เม่ือตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วงั หนา้ “When East Meets West : A Variety of Royal Treasures at the Wang Na” เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า When East Meets West A Variety of Royal Treasure at the Wang Na หนงั สอื ประกอบนิทรรศการพเิ ศษ เรอื่ ง “เมอื่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ ” ณ พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ระหว่างวนั ท่ี ๒ กรกฎาคม - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ กระทรวงวฒั นธรรม กรมศลิ ปากร Ministry of Culture, Fine Arts Department
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า When East Meets West A Variety of Royal Treasure at the Wang Na หนงั สือประกอบนิทรรศการพเิ ศษ เรื่อง “เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า” ณ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ระหวา่ งวันที่ ๒ กรกฎาคม - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๗
“เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ ” หนังสอื ประกอบนทิ รรศการพเิ ศษ ณ พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ระหว่างวนั ที่ ๒ กรกฎาคม - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ ISBN 978-616-543-257-3 พิมพค์ รั้งแรก ๑,๕๐๐ เล่ม มิถนุ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ ผูจ้ ดั พมิ พ ์ สำ� นกั พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศลิ ปากร กระทรวงวัฒนธรรม ทป่ี รึกษา นายเอนก สีหามาตย์ อธิบดีกรมศลิ ปากร นางสุรยี ร์ ัตน์ วงศ์เสงี่ยม รองอธิบดีกรมศิลปากร นายจรญู นราคร รองอธบิ ดีกรมศิลปากร นายอนนั ต์ ชโู ชติ รองอธบิ ดีกรมศลิ ปากร นางสนุ ิสา จติ รพันธ ์ ผู้อ�ำนวยการสำ� นกั บรหิ ารกลาง นายสหภูมิ ภูมิธฤตริ ฐั ผู้อำ� นวยการส�ำนกั พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ ผู้ตรวจ นายสมชาย ณ นครพนม นกั โบราณคดีทรงคณุ วฒุ ิ บรรณาธกิ าร นางจารุณี อินเฉิดฉาย ผูเ้ ขยี น/เรยี บเรยี ง นางจารุณี อนิ เฉิดฉาย นางรักชนก โคจรานนท์ นางสาวเด่นดาว ศิลปานนท์ นางกาญจนา โอษฐยิม้ พราย นางสาวฤทยั วัลคุ์ มโนสา นางสาวศภุ วรรณ นงนุช แปลภาษาองั กฤษ (หนังสือและนิทรรศการ) นางสมลักษณ์ เจริญพจน ์ Ms. Beverly Frankel ประสานงานจัดพมิ พ ์ นายดษิ พงศ์ เนตรล้อมวงศ์ ออกแบบหนงั สอื นายสขุ สวัสด์ิ ตั้งวิรุฬห ์ ภาพถ่าย นายสุภชยั ตยิ าภรณ์ พิมพท์ ี่ บริษทั อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิงแอนดพ์ ับลิชชงิ่ จ�ำกัด (มหาชน) ๓๗๖ ถนนชัยพฤกษ์ แขวงตลงิ่ ชัน เขตตล่งิ ชนั กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐, ๐ ๒๘๘๒ ๑๐๑๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ ๒๗๔๒, ๐ ๒๔๓๔ ๑๓๘๕ E-mail : aprint@amarin.co.th Homepage : www.amarin.com
ค�ำนำ� พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร มีแผนในการบรู ณะซ่อมแซมอาคารจดั แสดงและอาคารโบราณสถาน หลายแหง่ ภายใตโ้ ครงการพฒั นาและปรบั ปรงุ พระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หนา้ ) ในสว่ นการดแู ลของกรมศลิ ปากร ซ่ึงในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ก�ำหนดให้บูรณะปรับปรุงพระที่น่ังอิศเรศราชานุสรณ์ อาคารอนุสรณ์สถานที่ส�ำคัญใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ทั้งตัวอาคารและการจัดแสดงนิทรรศการภายในอาคาร ดังนั้น จึงต้องปิดพระ ท่ีน่ังอิศเรศราชานุสรณ์ในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งคาดว่าไม่ต่�ำกว่า ๖ เดือน ดังน้ัน เพ่ือเป็นการทดแทนนิทรรศการ ภายในพระท่ีนั่งอิศเรศราชานุสรณ์ท่ีเปิดให้เข้าชมเป็นปรกติธุระ กรมศิลปากร โดยส�ำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จึงก�ำหนดให้จัดนิทรรศการพิเศษ ท่ีเน่ืองด้วยวัตถุพิพิธภัณฑ์ในพระท่ีนั่งอิศเรศราชานุสรณ์ และเพ่ือเป็นการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั ทท่ี รงไดร้ บั พระราชทานบวรราชาภเิ ษกในพระเกยี รตยิ ศเปน็ อยา่ งพระเจา้ แผน่ ดนิ ปรากฏพระนามกลา่ วขาน ในนานาอารยประเทศว่า The Second King of Siam พระองค์ทรงพระปรชี าสามารถหลายดา้ น ทรงศกึ ษาภาษา องั กฤษอยา่ งเชย่ี วชาญ ทรงสนพระทยั ศกึ ษาคน้ ควา้ วทิ ยาการจากโลกตะวนั ตกและทรงนำ� มาปรบั ใชเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาติ อาทิ ทางดา้ นวศิ วกรรมเครอ่ื งกล ทรงตอ่ เรอื กลไฟแบบยโุ รปไดเ้ ปน็ ครงั้ แรกในสยาม ทรงเปดิ โรงกลนั่ ลม พระประทปี เป็นตน้ ทรงชว่ ยราชการแผ่นดนิ มาตง้ั แตร่ ัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หวั ครั้นถึงรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ ทรี่ จู้ กั กลา่ วขานอยา่ งดจี ากชาวตา่ งประเทศโดยเฉพาะชาตติ ะวนั ตก พระท่ีนั่งอิศเรศราชานุสรณ์ เป็นพระท่ีนั่งที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างข้ึนเป็น ที่ประทับหลังจากที่ทรงได้รับพระราชทานบวรราชาภิเษกแล้ว ลักษณะเป็นอาคารตึกสองชั้นแบบสถาปัตยกรรม ยุโรป มีบันไดมุขด้านหน้าขึ้นชั้นบนซ่ึงเป็นเฉลียงยาวก่อนเข้าสู่พ้ืนที่ส่วนห้องประทับ ท่ีประกอบด้วยห้องบรรทม หอ้ งหนงั สอื หอ้ งสรง และหอ้ งเสวย สว่ นชนั้ ลา่ งเปน็ ทอ่ี ยขู่ องเจา้ พนกั งานขา้ งท่ี พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จประทบั ณ พระที่นงั่ องค์นี้ตั้งแตพ่ ทุ ธศักราช ๒๓๙๔ จนเสดจ็ สวรรคตเมอื่ พุทธศกั ราช ๒๔๐๘ รวมระยะเวลา ที่ใช้เป็นที่ประทับ ๓๕ ปี หลังจากน้ันเป็นแต่เพียงที่ประทับชั่วคราวในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คราวเสดจ็ ฯ พระราชวงั บวรสถานมงคลเป็นบางครง้ั เทา่ นั้น พระราชทานนามใหมว่ ่า “พระท่ีนัง่ อศิ เรศราชานสุ รณ์” ภายหลังที่พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวเสด็จสวรรคต พระท่นี ่ังอิศเรศราชานสุ รณก์ ม็ ไิ ด้ใช้การแต่อย่างใด ได้รบั การบรู ณะอีกครัง้ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั โดยสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยา ด�ำรงราชานุภาพ ทรงจัดเปน็ อนุสรณ์สถานแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ซึง่ ในเวลาตอ่ ๆ มานน้ั ไดม้ กี าร ซ่อมแซมตัวอาคารท่ชี �ำรดุ ในบางสว่ นเพ่อื ให้คงสภาพที่สามารถให้ประชาชนเข้าชมได้ แผนของการบรู ณะและปรบั ปรงุ ในพุทธศกั ราช ๒๕๕๗ นี้ ถอื ได้ว่าเปน็ การบูรณะซ่อมแซมครงั้ ใหญ่ ทั้งใน ส่วนของโครงสร้างอาคาร และการปรับปรุงการจัดแสดงนิทรรศการภายในอาคาร รวมถึงการอนุรักษ์วัตถุจัดแสดง ท่ีจะเป็นองค์ประกอบหลักในการน�ำเสนอตามลักษณะการใช้งานมาแต่เดิมผสมผสานกับการสร้างบรรยากาศตาม ลกั ษณะของอาคารอนสุ รณส์ ถานทว่ั ไป ซง่ึ ตามแผนแลว้ จะใชเ้ วลาในการบรู ณะอาคารและปรบั ปรงุ การจดั แสดงเปน็ เวลา ๒ ปี กรมศลิ ปากรจงึ ไดม้ อบใหส้ ำ� นกั พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เคลอื่ นยา้ ยวตั ถภุ ายในพระทน่ี ง่ั อศิ เรศราชานสุ รณ์
น�ำออกมาจัดนิทรรศการพิเศษข้ึนในช่วงระยะเวลาที่ปิดปรับปรุง ส�ำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จึงจัดนิทรรศการ พิเศษเรื่อง “เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : พิพิธสมบัติพระราชา ณ วังหน้า” เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาอุปราชท่ีทรงศักดิ์สูงเป็นพิเศษกว่าพระมหาอุปราชพระองค์อื่นๆ เผยแพร่ พระปรชี าสามารถรอบดา้ นและทรงศกึ ษารอบรวู้ ทิ ยาการตะวนั ตก นำ� มาปรบั ใชป้ ระโยชนใ์ นราชการไดอ้ ยา่ งทนั สมยั อนั มีสว่ นชว่ ยให้สยามยนื หยดั อยู่ไดท้ า่ มกลางกระแสการคกุ คามจากซกี โลกตะวันตก ดังรายละเอียดท่ีปรากฏอยู่ใน หนงั สอื ประกอบนทิ รรศการเลม่ น้ี กรมศลิ ปากร หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ การจดั นทิ รรศการพเิ ศษครง้ั น้ี รวมทงั้ หนงั สอื ประกอบนทิ รรศการจะเปน็ ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และการอ้างอิงในการศึกษาเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับนานาประเทศ ในช่วง รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผา่ นหลกั ฐานทางโบราณวัตถุ โบราณสถานท่นี �ำเสนอในนิทรรศการ ครัง้ น้ี (นายเอนก สีหามาตย์) อธบิ ดกี รมศิลปากร พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗
สารจากผู้อำ� นวยการสำ� นักพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ นิทรรศการพิเศษในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เป็นกิจกรรมท่ีส�ำคัญอย่างหนึ่งของพิพิธภัณฑสถาน เป็นกิจกรรรมทางการศึกษาท่ีท�ำให้เกิดความเคล่ือนไหวในพิพิธภัณฑสถาน ซ่ึงเป็นวิธีหน่ึงที่จะสร้างความสนใจ ให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย เข้ามาศึกษาหาความรู้จากพิพิธภัณฑสถานเพิ่มเติมจากการเข้าชมตามปกติ รวมท้ัง เปน็ โอกาสทภ่ี ณั ฑารกั ษไ์ ดท้ ำ� การศกึ ษา วจิ ยั และเผยแพรค่ วามรใู้ หม่ ๆ แกส่ าธารณชนในรปู แบบของนทิ รรศการพเิ ศษ กับเป็นหนทางในการน�ำโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ที่จดั แสดงในห้องจัดแสดงอยูแ่ ลว้ หรอื ทีอ่ ย่ใู นหอ้ งคลงั คดั เลือกมา จดั แสดงใหน้ า่ สนใจยงิ่ ข้นึ โดยรอ้ ยเรยี งเรอื่ งราวใหม่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ชื่อเรอื่ งนทิ รรศการพเิ ศษทจ่ี ดั ขนึ้ นิทรรศการพิเศษ เรือ่ ง “ตะวันออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วงั หน้า” เปน็ นิทรรศการท่ี แสดงถงึ บทบาทของพพิ ธิ ภณั ฑสถานท่มี ีตอ่ สงั คมอย่างชดั เจน กล่าวคอื นอกจากจะเป็นนิทรรศการที่มวี ัตถุประสงค์ ในการเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระมหากษัตรยิ ์องค์ท่ีสอง ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ ๔ ซง่ึ ทรงมคี ณุ ปู การต่อประเทศชาติ ด้วยพระปรีชาสามารถ ความชาญฉลาดใน การรับวฒั นธรรมและการศึกษาแบบตะวนั ตก และนำ� มาปรบั ใช้อย่างแยบยล ไม่วา่ จะเป็นเครอ่ื งราชปู โภค ประเพณี ความเปน็ อยู่ โดยศึกษาเพอ่ื ให้ “รู้เขารู้เรา” กลา่ วไดว้ ่า พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงมีบทบาทส�ำคญั ต่อการเป็นส่วนหน่ึงในการน�ำพาประเทศชาติ ให้พ้นภัยจากการเป็นเมืองขึ้นของตะวันตก ซึ่งจะเป็นข้อคิดและ บทเรยี นใหก้ ับคนไทยไดต้ ระหนักในเรอื่ งความสามัคคี ความปรองดอง ความสมานฉนั ท์ และความรกั ชาติ สำ� นกั พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ หวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่านิทรรศการพเิ ศษครงั้ นี้ จะใหค้ วามรู้ ความเพลดิ เพลนิ เก่ียวกับเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และข้อคิดต่างๆ แก่ผู้เข้าชมนิทรรศการ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ ตอ่ สังคมตอ่ ไป สุดท้ายน้ี ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในพระราชวังบวรสถานมงคล และพระบารมี ปกเกล้าของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จงอ�ำนวยพรให้นิทรรศการพิเศษครั้งน้ี จงประสบผลส�ำเร็จ สมดังเจตนารมณ์ และสง่ ผลใหค้ ณะผดู้ ำ� เนนิ งาน ผู้มสี ว่ นรว่ ม และผเู้ ขา้ ชมทุกคน ประสบแด่สวสั ดิมงคล ทกุ ประการ (นายสหภูมิ ภมู ิธฤติรฐั )
บทน�ำ ความมงุ่ หมายของนทิ รรศการพเิ ศษ เรอื่ ง “เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ ” คือ การน�ำเสนอพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฐานะพระเจ้าแผ่นดินองค์ท่ี ๒ แห่ง ราชอาณาจักรสยาม ตรงกับช่วงระยะเวลาที่บ้านเมืองก�ำลังเผชิญกับการเข้ามาของนานาชาติทางซีกโลกตะวันตก ดว้ ยการค้า การเผยแผศ่ าสนา และการเมอื ง กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบและความเปล่ียนแปลงทางด้านตา่ งๆ น�ำไปสกู่ าร พฒั นาเพอ่ื ใหเ้ ปน็ สยามใหมใ่ นสมยั ตอ่ มา พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมโี อกาสไดศ้ กึ ษา เรยี นรเู้ รอื่ งราว ความเป็นไปของโลกตะวันตก จนกระทั่งทรงเชี่ยวชาญ สามารถน�ำมาใช้และดัดแปลงเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ บรรดาอาคารสิ่งปลูกสร้าง วัตถุส่ิงของและเอกสารต่างๆ ท่ีเน่ืองด้วยพระองค์ที่ยังปรากฏสืบมาจน ปัจจุบัน ล้วนเป็นหลักฐานยืนยันได้เป็นอย่างดี ซ่ึงบางส่วนได้น�ำมาจัดแสดงไว้ในนิทรรศการพิเศษครั้งน้ี ประกอบ การนำ� เสนอใน ๓ หวั ขอ้ ใหญ่ๆ คอื หัวข้อที่ ๑ “พระราชา ณ วังหน้า” น�ำเสนอพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่คร้ังทรงพระเยาว์ด�ำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงเป็นพระอนุชาธิราชในพระมารดาองค์เดียวกับ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี ๔ ในสมยั รชั กาลที่ ๓ ทรงได้รับการสถาปนาขึน้ เปน็ เจา้ ฟ้าต่างกรม สมเดจ็ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟา้ กรมขุนอิศเรศรรังสรรค์ และทรงรบั ราชการทหารต้งั แต่นัน้ มา ในรชั กาลต่อมาได้รับ พระมหากรุณาธิคุณ สถาปนาให้เป็นพระมหาอุปราชด�ำรงพระอิสริยยศสูงกว่าพระมหาอุปราชพระองค์ก่อนๆ ใน ฐานะพระเจา้ แผ่นดนิ พระองคท์ ี่ ๒ แหง่ กรุงสยาม หรอื The Second King of Siam ในสายตาของนานาประเทศ จากหลกั ฐานบรรดาเครอ่ื งราชบรรณาการทท่ี รงไดร้ บั จากประมขุ หรอื ผนู้ ำ� นานาประเทศ รวมถงึ อาคารพระทน่ี ง่ั และ วตั ถสุ ง่ิ ของตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ เครอื่ งประกอบพระอสิ รยิ ยศในฐานะมหากษตั รยิ ใ์ นพระราชวงั บวรสถานมงคล เชน่ พระทนี่ ง่ั คชกรรมประเวศ พระที่นั่งมังคลาภเิ ษก พระทีน่ ั่งเอกอลงกฏ พลบั พลาสงู พระแทน่ บวรเศวตฉัตร พระทีน่ ัง่ พดุ ตาน วังหน้า และ พระแทน่ ออกขุนนาง เป็นต้น หัวข้อท่ี ๒ “จิตวิญญาณ และ ปรัชญาแห่งโลกตะวันออก” เป็นการน�ำเสนอพระอัจฉริยภาพใน พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเลา่ เรยี นศาสตรแ์ ละศลิ ปช์ น้ั สงู ในราชสำ� นกั ตามธรรมเนยี มของเจา้ นายใน พระราชวงศ์ ได้แก่ อักขรวิธี ภาษาไทย ภาษามคธ ศีลธรรม พระศาสนา นิติศาสตร์ ราชประเพณีและวรรณคดี งานช่าง การใช้ศาสตราวุธ การสืบทอดพระศาสนาและขนบธรรมเนียมราชประเพณีต่างๆ โปรดให้ปฏิสังขรณ์ พระอารามหลายแหง่ รวมถงึ โปรดใหอ้ ญั เชญิ พระพทุ ธรปู ส�ำคญั ๆ ประดษิ ฐานไวใ้ นพระอารามเหลา่ นน้ั ทรงมพี ระราช หฤทยั รกั ในงานดา้ นภาษาและวรรณศลิ ป์ การสงั คตี และประณตี ศลิ ป์ พระราชวงั บวรสถานมงคลทปี่ ระทบั ของพระองค์ จงึ เปน็ เสมอื นศนู ยก์ ลางในการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปกรรมหลากหลายสาขา นอกจากน้ี ทรงรบั เอาแบบแผนประเพณขี อง จีนมาปรับใช้ในบวรราชส�ำนกั ทรงมีพระนามอยา่ งจีนวา่ “เจงิ้ ” แซ่ “เจิ้ง” โปรดให้สร้างพระราชมณเฑียรที่ประทับ สว่ นพระองคเ์ ปน็ แบบเกง๋ จนี ทรงสะสมเครอ่ื งกระเบอื้ งลายครามจนี ทรงอปุ ถมั ภอ์ ปุ รากรจนี สำ� หรบั การละเลน่ มหรสพ
ฝา่ ยพระราชวงั หนา้ สง่ิ ของเครอ่ื งใชส้ ว่ นพระองคท์ เ่ี ปน็ แบบจนี อาทิ พระแทน่ บรรทมจนี ประดบั มกุ พน้ื หนิ พระแทน่ ราชบัลลังก์จนี พระปา้ ยถวายชยั มงคลอกั ษรจีน โคมสอ่ งนำ� เสด็จ เครอื่ งเรือนจนี และเครอ่ื งลายครามจีน เป็นตน้ หวั ขอ้ ท่ี ๓ “เปดิ สยามสโู่ ลกตะวนั ตก” เปน็ การนำ� เสนอพระปรชี าสามารถและพระราชนยิ มในแบบตะวนั ตกของพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ แบบอยา่ งของผทู้ ม่ี คี วามอตุ สาหะและใฝร่ ใู้ นเรอ่ื งของการศกึ ษา จนเชย่ี วชาญ สามารถนำ� มาใช้ คดิ คน้ และดดั แปลงประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ บา้ นเมอื ง ทรงเปน็ ผทู้ ม่ี ชี อื่ เสยี ง และเป็นที่รู้จักในสายตาของชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อสัมพันธ์กับสยามมาตั้งแต่คร้ังปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฐานะของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ ท่ีทรงควบคุมกิจการทหาร เข้าใจภาษาอังกฤษและ ทรงรอบรธู้ รรมเนยี มปฏบิ ตั อิ ยา่ งตะวนั ตกเปน็ อยา่ งดี กลา่ วไดว้ า่ ทรงเปน็ ผหู้ นงึ่ ทม่ี สี ว่ นชว่ ยใหส้ ยามรอดพน้ จากการถกู ครอบครองของชาตติ ะวนั ตก พระปรชี าสามารถทเ่ี ดน่ ชดั ในสายตาของชาวสยามและชาตติ ะวนั ตก คอื ทรงเชยี่ วชาญ ภาษาอังกฤษ สามารถแปลและนิพนธ์ตำ� ราปืนใหญท่ ่ใี ช้สบื มาจนถงึ ปจั จบุ ัน ในด้านการทหารทงั้ ทหารบกและทหาร เรือ และการต่อเรอื ทรงเปน็ ผนู้ �ำในการริเร่ิมส่งิ ใหม่ๆ ตามแบบตะวันตก เชน่ โปรดฯใหส้ ร้างพระที่นงั่ ที่ประทับส่วน พระองค์ตามแบบตะวันตก ทรงออกแบบและใช้นามบัตรส่วนพระองค์ ทรงต้ังช่ือพระโอรสตามชื่อประธานาธิบดี สหรฐั อเมรกิ าว่า ยอร์ช วอชิงตนั รวมถึงทรงนยิ มไวพ้ ระมัสสุ เปน็ ตน้ จุดประสงค์ท่ีส�ำคัญอีกประการหนึ่งในการจัดนิทรรศการพิเศษครั้งน้ีนอกเหนือไปจากการให้ความรู้ ความเข้าใจในพระเกียรติประวัติและพระเกียรติคุณในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีต่อคนไทยและ ประเทศไทย แล้ว นั่นคือ ต้องการให้ผู้เข้าชม รวมถึงประชาชนคนไทยทุกคน มีส่วนร่วมในการบันทึกเร่ืองราวที่ เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เพ่ือเป็นข้อมูลในการถ่ายทอดและเผยแพร่พระเกียรติคุณให้เป็นท่ี แพรห่ ลายและกวา้ งขวางมากยง่ิ ข้นึ
