Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา แผนที่ และการใช้เข็มทิศ

วิชา แผนที่ และการใช้เข็มทิศ

Published by เมฆา 13, 2021-01-14 03:08:37

Description: วิชา แผนที่ และเข็มทิศ

Search

Read the Text Version

แผนที่ และใชเ้ ข็มทศิ

เอกสาร เร่ืองการอ่านแผนท่ี และการใช้ เข็มทิศ เล่มนี้ ได้จัดทาข้ึนสาหรับเป็นคู่มือในการ พัฒนาการฝึก Unit School ของหน่วย การอ่านแผนท่ี และการใช้เข็มทิศน้ี นับว่ามีความสาคัญย่ิงที่ ผบ. หน่วย ต้องมีความรู้ ความสามารถ จนถึงระดับความชานาญ เพอ่ื ให้บรรลุภารกิจตามท่ีได้กาหนดไว้

เน้ือหา หนา้ เรอ่ื งที่ 1 แผนท่ี และรายละเอยี ดขอบระวาง 1 เรื่องที่ 2 การกาหนดพิกัดบนแผนท่ี 52 เรอ่ื งท่ี 3 การเขยี นสญั ลกั ษณ์ทางทหาร 89 เรอื่ งที่ 4 การพิจารณาภมู ิประเทศบนแผนที่ 124 เร่อื งที่ 5 ทิศทาง และเขม็ ทศิ 143 เร่อื งที่ 6 การกาหนดจุดท่ีอยู่ 172

เรือ่ งท่ี 1 แผนท่ี และ รายละเอยี ดขอบระวาง

แผนทคี่ อื อะไร แผนที่ คือรูปลายเส้นที่เขียนหรือกาหนดข้ึน เพ่ือแสดงลักษณะของพื้นผิวพิภพท้ังหมด หรือ เพียงบางส่วนลงบนพ้ืนราบ (พื้นแบน) ตามมาตรา ส่วน โดยใช้สีและสัญลักษณ์แทนรายละเอียด ของภูมิประเทศ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และ ท่ีมนุษยส์ รา้ งขนึ้

วิวัฒนาการของแผนที่ทางทหาร ในประเทศไทย จากโครงการร่วมมือกันระหว่างประเทศไทย (โดยกรมแผนที่ทหาร) กับประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือ 3 ธ.ค.2494 ทาให้ประเทศไทยมีแผนท่ี ภูมิประเทศชุดแรกที่ผลิตจากภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1 : 50,000 ลาดับชุด L708ท่ีมีขนาด ระวาง 10 ลิปดาละติจูด x 15 ลิปดาลองติจูด ขึ้นใช้ครอบคลุมประเทศไทย เราถือว่าเป็นแผนท่ี มูลฐานของประเทศไทย และหน่วยทหารนาแผนที่ ชดุ น้มี าใช้ทางยทุ ธวธิ ี

วิวัฒนาการของแผนท่ที างทหาร ในประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2510 ประเทศไทย และประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้ร่วมมือกันปรับปรุงแก้ไขแผนท่ี ชุด L708 เดิมให้มีมาตรฐานที่ดียง่ิ ข้ึน (ทางราบ, ทางด่ิง, หลักฐานและความทันสมัย) โดยได้เร่ิม ถ่ายภาพทางอากาศใหม่ทั่วประเทศไทย จากการ ร่วมมือกันคร้ังน้ีทาให้ประเทศไทยมีแผนที่มาตรา ส่วน 1 : 50,000 ชุดใหม่ขึ้นใช้ครอบคลุมท่ัว ประเทศ คือ ชุด L 7017 รวมท้ังส้ิน 830 ระวาง กรมแผนท่ีทหารของไทยเป็นผู้ดาเนินการเอง แผนทชี่ ดุ L7017 น้ี เร่ิมใช้ในราชการตั้งแต่ เดือน ต.ค.2515 เป็นตน้ มา

