศพั ท์ท�ำการรุกครั้งแรกวา่ k 1 หรอื c 1 คือเริม่ จากการรับลูกเสริ ์ฟ เขา้ หาตัวเซต ตัวเซตต้งั บอลใหต้ วั ตบ ตวั ตบ ตบบอลลงฝัง่ ตรงขา้ ม น่ีคอื k 1 หรือ c 1 (Complex1) ถา้ ตบไปแล้วตดิ บลอ็ กลงมาฝัง่ เรา หรือตบไปแลว้ ค่ตู ่อสู้รบั ไดแ้ กไ้ ขกลับมา บอลลงมาฝง่ั เรา ก็ต้อง ใช้ k 2 หรือ c 2 ตอ่ ไป ส�ำหรบั กีฬาวอลเลยบ์ อล แพ้ชนะขนึ้ อยูก่ บั การท�ำ k 1 มากกวา่ k 2 ในหนึง่ เซต ตอ้ งใช้ k 1 ประมาณ 70-80 เปอร์เซน็ ต์ ในจ�ำนวนแตม้ 25 แต้ม ดังนน้ั ในการฝกึ ซอ้ มตอ้ งท�ำการฝกึ ซอ้ ม k 1 ให้มีความช�ำนาญ โดยผเู้ ล่นท่จี ะมบี ทบาทส�ำคัญกค็ ือลิโบโร่ เพราะ k 1 จะสมบูรณ์แบบหรอื ไม่ ก็อาจจะข้นึ อยู่กบั การรับบอลเสริ ฟ์ เป็นหลักส�ำคญั จากการวจิ ยั ธรรมชาตขิ องกฬี าวอลเลยบ์ อลในระดบั สงู ในปจั จบุ นั พบวา่ เปอรเ์ ซน็ ต์ ในการ รับบอลของลโิ บโร่นั้น จะรบั บอลเสิร์ฟ ประมาณ 20-30 เปอร์เซน็ ต์ ในการรับบอลตบนัน้ มเี พียง 7-8 เปอร์เซ็นต์เท่าน้ัน สาเหตุเป็นเพราะว่ายุทธวิธีในการรุกในปัจจุบันมีประสิทธิภาพมากข้ึน นกั กฬี ากม็ ปี ระสทิ ธภิ าพในการเลน่ มากขนึ้ ดงั นน้ั เปอรเ์ ซน็ ตใ์ นการออกแบบการฝกึ ซอ้ มนกั กฬี าระดบั สงู ควรออกแบบฝึกมาให้ลิโบโร่ท�ำการรับบอลเสิร์ฟมากกว่ารับบอลตบ ทั้งน้ีจะไม่รวมถึงนักกีฬา วอลเลยบ์ อลระดบั กลางและไมร่ ะดบั ลา่ ง เพราะนกั กฬี าระดบั กลางและระดบั ลา่ งตอ้ งเรยี นรทู้ กั ษะ ทงั้ หมดใหล้ ะเอยี ดก่อน ลักษณะพเิ ศษของผู้เล่นลิโบโร่ - เปน็ ผูท้ ี่มสี ภาพร่างกายแขง็ แรง - มคี วามคลอ่ งตัวสูง - มปี ฏิภาณไหวพริบดี (ปฏิกริ ยิ าตอบสนอง) - มคี วามเขา้ ใจในเกมกีฬาวอลเลย์บอลเปน็ อยา่ งดี - มคี วามสามารถดา้ นทกั ษะกฬี าวอลเลย์บอลท่ีดี โดยเฉพาะการรับบอลและการเซต - มสี ภาพจติ ใจทแี่ ข็งแกร่ง มคี วามมัน่ คงในอารมณ์ไม่หงดุ หงดิ งา่ ย คมู่ อื ผูฝ้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 171
- มีความมุง่ มน่ั สูง - มสี ภาวะผู้น�ำ - เปน็ ผปู้ ระสานงานท่ีดี - ถ้ามีรูปร่างสูงยาวจะไดเ้ ปรยี บมาก หนา้ ทีข่ องลิโบโร่ ผู้เล่นท่ีเป็นลิโบโร่ ส่วนใหญ่จะรับบอลที่มาจากการเสิร์ฟและมาจากการรุกของคู่ต่อสู้ ดงั นน้ั ลโิ บโรต่ อ้ งเปน็ ผสู้ งั เกตการณท์ ดี่ ี จงึ จะสามารถท�ำหนา้ ทไ่ี ดโ้ ดยสมบรู ณ์ ซง่ึ ลกั ษณะทจี่ ะตอ้ งสงั เกต ในการรับบอล มีดังน้ี การรบั บอลเสิรฟ์ - สงั เกตผูท้ ่ีจะท�ำการเสิร์ฟ วา่ ใช้วิธกี ารเสริ ฟ์ แบบใด กระโดดเสริ ์ฟ หรือยืนเสิร์ฟ ฯลฯ - ทศิ ทางของบอลมาทางใดมากทส่ี ุด - คนเสิรฟ์ มสี ภาพจิตใจเปน็ อย่างไร แตม้ 23 : 23, 24 : 24 ทผี่ า่ นมาเขาเสริ ์ฟอย่างไร กเี่ ปอร์เซน็ ต์ - มีการเสิร์ฟสั้น-ยาวไปหลังบ้างหรือเปล่า ถ้ามี เสิร์ฟตอนสถานการณ์อย่างไร เป็นต่อ หรือเป็นรอง - คุณภาพของการเสิร์ฟเป็นอย่างไร เสียบ่อยหรือไม่ เฉล่ียออกมาก่ีเปอร์เซ็นต์ในแต่ละ สถานการณ์ - มีการเสิรฟ์ ใสต่ วั ตีบอลหลกั ของเราที่อยู่แดนหนา้ หรือไม่ การรบั บอลตบ - ตอ้ งทราบขอ้ มลู ของตวั ตบบอลวา่ ท�ำหนา้ ทตี่ บบอลอะไรลกู เรว็ หรอื ลกู โคง้ หนา้ ตาขา่ ย - ตวั ตบตบบอลหลากหลายทศิ ทางหรือไม่ หรอื ชอบตบบอลทางเดียว - ตวั ตบมสี ภาพจติ ใจเปน็ อยา่ งไร มงุ่ มนั่ ตลอดเวลาหรอื ไม่ เวลาตบตดิ บลอ็ กแสดงอาการกลวั ออกมาใหเ้ ห็นหรือเปลา่ แตม้ เทา่ ๆ กนั ใกลจ้ ะเกม ตัวเซตยกให้ตวั นต้ี ีบอ่ ยหรือไม่ - เวลาบล็อก ตวั ตบตวั นีช้ อบตหี รือหยอด - ตอ้ งทราบความสามารถของบลอ็ กในแตล่ ะหน้าของทีมเรา - ตอ้ งทราบว่าคนใดบลอ็ กกอ่ น คนใดบล็อกดี - มีการประสานงานท่ีดีในทีมรับสามคนแดนหลัง ใครจะขึ้นไปรองหยอด ใครจะถอย ตอ้ งท�ำจนเปน็ อัตโนมัติ - มีการอา่ นเกมการบลอ็ กท่ีดี ถ้ามีชอ่ งวา่ งระหวา่ งบล็อกตอ้ งทราบโดยอตั โนมตั ิทันทวี า่ จะต้องท�ำอยา่ งไร 172 คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอล T-Certificate
หลักการฝกึ ซ้อมลโิ บโร่ - ฝึกให้ลิโบโร่เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง ในการฝึกรับบอลทุกๆ ช่วงของการฝึกซ้อม โคช้ ตอ้ งพยายามหาวธิ กี ารฝกึ ใหผ้ เู้ ลน่ ลโิ บโรเ่ กดิ ความเชอ่ื มน่ั ในตนเองใหไ้ ด้ เพราะถา้ ฝกึ ใหน้ กั กฬี า เกดิ ความเช่อื ม่ันในตวั เองได้เทา่ กับว่าประสบความส�ำเร็จไปแลว้ 75 % - ฝกึ เทคนคิ ในการรับบอลในชว่ งตน้ ๆ ชวั่ โมงของการฝกึ ซ้อม - ฝึกความมงุ่ ม่นั จดจอ่ ในเกมส์ในชว่ งท้ายชัว่ โมงของการฝกึ ซอ้ ม - ฝกึ การเคลอ่ื นทขี่ องตวั ลโิ บโรใ่ นทกุ ๆ ทศิ ทางทเี่ ขา้ รบั บอลตามระบบการตงั้ รบั บอลเสริ ฟ์ และบอล defence - แก้ไขข้อผิดพลาดในการเคลื่อนของเท้าในการรับบอลให้เข้าเป้าหมายอย่างจริงจัง อยา่ ปลอ่ ยปะละเลย - พยายามรักษาลกั ษณะทา่ ทาง ล�ำตวั รปู แบบการรบั บอลให้เข้าเปา้ หมาย - ฝึกซอ้ มเกมการแข่งขันให้เหมือนสถานการณ์จริง วธิ กี ารออกแบบการฝึก - ออกแบบฝกึ ในการรับบอลเสิรฟ์ - ออกแบบฝกึ ในการรับบอลตบ - ออกแบบฝกึ ในการรองรบั บอลตบ รบั บอลเสริ ฟ์ ตรงหน้า แบบเคล่อื นท่ไี ปรับ C - โคช้ เปน็ ผโู้ ยนบอลจากงา่ ยไปยาก - ลโิ บโรอ่ อกจากต�ำ แหนง่ 5, 6 หรอื 1 มารับบอลเข้าจุด - ความเร็วเรม่ิ จากงา่ ยไปหายาก - หลงั จากนน้ั โคช้ เปลยี่ นต�ำ แหนง่ ถอยไป ใหเ้ หมอื นการเสิรฟ์ จรงิ L คมู่ อื ผูฝ้ กึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 173
แบบฝกึ ในการรบั บอลเสริ ์ฟด้านข้างลำ� ตวั เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบ่อยในระหว่างการท�ำแข่งขัน บอลที่มาทางข้างล�ำตัวจะมีความเร็ว และแรงคนรับมักจะวางมือไม่ทันหรือช้าไปท�ำให้บอลนั้นไม่เข้าเป้าหมาย ดังนั้น ต้องฝึกให้ลิโบโร่ คิดถึงจุดท่ีสัมผัสบอลให้ทันเวลา โดยหันมือหรือล�ำตัวชี้ไปทางเป้าหมายให้ได้และใช้การยืดหยุ่น ของล�ำตวั ชว่ งบนผ่อนแรงบอลท่มี าดว้ ยความเร็วและแรง C - โค้ชเสิร์ฟบอลให้รับข้างลำ�ตัวซ้าย-ขวา เริม่ จากง่ายไปหายาก - หลงั จากนนั้ โคช้ ถอยไปยนื บนโตะ๊ เสริ ฟ์ บอล C มาในระยะประมาณ 3.5-4 เมตร ฝึกให้ ลโิ บโรเ่ คล่อื นท่ไี ปรับข้างล�ำ ตวั ซ้าย-ขวา - ฝกึ รับต�ำ แหน่ง 5, 6, 1 ใหเ้ ขา้ จดุ ตัวเซต L ลกั ษณะในการเตรียมพร้อมทจ่ี ะรับบอลของตัวลิโบโรค่ ือ - ต้องยืนอยูใ่ นต�ำแหน่งเตรยี มพร้อม - ท่าทางการรบั ตอ้ งยืนบนเท้าทั้งสองขา้ ง ไม่เอนไปด้านใดดา้ นหน่ึง - กางแขนออกข้างล�ำตัว ยืดอก งอเข่าเล็กน้อย ไม่ย่อลงไปมาก เพราะยากแก่การรุก ขึ้นไปเล่นบอล - กอ่ นมือสมั ผัสบอลตัวต้องหยดุ ทกุ ครั้ง ไม่ใชส่ มั ผสั บอลแลว้ ตวั ยงั ไมห่ ยุดนิ่งเลย ฝกึ รบั บอลสองมอื บน กฬี าวอลเลยบ์ อลในปจั จบุ นั กตกิ าอนญุ าตใหล้ กู แรกนน้ั สามารถทจี่ ะเลน่ ลกู สองมอื บนได้ โดยไมผ่ ดิ กตกิ า ดงั นนั้ การรบั บอลเสริ ฟ์ แบบสองมอื บนจงึ มคี วามส�ำคญั มากในการรบั เสริ ฟ์ แบบ Float serve วธิ ีการฝึก - ใหล้ โิ บโรย่ นื หา่ งจากตาขา่ ยประมาณ 4-5 เมตร โคช้ ตบบอลมาตรงหนา้ ของลโิ บโรใ่ หล้ โิ บโร่ ใชส้ องมอื บนส่งบอลเขา้ จุดที่ตัวเซตยนื - ในการฝึกใหฝ้ กึ จากง่ายไปหายาก - ความแรงของบอลทม่ี าจากการท�ำ Float serve จะไมม่ คี วามรนุ แรงเหมอื นการกระโดดเสริ ฟ์ 174 คมู่ ือผ้ฝู กึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
ฝกึ รบั บอลในสถานการณต์ ่างๆ - บอลทีม่ าจากการเสิร์ฟดว้ ยความรนุ แรง - บอลทีต่ กลงตรงจุดเกรงใจ - บอลทจี่ ะตอ้ งรบั จงั หวะสอง (บอลเสยี จงั หวะ เชน่ บอลอาจจะถกู ตาขา่ ยระหวา่ งแขง่ ขนั หรือบอลทีค่ นเสิร์ฟกระโดดขึน้ เสิรฟ์ ดว้ ยความรนุ แรงแตไ่ ม่เสริ ์ฟกลับตีเบาๆ หยอดลงมา) รปู แบบการตั้งรับเสิรฟ์ ของลิโบโร่ ในการตั้งโซนการรับบอลเสิร์ฟ ลิโบโร่ต้องรับผิดชอบพ้ืนที่ในการรับบอลเสิร์ฟมากกว่า ผู้เล่นคนอ่ืนๆ ท้ังนี้ก็เพื่อจะกดดันคนเสิร์ฟ เพราะโดยปกติคนเสิร์ฟจะเสิร์ฟบอลหนีผู้เล่นที่เป็น ลโิ บโร่ ดงั น้ันถ้าลิโบโร่บบี พ้ืนท่ใี ห้ผเู้ ล่นคนอื่นรบั ผดิ ชอบพ้ืนทีน่ ้อยลงท�ำใหค้ นเสิรฟ์ นัน้ ต้องเสิรฟ์ ลง ผเู้ ลน่ คนอน่ื ดว้ ยความยากล�ำบาก เพราะถา้ เสริ ฟ์ ไมต่ รงบอลอาจจะออกขา้ งสนามกไ็ ด้ หรอื ถา้ เสริ ฟ์ ไม่ดกี เ็ ข้าต�ำแหน่งลโิ บโร่ 4 รูปแบบการเสิร์ฟแสดงพ้ืนที่รับผิดชอบ 5 ของลิโบโร่ - ตำ�แหน่งตวั เซตอยูต่ ำ�แหนง่ 5 32 - ลิโบโรเ่ ขา้ ไปแทนต�ำ แหนง่ 6 L1 รปู แบบการรบั บอลเสิร์ฟ เมอื่ ลิโบโรเ่ ข้ามาแทนต�ำแหนง่ 1 ตวั เซตอยตู่ �ำแหนง่ 6 2 4 3 6 5L รปู แบบการรับบอลเสริ ฟ์ เมอื่ ลิโบโร่เขา้ มาแทนต�ำแหนง่ 5 และตวั เซตอย่ตู �ำแหนง่ 1 4 L 3 21 6 คูม่ อื ผ้ฝู ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 175
การรับบอลตบ ในการรบั บอลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพของผเู้ ลน่ ทเ่ี ปน็ ลโิ บโรน่ น้ั นอกจากจะขนึ้ อยกู่ บั การสงั เกต ผ้เู ล่นท่ที �ำการรกุ ของฝ่ายตรงขา้ มแล้ว ยังขึน้ อย่กู ับระบบการบลอ็ กของฝ่ายเรา ดงั นัน้ ผ้เู ลน่ ลโิ บโร่ ต้องอ่านเกมการแข่งขนั ให้ละเอยี ดถี่ถ้วน จนสามารถคาดการณ์ลว่ งหนา้ ไดว้ ่าลกั ษณะการเซตของ ค่ตู ่อสูแ้ บบน้ีจะบลอ็ กกค่ี น หนงึ่ คน สองคน หรอื สามคน 432 51 L - ในการสกัดก้ันคนเดยี ว ลิโบโร่ต้องรวู้ า่ คนบลอ็ กของเราจะบล็อกตรงไหน จะคลุมด้านซา้ ย หรอื ดา้ นขวาด้วยการสอื่ สารหรอื นดั แนะกันกอ่ นทจ่ี ะท�ำการบลอ็ ก 4 32 51 L การต้งั รบั แดนหลงั เม่อื มีการสกัดก้ันคนเดยี ว 432 432 51 51 L L 176 คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
การต้งั รบั แดนหลังเมอื่ มีการสกัดกัน้ สองคน 32 1 32 44 5 15 LL การตั้งรบั เมื่อตวั สกัดกน้ั ตรงกลางไมส่ ามารถไปชว่ ยตวั ริมท�ำการสกดั ก้นั ได้ทนั 4 32 5 1 L การทล่ี โิ บโรท่ ำ� หนา้ ทไี่ ดป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในการรบั บอลจากการรกุ ของคตู่ อ่ สคู้ อื - ท�ำอย่างไรก็ได้ให้บอลสัมผัสมือขึ้นมาโดยไม่จ�ำเป็นต้องให้ตัวเซตก็ได้ ถ้าบอลมาด้วย ความเร็วและแรง - สามารถท�ำการต่อบอลใหเ้ พือ่ นตบได้ - สามารถเปล่ยี นต�ำแหนง่ จาก 6 เปน็ 5 หรือต�ำแหนง่ 1 กไ็ ด้ เพอ่ื กดดันตัวตบใหต้ บหนี ต�ำแหนง่ ลโิ บโร่ในการตงั้ รบั ค่มู ือผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 177
