เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ก็ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเปล่ียนเป็นอย่างอ่ืน ภิกษุทั้งหลาย ก็มโนสัมผัสที่เกิดขึ้นแล้ว เพราะอาศัย ปัจจยั อนั ไม่เทย่ี ง จะเป็นของเที่ยงไดอ้ ยา่ งไร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลอนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ มรสู้ กึ อันผัสสะกระทบแล้วย่อมคิด อันผัสสะกระทบแล้วย่อม จ�ำ ไดห้ มายร ู้ แมธ้ รรมเหลา่ นก้ี ห็ วน่ั ไหวและอาพาธ ไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื . 183
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : จิต มโน วิญญาณ วิญญาณ เป็นสิ่งท่ีเกดิ ดบั 74 -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๑๖/๒๓๕. ภิกษุท้ังหลาย ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ จะพึงเบ่ือหน่าย ได้บ้าง คลายกำ�หนัดได้บ้าง หลุดพ้นได้บ้าง ในร่างกายอัน เป็นท่ีประชุมแห่งมหาภูตท้ัง ๔ น้ี ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ขอ้ นนั้ เพราะเหตวุ า่ ความเจรญิ กด็ ี ความเสอื่ ม ก็ดี การเกิดก็ดี การตายก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุม แห่งมหาภูตท้ัง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ เพราะเหตุนั้น ปุถุชน ผู้ไม่ได้สดับ จึงเบื่อหน่ายได้บ้าง จึงคลายกำ�หนัดได้บ้าง จึงหลุดพ้นได้บ้าง ในรา่ งกายนัน้ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย สว่ นสง่ิ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ ง ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั ไมอ่ าจจะเบอื่ หนา่ ย ไมอ่ าจ จะคลายกำ�หนัด ไม่อาจจะหลุดพ้นจากสิ่งนั้นได้เลย ข้อนั้น เพราะเหตุอะไร ภิกษุทั้งหลาย ข้อนั้นเพราะเหตุว่า สิ่งท่ี เรยี กกนั วา่ จติ เปน็ ตน้ น้ี อนั ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั ไดร้ วบรดั ถอื ไวด้ ว้ ยตณั หา ไดย้ ดึ ถอื แลว้ ดว้ ยทฏิ ฐวิ า่ นน่ั ของเรา นนั่ เปน็ เรา นน่ั เปน็ ตวั ตนของเรา ดงั น้ี มาตลอดกาลชา้ นาน เพราะเหตนุ น้ั ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั จงึ ไมอ่ าจจะเบอื่ หนา่ ย ไมอ่ าจจะคลาย ก�ำ หนดั ไมอ่ าจจะหลดุ พน้ ซง่ึ สง่ิ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ งนน้ั ไดเ้ ลย. 184
เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั จะพงึ เขา้ ไปยดึ ถอื เอาร่างกาย อันเปน็ ทป่ี ระชมุ แห่งมหาภูตท้ัง ๔ น้ี โดยความ เปน็ ตัวตนยงั ดกี วา่ แต่จะเขา้ ไปยดึ ถือเอาจติ โดยความเปน็ ตวั ตนไมด่ เี ลย ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร ภกิ ษทุ งั้ หลาย ขอ้ นนั้ เพราะเหตุว่า ร่างกายอันเป็นท่ีประชุมแห่งมหาภูตท้ัง ๔ น้ี ดำ�รงอยู่ ปหี นึง่ บ้าง สองปบี ้าง สามปบี ้าง สี่ปบี ้าง ห้าปบี า้ ง สิบปีบ้าง ย่ีสิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง ส่ีสิบปีบ้าง ห้าสิบปีบ้าง รอ้ ยปบี า้ ง เกนิ กวา่ รอ้ ยปบี า้ ง กย็ งั มปี รากฏอย ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สว่ นสงิ่ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ งนนั้ ดวงหนง่ึ เกดิ ขึ้น ดวงหน่ึงดับไป ตลอดวนั ตลอดคืน. … (เน้ือความเต็มของสูตรน้ี ผู้อ่านสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้ท่ี หนา้ 2. -ผ้รู วบรวม) 185
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ 75 วญิ ญาณเป็นอนัตตา -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๓/๑๒๘. … ภิกษุท้ังหลาย วิญญาณเป็นอนัตตา ก็หากว่า วญิ ญาณน้จี กั เป็นอตั ตาแลว้ ไซร้ วิญญาณก็คงไมเ่ ปน็ ไปเพ่อื อาพาธ ท้งั สัตว์ย่อมจะได้ตามความปรารถนาในวิญญาณว่า ขอวญิ ญาณของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั เลย แต่เพราะเหตุท่ีวิญญาณเป็นอนัตตา ดังนั้น วิญญาณจึง เป็นไปเพ่ืออาพาธ และสัตว์ย่อมไม่ได้ตามความปรารถนา ในวญิ ญาณวา่ ขอวญิ ญาณของเรา จงเปน็ อยา่ งนเี้ ถดิ อยา่ ได้ เปน็ อย่างนน้ั เลย. … (ดูเพ่ิมเติมเก่ียวกับความเป็นอนัตตาของขันธ์ ๕ ได้ที่ หนา้ 244. -ผ้รู วบรวม 186
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ ผลของผสั สะ 76 -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๒๒๖/๒๔๘. (พระผู้มพี ระภาคได้แสดงธรรมโดยย่อ ภิกษุทง้ั หลายไม่เข้าใจ เนอ้ื ความ จงึ ไดไ้ ปขอรอ้ งทา่ นมหากจั จายนะใหอ้ ธบิ ายธรรมนน้ั ซง่ึ ภายหลงั พระผู้มพี ระภาคทรงรับรองคำ�ตอบของทา่ นมหากัจจายนะ) ผมู้ อี ายทุ งั้ หลาย ผมรถู้ งึ เนอ้ื ความแหง่ อเุ ทศทพ่ี ระผมู้ พี ระภาค ทรงแสดงไว้โดยย่อ ไม่ทรงช้ีแจงเน้ือความไว้โดยพิสดารน้ีให้พิสดาร ไดอ้ ยา่ งน.้ี ผู้มีอายุท้ังหลาย เพราะอาศัยตาและรูป จึงเกิด จจงกึั เขกวุ ดิ ญิ ผญสั สาณะ1 ความประกอบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ เพราะมผี สั สะเปน็ ปจั จยั จงึ มเี วทนา บคุ คล เสวยเวทนาอนั ใด กย็ อ่ มจ�ำ (สชฺ านาต)ิ เวทนาอนั นนั้ บคุ คล จำ�เวทนาอันใด ก็ตรึกถึง (วิตกฺเกติ) เวทนาอันน้ัน บุคคล ตรกึ ถงึ เวทนาอนั ใด กเ็ นน่ิ ชา้ (ปปเฺ จต)ิ อยกู่ บั เวทนาอนั นน้ั บคุ คลเนน่ิ ช้าอยูก่ บั เวทนาอันใด สัญญาชนิดต่างๆ อันทำ� ความเนน่ิ ชา้ (ปปจฺ สฺ าสงขฺ า) กค็ รอบง�ำ บคุ คลนนั้ โดยมี เวทนาน้ันเป็นเหตุ ในรูปทั้งหลายอันจะรู้แจ้งด้วยตา ทั้งที่ เป็นอดตี กต็ าม เปน็ อนาคตก็ตาม หรอื เป็นปจั จบุ นั กต็ าม. ผู้มีอายุท้ังหลาย เพราะอาศัยหูและเสียง จึงเกิด โสตวญิ ญาณ ความประกอบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ จึงเกิดผัสสะ ... 1. ดเู พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ผสั สะไดท้ ห่ี นา้ 28 และ 178. -ผรู้ วบรวม 187
พุทธวจน - หมวดธรรม ผมู้ อี ายทุ ง้ั หลาย เพราะอาศยั จมกู และกลน่ิ จงึ เกดิ ฆานวญิ ญาณ ความประกอบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ จงึ เกิดผัสสะ ... ผู้มีอายุท้ังหลาย เพราะอาศัยลิ้นและรส จึงเกิด ชวิ หาวญิ ญาณ ความประกอบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ จงึ เกิดผสั สะ ... ผ้มู ีอายุท้งั หลาย เพราะอาศัยกายและโผฏฐัพพะ จึงเกิดกายวิญญาณ ความประกอบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการ จึงเกิดผัสสะ ... ผมู้ อี ายทุ ง้ั หลาย เพราะอาศยั ใจและธรรม จงึ เกดิ มโนวญิ ญาณ ความประกอบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ จงึ เกดิ ผสั สะ เพราะมผี สั สะเปน็ ปจั จยั จงึ มเี วทนา บคุ คล เสวยเวทนาอันใด ก็ย่อมจำ�เวทนาอันน้ัน บุคคลจำ�เวทนา อันใด ก็ตรึกถึงเวทนาอันน้ัน บุคคลตรึกถึงเวทนาอันใด กเ็ นน่ิ ชา้ อยกู่ บั เวทนาอนั นนั้ บคุ คลเนนิ่ ชา้ อยกู่ บั เวทนาอนั ใด สญั ญาชนดิ ตา่ งๆ อนั ท�ำ ความเนนิ่ ชา้ กค็ รอบง�ำ บคุ คลนน้ั โดยมเี วทนานน้ั เปน็ เหตุ ในธรรมทง้ั หลายอนั จะรแู้ จง้ ไดด้ ว้ ยใจ ท้ังที่เป็นอดีตก็ตาม เป็นอนาคตก็ตาม หรือเป็นปัจจุบัน กต็ าม. 188
เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : จิต มโน วิญญาณ ผมู้ อี ายทุ งั้ หลาย เมอ่ื ตามี รปู มี และจกั ขวุ ญิ ญาณมี เขาจะบัญญัติว่าผัสสะ ข้อน้ีเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อการ บัญญัติผัสสะมี เขาจะบัญญัติว่าเวทนา ข้อนี้เป็นฐานะที่จะ มีได้ เม่ือการบัญญัติเวทนามี เขาจะบัญญัติว่าสัญญา ข้อน้ี เป็นฐานะท่ีจะมีได้ เมื่อการบัญญัติสัญญามี เขาจะบัญญัติ วา่ วติ ก ขอ้ นเ้ี ปน็ ฐานะทจ่ี ะมไี ด้ เมอื่ การบญั ญตั วิ ติ กมี เขาจะ บัญญัติว่าการครอบงำ�โดยสัญญาชนิดต่างๆ อันทำ�ความ เนิ่นช้า ขอ้ นีเ้ ป็นฐานะท่ีจะมีได.้ ผมู้ อี ายทุ ง้ั หลาย เมอ่ื หมู ี เสยี งมี และโสตวญิ ญาณมี เขาจะบญั ญัตวิ า่ ผัสสะ ข้อน้เี ป็นฐานะท่จี ะมีได้ ... ผมู้ อี ายทุ ง้ั หลาย เมอ่ื จมกู มี กลน่ิ มี และฆานวญิ ญาณมี เขาจะบญั ญัตวิ า่ ผสั สะ ขอ้ นี้เปน็ ฐานะที่จะมีได้ ... ผมู้ อี ายทุ งั้ หลาย เมอ่ื ลน้ิ มี รสมี และชวิ หาวญิ ญาณมี เขาจะบัญญตั ิว่าผสั สะ ขอ้ นเี้ ป็นฐานะท่จี ะมีได้ ... ผู้มีอายุท้ังหลาย เม่ือกายมี โผฏฐัพพะมี และ กายวิญญาณมี เขาจะบัญญัติว่าผัสสะ ข้อน้ีเป็นฐานะ ทจ่ี ะมไี ด้ ... ผู้มีอายุท้ังหลาย เม่ือใจมี ธรรมมี และมโน- วญิ ญาณมี เขาจะบญั ญตั วิ า่ ผสั สะ ขอ้ นเี้ ปน็ ฐานะทจ่ี ะมไี ด้ เมื่อการบัญญัติผัสสะมี เขาจะบัญญัติว่าเวทนา ข้อน้ีเป็น 189
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ฐานะท่ีจะมีได้ เมื่อการบัญญัติเวทนามี เขาจะบัญญัติว่า สัญญา ข้อนี้เป็นฐานะท่ีจะมีได้ เมื่อการบัญญัติสัญญามี เขาจะบญั ญตั วิ า่ วติ ก ขอ้ นเ้ี ปน็ ฐานะทจ่ี ะมไี ด้ เมอ่ื การบญั ญตั ิ วิตกมี เขาจะบัญญัติว่าการครอบงำ�โดยสัญญาชนิดต่างๆ อนั ทำ�ความเน่นิ ชา้ ข้อน้ีเปน็ ฐานะทจี่ ะมีได้. ผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อตาไม่มี รูปไม่มี และ จกั ขวุ ญิ ญาณไมม่ ี เขาจะบญั ญตั วิ า่ ผสั สะ ขอ้ นไ้ี มใ่ ชฐ่ านะ ทีจ่ ะมีได้ เมอื่ การบัญญตั ิผัสสะไม่มี เขาจะบัญญตั วิ า่ เวทนา ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ เม่ือการบัญญัติเวทนาไม่มี เขาจะ บัญญัติว่าสัญญา ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ เมื่อการบัญญัติ สัญญาไม่มี เขาจะบัญญัติว่าวิตก ข้อน้ีไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ เมอื่ การบญั ญตั วิ ติ กไมม่ ี เขาจะบญั ญตั วิ า่ การครอบง�ำ โดย สัญญาชนิดต่างๆ อันทำ�ความเน่ินช้า ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะ ทจ่ี ะมีได.้ ผู้มีอายุทั้งหลาย เม่ือหูไม่มี เสียงไม่มี และ โสตวญิ ญาณไม่มี ... ผู้มีอายุท้ังหลาย เม่ือจมูกไม่มี กล่ินไม่มี และ ฆานวญิ ญาณไมม่ ี ... ผู้มีอายุท้ังหลาย เมื่อลิ้นไม่มี รสไม่มี และชิวหา วญิ ญาณไมม่ ี ... 190
เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ ผู้มีอายุทั้งหลาย เม่ือกายไม่มี โผฏฐัพพะไม่มี และกายวิญญาณไม่มี ... ผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อใจไม่มี ธรรมไม่มี และ มโนวญิ ญาณไมม่ ี เขาจะบญั ญตั วิ า่ ผสั สะ ขอ้ นไ้ี มใ่ ชฐ่ านะ ท่ีจะมีได้ เม่อื การบัญญัตผิ ัสสะไม่มี เขาจะบญั ญตั ิว่าเวทนา ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ เมื่อการบัญญัติเวทนาไม่มี เขาจะ บัญญัติว่าสัญญา ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ เม่ือการบัญญัติ สัญญาไม่มี เขาจะบัญญัติว่าวิตก ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ เมอ่ื การบญั ญตั วิ ติ กไมม่ ี เขาจะบญั ญตั วิ า่ การครอบง�ำ โดย สัญญาชนิดต่างๆ อันทำ�ความเน่ินช้า ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะ ท่จี ะมไี ด.้ ผมู้ อี ายทุ งั้ หลาย พระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงอเุ ทศนไ้ี วโ้ ดยยอ่ วา่ ภิกษุ สัญญาชนิดต่างๆ อันทำ�ความเน่ินช้า ย่อม ครอบง�ำ บรุ ษุ เพราะเหตใุ ด ถา้ สง่ิ ทบ่ี คุ คลจะเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมา ไมม่ ใี นเหตนุ น้ั นน่ั แหละ เปน็ ทส่ี ดุ แหง่ ราคานสุ ยั เป็นทีส่ ดุ แห่งปฏิฆานสุ ยั เปน็ ที่สุดแหง่ ทฏิ ฐานสุ ยั เปน็ ทส่ี ุด แห่งวิจิกิจฉานุสัย เป็นท่ีสุดแห่งมานานุสัย เป็นที่สุดแห่ง ภวราคานสุ ยั เปน็ ทส่ี ดุ แหง่ อวชิ ชานสุ ยั เปน็ ทส่ี ดุ แหง่ การจบั 191
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ทอ่ นไม้ การจบั ศาสตรา การทะเลาะ การแกง่ แยง่ การววิ าท การดา่ วา่ กนั การยยุ งใหแ้ ตกกนั และการกลา่ วเทจ็ อกศุ ลธรรม อันเป็นบาปเหล่าน้ี ย่อมดับไปโดยไม่มีเหลือเพราะเหตุนั้น แลว้ ไมท่ รงชแ้ี จงเนอื้ ความใหพ้ สิ ดารเสดจ็ ลกุ จากอาสนะเขา้ ทป่ี ระทบั เสยี ผมู้ อี ายทุ งั้ หลาย ผมรถู้ งึ เนอ้ื ความแหง่ อเุ ทศทพี่ ระผมู้ พี ระภาคทรงแสดง ไว้โดยย่อนี้ ไม่ทรงช้ีแจงเนื้อความไว้โดยพิสดาร ให้พิสดารได้อย่างน้ี กแ็ ลเมอ่ื ทา่ นทง้ั หลายปรารถนา กพ็ งึ เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค แลว้ ทลู ถาม เนอื้ ความนนั้ พระผมู้ พี ระภาคทรงพยากรณป์ ระการใด ทา่ นทงั้ หลายพงึ ทรงจำ�ข้อน้นั ไว้โดยประการนั้นเถิด. 192
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ 77วญิ ญาณาหาร (อาหารของวญิ ญาณ) -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๒๑/๒๔๔. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย กว็ ญิ ญาณาหารจะพงึ เหน็ ไดอ้ ยา่ งไร ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เปรยี บเหมอื น พวกเจา้ หนา้ ทจ่ี บั โจรผกู้ ระท�ำ ผดิ ไดแ้ ลว้ แสดงแกพ่ ระราชาวา่ ขอเดชะ ดว้ ยโจรผนู้ ก้ี ระท�ำ ผดิ ขอพระองคโ์ ปรดใหล้ งโทษโจรผนู้ ี้ ตามทท่ี รงเหน็ สมควรเถดิ พระเจา้ ขา้ พระราชาจงึ มรี บั สง่ั อยา่ งนว้ี า่ ทา่ นผเู้ จรญิ ทง้ั หลาย ท่านท้ังหลายจงไปประหารบุรุษน้ัน ด้วยหอก ๑๐๐ เล่ม ในเวลาเชา้ น้ี พวกเจา้ หนา้ ทเ่ี หลา่ นน้ั จงึ ชว่ ยกนั ประหารนกั โทษ คนน้ัน ด้วยหอก ๑๐๐ เล่มในเวลาเชา้ . ต่อมาเป็นเวลาเที่ยงวัน พระราชาได้ซักถามพวก เจา้ หนา้ ทเ่ี หลา่ นน้ั อยา่ งนว้ี า่ ทา่ นผเู้ จรญิ ทง้ั หลาย นกั โทษคนนน้ั เปน็ อยา่ งไรบา้ ง พวกเขาพากนั กราบทลู วา่ ขอเดชะ เขายงั มี ชวี ติ อยู่ พระเจา้ ขา้ พระราชาจงึ มรี บั สง่ั อยา่ งนวี้ า่ ทา่ นผเู้ จรญิ ทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงไปประหารบุรุษนั้น ด้วยหอก ๑๐๐ เลม่ ในเวลาเทย่ี งวนั พวกเจา้ หนา้ ทเี่ หลา่ นน้ั จงึ ชว่ ยกนั ประหารนกั โทษคนนน้ั ดว้ ยหอก ๑๐๐ เลม่ ในเวลาเทยี่ งวนั . ต่อมาเป็นเวลาเย็น พระราชาได้ซักถามพวก เจา้ หนา้ ทเี่ หลา่ นน้ั อกี วา่ ทา่ นผเู้ จรญิ ทงั้ หลาย นกั โทษคนนน้ั เปน็ อยา่ งไรบา้ ง พวกเขาพากนั กราบทลู วา่ ขอเดชะ เขายงั มี 193
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ชวี ติ อยู่ พระเจา้ ขา้ พระราชาจงึ มรี บั สง่ั อยา่ งนวี้ า่ ทา่ นผเู้ จรญิ ทั้งหลาย ท่านท้ังหลาย จงไปประหารบุรุษน้ัน ด้วยหอก ๑๐๐ เล่มในเวลาเย็น พวกเจ้าหน้าท่ีเหล่าน้ัน จึงช่วยกัน ประหารนกั โทษคนน้นั ด้วยหอก ๑๐๐ เล่มในเวลาเยน็ . ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำ�คัญความข้อนี้ว่า อยา่ งไร การทีบ่ ุรษุ นักโทษคนนน้ั เมอ่ื ถกู เจา้ หน้าที่ประหาร อยู่ด้วยหอก ๓๐๐ เล่มตลอดท้ังวันนั้น เขาจะพึงได้รับแต่ ทกุ ขโทมนัสซ่งึ มขี ้อน้นั เปน็ เหตุ ไม่ใชห่ รอื . ภิกษุทั้งหลาย เม่ือเขาถูกประหารอยู่แม้ด้วยหอก เพียงเล่มเดียว ก็พึงได้รับทุกขโทมนัสซึ่งมีข้อน้ันเป็นเหตุ จะป่วยการกล่าวไปไยถึงการท่ีเขาถูกประหารอยู่ด้วยหอก ๓๐๐ เลม่ เลา่ ขอ้ นม้ี อี ปุ มาฉนั ใด ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรากลา่ ววา่ พึงเหน็ วญิ ญาณาหาร ฉนั น้ันเหมอื นกัน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมอ่ื อรยิ สาวกก�ำ หนดรวู้ ญิ ญาณาหาร ได้แล้ว นามรูปก็เป็นส่งิ ท่กี ำ�หนดร้ไู ด้แล้ว เม่อื อริยสาวก ก�ำ หนดรนู้ ามรปู ไดแ้ ลว้ เรากลา่ ววา่ ไมม่ สี ง่ิ ใดทอ่ี รยิ สาวกนน้ั จะตอ้ งท�ำ ให้ยิ่งข้ึนไปกวา่ น.้ี (ผอู้ า่ นสามารถศกึ ษาเพม่ิ เตมิ เรอื่ งอาหาร ๔ ไดท้ เ่ี นอื้ ความเตม็ ของสตู รน้ี และทีห่ น้า 30. -ผ้รู วบรวม) 194
“สงั ขตะ-อสังขตะ” 195
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วิญญาณ 78 ลกั ษณะของสังขตะ-อสังขตะ -บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๙๒/๔๘๖. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สงั ขตลกั ษณะของสงั ขตะ ๓ ประการ เหลา่ น้ ี ๓ ประการอะไรบา้ ง คือ มคี วามเกดิ ขึ้นปรากฏ (อปุ ฺปาโท ปฺ ายต)ิ มีความเสือ่ มปรากฏ (วโย ปฺ ายต)ิ เมอ่ื ตง้ั อย่มู คี วามแปรปรวนปรากฏ (ติ สฺส อฺ ถตฺต ปฺายต)ิ ภกิ ษุทงั้ หลาย เหล่านแ้ี ล สังขตลกั ษณะของสังขตะ ๓ ประการ. ภิกษุทั้งหลาย อสังขตลักษณะของอสังขตะ ๓ ประการเหลา่ น้ี ๓ ประการอะไรบา้ ง คอื ไม่ปรากฏความเกดิ (น อุปปฺ าโท ปฺ ายติ) ไม่ปรากฏความเส่อื ม (น วโย ปฺายต)ิ เมื่อตั้งอยู่ไม่ปรากฏความแปรปรวน (น ิตสฺส อฺถตฺต ปฺายติ) ภกิ ษทุ งั้ หลาย เหลา่ นแ้ี ล อสงั ขตลกั ษณะของอสงั ขตะ ๓ ประการ. 196
เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ พระสตู รน้ี มีบาลอี ย่างนี้ ตีณีมานิ ภิกฺขเว สงฺขตสฺส สงฺขตลกฺขณานิ กตมานิ ตณี ิ อปุ ฺปาโท ปฺ ายติ วโย ปฺายติ ติ สสฺ อฺถตตฺ ปฺ ายติ อมิ านิ โข ภกิ ขฺ เว ตณี ิ สงขฺ ตสสฺ สงขฺ ตลกขฺ ณานตี .ิ ตณี มี านิ ภกิ ขฺ เว อสงขฺ ตสสฺ อสงขฺ ตลกขฺ ณานิ กตมานิ ตีณิ น อุปฺปาโท ปฺายติ น วโย ปฺายติ น ิตสฺส อฺถตฺต ปฺายติ อิมานิ โข ภิกฺขเว ตีณิ อสงฺขตสฺส อสงขฺ ตลกฺขณานีต.ิ 197
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ 79 สงั ขตธาตุ-อสังขตธาตุ -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๖๗/๒๓๗. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ปริยายอ่ืนท่ีควรเรียกว่า ภิกษุเป็น ผู้ฉลาดในธาตุ จะพึงมอี ีกไหม พระเจา้ ขา้ . อานนท ์ ธาตุ ๒ อยา่ งนม้ี อี ยู่ คอื สงั ขตธาตุ และ อสังขตธาตุ อานนท์ เหล่านี้แลธาตุ ๒ อย่าง อานนท์ ด้วยเหตุที่ภิกษุรู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างน้ี เราจึงเรียกว่า ภกิ ษุเป็นผฉู้ ลาดในธาตุ. (ในพระสตู รน้ี ได้ตรัสเก่ยี วกับเรอื่ งธาตุไวห้ ลายนยั ดังนี้) ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็จะควรเรียกว่า ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไร พระเจ้าข้า. อานนท ์ ธาตุ ๑๘ อยา่ งเหลา่ นมี้ อี ยู่ คอื ธาตคุ อื จกั ษุ ธาตคุ อื รปู ธาตคุ ือจักษวุ ิญญาณ ธาตคุ ือโสตะ ธาตคุ ือเสยี ง ธาตุคือโสตวิญญาณ ธาตุคือฆานะ ธาตุคือกล่ิน ธาตุคือ ฆานวญิ ญาณ ธาตคุ อื ชวิ หา ธาตคุ อื รส ธาตคุ อื ชวิ หาวญิ ญาณ ธาตคุ อื กาย ธาตคุ อื โผฏฐพั พะ ธาตคุ อื กายวญิ ญาณ ธาตคุ อื มโน ธาตคุ อื ธรรม ธาตคุ อื มโนวญิ ญาณ อานนท ์ เหลา่ นแี้ ล ธาตุ ๑๘ อยา่ ง อานนท ์ ดว้ ยเหตทุ ภ่ี กิ ษรุ อู้ ยอู่ ยา่ งนี้ เหน็ อยู่ อย่างน้ี เราจงึ เรียกวา่ ภิกษเุ ป็นผูฉ้ ลาดในธาต.ุ 198
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ปริยายอ่ืนท่ีควรเรียกว่า ภิกษุเป็น ผ้ฉู ลาดในธาตุ จะพงึ มีอีกไหม พระเจา้ ข้า. อานนท์ ธาตุ ๖ อย่างเหล่าน้ีมีอยู่ คือ ธาตุคือดิน ธาตุคือน้ำ� ธาตุคือไฟ ธาตุคือลม ธาตุคืออากาศ ธาตุคือ วญิ ญาณ อานนท ์ เหลา่ นแ้ี ลธาตุ ๖ อยา่ ง อานนท ์ ดว้ ยเหตุ ท่ีภิกษุรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ เราจึงเรียกว่า ภิกษุเป็น ผฉู้ ลาดในธาต.ุ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ปริยายอ่ืนท่ีควรเรียกว่า ภิกษุเป็น ผ้ฉู ลาดในธาตุ จะพึงมอี ีกไหม พระเจ้าข้า. อานนท์ ธาตุ ๖ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ ธาตุคือสุข ธาตคุ อื ทกุ ข์ ธาตคุ อื โสมนสั ธาตคุ อื โทมนสั ธาตคุ อื อเุ บกขา ธาตุคืออวิชชา อานนท์ เหล่าน้ีแลธาตุ ๖ อย่าง อานนท์ ด้วยเหตุท่ีภิกษุรู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างน้ี เราจึงเรียกว่า ภกิ ษุเป็นผูฉ้ ลาดในธาต.ุ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ปริยายอื่นที่ควรเรียกว่า ภิกษุเป็น ผ้ฉู ลาดในธาตุ จะพงึ มอี กี ไหม พระเจ้าข้า. อานนท์ ธาตุ ๖ อย่างเหล่านม้ี ีอยู่ คอื ธาตคุ ือกาม ธาตุคือเนกขัมมะ ธาตุคือพยาบาท ธาตุคืออัพยาบาท (ความไม่พยาบาท) ธาตุคือวิหิงสา (ความเบียดเบียน) ธาตุคือ 199
พุทธวจน - หมวดธรรม อวหิ งิ สา (ความไมเ่ บยี ดเบยี น) อานนท ์ เหลา่ นแี้ ล ธาตุ ๖ อยา่ ง อานนท์ ด้วยเหตุท่ีภิกษุรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ เราจึง เรียกวา่ ภิกษเุ ปน็ ผ้ฉู ลาดในธาตุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ปริยายอื่นท่ีควรเรียกว่า ภิกษุเป็น ผู้ฉลาดในธาตุ จะพงึ มอี กี ไหม พระเจ้าขา้ . อานนท ์ ธาตุ ๓ อย่างเหลา่ น้ีมีอยู่ คอื ธาตคุ ือกาม ธาตุคือรูป ธาตุคืออรูป อานนท์ เหล่านี้แล ธาตุ ๓ อย่าง อานนท์ ด้วยเหตุท่ีภิกษุรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ เราจึง เรียกวา่ ภิกษุเป็นผฉู้ ลาดในธาต.ุ 200
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ ธรรมชาติท่ไี มถ่ กู อะไรท�ำ 80 ไม่ถกู อะไรปรุง -บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๒๐๗/๑๖๐. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ธรรมชาตอิ นั ไมเ่ กดิ แลว้ ไมเ่ ปน็ แลว้ อนั ปจั จยั กระท�ำ ไมไ่ ดแ้ ลว้ ปรงุ แตง่ ไมไ่ ดแ้ ลว้ มอี ย ู่ ภิกษุ ทั้งหลาย ถ้าธรรมชาติอนั ไมเ่ กิดแล้ว ไมเ่ ป็นแล้ว อันปจั จัย กระท�ำ ไมไ่ ดแ้ ลว้ ปรงุ แตง่ ไมไ่ ดแ้ ลว้ จกั ไมไ่ ดม้ แี ลว้ ไซร้ การสลดั ออกซึ่งธรรมชาติที่เกิดแล้ว เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำ�แล้ว ปรุงแต่งแลว้ จะไมพ่ ึงปรากฏในโลกน้เี ลย. ภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะธรรมชาติอันไม่เกิดแล้ว ไม่เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำ�ไม่ได้แล้ว ปรุงแต่งไม่ได้แล้ว มอี ยู่ ดงั นนั้ การสลดั ออกซงึ่ ธรรมชาตทิ เี่ กดิ แลว้ เปน็ แลว้ อนั ปัจจยั กระทำ�แลว้ ปรงุ แตง่ แล้วจึงปรากฏ. พระสตู รนี้ มีบาลอี ยา่ งนี้ อตฺถิ ภิกฺขเว อชาต อภูต อกต อสงฺขต โน เจ ต ภกิ ขฺ เว อภวสิ สฺ อชาต อภตู อกต อสงขฺ ต นยธิ ชาตสสฺ ภตู สสฺ กตสสฺ สงฺขตสฺส นสิ สฺ รณ ปฺ าเยถ. ยสฺมา จ โข ภกิ ขฺ เว อตฺถิ อชาต อภูต อกต อสงฺขต ตสมฺ า ชาตสสฺ ภตู สสฺ กตสสฺ สงขฺ ตสสฺ นสิ สฺ รณ ปฺ ายตตี .ิ 201
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อกี สตู รหนงึ่ -บาลี อติ วิ .ุ ข.ุ ๒๕/๒๕๘/๒๒๑. ตรสั เหมอื นกนั กบั สตู รข้างบนน้ี แต่ไดต้ รสั ชว่ งทา้ ยตา่ งไป ดงั นี้. ใครๆ ไมค่ วรเพลดิ เพลนิ ตอ่ สงิ่ ทเี่ กดิ แลว้ เปน็ แลว้ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มแลว้ อนั ปจั จยั กระท�ำ แลว้ ปรงุ แตง่ แลว้ ไมย่ ง่ั ยนื ปรุงแต่งเพ่ือชราและมรณะ เป็นรังแห่งโรค เป็นของผุพัง มีอาหารและตณั หา เป็นแดนเกดิ . การสลัดออกซึ่งธรรมชาตินั้น เป็นบทอันระงับ จะคาดคะเนเอาไมไ่ ด้ เปน็ ของยงั่ ยนื ไมเ่ กดิ ไมเ่ กดิ ขนึ้ พรอ้ ม ไมม่ คี วามโศก ปราศจากธลุ ี เปน็ ความดบั แหง่ สง่ิ ทม่ี คี วามทกุ ข์ เปน็ ธรรมดา เปน็ ความเข้าไปสงบร�ำ งับแห่งสังขาร เป็นสขุ . 202
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ที่ซึง่ นามรูป ดับสนทิ ไม่มเี หลือ 81 -บาลี ส.ี ท.ี ๙/๒๗๗/๓๔๓. เกวัฏฏะ เรื่องเคยมีมาแล้ว ภิกษุรูปหน่ึง ในหมู่ ภิกษุน้ีเอง เกิดความสงสัยขึ้นในใจว่า มหาภูต ๔ คือ ธาตุ ดนิ ธาตนุ ้�ำ ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม เหลา่ น้ี ย่อมดบั สนทิ ไมม่ เี หลือ ในทไ่ี หนหนอ ดงั น้.ี (พระผู้พระภาคได้ตรัสต่อไปว่า ภิกษุรูปน้ันได้เข้าสมาธิ อัน นำ�ไปสู่เทวโลก แล้วได้นำ�เอาปัญหาที่ตนสงสัยน้ัน ไปถามพวกเทวดา ช้ันจาตุมหาราชิกา พวกเทวดาช้ันจาตุมหาราชิกาไม่ทราบ ได้ให้ไปถาม ทา้ วมหาราชท้ัง ๔ ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ไมท่ ราบ ไดใ้ ห้ไปถามพวกเทวดา ช้ันดาวดึงส์ พวกเทวดาช้ันดาวดึงส์ไม่ทราบ ได้ให้ไปถามท้าวสักกะ ทา้ วสกั กะไมท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามพวกเทวดาชน้ั ยามา พวกเทวดาชน้ั ยามา ไมท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามทา้ วสยุ ามะ ทา้ วสยุ ามะไมท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามพวก เทวดาชั้นดุสิต พวกเทวดาชั้นดุสิตไม่ทราบ ได้ให้ไปถามท้าวสันตุสิตะ ทา้ วสนั ตสุ ติ ะไมท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามพวกเทวดาชน้ั นมิ มานรดี พวกเทวดา ชนั้ นมิ มานรดไี มท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามทา้ วสนุ มิ มติ ะ ทา้ วสนุ มิ มติ ะไมท่ ราบ ได้ให้ไปถามพวกเทวดาช้ันปรินิมมิตวสวัตตี พวกเทวดาชั้นปรนิม- มติ วสวตั ตไี มท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามทา้ วปรนมิ มติ วสวตั ต ี ทา้ วปรนมิ มติ วสวตั ตี ไมท่ ราบ ไดใ้ หไ้ ปถามพวกเทวดาพรหมกายกิ า พวกเทวดาพรหมกายกิ า ไม่ทราบ ได้ให้ไปถามท้าวมหาพรหม เม่ือไปถามท้าวมหาพรหม ทา้ วมหาพรหมพยายามหลกี เลยี่ ง บา่ ยเบย่ี งทจ่ี ะไมต่ อบอยพู่ กั หนงึ่ แลว้ ในทส่ี ดุ กไ็ ดส้ ารภาพวา่ พวกเทวดาทง้ั หลายพากนั คดิ วา่ ทา้ วมหาพรหมเอง 203
พุทธวจน - หมวดธรรม เป็นผู้รู้เห็นไปทุกส่ิงทุกอย่าง แต่ที่จริงก็ไม่รู้ในปัญหาท่ีว่า มหาภูต ๔ จกั ดบั ไปในทไี่ หนนน้ั เลย มนั เปน็ ความผดิ พลาดของภกิ ษนุ น้ั เอง ทไ่ี มไ่ ป ทลู ถามพระผมู้ พี ระภาค). เกวฏั ฏะ ล�ำ ดบั นน้ั ภกิ ษนุ น้ั ไดห้ ายตวั จากพรหมโลก มาปรากฏข้างหน้าเรา เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำ�ลังเหยียด แขนที่งออยู่ออกไป หรืองอแขนท่ีเหยียดไว้เข้ามา จากน้ัน เธอไหว้เราแล้วน่ัง ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วถามเราว่า ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ มหาภตู ๔ คอื ธาตดุ นิ ธาตนุ �้ำ ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม เหลา่ นี้ ย่อมดบั สนทิ ไมม่ เี หลือในที่ไหน ดงั นี.้ เกวฏั ฏะ เมอ่ื เธอถามอยา่ งน้ี เราไดก้ ลา่ วกะภกิ ษนุ น้ั วา่ แน่ะภิกษุ เร่ืองเคยมีมาแล้ว พวกค้าทางทะเล ได้พานก ส�ำ หรบั คน้ หาฝงั่ (นกตรี ทสั ส)ี ไปกบั เรอื ดว้ ย เมอ่ื มองไมเ่ หน็ ฝงั่ พวกเขาปล่อยนกสำ�หรับค้นหาฝ่ังนั้นไป นกน้ันบินไปทาง ทศิ ตะวนั ออกบา้ ง ทศิ ใตบ้ า้ ง ทศิ ตะวนั ตกบา้ ง ทศิ เหนอื บา้ ง ทิศเบื้องบนบ้าง ทิศน้อยๆ บ้าง เม่ือมันเห็นฝ่ังทางทิศใด แลว้ มนั กจ็ ะบนิ ตรงไปยงั ทศิ นน้ั แตถ่ า้ มนั ไมเ่ หน็ ฝง่ั กจ็ ะบนิ กลบั มาสเู่ รอื ตามเดมิ ภกิ ษ ุ เชน่ เดยี วกบั เธอนน้ั แหละ ไดเ้ ทย่ี ว แสวงหาค�ำ ตอบของปญั หาน้ี มาจนกระทง่ั ถงึ พรหมโลกแลว้ กไ็ มไ่ ด้คำ�ตอบ ในท่สี ุดก็ยงั ตอ้ งยอ้ นมาหาเราอีก. 204
เปิดธรรมที่ถูกปิด : จิต มโน วิญญาณ ภิกษุ ในปัญหาของเธอนั้น เธอไม่ควรต้ังคำ�ถาม อย่างนั้นวา่ มหาภตู ๔ คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้� ธาตไุ ฟ ธาตุลม เหล่าน้ี ย่อมดับสนิทไม่มีเหลือในท่ีไหน อันที่จริง เธอควร จะต้งั ค�ำ ถามข้นึ อยา่ งนว้ี ่า ดนิ น�้ำ ไฟ ลม ยอ่ มตงั้ อยไู่ มไ่ ด้ในทีไ่ หน ความยาว ความสน้ั ความเลก็ ความใหญ่ ความงาม ความไมง่ าม ยอ่ ม ตง้ั อยู่ไม่ไดใ้ นทีไ่ หน นามและรปู ยอ่ มดับสนิทไมม่ ีเหลอื ใน ทไ่ี หน ดังน้ี ต่างหาก. ภกิ ษุ ในปญั หานน้ั คำ�ตอบมีดังนี้ สงิ่ อนั พงึ รแู้ จง้ ไมม่ ปี รากฏการณ์ ไมม่ ที ส่ี ดุ แตม่ ี ทางปฏบิ ตั เิ ขา้ มาถงึ ไดโ้ ดยรอบ นน้ั มอี ยู่ ในสง่ิ นน้ั แหละ ดนิ น�้ำ ไฟ ลม ตงั้ อยไู่ มไ่ ด้ ในสงิ่ นน้ั แหละ ความยาว ความสน้ั ความเลก็ ความใหญ่ ความงาม ความไมง่ าม ตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ ในสงิ่ นนั้ แหละ นามและรปู ยอ่ มดบั สนทิ ไมม่ เี หลอื นามรปู ดับสนทิ ในสง่ิ น้ี เพราะการดบั สนทิ ของวิญญาณ ดงั นี้. เนอ้ื ความในย่อหนา้ สุดท้าย มีบาลีอย่างน้ี วิ ฺ าณ อนทิ สสฺ น อนนตฺ สพพฺ โต ปภ เอตถฺ อาโป จ ปวี จ เตโช วาโย น คาธต ิ เอตถฺ ทฆี จฺ รสสฺ จฺ อนน ถลู สภุ าสภุ เอตถฺ นามจฺ รปู จฺ อเสส อปุ รชุ ฌฺ ต ิ วิ ฺ าณสสฺ นโิ รเธน เอตเฺ ถต อปุ รชุ ฌฺ ตตี .ิ 205
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ ส่ิงนั้นมอี ยู่ 82 -บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๒๐๖/๑๕๘. ภิกษุท้ังหลาย อายตนะน้ันมีอยู่1 เป็นสิ่งซ่ึงไม่มี ดิน ไม่มีน้ำ� ไม่มีไฟ ไม่มีลม ไม่ใช่อากาสานัญจายตนะ ไมใ่ ชว่ ญิ ญาณัญจายตนะ ไม่ใช่อากิญจญั ญายตนะ ไม่ใช่ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ไมใ่ ชโ่ ลกน้ี ไมใ่ ชโ่ ลกอนื่ ไมใ่ ช่ ดวงจนั ทร์ หรอื ดวงอาทิตย์ทั้งสองอย่าง. ภิกษุท้ังหลาย ในสิ่งน้ัน เราไม่กล่าวว่ามีการมา ไมก่ ลา่ ววา่ มกี ารไป ไมก่ ลา่ ววา่ มกี ารตง้ั อยู่ ไมก่ ลา่ ววา่ มกี ารจตุ ิ ไมก่ ลา่ ววา่ มกี ารอปุ บตั ิ สง่ิ นน้ั ไมไ่ ดต้ ง้ั อยู่ สง่ิ นน้ั ไมไ่ ดเ้ ปน็ ไป และสง่ิ น้ันไมใ่ ชอ่ ารมณ์ นัน่ แหละ คอื ท่สี ดุ แหง่ ทกุ ข์. พระสูตรนี้ มบี าลีอย่างน้ี อตฺถิ ภิกฺขเว ตทายตน ยตฺถ เนว ปวี น อาโป น เตโช น วาโย น อากาสานจฺ ายตน น วิ ฺ าณฺจายตน น อากิ จฺ ฺ ายตน น เนวสฺ านาสฺ ายตน นาย โลโก น ปรโลโก น อโุ ภ จนฺทมิ สุริยา. ตมห ภกิ ขฺ เว เนว อาคตึ วทามิ น คตึ น ติ ึ น จุตึ น อปุ ปตตฺ ึ อปปฺ ตฏิ ฺ อปปฺ วตตฺ อนารมมฺ ณเมว ต เอเสวนโฺ ต ทกุ ขฺ สสฺ าติ. 1. คำ�น้ี มสี ำ�นวนแปลอยา่ งอน่ื อกี เชน่ สง่ิ ๆ นน้ั มอี ยู่ เปน็ ตน้ . -ผรู้ วบรวม 206
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ช่อื ว่านิพพาน อนั บคุ คลเห็นได้ยาก 83 -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๔๗๘/๗๕๑., -บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๒๐๗,๒๐๘/๑๕๙,๑๖๑. ชอ่ื วา่ นพิ พานอนั บคุ คลเหน็ ไดย้ าก ไมม่ คี วามนอ้ มไป เพราะวา่ นพิ พานนน้ั เปน็ ธรรมชาตจิ รงิ แท้ อนั บคุ คลเหน็ ไมไ่ ดง้ า่ ยเลย ตณั หาอนั บคุ คลแทงตลอดแลว้ เพราะรอู้ ยู่ เห็นอยู่ จงึ ไม่มกี ิเลสเครอ่ื งกงั วล. ความหว่นั ไหวย่อมมีแก่บุคคลผ้อู ันตัณหาและทิฏฐิ อาศัยแล้ว ความหว่ันไหวย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้อันตัณหา และทฏิ ฐไิ มอ่ าศยั แลว้ เมอ่ื ความหวน่ั ไหวไมม่ ี ปสั สทั ธยิ อ่ มมี เมื่อปัสสัทธิมี ความน้อมไปย่อมไม่มี เมื่อความน้อมไป ไมม่ ี การมาและการไปยอ่ มไมม่ ี เมอื่ การมาและการไปไมม่ ี การจุติและอุปบัติย่อมไม่มี เมื่อการจุติและอุปบัติไม่มี อะไรๆ ก็ไม่มีในโลกนี้ ไม่มีในโลกอื่น ไม่มีในระหว่างแห่ง โลกทั้งสอง น่ันแหละ คือ ทส่ี ดุ แห่งทกุ ข์. ใน ๓ พระสูตรนี้ มีบาลอี ย่างนี้ ททุ ทฺ ส อนต นาม น หิ สจจฺ สทุ สสฺ น ปฏวิ ทิ ธฺ า ตณหฺ า ชานโต ปสสฺ โต นตฺถิ กิฺจนนตฺ .ิ นิสฺสิตสฺส จลิต อนิสฺสิตสฺส จลิต นตฺถิ จลิเต อสติ ปสฺสทธฺ ิ ปสฺสทธฺ ยิ า สติ นติ น โหติ นตยิ า อสติ อาคติคติ น โหติ อาคติคติยา อสติ จุตูปปาโต น โหติ จุตูปปาเต อสติ เนวธิ น หุร น อภุ ยมนฺตเร เอเสวนโฺ ต ทุกฺขสสฺ าต.ิ 207