วิวัฒนาการของแผนทีท่ างทหาร ในประเทศไทย ในโครงการเดียวกันน้ี กรมแผนท่ีทหารก็ได้ ผลิตแผนท่ีเพื่อสนองความต้องการของทาง ราชการทหารข้ึนมาใช้อีกชุดหนึ่ง เพ่ือใช้ในการ รบร่วมระหว่างหน่วยรบทางอากาศ และทาง พ้ืนดินเรียกว่า “แผนท่ียุทธการร่วม” คือลาดับ ชุด 1501 มาตราส่วน 1 : 250,000 หน่วยทหาร นาแผนที่ชุดน้ีมาใช้ใน 2 ลักษณะ คือ ใช้ใน การ รบร่วม ระหว่างหน่วยรบทางอากาศกับหน่วยรบ ทางพื้นดิน และใช้ในการวางแผนการรบทาง ภาคพ้ืนดิน เมื่อกรมแผนท่ีทหารได้ผลิตแผนท่ีชุด L 7017 และชุด 1501 ก็ประกาศเลิกใช้แผนท่ีชุด L 708 ทีใ่ ชอ้ ยเู่ ดมิ ตัง้ แตเ่ ดอื น พ.ค. 2517

วิวัฒนาการของแผนที่ทางทหาร ในประเทศไทย นอกจากการผลิตแผนที่ออกมาใช้ทางราชการทหาร ดังท่ีกล่าวมาแล้ว กรมแผนท่ีทหารยังได้ผลิตแผนที่ ออกมาใช้ราชการเพิ่มเติมอีก 2 ชุด คือลาดับชุด L8019 มาตราส่วน 1 : 25,000 และชุด L9013 มาตรา ส่วน 1 : 12,500 แผนที่ชุดน้ีหน่วยทหารทั่วไปมีความต้องการมาก เพราะความละเอียดถูกต้องมากกว่าแผนที่ชุด L7017 ตารางกริดก็มีขนาดเท่ากับ แผ่นเรขายิง (4 ซม.) ใน วิชาหลักยิงของ ป. และ ค. จึงเหมาะท่ีจะนามาใช้กับ หน่วยทหารปืนใหญ่ และร้อย ค. หนักของทหารราบ และที่สาคัญก็คือเหมาะท่ีหน่วยทหารราบขนาดเล็ก จะนามาใช้ทางยทุ ธวิธี เพราะนอกจากตัวแผนที่เองจะมี ความถกู ต้องทางตาแหนง่ ที่ (พกิ ดั ) ดกี ว่า

แผนทีใ่ นหนว่ ยทหารของ ทบ.ไทย 1. แผนท่ียุทธการร่วม (JOG – A และ JOG – G) ชุด 1501 (1 : 250,000) ใช้ในการรบร่วมระหว่าง อากาศ –พ้นื ดนิ และใชใ้ นการวางแผนการรบทางพื้นดนิ 2. แผนท่ีภูมิประเทศ ชุด L7017 (1 : 50,000) ใชใ้ นทางยทุ ธวิธี 3. แผนท่ีภูมปิ ระเทศ ชดุ L8019 ( 1 : 25,000) ใช้ในทางยุทธวิธีกับหน่วยทหารขนาดเล็ก และหน่วย ทหาร ป. และ ค. 4. แผนทีต่ ัวเมอื ง ชุด L9013 ( 1 : 12,500) ใช้รบในเมือง

แผนท่ชี ดุ L 7018 ขอ้ มูลทว่ั ไป 1. รายละเอียดส่วนใหญ่คล้ายกับแผนท่ีชุด L 7017 แต่มีการเพ่ิม / ลด รายการบางส่วน และมีการจัดวาง รายละเอียดต่างๆ บริเวณขอบระวางแผนท่ีต่างกัน เล็กน้อย 2. แผนที่ชุด L 7018 จะไม่มีสีแดง แต่จะใช้สี น้าตาลแดงแทน เพื่อให้สามารถอ่านแผนที่ได้ภายใต้ แสงสีแดง ดังนั้นจะมี 5 สี คือ ดา เขียว ฟ้า น้าตาล และนา้ ตาลแดง 3. ความแตกต่างท่ีสาคัญอยู่ที่พื้นท่ีหลักฐานอ้างอิง ทางราบทแ่ี ผนท่ชี ดุ L 7018 ใช้พื้นหลักฐาน WGS – 84 ซ่ึงเป็นพื้นบานอ้างอิงสาหรับ GPS ส่วน แผนท่ีชุด L7017 ใช้พ้ืนหลักฐาน Indian 1975 มีผลทาให้ค่า พิกัดทางราบท่ีอ่านได้จากแผนท่ีชุด L7018 ไม่ตรงกับ คา่ พกิ ดั ของจุดเดียวกันทอ่ี า่ นได้จากแผนท่ีชดุ L7017