บ ทท่ี 8 มนิ ิวอลเลยบ์ อล มินิวอลเลย์บอล การเร่ิมเล่นกีฬาวอลเลย์บอลท่ีได้รับรองและสนับสนุนโดยสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) โดยเป็นเกมการเล่นส�ำหรับเด็กท่ีมีอายุเร่ิมเล่นระหว่าง 9-10 ปี ไปจนถงึ 12-13 ปี ทงั้ นี้ โดยกฎ กตกิ าและระเบยี บการเลน่ ทแี่ นน่ อนชดั เจน โดยสมาคมวอลเลยบ์ อล จะก�ำหนดอายทุ แี่ ตกตา่ งกนั ของการแขง่ ขนั ในระดบั ใดระดบั หนง่ึ ในระดบั โรงเรยี น เชน่ อายไุ มเ่ กนิ 12 ปี เปน็ ต้น โดยแข่งขนั เพอื่ พฒั นานกั กีฬาในระดบั ต่างๆ ของประเทศน้ันๆ การเลน่ มนิ วิ อลเลยบ์ อลในโรงเรียน ปรัชญาการสอนมินิวอลเลย์บอล คือ การเร่ิมต้นสู่เกมการเล่นวอลเลย์บอลอย่างถูกต้อง “เราจะปลูกฝังการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลอย่างไร” ค�ำตอบง่ายๆ คือ ท�ำการพัฒนาเกมการเล่น และพัฒนาการสอนวอลเลย์บอลให้แก่เด็กที่เร่ิมเล่นวอลเลย์บอลให้มีขีดความสามารถในการเล่น กีฬาวอลเลย์บอลดีขึ้นเร่ือยๆ อย่างเป็นล�ำดับ โดยให้ทักษะที่ถูกต้องน้ันติดตัวไปและไม่ให้กลับไป เหมือนเดิม (การเล่นโดยใช้ทักษะที่ไม่ถูกต้อง) ฉะน้ัน ท้ังครูและนักเรียนจะต้องมีเวลาท่ีง่าย และสะดวกต่อกนั และกนั ในการฝกึ วิธีเร่ิมตน้ ใหมส่ �ำหรบั การสอนและการเลน่ วอลเลย์บอล • การใชแ้ บบการเรียนพลศึกษาในช้ันเรียนระดบั ประถมศกึ ษา • ใช้เทคนิคการเล่นท่ีเขา้ ใจง่าย • พัฒนาและเลน่ งา่ ย • มงุ่ เน้นในเร่อื งการเรียนรู้เพื่อใชใ้ นการมีสว่ นรว่ มในการเล่น มินวิ อลเลยบ์ อล เปน็ กฬี าท่สี ามารถเล่นไดท้ งั้ เดก็ ผ้หู ญิงและเด็กผู้ชาย โดยท�ำการแข่งขนั เป็น 2 ฝา่ ย (สองทมี ) ในสมัยเม่ือก่อน อาจจะใช้กตกิ าการเลน่ แบบข้างละ 2-4 คน โดยใช้ความกว้างของสนาม 4.5-6 เมตร และความยาว 9-12 เมตร และใช้ความสูงของตาขา่ ย 1.9-2.0 เมตร 178 คมู่ อื ผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
ปัจจุบันประเทศไทยมีการจัดการแข่งขันมินิวอลเลย์บอลชิงแชมป์ประเทศไทย โดยใช้ กติกาและผู้เล่นที่ท�ำการแข่งขันเหมือนเช่นกติกาการแข่งขันสากล เพียงแต่แตกต่างกันท่ีความสูง ของตาขา่ ยเท่าน้ันเอง วตั ถปุ ระสงคข์ องการแขง่ ขนั คอื ความพยายามของนกั กฬี าทจี่ ะตอ้ งสง่ ลกู บอลขา้ มตาขา่ ย ไปลงสนามฝา่ ยตรงข้าม ในขณะที่นกั กฬี าฝ่ายตรงข้ามกเ็ ตรียมพรอ้ มท่ีจะท�ำเชน่ เดยี วกนั เรม่ิ ตน้ การเลน่ 1. เร่ิมต้นโดยการเสิร์ฟบอลจากเส้นหลังของฝ่ายตนข้ามตาข่ายไปให้ฝ่ายตรงข้ามและ ฝา่ ยตรงขา้ มสามารถเลน่ ลกู ได้ 3 ครงั้ หากแตเ่ พยี งไมส่ ามารถเลน่ ตดิ ตอ่ กนั เกนิ 1 ครงั้ ในคนๆ เดยี ว (ต้องเล่นลูกบอลเพอ่ื ใหค้ นอืน่ เล่นต่อจากตน แล้วจงึ จะสามารถเล่นลูกบอลได้อีกครง้ั ) เพ่ือส่งบอล ข้ามตาขา่ ยมายงั ฝา่ ยแรก 2. ทีมที่ชนะในคะแนนน้ันคือ ทีมที่สามารถส่งลูกบอลไปยังแดนฝ่ายตรงข้ามได้ส�ำเร็จ ก็จะเป็นฝ่ายได้เสิร์ฟลูกต่อไป โดยท�ำการหมุนต�ำแหน่งตามเข็มนาฬิกาเพื่อไปเสิร์ฟลูกเหมือนใน ข้อ 1. (หากทีมท่ีเสิร์ฟเป็นฝ่ายที่ชนะในคะแนนน้ัน ก็ให้ท�ำการเสิร์ฟต่อโดยนักกีฬาคนเดิม ยังไมต่ อ้ งหมุนต�ำแหนง่ ) 3. การนับคะแนนก็นับแต้มไปจนถึง 25 คะแนน ทีมใดมีคะแนนถึง 25 คะแนน กอ่ นเปน็ ฝา่ ยชนะในเซตนน้ั (หากทมี ทง้ั 2 มคี ะแนนเทา่ กนั ทคี่ ะแนน 24 เทา่ กนั ใหแ้ ขง่ ขนั กนั จนกวา่ จะมีคะแนนห่างกนั 2 คะแนน เช่น 26 : 24 หรือ 27: 25 ฯลฯ ใหถ้ ือวา่ ทีมใดมคี ะแนนมากกวา่ 2 คะแนนเป็นฝ่ายชนะ 4. หากการแข่งขนั เปน็ แบบ 2 ใน 3 ทีม ที่เปน็ ฝา่ ยชนะ 2 เซต เป็นฝา่ ยชนะ a. เช่น ในเซตที่ 1 ทีม ก. ชนะทมี ข. 25 : 20 b. เช่น ในเซตที่ 2 ทีม ก. ชนะทมี ข. 25 : 20 i. ผลการแขง่ ขัน คือ ทมี ก. เป็นฝ่ายชนะทมี ข. 2 : 0 เซต แต่หากทีม ก. เป็นฝ่ายชนะในเซตที่ 1 และแพ้ในเซตท่ี 2 ให้ท�ำการแข่งขันในเซตท่ี 3 ซ่ึงจะท�ำการแข่งขัน 15 คะแนน หากทีมใดมีคะแนนชนะท่ี 15 คะแนนก่อน จึงจะเป็นฝ่ายชนะ หรือหากทมี ทั้ง 2 ทมี มคี ะแนนเท่ากันท่ี 14 : 14 ใหท้ �ำการแข่งจนกวา่ จะมีทีมใดทีมหนึ่งมคี ะแนน น�ำอยู่ 2 คะแนน จึงจะเป็นฝ่ายชนะ เชน่ ทมี ก. เปน็ ฝ่ายชนะ ทีม ข. ดว้ ยคะแนน 16 : 14 หรอื 17 : 15 หรือ 18 : 16 ฯลฯ ผลการแข่งขนั คอื ทมี ก. เป็นฝ่ายชนะ ทีม ข. 2 : 1 เซต คู่มือผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 179
เทคนคิ การฝกึ สอนผ้เู ลน่ มนิ ิวอลเลย์บอล (Coaching Techniques for the Mini Volleyball Players) 1. การอบอุ่นร่างกายก่อนการแข่งขนั 1.1 ไม่บริหารร่างกายมากเกินไป ควรบริหารร่างกายเบาๆ เพื่อเพิ่มอัตราการเต้น ของหัวใจให้อยู่ประมาณ 120 ครัง้ ต่อนาที 1.2 เลอื กวธิ ีซง่ึ จะท�ำใหร้ ่างกายอยู่ในสภาพผ่อนคลายไมต่ ึงเครยี ด 2. หวั ข้อส�ำคญั ในการฝกึ สอนกอ่ นเรม่ิ การแข่งขัน 2.1 ให้ค�ำแนะน�ำทีม่ ปี ระโยชนใ์ นการสร้างความมน่ั ใจต่อการแขง่ ขันให้มากยิง่ ขึน้ 2.2 ชี้ใหเ้ หน็ ถึงลกั ษณะต่างๆ ของทีมตรงข้าม ก. ใครเป็นตัวตบหลักของทีมตรงข้าม เขาจะตบจากจุดไหน ทิศทางและจังหวะ ในการกระโดดเป็นอย่างไร ข. ใครเป็นผ้เู สิร์ฟดที ี่สดุ ของทมี ตรงขา้ ม, เสริ ์ฟอย่างไร และเสริ ์ฟไปทางไหน ค. การเลน่ ลูกหยอดและทิศทางของลกู หยอด ง. หลักในการเล่นของผู้เล่นตัวรับอิสระเป็นอย่างไร เป็นตัวเซตหรือตัวรับ หรอื เล่นได้ทกุ อยา่ ง จ. รปู แบบในการรุกและรับของทมี ตรงข้ามทีใ่ ชเ้ ป็นประจ�ำในการแขง่ ขัน 2.3 อธบิ ายแผนการตอ่ ไปน้ีในการแขง่ ขนั ก. รูปแบบในการรุก เช่น ใครควรเป็นตัวตบหลักในทมี ของตนเอง ข. รูปแบบในการรบั ลกู เสริ ์ฟ (เปน็ แบบ 1-5 หรือ 0-6 รูปตวั W หรอื รูป M) ค. รปู แบบในการรบั ลกู ตบ (รูปแบบ 2-1-3 หรอื 2-2-2 หรอื 2-5) ง. ลกั ษณะการสกดั กน้ั แบบใดทคี่ วรน�ำมาใช้ ควรตงั้ ใจสกดั กนั้ ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงขา้ มคนไหน จ. ควรเสริ ฟ์ บอลไปทไ่ี หน, ใครเปน็ ตวั รบั ลกู เสริ ฟ์ ทอ่ี อ่ นทสี่ ดุ ในจ�ำนวนผเู้ ลน่ 6 คน ของทมี ตรงขา้ ม 3. การคาดการจงั หวะในการแข่งขนั ก่อนเร่ิมการแข่งขนั ควรคาดการณ์ถงึ ความกา้ วหนา้ ต่อไปน้ใี นการแข่งขนั ตัวอย่างเชน่ พยายามใช้เทคนิคที่เคยฝึกซ้อมตามจุดมุ่งหมายที่จะให้ผู้เล่นแต่ละคนเล่น แต่จาก 8-10 คะแนน ถา้ เปน็ ไปไดค้ วรใชเ้ ทคนคิ ในการหยอดและในชว่ งสดุ ทา้ ย 20-25 คะแนน ควรเซตบอลใหต้ วั ตบหลกั ท�ำการตบเป็นส่วนใหญ่ 180 คู่มือผูฝ้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
4. จุดต่างๆ ทตี่ ้องตรวจสอบในการแข่งขนั 4.1 ผเู้ ล่น เล่นได้ตามจงั หวะเดิมและได้ผลตามท่ฝี ึกซ้อมเป็นประจ�ำทุกวนั หรือไม่ 4.2 ลักษณะและการเคลื่อนที่ของผู้เล่นเป็นอย่างไร, ผู้เล่นอยู่ในลักษณะย่อตัวลงต่�ำ และเคลอ่ื นที่ไดร้ วดเร็วหรอื ไม่ 4.3 ผูเ้ ล่นเคลือ่ นทีอ่ ย่างรวดเรว็ จนลูกบอลอยู่ตรงดา้ นหนา้ ของล�ำตวั หรือไม่ 4.4 ผ้เู ลน่ กระโดดถกู จงั หวะหรอื ไม่ รูปแบบของการตบและต�ำแหน่งของการกระโดด เป็นอย่างไร 4.5 การคาดการณ์ทศิ ทางของลูกท่ตี บมา และจงั หวะในการสกัดกนั้ เปน็ อย่างไร 4.6 ผเู้ ลน่ เสริ ฟ์ ลกู บอลจะไปยงั ผรู้ บั ลกู เสริ ฟ์ ทอ่ี อ่ นทสี่ ดุ ของทมี ตรงขา้ มไดถ้ กู ตอ้ งหรอื ไม่ 4.7 ผูเ้ ล่นรักษารูปแบบการเลน่ เปน็ ทมี ได้เหมาะสมหรอื ไม่ 4.8 การเล่นโดยรวมๆ ของทมี เป็นอย่างไร 4.9 ผูเ้ ล่น เลน่ ได้ดเี หมอื นซ้อมหรือไม่ 4.10 จติ ใจของความเปน็ นกั สู้ของผู้เล่นเป็นอย่างไร 4.11 ผ้เู ลน่ มกี ารตัดสินใจทีด่ หี รอื เยอื กเยน็ หรอื ไม่ 4.12 ผเู้ ลน่ เลน่ โดยมกี ารคาดการณแ์ ละสงั เกตเทคนคิ การเลน่ ของฝา่ ยตรงขา้ มออกหรอื ไม่ 5. การนกึ ถึงสถานการณอ์ ันคับขนั ทีส่ ุดของทมี ตนเองระหวา่ งการแข่งขัน 5.1 ตอ้ งเตรยี มแกไ้ ขสภาพอนั คบั ขนั ทส่ี ดุ ในการแขง่ ขนั อยตู่ ลอดเวลา (เมอื่ ตกเปน็ ฝา่ ย แพอ้ ย่างยับเยนิ ) 5.2 การรบั ลกู เสิรฟ์ บ่อยๆ 5.3 การเสิร์ฟเสียเอง เพราะสภาพความเครียดทางจิตใจ 5.4 ตวั ตบของทมี ตรงข้ามตบได้หนกั มากอย่างไม่คาดคดิ มาก่อน 5.5 ทีมตรงขา้ มใชเ้ ทคนิคการเล่นซง่ึ เป็นแผนการทีไ่ มเ่ คยคาดคดิ มากอ่ น 5.6 ผ้เู ล่นได้รับบาดเจบ็ หรืออยู่ในสภาพทเ่ี ลน่ ไมไ่ ด้โดยไม่คาดคดิ มากอ่ น 5.7 จติ ใจของผู้เล่นเครียดมากเกนิ ไปเพราะต้องการชยั ชนะ 5.8 เกดิ ปัญหาทางจิตใจระหวา่ งผู้เล่นด้วยกนั เอง 6. ควรขอเวลานอกเม่ือไหร่ 6.1 เมื่อทีมของท่านเสียจังหวะในการเล่นท่ีเคยเล่นได้ตามปกติ, ฝ่ายตรงข้ามควบคุม การเลน่ ไดด้ ีและเปน็ ไปอย่างต่อเนอื่ ง 6.2 การประสานงานในการเล่นไม่ดี 6.3 ตวั ตบหลักขาดความแนน่ อนและท�ำคะแนนไมไ่ ด้ 6.4 ทมี ตรงข้ามใชเ้ ทคนิคและแผนการเลน่ ท่ไี ม่คาดคดิ มาก่อน คมู่ อื ผูฝ้ ึกสอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate 181
6.5 เพื่อแนะน�ำเทคนิคข้ันสดุ ทา้ ยทจี่ ะแกไ้ ขสถานการณ์ 6.6 เพ่อื เปลยี่ นแผนการเล่น 6.7 สภาพจิตใจของผเู้ ลน่ ในทีมไมม่ ่ันคง 6.8 เมอ่ื ผู้เลน่ ขาดความต้ังอกตง้ั ใจในการแขง่ ขนั 6.9 เพอื่ ท�ำใหท้ ีมตรงขา้ มเสยี จังหวะและสภาพที่ดใี นการแขง่ ขัน 7. ควรเปลี่ยนตัวผ้เู ล่นเม่อื ไหร่ 7.1 เพอ่ื เอาผู้เล่นส�ำรองทเี่ สิรฟ์ ดกี ว่าลงไปเสิร์ฟแทนผู้เล่น 6 คนแรก 7.2 เพ่ือเอาตัวรบั ทดี่ ีกว่าลงไปแทนผู้เล่น 6 คนแรก 7.3 เพอื่ ใหผ้ เู้ ลน่ ทม่ี คี วามสามารถเปน็ พเิ ศษในเทคนคิ การเลน่ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ลงเลน่ 7.4 หลงั จากที่ขอเวลานอกหมดไปแลว้ 2 ครง้ั 8. จะใช้เวลาพักระหว่างเซตอย่างไร 8.1 ชีใ้ หเ้ หน็ ถงึ การเล่นท่ไี ดผ้ ลดใี นเซตท่ผี า่ นมา 8.2 ถ้าเป็นฝ่ายแพ้ในเซตท่ีผ่านมา ต้องชี้ให้เห็นถึงเหตุผลที่ท�ำให้แพ้อย่างชัดเจน และแนะน�ำเทคนิคท่ีใชใ้ นเซตตอ่ ไป 8.3 ใหก้ �ำลงั ใจผเู้ ล่นเพอื่ เล่นเซตตอ่ ไป 8.4 ต้องไม่ให้ผู้เล่นยอมแพ้ พยายามให้ผู้เล่นท�ำหน้าที่ของตนเองให้ดีท่ีสุดในการเล่น ทุกลกู แลว้ เขาอาจจะไดร้ บั ผลส�ำเร็จเอง 9. ภายหลงั การแขง่ ขัน 9.1 ชมความพยายามทผ่ี เู้ ล่นไดแ้ สดงออกระหวา่ งการแขง่ ขนั 9.2 ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ เทคนคิ ทไ่ี ดร้ บั ผลส�ำเรจ็ และเทคนคิ ทผ่ี ดิ พลาดเพอื่ เตรยี มการฝกึ ซอ้ มตอ่ ไป 9.3 ผ่อนคลายและพกั ผอ่ นเพื่อการแข่งขันคร้งั ต่อไป 182 ค่มู ือผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate
การฝกึ ซอ้ มทกั ษะเด็กอายุ 12-14 ปี 1. การเสริ ์ฟ (Serve) • ทักษะทน่ี �ำมาใช้ • พน้ื ฐาน : การเสริ ฟ์ มอื บน (Tennis Serve) หรอื การเสริ ฟ์ มอื ลา่ งดา้ นขา้ ง (Side arm Serve) (หากเปน็ ไปได้ควรให้เร่ิมฝึกในสนามก่อน/ก�ำหนดเขตการเสิร์ฟ) กุญแจส�ำคัญในการสอน - ทา่ เตรียมพรอ้ ม - การโยนลูกบอล - การยกแขนใหส้ งู เพ่ือปะทะลูกบอล - การถ่ายน�ำ้ หนัก - จุดท่ีสัมผัสลูกบอล (มอื กบั บอล) - การเสริ ฟ์ มอื บน = แบมอื ใหเ้ ตม็ ทส่ี มั ผสั บอลเตม็ ฝา่ มอื โดยพยายามไมใ่ หส้ มั ผสั นว้ิ มอื ทง้ั 5 - การเสิร์ฟมือล่าง = ก�ำมือใหแ้ น่นหงายมือขึน้ สมั ผสั ลกู เต็มมอื ที่ก�ำไว้ • ยทุ ธวธิ ีท่ีน�ำมาใช้ - พน้ื ทเี่ ปา้ หมาย : ขา้ งซา้ ยหรอื ขา้ งขวาของสนามใกลต้ าขา่ ยหรอื ไกลตาขา่ ยทา้ ยสนาม จุดท่ี 1/2/3/4 - ลักษณะเฉพาะของเป้าหมาย : ไม่เสยี • คาดหวังผล : 60% 3 21 4 4 12 3 คู่มือผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 183
2. การเซตบอล (Set) • ทักษะทน่ี �ำมาใช้ • พ้นื ฐาน - สง่ ลูกบอลเหนอื ศีรษะ - ส่งบอลให้สูงและแรงเตม็ ท่ีไปยงั ดา้ นข้างสนาม - สง่ บอลระดับกลางไปกลางสนาม กญุ แจส�ำคัญในการสอน - ต�ำแหน่งของมืออยู่เหนือหน้าผากห่างจากหน้าผากประมาณ 5-8 เซนติเมตร ก่อนท่จี ะสัมผัสลกู บอล - เคลอื่ นมือทัง้ สองขา้ งเขา้ หาลูกบอลโดยให้ลูกบอลอย่รู ะหวา่ งมอื ทัง้ สองข้างหา่ งจาก หน้าผากประมาณ 10-15 เซนติเมตร/รับบอลโดยให้บอลอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง/ใช้ปลายน้ิวทั้ง 5 สัมผสั บอล โดยใช้นว้ิ หวั แมม่ อื และน้วิ ช้ีเปน็ ฐาน - จัดนิ้วมือให้เป็นรูปสามเหล่ียมโดยใช้นิ้วหัวแม่มือและน้ิวชี้เป็นฐาน/น้ิวท่ีเหลือกางออก งมุ้ ปลายนวิ้ เลก็ นอ้ ย โดยทส่ี ายตาสามารถมองผา่ นชอ่ งสามเหลยี่ มของนวิ้ หวั แมม่ อื และนว้ิ ชไ้ี ด้ - จดั ทา่ ทางให้สมดุล มีความม่นั คง มีทา่ ทางทีส่ บายผอ่ นคลายไมเ่ กรง็ - ลูกบอลสัมผัสมือเหนือหน้าผากและสัมผัสบอลโดยใช้ปลายน้ิว โดยใช้น้ิวหัวแม่มือและ นวิ้ ชเี้ ปน็ ฐานรองรบั ลกู สว่ นนวิ้ ทเ่ี หลอื ใหใ้ ชป้ ระคองลกู บอลใหส้ มดลุ และผลกั บอลออกไปขา้ งหนา้ ดา้ นบน - สามารถเคลอื่ นท่ไี ปขา้ งหน้าและข้างบน (กระโดดเซต) เพ่อื เล่นลูกได้ • ยุทธวธิ ที ่ีน�ำมาใช้ - ระบบการเล่นยงั ไมก่ �ำหนดลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะ • ความคาดหวังผล - สามารถเซตบอลได้อย่างถกู วธิ ีเขา้ เป้าหมาย 60-80% 184 คูม่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าวอลเลย์บอล T-Certificate
3. การส่งลูก (Pass) • ทักษะทีน่ �ำมาใช้ • พน้ื ฐาน : ส่งบอลด้วยท่อนแขนด้านล่าง (forearm pass) กุญแจส�ำคัญในการสอน - การยนื ใหเ้ ทา้ กวา้ งเสมอความกวา้ งของชว่ งไหล-่ ยอ่ เขา่ , สะโพกอยใู่ นต�ำแหนง่ เดยี วกบั เทา้ - หันหัวแม่เท้าโค้งงอเข้าหากัน เปิดส้นเท้าขึ้นเล็กน้อย โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย จบั มอื ประสานกนั ใหแ้ น่น - แขนเหยยี ดตึงจดั แขนทั้งสองใหอ้ ยใู่ นโคนขาด้านใน - เลน่ ลกู บอลใหบ้ อลกระทบโดนทที่ อ่ นแขนดา้ นลา่ งทงั้ สองขา้ งเทา่ ๆ กนั /ใกลๆ้ บรเิ วณ โคนขาดา้ นใน - สัมผสั ลกู บอลใหม้ ัน่ คง/ยกตวั สง่ แรงดันบอลไปดา้ นหน้า • ยุทธวธิ ีทีน่ �ำไปใช้ - ฝึกซ้อมปรับรปู แบบการเลน่ ลง : เลน่ แบบ 4 on 4 ในสนามขนาดเล็ก - เล่นระบบ 6-6 : ต้งั รับเสริ ์ฟรูปแบบ “W” (รบั 5 คน) โดยใช้ตัวเซตอยูห่ นา้ ตาข่าย แบบแผนและรปู แบบการรับเสิรฟ์ • ความคาดหวังผล : 60% รปู แบบการรับเสริ ์ฟแบบ 5 คน รับเสิร์ฟรปู (W Form) และ (M Form) เหมาะส�ำหรับทีมท่ีพึ่งเล่นใหม่ๆ และยังมีพ้ืนฐานการเคลื่อนที่รับเสิร์ฟยังไม่ดีนัก จึงจ�ำเป็นต้องช่วยกันรับเสิร์ฟก่อนเป็นอันดับแรกของหัวใจของปรัชญาการท�ำเปล่ียนเสิร์ฟ และ การเสิร์ฟของฝ่ายตรงข้ามมีทิศทางท่ีไม่แน่นอน ฉะน้ัน การรับเสิร์ฟแบบนี้จึงเป็นที่นิยมในทีม ท่เี พิ่งจะหดั เล่นวอลเลย์บอลใหมๆ่ และค่แู ข่งขันมที ศิ ทางการเสริ ฟ์ ทีไ่ ม่แน่นอนในต�ำแหน่งน้ัน คู่มือผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 185
