Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนชุมชนประชานิคม (ฉบับสมบูรณ์ ครั้งที่ 1)

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนชุมชนประชานิคม (ฉบับสมบูรณ์ ครั้งที่ 1)

Published by prachya0411, 2020-06-10 09:58:00

Description: รวมเล่มแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) แผนปฏิบัตกิ ำรประจำปกี ำรศกึ ษำ 2563 โรงเรียนชุมชนประชำนิคม . .. โรงเรียนคณุ ภำพประจำตำบล ( 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภำพ) สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษ)ำประถมศึกษำชมุ พรเขต 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน กระทรวงศึกษำธิกำรแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นชมุ ชนประชานิคม ระยะ 5 ปี (ปีการศึกษา 2563-2567) โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) แผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปีกำรศกึ ษำ 2563 โรงเรียนชมุ ชนประชำนิคม โรงเรยี นคุณภำพประจำตำบล ( 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคณุ ภำพ ) สำนกั งำนเขตพ้ืนท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำชุมพรเขต 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร 2

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) คำนำ การพัฒนาคุณภาพของการศกึ ษาในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานระยะท่มี ีสภาวการณ์ของการเปล่ยี นแปลงทาง เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรใน สถานศกึ ษาจึงต้องร่วมมือกนั กาหนดแนวทาง กระบวนการ และเครือ่ งมอื ในการบริหารจัดการศกึ ษาให้มีความ หลากหลาย การขับเคลื่อนการพัฒนาโดยยุทธศาสตร์ (Strategy – focus Organization) จะก่อให้เกิดคุณค่า (Value Creation) ตามเปา้ ประสงคท์ ก่ี าหนดไว้ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนชุมชนประชานคิ ม โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล (1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ) ฉบับน้ี เปน็ การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรส์ ู่การปฏิบตั ิให้บังเกิดผล โดยใช้กลยทุ ธ์การ บริหารแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบริหารจัดการคุณภาพโดยยึดหลักบริหารแบบ 6 ร่วมในการบริหาร สถานศึกษา การจดั ทาเป็นแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปกี ารศกึ ษา 2563 จะเป็นแนวทางท่ีสามารถนาไปปฏบิ ตั ิได้อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ ประกอบด้วย สว่ นท่ี 1 บทนา สว่ นที่ 2 สถานภาพของสถานศกึ ษา สว่ นที่ 3 ทิศทางการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา ส่วนท่ี 4 แผนงานโครงการ/กจิ กรรม ปกี ารศึกษา 2563 ส่วนท่ี 5 การกากับ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผล คณะผู้จัดทาหวังเปน็ อย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2563 ฉบับน้ีจะเป็นแบบอย่างและ แนวทางการปฏิบตั งิ าน/โครงการ/กิจกรรม ใหป้ ระสบผลสาเร็จตามเปา้ หมายทโ่ี รงเรยี นกาหนดไว้ 3

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) สำรบัญ เร่อื ง หน้ำ คำนำ สำรบญั ส่วนท่ี 1 บทนำ 7 ขอ้ มูลท่วั ไป 8 ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศึกษา 10 ขอ้ มลู นกั เรียน (ขอ้ มลู ณ 10 มิถุนายน 2562) 11 ผลการจดั การเรียนรูต้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษา : ระดบั ปฐมวยั 11 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา 13 ผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รยี น (NT) ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 16 ประจาปกี ารศึกษา 2562 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) 17 ขอ้ มลู การใช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอก ปกี ารศึกษา 2562 19 ข้อมูลงบประมาณ 20 ขอ้ มูลภาพชุมชนโดยรวม 21 ส่วนท่ี 2 สถำนภำพของสถำนศกึ ษำ 22 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) 23 สภาพแวดลอ้ มภายใน 23 สภาพแวดลอ้ มภายนอก 24 สว่ นที่ 3 ทศิ ทำงกำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำของโรงเรยี นชมุ ชนประชำนคิ ม 25 รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 26 พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 27 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 27 การนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชาสูก่ ารปฏบิ ัติ 31 พระปฐมบรมราชโองการ รชั กาลท่ี 10 34 พระบรมราโชบาย ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ 35 พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 กับการพัฒนาการศกึ ษา นโยบายของรัฐบาลด้านการศึกษา 35 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 39 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั และการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 43 จดุ เนน้ การดาเนนิ งานของสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 1 45 4

แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) เรือ่ ง สำรบัญ (ตอ่ ) หน้ำ สว่ นที่ 4 วิสัยทศั น์, พันธกจิ , กลยทุ ธ์, เป้าหมาย/เปา้ ประสงค์โรงเรยี นชุมชนประชานิคม 46 ปรัชญา, อัตลักษณ์/เอกลักษณ์โรงเรียนชมุ ชนประชานคิ ม 48 โครงสร้างการบรหิ ารโรงเรยี นชุมชนประชานคิ ม (นาเสนอโดยแผนภูม)ิ แผนงำนโครงกำร/กจิ กรรม ปกี ำรศกึ ษำ 2563-2567 49 สรปุ งบหน้าโครงการ/กิจกรรมและงบประมาณ 50 แผนงานโครงการ/กจิ กรรม ปกี ารศกึ ษา 2563 รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม และประมาณการงบประมาณ 51 กลุม่ บรหิ ำรงำนวิชำกำร โครงการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 52 โครงการพฒั นาสื่อ เพื่อการจดั การเรียนการสอน 65 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 72 - กจิ กรรมยกระดับผลผลสมั ฤทธิ์การทดสอบระดับชาติ NT / O-NET - กิจกรรมบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา 73 โครงการสง่ เสรมิ ทกั ษะทางวิชาการสคู่ วามเป็นเลศิ 77 โครงการพฒั นาทักษะการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นส่อื ความ - กิจกรรมบนั ทกึ การอ่าน 81 - กจิ กรรมวันรักษ์ภาษาไทย 81 - กิจกรรมสัปดาหว์ นั วทิ ยาศาสตร์ - กจิ กรรมคิดเลขเรว็ 85 - กจิ กรรมส่งเสริมทักษะภาษาตา่ งประเทศ - กิจกรรมอา่ นออก เขยี นได้ คดิ เลขเปน็ 88 โครงการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 92 - กจิ กรรมศึกษาแหลง่ เรยี นร้นู อกสถานศึกษา - กิจกรรมเข้าคา่ ยลกู เสอื -เนตรนารี 92 - กิจกรรมเขา้ ค่ายคุณธรรมจริยธรรม 101 - กจิ กรรมพัฒนาการเรียนการสอนเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ( ICT ) 103 - กจิ กรรมทางวิชาการ 105 โครงการหอ้ งสมดุ มชี ีวติ 107 โครงการสง่ เสริมสุนทรยี ภาพ ดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ โครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 109 โครงการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอน และพฒั นาศกั ยภาพนกั กีฬา โครงการกจิ กรรมวันสาคญั 113 โครงการการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาด 113 ของเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 116 118 120 122 127 130 134 138 141 145 5

แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) สำรบัญ (ตอ่ ) เรอื่ ง โครงการโรงเรยี นสันตสิ ขุ หนำ้ สว่ นท่ี 5 โครงการโรงเรยี นสจุ ริต เสรมิ สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา 150 กล่มุ บรหิ ำรงำนบุคคล 154 โครงการพฒั นาศักยภาพของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 159 โครงการยกระดบั วชิ าชพี ครแู ละเชดิ ชเู กยี รตคิ รูและบคุ ลากรทางการศึกษา 160 โครงการจา้ งครูและบคุ ลากรสนบั สนนุ การจดั การศึกษา 164 กล่มุ บรหิ ำรงำนงบประมำณ 167 โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารและการจดั การงบประมาณ 170 กลุ่มบรหิ ำรงำนทวั่ ไป 171 โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 175 176 - กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน และกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนรายบุคคล 176 180 โครงการประชุมผปู้ กครองนักเรยี น 184 โครงการสหกรณค์ รบวงจรโรงเรยี นชุมชนประชานิคม 188 โครงการโรงเรยี นสวยดว้ ยมอื เรา 192 โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งนาโรงเรยี นพัฒนาส่สู ากล 196 200 โครงการอาหารกลางวันอย่างย่ังยืนและส่งเสริมการเรียนรู้เพอ่ื อาหารกลางวันในโรงเรียน 204 208 โครงการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยและวินยั นักเรยี น 213 โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพ 215 219 โครงการสรา้ งสุขเพ่ิมทกั ษะชวี ิตของนักเรียนโรงเรยี นชมุ ชนประชานิคม 223 227 โครงการปรับภูมทิ ศั นแ์ ละสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ 231 234 - กจิ กรรมปรบั ปรุงพฒั นาห้องปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 239 242 โครงการสื่อ วสั ดสุ านกั งาน วจิ ัย งานนโยบายและแผน 247 โครงการสง่ เสรมิ เอกลักษณ์ ประหยดั อดออม 248 โครงการการแข่งขนั กฬี าภายในและกีฬาสัมพันธช์ มุ ชน 251 โครงการสร้างภูมคิ มุ้ กันและเฝา้ ระวังส่ิงเสพตดิ ในสถานศกึ ษา โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น โครงการผลผลติ เพื่ออาหารกลางวัน กำรกำกับ ติดตำม ประเมินผลและรำยงำนผล ภำคผนวก คาสง่ั โรงเรียนชมุ ชนประชานิคม ท่ี 40/2563 เร่อื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจัดทา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 บนั ทกึ การใหค้ วามเห็นชอบแผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 6

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) ส่วนท่ี 1 บทนำ 7

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) ส่วนท่ี 1 บทนำ 1. บทนำ 1.1 ข้อมูลทั่วไป ชอื่ โรงเรียน (ไทย) ชุมชนประชานคิ ม ชอ่ื โรงเรยี น (ภาษาองั กฤษ) Chumchonprachanicom ทต่ี งั้ 55 หมู่ท่ี 14 ถนน ประวตั นิ ิคม ตาบลทา่ แซะ อาเภอท่าแซะ จังหวัดชมุ พร สังกัด สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาชมุ พร เขต 1 เครือขา่ ยสถานศกึ ษาท่าแซะ 2 โทร 077622037 โทรสาร 077622037 ช่ือผ้บู รหิ าร นายอรณุ กลน่ิ ทพิ ย์ขจร โทรศัพทม์ อื ถอื ผบู้ รหิ าร 0902104195 e-mail [email protected] - website http:chumchonprachanicom.com เปิดสอนระดบั ชนั้ อนุบาล ถงึ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 แผนทโ่ี รงเรียน 8

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) ปรชั ญำโรงเรียน การศึกษาพัฒนาคน คนพัฒนาสงั คม สงั คมพัฒนาการศึกษา ตรำสัญลกั ษณโ์ รงเรียน วสิ ยั ทัศน(์ VISION) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ คุณธรรมนาความรู้ อยู่ร่วมกันในสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งได้อย่างสันติสุข ยึดมัน่ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กา้ ว ทันเทคโนโลยี อนุรักษ์วัฒนธรรม และสง่ิ แวดล้อม โดยเน้นการมีสว่ นร่วมของชุมชน เพ่อื ก้าวสู่ความเปน็ พลเมอื ง ไทยและพลโลก พันธกิจ (MISSION) 1. โรงเรยี นจัดการศึกษาตั้งแตป่ ฐมวัยถงึ ภาคบงั คับ ให้ผเู้ รยี นมีศักยภาพตามมาตรฐาน 2. ส่งเสริมและพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 3. จัดสภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ต่อการพัฒนาผูเ้ รยี น 4. จัดหลักสตู รและกจิ กรรมให้ผูเ้ รียนพฒั นาเตม็ ศักยภาพ 5. พฒั นาระบบการบรหิ ารใหส้ อดคลอ้ งกบั การกระจายอานาจ 6. พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ เป้ำประสงค์ (Goals) 1. เด็กระดบั ปฐมวัยมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย 2. ผูเ้ รยี นระดับประถม-มัธยมศกึ ษามคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 3. ครูมคี วามสามารถในการจดั ประสบการณเ์ รียนร้อู ยา่ งมีประสิทธิภาพและเนน้ เด็ก/ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั 4. ผบู้ ริหารมกี ารบรหิ ารและจัดการศกึ ษาโดยใชส้ ถานศึกษาเป็นฐาน 5. สถานศกึ ษามีการจดั หลักสูตร และประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ีเน้นเดก็ /ผู้เรยี นเป็นสาคญั 6. สถานศกึ ษามกี ารจัดสภาพแวดล้อมและการใหบ้ ริการท่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ /ผเู้ รยี นพัฒนา ตามธรรมชาติเต็มศกั ยภาพ 7. สถานศึกษามคี วามร่วมมือกบั ชุมชน 9