แผนท่ชี ดุ L 7018 4. พืน้ หลักฐานอ้างองิ ทางดง่ิ ของแผนทีช่ ดุ L 7018 อ้างอิงระดบั น้าทะเลปานกลาง 5. ขอ้ มูลสารวจใช้รปู ถ่ายทางอากาศปี 2539 – 2541 6. แผนท่ีส่วนใหญ่จะมีหมายเลขระวางเหมือนเดิม แตช่ ่อื ระวางอาจเปล่ียนไปได้เน่ืองจากขอบเขตของแผนที่ จะเลือ่ นไปจากเดมิ

การแบ่งประเภทของแผนทต่ี ามมาตรสว่ น 1. มาตราส่วนเล็ก ได้แก่ แผนท่ีที่มีมาตรา ส่วน 1 : 600,000 และเล็กกว่าเหมาะสาหรับ การวางแผนทั่ว ๆ ไป และใช้สาหรับการศึกษา พจิ ารณาทางยุทธศาสตร์ ของหน่วยระดับสูง 2. มาตราส่วนปานกลาง ได้แก่ แผนที่ที่มี มาตราส่วนใหญ่กว่า 1:600,000 แต่เล็กกว่า มาตราส่วน 1 : 75,000 เหมาะสาหรับการ วางแผนทางยุทธการช่ึงรวมถึงการเคล่ือนย้าย การรวมพล การสง่ กาลงั บารุงด้วย 3 . ม า ต ร า ส่ ว น ใ ห ญ่ ไ ด้ แ ก่ แ ผ น ที่ ที่ มี มาตราส่วน 1 : 75,000 และใหญ่กว่าเหมาะ สาหรับความจาเป็นทางยุทธวิธี ทางเทคนิคและ ทางธรุ การของหน่วยตา่ ง ๆ ในสนาม

รายละเอียดขอบระวาง รายละเอียดขอบระวาง ท่ีขอบระวางแผนท่ี ย่อมมีรายละเอียดซ่ึงใช้แสดงความหมายต่าง ๆ ของแผนที่ไว้ด้วยแต่เพื่อให้สามารถอ่านแผนที่ได้ ถูกต้อง แผนท่ีท้ังหลายย่อมไม่เหมือนกัน ขอบ ระวางของแผนท่ีจึงแตกต่างกัน ดังนั้นทุกคร้ังที่จะ ใช้แผนที่ต่างกันจึงต้องศึกษารายละเอียดขอบ ระวางอย่างรอบคอบเสมอ สาหรับรายละเอียด ขอบระวางของแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 มีรายละเอียดต่าง ๆ ดงั ต่อ ไปน้ี คอื



1. ชื่อแผ่นระวาง ( Sheet Name ) จะมีช่ือแผ่นระวางน้ีปรากฏอยู่สองแห่งคือ ณ ตรงกึ่งกลางขอบระวางตอนบน และทาง ด้านซ้ายของขอบระวางตอนล่างตามปกติแล้ว จะต้ังชื่อตามลักษณะเด่นของรายละเอียดในแผ่น ระวางทางวัฒนธรรม ซ่ึงเกิดจากฝีมือของมนุษย์ เช่น ชื่อหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด ฯลฯ หรือ ลักษณะเด่นทางภูมิศาสตร์ เช่น ชื่อภูเขา แม่นา หนอง บึง ฯลฯ แล้วแต่รายละเอียดชนิดไหนจะ เด่นมากกวา่ กนั แต่ปกติแล้วมักจะตั้งตามลักษณะ เด่นทางวัฒนธรรม เช่น ช่ือของเมืองใหญ่ท่ีสุดท่ี ปรากฏอยูใ่ นแผ่นระวางแผนที่นัน้ เสมอ