4. การรุก (ATTACK) • ทกั ษะทน่ี �ำมาใช้ • พื้นฐาน : การตบบอล (SPIKE) - ตบบอลในต�ำแหน่งท่ี 4 โคง้ หน้า - ตบบอลในต�ำแหนง่ ที่ 3 กลางหนา้ - ตบบอลในต�ำแหน่งที่ 2 โค้งหลงั กญุ แจส�ำคัญในการสอน - ใชพ้ ลงั เคล่ือนท่เี ขา้ ไปใกล/้ ท�ำมุมกับตาขา่ ย - กา้ วสดุ ท้ายหา่ งจากตาข่ายประมาณ 1 เมตร - ใชพ้ ลงั ขาทง้ั หมดกระโดดขน้ึ ขา้ งไปบนโดยเหวยี่ งแขนทงั้ 2 ขา้ ง ชว่ ยในการกระโดดขนึ้ - ข้อศอก ยกสูงเหนอื หัวไหล่แลว้ โนม้ ตัวไปด้านข้างล�ำตัวและเอียงหลัง - มปี ฏิกริ ิยาในการใช้แขนอย่างรวดเรว็ ในการตบ - ตบบอลเหนอื ศรี ษะดา้ นหนา้ หวดตลี กู บอลอยา่ งแรงโดยใชข้ อ้ มอื บงั คบั ทศิ ทางทตี่ ไี ป ทักษะอื่นทเ่ี สริมเพิม่ เตมิ • ทักษะอื่นที่เสรมิ เพมิ่ เติม : การหยอดบอลโดยใชป้ ลายน้ิว Tip ball • ยทุ ธวิธีทนี่ �ำไปใช้ - ระบบการเล่นยังไม่ก�ำหนดลักษณะพิเศษเฉพาะแต่นักกีฬาสามารถตบบอลได้ใน ต�ำแหน่งทีต่ นเองอยหู่ นา้ ตาขา่ ยในต�ำแหน่งท่ี 4, 3, 2 โดยสามารถตบบอลได้ดงั นี้ - ตบบอลในต�ำแหน่งท่ี 4 โค้งหน้า - ตบบอลในต�ำแหนง่ ที่ 3 กลางหน้า - ตบบอลในต�ำแหนง่ ที่ 2 โค้งหลัง • ความคาดหวงั ผล • สามารถเคลอ่ื นทแ่ี ละกา้ วเท้าเข้าตบบอลไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ีและเขา้ เป้าหมาย 60-80% 186 คู่มอื ผู้ฝึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
5. การป้องกนั แดนหลงั • ทักษะท่ีน�ำมาใช้ • พนื้ ฐาน : การใชท้ อ่ นแขนดา้ นลา่ ง ในการควบคมุ ลกู บอลหลงั จากเคลอ่ื นทไี่ ปขา้ งหนา้ /หลงั หรือด้านข้างเคลือ่ นท่ีโดยใชก้ ารไขว้ขาหรือสไลด์ กญุ แจส�ำคัญในการสอน - ลกู บอลอยู่ในแนวพน้ื ท่ขี องท่าทางในการรบั ตบ - ยืนฐานให้กว้างและให้จุดศูนย์ถ่วง (บริเวณต่�ำกว่าสะดือประมาณ 1 ฝ่ามือ) อยู่ใน ต�ำแหน่งทคี่ อ่ นขา้ งต�ำ่ /หัวเขา่ หา่ งจากพ้ืนประมาณ ½ ของท่ายืนปรกติ - สมั ผสั บอลระหวา่ งท่าทางการยนื รับ/ลกู บอลอย่บู นทอ่ นแขนดา้ นลา่ งเหนือเข่า • ยทุ ธวิธีทน่ี �ำมาใช้ - (การเตรยี มตัวปอ้ งกนั แดนหลงั ) Reading การอ่านระบบการรุกของคู่แขง่ ขนั - ต�ำแหน่งตวั เซตในสนามและทา่ ทางการเตรียมตวั ทจี่ ะเซตของฝา่ ยตรงขา้ ม - ระบบการเล่นของฝ่ายตรงข้าม - การสกัดกั้นของฝา่ ยเราระบบ 2 คน หรือ 1 คน - ใช้ระบบ 4 คนปอ้ งกนั แดนหลงั • ความคาดหวงั ผล (ชอ่ งเตรยี มตวั ท่ี 1/40-60% ชว่ งเตรยี มตวั ท่ี 2/60-80% ชว่ งแขง่ ขนั 80-100%) การรบั บอลตบแบบสองมอื ล่างด้านข้างล�ำตัว คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 187
การพฒั นาเทคนิคของนกั กฬี าวอลเลยบ์ อล บทบาททส่ี �ำคญั ของโคช้ ควรมกี ารพฒั นาเทคนคิ ของผเู้ ลน่ ซงึ่ การพฒั นานค้ี วรไดจ้ ากการ วเิ คราะห์ และวิธกี ารพัฒนาที่เป็นระบบจงึ บรรลุผลส�ำเรจ็ โคช้ ควรจะเขา้ ใจเก่ียวกับส่ิงตอ่ ไปนี้ - ขั้นตอนการพฒั นาเทคนคิ ของนักกฬี าวอลเลยบ์ อล - กิจกรรมและขอ้ ก�ำหนดแต่ละข้ันตอน - บทบาทของโคช้ ในและขั้นตอน ประสิทธิภาพเทคนิคของนักกีฬาจะเกิดขึ้นระหว่างการแข่งขันซึ่งเปรียบได้กับนักดนตรี หรือช่างฝีมือ เพราะความช�ำนาญหรือเทคนิคท่ีมีประสิทธิภาพน้ันเกิดหลังจากการฝึก อาจกล่าวได้วา่ เทคนคิ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ คอื การเคลอื่ นไหวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ที่ ก�ำหนดไว้ จะเห็นได้จากความต่อเน่ืองในการเคลื่อนไหว การก�ำหนดจ�ำนวนฝึกท่ีถูกต้อง และผลส�ำเร็จภายใต้ เง่ือนไขท่ีโค้ชก�ำหนด เทคนิคการเคลื่อนไหวที่มีประสิทธิภาพในการแข่งขันน้ันเป็นปัจจัยที่เกิดจาก การฝกึ การบรรลผุ ลส�ำเรจ็ ในการพฒั นาเทคนคิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ นกั กฬี าจะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากโคช้ โคช้ ควรค�ำนงึ ถงึ บทบาทการใหค้ วามชว่ ยเหลอื นกั กฬี าและศกั ยภาพของโคช้ ในการชว่ ยให้ ผูเ้ ล่นเอาชนะอุปสรรคหรอื สถานการณท์ ซี่ ับซ้อน เพื่อปรบั ปรงุ ความสามารถ วธิ ีการปฏิบตั สิ �ำหรบั วัตถปุ ระสงคข์ ้นึ อยู่กับการเอาใจใสแ่ ละการประยกุ ต์หลักการดงั ต่อไปนี้ • การพฒั นาเทคนคิ ของนกั กฬี าตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความเขา้ ใจ ความกา้ วหนา้ และความตอ่ เนอื่ ง ของแกน่ แท้ของเทคนิคการเล่น • การฝึกทักษะและการพัฒนาคุณลักษณะข้ึนอยู่กับกายภาพที่มีความสัมพันธ์กัน อย่างใกล้ชิดส�ำหรับการแข่งขัน • การใชท้ ฤษฎแี ละตวั อยา่ งประกอบแตล่ ะขน้ั ตอน ในบทนไ้ี ดก้ �ำหนดขน้ั ตอนการพฒั นา เทคนิคท่ีสมบูรณส์ �ำหรบั นกั วอลเลย์บอล การสร้างเง่อื นไขและเปา้ หมายของโค้ช ด�ำเนินการดังต่อไปน้ี • การสอนวธิ ีการเคล่ือนไหว • ความคุ้นเคยในการเคลื่อนไหว • การพฒั นาความเขา้ ใจเกีย่ วกับกลวธิ ที ี่จะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จ • การบรู ณาการผ้เู ลน่ และทกั ษะเข้าสรู่ ะบบการเล่น • การตรวจสอบประสทิ ธิภาพของผเู้ ล่นและทกั ษะในรปู ของการแขง่ ขนั 188 คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate
โค้ชควรคาดหวังผลของเทคนิคท่ีมีประสิทธิภาพ นั้นคือ ความสามารถในการแข่งขัน นอกจากนั้นการวางแผนเพื่อพัฒนาตอ้ งรวมถงึ องคป์ ระกอบดังตอ่ ไปนี้ • ระดบั ของการบรรลผุ ลส�ำเรจ็ ในการพฒั นาของนกั กฬี า ความสามารถทางดา้ นกายภาพ และความสามารถในการเคลอ่ื นไหว • ปจั จัยทางด้านจติ วทิ ยา และเปา้ หมายของแตล่ ะบคุ คล เช่น ความตอ้ งการการท�ำงาน ความตอ้ งการเพื่อปรบั ปรุง และตอ้ งการการยอมรับ เป็นต้น การสอนกลวธิ ีการเคลอื่ นไหว การเริ่มต้นการฝึกนั้น นักกีฬาควรเลียนแบบต้นแบบให้ใกล้เคียงมากท่ีสุด ซ่ึงโดยปกตินั้น ต้นแบบควรจะเป็นโค้ชหรือนักกีฬาท่ีประสบความส�ำเร็จและมีความช�ำนาญในกีฬาชนิดนี้ เพอื่ สาธติ การปฏบิ ตั เิ ทคนคิ ตา่ งๆ นอกจากนน้ี กั กฬี าตอ้ งมคี วามแมน่ ย�ำทางดา้ นทกั ษะ กระบวนการ คดิ เกยี่ วกบั ทศิ ทางการเคลอื่ นไหว การใชท้ ศั นปู กรณ์ การใชร้ ปู ในการอธบิ าย ยกตวั อยา่ งภาพยนตร์ หรอื การสังเกตการณเ์ ลน่ ของนกั กีฬากเ็ ป็นอกี วธิ ีท่สี ามารถดึงดดู ความสนใจไดเ้ ป็นอยา่ งดี อยา่ งไร ก็ตามสง่ิ ส�ำคัญอกี ประการหนงึ่ คอื นักกฬี าควรจดจ�ำองคป์ ระกอบที่จ�ำเป็นในแต่ละข้นั ตอนการฝกึ อกี ดว้ ย ซง่ึ รายละเอยี ดจะกลา่ วภายหลงั หลงั จากนกั กฬี าไดฝ้ กึ ทกั ษะและมคี วามกา้ วหนา้ ประมาณ 70 เปอร์เซน็ ต์ หรอื มากกวา่ นัน้ ท�ำให้เห็นว่าการพฒั นานั้นเปน็ ระบบน้ันจะมสี ว่ นผลักดันใหน้ กั กีฬา ไดฝ้ กึ ทกั ษะการเคลอื่ นไหวเฉพาะสว่ นกลายเปน็ การฝกึ ทกั ษะโดยการบรู ณาการเคลอื่ นไหวความเขา้ ใจ ทางด้านลักษณะทางกายภาพ และหลักการของการเคล่ือนไหวของร่างกายส�ำหรับการสอนให้มี ประสทิ ธภิ าพโคช้ จะสามารถตดั สนิ ใจเก่ยี วกับความถกู ต้องและความเป็นไปไดใ้ นการฝึก นกั กฬี าไดว้ างต�ำแหนง่ ครง้ั แรกภายใตเ้ งอ่ื นไขทกี่ �ำหนดอยา่ งงา่ ยและเปน็ เงอ่ื นไขทเี่ กดิ ขน้ึ ในการแขง่ ขัน ประการแรก โค้ชควรใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีเหมาะสมเพื่อช่วยในการเรียนรู้ เกี่ยวกับทักษะในการเคล่อื นไหว ตวั อย่างเชน่ การวาดจงั หวะการกา้ ว การใชบ้ อลทม่ี ีหลายขนาด เพือ่ ใหผ้ ู้เลน่ ค้นุ เคยกบั การสัมผสั บอลทีต่ ่างกนั ประการทส่ี อง นกั กฬี าควรฝกึ จากทกั ษะงา่ ยๆ ในการปรบั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณเ์ พอื่ เอาชนะ อปุ สรรคภายในขอ้ บงั คับของขนั้ ตอนในการฝกึ สง่ิ เหลา่ นเ้ี หมารวมถงึ ความสมบรู ณใ์ นการฝกึ แตล่ ะขน้ั ตอนส�ำหรบั หลกั เบอื้ งตน้ ในการวาง ต�ำแหนง่ ทศิ ทางการเคล่ือนไหว การเคลือ่ นท่ี และการก�ำหนดจังหวะของการเคล่ือนไหว คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 189
การเล่นวอลเลย์บอลในสวนสาธารณะ (Park Volleyball) แปลและเรียบเรียงโดย เรอื อากาศโทชาญฤทธ์ิ วงษป์ ระเสริฐ วอลเลย์บอลในสวนสาธารณะมีจุดมุ่งหมายอยู่ท่ีผู้เล่น โดยไม่จ�ำกัดเพศและอายุ การมโี อกาสไดร้ ว่ มเลน่ ส�ำคัญกวา่ ชัยชนะ (ถงึ แมว้ ่าคะแนนยงั เปน็ สว่ นส�ำคัญของการเล่น) วอลเลย์บอลในสวนสาธารณะใช้กติกาง่ายๆ และผู้เล่นไม่ต้องใช้เทคนิคระดับสูง จึงเป็นการเล่นท่ีจะน�ำเข้าสู่การแข่งขันวอลเลย์บอลได้ นอกจากน้ันแล้วเน่ืองจากคร่ึงหนึ่งของ การเล่นวอลเลย์บอลท่ัวโลกเป็นการเล่นกลางแจ้งไม่มีหลังคา วอลเลย์บอลในสวนสาธารณะ จงึ มีแนวโน้มสูงทจ่ี ะได้รบั ความนยิ มอยา่ งแพร่หลายใน 5 ทวีป ถงึ แมว้ า่ วอลเลยบ์ อลในสวนสาธารณะเปน็ กจิ กรรมพกั ผอ่ นในยามวา่ ง แตก่ ส็ ามารถน�ำไป ใชจ้ ดั การแข่งขนั ในระดับสูงไดเ้ ช่นกนั กติกาพน้ื ฐาน • การแข่งขันเป็นการเล่นข้างละ 4 คน แต่ละทีมจะมีผู้เล่นส�ำรองก่ีคนก็ได้ แล้วแต่จะ ตกลงกนั • การแขง่ ขนั จะแบง่ เปน็ 4 ระดับอายุ อายุ ประเภท ความสงู ตาข่าย ขนาดสนาม 9-12 ปี ชาย-หญิง/ผสมชาย-หญิง 215 ซม. 7 X 14 ม. 13-14 ปี ชาย/ผสม ชาย-หญงิ 230 ซม. 7 X 14 ม. หญงิ 224 ซม. 7 X 14 ม. 15-17 ชาย/ผสม ชาย-หญงิ 230 ซม. 7 X 14 ม. หญงิ 224 ซม. 7 X 14 ม. 18 ปีขึ้นไป ชาย 243 ซม. 8 X 16 ม. ผสม ชาย-หญิง 230 ซม. 8 X 16 ม. หญงิ 224 ซม. 8 X 16 ม. 190 คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate
• สนามขนาด 7 X 14 เมตร และสามารถปรับเป็นขนาดอ่ืนๆ เช่น 6 X 12 เมตร, 8 X 16 เมตร, หรือ 9 X 18 เมตร เพื่อปรับการเล่นตามสภาพของพ้นื ท่ี • ลูกบอลจะเป็นลูกวอลเลย์บอลปกติ หรือลูกที่เบากว่าส�ำหรับผู้ที่เร่ิมต้นเล่น หรือเบากว่า แต่ใหญก่ วา่ ส�ำหรบั เดก็ ๆ • การตัดสิน โดยพื้นฐานแล้วผู้เล่นจะต้องตัดสินกันเอง หรือใช้ผู้ตัดสินเพียง 1 คน ในการเล่นแบบแข่งขนั • การเร่ิมต้นเล่นเร่ิมโดยการเสิร์ฟ (การใช้มือตีลูกไปยังแดนของทีมตรงข้าม) จากด้านหลัง ของเสน้ ทา้ ยสนาม (หรือเสริ ฟ์ จากบรเิ วณใกลต้ าขา่ ย ถา้ ท�ำความตกลงกันก่อนการแข่งขนั • แต่ละทีมเลน่ ลูกได้ 3 ครั้ง เพือ่ ส่งลูกกลบั ไปยงั แดนตรงข้าม (Blocking) ไม่นับรวมด้วย และผ้เู ลน่ คนเดียวกนั จะเลน่ ลูก 2 ครั้งติดตอ่ กันไมไ่ ด้ • สง่ เสรมิ ใหก้ ารเลน่ ลกู แตล่ ะครงั้ เลน่ กนั ไดน้ านๆ จะหยดุ การเลน่ ลกู เมอ่ื กระท�ำผดิ กตกิ า อย่างชัดเจนเทา่ นัน้ เฉพาะการตบลกู เทา่ นนั้ ทตี่ อ้ งถูกตามกตกิ า “การตีลกู ทช่ี ดั เจน” • จะใชส้ ่วนใดส่วนหนง่ึ ของร่างกายเล่นลกู ก็ได้ แต่ตอ้ งเป็นการถกู ลูกบอลหรอื ตลี ูกบอล • เมื่อฝ่ายรับการเสิร์ฟชนะการเล่นลูก ผู้เล่นคนใหม่จะต้องท�ำการเสิร์ฟตามล�ำดับการ เสริ ์ฟของเซตนนั้ • เมอื่ “ลูกตาย” จะเปลยี่ นตัวผูเ้ ลน่ ส�ำรองก่คี นก็ได้ • การแข่งขันเป็นแบบได้-เสีย คะแนนทุกครั้งที่เล่นลูก (การเล่นลูกแต่ละครั้งจะต้องได้ 1 คะแนน) และจบเซตที่ 25 คะแนน (ทมี ชนะต้องไดค้ ะแนนมากกวา่ ทมี แพ้อยา่ งน้อย 2 คะแนน โดยไม่มีการจ�ำกัดคะแนน) จ�ำนวนเซตที่แข่งขันแล้วแต่ตกลงกัน โดยผู้จัดการแข่งขันหรือผู้เล่น ถา้ ไดเ้ ซตเท่ากันจะแข่งขันเซตตัดสนิ 15 คะแนน (ทมี ชนะต้องไดค้ ะแนนมากกวา่ ทมี แพ้อยา่ งน้อย 2 คะแนน โดยไมม่ กี ารจ�ำกดั คะแนน) คู่มือผฝู้ ึกสอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate 191
บ ทท่ี 9 การเลน่ ทีม (Team) วอลเลยบ์ อลเปน็ กฬี าประเภททมี โดยมผี เู้ ลน่ ในสนามทมี ละ 6 คน และผเู้ ลน่ ส�ำรองอกี 6 คน จดุ ประสงคใ์ นการเลน่ วอลเลยบ์ อลทส่ี �ำคญั คอื พยายามใหล้ กู บอลขา้ มตาขา่ ยตกในแดนของคตู่ อ่ สู้ ไม่วา่ จะเกิดจากการเสริ ฟ์ การตบ การสกัดก้ัน การหยอด ฯลฯ ซึ่งผู้เลน่ ทัง้ 6 ต�ำแหน่งในสนาม จะตอ้ งน�ำทกั ษะสว่ นบคุ คลน�ำมาใชใ้ นการเลน่ ทมี เพอื่ ผสมผสานความสมั พนั ธใ์ นทมี และยงั เปน็ การน�ำ ศกั ยภาพทีด่ ที ่สี ุดของตนเองมาใช้ในการเลน่ ทมี การเล่นกีฬาวอลเลย์บอล นอกจากจะน�ำทักษะพื้นฐานมาประกอบในการเล่นทีมแล้ว ผเู้ ลน่ ต้องมีความเข้าใจองค์ประกอบในการเล่นทีม เช่น ต�ำแหน่งผู้เล่น การหมุนต�ำแหน่ง การยืน ในการรบั ลูกเสิรฟ์ การรุก และการสกัดกัน้ ฯลฯ นอกจากนีผ้ ู้เล่นยังต้องน�ำเทคนิคต่างๆ ในการเลน่ และความร้จู ากกตกิ าแข่งขันน�ำมาประกอบในการเล่นทีมอีกดว้ ย ตำ� แหนง่ ของผู้เล่นกฬี าวอลเลย์บอล ผู้เล่นกีฬาวอลเลย์บอลจะต้องมีความรู้พื้นฐานเร่ืองต�ำแหน่งของผู้เล่น เพ่ือเป็นความรู้ ประกอบในการเล่นทีม ต�ำแหนง่ ของผ้เู ลน่ ทั้ง 6 คน ในสนาม มีคณุ สมบัตขิ องผู้เลน่ ตามการหมนุ อกี ดว้ ย กล่าวคอื เปน็ ผู้เล่นแดนหนา้ 3 คน และเปน็ ผู้เล่นแดนหลงั 3 คน ตามที่กติกาก�ำหนด ต�ำแหนง่ ผเู้ ล่น คน ในสนามประกอบดว้ ย ต�ำแหน่งที่ 1 เรยี กวา่ หลังขวา หรือ ต�ำแหน่งเสริ ์ฟหลงั ขวา ต�ำแหนง่ ท่ี 2 เรยี กวา่ หน้าขวา ต�ำแหนง่ ท่ี 3 เรยี กวา่ กลางหนา้ ต�ำแหน่งท่ี 4 เรียกว่า หนา้ ซา้ ย ต�ำแหน่งที่ 5 เรียกวา่ หลังซ้าย ต�ำแหน่งท่ี 6 เรียกว่า กลางหลงั 4 32 5 61 แสดงลกั ษณะการยืนต�ำ แหน่งในสนาม 192 ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาวอลเลยบ์ อล T-Certificate
ชนินทร์ ยุกตะนันทน์ กล่าวถึงต�ำแหน่งผู้เล่น ในการแข่งขันผู้เล่นทุกคนจะต้อง เข้าใจต�ำแหน่งหน้าที่ของตนเองเป็นอย่างดี เพราะตามกติกาการแข่งขัน ผู้เล่นซึ่งประกอบด้วย 6 ต�ำแหน่ง จะยนื ผิดต�ำแหน่งกันไมไ่ ด้ โดยก�ำหนดต�ำแหนง่ ไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ ต�ำแหน่งที่ 1 คือผู้เล่นแดนหลังจะต้องยืนอยู่หลังต�ำแหน่งที่ 2 และอยู่ข้างขวามือ ของต�ำแหน่งท่ี 6 ต�ำแหน่งท่ี 2 คือผู้เล่นแดนหน้าจะต้องยืนอยู่หน้าต�ำแหน่งท่ี 1 และอยู่ข้างขวามือ ของต�ำแหนง่ ที่ 3 ต�ำแหน่งท่ี 3 คือผู้เล่นแดนหน้าจะต้องยืนอยู่หน้าต�ำแหน่งท่ี 6 และอยู่ข้างขวามือ ของต�ำแหน่งท่ี 4 และอยูท่ างซา้ ยมอื ของต�ำแหน่งที่ 2 ต�ำแหน่งท่ี 4 คือผู้เล่นแดนหน้าจะต้องยืนอยู่หน้าต�ำแหน่งท่ี 5 และอยู่ทางซ้ายมือ ของต�ำแหนง่ ที่ 3 ต�ำแหน่งท่ี 5 คือผู้เล่นแดนหลังจะต้องยืนอยู่หลังต�ำแหน่งที่ 4 และอยู่ทางซ้ายมือ ของต�ำแหน่งที่ 6 ต�ำแหน่งที่ 6 คือผู้เล่นแดนหลังจะต้องยืนอยู่หลังต�ำแหน่งที่ 3 อยู่ทางขวามือ ของต�ำแหนง่ ที่ 5 และอย่ทู างซา้ ยมอื ของต�ำแหนง่ ที่ 1 4 32 5 61 แสดงลักษณะต�ำแหน่งการยนื ของผเู้ ลน่ ในสนาม หนา้ ทข่ี องผู้เลน่ ทั้งหกคน ก่อนที่จะพิจารณารูปแบบของการเล่นทีมผู้ฝึกสอนควรทราบขีดความสามารถของ ผู้เล่นของตนในแต่ละคนท้ัง 3 อย่าง คือ ความสามารถทางด้านร่างกาย, คุณภาพทางจิตใจ และความสามารถทางด้านเทคนิคการเล่น (ทักษะ 8 อย่าง คือ 1.การเสิร์ฟ, 2.การรับเสิร์ฟ, 3.เซตบอล, 4.ตบบอล, 5.การสกดั กัน้ , 6.การตบ, 7.การรองบอล, 8.การควบคุมบอล เม่ือเราทราบ ความสามารถของนกั กฬี าแตล่ ะคนแลว้ สงิ่ ทจี่ ะท�ำตอ่ ไปกค็ อื การจดั วางต�ำแหนง่ ของผเู้ ลน่ ในสนาม โดยท่ัวไปการจดั ต�ำแหนง่ ผเู้ ล่นในสนามจะมีการแบ่งแยกต�ำแหนง่ ส�ำคัญดังน้ี คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกฬี าวอลเลยบ์ อล T-Certificate 193
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216