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) 1.2 ข้อมูลบุคลำกรของสถำนศึกษำ พนกั งาน ครูอัตรา เจา้ หนา้ ที่ รวม 1) จำนวนบคุ ลำกร ราชการ จ้าง อน่ื ๆ ท้ังหมด บุคลากร ผู้บริหาร ครูผสู้ อน - 23 26 ปีกำรศกึ ษำ 2562 1 20 2) วุฒกิ ำรศกึ ษำสงู สุดของบคุ ลำกร วุฒิ ปรญิ ญา ปรญิ ญา ปริญญา ป. ปวส. ปวช. ตา่ กวา่ รวม ตรี บัณฑติ ปวช. ท้งั หมด กำรศึกษำ เอก โท จำนวน(คน) - 7 18 - - 1 - 26 3) สำขำวชิ ำทีจ่ บกำรศกึ ษำและภำระงำนสอน สำขำวชิ ำ จำนวน (คน) ภำระงำนสอนเฉล่ยี ของครู 1 คน ในแตล่ ะสำขำวชิ ำ (ชม./สัปดำห)์ 1. บรหิ ารการศึกษา 1 2. คณติ ศาสตร์ 2 23 3. วิทยาศาสตร์ 4 23 4. ภาษาไทย 2 23 5. ภาษาอังกฤษ 1 23 6. สังคมศึกษา 2 23 7. เกษตรศาสตร์ 1 23 8. พัฒนาเดก็ และครอบครัว 1 23 9. คอมพวิ เตอร์ 1 23 10. ดนตรีไทย 1 23 11. พลศกึ ษา 1 23 12. ปฐมวยั 3 23 13. ประถมศึกษา 2 23 22 23 รวม 23 10

แผนปฏบิ ัติการประจาปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) 1.3 ข้อมูลนักเรียน (ข้อมลู ณ 10 มิถุนำยน 2562) ระดบั ช้ันเรียน จำนวน จำนวนนกั เรยี น เฉลย่ี ตอ่ ห้อง หอ้ งเรยี น อ.1 ชำย หญิง รวม 9 อ.2 1 23 อ.3 1 36 9 23 รวม 1 18.33 ป.1 3 13 10 23 28 ป.2 2 36 ป.3 1 14 9 23 26 ป.4 1 20 ป.5 2 30 25 55 19 ป.6 2 21.5 รวม 2 27 29 56 23.9 ม.1 10 33 ม.2 1 15 21 36 35 ม.3 1 35 รวม 1 13 13 26 34.33 รวมทงั้ หมด 3 24.81 16 26 14 40 17 21 38 23 20 43 121 118 239 18 15 33 18 17 35 11 24 35 47 56 103 198 199 397 1.4 ผลกำรจดั กำรเรยี นรตู้ ำมหลักสูตรสถำนศึกษำ : ระดับปฐมวัย 1) ผลพัฒนำกำรเดก็ ชน้ั อนุบำลปีที่ 1 พัฒนำกำรด้ำน จำนวนเดก็ จำนวน/รอ้ ยละของเดก็ ตำมระดบั คุณภำพ ท่ปี ระเมิน ดี พอใช้ ปรับปรงุ 1.ด้านรา่ งกาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ 2.ด้านอารมณ-์ จิตใจ - 3.ด้านสังคม - ------ 4.ดา้ นสตปิ ัญญา - ------ - ------ ------ 11

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) 2) ผลพัฒนำกำรเดก็ ชน้ั อนุบำลปีท่ี 2 พฒั นำกำรดำ้ น จำนวนเด็ก จำนวน/รอ้ ยละของเดก็ ตำมระดับคณุ ภำพ ทีป่ ระเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1.ดา้ นรา่ งกาย จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ 2.ด้านอารมณ-์ จิตใจ 19 19 100 - - - - 3.ด้านสงั คม 19 19 100 - - - - 4.ดา้ นสตปิ ญั ญา 19 19 100 - - - - 19 19 100 - - - - 3) ผลพัฒนำกำรเด็ก ช้ันอนุบำลปีท่ี 3 พัฒนำกำรดำ้ น จำนวนเดก็ จำนวน/รอ้ ยละของเด็กตำมระดบั คณุ ภำพ ทปี่ ระเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1.ดา้ นร่างกาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ 2.ด้านอารมณ-์ จิตใจ 25 25 100 - - - - 3.ด้านสงั คม 25 25 100 - - - - 4.ดา้ นสตปิ ญั ญา 25 25 100 - - - - 25 25 100 - - - - (ให้นาเสนอผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็ก ตามหลักการประเมนิ พัฒนาการเด็กระดบั ปฐมวยั ) 12

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนชุมชนประชานิคม ระยะ 5 ปี (ปกี ารศึกษา 2563-2567) โร 1.5 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนระดับสถำนศึกษำ 1) ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นปีกำรศึกษำ 2562 จำนวน จำนวนนกั เรยี นทีม่ ีผลสมั ฤทธ ระดับชน้ั นักเรียน ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วิทยำศำสตร์ สังคมศกึ ทงั้ หมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร ป.1 34 28 82.35 28 82.35 34 100 28 8 ป.2 49 40 81.63 42 85.71 40 81.63 38 7 ป.3 29 23 79.31 21 72.41 22 75.86 15 5 ป.4 28 21 75.00 16 51.14 24 85.71 24 8 ป.5 37 27 72.97 19 51.35 26 70.27 23 6 ป.6 36 20 55.56 16 44.44 28 77.78 22 6 ม.1 45 38 84.44 15 33.33 34 75.56 29 6 ม.2 34 26 76.47 18 52.94 25 73.53 18 5 ม.3 31 27 87.10 21 67.74 27 87.10 21 6 รวมท้ังส้ิน 323 250 77.40 196 60.68 260 80.50 218 6

รงเรียนคุณภาพประจาตาบล ธิ์ทำงกำรเรียนแตล่ ะรำยวิชำในระดบั 3 ขึน้ ไป ปีกำรศกึ ษำ 2562 ษำฯ ประวตั ศิ ำสตร์ สขุ ศกึ ษำฯ ศลิ ปะ ดนตรี กำรงำนฯ ภำษำองั กฤษ รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 82.35 24 70.59 34 100 34 100 34 100 30 88.24 77.55 30 61.22 43 87.76 49 100 42 85.71 38 77.55 51.72 24 82.76 28 96.55 26 89.66 20 68.97 22 75.86 85.71 26 92.86 28 100 28 100 28 100 13 46.43 62.16 26 70.27 34 91.89 33 89.19 17 45.95 18 48.65 61.11 28 77.78 30 83.33 36 100 25 69.44 18 50.00 64.44 31 68.89 37 82.22 45 100 33 73.33 21 46.67 52.94 21 61.76 23 67.65 29 85.29 25 73.53 16 47.06 67.74 19 61.29 14 45.16 23 74.19 26 83.87 19 61.29 67.49 229 70.90 271 83.90 303 93.81 250 77.40 195 60.37 13

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) ร้อยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนแต่ละรำยวชิ ำในระดับ 3 ขน้ึ ไป จำแนกตำมระดบั ช้ัน ปกี ำรศึกษำ 2562 2) ผลประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ จำนวน จำนวนนักเรยี นท่ีมีผลกำรประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี น ระดบั ชัน้ ทัง้ หมด ดีเย่ยี ม ดี ผ่ำน ไมผ่ ำ่ น ป.1 34 จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ป.2 49 ป.3 29 34 100 - - - - - - ป.4 28 ป.5 37 43 87.76 3 6.12 3 6.12 - - ป.6 36 ม.1 45 21 72.41 8 27.59 - - - - ม.2 34 ม.3 31 28 100 - - - - - - รวมทงั้ สนิ้ 323 37 100 - - - - - - 24 66.67 7 19.44 5 13.89 - - 41 91.11 4 8.89 - - - - 29 85.29 5 14.71 - - - - 15 48.39 16 51.61 - - - - 272 84.21 43 13.31 8 2.48 - - 14

แผนปฏบิ ัติการประจาปี ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) ร้อยละของผลกำรประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ จำแนกตำมระดบั คุณภำพ [] 0% [] [] 3) ผลกำรประเมินกำรอำ่ น คิดวิเครำะหแ์ ละเขยี น จำนวน จำนวนนักเรยี นที่มผี ลกำรประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นักเรียน ระดับช้ัน ทง้ั หมด ดีเย่ียม ดี ผ่ำน ไม่ผำ่ น ป.1 34 จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ ป.2 49 ป.3 29 16 47.06 16 47.06 2 5.88 - - ป.4 28 ป.5 37 25 51.02 14 28.57 10 20.41 - - ป.6 36 ม.1 45 19 65.52 8 27.59 2 6.89 - - ม.2 34 ม.3 31 24 85.71 4 14.29 - - - - รวมทัง้ สน้ิ 323 21 56.76 7 18.92 9 24.32 - - 9 25.00 19 52.78 8 22.22 - - 34 75.56 8 17.78 3 6.66 - - 20 58.82 10 29.41 4 11.77 - - 16 51.61 9 29.04 6 19.35 - - 184 56.97 95 29.41 44 13.62 - - 15

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) รอ้ ยละของผลกำรประเมินกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะห์และเขยี น จำแนกตำมระดับคณุ ภำพ [] [] 0% [] 1.6 ผลกำรประเมนิ คุณภำพผ้เู รียน (NT) ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 3 ประจำปกี ำรศึกษำ 2562 คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ประจาปีการศึกษา 2562 60 44.94 45.7 45.64 45.82 50 47.2 47.97 49.6 50.19 40 55.6 55.82 40.64 44.48 30 20 10 0 46.46 46 48.75 50.77 56.04 48.32 16

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละของจานวนนักเรยี นท่ีมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ 70 60 50 40 30 20 10 0 12 20 12 40 60 60 44 16 24 444 1.7 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ ้ันพ้นื ฐำน (O-NET) 1) ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้นั พน้ื ฐำน (O-NET) ประจำปีกำรศึกษำ 2562 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 17

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 70 33.25 26.73 30.07 36.30 60 32.98 26.98 30.22 36.52 50 30.64 25.59 30.50 36.07 40 24.96 23.30 27.15 33.00 30 20 10 0 55.14 55.91 57.55 56.57 2) เปรยี บเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติขน้ั พื้นฐำน (O-NET) ปกี ำรศกึ ษำ 2560 - 2562 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำตขิ ้นั พน้ื ฐำน (O-NET) ปีกำรศกึ ษำ 2560 – 2562 ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 60 49.77 30.91 35.23 40.61 39.13 50.49 31.88 32.78 35.26 37.60 50 48.13 31.39 30.74 33.68 35.99 40 30 20 10 0 2560 2561 2562 18

แผนปฏิบัติการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติขั้นพน้ื ฐำน (O-NET) ปกี ำรศึกษำ 2560 – 2562 ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 3 70 46.58 27.33 22.06 32.61 32.15 60 57.38 25.46 28.00 36.54 36.85 50 56.57 24.96 23.30 27.15 33.00 40 30 20 10 0 2560 2561 2562 1.8 ขอ้ มูลกำรใช้แหล่งเรยี นรู้ภำยในและภำยนอก ปีกำรศกึ ษำ 2562 ร้อยละของจำนวนนักเรียนทใ่ี ช้แหลง่ เรยี นรูใ้ นโรงเรียน ปีกำรศกึ ษำ 2562 700 600 500 31 54 60 85 74 75 70 72 31 85 56 75 66 62 75 66 65 56 66 45 75 66 45 400 85 85 75 75 45 75 66 45 30 66 85 75 70 45 300 85 56 75 76 84 66 68 66 200 56 56 54 56 75 75 70 72 42 54 60 80 56 42 85 72 75 100 42 42 0 54 54 50 68 54 50 72 66 ผกั กำงม้งุ ฐำนเศรษฐกิจพอเพยี ง บอ่ เลย้ี งปลำดุก หอ้ งสหกรณ์ หอ้ งคอมพิวเตอร์ สนำมกี ำ หอ้ งสมดุ แปลงเกษตร 19

แผนปฏิบัติการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีใช้แหล่งเรยี นรู้นอกโรงเรียน ปกี ำรศกึ ษำ 2562 1.9 ขอ้ มลู งบประมำณ งบประมำณ (รบั -จำ่ ย) รายรับ จานวน/บาท รายจ่าย จานวน/บาท เงนิ งบประมาณ 1,646,490 445,614.37 งบดาาเนนิ การ/เงินเดือน- เงินนอกงบประมาณ 571,034 คา่ จ้าง 1,561,432.30 เงินอื่น ๆ (ระบ)ุ 379,689 งบพฒั นาคณุ ภาพการจัด 378,570 รวมรำยรบั 2,597,213 การศกึ ษา 2,385,616.67 งบอืน่ ๆ (ระบ)ุ รวมรำยจำ่ ย งบดาเนนิ การ/เงินเดอื น เงินคา่ จ้าง คิดเป็นรอ้ ยละ 17.15 ของรายรบั งบพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ 60.12 ของรายรบั 20

แผนปฏบิ ัติการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) 1.10 ข้อมลู ภำพชมุ ชนโดยรวม 1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนหนาแน่นมีประชากรประมาณ 3,500 คน บริเวณใกล้เคยี งโดยรอบโรงเรียนไดแ้ ก่ สถานอี นามยั วัด มัสยิด นิคมสหกรณท์ า่ แซะ ตลาดนัด อาชีพหลักของ ชุมชน คือ เกษตรกรรมเน่ืองจากพ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นของนิคมสหกรณ์ท่าแซะ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถน่ิ ทเี่ ป็นท่ีรจู้ ักโดยท่ัวไปคือ ประเพณีรับส่งตายาย ประเพณตี รษุ ไทย ประเพณี ตรุษจีน ประเพณีวันจบเดอื น 2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ชั้น ป. 6 อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 50,000 บาท จานวนคนเฉล่ียต่อ ครอบครัว 5 คน 3) จุดอ่อน จุดแขง็ โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน โรงเรียนอยู่ใกล้ วัด สถานีอนามัย นิคมสหกรณ์ สหกรณ์นิคมท่าแซะและอยู่ในย่านชุมชนจึงเป็น โอกาสของโรงเรียนคอื ได้รบั การสนับสนุนจาก วดั และหน่วยงานดังกลา่ ว คอื ได้รับความรว่ มมอื และสนบั สนุน จากหน่วยงานและชุมชน ในการจัดการศึกษา 21

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) สว่ นท่ี 2 สถำนภำพของสถำนศกึ ษำ 22

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) ส่วนท่ี 2 สถำนภำพของสถำนศกึ ษำ การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม (Environmental Analysis) เป็นการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก และภายในของโรงเรียนชุมชนประชานิคม โดยพิจารณาจุดแข็ง-จุดอ่อน จากสภาพแวดล้อมภายใน และ โอกาส-อุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก ซ่ึงเป็นปัจจัยหรือเง่ือนไขในระยะเวลาที่ผ่านมา และท่ีจะเป็น เงื่อนไขในอนาคต ซึง่ ส่ิงแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการดาเนินงานของโรงเรียนเป็นอย่างมาก จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ี จะต้องนามาพิจารณาในการกาหนดทศิ ทางและแนวทางการดาเนนิ งาน โดยหาปัจจัยทเ่ี อื้อต่อการดาเนินงาน ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ และขจัดปัจจัยท่ไี ม่เอือ้ ตอ่ การดาเนินงานอันจะนาไปสู่ความล้มเหลวของโรงเรยี น การ วิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมมบี ทบาทสาคัญย่งิ ในกระบวนการจดั ทาแผนกลยทุ ธ์ ซึง่ ดาเนนิ การดงั น้ี 1. กำรวเิ ครำะห์สภำพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) 1.1 สภำพแวดล้อมภำยใน 1.1.1 จุดแข็ง (Strengths) 1) ด้ำนผู้เรียน มที ักษะพ้ืนฐานทางวิชาการตามระดับชั้น ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ระดับชาติ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สูงกว่าระดับประเทศ ผลสัมฤทธ์ิ ป.3 NT สงู กวา่ ระดบั ประเทศ นักเรียนมี สุขภาพแข็งแรง นกั เรยี นมที ักษะอาชพี และทักษะชีวิตที่ีดี 2) ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร มีแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และนามาใช้ อย่างเป็นระบบ มีโครงสร้างการบรหิ ารงาน 4 ฝ่าย มีระบบประกันคุณภาพภายใน ผู้บริหาร ใช้หลักบริหาร PDCA การมีส่วนร่วม ตามหลักธรรมาภิบาล 3) ด้ำนบุคลำกร ครคู รบชนั้ ตรงวชิ าเอก มคี วามรู้ ความสามารถและมที ักษะในการ จัดการเรยี นการสอนได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ มคี วามมงุ่ มัน่ ในการพัฒนานกั เรยี น 4) ด้ำนหลักสูตรและกำรสอน มีหลักสูตรสถานศึกษาครบทุกกีล่มสาระ มีการ ทบทวน ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ครจู ัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการนาสื่อ เทคโนโลยีมาใช้ทุกชั้นเรียน มีการนาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาพัฒนาการเรียนการสอน มีการพัฒนาส่ือและ นวัตกรรม และการวิจยั 5) ดำ้ นโครงสร้ำงพนื้ ฐำน มีอาคารเรียน อาคารประกอบ หอ้ งปฎิบตั ิการ พร้อมใน การจดั การศกึ ษา มีระบบอินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู 300/150 Mbps ใชท้ กุ ช้นั เรยี น มีระบบ WIFI ครอบคลมุ่ ทุกอาคารเรยี น มพี น้ื ที่ 110 ไร่ มีสภาพแวดลอ้ มเอ้อื ตอ่ การจดั การเรียนรู้ 1.1.2 จดุ ออ่ น (Weaknesses) 1) ด้ำนผเู้ รียน ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดบั ชาติ คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษต่ากว่า ระดบั ประเทศ 2) ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำร ไม่มี 3) ด้ำนบุคลำกร ไมม่ ี 4) ดำ้ นหลักสตู รและกำรสอน หลกั สูตรทอ้ งถิน่ ยังไม่สมบรู ณ์ 5) ด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำน ห้องสมุดขาดระบบปฏิบัติการในการสืบค้นข้อมูล ห้องนา้ ชารุด 23

แผนปฏิบัติการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) 1.2 สภำพแวดล้อมภำยนอก 1.2.1 จดุ แข็ง (Strengths) 1) ด้ำนสังคม (Social) เป็นศูนย์กลางของชุมชน ชุมชนและผู้ปกครองให้ความ ร่วมมือในการจัดการศึกษาเป็นอย่างดี มีองคก์ ร เอกชน อบต. รัฐวิสาหกิจ มีส่วนร่วมในการสนบั สนุนการจัด การศึกษา 2) ด้ำนเศรษฐกิจ (Economic) ผู้ปกครองมีอาชีพท่ีมั่นคง มีรายได้พอเลี้ยง ครอบครวั ได้ 3) ดำ้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental) ผู้ปกครองมีการใช้ส่ือเทคโนโลยีทที่ ันสมัย มีระบบโทรศัพทค์ รอบคลมุ่ ทุกพ้ืนท่ี 1.2.2 อปุ สรรค (Threats) 1) ดำ้ นสงั คม (Social) นักเรยี นมคี รอบครัวไม่สมบูรณ์ รอ้ ยละ 40 2) ด้ำนเศรษฐกิจ (Economic) ราคาผลผลิตทางการเกษตร ปาล์มน้ามัน ยางพารา ตกต่า ทาีให้รายไดผ้ ู้ปกครองลดลง ไม่แนน่ อน 3) ด้ำนสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental) การคมนาคมยงั ไมส่ ะดวกเท่าท่ีควร 24

แผนปฏิบัติการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) สว่ นที่ 3 ทิศทำงกำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำของโรงเรียนชุมชนประชำนคิ ม 25

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) สว่ นท่ี 3 ทิศทำงกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำของโรงเรยี นชมุ ชนประชำนคิ ม โรงเรียนชุมชนประชานิคม สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 ได้นา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 การน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบตั ิ พระ ปฐมบรมราชโองการ รัชกาลท่ี 10 พระบรมราโชบาย ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรม หาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 กับการพัฒนาการศึกษา นโยบายของรัฐบาลด้าน การศึกษา นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 (สรา้ งคุณภาพทุน มนุษย์ ส่สู ังคมอนาคตทย่ี ง่ั ยืน) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบบั ลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561) จุดเน้นการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย เป้าประสงค์และโครงสร้างการบรหิ ารของโณงเรียนชุมชนประชานิคม รวมถึงบริบทต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องมาเช่ือมโยงกับอานาจหน้าท่ีมากาหนดเป็นกรอบแนวทางในการจัดทา แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนชุมชนประชานิคม ระยะ 5 ปี (ปกี ารศกึ ษา 2563-2567) สานักงาน เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 1 ดงั นี้ 1. รัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ไดบ้ ญั ญัติไว้ในมาตรา 54 ว่า “รัฐต้องดาเนินการให้ เด็กทุกคนไดร้ ับการศกึ ษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่กอ่ นวัยเรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดย ไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 28/2559 เร่ือง ให้จัดการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย ได้มคี าส่งั ไว้ในข้อ 3 ว่า “ใหส้ ว่ นราชการที่เกยี่ วข้องกับการจดั การศึกษาขั้น พน้ื ฐานดาเนินการจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคณุ ภาพ โดยไมเ่ ก็บค่าใช้จ่าย” (ก.บทนา นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) หมวดที่ 5 หน้ำที่ของรัฐ (ภาคผนวก นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) มำตรำ 54 รัฐตอ้ งดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รบั การศึกษาเป็น เวลาสิบสองปีต้งั แตก่ ่อนวัยเรียนจน จบการศกึ ษาภาคบงั คบั อย่างมคี ุณภาพ โดยไมเ่ กบ็ ค่าใช้จ่าย รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ การศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อ พัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์สังคม และ สติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนร่วมในการดาเนนิ การด้วย และ ในหมวดท่ี 16 กำรปฏิรูปประเทศ สาหรับดา้ นการศึกษาไดบ้ ัญญัตไิ ว้ในขอ้ จ. ดา้ นการศกึ ษา ดงั น้ี “จ. ด้านการศึกษา (1) ให้สามารถเริ่มดาเนินการใหเ้ ด็กเลก็ ไดร้ ับการดแู ลและพัฒนา กอ่ นเข้ารับการศกึ ษาตามมาตรา 54 วรรคสอง เพอ่ื ให้เด็กเลก็ ได้รับการพฒั นา ร่างกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณส์ ังคม และสตปิ ัญญาใหส้ มกับวยั โดย ไมเ่ กบ็ ค่าใช้จ่าย 26

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) (2) ใหด้ าเนนิ การตรากฎหมายเพือ่ จดั ตัง้ กองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้แล้วเสรจ็ ภายในหนึง่ ปี นบั แต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญน้ี (3) ให้มีกลไกและระบบการผลติ คดั กรองและพัฒนาผู้ประกอบ วิชาชีพครูและอาจารย์ให้ไดผ้ ู้มจี ิต วญิ ญาณของความเป็นครมู ีความรคู้ วามสามารถ อยา่ งแท้จริง ไดร้ ับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถ และประสิทธิภาพ ในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ ผู้ประกอบ วิชาชพี ครู (4) ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอนทกุ ระดบั เพ่ือให้ผู้เรียน สามารถเรียนได้ตามความถนัด และ ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง เพ่ือบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันท้ังในระดับชาติ และระดับพน้ื ท่ี” 2. พระรำชบญั ญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542 พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก่ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ได้บัญญัติ จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสุข มาตรา 12 บัญญตั ิวา่ นอกเหนอื จากรัฐ เอกชนและองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ใหบ้ ุคคล ครอบครัว องค์กรชมุ ชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอื่น มีสทิ ธิใน การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรา 4 วรรค 5 บัญญัติว่าสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง สถานศึกษาท่ีจัด การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มาตรา 9 (2) บัญญตั ิถึงหลักการจดั ระบบโครงสรา้ งและกระบวนการจัดการศกึ ษาให้ยึด หลกั การกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศกึ ษา สถานศึกษา และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ท้งั นี้ มาตรา 39 บัญญัติว่า ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การ บริหารงานบุคคลและการบริหารทวั่ ไป ไปยังคณะกรรมการและสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศกึ ษาใน เขตพื้นท่ีการศึกษาโดยตรง (รายงานการวจิ ัยและพัฒนา เรื่อง รูปแบบการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2557) 3. แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 จัดทาข้ึนเพ่ือวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัด การศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคใน การศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทม่ี ีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มสี มรรถนะในการ ทางานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตาม แผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศกึ ษาเพื่อความเท่าเทียม และทัว่ ถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีสว่ นร่วมของสงั คม (All For Education) อีกท้ัง ยึดตามเป้ าห มายการพั ฒ นาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็น ภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คณุ ภาพของคนชว่ งวัย การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งประชากรของประเทศ 27

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) ความเหลื่อมลา้ ของการกระจายรายได้ และวิกฤตดิ ้านสง่ิ แวดลอ้ ม โดยนายทุ ธศาสตร์ชาตมิ าเป็นกรอบความคดิ สาคัญในการจดั ทาแผนการศกึ ษาแห่งชาติ โดยมสี าระสาคญั ดงั นี้ วสิ ัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอยา่ งเป็น สุข สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาที่มคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ 2. เพือ่ พฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ พลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทกั ษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกบั บทบญั ญัติ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ 3. เพือ่ พัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ ร่วมมือผนกึ กาลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอยา่ งยง่ั ยืน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้า ภายในประเทศลดลง ยุทธศำสตร์ ยุทธศาสตร์ประกอบ 6 ยุทธศาสตร์ โดยมียุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับภารกิจของ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 6 ยุทธศาสตร์ ดงั นี้ ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 1 กำรจัดกำรศึกษำเพอื่ ควำมมัน่ คงของสงั คมและประเทศชำติ เปำ้ หมำย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษได้รับ การศกึ ษาและเรียนรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ 3. คนทกุ ช่วงวัยได้รับการศกึ ษา การดแู ลและปอ้ งกนั จากภยั คุกคามในชวี ติ รูปแบบใหม่ แนวทำงกำรพัฒนำ 1. พัฒ นาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดบั คุณภาพและส่งเสรมิ โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พเิ ศษ (พ้ืนท่ีสูงพ้นื ที่ตาม แนวตะเขบ็ ชายแดน และพนื้ ที่เกาะแก่ง ชายฝงั่ ทะเล ทั้งกลมุ่ ชนตา่ งเชื้อชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มชน-ชาย ขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว) 4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรนุ แรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัตใิ หม่ ภัย จากไซเบอร์ เปน็ ต้น ยุทธศำสตรท์ ี่ 2 กำรผลิตและพัฒนำกำลังคน กำรวิจัย และนวตั กรรมเพื่อสร้ำงขีดควำมสำมำรถ ในกำรแขง่ ขนั ของประเทศ 28

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) เป้ำหมำย 1. กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศ เฉพาะด้าน 3. การวจิ ยั และพฒั นาเพอื่ สร้างองค์ความรแู้ ละนวตั กรรมท่สี ร้างผลผลติ และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ แนวทำงกำรพฒั นำ 1. ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2. สง่ เสริมการผลิตและพฒั นากาลังคนทม่ี คี วามเชยี่ วชาญและเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มลู ค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกิจ ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 กำรพฒั นำศักยภำพคนทุกช่วงวัย และกำรสรำ้ งสังคมแหง่ กำรเรียนรู้ เป้ำหมำย 1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะที่ จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมี คณุ ภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ ส่ือตาราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเขา้ ถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานท่ี 5. ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตามและประเมินผลมปี ระสิทธภิ าพ 6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาได้มาตรฐานระดบั สากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทำงกำรพฒั นำ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทกุ ช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ อย่างเหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพในแตล่ ะชว่ งวยั 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรยี นรไู้ ด้โดยไม่จากดั เวลาและสถานท่ี 3. สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะและพฤติกรรมท่ีพึง ประสงค์ 4. พฒั นาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผู้เรยี นใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 5. พฒั นาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน 6. พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 29

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) 7. พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ยุทธศำสตรท์ ี่ 4 กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทยี มทำงกำรศกึ ษำ เป้ำหมำย 1. ผู้เรยี นทุกคนได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาที่มคี ุณภาพ 2. การเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื การศกึ ษาสาหรบั คนทุกช่วงวยั 3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการ วางแผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล แนวทำงกำรพฒั นำ 1. เพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพ 2. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการศึกษาสาหรบั คนทุกช่วงวัย 3. พัฒนาฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาท่ีมมี าตรฐาน เช่ือมโยงและเขา้ ถึงได้ ยุทธศำสตรท์ ่ี 5 กำรจัดกำรศึกษำเพ่อื สรำ้ งเสริมคณุ ภำพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม เปำ้ หมำย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏบิ ตั ิ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ 3. การวิจยั เพอื่ พฒั นาองคค์ วามร้แู ละนวัตกรรมดา้ นการสรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มิตรกับ สง่ิ แวดลอ้ ม แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งจติ สานกึ รกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม มีคณุ ธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนนิ ชวี ติ 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวจิ ัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิต ที่เป็น มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 6 กำรพฒั นำประสิทธภิ ำพของระบบบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำ เป้ำหมำย 1. โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจนและ สามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและพืน้ ท่ี 30

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) 4. กฎหมายและรปู แบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษารองรบั ลักษณะท่ีแตกตา่ ง กันของผู้เรียน สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญ กาลงั ใจ และสง่ เสริมใหป้ ฏิบัตงิ านได้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ แนวทำงกำรพฒั นำ 1. ปรบั ปรุงโครงสรา้ งการบริหารจัดการศึกษา 2. เพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การสถานศกึ ษา 3. สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพและ ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา 4. กำรน้อมนำศำสตรพ์ ระรำชำสกู่ ำรปฏิบตั ิ 4.1 “ศำสตร์พระรำชำ” ตำรำแห่งชีวิต (นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563) พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรกี ลา่ วในรายการ “ศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพัฒนาอย่าง ยง่ั ยืน”เม่ือวันศุกร์ท่ี 23 ธันวาคม 2559 ดังนี้ “ด้วยสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวราง กูร พระราชทาน พระบรมราชวโรกาส ให้รัฐมนตรีซ่ึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งใหม่ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าท่ี เมื่อวันท่ี 20 ธันวาคม ที่ผ่านมา ณ พระที่น่ัง อมั พรสถาน พระราชวังดุสติ ในโอกาสนี้ผมขออัญเชิญกระแสพระราชดารัสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร อนั มใี จความสาคญั เป็นสริ ิมงคล แก่คณะรัฐมนตรีและปวงพสกนิกรทุกหม่เู หลา่ ผมเห็น วา่ พวกเราทุกคน ควรไดร้ ะลกึ และรับใส่เกลา้ ใสก่ ระหมอ่ ม นอ้ มนาไปสู่การปฏบิ ัติสรปุ ใจความได้ว่า “...ขอให้น้อมนาศาสตร์พระราชา” แห่งองค์พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 โดยใหศ้ ึกษาวเิ คราะห์พระราชดาริ และแนวทางพระราชทานนานปั การ ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ ผ่านมา รวมท้ัง พระราชกรณียกิจท่ีทรงปฏิบัติมาสาหรับประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน การ ประกอบกิจการ และการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ในความรับผิดชอบ รวมทั้ง ยึดถือเป็นแบบอย่างท่ีดีในกิจวัตร ประจาวัน อันจะเป็นสิริมงคล เป็นพระคุ้มครอง และเป็น “แสงสว่างนาทาง” ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคน ตลอดไป เพ่ือสนอง พระราชปณิธาน และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทยท้ังปวงอย่างไรก็ตามการ ปฏิบัติงานใด ๆ ย่อมมีปัญหา ย่อมมีอุปสรรค ก็ขอให้ปรึกษากัน หาข้อมูล ท่ีถูกต้อง และปฏิบัติด้วยความ รอบคอบ ทันกาล เหมาะสมกับสถานการณ์และ มีเหตุผล ท้ังน้ีปญั หาและอุปสรรคเหล่าน้ัน นอกจากจะเป็น เสมอื น “บททดสอบ บทเรียน” แลว้ ยังจะเปน็ สิ่งท่ชี ว่ ย “เพ่ิม” ความสามารถให้กบั เราทุกคนดว้ ย ดงั น้ัน ต้อง มีความตัง้ ใจ มีขันติมีความอดทน ตลอดจนมีความกระตือรือร้น ท่ีจะศกึ ษาปัญหาและแก้ไขให้รอบคอบ ก็จะ ไดผ้ ลตอ่ ประเทศและเป็นบุญเป็นกศุ ล กบั ตนเองด้วย...” นะครบั 31

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) “ศาสตรพ์ ระราชา” ถอื ว่าเป็น “ตาราแห่งชีวิต” เพราะบนั ทึกจาก ประสบการณจ์ ากการทรงงาน ท่ีทาให้ประเทศไทยสามารถผ่านวกิ ฤตการณ์ต่างๆ มาได้ทุกมิตผิ มขอชื่นชมสื่อทุกแขนงท่ไี ด้นาเสนอในรูปแบบ ตา่ ง ๆ สู่สายตาประชาชน และเยาวชนรุ่นใหมใ่ ห้รบั รู้เข้าใจได้ลึกซึ้งและถ่องแท้มากยง่ิ ข้นึ เพ่อื สามารถน้อมนา ไปสกู่ ารปฏบิ ัติไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4.2 23 หลกั กำรทรงงำน พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หัว รัชกำลท่ี 9 ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเปน็ พระมหากษัตริยท์ ่ีนอกจากจะทรง ด้วยทศพธิ ราชธรรมแลว้ ทรงยัง เป็นพระราชาที่เป็นแบบอยา่ งในการดาเนินชีวติ และการทางานแก่พสกนกิ รของพระองค์และนานาประเทศอกี ดว้ ยผู้คนต่างประจกั ษถ์ ึง พระอจั ฉรยิ ภาพของพระองคแ์ ละมคี วามสานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพน้ อัน หาทสี่ ดุ มไิ ดซ้ ึง่ แนวคิดหรอื หลักการทรงงานของในหลวงรชั กาลท่ี 9 มีความ นา่ สนใจทีส่ มควรนามาประยุกตใ์ ช้ กับชีวิตการทางานเป็นอย่างย่ิง หากท่านใดต้องการ ปฏิบัติตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท ท่านสามารถนา หลกั การทรงงานของพระองค์ ไปปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชนไ์ ดด้ ังนี้ 1) จะทำอะไรต้องศึกษำข้อมูลให้เป็นระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจาก ขอ้ มลู เบือ้ งต้น ทั้งเอกสาร แผนท่ี สอบถามจากเจ้าหน้าท่ี นักวิชาการ และราษฎรในพื้นท่ีให้ได้ รายละเอยี ดท่ี ถกู ตอ้ ง เพอ่ื นาขอ้ มลู เหล่าน้ันไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ อยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเร็ว และตรงตามเป้าหมาย 2) ระเบิดจำกภำยใน จะทาการใดๆต้องเริ่มจากคนทีเ่ กยี่ วข้องเสยี ก่อน ตอ้ งสรา้ งความ เข้มแข็ง จากภายในให้เกิดความเขา้ ใจและอยากทา ไมใ่ ช่การสงั่ ให้ทา คนไม่เข้าใจ ก็อาจจะไม่ทาก็เป็นไดใ้ นการทางาน น้นั อาจจะต้องคยุ หรือประชุมกับลกู นอ้ ง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อใหท้ ราบถึงเป้าหมายและ วธิ ีการตอ่ ไป 3) แก้ปัญหำจำกจดุ เล็ก ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เม่ือจะลงมือแก้ปัญหาน้ัน ควร มองในสง่ิ ทค่ี นมกั จะมองข้าม แลว้ เร่ิมแก้ปัญหาจากจดุ เลก็ ๆ เสียกอ่ น เมือ่ สาเร็จแล้วจงึ ค่อยๆขยับขยายแกไ้ ป เร่ือยๆ ทีละจุดเราสามารถเอามาประยุกต์ ใช้กับการทางานได้โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้วเริ่มลงมือทา จากจุดเล็ก ๆ ก่อน ค่อย ๆ ทา ค่อย ๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละช้ินก็จะลุลวง ไปได้ตาม เป้าหมายท่ีวางไว้“ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัว น้ีก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้อง แกป้ ญั หาท่ีทาใหเ้ ราปวดหัวใหไ้ ด้เสยี ก่อน เพอ่ื จะใหอ้ ยู่ในสภาพทีด่ ีได้…” ๔) ทำตำมลำดบั ขัน้ เร่มิ ต้นจากการลงมือทาในสงิ่ ทจี่ าเปน็ ก่อน เมื่อสาเรจ็ แลว้ ก็เริ่ม ลงมอื ส่ิงที่ จาเป็นลาดบั ต่อไป ดว้ ยความรอบคอบและระมัดระวงั ถ้าทาตามหลกั นี้ได้ งานทุกสิ่งก็จะสาเร็จไดโ้ ดยง่าย… ใน หลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงเร่ิมตน้ จากส่ิงที่ จาเป็นทสี่ ุดของประชาชนเสียกอ่ น ได้แก่ สขุ ภาพสาธารณสขุ จากนัน้ จึง เปน็ เรื่อง สาธารณปู โภคข้ันพื้นฐาน และส่ิงจาเป็นในการประกอบอาชพี อาทิถนน แหล่งนา้ เพื่อการเกษตรการ อปุ โภคบรโิ ภคเนน้ การปรบั ใชภ้ ูมิปญั ญาท้องถน่ิ ทร่ี าษฎร สามารถนาไปปฏบิ ัติไดแ้ ละเกิดประโยชน์สูงสดุ “การ พัฒนาประเทศจาเป็นต้อง ทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน ใหญ่ เปน็ เบื้องต้นก ่อน ใช้วธิ กี ารและอุปกรณท์ ีป่ ระหยัด แต ่ถูกตอ้ งตามหลักวิชา เมอื่ ได้พืน้ ฐานทม่ี นั่ คงพรอ้ ม พอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริม ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันที่สูงขึ้นโดยลาดับ ตอ่ ไป…” พระบรมราโชวาท ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 เมอื่ วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2517 5) ภูมิสังคม ภูมิศำสตร์ สังคมศำสตร์ การพัฒนาใด ๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของ บริเวณนนั้ ว่าเป็นอยา่ งไรและสังคมวิทยาเกีย่ วกับลักษณะนสิ ยั ใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณีในแต่ละ 32

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) ท้องถ่ินท่ีมีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไป ตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทาง สังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คอื นสิ ัย ใจคอของคนเรา จะไปบังคบั ใหค้ นอ่นื คิดอยา่ งอนื่ ไมไ่ ดเ้ ราตอ้ งแนะนา เข้า ไปดูว่า เขาตอ้ งการอะไรจรงิ ๆแลว้ ก็อธบิ ายให้เขาเข้าใจหลกั การของการพฒั นานีก้ จ็ ะเกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งย่งิ ” 6) ทำงำนแบบองค์รวม ใช้วิธีคดิ เพื่อการทางาน โดยวิธีคดิ อย่างองค์รวม คือการมองส่งิ ต่างๆ ที่ เกดิ อยา่ งเป็นระบบครบวงจร ทกุ สงิ่ ทุกอย่างมมี ิตเิ ชื่อมตอ่ กัน มองสิง่ ทเี่ กดิ ขนึ้ และแนวทางแก้ไขอย่างเช่ือมโยง 7) ไมต่ ดิ ตำรำ เมอ่ื เราจะทาการใดน้ัน ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพ และสถานการณ์นั้น ๆ ไม่ใช่การยึดตดิ อยู่กับแค่ในตาราวิชาการ เพราะบางทีความรู้ ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด บางคร้งั เรายึดติดทฤษฎี มากจนเกินไปจนทาอะไรไมไ่ ด้เลย สิ่งทีเ่ ราทาบางครั้งต้องโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาตสิ ิง่ แวดลอ้ ม สงั คม และ จติ วทิ ยาดว้ ย 8) รู้จักประหยัด เรียบง่ำย ได้ประโยชน์สูงสุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงใช้ หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบงา่ ยและประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ใน ท้องถน่ิ และประยกุ ต์ใชส้ ิ่งท่ีมอี ยู่ในภมู ภิ าคนัน้ มาแกไ้ ข ปรับปรุงโดยไมต่ ้อง ลงทุนสงู หรือใช้เทคโนโลยีท่ียงุ่ ยาก มากนัก ดังพระราชดารัสตอนหน่ึงว่า “…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ข้ึนเองตามธรรมชาติจะได้ ประหยดั งบประมาณ…” 9) ทำให้ง่ำย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนา ประเทศตามแนว พระราชดาริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อนและที่สาคัญ อย่างย่ิงคือสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของ ประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทาใหง้ า่ ย” 10) กำรมีส่วนร่วม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือ เจา้ หน้าที่ทกุ ระดับไดม้ ารว่ มแสดงความคดิ เห็น “สาคัญท่ีสุดจะต้อง หัดทาใจให้กวา้ งขวาง หนักแน่น ร้จู ักรับ ฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์ วิจารณ์จากผู้อ่ืนอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละ ประสบการณ์ อันหลากหลายมาอานวยการปฏิบตั ิบรหิ ารงานให้ประสบผลสาเรจ็ ทีส่ มบูรณ์ นน่ั เอง” 11) ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็น สาคัญ ดังพระราชดารสั ตอนหนึ่งว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสยี สละส่วนตวั เพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบ่ือ อาจราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมากบ็ อกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เร่ือย แลว้ สว่ นตวั จะไดอ้ ะไร ขอให้คดิ วา่ คนที่ ใหเ้ พอื่ ส่วนรวมน้นั มิได้ให้ส่วนรวมแตอ่ ย่างเดียว เป็นการใหเ้ พื่อตวั เอง สามารถ ทีจ่ ะมีสว่ นรวมท่ีจะอาศัยได้…” 12) บริกำรที่จุดเดียว ทรงมีพระราชดาริมากว่า 20 ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษา การพัฒนา หลายแหง่ ทั่วประเทศโดยใช้หลกั การ “การบรกิ ารรวมทีจ่ ดุ เดียว : ONESTOPSERVICE”โดยทรงเนน้ เรื่องรู้รัก สามคั คีและการรว่ มมือรว่ มแรงรว่ มใจกัน ดว้ ยการปรับลดช่องวา่ งระหว่างหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง 13) ใช้ธรรมชำติช่วยธรรมชำติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทรงเข้าใจถึง ธรรมชาติ และตอ้ งการใหป้ ระชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติทรงมองปญั หาธรรมชาติ อย่างละเอียดโดย หากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ เราดว้ ย 14) ใชอ้ ธรรมปรำบอธรรม ทรงนาความจรงิ ในเรอ่ื งธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ มา เปน็ หลักการแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการแก้ไขปัญหาและปรับปรงุ สภาวะท่ไี ม่ปกติ เขา้ สู่ระบบที่ปกตเิ ชน่ การบาบัด น้าเนา่ เสยี โดยใหผ้ กั ตบชวา ซึ่งมตี ามธรรมชาติ ให้ดูดซึมส่ิงสกปรกปนเป้อื นในนา้ 33

แผนปฏิบัติการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) 15) ปลกู ปำ่ ในใจคน การจะทาการใดสาเรจ็ ต้องปลกู จติ สานกึ ของคนเสยี กอ่ น ตอ้ งใหเ้ หน็ คณุ คา่ เหน็ ประโยชน์กับส่ิงที่จะทา….“เจ้าหนา้ ท่ีป่าไมค้ วรจะปลูกต้นไม้ ลงในใจคนเสยี กอ่ น แลว้ คนเหล่านน้ั ก็จะพา กนั ปลกู ต้นไม้ลงบนแผน่ ดนิ และจะรกั ษาต้นไมด้ ว้ ยตนเอง” 16) ขำดทนุ คอื กำไร หลกั การในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 9 ท่ีมีต่อ พสกนกิ รไทย “การให้”และ“การเสียสละ”เป็นการกระทาอนั มผี ลเป็นกาไรคอื ความอย่ดู มี ีสุขของราษฎร 17) กำรพ่ึงพำตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริเพ่ือการแก้ไขปัญหาในเบ้ืองต้น ด้วยการ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มีความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือการพัฒนาให้ ประชาชนสามารถอย่ใู นสงั คมไดต้ ามสภาพแวดล้อม และสามารถพ่ึงตนเองได้ในทส่ี ดุ 18) พออยพู่ อกนิ ใหป้ ระชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสยี กอ่ น แล้วจึงคอ่ ยขยับ ขยายใหม้ ีขีดสมรรถนะทกี่ ้าวหนา้ ตอ่ ไป 19) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัส ช้ีแนะ แนวทางการดาเนินชีวติ ให้ดาเนนิ ไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้ รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ไดอ้ ยา่ งมั่นคง และย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และการเปล่ียนแปลงต่างๆซ่ึงปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้ง ระดบั บุคคล องคก์ รและชมุ ชน 20) ควำมซ่อื สตั ย์สุจริต จรงิ ใจตอ่ กัน ผทู้ ม่ี คี วามสุจรติ และบรสิ ุทธใ์ิ จ แม้จะมีความร้นู ้อย กย็ ่อม ทาประโยชน์ใหแ้ กส่ ว่ นรวมได้มากกวา่ ผู้ท่มี คี วามรูม้ าก แตไ่ ม่มีความสุจรติ ไม่มคี วามบรสิ ทุ ธิใ์ จ 21) ทำงำนอยำ่ งมีควำมสขุ ทางานต้องมีความสขุ ดว้ ย ถา้ เราทาอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการทางานเพียงเท่าน้ัน ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึง ความสขุ ท่เี กิดจากการได้ทาประโยชน์ให้กบั ผู้อน่ื กส็ ามารถทาได้“…ทางานกับฉัน ฉันไม่มอี ะไรจะให้นอกจาก การมีความสขุ ร่วมกนั ในการทาประโยชนใ์ ห้กบั ผู้อน่ื …” 22) ควำมเพียร การเร่ิมต้นทางานหรือทาส่ิงใดน้ันอาจจะไม ไ่ ดม้ ีความพร้อม ต้องอาศัยความ อดทนและความม่งุ ม่ัน ดังเชน่ พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผเู้ พยี รพยายามแม้จะไมเ่ ห็นฝั่งกจ็ ะว่าย น้าต่อไป เพราะถา้ ไมเ่ พยี รวา่ ย ก็จะตกเป็นอาหารปปู ลา และไมไ่ ด้พบกบั เทวดาทช่ี ่วยเหลอื มใิ หจ้ มน้า 23) รู้ รกั สำมคั คี รู้ คือ รู้ปญั หาและรวู้ ิธแี ก้ปัญหานน้ั รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา ลงมือแก้ไข ปัญหานั้น สำมัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ไม่สามารถลงมือทา คนเดียวได้ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจกนั 5. พระปฐมบรมรำชโองกำร รัชกำลที่ 10 “เรำจะสืบสำน รักษำ และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอำณำ รำษฎรตลอดไป” พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลง กรณพระวชริ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัวรชั กาลท่ี 10 วนั ท่ี 4 พฤษภาคม พทุ ธศักราช 2562 34

แผนปฏิบัติการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) 6. พระบรมรำโชบำย ในพระบำทสมเดจ็ พระปรเมนทรรำมำธบิ ดี ศรสี ินทรมหำวชิรำลงกรณ พระวชริ เกล้ำ เจ้ำอยหู่ ัว รชั กำลที่ 10 กบั กำรพฒั นำกำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำตอ้ งมุง่ สรำ้ งพื้นฐำนให้แกผ่ ู้เรียน 4 ด้ำน 1. มที ัศนคตทิ ถี่ ูกต้องตอ่ บ้ำนเมือง 2. มพี นื้ ฐำนชีวติ ทมี่ ่ันคง 3. มงี ำนทำ มีอำชีพ 4. เปน็ พลเมืองดี 1. มที ัศนคตทิ ่ถี ูกตอ้ งต่อบำ้ นเมือง 1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจที่มีต่อชาติบา้ นเมอื ง 1.2 ยึดม่ันในศาสนา 1.3 ม่ันคงในสถาบนั พระมหากษตั ริย์ 1.4 มคี วามเอ้ืออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน 2. มีพนื้ ฐำนชีวิตทมี่ น่ั คง 2.1 รู้จกั แยกแยะสิง่ ทีผ่ ิด-ชอบ/ช่ัว-ดี 2.2 ปฏบิ ัติแตส่ ิง่ ท่ีชอบท่ดี ีงาม 2.3 ปฏเิ สธส่ิงท่ผี ิดสง่ิ ท่ีช่วั 2.4 ชว่ ยกันสรา้ งคนดีใหแ้ กบ่ า้ นเมอื ง 3. มงี ำนทำ มอี ำชพี 3.1 การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครวั หรอื การฝึกฝนอบรม ในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและ เยาวชนรกั งาน สงู้ าน ทาจนงานสาเร็จ 3.2 การฝกึ ฝนอบรมทง้ั ในหลกั สูตรและนอกหลกั สูตรต้องมี จุดม่งุ หมายใหผ้ ู้เรียนทางานเป็น และมีงานทาในทสี่ ุด3 3.3 ตอ้ งสนบั สนนุ ผูส้ าเร็จหลักสูตรมอี าชพี มีงานทา จนสามารถเล้ยี งตัวเองและครอบครวั 4. เปน็ พลเมืองดี 4.1 การเปน็ พลเมืองดีเป็นหน้าท่ีของทกุ คน 4.2 ครอบครวั -สถานศึกษา และสถานประกอบการต้องส่งเสริม ให้ทุกคนมีโอกาสทาหนา้ ที่ เปน็ พลเมืองดี 4.3 การเป็นพลเมอื งดีคือ“เห็นอะไรทจ่ี ะทาเพอ่ื บ้านเมืองได้ กต็ ้องทา” เช่น งานอาสาสมัคร งานบาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศล ให้ทาด้วยความมีนา้ ใจ และความเออื้ อาทร 7. นโยบำยของรัฐบำลด้ำนกำรศึกษำ ในคาแถลงนโยบายของรัฐบาล โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา เมื่อวัน พฤหัสบดที ่ี 25 กรกฎาคม 2562 นโยบาย ดา้ นการศึกษากาหนดไวใ้ นนโยบายท่ี 8 ดังนี้ (ภาคผนวก นโยบาย สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563) 35

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) 1. กำรปฏริ ปู กระบวนกำรเรียนร้แู ละกำรพัฒนำศักยภำพ ของคนไทยทกุ ช่วงวัย 1.1 ส่งเสรมิ กำรพัฒนำเดก็ ปฐมวยั 1.1.1 จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่อง จนถึงเด็กวยั เรียนให้มีโอกาสพัฒนาตาม ศกั ยภาพ เพื่อสรา้ งคนไทยทมี่ ีพฒั นาการ เตม็ ตามศกั ยภาพผา่ นครอบครวั ทีอ่ บอุน่ ในทกุ รปู แบบครอบครัว เพือ่ ส่งต่อ การพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพสู่การพัฒนาในระยะถัดไปบนฐานการให้ความช่วยเหลือ ท่ีคานึงถึง ศกั ยภาพของครอบครวั และพ้ืนที่ เตรียมความพรอ้ มการเป็นพ่อแม่ ความรเู้ รื่องโภชนาการและสุขภาพการ อบรมเล้ียงดู การสง่ เสรมิ พฒั นาการ เด็กปฐมวัยผา่ นการใหบ้ ริการสาธารณะทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยเฉพาะการยกระดับ คณุ ภาพสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยท่ัวประเทศให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรทางการศึกษา และผูด้ ูแลเด็กปฐมวัยให้สามารถจดั การศกึ ษาได้ อยา่ งมคี ุณภาพ 1.1.2 ส่งเสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคานึงถงึ พหุปัญญาท่ีหลากหลายของเดก็ แต่ละคนให้ ได้รับการส่งเสรมิ และพฒั นาอยา่ งเต็มตาม ศกั ยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรทู้ ่ีเช่ือมโยงกับระบบ โรงเรยี นปกติ ท่ีเปน็ ระบบและมีทศิ ทางท่ชี ัดเจน 1.2 พัฒนำบัณฑิตพนั ธ์ใุ หม่ 1.2.1 ปรบั รูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะและอาชีพของคนทุกช่วงวัยสาหรับ ศตวรรษที่ ๒๑ โดยปรับโครงสร้าง หลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย มีการนาเทคโนโลยีและการเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์จริง เข้ามามสี ่วนในการจัดการเรียนการสอน และปรับระบบดึงดูด การคัดเลือก การผลิตและ พฒั นาครู ท่ีนาไปสกู่ ารมคี รสู มรรถนะสูงเป็นครูยุคใหมท่ สี่ ามารถ ออกแบบและจดั ระบบการสร้างความรสู้ รา้ ง วนิ ยั กระตุ้น และสร้างแรงบนั ดาลใจ เปิดโลกทัศนม์ มุ มองของเดก็ และครดู ว้ ยการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็น ให้มากข้นึ ควบคูก่ บั หลักการทางวิชาการ 1.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานเพ่ือพัฒนา สมรรถนะของผู้เรียนท้ังในส่วน ฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะ สหวิทยาการ และตรงกบั ความต้องการของประเทศในอนาคต และ เปน็ ผู้เรยี น ที่สามารถปฏบิ ตั ิได้จรงิ และสามารถกากบั การเรียนร้ขู องตนเองได้รวมถึง มที กั ษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาท่ีสามที่สามารถสอื่ สารและแสวงหาความรไู้ ด้ มีความพร้อมทงั้ ทกั ษะความรูท้ ักษะอาชีพ และทกั ษะ ชีวิตก่อนเขา้ ส่ตู ลาดแรงงาน 1.3 พัฒนำอำชีวะ พัฒนาคุณภาพวชิ าชีพ และพัฒนาแรงงาน รองรับอุตสาหกรรม 4.0 โดยการจัดระบบและกลไกความ ร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนทช่ี ัดเจนเป็นระบบในการพัฒนากาลังคนท่ีมที ักษะขั้นสูง ให้สามารถ นาความรู้และทักษะมาใชใ้ นการแก้ไขปญั หา รวมถงึ การสรา้ งและ พัฒนานวตั กรรม ซึ่งต้องครอบคลมุ การพัฒนา กาลังคนที่อยู่ในอุตสาหกรรมแล้วกาลังคนท่ีกาลังจะเข้าสู่อุตสาหกรรม และเตรียมการสาหรับผลิตกาลังคนใน สาขา ท่ีขาดแคลน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในอนาคต รวมท้ังเร่งรัด และขยายผลระบบคุณวุฒิ วิชาชพี การยกระดบั ฝมี ือแรงงานในกลมุ่ อุตสาหกรรม ทีม่ ศี กั ยภาพและอตุ สาหกรรมท่ใี ช้แรงงานเข้มข้น 36

แผนปฏบิ ัติการประจาปี ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) 1.4 ดึงดูดคนเก่งจำกท่ัวโลกเข้ำมำร่วมทำงำนกับคนไทย และส่งเสริมผู้มีความสามารถสูง สนับสนุนให้ธรุ กจิ ชั้นนาในประเทศดึงดูดบุคคล ทมี่ ีความสามารถระดับสูงจากทัว่ โลกโดยเฉพาะคนไทย เพื่อ กลบั มาเป็นผู้นา การเปลย่ี นแปลงและถ่ายทอดประสบการณ์ความรคู้ วามเช่ียวชาญใหแ้ ก่บคุ ลากร ในองค์กร ซ่ึงจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างธุรกิจ ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับประเทศ โดยในระยะแรกให้ ความสาคญั กับการดึงดดู นกั วจิ ัยผเู้ ชี่ยวชาญ จากต่างประเทศมาร่วมวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีชั้นแนวหนา้ ใน สาขาอุตสาหกรรม เป้าหมายรวมทั้งมีพ้ืนที่ให้กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษท่ีมีศักยภาพสูงได้ทางาน ร่วมกัน หรอื รว่ มกับเครือข่ายอืน่ ๆ เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้และนวตั กรรมใหม่ ๆ ใหก้ ับประเทศ 1.5 วจิ ยั และพัฒนำนวัตกรรมท่ีตอบโจทยก์ ำรพัฒนำประเทศ 1.5.1 สง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนานวตั กรรมเพ่อื ขจัด ความเหลอ่ื มล้าและความยากจน ยกระดับ คุณภาพชีวติ ของประชาชน โดยมุ่งเน้น การพฒั นานวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพื้นท่ีทีส่ ามารถช่วย แก้ปัญหา ความเหล่อื มล้าสร้างโอกาสสาหรับผู้ด้อยโอกาสและยกระดบั คุณภาพชีวติ ผสู้ ูงวัย ควบค่ไู ปกับการ พัฒนาทุนมนุษย์ให้พรอ้ มสาหรบั โลกยุคดจิ ิทลั และอุตสาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสมไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม โดยระยะแรกจะให้ความสาคัญ กับการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพของประชาชนอย่างครบวงจร ทงั้ ระบบยา วัคซนี เวชภัณฑ์และเทคโนโลยที ่ที ันสมัย 1.5.2 ส่งเสริมการวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมทางด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีขน้ั สงู เพ่ือสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถ ตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลง และสรา้ งความเปน็ เลศิ ของประเทศใน อนาคต โดยมุ่งเนน้ การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมเพ่ือนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงธุรกจิ กาหนดวาระการวจิ ัย แห่งชาติส่งเสริมความร่วมมือและการเป็นหุ้นส่วนของทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ชุมชน และ ภาคเอกชนในทุกสาขาการผลิตและบริการ สร้างสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบของระบบวิจัยและการ พัฒนานวัตกรรม ให้เข้มแข็งรวมท้ังบรู ณาการการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมกบั การนาไปใช้ประโยชน์ ในเชิง พาณชิ ย์ 1.5.3 สรา้ งเครอื ข่ายการทาวจิ ัยระหวา่ งภาคสว่ นต่างๆ ปฏริ ปู และบูรณาการระบบการเรียนการ สอนกับระบบงานวิจัยและพัฒนา ให้เอ้ือตอ่ การเพ่มิ ศักยภาพดา้ นนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนนุ การ สร้างความเข้มแข็งของธุรกิจไทยทุกระดับในเวทกี ารคา้ โลก ส่งเสรมิ กระบวนการการทางานของภาครฐั และ ภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมให้เปน็ ระบบเปิด และมีการบูรณาการ การทางานกนั อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมทงั้ เชอื่ มโยงระบบการศึกษา กบั ภาคปฏิบัตจิ ริงในภาคธรุ กิจ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงการสร้างนักวิจัยมืออาชีพ และนวัตกรที่สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมและยกระดับงานวิจัย สู่การเพ่ิม ศักยภาพ ด้านเทคโนโลยีและนวตั กรรมของประเทศ 1.6 สง่ เสรมิ กำรเรยี นร้แู ละพฒั นำทกั ษะทุกชว่ งวัย 1.6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัด การศึกษาในทุกระดับบนพน้ื ฐานการสนบั สนุน ที่คานึงถึงความจาเป็นและศกั ยภาพของสถาบันการศกึ ษาแต่ ละแห่ง พร้อมท้ัง จัดให้มีมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียนและครูท่ี สะทอ้ นความรับผดิ ชอบตอ่ ผลลพั ธ์ทีเ่ กดิ กบั ผูเ้ รยี น คืนครใู ห้นักเรียน โดยลดภาระงานที่ไม่จาเป็น รวมถงึ จัดให้ 37

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) มีระบบฐานข้อมูลเพ่ือการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์โดยการเชื่อมโยงหรือส่งต่อข้อมูลครอบครัวและผู้เรียน ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ตง้ั แต่แรกเกดิ จนถึงการพฒั นาตลอดชว่ งชีวิต ตลอดจน พัฒนาช่องทางใหภ้ าคเอกชน มสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 1.6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสร้างสรรค์ที่เหมาะสม มาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดท่ีหลากหลาย เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และ อทุ ยานการเรียนรู้สาหรับเยาวชนที่เชื่อมโยงเทคโนโลยกี ับวถิ ีชวี ิตและส่งเสริม การเรยี นการสอนที่เหมาะสม สาหรบั ผู้ที่เข้าสสู่ ังคมสงู วยั 1.6.3 ลดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษา โดยบูรณาการ การดาเนินงานระหว่างหน่วยจัด การศึกษากับกองทุนเพื่อความเสมอภาค ทางการศึกษา มุ่งเน้นกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและกลุ่มเด็กนอกระบบ การศึกษา ปรับเปล่ียน การจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับความจาเปน็ ของผเู้ รียนและลักษณะพื้นท่ี ของ สถานศกึ ษา จดั ระบบโรงเรยี นพเี่ ลีย้ งจบั คูร่ ะหวา่ งโรงเรยี นขนาดใหญ่ ทีม่ คี ุณภาพการศกึ ษาดีกบั โรงเรยี นขนาด เล็กเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชน ชุมชนในพ้ืนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ ออกแบบการศกึ ษา ในพ้ืนที่ สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถแตไ่ ม่มีทุนทรพั ย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจน แก้ไข ปญั หาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหนีก้ องทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษา และทบทวนรูปแบบ การให้กูย้ มื เพื่อการศึกษาท่เี หมาะสม 1.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกาหนดระบบ ท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาทักษะและเพิ่ม ประสิทธิภาพของทุกช่วงวัย อาทิการพัฒนา คณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาให้เชอื่ มโยงกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพ่ือเทียบโอนความรู้และประสบการณ์หน่วยการเรียนที่ชัดเจน ส่งเสริม เยาวชนที่มีศกั ยภาพด้านกฬี าให้สามารถพัฒนาไปสู ่นักกีฬาอาชพี การกาหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัด ใหม้ รี ะบบทีส่ ามารถรองรบั ความตอ้ งการ พฒั นาปรบั ปรุงทักษะอาชีพของทุกช่วงวยั เพ่อื รองรบั การเปลยี่ นสาย อาชพี ให้ตรง กบั ความต้องการของตลาดแรงงานทอี่ าจจะเปล่ียนไปตามแนวโน้มความกา้ วหน้า ทางเทคโนโลยี ในอนาคต 1.6.5 ส่งเสริมหลกั คิดทถี่ ูกตอ้ ง โดยสอดแทรก การปลกู ฝังวินยั และอุดมการณท์ ถ่ี กู ต้องของคนใน ชาติ หลักคิดทถ่ี ูกต้อง ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม การมีจติ สาธารณะการเคารพกฎหมายและกติกาของสงั คม เขา้ ไปในทกุ สาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสรมิ กลไก สรา้ งความเขม้ แข็งของสถาบันครอบครัว ในทกุ มิติอย่างเป็นระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ ปรับสภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอ้ือต่อ การมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ รวมท้ังลงโทษผู้ละเมดิ บรรทัดฐานที่ดีทางสังคม ตลอดจนส่งเสริม ให้เกิดการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการขับเคลอ่ื นประเทศ 1.7 จัดทำระบบปริญญำชุมชนและกำรจัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน โดยเน้นออกแบบหลักสูตร ระยะส้นั ตามความสนใจ พัฒนาทกั ษะตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการดารงชีวิตประจาวนั และทักษะอาชีพของคนทุกชว่ งวัย ในพ้นื ท่ีและชุมชน เปน็ หลกั พร้อมท้งั ศึกษาแนวทางการพัฒนาเปน็ รูปแบบธนาคารหนว่ ยกติ ซึ่งเปน็ การเรยี น เกบ็ หน่วยกติ ของวิชาเรียนเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเรียนข้ามสาขาวิชา และข้ามสถาบันการศึกษา หรือทางานไป 38

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) พรอ้ มกัน หรือเลือกเรยี นเฉพาะหลักสูตร ที่สนใจ เพอ่ื สรา้ งโอกาสของคนไทยทุกช่วงวยั และทกุ ระดบั สามารถ พัฒนาตนเอง ทง้ั ในดา้ นการศกึ ษาและการดารงชีวติ นโยบำยเรง่ ดว่ นดำ้ นกำรศกึ ษำ ข้อท่ี ๗ กำรเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษที่ 21 โดยสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรใู้ หม่ในระบบดิจิทัล ปรับปรุง รูปแบบการเรยี นรู้มงุ่ สู่ระบบการเรียน การสอนวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรม คณิตศาสตร์โปรแกรมเมอรแ์ ละภาษาตา่ งประเทศสง่ เสริมการ เรยี น ภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding) ตั้งแตร่ ะดับประถมศึกษา การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ในทกุ ตาบลสง่ เสริม การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพื่อแบ่งปันองค์ความรู้ของสถาบันการศึกษาสู่ สาธารณะเชื่อมโยงระบบการศึกษา กับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจสร้างนักวิจัยใหม่และนวัตกรเพ่ือเพ่ิม ศักยภาพ ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศสร้างความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล ส่ือ ออนไลน์ และโครงข่ายสังคมออนไลน์ของคนไทยเพื่อป้องกัน และลดผลกระทบในเชิงสังคม ความปลอดภัย อาชญากรรมทางไซเบอร์ และสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือในการกระจายข้อมลู ข่าวสารท่ีถกู ต้องการ สร้าง ความสมานฉันท์และความสามคั คีในสังคม รวมท้ังปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม ทจี่ าเปน็ ในการดาเนนิ ชวี ิต 8. นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ.2563 วิสยั ทัศน์ “สร้างคุณภาพทนุ มนุษย์ ส่สู งั คมอนาคตทีย่ งั่ ยืน” พันธกจิ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ 2. พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ คี วามสามารถความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ เพอื่ สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั 3. พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผเู้ รียนให้มสี มรรถนะตามหลักสตู ร และคณุ ลักษณะในศตวรรษที่ 21 4. สร้างโอกาสความเสมอภาคลดความเหลื่อมล้าให้ผู้เรียนทุกคน ได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง ท่ัวถึงและเท่าเทยี ม 5. พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชพี 6. จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และเปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 7. ปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัล (Digital Technology) เพือ่ พัฒนา มงุ่ สู่Thailand 4.0 เปำ้ หมำย 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติและยึดม่ันการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีทัศนคติท่ีถูกต้อง ตอ่ บ้านเมือง มีหลกั คิดท่ีถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของ ชาติมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซ่ือสัตย์สุจริต มัธยสั ถอ์ ดออม โอบออ้ มอารมี วี นิ ยั รักษาศลี ธรรม 2. ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรีกีฬา ภาษา และอื่น ๆ ได้รับการพฒั นาอย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 3. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนร้คู ิดริเริ่มและสร้างสรรค์ นวัตกรรม มีความร้มู ีทักษะ มีสมรรถนะ ตามหลกั สูตรและคุณลกั ษณะของผเู้ รยี น ในศตวรรษท่ี 21 มีสขุ ภาวะท่เี หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการ 39

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) พ่งึ พาตนเอง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการเป็นพลเมอื ง พลโลกท่ีดี(Global Citizen) พรอ้ ม ก้าวสูส่ ากลนาไปสู่การสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 4. ผบู้ ริหารครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตาม มาตรฐานวชิ าชีพ 5. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มที่อยู่ใน พื้นทหี่ า่ งไกลทรุ กนั ดารได้รบั การศึกษาอยา่ งทวั่ ถึง เทา่ เทยี ม และมีคณุ ภาพ 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals :SDGs)และสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษา สถานศึกษา มสี มดุล ในการบริหารจัดการเชิงบรู ณาการ มีการกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศท่มี ีประสิทธภิ าพ และการรายงานผล อย่างเปน็ ระบบ ใช้งานวจิ ัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขบั เคลอ่ื นคุณภาพ การศกึ ษา นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พนื้ ฐำน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ไดก้ าหนด นโยบายประจา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดหลักของการพัฒนาท่ียั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็น แนวทาง ในการจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติพ.ศ.2561-2580 แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 และมุ่งสู่ Thailand 4.0 ดังนี้ นโยบำยท่ี 1 ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำเพอื่ ควำมม่นั คงของมนษุ ย์ และของชำติ นโยบายด้านการจัดการศึกษาเพือ่ ความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ เป็นการจดั การศึกษาเพ่ือ มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนทุกคน ให้มีความรักในสถาบันหลัก ของชาติยึดม่ันในการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ มีทัศนคตทิ ดี่ ตี อ่ บ้านเมือง มหี ลักคิดท่ถี กู ตอ้ งเปน็ พลเมอื ง ดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รบั ผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติซื่อสัตย์สุจริต มธั ยัสถ์อดออม โอบออ้ มอารมี ีวินัยและ รกั ษาศีลธรรม เปน็ ผู้เรยี นที่มีความพร้อม สามารถรับมอื กับภยั คกุ คามรูปแบบใหมท่ ุกรูปแบบท่มี ผี ลกระทบต่อ ความมั่นคง เช่น ภยั จากยาเสพติดความรนุ แรงการคกุ คามในชีวิตและทรัพย์สนิ การค้ามนษุ ย์ อาชญากรรมไซ เบอร์และภัยพบิ ตั ิต่างๆเป็นต้น ควบคไู่ ปกับการป้องกนั และแก้ไข ปญั หาที่มอี ยใู่ นปจั จุบันและท่อี าจจะเกิดขึ้น ในอนาคต และเนน้ การจัดการศึกษำ ให้เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั บริบทของพื้นฐาน สภาพทางภูมศิ าสตร์ด้าน เศษฐกิจ และสงั คมซ่งึ มคี วามแตกต่างทางด้านสังคมวฒั นธรรมเช้ือชาติเช่นการจัดการศึกษา เขตพฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้การจดั การศกึ ษาในเขต พืน้ ทเี่ ฉพาะกลมุ่ ชาติพนั ธก์ุ ลุ่มผดู้ อ้ ยโอกาสและกลมุ่ ที่ อยู่ในพ้นื ทห่ี ่างไกลทุรกันดาร พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝง่ั ทะเล และเกาะแก่ง เป็นตน้ เพ่ือให้ผูเ้ รียนได้มีโอกาส ได้รับการพัฒนาสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ได้รับการบริการด้านการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ และ เหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ เป็นตน้ 40

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) นโยบำยท่ี 2 ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำเพอื่ เพมิ่ ควำมสำมำรถในกำร แขง่ ขนั ของประเทศ นโยบายด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ให้ความสาคัญ กบั ศักยภาพ และคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์เป็นสาคญั เนอ่ื งจาก “ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคล่ือน สาคัญในการยกระดับ การพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมายการเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว มีขีด ความสามารถในการแขง่ ขนั กับนานาประเทศ”ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผูเ้ รยี นใหม้ ีความเป็น เลิศทางวิชาการจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ี จะตอ้ งดาเนินการให้สอดคลอ้ งกนั โดยเนน้ ปรบั เปลยี่ นกระบวนการ จัดการเรียน การสอนของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษา ให้เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ให้แก่ ผู้เรียนเชิง สมรรถนะรายบุคคล ตามความสนใจ และความถนัดอย่างเต็มศักยภาพ มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มี ทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษที่๒๑ มคี วามเป็นเลิศ ด้านทักษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3 มี ทกั ษะความรู้ ด้านดิจิทัล (Digital Literacy) เพื่อใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ มนี สิ ัย รกั การเรียนรูแ้ ละการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต ส่กู ารเปน็ คนไทยทม่ี ีทกั ษะวชิ าชีพช้ันสูงเปน็ นกั คิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม เป็นนวัตกร เป็นผู้ประกอบการ เป็นเกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ สอดคล้องกับความ ตอ้ งการ ของประเทศ มีความยดื หยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ ภายใต้สังคมท่ีเป็นพหุ วัฒนธรรม และมีความสามารถในการจัดการสุขภาวะ ของตนเองให้มีสุขภาวะท่ีดีสามารถดารงชีวิตอย่างมี ความสขุ ทัง้ ด้านร่างกาย และจิตใจ นโยบำยท่ี 3 ดำ้ นกำรพฒั นำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพทรพั ยำกรมนษุ ย์ นโยบายด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากร มนุษยเ์ ริม่ ตัง้ แตป่ ระชากรวัยเรียนทุกชว่ งวยั ตลอดจน การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ดงั น้ี พัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคน ทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ผ้เู รียนทม่ี ีความต้องการดแู ลเป็นพิเศษ ให้มีความพร้อมท้ังทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคม และสตปิ ัญญา มีศักยภาพ มีทักษะความรู้เป็นคนดีมีวินัยเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการวางแผนชีวิต และการ วางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสม สามารถดารงชีวิตอย่างมคี ุณค่า โดยการพัฒนาระบบการเรยี นรู้ทตี่ อบสนอง ต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 มกี ารออกแบบระบบการเรียนรใู้ หม่ พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ผู้เรียนสามารถกากับการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเน่ืองแม้จะออกจาก ระบบการศึกษาแล้ว รวมถึงความตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย และการพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มีความสามารถ พเิ ศษของพหปุ ัญญาแต่ละประเภท เสริมสรา้ งให้ผูเ้ รยี นมีลักษณะนิสยั มีความรักในสุขภาพและพลานามัยและ พัฒนา ทกั ษะด้านกีฬาสคู่ วามเป็นเลศิ และกีฬาเพือ่ การอาชีพ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปน็ ผู้ทีม่ ีบทบาทสาคญั ในการพฒั นา ทรพั ยากรมนษุ ย์ ใหค้ นไทย เป็นคนดีคนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิต ในศตวรรษท่ี ๒๑ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้อง ตระหนักถึงความสาคัญ ในอาชีพและหน้าท่ีของตน โดยครูต้องมีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ ความสามารถอยา่ งแท้จริง และเป็นตน้ แบบดา้ นคณุ ธรรมและจริยธรรม พฒั นาตนเองทางวิชาชีพอย่างตอ่ เนอื่ ง เพื่อประโยชนใ์ นการพฒั นาผเู้ รยี น เปลยี่ นโฉม บทบาท “ครู”ให้เป็นครูยคุ ใหมโ่ ดยปรบั บทบาทจาก“ครผู สู้ อน” เป็น “Coach” หรือผอู้ านวยการการเรียนรู้ทาหน้าท่ีกระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจแนะนาวิธีเรียนรู้ และวธิ ีจัด 41

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) ระเบยี บการสร้างความร้อู อกแบบกจิ กรรมและสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ ใหผ้ ูเ้ รียน และมีบทบาทเป็นนักวจิ ัย พัฒนากระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื ผลสมั ฤทธ์ิ ของผูเ้ รียน นโยบำยที่ 4 ด้ำนกำรสร้ำงโอกำสในกำรเขำ้ ถึงบริกำรกำรศึกษำ ที่มคี ณุ ภำพ มีมำตรฐำนและลด ควำมเหลื่อมล้ำทำงกำรศกึ ษำ นโยบายดา้ นการสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความ เหล่ือมล้าทางการศึกษา เน้นการสร้างโอกาส ให้เด็กวัยเรียน และผู้เรียนทุกคนเข้าถึงบริการการศึกษาที่มี คุณภาพ ที่เป็นมาตรฐาน เสมอกัน ไม่ว่าผู้เรียนจะยากดีมีจน จะอยู่ในพ้ืนที่ใดของประเทศอยู่ในชุมชนเมือง พนื้ ที่ห่างไกลทรุ กนั ดาร หรอื กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการการดูแลเป็นพเิ ศษ เพ่อื ลดความเหล่ือมลา้ ทางการศึกษา ของประเทศ โดยสนับสนุนให้สถานศึกษา จัดการศึกษาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาอย่างยงั่ ยืน (Global Goals for Sustainable Development) สร้างกลไกความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ๆ ในทุกระดับ ตง้ั แต่ระดับองค์กรปกครองท้องถิ่นหรือตาบลระดับอาเภอระดับจังหวัด ระดับภมู ิภาค และส่วนกลาง สร้าง มาตรฐานสถานศึกษาตามบริบทของพน้ื ที่ จัดสรรงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือสนบั สนุนใหเ้ ด็กวยั เรียนทุกคนต้งั แต่ ระดับปฐมวัย ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาอย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคลอ้ งกับสภาพ ข้อเทจ็ จรงิ โดย คานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพื้นท่ีภูมิศาสตร์สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้งของสถานศึกษา จัดหา ทุนการศึกษาเพิ่มเติมเพ่ือช่วยเหลือผู้ขาดแคลน ทุนทรัพย์เพ่ือลดความเหลื่อมลีาทางการศึกษา จัดสรร งบประมาณและทรัพยากร ทางการศึกษาอ่ืนเป็นพิเศษให้เหมาะสม สอดคล้องกบั ความต้องการจาเปน็ ในการ จัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ และจัดสรรงบประมาณ เป็นค่าใช้จ่ายในการ ดาเนนิ การ และงบลงทนุ ให้สถานศกึ ษาตามความจาเปน็ ตลอดจนนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Technology) มาใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการเรียนรู้ของผู้เรยี น เพื่อให้ผ้เู รยี นสามารถใช้เป็นเครื่องมอื ในการพฒั นาตนเองอย่าง ตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต รวมถึงพฒั นาระบบการตดิ ตาม สนับสนุน และประเมนิ ผล เพือ่ สร้างหลักประกนั สทิ ธกิ าร ได้รับการศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพของประชาชน นโยบำยที่ 5 ด้ำนกำรจดั กำรศึกษำเพอื่ พฒั นำคณุ ภำพชีวิต ท่เี ป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม นโยบายด้านการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตร กบั สิ่งแวดล้อมไดน้ ้อมนาศาสตร์ ของพระราชาส่กู ารพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยยึดหลัก ๓ ประการคือ“มีความพอประมาณมเี หตุผล มีภมู ิคุม้ กนั ” มา เป็นหลักในการจัดทายุทธศาสตรช์ าติควบคู่กับการนาเป้าหมายของการพัฒนาที่ย่ังยนื ท้งั 17 เป้าหมาย มา เป็นกรอบแนวคิดทจ่ี ะผลักดนั ดาเนนิ การเพ่ือนาไปส่กู ารบรรลุเปา้ หมาย การพฒั นาทยี่ ่งั ยืนในทุกมติ ิท้ังมติ ิดา้ น สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือ ระหว่างกันท้ังภายในและ ภายนอกประเทศ อยา่ งบูรณาการ โดยมีวสิ ยั ทัศน์เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทย “เป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีคณุ ภาพชวี ิต และสิ่งแวดล้อมทดี่ ีทีส่ ุดในอาเซียนภายในปพี .ศ. 2580” ดังนัน้ นโยบายดา้ นการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพือ่ รองรบั วสิ ยั ทศั น์ ดังกล่าวจึงได้น้อมนาศาสตร์ พระราชา หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเปา้ หมาย ของการพัฒนาที่ย่ังยืนท้ัง ๑๗ เป้าหมาย มาเป็นหลัก ในการปรับปรุงหลกั สตู ร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ใหส้ อดคล้อง กับหลักการดังกล่าว บนพื้นฐานความเช่ือในการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น ทางเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม และ 42

แผนปฏิบัติการประจาปี ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) คณุ ภาพชวี ิตโดยใหค้ วามสาคัญกับการสรา้ งสมดุล ท้ัง 3 ดา้ น ไม่ให้มากหรอื น้อยจนเกนิ ไป อันจะนาไปสู่ความ ย่ังยืนเพ่อื คนรนุ่ ต่อไป อย่างแทจ้ รงิ นโยบำยท่ี 6 ดำ้ นกำรปรบั สมดลุ และพฒั นำระบบกำรบริหำร จัดกำรศึกษำ นโยบายด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา เป็นนโยบายจุดเน้นท่ี สาคัญ เน่ืองจากเป็นนโยบายท่ีกระจายอานาจการจัดการ ศึกษาให้สถานศึกษา หรอื กลมุ่ สถานศึกษา มีความ เป็นอิสระในการบริหาร และจัดการศึกษา ครอบคลุมทั้งด้านการบริหารงานวิชาการด้านการบริหาร งบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารงานท่ัวไป และปรับบทบาทภารกิจ ของหน่วยงาน ทั้งระดับสานักงานทั้งส่วนกลาง และระดับภูมิภาค โดยปรับ โครงสร้างของหน่วยงานทุกระดับต้ังแต่ สถานศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา และสานกั งานส่วนกลาง ใหม้ คี วามทนั สมัย พร้อมท่จี ะปรบั ตัวให้ทนั ต่อการ เปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา หน่วยงานสานกั งานเป็นหน่วยงานท่มี ีหน้าที่ สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นาเทคโนโลยีดิจิทัล Digital Technology เ ช่ น Cloud Technology Big Data Technology แ ล ะ Communication Technology เป็นต้น มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานทั้งระบบ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ พร้อมทัง้ ปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสตั ย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือ ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ 9. มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดับปฐมวยั และกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน ฉบับลงวันที่ 6 สิงหำคม พ.ศ.2561 โดยทม่ี ีประกาศใชก้ ฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์และวธิ ีการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพ คนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกบั มีนโยบายให้ปฏริ ปู ระบบการประเมนิ และการประกนั คุณภาพ ทงั้ ภายในและภายนอกของทกุ ระดบั กอ่ นจะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอ่ ไป มดี ังน้ี มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดับปฐมวยั พ.ศ. 2561 มจี ำนวน 3 มำตรฐำน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของเด็ก 1.1 มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยท่ดี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 1.3 มีพฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสงั คม 1.4 มพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร 2.1 มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถ่ิน 2.2 จัดครูให้เพยี งพอกับชน้ั เรยี น 2.3 สง่ เสรมิ ให้ครมู ีความเชีย่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ 43

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ ) 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ 2.5 ใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรเู้ พอื่ สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสให้ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดประสบกำรณท์ ่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ 3.1 จดั ประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ 3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั อิ ย่างมีความสุข 3.3 จดั บรรยากาศท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ใชส้ อื่ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั 3.4 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุง การ จดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดับกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มำตรฐำน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คานวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปญั หา 3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร 5) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชพี 1.2 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามที่สถานศึกษากาหนด 2) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย 3) การยอมรบั ทจี่ ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร 2.1 มีเป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุก กลมุ่ เป้าหมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรูอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ 44

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั 3.1 จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ 3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน 3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลับเพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ 10. จุดเนน้ กำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำชมุ พร เขต 1 1. จุดเน้นด้ำนผูเ้ รียน 1.1 นกั เรียนมีสมรรถนะสาคัญสู่มาตรฐานสากล 1.2 นักเรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รกั สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสตร์ กษตั รยิ ์ ภูมิใจ ในความเปน็ ไทย หา่ งไกลยาเสพติด มคี ณุ ลักษณะและทกั ษะทางสังคมทีเ่ หมาะสม 1.3 นกั เรียนทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษไดร้ บั การส่งเสรมิ และพฒั นาเต็มตามศักยภาพเป็นรายบคุ คล 2. จดุ เน้นด้ำนครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ 2.1 ครไู ด้รับการพฒั นาองคค์ วามรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบตั จิ ริงและความช่วยเหลืออย่างตอ่ เน่ือง 2.2 พฒั นาผู้บริหารสถานศึกษากลมุ่ ที่มีความจาเปน็ ตอ้ งได้รับการพฒั นาเร่งด่วน 2.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีเป็นมืออาชีพ มีผลงานเชิงประจักษ์ ได้รับการยกย่องเชิดชู เกียรติอยา่ งเหมาะสม 2.4 ครูและผบู้ ริหารสถานศึกษาบรรจุใหม่ ยา้ ยมาปฏิบตั งิ านในเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นา และสามารถดาเนนิ การในภารกจิ ที่รบั ผิดชอบไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3. จุดเน้นด้ำนกำรบริหำรจัดกำร 3.1 สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์เน้นการ กระจายอานาจ การมีส่วนร่วม และการรบั ผิดชอบต่อการดาเนนิ งาน 3.2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาร่วมมือกันจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตาม มาตรฐาน 4. จดุ เน้นเพือ่ พฒั นำคณุ ภำพผ้เู รยี น 4.1 เร่งรดั ผลสมั ฤทธ์ิ 4.2 คดิ อ่าน เขียนคล่อง 4.3 ผา่ นรบั รองมาตรฐาน 4.4 สบื สานคุณธรรม 4.5 น้อมนาหลักปรัชญาฯ 4.6 นาพาสคู่ วามเปน็ เลิศ 4.7 เปดิ โอกาสให้ถ้วนท่วั 4.8 เตรยี มตวั สอู่ าเซียน 45

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) 11. โรงเรียนชุมชนประชำนคิ ม สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำชุมพร เขต 1 วิสัยทศั น์โรงเรยี น มุ่งพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพ คณุ ธรรมนาความรู้ อยู่รว่ มกันในสังคมตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างสันติสุข ยดึ ม่ันการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็น ประมุข ก้าวทันเทคโนโลยี อนรุ ักษ์วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการมสี ่วนร่วมของชุมชน เพื่อก้าวสู่ ความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก พันธกจิ 1. โรงเรยี นจดั การศกึ ษาตงั้ แต่ประถมวัยถงึ ภาคบงั คับ ใหผ้ เู้ รยี นมีศักยภาพตามมาตรฐาน 2. จดั หลกั สูตรและกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นพฒั นาเต็มศักยภาพ 3. สง่ เสรมิ และพัฒนาบุคลากรใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 4. จดั สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้ือตอ่ การพัฒนาผเู้ รยี น 5. พัฒนาระบบการบรหิ ารใหส้ อดคลอ้ งกบั การกระจายอานาจ 6. พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ กลยทุ ธข์ องโรงเรียน 1. สง่ เสริมสิทธิและโอกาสใหเ้ ด็กในวยั เรียนไดร้ บั การศึกษาภาคบังคบั อยา่ งท่วั ถงึ และมคี ณุ ภาพ 2. ส่งเสรมิ การปฏิรูปการเรียนรู้โดยยึดผ้เู รยี นเป็นสาคญั 3. สง่ เสรมิ และพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาด้านตา่ ง ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 4. ส่งเสรมิ และพัฒนาส่ิงแวดลอ้ มในโรงเรยี นให้มีบรรยากาศเออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ 5. พฒั นาระบบบริหารการศกึ ษา สอ่ื ไอซีที และศูนย์การเรยี นรูข้ องชมุ ชน เป้ำหมำยของสถำนศึกษำ 1. เด็กระดบั ปฐมวยั มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย 2. ผู้เรียนระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน มี คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ครบทุกประการ 3. ครูมีความสามารถในการจดั ประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีประสิทธภิ าพและเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั 4. ผูบ้ รหิ ารมกี ารบรหิ ารและจดั การศึกษาโดยใช้สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน 5. สถานศึกษามกี ารจัดหลักสตู ร และประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย 6. สถานศกึ ษามกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มท่มี ีความสะอาด ร่มรื่น ปลอดภยั และการใหบ้ รกิ ารทสี่ ่งเสริมให้ ผู้เรยี นพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพ 7. ชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาแหล่งเรยี นรเู้ ปน็ ศูนย์การเรียนร้ขู องชมุ ชน 46

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ) เป้ำประสงค์ 1. เกณฑ์เดก็ ในเขตบริการตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวัยถึงการศึกษาภาคบังคับให้เขา้ เรียนทกุ คน (1) 2. โรงเรียนดาเนินการสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมสี ุขนิสัย สุขภาพกาย สขุ ภาพจติ มีสุนทรียภาพด้านศลิ ปะ ดนตรี กีฬา และมีคณุ ธรรมจริยธรรม ค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์ และมีจิตสานึกในการอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดล้อม (2) 3. จัดการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ มที ักษะในการทางาน มีเจตคติทีด่ ตี ่ออาชีพสจุ ริต และมีทักษะท่ี จาเปน็ ตามหลักสูตร (2) 4. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรอง และมวี ิสัยทัศน์ (2) 5. สถานศึกษามีหลักสูตรท่ีเหมาะสมกบั ผู้เรียนและท้องถนิ่ จัดกจิ กรรมทีห่ ลากหลายให้ผเู้ รียนเลอื กเรียน ตามความสนใจ (2) 6. จัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่เี ข้มแข็ง ส่งเสริมและตอบสนองความสามารถ ความถนัด และความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ของผ้เู รยี นอยา่ งเต็มศกั ยภาพ (2) 7. จัดกิจกรรมสง่ เสริมด้านศิลปะ ดนตรี กฬี า สืบสานภูมิปญั ญาวฒั นธรรมประเพณี ค่านิยมท่ีดงี าม และ ความเป็นประชาธิปไตย (2) 8. สง่ เสรมิ ใหค้ รูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนานวตั กรรม สอื่ นาแหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มาใช้ ในการเรยี นการสอนท่ตี อบสนอง ความถนัดและความสามารถของผ้เู รียน (3) 9. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ มเี ทคนิควิธกี ารใหม่ ๆ ตามเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ 20 ช่ัวโมงต่อปี และมีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษา และ วเิ คราะหศ์ ักยภาพของผ้เู รยี นได้ (3) 10. บุคลากรทุกคนปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ มีมนุษยสัมพนั ธท์ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ และมคี วาม มุง่ มัน่ อทุ ิศตนในการพฒั นาผู้เรียน (3) 11. บุคลากรมีความรูต้ ามเกณฑ์ทก่ี าหนด มีจานวนเพยี งพอและสอนตามความถนัด (3) 12. มีระบบนเิ ทศการสอน บันทึก รายงานผล เพอื่ นาไปปรับปรงุ กจิ กรรมเรียนการสอน (3) 13. ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของผู้เรียนโดยจดั ให้มีสภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ อานวยต่อการ เรียนรู้ มอี าคารสถานท่ีเหมาะสม และอยใู่ นสภาพท่ีใชก้ ารไดด้ ี (4) 14. ผ้บู ริหารปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความคิดริเร่ิม มีวิสยั ทัศน์ มีความสามารถในการบริหาร จดั การ เปน็ ผู้นาทางวิชาการท่ีมีประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล ท่ผี ้เู กยี่ วขอ้ งพงึ พอใจ (5) 15. มีการพัฒนาให้เปน็ โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน เปน็ แหล่งเรียนรู้ของท้องถน่ิ มีความร่วมมือและบริการ ชุมชนอยา่ งเขม้ แข็ง โดยยึดหลัก “บ ว ร” “บ ร ม” (5) 16. มีการบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศทุกรูปแบบ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และส่งเสริมให้มีการใช้แหล่ง เรยี นรู้ทง้ั ในและนอกสถานศึกษา (5) 47

แผนปฏิบตั ิการประจาปี ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) ปรัชญำโรงเรยี น การศึกษาพัฒนาคน คนพฒั นาสังคม สงั คมพฒั นาการศกึ ษา อตั ลักษณข์ องโรงเรยี นชุมชนประชำนคิ ม โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา รุ่นแรก มีนักเรียนหลายเชื้อชาติ คือ ไทย ลาว พม่า โดยนับ ถือศาสนาพุทธและอิสลาม เป็นโรงเรียนสันติสุขอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ต้ังอยู่ในพื้นที่สหกรณ์นิคมท่าแซะ จึงเป็นโรงเรียนส่งเสริมสหกรณ์ มีการอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนซึ่งสอดคล้องกับ อัตลักษณ์ คือ “ยิ้มง่ำย ไหว้สวย” เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี นชุมชนประชำนิคม โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา รุ่นแรก ตั้งอยู่ในพื้นท่ีสหกรณ์นิคมท่าแซะจึงเป็นโรงเรียน สง่ เสรมิ สหกรณ์โดยมเี อกลักษณ์ดา้ น “ประหยัด อดออม” 48

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ( 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ) 12. โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรโรงเรียนชุมชนประชำนคิ ม (นำเสนอโดยแผนภมู ิ) คณะกรร การสถานศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน คณะกรร การ ระกนั คณุ ภาพ ผอู้ านวยการโรงเรียน คณะกรร การบรหิ ารหลกั สตู ร/วชิ าการ ภายใน กลุ่ บรหิ ารงาน งานสนบั สนุน รอง ผอ รร วชิ าการ - งานบรหิ ารหลกั สตู ร กลุ่ บรหิ ารงาน กลุ่ บรหิ ารงาน กลุ่ บรหิ ารงานทว่ั ไ บคุ คล งบ ระ าณ - ระบบดแู ลชว่ ยเหลือ - ชุ ชนสั พนั ธ์ นกั เรียน - งานแผนงบ ระ าณ - งานอาคารสถานที่ - กิจกรร เสริ หลกั สตู ร - งานธรุ การ - งานทะเบียนวดั ผล - จดั ซอื้ จดั จา้ ง - งานพฒั นาและ - การเงิน / การบญั ชี ระกนั คุณภาพ - งานอตั รากาลงั - งานสนิ ทรพั ยแ์ ละพสั ดุ - งานสารสนเทศ - งานการใหข้ วญั และ กาลงั ใจ - พฒั นาบคุ ลากร - งานวนิ ยั ขา้ ราชการ 49