ช่อื แผน่ ระวาง ( Sheet Name ) - ก่ึงกลางบน - มุมลา่ งซ้าย

1. ช่อื แผน่ ระวาง ( Sheet Name )

2. ชอ่ื ชดุ และมาตราส่วน (Series name and Scale) ชื่อชุดของแผนท่ีจะปรากฏอยู่ที่ขอบระวาง ด้านซ้ายตอนบนตามปกติแล้วชุดต่างๆ ของแผน ที่จะประกอบด้วยแผนท่ีอย่างเดียวกันพวกหนึ่งที่ มีมาตราส่วนเดียวกัน มีรูปแบบหรือระบบระวาง อ ย่ า ง เ ดี ย ว กั น จั ด ท า ขึ้ น ค ร อ บ ค ลุ ม พื้ น ท่ี ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ บ ริ เ ว ณ ใ ด บ ริ เ ว ณ ห น่ึ ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ อาจจะเป็นแผนท่ีต่างๆ ช่ือชุดของแผนท่ีมักจะตั้ง ต า ม ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ท่ี สุ ด ท า ง วั ฒ ธ ร ร ม ห รื อ ท า ง ภูมิศาสตร์ของบริเวณพ้ืนท่ีช่ึงแผนที่ชุดนั้น ๆ สาหรับมาตราส่วนของแผนท่ีนั้น จะปรากฏอยทู่ ั้ง ที่ขอบระวางด้านซ้ายตอนบน และตรงก่ึงกลาง ของขอบระวางตอนลา่ ง

ชอ่ื ชดุ และมาตราส่วน - มุมซ้ายบน - ลา่ งซา้ ยถดั จากชอ่ื ระวาง

2. ชื่อชดุ และมาตราสว่ น

3. หมายเลขแผน่ ระวาง ( Sheet Number ) จะปรากฏอยู่ที่ขอบระวางด้านขวาตอนบน และจะใชเ้ ปน็ หมายเลขอ้างองิ ท่กี าหนดให้กับแผน ที่แต่ละระวาง หมายเลข แผ่นระวางนี้จะถูก กาหนดข้ึนเป็นตารางแบบระบบตารางพิกัดตาม ความต้องการของผู้ผลิต หมายเลขแผ่นระวาง แผนท่ี 1 : 50,000 กาเนิดมาจากแผนท่ี 1 : 100,000 ซ่ึงกาหนดไว้ด้วยเลขสี่ตาแหน่ง ซ่ึง ประกอบด้วยตัวเลข 2 ชุด ตัวเลข 2 ตาแหน่ง แรกบอกหมายเลข ตารางตามแนวยาว และ ตัวเลข 2 ตาแหน่งหลังบอกหมายเลขตารางตาม แนวต้ัง หมายเลขตารางตามแนวยาว จะเริ่มจาก ตะวันตกสุดของพื้นท่ีการทาแผนท่ีโดยเริ่มจาก หมายเลข 10