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ 84 นพิ พานของคนตาบอด -บาลี ม. ม. ๑๓/๒๘๑/๒๘๗. ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยมีมาแต่ก่อน คือข้อที่พระสมณโคดมได้กล่าวคำ�น้ีว่า ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างย่ิง นิพพานเป็นสขุ อย่างยิง่ ดงั นี ้ ขา้ แต่พระโคดมผเู้ จริญ ขา้ พเจ้ากไ็ ด้เคย ฟงั คำ�กลา่ วน้ี ของปรพิ พาชกผเู้ ปน็ อาจารยแ์ หง่ อาจารยก์ ลา่ วอยวู่ า่ ความไมม่ ี โรคเป็นลาภอย่างย่ิง นิพพานเป็นสุขอย่างย่ิง ดังน้ี ด้วยเหมือนกัน ข้าแต่พระโคดมผ้เู จริญ ข้อน้ชี ่างตรงกนั นัก. มาคัณฑิยะ ข้อน้ีท่านฟังมาแต่ปริพพาชกผู้เป็น อาจารย์แห่งอาจารย์ ท่ีกล่าวอยู่ว่า ความไม่มีโรคเป็นลาภ อยา่ งยง่ิ นิพพานเปน็ สขุ อยา่ งยิ่ง ดังน้ีนั้น ความไม่มโี รคนน้ั เป็นอยา่ งไร นิพพานน้นั เป็นอย่างไร. เมอ่ื พระผมู้ พี ระภาคตรสั อยา่ งนแี้ ลว้ มาคณั ฑยิ ปรพิ พาชก ไดล้ บู รา่ งกายของตนดว้ ยฝา่ มอื แลว้ รอ้ งขนึ้ วา่ ขา้ แตพ่ ระโคดมผเู้ จรญิ นยี่ งั ไงละ่ ความไมม่ โี รค นยี่ งั ไงละ่ นพิ พาน พระโคดมผเู้ จรญิ เวลานี้ ขา้ พเจา้ เปน็ สขุ ไมม่ ีโรค ไม่มอี าพาธอะไรๆ. มาคัณฑิยะ ข้อนี้เปรียบเหมือนบุรุษตาบอดมาแต่ ก�ำ เนดิ เขาไมอ่ าจเหน็ รปู สดี �ำ หรอื สขี าว ไมอ่ าจเหน็ รปู สเี ขยี ว ไม่อาจเห็นรูปสีเหลือง ไม่อาจเห็นรูปสีแดง ไม่อาจเห็นรูป สีชมพู ไม่อาจเห็นพื้นที่อันสม่ำ�เสมอหรือขรุขระ ไม่อาจ 208
เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ เห็นดวงดาว ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เขาได้ยินคนตาดี กล่าวอยู่ว่า ท่านผู้เจริญ ผ้าขาวเน้ือดี สะอาด ไม่มีมลทิน งดงามนกั หนอ บรุ ษุ ตาบอดนน้ั กเ็ ทยี่ วแสวงหาผา้ ขาว บรุ ษุ คนหนงึ่ ลวงเขาดว้ ยผา้ เกา่ เปอื้ นเขมา่ วา่ บรุ ษุ ผเู้ จรญิ นผี้ า้ ขาว เนื้อดี สะอาด ไม่มีมลทิน งดงามนัก สำ�หรับท่าน บุรุษ ตาบอดนน้ั รบั ผา้ นนั้ มาหม่ แลว้ พดู ออกมาดว้ ยความดใี จวา่ ท่านผู้เจริญท้ังหลาย น้ีผ้าขาวเนื้อดี สะอาด ไม่มีมลทิน งดงามนกั หนอ ดังน้ี. มาคัณฑิยะ ท่านจะสำ�คัญความข้อน้ีว่าอย่างไร บรุ ษุ ตาบอดแตก่ �ำ เนดิ นน้ั เปน็ ผรู้ อู้ ยเู่ หน็ อยู่ แลว้ รบั เอาผา้ เกา่ เป้ือนเขม่าน้ันมาห่ม และพูดออกมาด้วยความดีใจว่า ท่านผู้เจริญท้ังหลาย นี้ผ้าขาวเน้ือดี สะอาด ไม่มีมลทิน งดงามนกั หนอ ดงั นี้ หรอื วา่ เขาพดู อยา่ งนนั้ เพราะเชอ่ื คนตาดี ทลี่ วงเขา. ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ บุรุษตาบอดแต่กำ�เนิดน้ันเป็นผู้ไม่รู้ ไม่เห็น แล้วก็รับเอาผ้าเก่าเปื้อนเขม่านั้นมาห่ม และพูดออกมาด้วย ความดีใจว่า ท่านผู้เจริญท้ังหลาย น้ีผ้าขาวเน้ือดี สะอาด ไม่มีมลทิน งดงามนกั หนอ ดงั น ้ี ทเี่ ขาพดู เชน่ นนั้ เพราะเชอ่ื คนตาดที ลี่ วงเขาเทา่ นนั้ . 209
พุทธวจน - หมวดธรรม มาคณั ฑยิ ะ ฉนั ใดก็ฉนั นั้นเหมือนกนั ทีป่ รพิ พาชก เดยี รถยี เ์ หลา่ อนื่ เปน็ คนบอดไมม่ จี กั ษุ ไมร่ จู้ กั ความไมม่ โี รค ไมเ่ หน็ นพิ พาน เมอื่ เปน็ เชน่ นน้ั กย็ งั มากลา่ วคาถานว้ี า่ ความ ไม่มโี รคเป็นลาภอย่างย่ิง นพิ พานเปน็ สุขอย่างยิง่ ดงั น้ี. มาคณั ฑยิ ะ คาถานี้ เปน็ คาถาทพี่ ระอรหนั ตสมั มา- สมั พทุ ธเจา้ ทงั้ หลายในกาลกอ่ น กล่าวกนั แล้ววา่ ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างย่ิง นิพพานเป็นสุข อยา่ งยง่ิ ทางมอี งค์ ๘ เปน็ ทางอนั เกษมกวา่ ทางทงั้ หลาย ซึ่งเป็นเครื่องให้ถึงอมตะ ดังนี้น้ัน บัดน้ี ได้มากลายเป็น คาถาของปถุ ชุ นกล่าวไปเสยี แล้ว. มาคัณฑิยะ กายน้ีแหละเป็นดังโรค เป็นดังหัวฝี เป็นดังลูกศร เป็นความยากลำ�บาก เป็นอาพาธ ท่านก็มา กล่าวซ่ึงกายนี้ที่เป็นดังโรค เป็นดังหัวฝี เป็นดังลูกศร เป็นความยากลำ�บาก เป็นอาพาธ ว่าเป็นความไม่มีโรค เป็นนิพพาน มาคัณฑิยะ อริยจักษุสำ�หรับจะรู้จักความ ไม่มีโรค จะเหน็ นพิ พานของท่านไม่มิี … ข้าพระองค์เลื่อมใสต่อท่านพระโคดมผู้เจริญอย่างน้ีแล้ว ขอทา่ นพระโคดมผเู้ จรญิ โปรดแสดงธรรมแกข่ า้ พระองค์ โดยประการท่ี ข้าพระองคจ์ ะรู้จักความไม่มีโรคและเห็นนพิ พานได้. 210
เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ มาคณั ฑยิ ะ เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ ตาบอดมาแตก่ �ำ เนดิ เขาไมอ่ าจเหน็ รปู สดี �ำ หรอื สขี าว ไมอ่ าจเหน็ รปู สเี ขยี ว ไมอ่ าจ เห็นรูปสีเหลือง ไม่อาจเห็นรูปสีแดง ไม่อาจเห็นรูปสีชมพู ไมอ่ าจเหน็ พนื้ ทอ่ี นั สม�ำ่ เสมอหรอื ขรขุ ระ ไมอ่ าจเหน็ ดวงดาว ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เขาได้ยินคนตาดีกล่าวอยู่ว่า ทา่ นผเู้ จรญิ ผา้ ขาวเนอ้ื ดี สะอาด ไมม่ มี ลทนิ งดงามนกั หนอ บรุ ษุ ตาบอดนนั้ กเ็ ทย่ี วแสวงหาผา้ ขาว บรุ ษุ คนหนงึ่ ลวงเขา ดว้ ยผา้ เกา่ เปอ้ื นเขมา่ วา่ บรุ ษุ ผเู้ จรญิ นผ้ี า้ ขาวเนอื้ ดี สะอาด ไมม่ มี ลทนิ งดงามนกั ส�ำ หรบั ทา่ น บรุ ษุ ตาบอดนนั้ รบั ผา้ นนั้ มาห่มแล้ว. ในกาลต่อมา มิตร อำ�มาตย์ ญาติสาโลหิตของเขา เชิญแพทย์ผ่าตัดผู้ชำ�นาญมารักษา แพทย์นั้นท�ำ ยาอันถ่าย โทษในเบื้องบน ถ่ายโทษในเบ้ืองล่าง ยาหยอด ยากัดและ ยานัตถ์ุ เขาอาศัยยานั้นแล้วจึงมองเห็นได้ ชำ�ระตาให้ใสได้ พร้อมกับการที่มีตาดีขึ้นน้ัน เขาย่อมละความรักใคร่พอใจ ในผ้าเนื้อเลวเป้ือนเขม่าเสียได้ เขาจะพึงเบียดเบียนบุรุษ ทลี่ วงเขานนั้ โดยความเปน็ ศตั รู โดยความเปน็ ขา้ ศกึ และจะ สำ�คัญว่าควรปลงชีวิตบุรุษนั้นด้วยความแค้น โดยกล่าวว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย เราถูกบุรุษน้ีคดโกง หลอกลวง 211
พุทธวจน - หมวดธรรม ปลน้ิ ปลอกดว้ ยผา้ เนอ้ื เลวเปอื้ นเขมา่ มานานหนกั หนอ โดย หลอกเราวา่ บรุ ษุ ผเู้ จรญิ นแ้ี หละเปน็ ผา้ ขาวเนอื้ ดี เปน็ ของ งดงาม ปราศจากมลทิน เป็นผ้าสะอาดสำ�หรบั ท่าน ดังน้.ี มาคัณฑิยะ ฉันใดก็ฉันน้ันเหมือนกัน ถ้าเรา แสดงธรรมแก่ท่านว่า อย่างนี้เป็นความไม่มีโรค อย่างนี้ เป็นนิพพาน ดังนี้ ท่านจะรู้จักความไม่มีโรค จะพึงเห็น นิพพานได้ ก็ต่อเม่ือท่านละความกำ�หนัดด้วยอำ�นาจความ พอใจ (ฉนทฺ ราโค) ในอปุ าทานขนั ธท์ งั้ ๕ เสยี ได้ พรอ้ มกบั การ เกิดขึ้นแห่งจักษุของท่าน อนึ่ง ความรู้สึกจะพึงเกิดข้ึน แก่ท่านว่า ท่านผู้มีอายุท้ังหลาย เราถูกจิตนี้คดโกง หลอกลวง ปลิ้นปลอก มานานนักหนอ จึงเราเม่ือยึดม่ัน ก็ยึดมั่นเอาแล้ว ซ่ึงรูป ซ่ึงเวทนา ซ่ึงสัญญา ซึ่งสังขาร และซ่งึ วญิ ญาณ น่นั เทียว. เพราะความยึดม่ัน (อุปาทาน) ของเราน้ันเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะมีชาติเป็น ปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะ ทงั้ หลาย จงึ เกดิ ขนึ้ ครบถว้ น ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ข์ ทัง้ สนิ้ นี้ ย่อมมีด้วยอาการอยา่ งน้ี ดงั น.ี้ 212
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ ยนื คนละท่ี เห็นคนละแบบ (นยั ท่ี ๑) 85 -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๖๒/๓๙๒. … อคั คเิ วสสนะ ราชกมุ ารนนั้ จะพงึ ไดป้ ระโยชนจ์ าก ความทเ่ี ธอกลา่ วแลว้ แตท่ ไ่ี หน ความขอ้ นนั้ อนั บคุ คลจะพงึ รู้ พึงเห็น พึงบรรลุ พึงกระทำ�ให้แจ้งกันได้ด้วยเนกขัมมะ แตเ่ พราะชยเสนราชกมุ ารยงั อยทู่ า่ มกลางกาม ยงั บรโิ ภคกาม ยังถูกกามวิตกเคี้ยวกิน ยังถูกความเร่าร้อนเพราะกาม แผดเผา ยงั ขวนขวายในการแสวงหากามอยู่ แลว้ จะรู้ จะเหน็ หรือจะกระท�ำ ให้แจ้งซงึ่ ความข้อนน้ั นน่ั ไมใ่ ชฐ่ านะที่มไี ด.้ อัคคิเวสสนะ เปรียบเหมือนคู่แห่งช้างท่ีควรฝึก หรือคู่แห่งม้าท่ีควรฝึก หรือคู่แห่งโคท่ีควรฝึก คู่หน่ึงที่ถูก ฝึกดี ถูกแนะนำ�ดีแล้ว ส่วนอีกคู่หน่ึงไม่ได้ถูกฝึก ไม่ได้ถูก แนะนำ� อัคคิเวสสนะ เธอจะสำ�คัญความข้อนั้นว่าอย่างไร คู่แห่งช้างท่ีควรฝึก หรือคู่แห่งม้าท่ีควรฝึก หรือคู่แห่งโค ท่ีควรฝึก ท่ีถูกฝึกดีแล้ว ถูกแนะนำ�ดีแล้วน้ัน จะพึงถึงเหตุ แหง่ สตั ว์ทีฝ่ ึกแลว้ 1 พึงบรรลภุ มู แิ หง่ สัตวท์ ี่ฝกึ แล้วใช่ไหม ใช่ พระเจ้าข้า. 1. ประโยคน้ี มาจากคำ�บาลีท่ีว่า ทนฺตาว ทนฺตการณ คจฺเฉยฺยุ ซ่ึงมีสำ�นวนแปล อยา่ งอน่ื อกี เชน่ จงึ เลยี นเหตกุ ารณท์ ฝ่ี กึ แลว้ , จะเรยี นรเู้ หตกุ ารณท์ ผ่ี ฝู้ กึ ฝกึ แลว้ เปน็ ตน้ . -ผรู้ วบรวม 213
พทุ ธวจน - หมวดธรรม สว่ นคแู่ หง่ ชา้ งทค่ี วรฝกึ หรอื คแู่ หง่ มา้ ทค่ี วรฝกึ หรอื คแู่ หง่ โคทคี่ วรฝกึ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การฝกึ ไมไ่ ดร้ บั การแนะน�ำ นนั้ จะพงึ ถงึ เหตแุ หง่ สตั วท์ ฝ่ี กึ แลว้ พงึ บรรลภุ มู แิ หง่ สตั วท์ ฝ่ี กึ แลว้ เหมอื นอย่างคทู่ ีฝ่ ึกดีแล้วแนะนำ�ดแี ลว้ นั้นไดไ้ หม. ไม่ได้เลย พระเจ้าขา้ . อคั คเิ วสสนะ ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ เหมอื นกนั ความขอ้ นน้ั อันบุคคลจะพึงรู้ พึงเห็น พึงบรรลุ พึงกระทำ�ให้แจ้งกันได้ ดว้ ยเนกขมั มะ แตเ่ พราะชยเสนราชกมุ ารยงั อยทู่ า่ มกลางกาม ยังบริโภคกาม ยังถูกกามวิตกเคี้ยวกิน ยังถูกความเร่าร้อน เพราะกามแผดเผา ยังขวนขวายในการแสวงหากามอยู่ แล้วจะรู้ จะเห็น หรือจะกระทำ�ให้แจ้งซ่ึงความข้อน้ัน นัน่ ไม่ใช่ฐานะทีม่ ีได.้ อคั คเิ วสสนะ เปรยี บเหมอื นมภี เู ขาใหญ่ อยไู่ มห่ า่ ง ไกลจากหมู่บ้านหรือนิคม มีสหาย ๒ คนออกจากหมู่บ้าน หรือนิคมเพื่อไปยังภูเขาลูกนั้น แล้วก็จูงมือกันเข้าไปยัง ท่ีภูเขานั้นตั้งอยู่ คร้ันแล้ว สหายคนหนึ่ง ยืนอยู่ท่ีเชิงภูเขา ดา้ นลา่ ง สหายอกี คนหนงึ่ ขน้ึ ไปยงั ขา้ งบนภเู ขา สหายคนทย่ี นื อยทู่ เ่ี ชงิ ภเู ขาดา้ นลา่ ง เอย่ ถามสหายผยู้ นื อยขู่ า้ งบนภเู ขานน้ั 214
เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ อย่างนี้ว่า แน่ะเพื่อน เท่าท่ีเพ่ือนยืนอยู่ข้างบนภูเขาน้ัน เพื่อนเห็นอะไรบ้าง สหายคนนั้นตอบอย่างน้ีว่า เพ่ือนเอ๋ย เรายนื อยขู่ า้ งบนภเู ขาแลว้ มองเหน็ สวนอนั นา่ รน่ื รมย์ มองเหน็ ปา่ ไมอ้ นั นา่ รน่ื รมย์ มองเหน็ ภมู ภิ าคอนั นา่ รน่ื รมย์ และมองเหน็ สระโบกขรณีอันนา่ รน่ื รมย์. สหายผู้ที่อยู่ด้านล่างกล่าวอย่างน้ีว่า แน่ะเพื่อน น่ันไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาสเลย ที่เพื่อนเมื่อยืนอยู่ข้างบน ภูเขาแล้ว จะมองเห็นสวนอันน่าร่ืนรมย์ จะมองเห็นป่าไม้ อนั นา่ รน่ื รมย์ จะมองเหน็ ภมู ภิ าคอนั นา่ รน่ื รมย์ หรอื จะมองเหน็ สระโบกขรณีอันนา่ รืน่ รมย์. สหายผทู้ ย่ี นื อยขู่ า้ งบนภเู ขา จงึ ลงมายงั เชงิ เขาดา้ นลา่ ง แล้วจูงแขนสหายคนน้นั ใหข้ ้ึนไปขา้ งบนภเู ขาลกู นัน้ พักให้ หายเหนื่อยกันครู่หน่ึงแล้ว ได้เอ่ยถามสหายคนนั้นว่า แน่ะเพ่ือน เท่าท่ีเพ่ือนยืนอยู่ข้างบนภูเขาแล้ว เพ่ือนเห็น อะไร สหายคนนน้ั ตอบอยา่ งนว้ี า่ เพอ่ื นเอย๋ เรายนื อยขู่ า้ งบน ภูเขาแล้ว มองเห็นสวนอันน่ารื่นรมย์ มองเห็นป่าไม้อัน น่าร่ืนรมย์ มองเห็นภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ และมองเห็น สระโบกขรณีอนั น่ารน่ื รมย.์ 215
พทุ ธวจน - หมวดธรรม สหายผู้ท่ีขึ้นไปก่อนกล่าวว่า แน่ะเพื่อน เราพ่ึง เข้าใจคำ�ท่ีท่านกล่าวอย่างน้ีว่า เพื่อนเอ๋ย นั่นไม่ใช่ฐานะ ไมใ่ ชโ่ อกาสเลย ทเ่ี พอ่ื นเมอ่ื ยนื อยขู่ า้ งบนภเู ขาแลว้ จะมองเหน็ สวนอนั นา่ รน่ื รมย์ จะมองเหน็ ปา่ ไมอ้ นั นา่ รน่ื รมย์ จะมองเหน็ ภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ หรือจะมองเห็นสระโบกขรณีอัน น่ารน่ื รมยเ์ ดี๋ยวน้เี อง. และสหายผู้ที่ข้ึนไปทีหลังนั้นกล่าวว่า แน่ะเพื่อน เราก็เพ่ิงเข้าใจคำ�ท่ีท่านกล่าวอย่างน้ีว่า เพ่ือนเอ๋ย เรายืน อยู่ข้างบนภูเขาแล้ว มองเห็นสวนอันน่ารื่นรมย์ มองเห็น ปา่ ไมอ้ นั นา่ รน่ื รมย์ มองเหน็ ภมู ภิ าคอนั นา่ รน่ื รมย์ และมองเหน็ สระโบกขรณีอันน่ารื่นรมย์เดยี๋ วนีเ้ หมือนกนั . สหายผู้ท่ีข้ึนไปก่อนกล่าวอย่างนี้ว่า เพ่ือนเอ๋ย แท้จริงแล้ว เราถูกภูเขาลูกใหญ่น้กี ้นั ไว้ จึงมองไม่เห็นส่งิ ท่ี ควรเหน็ . อัคคิเวสสนะ ฉันใดก็ฉันน้ันเหมือนกัน ชยเสน- ราชกุมาร ถูกกองอวิชชาท่ีใหญ่ย่ิงกว่าภูเขาลูกน้ันก้ันไว้ ปิดบังไว้ รึงรัดไว้ ห่อหุ้มไว้แล้ว ชยเสนราชกุมารน้ัน อยู่ท่ามกลางกาม ยังบริโภคกาม ยังถูกกามวิตกเคี้ยวกิน ยังถูกความเร่าร้อนเพราะกามแผดเผา ยังขวนขวายในการ 216
เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ แสวงหากามอยู่ แล้วจะรู้ จะเห็น หรือจะกระทำ�ให้แจ้งซ่ึง ความข้อน้ัน อันบุคคลจะพึงรู้ พึงเห็น พึงบรรลุ พึงกระทำ� ให้แจง้ กันได้ดว้ ยเนกขมั มะ นนั่ ไม่ใชฐ่ านะทม่ี ไี ด้. อคั คเิ วสสนะ ถา้ อปุ มา ๒ ขอ้ ทนี่ า่ อศั จรรยน์ ี้ เธอพงึ ทำ�ให้แจ่มแจ้งแก่ชยเสนราชกุมารได้ ชยเสนราชกุมารก็จะ เล่ือมใสเธอ และเม่ือเลื่อมใสแล้ว ก็จะทำ�อาการของบุคคล ผูเ้ ลอ่ื มใสต่อเธอ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จะอธิบายอุปมา ๒ ข้อท่ี น่าอัศจรรย์ ท่ีข้าพระองค์ยังไม่เคยได้ฟังมาก่อน ให้แจ่มแจ้งแก่ ชยเสนราชกุมาร เหมือนพระผู้มีพระภาคได้อย่างไรเล่า พระเจ้าข้า. ... ใน ๒ ย่อหน้าสุดทา้ ย มบี าลีอยา่ งนี้ สเจ โข ต อคฺคเิ วสฺสน ชยเสนสสฺ ราชกุมารสฺส อิมา เทวฺ อปุ มา ปฏภิ าเสยฺยุ อนจฺฉรยิ นฺเต1 ชยเสโน ราชกุมาโร ปสเี ทยยฺ ปสนโฺ น จ เต ปสนฺนาการ กเรยฺยาติ. กุโต ปน ม ภนฺเต ชยเสนสฺส ราชกุมารสฺส อิมา เทฺว อุปมา ปฏิภาสิสฺสนฺติ อนจฺฉริยา ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา เสยฺยถาปิ ภควนตฺ นฺติ. 1. บาลคี ำ�น้ี นยิ มแปลกนั วา่ นา่ อศั จรรย์ โดยแปลตามนยั ฎกี า สารตถฺ ทปี นี ภาค ๑ หนา้ ๕๓๐ ซง่ึ แกไ้ วว้ า่ อนอุ จฉฺ รยิ าต.ิ -ผรู้ วบรวม 217
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ ยนื คนละที่ เห็นคนละแบบ (นยั ท่ี ๒) 86 -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๙๐/๙๗๖. ภิกษุทั้งหลาย ปริยายท่ีอินทรีย์ ๕ อาศัยแล้วเป็น พละ ๕ ท่พี ละ ๕ อาศัยแลว้ เปน็ อนิ ทรีย์ ๕ มอี ยู ่ ปรยิ ายท่ี อนิ ทรีย์ ๕ อาศัยแล้วเปน็ พละ ๕ ที่พละ ๕ อาศยั แลว้ เป็น อนิ ทรีย์ ๕ เปน็ อยา่ งไร. ภิกษุท้ังหลาย ส่ิงใดเป็นสัทธินทรีย์ ส่ิงนั้นเป็น สทั ธาพละ สง่ิ ใดเปน็ สทั ธาพละ สง่ิ นน้ั เปน็ สทั ธนิ ทรยี ์ สง่ิ ใด เป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ สิ่งใดเป็นวิริยพละ สง่ิ นน้ั เปน็ วริ ยิ นิ ทรยี ์ สง่ิ ใดเปน็ สตนิ ทรยี ์ สงิ่ นนั้ เปน็ สตพิ ละ สงิ่ ใดเปน็ สตพิ ละ สง่ิ นน้ั เปน็ สตนิ ทรยี ์ สงิ่ ใดเปน็ สมาธนิ ทรยี ์ สิ่งน้ันเป็นสมาธิพละ สิ่งใดเป็นสมาธิพละ ส่ิงน้ันเป็น สมาธินทรีย์ ส่ิงใดเป็นปัญญินทรีย์ ส่ิงน้ันเป็นปัญญาพละ สงิ่ ใดเป็นปญั ญาพละ ส่งิ น้นั เป็นปัญญินทรยี ์. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เปรยี บเหมอื นแมน่ �ำ้ ซง่ึ ไหลไปทางทศิ ตะวนั ออก หลง่ั ไปทางทศิ ตะวนั ออก บา่ ไปทางทศิ ตะวนั ออก ที่ตรงกลางแม่นำ้�นั้นมีเกาะ ปริยายท่ีกระแสแห่งแม่น้ำ�นั้น อาศัยแล้ว ย่อมถึงซึ่งความนับว่ากระแสเดียวมีอยู่ อนึ่ง ปรยิ ายทก่ี ระแสแหง่ แมน่ �ำ้ นน้ั อาศยั แลว้ ยอ่ มถงึ ซง่ึ ความนบั วา่ สองกระแสมีอย.ู่ 218
เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ ภิกษุทั้งหลาย ก็ปริยายที่กระแสแห่งแม่นำ้�น้ัน อาศัยแล้ว ย่อมถึงซ่ึงความนับว่ากระแสเดียวเป็นอย่างไร คอื น้ำ�ในทส่ี ดุ ดา้ นตะวนั ออก และในทสี่ ดุ ดา้ นตะวันตกแหง่ เกาะนนั้ ปรยิ ายนแี้ ล ทก่ี ระแสแหง่ แมน่ �้ำ นน้ั อาศยั แลว้ ยอ่ มถงึ ซ่ึงความนบั วา่ กระแสเดยี ว. ภิกษุทั้งหลาย ก็ปริยายท่ีกระแสแห่งแม่นำ้�น้ัน อาศัยแล้ว ย่อมถึงซ่ึงความนับว่าสองกระแสเป็นอย่างไร คือน้ำ�ในท่ีสุดด้านเหนือ และในท่ีสุดด้านใต้แห่งเกาะน้ัน ปริยายน้ีแล ที่กระแสแห่งแม่นำ้�น้ันอาศัยแล้ว ย่อมถึง ซึง่ ความนับวา่ สองกระแส. ภิกษุท้งั หลาย ฉันใดฉันน้นั ก็เหมือนกัน ส่งิ ใดเป็น สัทธินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสัทธาพละ ส่ิงใดเป็นสัทธาพละ สิ่งน้ันเป็นสัทธินทรีย์ สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ ส่ิงนั้นเป็น วิริยพละ สิ่งใดเป็นวิริยพละ สิ่งนั้นเป็นวิริยินทรีย์ ส่ิงใด เป็นสตินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสติพละ สิ่งใดเป็นสติพละ สิ่งน้ัน เปน็ สตนิ ทรยี ์ สง่ิ ใดเปน็ สมาธนิ ทรยี ์ สง่ิ นน้ั เปน็ สมาธพิ ละ สง่ิ ใด เปน็ สมาธพิ ละ สง่ิ นนั้ เปน็ สมาธนิ ทรยี ์ สง่ิ ใดเปน็ ปญั ญนิ ทรยี ์ ส่ิงนั้นเป็นปัญญาพละ สิ่งใดเป็นปัญญาพละ ส่ิงนั้นเป็น ปัญญนิ ทรยี ์. 219
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เพราะความทอ่ี นิ ทรยี ์ ๕ อนั ตนเจรญิ แลว้ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ ภกิ ษจุ งึ กระท�ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั หาอาสวะไมไ่ ด้ เพราะอาสวะทงั้ หลายสนิ้ ไป ด้วยปัญญาอนั ย่งิ เองในปัจจุบัน เขา้ ถึงอย.ู่ 220
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ อุปาทานและที่ตงั้ แหง่ อปุ าทาน 87 -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๐๒/๓๐๙. ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมเป็นท่ีต้ังแห่ง อปุ าทานและอุปาทาน เธอทัง้ หลายจงฟงั . ภิกษุท้ังหลาย ก็ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานเป็น อยา่ งไร และอุปาทานเปน็ อย่างไร. ภกิ ษทุ งั้ หลาย รปู เปน็ ธรรมเปน็ ทต่ี งั้ แหง่ อปุ าทาน ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในรปู ชอ่ื วา่ อปุ าทาน. ภิกษุทั้งหลาย เวทนา เป็นธรรมเป็นที่ต้ังแห่ง อปุ าทาน ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในเวทนา ชอ่ื ว่าอุปาทาน. ภิกษุท้ังหลาย สัญญา เป็นธรรมเป็นที่ตั้งแห่ง อปุ าทาน ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในสญั ญา ชื่อวา่ อปุ าทาน. ภิกษุทั้งหลาย สังขาร เป็นธรรมเป็นท่ีต้ังแห่ง อปุ าทาน ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในสงั ขาร ชอ่ื วา่ อปุ าทาน. 221
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณ เป็นธรรมเป็นท่ีตั้งแห่ง อปุ าทาน ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในวญิ ญาณ ชื่อว่าอปุ าทาน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ขนั ธเ์ หลา่ นเ้ี รยี กวา่ ธรรมเปน็ ทต่ี งั้ แห่งอุปาทาน ฉันทราคะ (ความกำ�หนัดด้วยอำ�นาจความพอใจ) นี้เรยี กวา่ อปุ าทาน. (ในสตู รอนื่ ทรงแสดง อปุ าทานยิ ธรรม ดว้ ยอายตนะภายในหก -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๑๐/๑๖๐. และอายตนะภายนอกหก -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๓๖/๑๙๐. -ผู้รวบรวม) 222
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ขนั ธ์ ๕ และอปุ าทานขนั ธ์ ๕ 88 -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๕๘/๙๕. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราจะแสดงขนั ธ์ ๕ และอปุ าทานขนั ธ์ ๕ เธอทง้ั หลายจงฟงั . ภกิ ษทุ งั้ หลาย กข็ ันธ์ ๕ เปน็ อยา่ งไร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย รปู อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ทง้ั ทเี่ ปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ ไกลหรอื ใกล้ก็ตาม น้ีเรยี กวา่ รูปขนั ธ์. ภิกษุทั้งหลาย เวทนาอย่างใดอย่างหน่งึ ทง้ั ท่ีเป็น อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก กต็ าม หยาบหรอื ละเอยี ดกต็ าม เลวหรอื ประณตี กต็ าม อยใู่ น ท่ีไกลหรอื ใกล้ก็ตาม นี้เรยี กวา่ เวทนาขนั ธ์. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สญั ญาอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ทง้ั ทเี่ ปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก กต็ าม หยาบหรอื ละเอยี ดกต็ าม เลวหรอื ประณตี กต็ าม อยใู่ น ทไี่ กลหรอื ใกลก้ ็ตาม นเ้ี รยี กวา่ สญั ญาขันธ.์ ภิกษทุ ั้งหลาย สังขารอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ทงั้ ท่ีเป็น อดีต อนาคต หรือปัจจุบันกต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก 223
พทุ ธวจน - หมวดธรรม กต็ าม หยาบหรอื ละเอยี ดกต็ าม เลวหรอื ประณตี กต็ าม อยใู่ น ที่ไกลหรอื ใกลก้ ต็ าม นเ้ี รียกวา่ สังขารขนั ธ.์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย วญิ ญาณอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทงั้ ทเี่ ปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก กต็ าม หยาบหรอื ละเอยี ดกต็ าม เลวหรอื ประณตี กต็ าม อยใู่ น ท่ไี กลหรือใกลก้ ต็ าม น้เี รยี กวา่ วญิ ญาณขนั ธ.์ ภิกษทุ งั้ หลาย เหล่านเี้ รยี กวา่ ขันธ์ ๕. ภิกษุทงั้ หลาย ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นอยา่ งไร. ภกิ ษทุ งั้ หลาย รปู อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ทงั้ ทเี่ ปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ ไกลหรือใกล้ก็ตาม อันเป็นไปกับดว้ ยอาสวะ เปน็ ปจั จยั แกอ่ ปุ าทาน นเ้ี รยี กวา่ อปุ าทานขนั ธค์ ือรปู . ภิกษุท้ังหลาย เวทนาอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ทัง้ ท่ีเปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก ก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม อันเป็นไปกับด้วยอาสวะ เปน็ ปจั จยั แกอ่ ปุ าทาน นเ้ี รยี กวา่ อปุ าทานขนั ธค์ ือเวทนา. 224
เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ ภกิ ษทุ งั้ หลาย สญั ญาอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ทง้ั ทเ่ี ปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก ก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในท่ีไกลหรือใกล้ก็ตาม อันเป็นไปกับด้วยอาสวะ เปน็ ปจั จยั แกอ่ ปุ าทาน นเ้ี รยี กวา่ อปุ าทานขนั ธค์ อื สญั ญา. ภกิ ษุทั้งหลาย สงั ขารอยา่ งใดอย่างหน่งึ ทงั้ ท่ีเปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก ก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในท่ีไกลหรือใกล้ก็ตาม อันเป็นไปกับด้วยอาสวะ เปน็ ปจั จยั แกอ่ ปุ าทาน นเ้ี รยี กวา่ อปุ าทานขนั ธค์ อื สงั ขาร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย วญิ ญาณอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทง้ั ทเ่ี ปน็ อดตี อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอก ก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม อยู่ในท่ีไกลหรือใกล้ก็ตาม อันเป็นไปกับด้วยอาสวะ เปน็ ปจั จยั แกอ่ ปุ าทาน นเ้ี รยี กวา่ อปุ าทานขนั ธค์ อื วญิ ญาณ. ภกิ ษุทงั้ หลาย เหลา่ นีเ้ รยี กว่า อปุ าทานขนั ธ์ ๕. 225
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ 89 มลู รากของอุปาทานขันธ์ -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๐๑/๑๒๑. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ อปุ าทานขนั ธ์ มอี ยู่ ๕ ประการนเี้ ทา่ นนั้ ใช่ไหม คือ อปุ าทานขันธค์ อื รูป อปุ าทานขันธ์คือเวทนา อุปาทานขนั ธ์ คอื สญั ญา อปุ าทานขนั ธค์ อื สงั ขาร อปุ าทานขนั ธค์ อื วญิ ญาณ พระเจา้ ขา้ . ภิกษุ อุปาทานขันธ์ มีอยู่ ๕ ประการนี้เท่านั้น คือ อุปาทานขันธ์คือรูป อุปาทานขันธ์คือเวทนา อุปาทานขันธ์คือสัญญา อุปาทานขันธ์คือสังขาร อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ มีอะไรเป็น มลู ราก พระเจา้ ขา้ . ภกิ ษ ุ อปุ าทานขนั ธ์ ๕ เหลา่ น ้ี มฉี นั ทะ (ความพอใจ) เปน็ มลู ราก (ฉนฺทมลู กา)1. 1. ดเู พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั สง่ิ ทม่ี ฉี นั ทะเปน็ มลู ไดท้ ห่ี นา้ 292. -ผรู้ วบรวม. 226
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ อุปาทานกบั อุปาทานขนั ธ์ 90 ไมใ่ ชอ่ ยา่ งเดียวกัน -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๐๑/๑๒๑. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อุปาทานกับอุปาทานขันธ์ ๕ นั้น เป็นอย่างเดียวกัน หรือว่าอุปาทานเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่อุปาทานขันธ์ ๕ พระเจ้าข้า. ภิกษุ อุปาทานกับอุปาทานขันธ์ ๕ น้ัน ไม่ใช่ อยา่ งเดยี วกนั แตอ่ ปุ าทานนนั้ กไ็ มไ่ ดม้ อี ยใู่ นทอี่ น่ื นอกไป เสียจากอุปาทานขันธ์ ๕ ภิกษุ ความกำ�หนัดด้วยอำ�นาจ ความพอใจ (ฉนั ทราคะ) ในอปุ าทานขนั ธ์ ๕ นนั่ แหละ นเ้ี ปน็ ตัวอปุ าทาน. 227
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ สญั โญชนแ์ ละทตี่ ั้งแห่งสัญโญชน์ 91 -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๐๒/๓๐๘. ภิกษุท้ังหลาย เราจักแสดงธรรมเป็นที่ตั้งแห่ง สัญโญชน์และสัญโญชน์ เธอทงั้ หลายจงฟัง. ภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมเป็นท่ีตั้งแห่งสัญโญชน์เป็น อย่างไร และสญั โญชน์เปน็ อย่างไร. ภกิ ษทุ งั้ หลาย รปู เปน็ ธรรมเปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ สญั โญชน ์ ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในรปู ชอ่ื วา่ สญั โญชน.์ ภิกษุท้ังหลาย เวทนา เป็นธรรมเป็นที่ตั้งแห่ง สญั โญชน ์ ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในเวทนา ช่อื ว่าสัญโญชน.์ ภิกษุท้ังหลาย สัญญา เป็นธรรมเป็นที่ต้ังแห่ง สญั โญชน ์ ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในสญั ญา ชอ่ื วา่ สญั โญชน.์ ภิกษุทั้งหลาย สังขาร เป็นธรรมเป็นท่ีตั้งแห่ง สญั โญชน ์ ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจในสงั ขาร ชื่อว่าสัญโญชน.์ 228
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณ เป็นธรรมเป็นท่ีตั้งแห่ง สัญโญชน์ ความกำ�หนัดด้วยอำ�นาจความพอใจใน วญิ ญาณ ชอื่ วา่ สัญโญชน.์ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ขนั ธเ์ หลา่ นเี้ รยี กวา่ ธรรมเปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ สญั โญชน ์ ฉนั ทราคะ (ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจ) นเ้ี รียกวา่ สญั โญชน.์ (ในสตู รอน่ื ทรงแสดง สญั โญชนยิ ธรรม ดว้ ยอายตนะภายในหก -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๑๐/๑๕๙. และอายตนะภายนอกหก -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๓๕/๑๘๙. -ผรู้ วบรวม) 229
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ ความผกู ติดกบั อารมณ์ 92 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๓/๖๖. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงช่ือว่า เป็นผู้มีการอย่อู ย่างมีเพอ่ื นสอง พระเจา้ ข้า. มิคชาละ รูปทั้งหลายท่ีจะรับรู้ได้ด้วยตา อันน่า ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มีลักษณะนา่ รัก เป็นทเี่ ขา้ ไป ตัง้ อาศยั อย่แู หง่ ความใคร่ เปน็ ท่ตี ั้งแหง่ ความก�ำ หนดั มีอย.ู่ ถา้ หากวา่ ภกิ ษยุ อ่ มเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมา ซงึ่ รปู นนั้ เมอ่ื ภกิ ษเุ พลดิ เพลนิ พร�่ำ ถงึ สยบมวั เมาซง่ึ รปู นนั้ อยู่ นนั ท ิ (ความเพลดิ เพลิน) ย่อมเกิดข้นึ . เมอ่ื นันทิ มีอยู่ สาราคะ (ความพอใจอยา่ งย่ิง) ยอ่ มมี เม่ือสาราคะ มีอยู่ สัญโญคะ (ความผูกติดกับอารมณ์) ย่อมม.ี มคิ ชาละ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ (นนทฺ สิ โฺ ชนสย ตุ โฺ ต) น่ันแหละ เราเรียกวา่ ผูม้ ีการอยอู่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง. มิคชาละ เสียงท้ังหลายที่จะรับรู้ได้ด้วยหู อันน่า ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี กั ษณะนา่ รกั … ถา้ หากวา่ ภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พรำ่�ถึง สยบมัวเมาซึ่งเสียงนั้น … 230
เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ นนั ทิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ (อปุ ปฺ ชชฺ ติ นนทฺ )ิ เมอ่ื นนั ทิ มอี ย ู่ (นนทฺ ยิ า สต)ิ สาราคะ ยอ่ มม ี (สาราโค โหติ) เมื่อสาราคะ มอี ยู่ (สาราเค สต)ิ สญั โญคะ ยอ่ มม ี (สโฺ โค โหติ). มคิ ชาละ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ นน่ั แหละ เราเรยี กวา่ ผู้มกี ารอยูอ่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง. มิคชาละ กลิ่นท้ังหลายที่จะรับรู้ได้ด้วยจมกู อันนา่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ น่าพอใจ มลี กั ษณะน่ารัก …ถ้าหากว่า ภกิ ษยุ อ่ มเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาซง่ึ กลน่ิ นน้ั … นนั ทิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ เมอ่ื นนั ทิ มอี ยู่ สาราคะ ยอ่ มมี เมอื่ สาราคะ มอี ยู่ สัญโญคะ ยอ่ มม.ี มคิ ชาละ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ นน่ั แหละ เราเรยี กวา่ ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พ่อื นสอง. มิคชาละ รสท้ังหลายท่ีจะรับรู้ได้ด้วยลิ้น อันน่า ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี กั ษณะนา่ รกั … ถา้ หากวา่ ภกิ ษยุ อ่ มเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาซง่ึ รสนน้ั … นนั ทิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ เมอ่ื นนั ทิ มอี ยู่ สาราคะ ยอ่ มมี เมอ่ื สาราคะ มอี ยู่ สัญโญคะ ยอ่ มม.ี 231
พทุ ธวจน - หมวดธรรม มคิ ชาละ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ นน่ั แหละ เราเรยี กวา่ ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง. มิคชาละ โผฏฐัพพะท้ังหลายท่ีจะรับรู้ได้ด้วยกาย อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก … ถ้าหากว่าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พรำ่�ถึง สยบมัวเมาซ่ึง โผฏฐพั พะนน้ั … นนั ทิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ เมอ่ื นนั ทิ มอี ยู่ สาราคะ ยอ่ มมี เมอ่ื สาราคะ มอี ยู่ สญั โญคะ ยอ่ มม.ี มคิ ชาละ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ นน่ั แหละ เราเรยี กวา่ ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง. มคิ ชาละ ธรรมทง้ั หลายทจี่ ะรบั รไู้ ดด้ ว้ ยมโน อนั นา่ ปรารถนา น่ารกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี ักษณะน่ารัก เป็นท่ีเขา้ ไป ตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำ�หนัดมีอยู่ ถา้ หากวา่ ภกิ ษยุ อ่ มเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาซง่ึ ธรรมนน้ั เม่ือภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำ�ถึง สยบมัวเมา ซ่ึงธรรมน้ันอยู่ นนั ทิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ เมอ่ื นนั ทิ มอี ยู่ สาราคะ ยอ่ มมี เมอ่ื สาราคะ มอี ยู่ สญั โญคะ ยอ่ มม.ี 232
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344