Abstract Background The Fine Arts Department has authorized the restoration and renovation of the Palace to the Front, also known as the “Wang Na” in Thai. Today it is the site of National Museum of Bang- kok. The restoration project includes the Bowara Sathan Mongkol Palace, and the Bowara Sathan Suthawat Chapel. One of buildings in the compound, the Itsaret Rajanuson Pavilion, houses the possessions of King Pinklao. The restoration and renovation of this building begins in 2014 and is planned for completion in two years. As a consequence of the restoration, the entire collection will have to be removed from the Itsaret Rajanuson Pavilion and placed into a storage area. How- ever, instead of sending the objects for storage, the Fine Arts department considered it a great opportunity for the Office of National Museums to arrange a special exhibition of the collection to honor the life, intellect and competence of King Pinklao. This special exhibition is called: “When East Meets West: A Variety of Royal Treasures at the Wang Na.” The theme centers on the fact that King Pinklao was one of the most important figures in Siamese history at a time when Siam was entering a period of great changes, one in which Western influences led to reforms and new developments that gave rise to a modern Siam. About King Pinklao (1808-1865) King Pinklao was one of the sons of King Rama II or Phrabat Somdet Phra Buddha Lertlar Naphalai and the Queen: Somdet Phra Sri Suriyanethara Borom Rajinee. He was the blood brother of King Rama IV or Phrabat Somdet Phra Chomklao Chao Yuhua. Born on 4th of September 1808 at the former residential palace or Phra Raja Wang Doem in Thonburi, he was presented with the name “Somdet Phra Chao Look Ya Ther Chao Fah Chuthamanee.” At the age of 12 he followed traditional customs that were designated only for royal children on the level of “Chao Fah;” one such ceremony was the Phra Raja Phiti Sokan or the “Cutting Off of the Topknot” ceremony at the age of 24, he was promoted to the title of “Somdet Phrachao Nong Ya Ther Chao Fah Krom Khun Itsaret Rangsan Achanam Sirisawatdi Trikhayusom.”. After joining military, he took part in both army and navy activities. He became one of the key figures in military affairs from the period of King Rama III to the reign of King Rama IV. His interest
in science, in machines of industrial use, and his study of the English language elevated his value greatly and he was recognized as a very knowledgeable and modern person. As a consequence, Prince Pinklao was given responsibility for many important tasks during the reign of King Rama IV. In 1850, when he was 42, after his brother King Mongkut had ascended to the throne, Prince Pinklao was honored by his brother, and given the title of the Viceroy to the King. Notably, his position was an exceptional one, a one of a kind, as his status was elevated to the same rank as King. Afterwards he was known as King Pinklao, equivalent in status to King Mongkut himself. His Majesty King Pinklao Chao Yu Hua passed away on the 7th of January in the year 1865 at the age of 58. His children numbered 58; the first son was Phraong Chao Yodying Prayura Yot Bovarajorot Ratcha Kumara, born in 1838 by the royal consort, Chao Chom Manda Ame. This son was given the name ‘George Washington” as he was known to foreigners and the court. Later this son was appointed as Krom Phra Raja Wang Boworn Wichaichan in the reign of King Rama V or Phrabat Somdet Phra Chulachomklao Chao Yuhua. He became the last Prince of the Wang Na in Thai history. The Exhibition The exhibition of “When East Meets West: A Variety of Royal Treasures at the Wang Na.” is held at the Issaravinitchai Pavilion inside the compound of the Bangkok National Museum. It consists of three main topics: 1. The King of the Wang Na 2. The Embodiment of Eastern Philosophy 3. The Opening of Siam to the Western World 1. “The King of the Wang Na” The exhibition is focused on the biography of King Pinklao, starting from his childhood when he was in the position of Prince Chuthamanee or Somdet Phra Chao Look Yather Chao Fah Chuthamanee, son of King Rama II of Rattanakosin. He was a brother of the future King Rama IV. In the reign of King Rama III, at age 12, he was promoted to the rank of “Somdet Phrachao Nong Ya Ther Chao Fah Krom Khun Itsaret Rangsan.”
After joining the military, he took part in both army and navy activities. He became one of the key figures in military affairs from the period of King Rama III thru to the reign of King Rama IV. During the reign of King Rama III, he was in charge of artillery and army sniper divisions and was also commander in chief of the Volunteer military, which consisted of Vietnamese, Indian and Cham troops. Being fluent in English, he was able to learn about industrial systems from the West, thus was active in building many ships and fortresses. Furthermore, he commanded many battles as a leader in the Royal Navy. In the reign of King Rama IV, he was appointed to the position of Wang Na but his rank became higher than any previous Viceroy, because his position was elevated to be at the same level as the King of Siam himself. In the international world view, he was known as the Second King of Siam, and he was highly honored as indicated by the multitude and variety of souvenirs and gifts bestowed upon him from various foreign countries. These were presented to him on a status equal to that of the King of Siam. Other benefits bestowed upon the Second King took the form of the many pavilions that were added to Wang Na Palace, such as the Khotchakam Prawet, Mangkhala Phisake, Ekalongkot, the High Pavilion, Phudtan Pavilion and the Throne, etc. Today, some of these have already been demolished. The Phra Thinang Khotchakam Prawet or the Elephant Mounting Pavilion (in front of Bud- dhaisawan Chapel) was the first pavilion built in a tier-roof structural form that was constructed in the Wang Na palace as the attribute to the Second King. The Seven Tiers Throne or “Phra Thaen Raja Banlang Bowara Sawetashat,” to be seated when meeting the grand audience and when presided over royal and Buddhist ceremonies. The illustrated picture was when the throne was used as the pedestal for King Pinklao’s Urn during the funeral ceremony at the Issara Vinitchai Pavilion in 1865. 2. The Embodiment of Eastern Philosophy The exhibition aims to relate how Eastern philosophies shaped King Pinklao’s life; they can be seen in his education, his duty as preserver of customs and religion according to royal heritage, and his service to his country. He trained on elephants and horses, and became capable in weapons, wrestling, as well as in art, literature and music. He promoted and nourished arts that continued various royal
customs and traditions. He became accomplished in the higher level of palace arts and sciences that require meticulous accuracy and elaboration of details as traditionally practiced in the court. When he lived in the Wang Na, he nourished the arts by encouraging the promotion of royal ceremonies and religious practices. During his life, he also restored and renovated many temples. He arranged for the transfer of many Buddha images to be enshrined in temples as the main im- age; examples include Phra Buddha Sihing from Wat Phra Sri Rattana Satsadaram was enshrined in the Buddha Sawan Chapel. Phra Luang Pho Suk was enshrined as the main Buddha image of Wat Ratchaphatikaram ubosot., Phra Saen Muang Chiang Tang was enshrined at Wat Hong Ratanaram, and finally, Phra Serm from the city of Nong Khai was enshrined as the important Buddha image in the Phra Ratchawang Boworn Sathan Mongkol, (of the Wang Na). This Phra Serm image is at present enshrined in the vihara of Wat Pathum Wanaram. His outstanding ability and intellect is equally displayed in the fields of literature and music. They are expressed in his written verse, and in his playing of many musical instruments; his favorites were in playing the flute (Kaen) and in singing and playing serenades in a Northeastern style music “Aew”. Furthermore, he was open to other Eastern philosophies as demonstrated by his accep- tance of Chinese traditions. He even had a Chinese Name, “Joeng Sae Joeng.” Chinese influences were on display in the court of the Wang Na; many of his pavilions were built in Chinese style; he collected Chinese blue and white ceramics and he was a patron of the Chinese opera troupes who entertained in the Wang Na. Some of his belongings were of Chinese origin; for example, the royal bed of Chinese style was made of stone and decorated with mother of pearl inlay, as was his throne equally adorned with Chinese motifs. The collection contains a plaque written in Chinese calligraphy whose words pay respect to King Pinklao. Chinese lanterns, Chinese furniture, and painted blue and white ceramics in the collection are further evidence that these elements of Chinese origins once adorned the Wang Na. 3. The Opening of Siam to the Western World This section of the exhibition presents King Pinklao’s acumen and admiration of Western contributions. He was fluent in English and capable of learning much about Western sciences. He applied it to his many duties, especially his military tasks; he wrote a textbook on The Use of Artillery and supervised the building of steamships. He developed a good understanding of modern Western concepts, and astutely applied inventions of the West to Siamese requirements.
In constructing some pavilions he used Western architectural designs, and furnished them with Western furniture and accessories. He added several Western motifs to some of his pavilions; one example is the Itsaret Rajanusorn Pavilion, formerly known as the Wong Chan pavilion, located on the Wang Na palace grounds. He designed a name card for himself, a Western custom not used in Siam at that time. He grew a Western-styled mustache. He even named his son, “George Washington” in the spirit of being modern and in knowing of Western history, etc. Siam was entering a period of big changes that began during the later years of Rama III. During that time, many powerful Western nations approached Siam to establish a relationship with them. King Pinklao was well known to foreigners as the brother of King Rama III, of high status, and the one who was in charge of and had control over Siamese military forces. He was also appreciated for his great fluency in the English language, and was conversant with Western customs. Under the reign of King Rama IV, he became elevated in rank and known to the West as the Second King of Siam. He played an important role in maintaining the independence of Siam from attempts of colonization by Western powers.
สารบญั คำ� นำ� โดย อธบิ ดีกรมศลิ ปากร หนา้ ๓ สารจากผูอ้ �ำนวยการสำ� นักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ๕ บทนำ� ๖ Abstract ๘ บทท่ี ๑ พระราชา ณ วังหนา้ ๑๕ จารุณี อนิ เฉดิ ฉาย ดำ� รงไว้ซ่งึ สมเดจ็ ฯ เจ้าฟา้ ๑๕ “เราที่สองรองภูมนิ ทร์ คือปนิ่ เกล้า” ๓๒ พระมหากษัตรยิ พ์ ระองค์ท่ี ๒ หรอื The Second King of Siam ๔๒ บทที่ ๒ จติ วิญญาณ และ ปรชั ญาแห่งโลกตะวันออก ๕๑ ศกึ ษาศลิ ปวทิ ยาตามโบราณราชประเพณี ๕๑ กาญจนา โอษฐย้มิ พราย การทำ� นธุ �ำรงศาสนาและราชประเพณี ๖๒ เด่นดาว ศิลปานนท ์ เจิ้งแซเ่ จิ้ง : เจงิ้ เจ้ิง ๖๖ เด่นดาว ศิลปานนท ์ พระราชนยิ มและพระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นวรรณกรรม ดนตรี และศลิ ปกรรม ๗๐ เดน่ ดาว ศลิ ปานนท์ บทท่ี ๓ เปดิ สยามสูโ่ ลกตะวนั ตก ๗๗ การเรยี นรแู้ ละริเริ่มพฒั นา ตราไว้ในแผน่ ดิน ๗๗ ฤทยั วัลค์ุ มโนสา พระรสนิยมอย่างตะวนั ตก ๘๙ ศุภวรรณ นงนชุ สยามในสายตาชาวโลก ๙๓ รักชนก โคจรานนท์ รายการวตั ถจุ ัดแสดงนทิ รรศการ ๑๒๗ บรรณานุกรม ๑๙๐
๑บทที่ พระราชา ณ วังหน้า จารุณี อนิ เฉิดฉาย* ดำ� รงไวซ้ ง่ึ สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ : “สบื สานพระบรมราชจกั รวี งศ”์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระราชโอรส พระองคท์ ่ี ๓ ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั รชั กาลที่ ๒ และ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ทรงเป็นพระอนุชาร่วมพระมารดาเดียว กบั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ ประสตู เิ มอื่ วนั อาทติ ย์ ที่ ๔ กนั ยายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๕๑ ณ พระราชวังเดิม ซึ่งเปน็ ทป่ี ระทับของ สมเดจ็ พระราชบดิ า เมอื่ ครง้ั ยงั ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ทรงพระนามว่า “สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ จุฑามณี” “...ครั้นพระครรภ์ถ้วนทศมาสก็ประสูติในวันอาทิตย์เดือน ๑๐ ขน้ึ ๑๕ คำ่� ปีมะโรง นักษตั รสมั ฤทธศิ ก จลุ ศกั ราช ๑๑๗๐ เปน็ ปที ี่ ๒๗ ใน แผน่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก เวลา ๕ นาฬกิ า แตเ่ ทยี่ งคนื วนั นั้น พระอาทติ ยส์ ถติ ราศีสิงห์ พระพุธ พระเสาร์ พระลักขณาอยู่ราศสี ิงห์ พระเคราะหท์ ั้ง ๓ อยูร่ ่วมราศกี ัน พระจันทร์พระพฤหสั บดี ๒ พระเคราะห์ อย่รู าศกี มุ ภ์ เลง็ พระลักขณา พระอังคาร พระราหู พระเคราะห์ อย่รู าศตี ลุ ย เปน็ โยคแกพ่ ระลกั ขณา แตพ่ ระเสารอ์ ยูร่ าศ.ี ..” ๑ * ภณั ฑารกั ษ์ช�ำนาญการพิเศษ ผู้อ�ำนวยการพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ กาญจนาภิเษก ส�ำนกั พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร ๑ ส. พลายนอ้ ย, พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั . กษัตริย์วงั หน้า, พมิ พค์ รั้งที่ ๓ (กรุงเทพ : มตชิ น, ๒๕๔๓)
16 เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : พิพิธสมบัติพระราชา ณ วงั หนา้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ครั้นเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี มีพระชนมายุ ทรงสง่ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ ได้ ๑๒ พรรษา ทรงเข้าประกอบพระราชพิธีโสกันต์ตามแบบอย่างสมเด็จ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ กรมขนุ พนิ ิต พระเจ้าลูกยาเธอชั้นเจ้าฟ้า ตามแบบโบราณราชประเพณีคร้ังกรุงเก่าโดยมี ประชานารถ (พระบาทสมเด็จ เขาไกรลาส และพิธแี ห่ พระสงฆ์เจรญิ พุทธมนต์ การโสกนั ต์ และการสมโภช ระหวา่ งวันที่ ๑๙ - ๒๒ มนี าคม พทุ ธศักราช ๒๓๖๓ “...ครั้นลว่ งมาอกี ๖ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๕) เดอื น พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกเสดจ็ สวรรคต สมเดจ็ พระเจา้ เสดจ็ ไปฟงั สวดพระพุทธมนต์ กอ่ นโสกันต์ ลูกเธอกรมพระราชวังบวรได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นแผ่นดินท่ี ๒ เจา้ ฟา้ พระราชโอรส ๒ พระองคน์ น้ั กเ็ ปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ พระบาท พ.ศ. ๒๔๐๘ สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นทรงปรึกษาด้วย ข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยฝ่ายหน้าฝ่ายใน ว่าการพระราชพิธีโสกันต์เจ้าได้ท�ำ ลงเป็นอย่างทีแบบแผนเป็นจดหมายเหตุอยู่แล้ว แต่การพระราชพิธีลงสรง ต้ังพระนามเจ้าฟ้าโดยอย่างเต็มตามต�ำราครั้งกรุงศรีอยุธยาเก่า ยังหาได้ ท�ำเปน็ แบบอย่างไม่ ผูห้ ลกั ผ้ใู หญ่ท่ีเคยเหน็ กช็ รา เกือบจะหมดไปแล้วจะ สาบสูญเสีย จะใคร่ท�ำไว้เป็นเกียรติยศเย่ียงอย่างสักคร้ังหนึ่ง ข้าราชการ เห็นพร้อมตามกระแสพระราชดำ� ริ คร้ันถึงปีระกาเบญจศก ศักราช ๑๑๗๕ ตรงกับปีมีคริสตศักราช ๑๘๑๓ จึงได้ตั้งการพระราชพิธีลงสรงสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าพระองค์ ใหญ่ ผูกแพไม่ไผ่ทท่ี า่ ราชวรดิษฐ มีกรงท่ีสรงอยู่กลางลอ้ มด้วยซ่ีกรงช้นั หนง่ึ ตารางไม่ไผ่อีกชั้นหน่ึง ร่างแหอีกช้ันหนึ่ง ผ้าขาวอีกช้ันหน่ึง มีบันไดเงิน บันไดทองลง ๒ ข้าง บันไดกลางเปน็ เตียงหล่ันหมุ้ ผา้ ขาว เรยี กว่าบันไดแก้ว ในกรงมมี ะพร้าวคปู่ ิดเงินปดิ ทอง แลปลาทองปลาเงิน กงุ้ ทองกงุ้ เงิน ลอยอยู่ ทง้ั สี่ทศิ กรงนนั้ มมี ณฑลสวมมีราชวัตรฉตั รทอง ฉตั รนาค ฉตั รเงิน ลอ้ มสาม ช้นั มที หารน่งั รายรอบแลมเี รือจุกช่องล้อมวง แพทีล่ งสรงแทนเขาไกรลาสใน การโสกนั ต์ การพธิ ีนอก นนั้ คอื การขึน้ พระบาท แลการแห่ ทางแห่ การละ เลน่ ตา่ งๆ ก็เหมอื นกับการโสกนั ต์ แหเ่ คร่ืองขาวเสดจ็ ไปทรงฟงั พระสงฆ์สวด พระพทุ ธมนต์ ขนึ้ มหาปราสาทสามวนั วนั ท่ี ๔ จงึ แหเ่ สดจ็ ลงไปทา่ ราชวรดษิ ฐ์ สรงในแพท่ีสรงแล้วแห่กลับ แล้วจึงเสด็จมารับพรสุพรรณบัฏจารึกพระนาม ว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติวงศ์ พงศอิศวรกระษัตริย์ ขตั ยิ ราชกมุ าร ครงั้ เวลาบา่ ยแหเ่ ครอ่ื งแดงทรงเครอื่ งตน้ มาสมโภชทพ่ี ระทน่ี ง่ั อมรนิ ทรวินจิ ฉยั ครง้ั นัน้ เรยี กวา่ พระทนี่ ่ังจกั รพรรดิพมิ าน ในวันน้ันแลตอ่ ไป อกี สองวันเป็นสามเวลา เสรจ็ พระราชพิธีลงสรง คร้ันเสร็จการแล้วมีพระราชโองการด�ำรัสว่า การลงสรงเช่นน้ีท�ำ แต่ครั้งเดียวน้ีเถิด พอเป็นตัวอย่างไว้ไม่ให้สูญพิธีโบราณ เพราะการโสกันต์ เป็นอันจ�ำจะต้องทำ� สำ� หรบั ยศเจา้ ฟ้าทกุ ๆพระองค์ การลงสรงทำ� เป็นสองซ�ำ้ ก็หาต้องการไม่ ไพร่ๆท่ีเขาลงท่าลูกเขานั้น เพราะเข้าร้อนรนจะเร่งเอา
เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : 17 พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า ของขวัญ เก็บเอาเงินคนอื่นมาใช้เขาจึงรีบด่วนท�ำการลงท่าก่อนเวลาโกนจุก เพราะเขา้ เหน็ วา่ การโกนจกุ นนั้ ยงั ชา้ อยู่ กใ็ นหลวงไมไ่ ดร้ อ้ นรนอะไรไมค่ วรจะ ทำ� ใหเ้ ปน็ สองซำ�้ สามซำ�้ ทำ� แตโ่ สกนั ตเ์ ถดิ ดว้ ยเปน็ ตอ้ งจำ� ใจทำ� ตามธรรมเนยี ม ครนั้ มาเดอื น ๔ ปชี วดอฐั ศก ศกั ราช ๑๑๗๘ เปน็ เดอื นมารช์ ในปมี คี รสิ ตศกั ราช ๑๘๑๗ ไดม้ พี ระราชพธิ โี สกนั ตส์ มเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ มงกฎุ นน้ั เปน็ การ ใหญเ่ หมือนกันกบั คร้ังโสกันต์เจ้าฟา้ กณุ ฑลทพิ ยวดี ครั้นมาเดอื น ๔ ปีมะโรง อัฐศก ศักราช ๑๑๘๒ ตรงกับเดอื นมาร์ชในปีมคี ริสตศักราช ๑๘๒๑ ได้มีการ พระราชพิธีโสกันต์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอิศวเรศจุฑามณีอีกคร้ังหนึ่ง มีเขาไกรลาสแลการอ่ืนๆเหมอื นกนั กับการสองคร้ังก่อน…”๒ ภาพวาดพระราชพงศาวดารประกอบโคลง งานพระเมรุ ร.ศ. ๑๒๐ (พ.ศ. ๒๔๔๕) ตอนพระราชพิธโี สกนั ต์ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ กณุ ฑลทพิ ยวดี ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ กระบวนแห่ในพระราชพิธโี สกนั ตส์ มเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ จักรพงษ์ภวู นาถ และสมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา้ ยุคลทฆิ ัมพร ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ “...บดั นี้สมเด็จพระเจ้าลกู เธอเจ้าฟา้ จฬุ าลงกรณ์ พระองค์ ใหญ่มีพระชนมายุได้เตม็ ๑๒ ปีแตป่ ีประสตู ิ จงึ กำ� หนด เวลาควรจะมีการพระราชพธิ ีโสกันต์เป็นการใหญ่ ดว้ ย ไดพ้ ระราชทานพระอสิ รยิ ยศตา่ งๆ เสมออย่างพระองค์ ในครัง้ แผน่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ทกุ ประการแลว้ คร้งั นจ้ี ึงควรให้มกี ารพระราชพิธโี สกันต์ เป็นการใหญเ่ ต็มตามต�ำรา ซ่ึงมใี นแผ่นดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย ๒ ครัน้ น้ัน เพอ่ื จะได้เป็นแบบ อย่างไปภายหนา้ …”๓ ๒ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. ตำ� นานวงั หนา้ : พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั . พมิ พ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพหมอ่ มเจ้าขจรศุภสวสั ดิ์ นนั ทวนั ณ เมรวุ ดั มกุฎกษตั รยิ าราม วนั ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๔๙๖ ๓ ประกาศพระราชพธิ ีโสกันต์ สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ณ วันพฤหัสบดี เดอื นย่ี ข้ึน ๑๑ ค�ำ่ ปฉี ลสู ปั ตศก
18 เมื่อตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วังหน้า ผงั ราชสกลุ จกั รวี งศใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช + กรมสมเด็จพระอัมรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั + สมเดจ็ พระสรุ เิ ยนทรามาตย์ บรมราชนิ ี สมเดจ็ เจ้าฟ้าชาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (สิน้ พระชนมต์ ง้ั แต่ทรงพระเยาว)์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 19 พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า เน่ืองจากเป็นพระอนุชาธิราชในพระมารดาเดียวกัน และ ประทับในพระราชวังเดิมมาด้วยกันตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ พระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงใกล้ชิด และรักใคร่กับพระบรมเชษฐา คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างมาก ทรงอยู่ในกลุ่มที่ เรียกว่า กลุ่มหัวก้าวหน้า มีความสนิทสนมกับชาวต่างชาติในกลุ่มเดียวกัน ทรงมพี ระราชหตั ถเลขาสว่ นพระองคร์ ะหวา่ งกนั ทเ่ี ปน็ แบบฉบบั ของพระองค์ เอง นั่นคือ การเขียนด้วยตัวอักษรโรมันตัวเขียน แต่สะกดเป็นค�ำไทย เช่น Kra Mom xan dai krab thawi bang khom la ooc chak Krung thep tang tie Na wan Duan 7 riem kham 1… ซึ่งถอดเป็นคำ� ภาษาไทยว่า “กระ หม่อม ฉัน ได้ กราบ ถวาย บงั คม ลา ออก จาก กรุง เทพ ตงั้ แต่ ณ วนั เดอื น ๗ แรม ค�่ำ ๑...” ลายพระหตั ถใ์ นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (ซา้ ย) และ ในพระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว (ขวา)
20 เมื่อตะวันออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ หรืออีกหนึ่งความผูกพันของทั้งสองพระองค์ในคร้ังที่พระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประชวรหนักแล้วกลับมารักษาพระองค์ใน พระบวรราชวงั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาเยยี่ มถงึ หอ้ งพระบรรทม ทง้ั ๆ ทอี่ าจยงั ทรงมเี รอื่ งขนุ่ ขอ้ งในพระราชหฤทยั ในเรื่องท่ีทรงได้ยินมาว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสะสม ก�ำลังและอาวุธเป็นจ�ำนวนมากเพื่อจะก่อการไม่ชอบมาพากลต่อพระองค์ ในครง้ั นน้ั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั “...เสดจ็ เขา้ มากอดพระบาท ทรงพระกนั แสงวา่ หาชอ่ งทางทจี่ ะกราบทลู อยชู่ า้ นาน กไ็ มม่ โี อกาส บดั นไี้ มม่ ี ใคร จะขอกราบทลู นำ�้ ใจทซี่ อื่ สตั ยส์ จุ รติ ตอ่ ใตฝ้ า่ ละอองธลุ พี ระบาท มผี กู้ ราบ บังคมทูลกล่าวโทษว่าสะสมเครื่องศาสตราวุธกระสุนดินด�ำขึ้นไว้ ก็ได้สะสม ไว้จริงมีอยู่มาก ไม่นึกกลัวใคร แต่เปนความสัตย์จริงที่จะได้คิดประทุษร้าย ต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทไม่มีเลยสักขณจิตหน่ึง แล้วถวายสัตยสาบาน เปนอนั มาก ซง่ึ ตระเตรยี มไวน้ น้ั เพอื่ ปอ้ งกนั ผอู้ น่ื เทา่ นน้ั เอง...”๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเองก็ทรงรักและห่วงใยพระอนุชาธิราชเป็นอย่างย่ิง เสด็จขึ้นไปบนท่ีประทับทรงรักษาพยาบาลท้ังกลางวันกลางคืน จวบจน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เมื่อวันท่ี ๗ มกราคม ๒๔๐๘ สิริรวมพระชนมายุได้ ๕๘ พรรษา ทรงด�ำรงพระอิสริยยศในฐานะ พระมหาอุปราชท่ีทรงศักด์ิสูงเสมอด้วยพระมหากษัตริย์ เป็นเวลา ๑๕ ปี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ต้ังพระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระท่ีน่ัง อิศราวนิ จิ ฉัย “...การพระศพ โปรดใหเ้ รียกว่า พระบรมศพ จัดเหมอื นอยา่ ง พระบรมศพสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินทุกอย่าง เว้นแต่มิได้ประกาศให้คนโกน หัวไว้ทุกข์ท้ังเมือง เป็นแต่สังกัดที่มีในพระบวรราชวัง...”๕ โปรดเกล้าฯ ใหม้ กี ารพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพในปถี ดั มา ระหวา่ งวนั ท่ี ๘-๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๒๐๙ ณ ทอ้ งสนามหลวง โปรดฯ ให้ตัง้ พระเมรุมาศตามแบบ อยา่ งพระเมรมุ าศพระบรมศพสมเด็จพระเจา้ แผ่นดนิ “...ณ เดือน ๓ ขึ้น ๔ ค�ำ่ เชิญพระบรมธาตแุ ห่แตพ่ ระท่นี งั่ อิศรา วินิจฉัยในพระบวรราชวัง ออกประตูมหาโภคราช และประตูบวรยาตรา ด้านตะวนั ออก มาสมโภชท่พี ระเมรวุ นั กบั คืนหนงึ่ แห่พระบรมธาตุกลบั แลว้ ถึงเดือน ๓ ข้ึน ๖ ค�่ำ เพลาบ่าย ๒ โมง เชิญพระบรมศพแห่ออกประตู ๔ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, เรื่องเดยี วกัน. ๕ เรอ่ื งเดยี วกัน.
เม่อื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 21 พิพธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า โอภาษพมิ านชนั้ กลางดา้ นเหนอื และประตพู จิ ติ รเจษฎาดา้ นตะวนั ตกพระบวร ราชวัง ไปถงึ ตำ� หนักแพ เชิญพระบรมโกศประดษิ ฐานเหนอื พระแท่นแวน่ ฟา้ ในเรอื พระทน่ี ง่ั กงิ่ ไกรสรมขุ แหล่ อ่ งมาประทบั ทพ่ี ระราชวงั เดมิ ดว้ ยพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ ประทบั อยตู่ ลอดในรชั กาลที่ 3 มมี หรสพ สมโภชคืนหน่ึง คร้ันเวลาดึกเคลื่อนเรือพระบรมศพมาประทับที่ท่าฉนวนวัด พระเชตพุ นฯ รุ่งขึ้น ขนึ้ ๖ ค�ำ่ เวลาเชา้ แห่กระบวนน้อยไปยงั ทต่ี ั้งกระบวน ใหญท่ สี่ นามชยั เชญิ พระบรมโกศขน้ึ พระมหาพชิ ยั ราชรถแหไ่ ปยงั พระเมรมุ าศ เม่ือเสร็จการสมโภชพระบรมอัฐิแล้ว โปรดฯให้เชิญไปประดิษฐานไว้ที่ พระที่น่ังอิศเรศราชานสุ รณท์ ใี่ นพระบวรราชวงั …”๖ พระแทน่ ราชบัลลังก์บวรเศวตฉตั ร ประดิษฐานพระโกศพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจ้าอยู่หวั ภายในพระทนี่ ัง่ อิศราวินจิ ฉัย (ท่ีมาของภาพ : กรมศลิ ปากร, ประชุมภาพประวตั ศิ าสตร์แผ่นดนิ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั , ๑๑๕). ๖ เรื่องเดียวกนั .
22 เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้ พระโกศบรรจพุ ระอฐั พิ ระบาทสมเด็จพระป่นิ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว ภายในท้องพระโรงพระทีน่ ่ังอศิ ราวนิ ิจฉยั “...เม่อื เสร็จการสมโภชพระบรมอฐั แิ ล้ว โปรดฯให้เชิญไปประดษิ ฐานไว้ทพ่ี ระทน่ี ั่งอิศเรศราชานุสรณท์ ี่ในพระบวรราชวงั …” พระเมรมุ าศในการพระราชพธิ ีพระราชทานเพลงิ พระศพพระบาทสมเด็จพระป่นิ เกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ทอ้ งสนามหลวง วันที่ ๑๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๐๙
เมื่อตะวนั ออกพบตะวันตก : 23 พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วังหน้า ชบวนแหพ่ ระบรมศพพระป่นิ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ในการพระราชพิธีถวายพระเพลิง ในวันที่ ๑๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๔๐๙ “...แล้วเชญิ พระบรมศพทรงเหนอื พระยานนมุ าศ แหท่ กั ษณิ พระเมรุ ๓ รอบ แลว้ เชญิ พระบรมโกศประดิษฐานบนพระเบญจาทองค�ำ จำ� หลักลายกุดนั่ ประดบั พลอยเนาวรัตน์ ภายใตพ้ ระบรมเศวตฉตั รในพระเมรทุ อง...”
24 เมอื่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัติพระราชา ณ วังหนา้ “บวรราชสกุล” “... วังหน้า เปนหนุ่มแข็งแรง ข่ีช้างน�้ำมัน ข่ีม้าเทศสูงสามศอกเศษ ยิงปืนทุกวัน ชอบการทหารมาก มีวทิ ยาคมดี ฤๅษีมุนี แพทยห์ มอมวี ิทยานับถอื เขา้ อยดู่ ว้ ยมาก ผหู้ ญงิ กร็ กั มาก เล้ยี งลูกเมียดี..”๗ จากหลักฐานเอกสารหลายฉบับได้กล่าวถึงพระอัชฌาศัยในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า เป็นเจา้ นายท่ีเฉลียวฉลาด ชอบการทหาร ช่างสงั เกต มีพระอารมณข์ นั ไม่ถอื พระองค์ และทรงพระรปู งาม เป็นที่ ยำ� เกรงและรักใครแ่ ก่ผพู้ บเหน็ และดว้ ยความทีโ่ ปรดการเล่นสักวา จึงทรงท�ำให้ “คุณพ่มุ ” หรือ บุษบาทา่ เรอื จ้าง” ท่ีพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ นั้น ตามเสด็จเข้าไปอยู่ในพระราชวังเดิมด้วยระยะหน่ึง ทรงมีพระ สนมเจา้ จอมหมอ่ มห้ามอยมู่ าก ตั้งแต่ยงั ทรงพระยศกรมขนุ อิศเรศรังสรรค์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ ฯ ยงั ทรง ค่อนสมเด็จพระอนุชาธิราชว่า “...เสด็จไปทางไหน ใครๆ ก็ยกลูกสาวให้…”๘ ส�ำหรับเจ้าจอมมารดาและพระสนม ในพระบาทสมเด็จพระป่ินเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทปี่ รากฏหลักฐานกล่าวถึงมีอยู่ ๓๔ ท่าน ดังนี้ ๑ เจ้าคณุ จอมมารดาเอม มบี รรพบุรษุ เปน็ นายส�ำเภาจนี แซ่ออ๋ ง เข้ามาต้งั แตส่ มยั อยธุ ยา เขา้ รับราชการ ในราชส�ำนักสยามท�ำความดีความชอบสืบต่อกันมา ปักหลักค้าขายในกรุงธนบุรีและบางกอกสืบต่อกันอย่างมั่นคง เป็นพระมารดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชายยอดยิ่งยศบวราโชรสรัตนราชกุมาร ต่อมาทรงได้รับการ สถาปนาเป็น กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ วังหน้าในรัชกาลที่ ๕ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชายปรีดา ส้ินพระชนมโ์ ดยไม่มสี ายสืบราชสกลุ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ ชายเนาวรัตน์ ตอ่ มาทรงได้รบั การสถาปนา เปน็ กรมหมน่ื สถิตยธ์ ำ� รงสวัสดิ์ ต้นราชสกลุ นวรัตน และพระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าหญิงวงจนั ทร์ ๒ เจา้ จอมมารดาช้อย ณ ราชสมี า ธดิ าพระยานครราชสีมา (คุณชายเมฆ ณ ราชสีมา) สืบเชือ้ สายสกลุ มาจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นพระมารดาพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ (พระองค์ เจ้าชายจรูญโรจนเ์ รอื งศรี ต้นราชสกุล จรูญโรจน์ ณ อยุธยา) ๓ เจ้าจอมฉมิ ณ ราชสีมา สบื เชือ้ สายสกลุ มาจากสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช ในสายของเจ้าพระยา นครราชสีมา ๔ เจา้ จอมมารดามาลยั ผูส้ บื สายสกลุ จากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ๕ เจา้ จอมมารดาเอย่ี ม พระธดิ าสมเดจ็ เจา้ ฟา้ ชายนเรนทราราชกมุ าร สายสกลุ จากสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช มีพระราชโอรส คือพระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ชายภาณมุ าศ ต้นราชสกลุ “ภาณมุ าศ ณ อยธุ ยา” ๖ เจา้ จอมผอ่ ง นอ้ งสาวเจา้ จอมมารดาเอี่ยม พระธิดาสมเด็จเจ้าฟา้ ชายนเรนทราราชกมุ าร ๗ เจ้าจอมมาลัย พระธิดาสมเด็จเจ้าฟ้าชายนเรนทราราชกุมาร สายสกุลจากสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ๘ เจา้ จอมมารดากลบี พระมารดาของพระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โตสนิ ี ตน้ ราชสกลุ “โตษะณยี ”์ เป็นพระสนมท่ีพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดปรานมาก ที่ประทับในพระท่ีนั่งวงจันทร์ (พระท่ีนั่ง ๗ ส. พลายน้อย, เจ้าฟ้าจุฑามณี พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั . พิมพค์ ร้งั ที่ ๒. (กรงุ เทพฯ : อกั ษรพทิ ยา), ๒๕๓๖. ๘ เรอ่ื งเดยี วกนั .
เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : 25 พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า อศิ เรศราชานสุ รณ)์ กบั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั “...เจา้ กลบี เปนพระมเหษี เฮอมายสิ ตขี า้ งใน..”๙พระเจา้ ลกู เธอและพระสนมกำ� นัลข้ึนเฝ้าแต่เฉพาะเวลาเสวยเท่าน้นั ๙ เจ้าจอมมารดากุหลาบ พระมารดาพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุธารส หรือ “พระองค์วัน” ตน้ สกลุ สธุ ารส ๑๐ เจ้าจอมมารดาเกด พระมารดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิศาลบวรศักด์ิ พระนามเดิมว่า “พระองคเ์ จ้าวรรัตน”์ หรอื “พระองค์โตใหญ”่ ต้นสกุล วรรัตน์ ๑๑ เจ้าจอมมารดาหนู พระมารดาในพระเจา้ ราชวรวงศ์เธอ กรมหมนื่ บรริ ักษน์ รนิ ทรฤทธิ์ มีพระนามเดมิ วา่ “พระองคเ์ จา้ หัสดนิ ทร์” ต้นสกุล หสั ดินทร์ และ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ นันทวนั ๑๒ เจา้ จอมมารดาแย้ม พระมารดาในพระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ ยคุ ุนธร ต้นสกุล ยุคนธรานนท์ ๑๓ เจ้าจอมมารดาออ่ น พระมารดาของพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าสนัน่ ตน้ สกุล สายสนั่น ๑๔ เจา้ จอมมารดาสีดา หลายสาวนายกองขนุ ราม มพี ระธดิ านามว่า พระองค์เจ้าหญงิ เฉิดโฉม ๑๕ เจ้าจอมมารดาวันดี เชื้อสายลาวเวียงจันทน์ มีพระองค์เจ้า ๒ พระองค์ คือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ พมิ พบั สรสรอ้ ย และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าสอางองค์ ๑๖ เจา้ จอมมารดาตาด ๑๗ เจ้าจอมมารดาใย ๑๘ เจา้ จอมมารดาบวั ๑๙ เจา้ จอมมารดาเพือ่ น ๒๐ เจ้าจอมมารดาดา๊ ๒๑ เจ้าจอมมารดาเยยี ง ๒๒ เจา้ จอมมารดาเทย้ ๒๓ เจ้าจอมมารดาพนั ๒๔ เจา้ จอมมารดาขลบิ ๒๕ เจา้ จอมมารดาจนั ๒๖ เจ้าจอมมารดาพลับ ๒๗ เจ้าจอมมารดาล�ำภู ๒๘ เจา้ จอมมารดาพลอย ๒๙ เจ้าจอมมารดาสว่ น ๓๐ เจา้ จอมมารดาแก้ว ๓๑ เจ้าจอมมารดาพรหมา ๓๒ เจ้าจอมมารดาหงส์ ๙ http://www.reurnthai.com/index.php?topic=5553.100;wap2
26 เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วังหน้า ๓๓ เจา้ จอมมารดาสายบัว ๓๔ คุณหญงิ คลา้ ย ธดิ าเจ้าพระยานครนอ้ ย พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ทรงมพี ระราชโอรสพระราชธิดา ๕๘ พระองค์ พระโอรสองคแ์ รก คือ พระองค์เจ้ายอดยิ่งประยูรยศ บวรราโชรสรันราชกุมาร ประสูติเมื่อพุทธศักราช ๒๓๘๑ ในเจ้าจอมมารดาเอม ซงึ่ ตอ่ มาทรงบวรราชาภเิ ษกเปน็ กรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มี พระโอรสและพระธดิ าทป่ี ระสตู กิ อ่ นการพระราชพธิ บี วรราชาภเิ ษก ๓๓ พระองค์ และประสตู หิ ลงั จากบวรราชาภเิ ษก ๒๕ พระองค๑์ ๐ ทรงมพี ระราชทายาทสบื สายสกุล ๑๑ ราชสกุล คือ ๑. สุธารส ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุธารส หรือ “พระองค์วัน” ทรงเป็น พระราชโอรสล�ำดบั ที่ ๑๐ และท่ี ๒ ในเจา้ จอมมารดากุหลาบ ๒. วรรตั น์ ตน้ ราชสกลุ คอื พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พศิ าลบวรศกั ดิ์ มพี ระนามเดมิ วา่ “พระองคเ์ จา้ วรรตั น์” หรือ “พระองค์โตใหญ”่ ทรงเปน็ พระราชโอรสล�ำดับที่ ๑๒ ในเจา้ จอมมารดาเกศ ๓. ภาณุมาศ ตน้ ราชสกลุ คอื พระเจา้ ราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าภาณมุ าศ ทรงเป็นพระราชโอรสลำ� ดับ ที่ ๑๘ และท่ี ๑ ในเจ้าจอมมารดาเอ่ยี ม ๔. หัสดินทร ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธ์ิ มีพระนามเดิมว่า “พระองคเ์ จ้าหสั ดินทร์” ทรงเปน็ พระราชโอรสล�ำดับที่ ๑๙ และที่ ๑ ในเจา้ จอมมารดาหนู ๕. นวรัตน์ ต้นราชสกุลคือ พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื สถติ ธำ� รงสวัสด์ิ มพี ระนามเดมิ ว่า “พระองค์ เจา้ เนาวรัตน์” ทรงเป็นพระราชโอรสล�ำดับที่ ๒๐ และที่ ๔ ในเจา้ คณุ จอมมารดาเอม ๖. ยคุ นธรานนท์ ตน้ ราชสกลุ คือ พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้ายคุ นุ ธร ทรงเป็นพระราชโอรสลำ� ดบั ท่ี ๒๓ ในเจาจอมมารดาแย้ม ๗. โตษะณยี ์ ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโตสินี ชาววงั ทว่ั ไปเรียกวา่ “พระองค์ โตเลก็ ” ทรงเป็นพระราชโอรสล�ำดบั ที่ ๓๔ และที่ ๕ ในเจ้าจอมมารดากลีบ ๘. นันทวัน ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านันทวัน ทรงเป็นพระราชโอรสล�ำดับ ท่ี ๓๖ และที่ ๒ ในเจา้ จอมมารดาหนู ๙. พรหเมศ ตน้ ราชสกลุ คอื พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ พรหเมศ ทรงเปน็ พระราชโอรสลำ� ดบั ที่ ๕๐ ในเจา้ จอมมารดาพรหมา ๑๐. จรญู โรจน์ ตน้ ราชสกลุ คอื พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ จรสั พรปฏภิ าณ มพี ระนามเดมิ วา่ “พระองคเ์ จา้ จรญู โรจน์เรอื งศร”ี ทรงเป็นพระราชโอรสลำ� ดับที่ ๕๓ และที่ ๒ ในเจา้ จอมมารดาช้อย ๑๑. สายสนั่น ต้นราชสกุลคอื พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าสนั่น ทรงเปน็ พระราชโอรสล�ำดบั ที่ ๕๕ ในเจา้ จอมมารดาอ่อน ๑๐ http://th.wikipedia.org/wiki พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ เจา้ อยู่หวั
เม่อื ตะวันออกพบตะวันตก : 27 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า ผงั บวรราชสกุลในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจา้ อยหู่ ัว พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกล้าเจ้าอยูห่ วั กรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญ (เปน็ ต้นราชสกลุ อีก ๙ ราชสกลุ วไิ ลยวงศ์ กาญจนะวชิ ยั กัลยาณวงศ์ สทุ ัศนีย์ วรวุฒิ รุจจวชิ ัย วิบลู ยพรรณ รัชนี วสิ ทุ ธ)ิ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุธารส (ตน้ สกุล สุธารส) พระเจา้ ราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ วรรตั น์ กรมหม่นื พศิ าลบวรศกั ดิ (ตน้ สกลุ วรรตั น์) พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าภาณุมาศ (ตน้ สกลุ ภาณมุ าศ) พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหสั ดนิ ทร์ กรมหม่ืนบรริ กั ษ์นรินทรฤทธ์ิ (ต้นสกลุ หัสดนิ ทร) พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ เนาวรตั น์ กรมหมื่นสถติ ย์ธำ� รงสวสั ด์ิ (ตน้ สกุล นวรัตน) พระเจา้ ราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ ยุคนธร (ตน้ สกุล ยุคนธรานนท์) พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าโตสินี (ต้นสกุล โตษะณีย)์ พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้านนั ทวนั (ตน้ สกุล นันทวนั ) พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ พรหเมศ (ต้นสกลุ พรหเมศ) พระเจา้ ราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าจรญู โรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏภิ าณ (ต้นสกลุ จรญู โรจน์) พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าสนั่น (ตน้ สกลุ สายสน่นั )
28 เม่ือตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอ เจ้าฟา้ ต่างกรม พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสถาปนาเจา้ ฟา้ จฑุ ามณี ขนึ้ เป็นเจา้ ฟ้าตา่ งกรม มีพระนามในพระสุพรรณบฏั ว่า สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ ง ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรรังสรรค์ อัชนาม สิริสวัสดิทฤฆายุสม เม่ือ วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๓๗๕ ทรงรับราชการทหารบังคับบัญชากรมทหาร แม่นปืนหน้าปืนหลัง ญวนอาสารบและแขกอาสาจาม ทรงเป็นผู้ที่มีความ รอบรแู้ ละทนั สมยั เขา้ ใจภาษาองั กฤษเปน็ อยา่ งดี ตลอดจนสนใจในดา้ นการ ทหาร เครือ่ งยนตก์ ลไกตา่ งๆ จากตะวนั ตก ทำ� ให้ไดร้ บั ความไวว้ างพระราช หฤทยั ในพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รบั พระบรมราชโองการปฏบิ ตั ิ ในภารกจิ ส�ำคัญๆ๑๑ ได้แก่ การสร้างปอ้ ม “พิฆาตขา้ ศึก” รักษาปากแมน่ ้�ำ แมก่ ลอง ทสี่ มทุ รสงคราม ทรงอยปู่ ระจำ� การรกั ษาปอ้ มทส่ี มทุ รปราการ ทรง เปน็ แมก่ องหดั ทหารปนื ใหญป่ ระจำ� ปอ้ มไวส้ ำ� รองราชการในยามเกดิ สงคราม ทรงฝึกญวนอพยพถึง ๑๓๔ คนให้เป็นทหารปืนใหญ่ด้วยวิธีการฝึกแบบ ตะวนั ตก ทรงเปน็ แมท่ พั ใหญย่ กกองทพั เรอื ไปปราบญวนทเ่ี มอื งบนั ทายมาศ ด้วยกองเรือรบแบบฝรั่ง ทรงจัดยุทธานาวีทางทะเลแบบใหม่เป็นครั้งแรก ของสยามซง่ึ ทรงปฏบิ ัติราชการสงครามนน้ี านถึง ๑๑ เดอื น ทรงต่อเรอื แบบ ยโุ รป Royal Adeliade เรอื สนิ คา้ ขนาดเลก็ ใชป้ ราบเจา้ แขกทกี่ อ่ การจลาจล ต่อเรือพุทธอ�ำนาจ (Fairy) และเรือราชฤทธ์ิ (Sir Walter Scott) ซ่ึงเป็น เรอื บาร์กขนาด ๒๐๐ ตนั มปี นื ใหญ่ ๑๐ กระบอก ต่อเรอื เวทชงดั (Tiger) เรือสกูนเนอร์ขนาด ๒๐๐ ตัน ทรงสรา้ งเรอื ขับเคล่อื นดว้ ยเครือ่ งจักรไอนำ�้ ส�ำเรจ็ เป็นครงั้ แรก ท�ำใหห้ นังสอื พิมพ์ตา่ งชาตอิ ย่าง The New York Tri- bune และ Singapore Free Press ตีพมิ พ์ขา่ วเผยแพร่ ซ่ึงทรงนำ� ออกแลน่ ในแมน่ �ำ้ เจา้ พระยาเป็นครั้งแรกวนั ท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๓๙๑ ซง่ึ หมอเฮา้ ส์ ได้ บนั ทกึ ไวว้ า่ “...เชา้ วนั นี้ เราไดเ้ หน็ สงิ่ ใหมใ่ นแมน่ ำ�้ คอื เรอื กำ� ปน่ั จำ� ลองขนาด เล็กหน่งึ ลำ� ยาวไม่เกนิ ๒๐ ฟตุ มีปลอ่ งไฟแลพวงมาลยั ถือท้าย แล่นทวนนำ�้ ไดอ้ ยา่ งแคล่วคล่อง เจา้ ฟา้ น้อยทรงนงั่ ถือพวงมาลัย เป็นเรอื ก�ำปั่นพนื้ เมือง ลำ� แรกใน แมน่ ำ�้ ทเ่ี จ้าฟ้านอ้ ยทรงสรา้ งข้นึ เอง...”๑๒ ทรงเปน็ แม่กองดับเพลิง ในพระบรมมหาราชวัง และทรงรับเป็นพระธุระในการเป็นผู้อ�ำนวยการ ดับเพลิงในพระนครด้วยพระองค์เองทุกคร้ังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จอมเกลา้ ฯ ทรงกลา่ ววา่ “...เมอ่ื ทา่ นขา้ งโนน้ (พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ ฯ) ๑๑ พระบวรราชานสุ รณ์ พระบาทสมเดจ็ พระบวเรนทราเบศมหศิ เรศรงั สรรค์ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั . ๗ มกราคม ๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ : บริษทั จนั วาณิชย์ จ�ำกดั , ๒๕๕๔. ๑๒ กรมแพทยท์ หารเรือ, เทดิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจา้ อย่หู ัว, กรงุ เทพฯ, ๒๕๔๗
เมื่อตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 29 พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วังหนา้ อยูก่ รุง ถา้ เกดิ เพลงิ ไหม้ทไี่ กลๆแลว้ จะนง่ิ เสียไมไ่ ปกไ็ ด้ ต่อที่ใกล้ๆ ริมวังเจ้านายและบา้ นขุนนางจงึ ต้องไป ครั้นเม่อื ท่านข้างโน้นไม่อยู่เกิดเพลิงข้ึนที่ไหนเม่ือใด ก็ต้องรีบไปช่วยดับเองเร็วๆ ให้จงได้...”๑๓ นอกจากนี้ ยังทรงได้ช่ือว่า เป็นผูท้ เ่ี ขา้ ใจธรรมเนียมปฏิบตั ิแบบตะวันตกเป็นอยา่ งดี ทรงเป็นทีป่ รกึ ษาในพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ในการเตรียมการรบั คณะทตู จากตา่ งประเทศ ๑๓ ส. พลายนอ้ ย, เร่อื งเดิม.
30 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมื่อตะวนั ออกพบตะวันตก : 31 พิพธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ ภาพลายเสน้ ปอ้ ม พิฆาตขา้ ศึก สมุทรสงคราม ลกั ษณะเรือกำ� ปัน่ แปลง คอื เรอื ก�ำป่นั ติดปนื เปน็ เรือรบไวใ้ ช้ทางทะเล
32 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า “เราทสี่ องรองภมู นิ ทร์ คอื ปน่ิ เกลา้ ” ...อนั ตัวเราน้กี ร็ องพระจอมเกล้า เปน็ ปน่ิ เกล้าในสยามภาษา มียศศักดิ์ประจักษท์ ว่ั ทุกภารา พระทรงธรรมก์ รุณาชบุ เล้ียงเรา… ตราพระราชลญั จกร ...เพลงยาว พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ซง่ึ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว มูลเหตแุ ห่งการสถาปนา โปรดเกล้าฯ ใหจ้ ดั ทำ� ขนึ้ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ เป็นเจ้านายที่มีช่ือเสียง เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ดี และเปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาททางการเมอื งการปกครองในสมยั รชั กาล ที่ ๓ พระองค์หนึง่ เป็นกล่มุ “คนหนุ่มหวั กา้ วหน้า” ทร่ี อบร้วู ิชาการสมยั ใหม่ เป็นอย่างดี ทรงมีพระภารกิจในการก�ำกับกองทหารสมัยใหม่ ท�ำให้ทรงมี ข้าราชบริพารและพรรคพวกมิใช่น้อย ในช่วงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีหลักฐานกล่าวว่า “...เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ทรงเกบ็ พระองคอ์ ยเู่ งยี บๆ ไมต่ ดิ ตอ่ กบั ชาวองั กฤษและพวกมชิ ชนั นารเี หมอื น เชน่ เคย กรณนี อ่ี าจตคี วามไวว้ า่ พระองคม์ พี ระประสงคท์ จ่ี ะสรา้ งคะแนนนยิ ม เพราะการคบค้าสมาคมกับชาวตะวันตกไม่ใช่เรื่องดีนักในสายตาของพวก อนุรักษ์นิยม...”๑๔ จึงท�ำให้มีการวิเคราะห์กันว่า พระองค์เองทรงปรารถนา สิทธิราชบัลลังก์เช่นเดียวกับพระบรมเชษฐา คือ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ รวมถึงหลักฐานสนับสนุนว่าเม่ือครั้งที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ใกลจ้ ะเสดจ็ สวรรคตนน้ั สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อศิ เรศรงั สรรค์ เสดจ็ ไปเฝา้ พระ เชษฐาทว่ี ดั บวรนเิ วศ แลว้ กราบทลู พระเชษฐาวา่ “...พเ่ี ถรจะเอาสมบตั หิ รอื ไม่ เอา ถ้าเอากร็ ีบสึกไปเถอะ ถ้าไมเ่ อาหมอ่ มฉนั จะได้เอา...”๑๕ จึงเปน็ สาเหตทุ ี่ สมเด็จฯเจ้าฟ้ามงกุฎฯ เม่ือครั้งด�ำรงสมณศักด์ิพระวชิรญาณ ให้บรรดา อ�ำมาตยผ์ ใู้ หญ่ทูลเชญิ สมเด็จฯ เจ้าฟา้ กรมขุนอิศเรศรงั สรรค์ ขึน้ เปน็ กษตั รยิ ์ อีกพระองคห์ นง่ึ ดว้ ย ๑๔ ส. พลายน้อย, เร่ืองเดิม. ๑๕ เรอ่ื งเดยี วกนั .
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวันตก : 33 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า ในพระราชนพิ นธ์ พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงกล่าววา่ “....ในแผ่นดนิ พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรงประชวรต้ังแต่เดือนอา้ ย ปีจอ โทศก จลุ ศักราช ๑๒๑๒ มาเสด็จสวรรคตในวนั พุธ เดือน ๕ ข้นึ ๑ คำ่� ปีกนุ ยังเปน็ โทศก พระราชวงศายุวงศ์ และท่าน เสนาบดีและข้าราชการเป็นอันมาก ปรึกษาพร้อมยอมถวายราชสมบัติและแผ่นดินแด่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟา้ ทั้งสองพระองค์ เพ่ือวา่ พระองคใ์ หญจ่ ะไดพ้ ระบรมราชาภเิ ษกในพระบรมมหาราชวัง และพระองคน์ อ้ ยจะได้ รบั พระบวรราชาภิเษกในพระบวรราชวงั … ...สมเด็จพระอนุชาธิราช ก็ทรงพระปรีชารอบรู้ในพระนครแลการต่างประเทศ แลฉบับธรรมเนียมต่างๆ แลศลิ ปะศาสตรใ์ นการรณรงคส์ งครามเปน็ อนั มาก พระบรมวงศานวุ งศ์ เสนาบดขี า้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท ผใู้ หญผ่ นู้ อ้ ย ก็รักใคร่นับถือมาก เม่ือกระท�ำสัตย์สาบานถวายก็ได้ออกพระนามทั้งสองพระองค์ สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มพี ระทยั เสนห่ ายงิ่ นกั มกี ารรณรงคส์ งครามคบั ขนั มาประการใด จะไดใ้ หเ้ สดจ็ ไปเปน็ จอมพยหุ โยธาหาญทงั้ ปวง ปราบ ปจั จามติ รขา้ ศกึ ศตั รู มพี ระเดชานภุ าพจะไดเ้ หมอื นสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เหมอื นกนั ...”๑๖ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงวนิ จิ ฉยั ในเรอื่ งท่ี “เมอื งไทยมพี ระเจา้ แผน่ ดนิ ๒ พระองค”์ ไว้ว่า “... ข้าพเจ้าเคยนกึ สงสยั มาแตแ่ รกอา่ นหนังสอื พงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ว่า พระมหาอปุ ราช รชั กาลที่ ๑ และ รัชกาลที่ ๒ กเ็ ปน็ สมเดจ็ พระอนุชารว่ มพระชนนีเหมือนอย่างพระบาทสมเด็จพระปิน่ เกลา้ เจา้ อยู่ หวั ทัง้ ๒ พระองค์ เหตุไฉนพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั จงึ ทรงตั้งพระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน คิดดูก็ไม่เห็นเหตุ ต่อมาอีกช้านานเมื่อข้าพเจ้าหาหนังสือเข้าหอพระสมุดส�ำหรับพระนคร ได้ ส�ำเนาค�ำทูลถวายราชสมบัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาอ่าน ค�ำทูลน้ันว่าพระราชาคณะสงฆ์ กับท้ัง พระบรมวงศานุวงศ์ และเสนาบดีมนตรีมุขท้ังปวงพร้อมใจกัน “ขออัญเชิญพระบาทสมเด็จพระอนุชาธิบดี เจ้า ฟา้ มงกฎุ ฯ และสมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อศิ เรศรังสรรค์ เถลงิ ถวัลยราชสมบัติ” ดังนนั้ ข้าพเจา้ ก็เข้าใจว่าคงเป็นเพราะทูลถวายราชสมบัติท้ังสองพระองค์ด้วยกัน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงต้อง ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระอนชุ าเป็นพระเจา้ แผน่ ดนิ ด้วยอกี พระองค์หน่ึง แตก่ ็เกดิ สงสยั ตอ่ ไปวา่ เหตุไฉนจึงถวายราช สมบัติทั้ง ๒ พระองค์ด้วยกัน ซ่ึงไม่เคยมีเย่ียงอย่างมาแต่ก่อน แต่มิรู้ท่ีจะค้นหาอธิบายได้อย่างไร จนถึงในรัชกาล ที่ ๖ วันหน่ึงเจ้าพระยาภาณวุ งศ์ฯ มาหา เวลานนั้ อายุท่านกว่า ๘๐ ปแี ล้ว แตค่ วามทรงจำ� ของท่านแมน่ ยำ� ข้าพเจ้า เคยถามได้ความรู้เร่ืองโบราณคดีมาจากท่านหลายครั้ง วันนั้น เม่ือสนทนากัน ข้าพเจ้านึกขึ้นถึงเรื่องท่ีทูลถวาย ราชสมบตั ิ ๒ พระองค์ ถามท่านวา่ ทราบหรอื ไม่ เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยหู่ วั สวรรคตน้นั เพราะเหตุใด สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยรู วงศ์ (บิดาของท่านเม่ือยงั เป็นเจ้าพระยาพระคลังฯ) ซง่ึ เป็นหัวหนา้ ในราชการ จึง แนะน�ำใหถ้ วายราชสมบตั ิแก่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั กับ พระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัวด้วย กนั ทงั้ ๒ พระองค์ ไมถ่ วายแดพ่ ระองคเ์ ดยี วเหมอื นอยา่ งเมอื่ เปลย่ี นรชั กาลกอ่ นๆ ทา่ นบอกวา่ เรอ่ื งนน้ั ทา่ นทราบดว้ ย ได้ยินกบั หูของทา่ นเอง แลว้ เล่าตอ่ ไปว่าวันหนง่ึ เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจา้ อยูห่ ัวใกลจ้ ะสวรรคต สมเด็จเจ้า พระยาฯ ไปเฝ้าพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ซ่ึงทรงพระผนวชอยู่ ณ วดั บวรนเิ วศวิหาร กราบทลู ให้ทรง ทราบว่าจะเชิญเสด็จข้ึนครองราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสว่า ถ้าจะถวายราชสมบัติแก่ พระองค์ ขอให้ถวายพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ซ่งึ ตรัสเรยี กว่า ทา่ นฟากข้างโนน้ ” ด้วย เพราะพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระชะตาแรงนกั ตามตำ� ราโหราศาสตรว์ า่ ผมู้ ชี ะตาเชน่ นนั้ จะตอ้ งไดเ้ ปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ถา้ ทรงรบั ราชสมบตั แิ ตพ่ ระองคเ์ ดยี วจะเกดิ อปั มงคล ดว้ ยไปกดี บารมขี องสมเดจ็ พระอนชุ า แมถ้ วายราชสมบตั ดิ ว้ ยกนั ๑๖ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. เรือ่ งเดิม.
34 เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วังหนา้ ทง้ั ๒ พระองค์ จะไดท้ รงสถาปนาสมเดจ็ พระอนชุ าใหเ้ ปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ดว้ ยอกี พระองคห์ นงึ่ เหมอื นอยา่ งสมเดจ็ พระ นเรศวรมหาราช ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระเอกาทศรถ เปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ดว้ ยกนั เชน่ นน้ั จงึ จะพน้ อปั มงคล สมเดจ็ เจา้ พระยาฯ กไ็ มข่ ดั พระอธั ยาศยั ออกจากวดั บวรนเิ วศวหิ าร ขา้ มฟากไปเฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ ฯ ณ พระราชวงั เดมิ (ทเี่ ปน็ โรงเรยี นนายเรอื อยบู่ ดั น)้ี ตวั ทา่ นเองเวลานน้ั อายไุ ด้ ๑๘ ปี นงั่ ไปหนา้ เกง๋ เรอื ของบดิ า เมอ่ื ไปถงึ พระราชวงั เดิม เปน็ เวลาทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกล้าฯ ประทับอยู่ทแ่ี พหน้าวัง เสด็จออกมารับสมเดจ็ เจ้าพระยาฯ ทแ่ี พลอย ตัวทา่ นอยู่ในเรือ ไดย้ ินสมเดจ็ เจ้าพระยาฯ เลา่ ถวายพระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั ดังกล่าวมา จึงทราบเร่อื ง ตามทเี่ จา้ พระยาภาณวุ งศฯ์ เลา่ กส็ มกบั ประกาศของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ ทรงสถาปนาพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ตามแบบอย่างครั้งสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงสถาปนาสมเด็จพระเอกาทศรถ จงึ เชือ่ ได้ว่าเรอื่ งทจ่ี รงิ เป็นอยา่ งเจา้ พระยาภาณุวงศ์ เลา่ ...” สมเดจ็ ฯกรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธ์ถึง พระราชดำ� รสั ในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ ทรงอา้ งถงึ พระชะตาของสมเดจ็ พระอนชุ าธริ าชวา่ ”ถา้ ฉนั ไมใ่ ห้เธอเปน็ พระเจา้ แผ่นดินค่กู บั ฉนั เธอน้นั ก็นา่ จะต้องไดเ้ ป็นเพยี งพระองค์เดียวโดยแนแ่ ท.้ ..”๑๗ พระราชพธิ ีบวรราชาภเิ ษก หลังจากทพี่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั เสดจ็ ขึน้ ครองราชสมบัติ เมือ่ วันท่ี ๓ เมษายน ๒๓๙๓ แลว้ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนอิศเรศรงั สรรค์ เป็นพระมหาอปุ ราชที่มี พระอสิ รยิ ยศเสมอพระเจา้ แผน่ ดนิ “... จงึ ทรงพระราชดำ� รวิ า่ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ นอ้ ยซงึ่ เปน็ กรมขนุ อศิ เรศ รังสรรค์นั้น เป็นท่ีนับถือของคนเป็นอันมาก และเป็นพระอนุชาคู่ทุกข์คู่ยากด้วยกันมา ควรจะให้มียศใหญ่ย่ิงกว่า พระบรมราชวงศานุวงศ์และกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งรับพระบัณฑูรมาแต่ก่อน จึงพระราชทานพระบวร ราชาภิเษก ให้เป็นพระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศร มหิศวเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับพระบวร ราชโองการพเิ ศษกวา่ วงั หนา้ ทงั้ ปวงซง่ึ มมี าแตก่ อ่ น...”๑๘ โปรดใหต้ ง้ั การพระราชพธิ บี วรราชาภเิ ษก สวดเปน็ วนั แรก ตรงกบั วนั อาทติ ยท์ ี่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๓๙๔ (วนั กระทำ� พธิ วี นั พธุ ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๓๙๔) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ โดยกระบวนพยหุ ยาตราแหส่ ส่ี ายขนึ้ ไปยงั พระบวรราชวงั ในเวลาบา่ ยทงั้ ๓ วนั ณ พระทนี่ งั่ พทุ ไธสวรรย์ เฉลิมพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศวร มหิศวเรศรังสัน มหันตวรเดโช ไชยมโหฬารคุณอดุลยเดช สรรพเทเวศรานรุ กั ษ บวรจุฬจักรพรรดิราช สงั กาศุภโตสชุ าติสงั สทุ ธเคราหณิจกั รกรี บรมนารถ อศิ วรราชรามวรังกรู บรมกฎุ นเรนทรสูริยโสทรานชุ าธิบดนิ ทร เสนางคน์ ิกรนิ ทรบ์ วราธเิ บศร พลพยุห เนตรนเรศวรม์ หทิ ธวิ รนายก สยามาทโิ ลกยดิลกมหาบุรุศยรัตน์ ไพบลู ยพิพฒั สรรพศลิ ปาคม สุนทโรดมกิจโกสล สตั ปดลเสวตรฉตั ร ศริ ริ ตั นมหาบวรราชาภเิ ศกาภศิ ติ สรรพทสทศิ พชิ ติ ไชย อดุ มไหยสวรยิ มหาสวามนิ ทร์ สเมกธร นนิ ทรานรุ าช บวรนารถชาตอิ าชาวไศรยศรรี ัตนไตรยสรณารักษ อุกฤษฐศักดีสรรพรษั ฎาทิเบน บวรเรนทรธ์ รรม มิกราชบพิตร พระป่ินเกลา้ เจา้ อย่หู วั ส�ำหรับการพระราชพิธีบวรราชาภิเษก มีแบบอย่างคล้ายคลึงกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยมีการดัดแปลงแก้ไขและลดพิธีบางอย่าง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม พระยาด�ำรงราชานุภาพทรงกล่าวรายละเอียดในพระราชพิธีบวรราชาภิเษกว่า “...เพราะเหตุที่เปล่ียนพระราชพิธี อุปราชาภเิ ษกเปน็ บวรราชาภิเษกดังกล่าวมาน้ี ลกั ษณะการพธิ จี งึ เอาแบบอยา่ งบรมราชาภเิ ษกทางวงั หลวงไปแกไ้ ข ลดลง เปน็ ต�ำราพธิ รบวรราชาภเิ ษก ตง้ั แต่ตง้ั เชิญพระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ เจ้าอยู่หัว ไปประทับอยใู่ นพระราชวงั ๑๗ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ. กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี, (กรุงเทพฯ : ศิลปบรรณาคาร, ๒๕๔๒) ๑๘ จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั , พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั . พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงวจิ ารณ์ เร่อื งพงศาวดารกบั เร่อื งราชประเพณกี ารตง้ั พระมหาอปุ ราช, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพท์ ่าพระจนั ทร์, ๒๔๗๙)
เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : 35 พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า บวรฯ แต่ก่อนงานพระราชพธิ ีบวรราชาภิเษก เสด็จประทบั แรมอยใู นพระฉากทพี่ ระท่นี ่ังอิศราวนิ ิจฉยั เหมือนอย่าง ทางวงั หลวงเสดจ็ ประทบั แรมอยทู่ พ่ี ระทนี่ งั่ อมรนิ ทราวนิ จิ ฉยั ฉะนนั้ ครน้ั พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกเสรจ็ แลว้ พระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหร้ อ้ื มณฑปพระกระยาสนานทพี่ ระองคท์ รงมรุ ธาภเิ ษก ไปปลกู พระราชทานให้ เปน็ ทส่ี รงของพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั สว่ นทท่ี ำ� การพระราชพธิ นี น้ั ทพ่ี ระทน่ี งั่ พทุ ไธศวรรย์ (เดมิ เรยี กวา่ พระท่ีน่ังสุทธาสวรรย์ เข้าใจว่าเปลี่ยนเป็นพุทไธศวรรย์ เม่ือครั้งกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์) จัดต้ังเทียน ไชยและเตยี งพระสงฆ์สวดภาณวาร (อย่างท่ีพระทีน่ ั่งอมรนิ ทราวนิ จิ ฉัย ในพระราชวังหลวง) ที่พระท่ีน่ังอิศราวินจิ ฉยั จัดต้ังพระแท่นมณฑล และเป็นท่ีพระราชาคณะผู้ใหญ่สวดมนต์ (อย่างพระที่น่ังไพศาลทักษิณในพระราชวังหลวง) แต่งดพระท่ีน่ังอฐั ทิศและพระท่ีนัง่ ภทั รบฏิ หาตงั้ ไม่ ท่ีพระทน่ี ่งั วสนั ตพิมานในหอ้ งพระบรรทม จดั เปน็ ทีป่ ระทับทรง สดับพระสงฆธ์ รรมยุดติกาเจรญิ พระปริตร (อย่างพระที่น่งั จักรพรรดิพมิ าน ในพระราชวังหลวง) (ในจดหมายเหตุเกา่ กลา่ วแตว่ า่ พระสงฆส์ วดมนต์ในพระท่ีนัง่ ทั้ง ๓ องคท์ ก่ี ล่าวนามมาน้ัน แต่รายการท่กี ล่าวๆ ตามสันนิษฐานเช่อื วา่ ไม่ ผดิ ) โรงพธิ พี ราหมณป์ ลกู ในสนามหญา้ พระทนี่ ง่ั พทุ ไธศวรรยต์ ามอยา่ งอปุ ราชาภเิ ษก แตไ่ มม่ กี ระบวนแหเ่ สดจ็ เหมอื น อปุ ราชาภเิ ษกแตก่ อ่ น เพราะพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ไปประทบั อยใู่ นพระราชวงั บวรฯแลว้ ...”๑๙ การพธิ ีสมโภชและพระราชทานส่ิงของแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ขา้ ทลู ละออง จัดข้ึนในวนั พฤหสั บดีท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๓๙๔ และเสดจ็ เลียบพระนครในวนั อังคารท่ี ๓ มิถุนายน ๒๓๙๔ ตามแบบโบราณราชประเพณคี ร้งั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวเสด็จเลยี บพระนคร ซงึ่ สมเด็จพระวันรตั น (พุทธสิริ ทับ) วดั โสมนัส ไดแ้ สดง ไวใ้ นพระธรรมเทศนาบวรราชประวตั ิ ไว้ว่า “...ก็การธรรมเนียมเลียบพระนครในกรมพระราชวงั บวรแตก่ อ่ นๆ มาก็ มิไดเ้ คยมี แตค่ รงั้ นี้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว ทรงพระกรณุ าโปรดใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงเลียบพระนครดว้ ย ให้เหมือนอย่างพระองค์ทรงเลียบพระนครเช่นน้นั จึงมีพระบรมราชโองการดำ� รสั ส่ัง เสนามาตย์ราชบริพาร ใหจ้ ัดขบวนแหพ่ ยหุ ยาตราทจี่ ะเลียบพระนครเป็นขบวนแห่ ๕ แถว ขบวรช้าง ขบวรมา้ ขบวร เดินเทา้ แต่งตวั ถอื เคร่อื งศสั ตราวุธต่างๆ ให้เจ้าพนักงานแตง่ วถิ ีทางอยา่ งพระองค์ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั ) ซ่งึ เสด็จทรงเลยี บพระนครฉะนั้น คร้นั ณ เดอื น ๗ ข้ึน ๔ ค�่ำ เจ้าพนักงานจดั ขบวนแห่เสรจ็ แลว้ จงึ ผูกชา้ ง พระทน่ี งั่ ชอ่ื พระยาไชยานภุ าพพลาย สงู หกศอกคบื มรี ตั คนผา่ นหนา้ ชอ้ งหาง เครอ่ื งมนั่ ตดิ ประจำ� ยามทองคำ� จำ� หลกั ลายกุดนั่ ประดบั พลอยตา่ งสี มีผา้ ปกหลงั ภหู่ ้อยหูตาขา่ ยทองปกหน้า แล้วเอาชา้ งมาประทบั ไวท้ ี่หนา้ เกย นายปราบ ไตรภพเป็นควาญท้ายช้าง ครั้นย�่ำรุ่งแล้ว ๔ นาฬิกา สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องต้นรณยุทธทรงมหา มาลาประดบั เพช็ รเสด็จขึน้ เกย สถิตเหนือคอช้างพระทีน่ งั่ ต้น ทรงพระแสงของา้ ว ฝรงั่ แมน่ ปนื เป็นขบวรหน้าก็ยิงปนื ค�ำนับมาต่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระบรมมหาราชวังยี่สิบเอ็ดนัด มีช้างดั้งช้างเขนไปหน้าเป็น อนั มาก พลทหารแหห่ นา้ หลงั พรงั่ พรอ้ มเดนิ ขบวรแหป่ ระทกั ษณิ เวยี นไปตามกำ� แพงพระบวรราชวงั มาถงึ ทอ้ งสนามไชย หน้าพระท่ีนั่งสุทไธศวรรย์ สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรอยู่บนพระที่นั่งสุทไธศวรรย์ ครั้นเสด็จมา ตรงหน้าพระท่ีน่ัง ก็ผันหน้าช้างพระยาไชยานุภาพเข้าไป ส่งพระแสงของ้าวให้นายควาญช้างรับไว้ แล้วถวายบังคม ๓ คร้ัง แล้วทรงรับพระแสงของ้าว บ่ายหน้าช้างพระที่น่ังเสด็จเลยไปถึงวัดพระเชตุพน ประทับช้างพระท่ีนั่งท่ีเกย แล้ว เสดจ็ ลงจากคอช้างพระท่นี งั่ มาขน้ึ พลับพลาพกั เปล้ืองเครอ่ื งต้น แล้วเสด็จพระราชดำ� เนินเขา้ ไปในพระอุโบสถ ทรงนมัสการพระพทุ ธรูปถวายไทยธรรมแก่พระสงฆท์ ่ัวทกุ องคเ์ สร็จแลว้ เสดจ็ พระราชดำ� เนินกลบั มาพลับพลาทพ่ี กั ทรงฉลองพระองคพ์ ระกรน้อย ทรงพระอนรุ าชมงกุฎเหน็บพระแสงศร ขึ้นทรงมา้ พระที่นั่งพระยาราชสนิ ธพผ่านดำ� ผกู เครอ่ื งอาน ผ่านหนา้ ช้องหางภหู่ อ้ ยใบโพธ์ิ ปิดหนา้ ท�ำด้วยทองคำ� จ�ำหลักลายกุด่นั ประดบั พลอยต่างสี เสดจ็ อ้อม ประทักษณิ ณ วัดพระเชตพุ น แลพระบรมมหาราชวงั มาสพู่ ระบวรราชวัง เมอ่ื เสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปทางสถลมารค ๑๙ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. ประชุมพงศาวดารภาคท่ี ๑๓ ต�ำนานวงั หนา้ .
36 เมอ่ื ตะวันออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วังหนา้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั เสด็จพระราชด�ำเนนิ ทางสถลมารค ไปทอดกฐนิ ณ วัดพระเชตพุ นฯ เมอ่ื เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๐๘ โดยท่ี ประชาชนสามารถเข้าเฝ้าฯ ได้อย่างใกล้ชดิ นนั้ กท็ รงโปรยเงนิ พระราชทานใหป้ ระชาราษฎรช์ ายหญงิ ใหญน่ อ้ ยซง่ึ มาคอย กราบถวายบงั คมชมเชยพระบรมโพธสิ มภาร แลพวกแขกเมอื งตา่ งๆ ซง่ึ มาคอย ดนู ้นั กไ็ ด้รับพระราชทานเงนิ ตรา แลดอกไมท้ องดอกไมเ้ งนิ ด้วย ส้ินพระราช ทรพั ยเ์ ปน็ อนั มาก อนั นเ้ี ปน็ พระราชพธิ เี ลยี บพระนครของสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ก็คลา้ ยๆ กนั กับพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงเลียบ พระนครฉะนนั้ ตา่ งกนั แตท่ ท่ี รงชา้ งพระทนี่ งั่ แลทรงมา้ พระทน่ี ง่ั เทา่ นนั้ ...”๒๐ ตราบวรราชโองการ ในพระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ กล่าวถึงการเสด็จเลียบพระนครไว้ว่า “...และธรรมเนียมในอุปราชาภิเษก ต�ำแหน่งกรมพระราชวังบวรแต่ก่อนๆมา มีธรรมเนียมลดหย่อนน้อยกว่า พระราชวังหลวงหลายอย่าง มิได้แห่เลียบพระนครและสรงพระกระยาสนาน นำ้� มรุ ธาภเิ ษก แตค่ รง้ั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ผทู้ รงคณุ ธรรม อันมหาประเสริฐ ทรงพระราชด�ำริเห็นว่าสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้า ก็ทรง พระปรีชารอบรู้การในพระนครและการต่างประเทศและขนบธรรมเนียม ต่างๆ และศิลปะศาสตร์ในการรณรงค์สงครามเป็นอันมาก พระบรมวงศา นุวงศ์ และเสนาบดี ข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้ใหญ่ผู้น้อยก็นิยมยินดีนับถือ มาก เมอ่ื กระทำ� สตั ยส์ าบานถวายกไ็ ดอ้ อกพระนามทง้ั สองพระองค์ พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระทัยสนิทเสน่หายิ่งนัก มีการรณรงค์ สงครามคับขันมาประการใด จะได้ให้เสด็จไปเป็นจอมพยุหโยธาทหารท้ัง ปวง ปราบปรามปจั จามติ รขา้ ศกึ ศตั รู มพี ระเดชานภุ าพจะไดเ้ หมอื นพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินเหมือนกัน เพราะดังนั้น จงึ หาไดจ้ ดั การพระราชพธิ อี ปุ ราชาภเิ ษกอยา่ งกรมพระราชวงั บวรสถานมงคล แตก่ ่อนๆ ไป จึงโปรดพระราชทานใหม้ ียศใหญ่กวา่ แต่กอ่ น...”๒๑ ๒๐ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ, กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ. เรอ่ื งเดียวกนั . ๒๑ เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ (ขำ� บนุ นาค). พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลที่ ๑ - ๔ เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พิมพ์ ศรปี ญั ญา, พ.ศ. ๒๕๕๕).
เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : 37 พิพธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า เฉลิมพระเกยี รตพิ ระอิสริยยศเสมอด้วยพระมหากษัตริย์ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศพระมหา อุปราชที่ทรงศักดิ์สูงเสมอด้วยพระมหากษัตริย์ ดังนั้น จึงได้รับพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ำ� รงศกั ดแิ์ ละสทิ ธใ์ิ นฐานะพระมหากษตั รยิ ์ ไดแ้ ก่ มที ำ� เนยี บ ตำ� แหนง่ ขา้ ราชการเชน่ เดยี วกบั วงั หลวง คอื ตำ� แหนง่ จา่ ตำ� รวจ ทรงมรี ายได้ สำ� หรับใช้จ่ายเบี้ยหวัดข้าราชการปลี ะ ๒๐๐๐ ช่งั ซง่ึ มากกว่าจำ� นวนทกี่ รม พระราชวงั บวรสถานมงคลในรชั กาลก่อนๆ ท่ีได้รับ ๑๐๐๐ ช่ัง เครื่องประกอบฐานานุศักดิ์และพระอิสริยยศประกอบด้วย พระทนี่ ง่ั ทปี่ ระทบั ทม่ี สี ว่ นประดบั ตกแตง่ ดว้ ยเครอื่ งยอดเชน่ เดยี วกบั ปราสาท ราชมณเฑียรในพระบรมมหาราชวงั คือ “พระท่ีนั่งคชกรรมประเวศ” ด้านหน้าพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ ปราสาทเครอ่ื งยอดเชน่ เดยี วกบั พระทน่ี ง่ั อาภรณพ์ โิ มกขใ์ นพระบรมมหาราช วงั มเี กยส�ำหรับขึ้นทรงช้างอยดู่ ้านหนา้ “พระที่นั่งมังคลาภิเษก” และ “พระที่นั่งเอกอลงกฏ” บริเวณ มมุ เหนอื -ใต้ ของพระทน่ี ง่ั อศิ ราวนิ จิ ฉยั แบบเดยี วกบั พระทน่ี ง่ั ดสุ ดิ าภริ มยใ์ น พระบรมมหาราชวัง มเี กยสำ� หรับทรงพระราชยาน มีเครื่องบนหลังคาซ้อน ๒ ช้ัน ท�ำด้วยเคร่ืองไม้ มุงกระเบื้องเคลือบสี จั่วหน้าบันตกแต่งตัวล�ำยอง นาคสะดุ้ง ชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบันไม้แกะปดิ ทองประดับกระจก รูปเทพพนม ภายในมจี ิตรกรรมฝาผนัง “พระทน่ี ง่ั สนามจนั ทร”์ ในชาลาขา้ งทอ้ งพระโรง เปน็ พระทนี่ งั่ โถง เหมอื นอยา่ งพระท่ีน่งั สนามจันทรใ์ นพระบรมมหาราชวัง “พลับพลา” สูงส�ำหรับทอดพระเนตรฝึกซ้อมทหารบนก�ำแพง พระบวรราชวังด้านตะวันออก ตามแบบอย่างพระท่ีน่ังสุทไธสวรรย์ใน พระบรมมหาราชวัง เป็นพลับพลาโถง เสาไม้ หลังคาไม่มียอด เหมือนกับ พระท่ีนั่งสทุ ไธสวรรยเ์ มอ่ื แรกสร้าง กอ่ นแกเ้ ปน็ ปราสาทในสมยั รัชกาลที่ ๓ “พระตำ� หนักน�ำ้ ” ท่ีทา่ ตำ� หนกั แพ เป็นเครอื่ งไมท้ ำ� นองเดยี วกบั พระทน่ี งั่ ทที่ า่ ราชวรดฐิ ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ ขนานนามวา่ “พระทน่ี งั่ มหรรณพ พิมาน พระที่นั่งชลสถานทิพอาสน์ พระที่น่ังประพาสคงคา พระท่ีนั่งนที ทัศนาภิรมย์” กล่าวกันว่าสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ สร้างถวาย พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจา้ อยูห่ วั
38 เมอ่ื ตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัติพระราชา ณ วังหนา้ โปรดฯ ใหส้ รา้ งอาคารสงิ่ ปลกู สรา้ งตา่ งๆ เพอ่ื ทดแทนของเกา่ โดยการถา่ ยแบบมาจากพระบรมมหาราชวงั เชน่ โรงชา้ งต้นม้าต้น ทิมดาบ เขื่อนเพชร ศาลาลกู ขุน โรงปืนใหญ่ โรงทหาร คลงั สรรพยทุ ธ ตึกดนิ ฯลฯ ประตูมหา โภคราช ประตูชนั้ กลาง เปน็ ประตสู องชน้ั อยา่ งประตพู ิมานไชยศรีในพระบรมมหาราชวงั ในสว่ นของเครอื่ งราชปู โภค ไดแ้ ก่ พระแทน่ บวรเศวตฉตั ร พระแทน่ ออกขนุ นาง และพระทน่ี ง่ั พดุ ตานทอง วงั หน้า เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ทรงเพ่ิมธรรมเนียมต่างๆ ตามแบบอย่างธรรมเนียมในพระบรมมหาราชวัง เช่น การต้ังเสา ชักธงพระจุฑามณีในพระบวรราชวัง เช่นเดียวกับเสาชักธงพระมหามงกุฎ ธงตราแผ่นดินในพระบรมมหาราชวัง โปรดฯ ให้มีการพระราชพิธีการบ�ำเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ๒๒ ตามแบบคร้ังรัชกาลที่ ๓ คือ พระราชพิธีสงกรานต์ เดือนหา้ พระราชพิธวี สิ าขบชู าเดือนหก การพระราชกศุ ลเข้าพรรษาเดือนแปด พระราชพธิ ีสารทเดือนสิบ พระราช พธิ ีเทศน์มหาชาติเดอื นสบิ เอด็ เป็นต้น พระทีน่ ง่ั เอกอลงกฏ ๒๒ ลัทธิธรรมเนียมภาคท่ี ๑๑ เร่ือง ลกั ษณะการพระราชพิธฝี า่ ยพระราชวงั บวรสถานมงคล
เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 39 พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า พระท่นี ั่งคชกรรมประเวศ
40 เมื่อตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วังหน้า พระบวรราชวังครงั้ สมัยพระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในชว่ งสมยั กอ่ นทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จะเสดจ็ มาประทบั ณ พระราชวงั บวรสถานมงคล น้ัน พระราชมณเฑียรและอาคารสงิ่ ปลูกสร้างตา่ งๆ ในพระราชวงั บวรสถานมงคลอยู่ในสภาพที่ทรดุ โทมมาก เพราะ ปล่อยให้ว่างเว้นมาช้านาน ได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งแรกและครั้งเดียวในสมัยกรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพ วงั หนา้ ในรชั กาลท่ี ๓ หลงั จากทส่ี รา้ งขนึ้ มาแตค่ รงั้ สมยั กรมพระราชวงั บวรมหาสรุ สงิ หนาท กรมพระราชวงั บวรสถาน มงคลพระองคแ์ รกในสมยั รชั กาลที่ ๑ มเี รอื่ งเลา่ กนั วา่ ขา้ ราชการวงั หนา้ ทไี่ ดต้ ามเสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไปพระราชวงั บวร กลา่ ววา่ พระองคท์ รงออกพระโอษฐว์ า่ “…เออ อยดู่ ดี กี ใ็ หม้ าเปน็ สมภารวดั รา้ ง...” ๒๓ ซงึ่ ตรงกนั กบั คำ� บอกเลา่ ของพระครธู รรมวธิ านาจารย์ (สอน) ทว่ี า่ “...เมอ่ื กอ่ นพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ประทบั วงั หน้าน้นั วงั หน้ารกรา้ งหกั พังมาก ซุม้ ประตแู ละหลังคาป้อมปราการรอบวงั หักพงั เกือบหมด กำ� แพงวงั ชนั้ กลางก็ไม่ เหน็ มี ทอ้ งสนามในวงั หนา้ ชาวบา้ นเรยี กวา่ “สวนพนั ชาต”ิ เพราะพนั ชาตติ ำ� รวจ ปลกู เหยา้ เรอื นอาศยั ขดุ รอ่ งทำ� สวน เต็มตลอดไปจนหน้าพระที่น่ังศิวโมกข์พิมาน และพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ สถานที่ต่างๆ เช่น ศาลาลูกขุนและโรงช้าง เป็นตน้ ของเดมิ หกั พังหมด มีแต่รอยเหลอื อยตู่ รงทีท่ ส่ี รา้ งขึน้ ใหม่ พระครูธรรมวิธานาจารย์วา่ สถานทีต่ ่างๆทีเ่ หน็ กนั ในชน้ั หลงั เปน็ ของสรา้ งครง้ั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั แทบทง้ั นนั้ ...”๒๔ และดว้ ยเหตทุ ่ี “วงั หนา้ ” รกรา้ ง และทรดุ โทรมมาก จงึ มหี มายรบั สงั่ ปรากฏอยวู่ า่ เมอื่ กอ่ นพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จะเสดจ็ ขนึ้ ไปประทบั ทว่ี งั หนา้ นั้น ให้ท�ำพิธฝี งั อาถรรพ์ใหม่ เม่ือเดือน ๖ ขึน้ ๑ คำ่� พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั โปรดฯ ให้แห่ พระพทุ ธสหิ งิ คก์ ลบั ไปสถติ ประดษิ ฐานในพระบวรราชวงั ฯ และในวนั นน้ั เวลาบา่ ยพระสงฆ์ ๒๐ รปู สวดมนตท์ ใี่ นพระทนี่ งั่ อิศราวนิ จิ ฉัย รงุ่ ขึน้ วันขึ้น ๒ ค่ำ� เวลาเช้า พราหมณ์ฝังอาถรรพ์ทุกป้อมและประตพู ระราชวงั บวรฯรวม ๘๐ หลัก๒๕ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดฯใหส้ รา้ งพระราชมณเฑยี รใหม่ ขยายเขตชน้ั ในขน้ึ ไปทางดา้ น ทิศเหนือ ร้ือโรงละครทก่ี รมพระราชวังบวรมหาเสนานรุ ักษท์ รงสร้างไว้ แล้วสร้างพระราชมณเฑยี รขน้ึ ใหม่เปน็ เก๋งจนี ในบรเิ วณนน้ั ๑ องค์ แตต่ อ่ มาโปรดใหร้ อ้ื ตามคำ� ทกั ของจนี แส ไปปลกู วงั ใหมท่ รี่ มิ คลองคเู มอื งเดมิ ขา้ งฝง่ั เหนอื สำ� หรบั เป็นทเ่ี สด็จประทับสำ� ราญพระอิริยาบถ ภายหลังพระราชทานใหเ้ ป็นวังกรมหมื่นบวรวิไชยชาญ (รัชกาลที่ ๕ โปรด ใหย้ า้ ยไปปลกู ไวใ้ นพระราชวงั ดสุ ติ เปน็ ทส่ี ำ� หรบั เจา้ นายวงั หนา้ ไปประทบั เวลาเสดจ็ ฯไปเฝา้ )และเมอ่ื รอื้ พระทน่ี ง่ั เก๋งจีนแล้ว โปรดให้สร้างพระที่นั่งอีกองค์หนึ่งเล่ือนไปทางตะวันออกเป็นแบบตึกฝรั่ง ขนานนามว่า “พระที่นั่ง วงจันทร์” เป็นท่ีประทับตลอดจนเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามใหม่ว่า “พระท่นี งั่ อิศเรศราชานุสรณ”์ ๒๖ และโปรดฯใหร้ ื้อต�ำหนกั แดงท่พี ระราชวงั เดิม มาปลกู ไว้ในพระราชวงั บวรขา้ งดา้ น ตะวันตกตรงมุมวงั ท่ีขยายใหม่ ๒๓ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. ตำ� นานวังหน้า. เร่ืองเดิม. ๒๔ เรื่องเดียวกัน. ๒๕ เรื่องเดยี วกัน. ๒๖ เรอื่ งเดียวกัน.
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 41 พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ ภายหลงั ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั สวรรคตแลว้ พระบวรราชวงั ไดร้ บั การปฏสิ งั ขรณใ์ หก้ ลบั มา สง่างามดงั เดมิ มีสิ่งปลกู สร้างใหมๆ่ เกิดข้นึ หลายอยา่ ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ เสดจ็ ขึ้นไป ประทับเป็นประธานในพระบวรราชวงั อยู่เนอื งๆ บ้างเสดจ็ ไปเย่ียมเยยี นเป็นบางเวลา และบ้างเสดจ็ ประทับแรมด้วย ทรงมิให้พระราชวังบวรสถานมงคลถูกทอดท้ิงให้ทรุดโทรมไปอีก นอกจากนี้โปรดฯให้สร้างเก๋งจีนบริเวณด้านหน้า พระท่นี ่ังอิศเรศราชานสุ รณ์ จนแลว้ เสรจ็ พระราชทานนามว่า “พระที่นัง่ บวรบริวตั ิ” เป็นเก๋งจนี ยาว ๕ ห้อง ๒ ชนั้ ช้ันบนเปน็ ท่ีประทบั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว เวลาเสดจ็ ไปอยู่พระบวรราชวงั มหี อ้ งพระบรรทม ๑ และห้องท่ีประทับ ๑ พระเจ้าลูกเธอทีต่ ามเสด็จประทับอยู่ชัน้ ล่าง โปรดฯ ใหส้ รา้ งตกึ อกี หลังหนึ่งตอ่ ออกไปข้างเหนือ เนอื่ งจากพระทนี่ ั่งบวรบริวตั ิ แตก่ ารสรา้ งยังไมส่ ำ� เรจ็ ตลอดรชั กาลที่ ๔
42 เมอื่ ตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ พระมหากษตั รยิ พ์ ระองคท์ ่ี ๒ หรอื The Second King of Siam พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงด�ำรงพระอิสริยยศในฐานะพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ท่ีสอง หรอื The Second King ในชว่ งระยะเวลา ๑๕ ปี (ระหวา่ งพ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๐๘) ทรงมสี ว่ นรว่ มในฐานะพระเจา้ แผน่ ดนิ องค์ที่ ๒ ในเรอื่ งของพธิ ีการ การรบั รองคณะทูตานทุ ตู ต่างชาติ ทรงมพี ระราชหตั ถเลขาถึงผูน้ ำ� ประเทศต่างๆ ทรง ลงพระนามรว่ มกับพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ในสนธสิ ญั ญาท่ที �ำกับนานาประเทศ และทรงได้รับมอบ หมายใหร้ กั ษาพระนครแทนเมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ประพาสหวั เมอื งตา่ งๆ เชน่ ในคราวเสดจ็ หวั เมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกเมือ่ พ.ศ. ๒๔๐๐ และอกี ครงั้ หนึ่งเมื่อพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว เสดจ็ ฯ ไปยังชายฝั่งตะวนั ออกของคาบสมุทรมลายู ในพ.ศ. ๒๔๐๒ นอกจากนี้ ทรงไดร้ บั มอบหมายให้ดูแลกิจการทหารเรอื ในต�ำแหน่ง “ผู้บัญชาการทหารเรือวังหน้า” ดูแลกองเรือวังหน้า สังกัดทหารเรือวังหน้า เม่ือพ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงรับ นายร้อยเอกโทมัส ยอร์ช น็อกซ์ นายทหารอังกฤษนอกราชการจากอินเดีย เข้ามาเป็นครูฝึกทหารท่ีพระราชวัง บวรสถานมงคล (วังหน้า) ฝึกหดั กรมทหารรักษาพระองค์อยา่ งยโุ รป ตง้ั กรมทหารราบ กรมทหารปืนใหญ่ กรมพรรค นาวกิ โยธนิ ปรบั ปรงุ กิจการทหารเรอื ตอ่ เรือรบกลไฟใชเ้ คร่ืองจักร และทรงจ้างชาวตะวนั ตกมาเปน็ ต้นหน หนงั สือสมุดไทยเร่อื งจดหมายเหตรุ ชั กาลท่ี ๔ ทรงมอบพระราชอำ� นาจในการรกั ษาพระนคร แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว
เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : 43 พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วังหน้า ด้วยพระอัจฉริยภาพที่โดดเด่นคือทรงมีความรอบรู้ด้านการต่างประเทศนอกเหนือไปจากด้านการทหาร และการเดินเรือ ทรงเร่ิมศึกษาภาษาอังกฤษและวิทยาการตะวันตกสาขาต่างๆ มาต้ังแต่ครั้งสมัยรัชกาลที่ ๓ จาก ชาวต่างชาติ บรรดามิชชันนารีที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาคริสต์ ท่ีเป็นผลดีต่อพระองค์ในการเรียนรู้แนวคิดและศึกษา ธรรมเนยี มจากชาวตะวนั ตก ทำ� ใหท้ รงมสี ว่ นชว่ ยในดา้ นการทตู เปน็ อยา่ งมากในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ ขณะนนั้ เปน็ ชว่ งระยะเวลาทส่ี ำ� คญั ของบา้ นเมอื งในการปอ้ งกนั รกั ษาใหร้ อดพน้ จากการลา่ อาณานคิ มของ มหาอ�ำนาจตะวันตก โดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศส สยามในช่วงเวลานน้ั ตอ้ งท�ำสนธิสญั ญาทางไมตรีกับนานาชาติ ถงึ ๑๓ ประเทศด้วยกนั การส่งราชทตู ไปเจรญิ สัมพนั ธไมตรกี ับตา่ งชาติ การตดิ ตอ่ ประสานสมั พนั ธก์ บั ประมขุ นานา ประเทศ การทำ� ใหเ้ หน็ วา่ สยามมคี วามคดิ ทนั สมยั ตามทนั และยอมรบั แนวคดิ ตามแบบตะวนั ตก และทส่ี �ำคญั ทรงเปน็ พระผผู้ สานอ�ำนาจสองขั้ว คอื พวกหัวเกา่ ที่นิยมแบบจีน (กลมุ่ อนุรกั ษน์ ิยม) และพวกหัวใหมท่ ่ีหันมานิยมวิชาการ แบบตะวนั ตก
44 เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วงั หน้า ในจดหมาย (บันทกึ ) ของเซอร์ จอหน์ บาวริง ถึง ฯพณฯ เอิรล์ แห่งคลาเรนดอล เค.จี. เม่อื วันท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ ไดเ้ ลา่ เรอ่ื งสงิ่ ของตา่ งๆ ในพระราชวงั ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทแี่ สดงถงึ ทง้ั สองพระองคท์ รงสนพระราชหฤทยั ในวทิ ยาศาสตรต์ ามแบบตะวนั ตกไวว้ า่ “...จดหมายฉบบั นี้ ขา้ พเจา้ ไดส้ อดบนั ทกึ รายการสงิ่ ของซงึ่ เปน็ ของกำ� นลั ตา่ งๆ มายงั ทา่ น สง่ิ ของเลา่ นี้ ขา้ พเจา้ ไดม้ า จากประเทศองั กฤษและไดท้ ราบวา่ ทสี่ งิ คโปรว์ า่ จะนำ� มามอบใหร้ าชสำ� นกั แหง่ นี้ สง่ิ ของทเี่ ราพบเหน็ ในพระราชวงั ของ พระเจา้ อย่หู วั ทั้งสองพระองค์ แทบจะไม่มสี งิ่ ใดนอกเหนอื ไปจากเคร่อื งมอื ทางวิทยาศาสตร์ และแบบจำ� ลองตา่ งๆ ยกเวน้ กลอ้ งสอ่ งทางไกล ทปี่ ระทบั สว่ นพระองคข์ องพระเจา้ อยหู่ วั องคท์ ห่ี นง่ึ เตม็ ไปดว้ ยเครอ่ื งสอ่ งดดู าว เครอ่ื งมอื ท่ี ใชใ้ นการเดนิ เรอื เครอื่ งมอื ทางคณติ ศาสตร์ และเครอ่ื งมอื ทางวชิ าการตา่ งๆ เทอรโ์ มมเิ ตอร์ บารอเตอร์ นาฬกิ า และ เคร่ืองจักรกลแปลกๆ พระองค์ทรงมีห้องหนังสือทางวิทยาศาสตร์ มีแท่นพิมพ์ท้ังภาษาอังกฤษและภาษาไทยด้วย ซึ่งพระองค์จะใช้ส�ำหรับพิมพ์พระบรมราชโองการชองพระองค์ ซ่ึงข้าพเจ้าได้สอดมาเป็นตัวอย่างด้วย ส่วน พระเจา้ อยูห่ วั องคท์ ี่สอง ทรงมีพพิ ิธภัณฑ์พร้อมด้วยผลงานเป็นเรือใชใ้ บจักรทา้ ย และเครอื่ งมอื เครอ่ื งจักรอืน่ ๆ เครื่องวดั มมุ เครื่องมือส�ำหรบั วดั แสดงอาทติ ย์ (มลี ักษณะเปน็ แขนโค้งยาว ๑ ใน ๖ ของวงกลม) และทรงมีห้อง สมดุ ที่จดั เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางเคมี เตาเผาเหลก็ และ เครือ่ งหัตถกรรม ฯลฯ ส่งิ ต่างๆ มีทัง้ เป็นโลหะและเป็นไม้ ตั้งอยู่เรียงราย ภายในพระราชวังเราได้เห็นรูปแกะสลักฝีมือประณีตเป็นรูปสมเด็จพระนาง เจ้าวิคตอเรีย และเจ้าชายอัลเบิร์ต ขนาดเกือบเท่าพระองค์จริง จัดท�ำข้ึนตามพระราชประสงค์ของพระเจ้าอยู่หัว ที่ข้าพเจ้ากล่าวถึงสิ่งต่างๆ เหล่าน้ี ก็เพ่ือให้ท่านจะได้มีความเห็นคล้อยตามค�ำแนะน�ำของข้าพเจ้า ถึงลักษณะของ กำ� นลั ทโ่ี ปรดปรานสำ� หรบั พระเจา้ อยหู่ วั ทงั้ สอง ซงึ่ ควรจกั สง่ ไปยงั ประเทศสยามเพอื่ เปน็ นมิ ติ หมายของความสำ� เรจ็ ในการตกลงท�ำสนธิสัญญาได้ตามวัตถุประสงค์ และต้องร�ำลึกว่าสิ่งของต่างๆ ที่จะน�ำถวายพระเจ้าอยู่หัวทั้งสอง พระองคน์ นั้ ควรเปน็ เครอื่ งมอื ตา่ งๆ เนอื่ งจากทรงพระปรชี าสามารถทางดา้ นการค�ำนวณการเกดิ คราส ละตจิ ดู และ ลองตจิ ดู ไดอ้ ยา่ งถูกต้องแม่นย�ำจนเป็นทีย่ กย่องโดยทวั่ ไป...”๒๗ อกี ฉบบั หน่งึ ทเี่ ซอร์ จอห์น บาวรงิ มีถงึ ฯพณฯ เอิร์ล แห่งคลาเรนดอล เค.จ.ี เม่ือวนั ที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ กล่าวถึงพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสั่งซื้อปืนว่า “...ตามที่ท่านได้กรุณาแจ้งข้าพเจ้าก่อนท่ี ข้าพเจ้าจะออกเดินทางจากอังกฤษว่า ปืนเล็กยาว Minie ซ่ึงมีคุณภาพดีท่ีสุดที่รัฐบาลอังกฤษจะได้ส่งผ่านไปยัง สงิ คโปร์ เพ่ือทลู เกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั องคท์ ่ี ๒ แหง่ สยามนนั้ ปนื ดงั กลา่ วยงั สง่ มาไมถ่ ึง พระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงสอบถามเรอ่ื งปนื กระบอกนไี้ ปทางสงิ คโปรห์ ลายครงั้ แลว้ ขา้ พเจา้ เชอื่ วา่ ทา่ นคงจะเอาใจใส่ กบั เรอ่ื งเลก็ นอ้ ยเหลา่ นด้ี ว้ ยเชน่ กนั นายปารค์ สไ์ ดแ้ จง้ แกข่ า้ พเจา้ วา่ นอกเหนอื จากหนา้ ทอี น่ื ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวองคท์ ่ีสอง ได้มอบหมายใหเ้ ขาจดั ซอื้ ปืนชนดิ ลูกโม่ของบรษิ ัทดนี -อดมั ส์ และดีน ดว้ ย ถา้ ทา่ นจะอนญุ าตให้เพมิ่ รายการของท่ถี วาย กค็ วรรวมปืนกระบอกทที่ รงสงั่ ซ้ือใหม่ กจ็ ะเปน็ การชดเชยทีท่ ำ� ให้ทรง ผิดหวัง และเร่ืองความล่าช้าในการขนส่งด้วย...”๒๘ ในการตดิ ตอ่ กบั ประมขุ นานาประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในฐานะพระเจา้ แผน่ ดนิ องคท์ ่ี ๒ ทรงมพี ระราชสาสน์ ทง้ั ทเี่ ปน็ พระราชหตั ถเลขาของพระองคเ์ อง และทงั้ ทค่ี วบคไู่ ปกบั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงจดั เครอ่ื งราชบรรณาการไปถวายประมขุ ตา่ งประเทศควบคกู่ บั ฝา่ ยวงั หลวง ซงึ่ ประมขุ ตา่ งประเทศนน้ั กไ็ ดถ้ วายพระราชสาสน์ และเครอื่ งบรรณาการแดพ่ ระองคเ์ ชน่ กนั ดงั เชน่ ครงั้ ทค่ี ณะราขทตู สยามไปเขา้ เฝา้ ฯ สมเดจ็ พระราชนิ วี ิคตอเรยี แหง่ สหราชอาณาจกั รเมื่อพทุ ธศักราช ๒๓๙๘ ๒๗ ส. พลายนอ้ ย พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอย่หู ัว. กษตั รยิ ์วังหนา้ . พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓ กรงุ เทพฯ : มติชน, ๒๕๔๓. ๒๘ เรื่องเดียวกัน.
เมื่อตะวันออกพบตะวันตก : 45 พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ สำ� เนา พระราชหตั ถเลขาพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อย่หู วั ถงึ เซอรจ์ อห์น บาวร่งิ
46 เม่ือตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ “...ราชทตู จึงเชิญพานพระราชสาส์นขนึ้ วางบนโต๊ะทต่ี อ้ งอยูต่ รงหนา้ พระทนี่ ั่งโธรน หา่ งประมาณ ๘ ศอก แลว้ คลานถอยออกมาถงึ ทเี่ ฝา้ ไกลควนี ประมาณ ๑๐ ศอก พรอ้ มกบั ถวายบงั คม แลว้ ราชทตู กอ็ า่ นคำ� ทลู เบกิ ตามภาษา ไทย ใจความว่า คือ คนนัน้ เปน็ ที่นน้ั ๆ ได้รับบรมราชโองการและพระบวรราชโองการ เชญิ พระราชสาส์นนำ� เครอ่ื ง มงคลราชบรรณาการ แตพ่ ระเจา้ กรงุ ไทยทงั้ สองพระองคอ์ อกมาจำ� เรญิ ทางพระราชไมตรใี นพระเจา้ กรงุ ลอนดอน.…” …เสรจ็ แลว้ ราชทตู จงึ คลานไปเชญิ พานพระราชสาสน์ เดนิ เขา้ ไปถงึ หนา้ พระทน่ี ง่ั คกุ เขา่ ชพู านถวาย พระนาง เจ้าวิกตอเรียรับด้วยพระหัตถ์ และวางไว้ข้างพระองค์ เม่ือราชทูตไทยคลานถอยออกมาพร้อมกับบังคมอีกครั้งหนึ่ง พระนางเจ้าวิกตอเรียจึงทรงอ่านค�ำตอบมีใจความว่า “เรามีความยินดีในการท่ีรับราชทูต ซ่ึงมาแต่พระเจ้ากรุงไทย ทั้งสองพระองค์ เราหมายใจว่าพระองค์จะเป็นที่ย่ังยืน ด้วยเราเห็นราชทูตนั้นเหมือนเป็นของส�ำคัญแห่งไมตรีของ พระเจ้ากรุงไทยท้ังสองพระองค์ และหมายว่าพระองค์ท่านท้ังสองจะเป็นญาติสัมพันธมิตรรักษาอาณาจักรและ ราษฎรใหด้ ียิง่ ขน้ึ ไป จึงได้เปลย่ี นท�ำหนงั สือสญั ญาแก่เรา เรากเ็ อาใจใส่มาดว้ ยหมายว่าหนงั สอื สญั ญาทท่ี �ำใหมน่ ี้ จะ ให้เป็นท่ีมั่นคงในทางพระราชไมตรี และมีคุณย่ิงข้ึนไปท้ังสองพระนคร และลูกค้าวานิชได้ค้าขายต่อกันทั้งสองฝ่าย อน่ึงเรายินดีนักด้วยรู้ว่าพวกขุนนางของเราที่ให้ไปรับท่านท้ังปวง ได้เอาใจใส่ในพวกราชทูตให้มีความสุข จนตลอด ถงึ เมอื งองั กฤษ โดยความชอบธรรม…”๒๙ หรือเมื่อครั้งไปพระราชวังฟอนเตลโบลของสมเด็จพระเจ้าจักรพรรดนโปเลียนท่ี ๓ แห่งฝรั่งเศสเมื่อพุทธ ศักราช ๒๓๙๙ ความวา่ “...แผน่ หนง่ึ ขนุ มหาสทิ ธโิ วหารแผน่ หนงึ่ รวม ๕ แผน่ แลว้ เขยี นประสานใหส้ เี หมอื นสตี วั ดว้ ย วนั พฤหสั บดี เดอื น ๘ แรม ๕ คำ่� เวลาเชา้ ๒ โมง มองตคิ นพี าขนุ นางเจา้ พนกั งารมารบั เครอื่ งมงคลราชบรรณาการ ไปตงั้ ทพ่ี ระราชวงั ฟอเตลโปล ราชทูตจึงให้หลวงอนิ ทรมนตรี ขนุ มหาสิทธิโวหาร แต่งตวั ตามบนั ดาศกั ด์ิ ๒ นายกำ� กบั ไปจะได้จดั ตั้งดว้ ย ครั้นเวลาบา่ ย ๒ โมงครึง่ มาเชอวายยางขุนนางฝ่ายทหาร ๑ มารอนเตลรศิ ขุนนางฝ่ายกรมทา่ ๑ มองตคิ นี ๑ สามคน จัดรถมารับทูตานุทูตท่ีโฮเต็ล ๕ รถ เทยี มม้า ๔ มา้ สารถีขบั รถใสห่ มวกภทู่ อง ใส่เส้ือปักทองขบั รถละ ๒ คน ราชทูต อปุ ทูต ตรที ูต แตง่ ตวั ใส่สนบั เพลานงุ่ ยกทอง คาดเข็ดขัด คาดกรองทอง ใส่เสอ้ื เยียระบบั อย่างนอ้ ยชั้นใน เส้อื กรุย กรองทองช้ันนอก ราชทูตขดั กระบฝ่ี กั ทองค�ำลงยา ใสม่ าลามีพระตราจอมเกลา้ ประดบั เพช็ ร์ อุปทตู ขัดกระบฝ่ี ักนาค บา้ งทองค�ำประดบั พลอย ใสม่ าลา มพี ระตราจอมเกลา้ ประดบั ทับทิม ตรีทูตขัดกระบฝ่ี กั กาไหลท่ อง ใส่ทรงประพาส มพี ระตราป่ินเกล้าทองค�ำ บาดหลวงลยุ วศิ ลอนนาดีลา่ ใหญ่ นายสรรพวชิ ยั หม่ืนจักรวจิ ิตร นายสมบญุ บตุ รราชทูต นายชายบตุ รอปุ ทตู ขุนสมบัติบดี หลวงชาตสิ รุ ินทร์ ขนุ จรเจนทเลล่าม นายเปยี ลา่ มมหาดเลก็ นายเอี่ยมมหาดเล็ก แต่งตวั ตามบนั ดาศกั ด์ิ ๑๒ คน รถทีห่ น่ึงเปนรถราชทูตเชญิ หบี พระราชสาสน์ ข้นึ รถมีขุนนางไปดว้ ยในรถมาเชอวาย ยางขุนนางฝ่ายทหาร ๑ มองติคนี ๑ บาดหลวงลุยวศิ ลอนนาดี ๑ รถท่ีสองนน้ั อุปทตู ตรีทูต มารอนเตลริศขนุ นาง ฝา่ ยกรมทา่ ๑ นายชายบตุ รอุปทูต ๑ รวม ๔ นาย ผู้ก�ำกับเครือ่ งมงคลราชบรรณาการเสมยี นล่าม ไป ๓ รถ ออกจาก โฮเตล็ ทางไมลห์ นงึ่ ถงึ ทโี่ รงพกั รถไฟ มขี นุ นางฝา่ ยทหารพลเรอื นคอยรบั ทตู านทุ ตู อยทู่ ที่ า่ รถไฟหลายนายแลว้ มองตคิ นี เชิญทตู านุทตู ใหเ้ ชิญพระราชสาส์นข้ึนรถไฟ ขุนนางท่ีมาคอยอยูท่ ีน่ ้ัน ก็ไปพรอ้ มกบั ทตู านทุ ูต ทาง ๑๒๐ ไมล์ ถงึ ท่ีพกั รถไฟ ณ พระราชวังฟอเตลโปล ทูตานทุ ูตลงจากรถไฟแลว้ เชญิ พระราชสาสน์ ข้ึนรถเทียมม้า ๔ มา้ ทกุ รถไปตามถนน ราษฏรยกธงตามหน้าต่างทุกตึกไปทาง ๓๐ เสน้ ถึงพระราชวงั มปี ่ีพาทยป์ ระโคมส�ำรับหน่ึง ๓๖ คน มที หารแตง่ ตวั ถือ ปืนไรแฟนยนื ขา้ งถนนขา้ งละ ๒ แถวเปนทหาร ๒,๐๐๐ คน ทหารใสเ่ สอื้ เกราะขม่ี ้ายนื หลงั ทหารปืนข้างละ ๒ แถวเป ๒๙ อำ� พนั ตณั ฑวรรธนะ. พระราชกรณยี กจิ ในพระบาทสมเดจ็ พระปวเรนทราเมศ มหศิ เรศรงั สรรค์ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั . (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พจ์ นั วาณชิ ย,์ ๒๕๑๒.)
เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : 47 พิพธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วงั หน้า นทหาร ๔๐๐ มา้ รวมทหาร ๒,๔๐๐ คน กำ� แพงวงั ด้านทางทตู เข้านน้ั เปนร้ัวเหล็กยอดปิดทอง มีประตูใหญ่ ๔ ประตู รถทตู านทุ ตู เขา้ ไปในพระราชวงั ถงึ บนั ไดเกย ทตู ลงจากรถแลว้ ขนุ นางพาทตู านทุ ตู ขนึ้ ไปบนตำ� หนกั เขา้ พระทวารลด เลยี้ วไปประมาณเสน้ หนงึ่ มที หารใสเ่ สอ้ื เกราะยนื ๒ แถวถอื ดาบถอื ขวานประมาณ ๕๐๐ คน ครน้ั ถงึ หอ้ งพระตำ� หนกั แหง่ หนง่ึ ขนุ นางฝา่ ยกรมวงั ออกมารบั ใหท้ ตู านทุ ตู หยดุ พกั เปดิ หบี พระราชสาสน์ ออกแลว้ ราชทตู เชญิ พระราชสาสน์ ในพระบวรราชวงั รวมลงในพานพระราชสาสน์ ใหญ่ มองตคิ นกี บั ขนุ นางกรมวงั นำ� ราชทตู เชญิ พระบรมราชสาสน์ แลพระบวรราชสาสน์ กบั ทตู านทุ ตู เขา้ ไปถงึ ทอ้ งพระโรง ทเ่ี สดจ็ ออก แลว้ คลานตามลำ� ดบั เขา้ ไปถงึ พระทนี่ งั่ ราชทตู กว็ างพานพระราชสาส์นลง หา่ งกบั ที่สมเดจ็ พระเจา้ แอมเปอเรอเสดจ็ ออกประทบั อย่นู น้ั ประมาณ ๘ ศอก ทูตานทุ ูต พรอ้ มกันถวายบงั คมครั้งหน่งึ แล้วหมอบอยู่ ราชทูตอา่ นทูลเบกิ ถวายพระราชสาสน์ เครอื่ งมงคล ราชบรรณาการเปน คำ� ไทยกอ่ น แลว้ บาดหลวงลุยวศิ ลอนนาดีลา่ มอา่ นแปลเปนคำ� ฝรั่งเศสถวายจบแลว้ ๆ ทตู านุทตู พร้อมกนั ถวายบังคม อกิ ครง้ั หนง่ึ สมเดจ็ พระเจา้ แอมเปอเรอมรี บั สงั่ ตอบวา่ ขอบพระทยั สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ สยามทงั้ สองพระองค์ ทไี่ ดร้ บั ทตู แลขนุ นางเรือรบซ่งึ เขา้ ไปกรงุ เทพมหานครโดยความยินดี แล้วสมเด็จพระเจ้ากรงุ สยามแต่งทูตานทุ ตู ให้เชิญพระ ราชสาส์นเคร่ืองมงคลราชบรรณาการมาเจรญิ ทางพระราชไมตรีอกี นัน้ ขอบพระทัยสมเด็จพระเจ้ากรงุ สยามเปนอนั มาก แตก่ อ่ นกรงุ ฝรง่ั เศสกบั กรงุ สยามอยไู่ กลกนั เดย๋ี วนฝ้ี รงั่ เศสตไี ดเ้ มอื งไซง่ อ่ นเขตแดนญวนเปนของฝรง่ั เศส แผน่ ดนิ ก็ใกลก้ ันกับกรงุ สยาม คอเวอนแมนต์ท้ังสองฝ่ายมธี ุระการงารส่งิ ใดจะไดป้ รึกษาหารือกนั พระราชไมตรกี จ็ ะได้สนิท กนั มากทวขี ้นึ ไป ขอใหส้ มเด็จพระเจ้ากรงุ สยาม ท้ังสองพระองค์ ทรงพระชนมายยุ ืนยาวให้มาก พระราชไมตรีทง้ั สองพระนครจะได้ถาวรวฒั นาสืบไปภายหน้าชวั่ ฟ้าแลดนิ ทูตถวายบังคมพรอ้ มกันอีกครั้งหน่ึง แลว้ ราชทตู เชิญพาน พระราชสาส์นเข้าไปถวายสมเด็จพระเจ้าแอมเปอเรอทรงรับต่อพระหัตถ์ แล้วส่งพระราชสาส์นให้มินิศเตอทูวแนล ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการตา่ งประเทศ ราชทตู คลานถอยออกมาถงึ ทเี่ ฝา้ ทตู านทุ ตู ถวายบงั คมอกิ ครงั้ หนง่ึ ขนุ นางบอกวา่ จะเสดจ็ ข้นึ ทูตานุทตู พร้อมกนั ถวายบงั คมคลานถอยหลังออกมา แล้วมรี บั สั่ง ให้ทูตานทุ ตู ยนื ขึน้ ทกุ คน สมเดจ็ พระเจา้ แอมเปอเรอแลแอมเปรศพระ มเหษพี ระเจา้ ลกู ยาเธอเนโปเลยี น เสดจ็ มาไตถ่ ามทกุ ขส์ ขุ ถงึ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ สยามทงั้ สองพระองค์ แลพระบรมวงศานวุ งศทา่ นเสนาบดผี ใู้ หญแ่ ลทตู านทุ ตู แลว้ รบั สง่ั ใหห้ าตวั นายชายมา ใหพ้ ระเจา้ ลกู ยาเธอเนโปเลยี นจบั มอื นายชาย สมเดจ็ พระเจา้ แอมเปอเรอนน้ั ตรสั ภาษาฝรง่ั เศส แอมเปรศ พระมเหษนี ั้นตรสั ภาษาอังกฤษ แลว้ เสดจ็ เลยไปทอดพระเนตรเครอื่ งมงคลราชบรรณาการ รับส่งั วา่ ฝีมอื ช่างไทยท�ำ สิ่งลงยาลายสลักประดับเพ็ชร์ประดับพลอยงามกว่าของในประเทศอื่น แล้วเสด็จข้ึน เม่ือแอมเปรศพระมเหษีเสด็จ มานนั้ มหี ญิงสาวแตง่ ตวั มใี บไมเ้ พช็ ร์ผกู ฅอ ใสก่ ำ� ไลมือประดบั เพช็ ร์ ถอื ชายพระภูษา ๔ คนทอ้ งพระโรงที่เสดจ็ ออก นน้ั พน้ื สองช้ันๆ บนมีพระแท่นยาวแลว้ มีพระท่นี ง่ั เรยี งกนั ๓ องค์ สมเดจ็ พระเจ้าแอมเปอเรอเสดจ็ ประทบั พระ ท่ีนั่ง องค์กลางมเี ศวตฉตั ร ทรงพระมาลากอกแฮต ทรงฉลองพระองคด์ �ำ ทรงพระสงั วาลแพรแถบแดงห้อยพระตรา ทรง สนบั เพลาแดงรว้ิ ดำ� สองขา้ งทรงพระแสงฝกั หนงั ดำ� แตง่ พระองคเ์ หมอื นอยา่ งนายทหาร แอมเปรศพระมเหษนี น้ั ทรง เครื่องขาวประดบั แลว้ ไปดว้ ยเพช็ ร์ ประทับอยพู่ ระทีน่ ่งั ซ้าย พระเจา้ ลกู เธอทรงเครอ่ื งดำ� อย่างทหาร เสด็จยืนอยขู่ า้ ง พระทน่ี งั่ ท่ีฝา่ ยขวา ขา้ งขวามที หารแต่งตัวถอื กระบองยืนอยู่ ๑๘ คน ข้างซา้ ยมหี ญิงภรรยาขุนนางบา้ ง สาวใช้บ้าง ยนื อยู่ ๓๐ คน ช้นั ลา่ งเปนท่ขี ุนนางเฝา้ มินิศเตอแลขุนนางผใู้ หญผ่ ู้น้อยแตง่ ตวั สพายดาบยืนเฝ้าอยู่ข้างละ ๑๙ คน ทตู านทุ ูตเฝ้าอย่กู ลางขุนนาง ถัดออกมา ๒ ข้างท้องพระโรง ต้ังเครือ่ งมงคลราชบรรณาการ มองติคนพี าทูตานทุ ูต ไปดูหอ้ งแลพระแทน่ ของแอมเปรศพระมเหษี มีหลายห้องมเี ตียงโตะ๊ เก้าอีต้ ัง้ แลเครื่องใช้สอยตา่ งกนั ทกุ ห้อง เคร่ือง ทรงของแอมเปรศพระมเหษที แ่ี ตง่ พระองคเ์ มอื่ ออกรบั ทตู านทุ ตู นนั้ กท็ รงเปลอื้ งกองไวใ้ นหอ้ งใหท้ ตู านทุ ตู ดดู ว้ ย แลว้ มองติคนีกับขุนนางกรมวังก็พาทูตานุทูตออกไปท่ีห้องแห่งหน่ึง แอมเปรศพระมเหษีเสด็จมายืนเสวยขนมอยู่ท่ีน้ัน แล้ว จึงพระราชทานใหร้ าชทตู อปุ ทูต ตรีทตู ๆ ไดร้ บั ขนมต่อพระหดั ถ์แอมเปรศพระมเหษี แตผ่ กู้ �ำกบั เครอ่ื งมงคล
48 เมอ่ื ตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า ราชบรรณาการ เสมยี นล่ามรับส่ังใหข้ นุ นางแจก แอมเปรศพระมเหษีจึงรับส่งั ใหห้ าตวั นายชายไปให้ใกล้แลว้ ตรสั กบั มองตคิ นีวา่ ทรงพระเมตตานายชายมาก จะทรงจบู ไดห้ รือไม่ได้ มองติคนที ูลวา่ ได้ แอมเปรศพระมเหษกี ็ทรงจบู นาย ชายแลว้ ประทานขนมใหต้ อ่ พระหดั ถ ์ แลว้ แอมเปรศพระมเหษรี บั สงั่ แกท่ ตู านทุ ตู วา่ สงิ่ ของซงึ่ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ สยาม ทรงยนิ ดมี านน้ั เปนของงามดี จะเกบ็ รกั ษาไวเ้ ปนทท่ี รงระลกึ ถงึ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ สยามทง้ั สองพระองค์ ทตู านทุ ตู ทลู วา่ ของถวายนน้ั เปนเครงื่ สำ� หรบั ขตั ยิ ราชตระกลู ของกษตั รยิ อ์ ยา่ งสงู ใชไ้ ดแ้ ตใ่ นหลวง แลว้ แอมเปรศพระมเหษกี เ็ สดจ็ ขน้ึ มองตคิ นกี บั ขนุ นางกรมวงั กพ็ าทตู านทุ ตู ไปกนิ โตะ๊ ทหี่ อ้ งแหง่ หนงึ่ ประมาณครง่ึ ชวั่ โมงมองตคิ นกี พ็ าทตู านทุ ตู ขนึ้ รถ กลบั พระราชวงั ฟอเตลโปล ข้นึ รถไฟกลบั เวลาค�ำ่ ท่มุ หน่ึงถึงโฮเต็ล ทกี่ รุงปารีส...”๓๐ พระเจ้านโปเลยี นท่ี ๓ ไดใ้ หเ้ มอซเิ ออร์ โอบาเรต์ (MONSIEUR AUBARET) กงสลุ ฝรั่งเศสประจำ� กรงุ เทพฯ น�ำพระราชสาส์นมาถวายพระบาทสมเด็จพระปนิ่ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวใน พ.ศ. ๒๔๐๗ ก่อนหน้านน้ั ยงั ถวายพระเกยี รตยิ ศ ใหพ้ ระองคไ์ ดร้ บั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ แกรนด์ ออฟฟเิ ซอร์ (GRAND OFFICER) เมอื่ พ.ศ. ๒๔๐๖ และถวายหนงั สอื สำ� คญั สญั ญาบตั รดโิ ปลมา (DIPLOMA) มพี ระราชลญั จกร ตราสำ� หรบั แผน่ ดนิ ฝรง่ั เศสใหแ้ ดพ่ ระองคเ์ มอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๘ ในบางครั้งทางรัฐบาลฝรั่งเศสยังให้ความส�ำคัญต่อพระองค์ในการขอความเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ดังกรณที ีม่ องตนิ ยี (MONTINGY) ราชทตู ฝร่งั เศสไดส้ ง่ สาส์นถวายพระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกล้าเจา้ อยหู่ วั เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๔ เพ่อื ขอพระราชทานความเห็นในการแต่งตั้งกงสลุ ไทยประจำ� ปารีส๓๑ ในด้านการบริหารการปกครองบ้านเมืองน้ัน ในสายตาของชาวต่างชาติ ยังคงมองว่า พระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ค่อยสนพระราชหฤทัยกิจการบ้านเมืองนัก ยกเว้นเฉพาะในทางการทูตที่บุคคล สำ� คัญชาวต่างประเทศทีเ่ ขา้ มาในพระราชอาณาจักร นอกจากที่จะเข้าเฝา้ ฯ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั แลว้ จะเขา้ เฝา้ ฯ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดว้ ย สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงกล่าวไว้ว่า “...ยังโปรดทรงด�ำเนินเท่ียวเตร่ตามละแวกบ้านเมืองเหมือนเมื่อยังเป็นกรมอยู่ในรัชกาลท่ี ๓ เสด็จ อย่วู งั หนา้ โดยปรกติ โปรดทรงฝึกซอ้ มหัดทหาร หรอื มฉิ ะนัน้ กน็ ัดคนไปขี่มา้ ถา้ กลางวันเลน่ คลี กลางคืนเล่นซอ่ นหา แตม่ สี ่วนการบ้านการเมืองนัน้ ไม่ทรงเอาพระราชธรุ ะทเี ดยี ว แมเ้ มื่อฝร่งั ต่างชาตเิ ขา้ มาขอท�ำหนังสือสญั ญาทางพระ ราชไมตรี ก็ไมท่ รงเกี่ยวขอ้ งในการปรกึ ษาหารอื ...”๓๒ จากหลักฐานทางด้านเอกสารในส่วนของพระราชสาส์นที่สยามมีต่อกับนานาประเทศน้ัน ท�ำให้ทราบถึง เคร่ืองราชบรรณาการต่างๆ ทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยู่หัว ทรงไดร้ ับจากประมขุ ประเทศต่างๆ ดงั น๓้ี ๙ ๑. จากสมเด็จพระราชนิ วี ิกตอเรีย เมอื่ พทุ ธศักราช ๒๓๙๘ โดยมีนายแฮรี ปาร์กส เปน็ ราชทูต (ไม่ทราบ รายการเครือ่ งราชบรรณาการ) ไดแ้ ตร่ ะบุวา่ มีเป็นจำ� นวนมาก ๓๐ อำ� พัน ตัณฑวรรธนะ, เรื่องเดยี วกนั . ๓๑ เรอ่ื งเดยี วกัน. ๓๒ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. เร่ืองเดมิ .
เมื่อตะวันออกพบตะวนั ตก : 49 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ ๒. จากประธานาธบิ ดสี หรฐั อเมรกิ า โดยมนี ายเทานเ์ ซนด์ แฮรสี เปน็ ทตู นำ� มาถวาย ในพทุ ธศกั ราช ๒๓๙๙ ประกอบดว้ ย กระจกรปู ประธานาธบิ ดี ๒ บาน แผนที่บ้านเมืองต่างๆ ๖ แผน่ กระจกเงาใหญ่ ๑ บาน เครื่องไฟฟา้ ๑ ชดุ ปืนชาตไิ รฟกาแมน ๑ กระบอก ปืนมอื เสือ ๑ หีบ เคร่อื งปนื ๔ ห่อ หนงั สอื เร่ืองต่างๆ ๑๐ เลม่ แผนที่เมอื ง อเมริกัน ๑ แผ่น ๓. จากพระเจ้านโปเลียนท่ี ๓ เม่อื พุทธศักราช ๒๓๙๙ โดยมมี องสิเออร์ ชาร์เลอส์ หลุยส์ นโิ กลาส์ มักซี มเี ลยี ง เอด มองตญี ี เป็นราชทูตนำ� เขา้ มาถวาย ประกอบด้วย เครอ่ื งดบั ไฟ ๑ ชุด ตเู้ ขยี นฉาก ๑ ปนื โกม๊ ีล�ำกล้องหัน ยงิ ได้ ๕ นดั ๑ กระบอก แก้วทับกระดาษ นาฬิกาต้ัง กล้องขยาย ๔. จากกษัตริย์โปรตุเกส เมอ่ื พุทธศักราช ๒๔๐๑ ประกอบด้วย เครื่องนำ้� รอ้ นทำ� ด้วยเงิน ๑ ชุด ฉากคู่ ๑ หีบ เครื่องหอม ๑ หีบ กลอ้ งสอ่ งแฝด ๑ กลอ้ ง กล้องสอ่ งตาเดียว ๑ ขอน หบี เหล้าหวาน ๒ หบี ๕. จากพระเจ้าจักรพรรดแิ หง่ เนเธอร์แลนด์ เม่อื พุทธศกั ราช ๒๔๐๓ ประกอบด้วย ดาบญ่ีปนุ่ ๒ เลม่ เสื้อ หมวกเคร่ืองแตง่ กายแบบทหารญีป่ ุน่ ๑ สำ� รับ ธนู ๑๖ คนั พร้อมเครือ่ งสำ� หรับธนู เชงิ เทียนทองแดง ๑ คู่ ดอกไม้ ทองแดง ๑ คู่ กระถางธปู ทองแดง ๑ ขอน ๖. จากพระเจา้ กรุงฝรงั่ เศส เม่อื วนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๔๐๖ โดยนายทหารฝรัง่ เศส ชอ่ื ก�ำมดันเรบญุ หรอื ในหนังสอื จดหมายเหตุหมอบรดั เลย์เรยี กวา่ นายพันลิบทู ่ีประจำ� อย่เู มืองไซงอ่ น คือ เครื่องราชอิสริยยศประดับ เพชร _________________________
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202