หมายเลขแผน่ ระวาง - มุมขวาบน - ล่างซ้ายถดั จากช่อื ชดุ

3. หมายเลขแผน่ ระวาง

4. หมายเลขประจาชดุ ( Series Number ) หมายเลขประจาชุดปรากฏอยู่ท่ีขอบระวาง ด้านขวาตอนบน และท่ีขอบระวางด้านซ้าย ตอนล่าง มักจะปรากฏอยบู่ ่อย ๆ ว่ามีชุดของแผน ทม่ี ากกว่า 1 ชุด ครอบคลุมพ้ืนที่ บริเวณเดียวกัน อยู่ ดังนั้นจึงต้องมีการกาหนดหมายเลขการ พิสูจนท์ ราบใหก้ บั แผนทแ่ี ตล่ ะชุดไว้ด้วย กล่าวคือ หมายเลขประจาชุดจะแสดงให้ทราบถึงการปก คลุมพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วโลกแบ่งย่อยเป็นทวีป ภูมิภาค จนถึงบริเวณย่อยของภูมิภาค บอกถึง ย่านของมาตราส่วน รวมทั้งจาแนกโดยการ กาหนดชื่อหรือหมายเลขให้เห็นความแตกต่าง โดยเฉพาะระหว่างชุดต่างๆ ซึ่งมีมาตราส่วนและ ครอบคลุมพ้ืนท่ีเดียวกันซ่ึงปกติแล้วมักจะบอกถึง ลาดับที่การจัดทา

หมายเลขประจาชดุ - มมุ ขวาบนถัดจากหมายเลขระวาง - ลา่ งซ้ายถัดจากหมายเลขชุด

4. หมายเลขประจาชดุ

5. หมายเลขการจดั พมิ พ์ ( Edition Number) ปรากฏอยู่ที่ขอบระวางด้านขวาตอนบนและ ขอบระวางด้านซ้ายตอนล่าง หมายเลขการจัดพิมพ์ น้ีจะเรียงลาดับจากนอ้ ยไปหามาก จะแสดงให้ทราบ ถึงอายุของแผนที่ หมายเลขการจัดพิมพ์ครั้งหลังๆ ย่อมมีข้อมูลและรายละเอียดทันสมัยกว่าแผนที่ มหี มายเลขการจัดพิมพ์ ครง้ั ก่อนๆ

5. หมายเลขการจดั พมิ พ์

6. มาตราส่วนเสน้ บรรทัด ( Bar Scales ) ปราฏอยู่ท่ีกึ่งกลางของขอบระวางตอนล่างเพ่ือ ใช้ในการพิจารณาหาระยะบนพ้ืนดิน แผนท่ีเป็น ส่วนมากจะมีมาตราส่วนเส้ นบรรทั ดต้ั งแต่ 3 บรรทัดข้ึนไป ซ่ึงแต่ละบรรทัดจะแสดงมาตราวัด ระยะทีแ่ ตกตา่ งกัน เช่น ไมล์ เมตร หลา เปน็ ต้น

6. มาตราสว่ นเสน้ บรรทดั

7. สารบัญระวางตดิ ต่อ ( Adjoining Sheet ) สารบัญระวางติดต่อจะปรากฏอยู่ท่ีขอบระวาง ตอนล่างด้านขวา สารบัญระวางติดต่อนี้แสดงให้ ทราบถึงแผนที่ระวางต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบ ๆ แผนที่ ฉบับนั้นสารบัญระวางติดต่อที่แสดงไว้ด้วยเส้นประ นั้นย่อมหมายถึงแผนท่ีซ่ึงอยู่ในชุดของแผนท่ีซึ่ง แตกตา่ งกัน และจะมีหมายเลขประจาชุดของแผนที่ นั้น ๆ กากับอยู่ ในแผนท่ีที่มีมาตราส่วนใหญ่จะ พิมพห์ มายเลขระวาง และหมายเลข ประจาชุดของ แผนที่มาตราส่วน 1 : 250,000 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ บริเวณเดียวกันกับแผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ระวาง นน้ั ๆ ไว้ข้างใต้สารบาญนดี้ ้วย

สารบญั ระวางตดิ ต่อ - มมุ ขวาล่าง มลี ักษณะเปน็ ตาราง

7. สารบญั ระวางติดตอ่

8. สารบญั แสดงแนวแบ่งเขตการปกครอง ( Boundaries ) ปรากฏอยู่ที่ตอนล่างของขอบระวางด้านขวา แผนผังน้ีเป็นรูปแสดงให้ทราบถึงเขตการปกครอง ในแผนท่ีซ่ึงตรงกับในภูมิประเทศ เช่น เขตจังหวัด อาเภอ ประโยชน์ คือ ช่วยให้ง่ายต่อการพิจารณา หาแนวปกครองในแผนท่ี

8. สารบัญแสดงแนวแบง่ เขตการปกครอง

9. คาแนะนาเก่ียวกบั ระดบั สูง ( Elevetion Guide ) ปรากฏอยู่ท่ีตอนล่างของขอบระวางด้านขวา ใกล้กับสารบัญระวางติดต่อเป็นแผนผังท่ีแสดง ความสูงของจุดต่าง ๆ ในแผนที่ซ่ึงตรงกับในภูมิ ประเทศจริง ความสูงคิดจากระดับน้าทะเล ปานกลาง มีหนว่ ยเป็นเมตร

9. คาแนะนาเกี่ยวกบั ระดบั สงู

10. แผนผังเดคลิเนช่ัน ( มมุ เยื้อง ) ( Declination Diagram ) ปรากฏอยู่ท่ีขอบระวางตอนล่าง แสดงให้ทราบ ถึ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง มุ ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง ทศิ เหนือจริง ทศิ เหนอื กริด และ ทศิ เหนอื แมเ่ หลก็

10. แผนผังเดคลเิ นช่นั ( มุมเย้อื ง )

11.ชว่ งต่างเสน้ ชัน้ ความสูง (Contour Interval) ปรากฏอยู่ท่ีขอบระวางตอนล่างด้านขวา บอก ให้ทราบถงึ ชว่ งตา่ ง เส้นช้ันความสูง

11.ชว่ งตา่ งเส้นช้นั ความสงู

12. สเพียรอยด์ (Spheroid) กริด (Grid ) เส้นโครงแผนที่ ( Projection ) หลักฐานทางแนวยืน (Vertical Datum) หลักฐาน ทางแนวนอน ( Horizotal Datum ) กาหนดจุด ควบคุมโดย ( Controlled By ) สารวจช่ือโดย ( Names Data By ) แผนที่นี้จัดทาโดย ( Prepared By ) พิมพ์โดย ( Printed By ) ข้อความทั้งหมดท่ีกล่าวมานี้ ปรากฏอยู่ขอบระวาง ตอนล่างใต้ข้อความท่ีบอกระยะช่วงต่าง เส้นชั้น ความสูงบอกให้ทราบถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่กล่าวมานี้ ไว้ชัดเจน

12. สเพยี รอยด์ (Spheroid)

13. ศัพทานุกรม ( Glossary ) ปรากฏอยู่ใต้คาแนะนาเกียวกับระดับสูง เป็น คาอธิบายเก่ียวกับคาต่าง ๆ ทางเทคนิค หรือ คา แปลของคาต่าง ๆ ที่ใช้อยู่บนแผนที่ซึ่งใช้ภาษา พื้นเมอื งมาเปน็ คาภาษา องั กฤษ

13. ศัพทานกุ รม ( Glossary )

14. คาแนะนาการใช้ค่ากรดิ ( Grid reference Box ) ป ร า ก ฏ อ ยู่ กึ่ ง ก ล า ง ด้ า น ล่ า ง ข อ บ ร ะ ว า ง คื อ ข้อความที่บรรจุอยใู่ นกรอบส่ีเหลี่ยม เป็นคาแนะนา สาหรับการหาพิกัดของจุดต่าง ๆ ในแผนที่โดย อธบิ ายไวเ้ ปน็ ขั้นตอน

14. คาแนะนาการใชค้ ่ากรดิ

15. คาอธิบายสญั ลกั ษณ์ (Legend) ป ร า ก ฏ อ ยู่ ท่ี ข อ บ ร ะ ว า ง ด้ า น ล่ า ง ท า ง ซ้ า ย สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแผนท่ีจะแสดงไว้ด้วย ภาพ สี และเส้นต่างๆ โดยอธิบายให้ทราบว่าสิ่งท่ี เป็นจริงในภมู ิประเทศคืออะไร

15. คาอธิบายสญั ลกั ษณ์ (Legend)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook