Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลวงตาเล่าให้ฟัง

Description: หลวงตาเล่าให้ฟัง

Search

Read the Text Version

ภาพขยายน�้ำเหลอื งที่มีผูเ้ กบ็ ไว้ จากแผลที่เทา้ ขา้ งซ้ายของหลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปนั โน





ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ วดั ปา่ บา้ นตาด หลวงตาเล่าใหฟ้ งั .-อดุ รธานี : หา้ งหุ้นสว่ นจำ� กดั เพือ่ นศลิ ป,์ ๒๕๕๕. ๑๙๒ หน้า ๑. พระธรรมวิสทุ ธมิ งคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปนั โน) ๒. พระธรรมเทศนา. I. ช่อื เร่ือง ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๗๖๒๒-๙๘-๐ พิมพค์ รั้งที่สอง : ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ จ�ำนวนพิมพ์ : ๑๐,๐๐๐ เล่ม (แจกเป็นธรรมทานห้ามจ�ำหนา่ ย) ออกแบบ/พมิ พท์ ี่ : หจก.เพอ่ื นศลิ ป์ Tel./Fax. : ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓ E-mail : [email protected] Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

พระประธาน บนศาลาวดั ปา่ บา้ นตาด

หลวงปู่เสาร์ กนฺตสโี ล

หลวงป่มู ั่น ภรู ิทตโฺ ต

หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมฺปนโฺ น

หลวงป่บู ญุ มี ปรปิ ณุ โฺ ณ “ทา่ นบญุ มกี อ็ ยนู่ าคณู อนั นก้ี ด็ วู า่ ๒๘ ปอี ยกู่ บั เรา มแี ตเ่ ราไลอ่ อกไป ใหไ้ ปตงั้ รากฐานภาวนาสะดวกสบาย อยู่กับผใู้ หญ่มันเกรงอกเกรงใจทา่ นตลอด...ทา่ นบญุ มีก็อยนู่ าคูณ น่อี ยกู่ ับเรามานานนะ ทา่ นเหล่านป้ี ฏบิ ตั ิดี ปฏบิ ัติชอบ ไมม่ ีทต่ี ้องตนิ ะ” เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดป่าบ้านตาด เมอ่ื เช้าวนั ท่ี ๔ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ อฐั ิเป็นพระธาตสุ ององค์

หลวงปูล่ ี กุสลธโร “เศรษฐีธรรมนะนนั่ ธรรมลขี องเล่นเมอ่ื ไร ใครไมร่ ูเ้ ศรษฐีธรรม ใครไมค่ อ่ ยรู้ ความเพียรเกง่ ไปกบั เรา ความเพยี รเกง่ ใจเด็ด” เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ป่าบา้ นตาด เมื่อวนั ที่ ๒๔ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ ทกุ ขไ์ มม่ แี กผ่ ไู้ ม่เกิด









สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินไปในการพระราชทานเพลิงสรีระสังขาร พระธรรมวิสุทธมิ งคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) ณ เมรุชั่วคราว วดั เกษรศลี คณุ (วดั ป่าบ้านตาด) ต�ำบลบ้านตาด อำ� เภอเมืองอดุ รธานี จงั หวัดอดุ รธานี วันเสารท์ ่ี ๕ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔ เวลา ๑๗ นาฬิกา

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า อทิตยาทรกิติคุณ เสด็จพระราชด�ำเนินไปในการพระราชทานเพลิงสรีระสังขารพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) ณ เมรุชั่วคราว วัดเกษรศีลคุณ (วัดป่าบ้านตาด) ต�ำบลบ้านตาด อ�ำเภอเมอื งอดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี วนั เสาร์ท่ี ๕ มีนาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๔ เวลา ๑๗ นาฬิกา

อัฐิ อฐั ิ ฟนั อฐั ิ อฐั ิ ฟนั อัฐิ เกศา

เกศา เกศา โลหิต, น�้ำเหลอื ง ปสั สาวะ 16

นำ้� เหลอื ง อัฐิ อัฐิ เสน้ ขน ฟัน 17

18

คำ� นำ�

คำ� ชแ้ี จงของคณะศิษยานุศิษย์ เนอ่ื งในโอกาสครบรอบ ๑ ปแี ห่งการนิพพานของ พระธรรมวิสทุ ธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมั ปนั โน) เวยี นมาบรรจบในวนั ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕ ผรู้ วมเรอ่ื งและคณะศษิ ยานศุ ษิ ย์ วดั ป่าบา้ นตาดจงึ ช่วยกันจดั ท�ำหนงั สอื และแผ่นซดี ีไวแ้ จกเป็นธรรมทานโดยม.ี .. วัตถุประสงคใ์ นการรวมเร่ือง ประวตั ิการภาวนาของหลวงตาพระมหาบวั ในครงั้ นี้ คือ ๑. เพ่ือศกึ ษาค�ำสอนผ่านประวตั ิการภาวนาของหลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ๒. เพื่อเทดิ ทูนบูชาและแสดงซึง่ กตเวทิตาพอ่ แม่ครอู าจารย์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมั ปันโน ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับจากการรวมเรือ่ ง ประวตั ิการภาวนาของหลวงตาพระมหาบัว ในครัง้ น้ี ๑. ผศู้ กึ ษาไดท้ ราบประวตั กิ ารภาวนา วธิ กี ารปฏบิ ตั แิ ละผลการปฏบิ ตั อิ ยา่ งชดั เจนตง้ั แตต่ น้ จนกระท่ังได้บรรลุธรรมสงู สดุ ๒. ทำ� ใหผ้ ทู้ ย่ี งั ไมม่ นั่ ใจเกดิ ความมนั่ ใจในการปฏบิ ตั ภิ าวนาตามคำ� สอนขององคห์ ลวงตาพระมหาบวั ๓. เป็นแบบอย่างให้แก่ผตู้ อ้ งการปฏบิ ตั ิเพือ่ ความพ้นทุกขใ์ นชาตปิ จั จบุ ัน ๔. ทำ� ให้เกดิ ความตืน่ ตัวในการรักษามรดกธรรมของหลวงตาพระมหาบัว ในฐานะพอ่ แม่ ครอู าจารยผ์ เู้ ปน็ เสาหลกั แหง่ วงกรรมฐานยคุ ปจั จบุ นั อยา่ งถกู ตอ้ ง และคงอยสู่ บื ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ๑. จากเสยี งกณั ฑ์เทศนท์ ีว่ ัดปา่ บา้ นตาดเก็บรักษาไวเ้ ท่าท่มี ีอยใู่ นปัจจบุ นั เป็นข้อมลู หลัก ๒. จากหนงั สอื ทห่ี ลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปันโน เขียนเองหรือได้ตรวจทานเอง ๓. จากการกราบเรียนถามครูอาจารย์ คือ หลวงปู่บุญมี ปริปณุ ฺโณ, หลวงปู่ลี กุสลธโร และ ครูอาจารยท์ ่านอื่นๆ ระยะเวลาในการจดั ทำ� หนงั สือ รวบรวมขอ้ มูลและจัดท�ำต้นฉบับ เร่มิ ต้งั แตว่ ันที่ ๑ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๕๔ ถงึ ๑๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ 20

ค�ำชแี้ จงขกอารงวคเิ ครณาะหะ์ขศ้อมษิ ูล ยานุศิษย์ 21 พค๑ ณร.ะะพธศริษรรยรมาวษเวนิสเิาุศุทนคิษธ่ื รยิม๒อว์างดั.คะงปลเหวา่ ใบ(์ขลหา้ ้อานลนวมตงโ๓าลูตดาโ.อจพดึงสรชยกถะ่วใมยาชาหกน้เันาขสทบจยีดััวี่ คทน๔ญำ� เหราร.ณนียเบังหสงสัมลตอื รปแ�ำุกันลดอาโะนบัรแบ)ผณน่เวท์ซียดี ี่เนีไกวม้แิดา๑จบขกรนึ้เรปจน็ บธ๕ใรนป.รวมบันที ทคุาแ่ีนค๓โหลด๐ยทม่ม่เีี.งก.ก.รย่ีากควมาข้อพรง.ศน.๒ิ๖๕พ.๕ว๕พิธผกี าู้ราวนรมเปรขื่อฏงิบอแลตั ะงิ ปวหภตัรลาะถวววุปนงตั รปาิกะขมู่สารองน่ั ภคงาใ์อนว๙งนก.คาาอท์รขรุบอ่าวงานมหยเลรก๗่อืวา.งงรตผสาลอพกนราะขรมอปหงฏาหบบิ ลัวัตวในภิงคปารวู่ม้งั นัน่นา้ี คขอือแงลอ้วงนคำ� ์ทมา่ านเรีย๘บ.เครยี�ำพงเดูปทน็ อี่ ปงรคะ์ทว่าตั นิกรา�ำรพภึงาหวรนือาพูดกับ ๑. เพ่ือศกึ ษาคำ� สอนผ่านประวัตกิ ารภาวนาของหลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน คว ริเูอคารจาาระยหห๒ห์ ล์ขนว.้อังงตมสาือูลพรระแวเมมลหพเ้วารบื่ จ่ือัวอัดงญทปเา�ำณรทระสิูปัมวดปเัตลนั ิกทโ่มนูาใรนนภลบาักูวษชนณาาขะอแทง่ีปหลรละะวชงแาตชาสนพทดร่ัวะงไมปหซส่ึาางบมัวากเรลถต่มอนเ่า้ีไนวดเข้รทว้าิ บใตจรไาวดม้งพ่าเยร่ ียอเบนแเื้อรหียมาง่ ปปข รรอะะงโวหยตั ชนิกนงัาต๑์ทรส.อภีค่ผือนาศู้าเวกึดลทนษวม่่ี า๑า่านไขจดห้ีแอะ้ทไงบรลดาหว่งบร้ ลองบัปวตรอจงะาากตวเกัตาเลกปิกพา่ าาน็รปรระภรรม๒าวะวหมนวตาเาตัรบอว่อื กิัวิธนงกีาใารนครภปคือฏาริบ้ังนนัตาิแ้ี ลเปะผน็ ลกกาารรปรฏวบิ มตั อิเรยอ่ืา่ งงชปดั เรจะนตวงั้ตั แกิตต่าน้ รภจนากวรนะทา่งั จไดา้บกรเรสลธุยี รงรกมสณั ูงสฑดุ ์ เทศนข์ อ๒ง.อทง�ำคใหท์ ้ผาู่ท้ นยี่ ังเไอมง่มเ่ันปใจน็ เกหิดลควกั ามเมพน่ั อื่ใจใใหนกผ้ าอู้รปา่ ฏนบิ รตั สู้ ิภกึาวเนหามตาอื มนคไ�ำสดอฟ้ นงัขหองลอวงคง์หตลาวฯงตทาพา่ รนะมเลหา่าบปัวระวตั กิ ารภาวนา ของตวั ท๓๔่า..นเทปเ�ำ็นอใแหงบ้เใกบหดิ อคเ้ยวร่าาางมใฟตห่นืแ้งั ตกตัวผ่ ั้งใู้ตนแอ้ กตงากรต่ ารร้นกั ปษจฏานมิบรัตไดดเิ พก้บธือ่ รครรวมราขลมอพุธง้นหรทลรวุกมงขตส์ใานูงพชสราะุดตมิปหัจาจบบุ ัวนั ในฐานะพ่อแม่ครูอาจารย์ผู้เป็นเสาหลักแห่งวง ก รรมฐานยตุคอปัจนจทุบนั่ี อ๒ยา่ งกถณัูกตฑอ้ ง์เทแลศะนคงท์ อหี่ย่สู ลืบวตงอ่ ตไปาไดเล้อย่า่าปงยรั่งะยวืนตั กิ ารภาวนา ได้น�ำมาลงไว้เฉพาะกัณฑท์ ่ีสำ� คัญ เก ตฉาอ่ พรกเากาะบ็รขรแอ๑วย.บงกจอราแวงกยคมเสขะท์ ยี อ้วงา่ กธมินณักีูลฑา์เรทปศฏน์ทบิ ่ีวตัดั ภปิ า่ าบว้านนตาาใดนเกแบ็ตรล่ กั ะษาขไน้ัว้เขทา่อทงม่ี หีอลยูใ่วนงปตจั าจฯบุ ันโเดปยน็ ขร้อกั มษลู หาภลกั าษาพดู อนั เปน็ เอกลกั ษณ์ ๒. จากหนังสือทีห่ ลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปันโน เขยี นเองหรอื ไดต้ รวจทานเอง ห๓.นจงัากสกอื ารเลกรม่ าบนเส้ีรียำ� นเถราจ็ มลครลุ อู ว่ างจไารปยไ์ คดือด้ หว้ ลยวดงปี บู่ เพุญมรีาปะรปิไดุณรฺ้โณบั ,คหวลวางมปเูล่ มี กตุสตลธาโจร าแกละหคลรูอวางจปารบู่ย์ทญุ ่านมอี ปนื่ ๆรปิ ณุ โฺ ณ ร ททะในุ่ี ยหเะรข้เวม่ิ อ้ ลตมารน้ ลวูในบใแรนกลวากมะรขาคจ้อรัดำ�มจทปลู ดั แ�ำรลพหกึะนมิจษังดัพาสทห์กอื�ำตาน้นรงัฉรสบวับอื มเเเลรรมิ่ ม่อ่ืตนัง้งแปี้ ตเรปว่ นัะน็ ทวเ่ีตัง๑นิกิ กจานั รำ�ยภานยาวนวนพน.๑ศา.ข๐๒อ๕๐๕ง,๕อ๐งถ๐คงึ ๐ห์๓ลบพวฤางศทตจิก(าหาแยนลนงึ่ะพแส.ศสน.๒นบั ๕บส๕า๕นทนุ ถปว้ จั นจ)ยั แเปลน็ะ ยังได้รบั ความเมตตาจากพระอาจารยส์ ุดใจ ทันตมโน ทีไ่ ดก้ รุณาตรวจทานต้นฉบบั พรอ้ มท้งั ตง้ั ชอ่ื ก หานรงัวสิเคอื รเาวลเิะค่มหรน์ขาะอ้ี้วหมา่ข์ ลู้อ“มหลู โลดยวใงชต้เขาียนเลเรา่ ยี ใงหล�ำฟ้ ดบััง”๑. พรรษา ๒. เวลา ๓. สถานท่ี ๔. เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขึ้น ๕. บุคคลทีเ่ ก่ยี วข้อง ๖. วธิ กี ารปฏบิ ัติภาวนาขององคท์ า่ น ๗. ผลการปฏบิ ัติภาวนาขององคท์ ่าน ๘. คำ� พดู ที่องค์ท่านรำ� พึงหรือพดู กบั หลวงปู่มน่ั ๙. อุบาย ก ารสอนขอนงหอลกวจงปาู่มกั่นนั้นแลยว้ ังนไำ� ดมา้รเับรียกบาเรรยี สงเปนน็ ับปสระนวตัุนกิ จาราภกาควนราูบาอาจารย์ท่านอ่ืนๆ รวมทั้งความร่วมมือจาก ฆราวาสหตนังลสอือรดวจมเนรื่อผงมู้ปรจี ะิตวตัศิกราทัรภธาาวนสามขอทงบหลทวุนงตใานพรกะามรหจาบดั วั พเลมิม่ นพ้ไี ห์ดร้ นวบงั รสวอืมใเนรยี คบรเร้ังยี นง ้ีวเิ คราะห์ขอ้ มูล แลว้ จดั ท�ำรปู เล่ม เ ใ พนอื่ลใักหษ้ผณู้อะ่าตตทนออปี่รนนูส้รกึททะเช่ีี่ ๒ห๑ามชกหอืนณั ลนทฑวไ่ัวงดเ์ ไทตฟ้ปศางัสเนหลาท์มล่าปหี่วารงลรตถะวาอวงฯตัต่านาิกทเเาลข่ารา่น้าภปใเาจลรนไะา่ ดาปวง้ ตัรเ่าปกิะยวาน็ รเัตกนภกิา้ือาารหวรรนภาวขามาอวเไรดนง่ือหน้างขนำ�ปมองั รสางะลตือวงวัเัตลไทวิก่ม่าเ้าฉนนรพแี้เภอาบางะง่วใกอนหณัอา้เรกจฑาเาท์ฟปกส่ีงั็นเตสำ� ค๒ง้ัยี แญังตตกตอณั่ตอ่ น้นแกฑลจาคเ์ะนทรือคแไศณดยนบ้ะกข์ ศรแอ๓พษิรยงล๐รยะอะุธาวงมมนรธิคกหรศุกี ท์มราษิาาา่พสรยคนปศิูงว์ มสเัดษิฏอดุปพยบิง่า์.เตัธศบปรีภิ.้า๒็นปาน๕หัญวต๕ลนโาญ๕กัดา ในแตล่ ะข้นั ของหลวงตาฯ โดยรักษาภาษาพูดอันเปน็ เอกลักษณ์เฉพาะขององค์ทา่ น หนงั สอื เล่มนีส้ �ำเร็จลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดี เพราะได้รับความเมตตาจากหลวงปบู่ ุญมี ปรปิ ณุ ฺโณ ทใ่ี ห้ขอ้ มูลและค�ำปรกึ ษาการ รวมเรอ่ื งประวตั กิ ารภาวนาขององคห์ ลวงตาและสนบั สนนุ ปจั จยั เปน็ ทนุ เรมิ่ ตน้ ในการจดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ นี้ เปน็ เงนิ จำ� นวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หน่ึงแสนบาทถ้วน) และยังได้รับความเมตตาจากพระอาจารย์สุดใจ ทันตมโน ที่ได้กรุณาตรวจทานต้นฉบับพร้อมทั้งต้ังช่ือ หนังสอื เล่มนี้วา่ “หลวงตาเลา่ ใหฟ้ ัง” นอกจากนั้นยังได้รับการสนับสนุนจากครูบาอาจารย์ท่านอื่นๆ รวมทั้งความร่วมมือจากฆราวาส ตลอดจนผู้มีจิตศรัทธา สมทบทนุ ในการจดั พิมพ์หนงั สือในคร้ังน้ี

สารบัญ ตอนที่ ๑ หลวงตาเลา่ ประวัตกิ ารภาวนา เหตุท่ีบวช ๑ ๒๓ ออกใชป้ ัญญาพจิ ารณาอสภุ ะ ๓ ๒๕ อยากภาวนา (พ.ศ. ๒๔๗๗) ทดสอบด้วยวิธีตา่ งๆ ต้ังความสัตย์ ๕ ๒๗ จติ ว่าง (กันยายน พ.ศ.๒๔๙๒) ๖ ๒๙ ออกปฏิบตั ิ (พ.ศ.๒๔๘๔) รู้สึกจะหมดหวัง (ตลุ าคม พ.ศ.๒๔๙๒) ๘ ๓๐ พบพระอาจารยม์ ัน่ (พ.ศ.๒๔๘๕) หมดแล้วที่พึง่ (๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๒) ๑๐ ๓๒ จิตเสื่อม (พ.ศ.๒๔๘๕) งงกบั ปญั หาธรรม (กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๙๓) ๑๒ ๓๔ ภาวนาตลอดร่งุ (พ.ศ.๒๔๘๖) โรคเจ็บขัดในหวั อก (เมษายน พ.ศ.๒๔๙๓) ๑๖ ๓๕ โยมพ่อเสีย (พ.ศ.๒๔๘๗) ไม่ส�ำคญั ตน ๑๗ ๓๘ ธรรมอศั จรรย์ (๑๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓) ติดสุข ๔๔๕๖ ๑๘22 เหน็ กายท่ีหนองผือ ลำ� ดบั ปกี ารจำ� พรรษา ตารางสรปุ หลวงตาเลา่ ให้ฟงั

ตอนท่ี ๒ กัณฑ์เทศน์ทีห่ ลวงตาเล่าประวตั กิ ารภาวนา ๔๙ ๑๑๓ เทศนอ์ บรมพระ เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดปา่ บ้านตาด วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๐๗ ณ วดั ปา่ บ้านตาด วนั ที่ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๔๑ ความโงแ่ ละความสงสยั /ความวา่ งของจติ . พดู เปิดอกในสภา. ๖๐ ๑๓๓ เทศน์อบรมพระ เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดปา่ บ้านตาด วนั ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๒๑ ณ วดั ป่าบ้านตาด วนั ท่ี ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๔๓ บ๋อยกลางเรือนของกเิ ลส. บญุ ญาบารมขี องพน่ี ้องชาวไทย. ๗๗ ๑๔๗ เทศน์อบรมพระ เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ บ้านตาด วันท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๒๑ ณ วัดป่าบ้านตาด วนั ที่ ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๕๐ ธรรมทายาท. ผีใหญม่ าหา. ๙๓ ๑๕๗ เทศนอ์ บรมพระ บรรณานกุ รม ณ วดั ปา่ บ้านตาด วนั ที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๓๐ ความลกึ ลับซบั ซอ้ นของจิตวิญญาณ. 23

ตอนท่ี ๑ หลวงตาเลา่ ประวตั กิ ารภาวนา หลวงตาเลา่ ใหฟ้ งั หลวงตา ภาวนาฆา่ กิเลส เลา่ เพยี งเศษส่วนนอ้ ยพอได้รู้ ให้ ลกู หลานไดค้ ตลิ องคดิ ดู ฟงั แลว้ สู รธู้ รรมจรงิ ย่งิ จะทำ� 24

เหตทุ ี่บวช หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน เกิดเม่ือวันอังคารท่ี ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๖ ณ ตำ� บลบา้ นตาด อ�ำเภอเมือง จงั หวัดอุดรธานี บิดาชอื่ นายทองดี มารดาชอ่ื นางแพง นามสกุล โลหิตดี เป็นบตุ รคนที่ ๒ ในจำ� นวนพี่น้อง ๑๖ คน สำ� เร็จการศึกษาช้นั ประถมปที ี่ ๓ ซงึ่ เปน็ การ ศกึ ษาภาคบงั คบั สงู สดุ ในขณะนนั้ เมอื่ ทา่ นมอี ายสุ มควรทจี่ ะบวช โยมพอ่ ของทา่ นพดู วา่ “กขู อใหม้ นั บวชทีไร มนั ไม่เคยตอบ มนั ไม่เคยพดู เหมอื นไม่มปี ากไมม่ หี ูว่าง้นั เวลากตู ายแล้วจะไม่มีใครลากกขู นึ้ มา จากหม้อนรกเลย เลี้ยงลูกไว้หลายคนเท่าไร กูพอจะได้อาศัย มันก็ไม่ได้เร่ือง ถ้ากูอาศัยบักบัวน้ี ไมไ่ ดแ้ ลว้ กกู ห็ มด” พอวา่ อยา่ งนนั้ นำ้� ตาพอ่ รว่ งปบุ๊ ปบั ๆ เรามองไปเหน็ แมเ่ องมองเหน็ พอ่ นำ�้ ตารว่ ง แม่ก็นำ้� ตาร่วง เรากโ็ ดดออกจากทร่ี ับประทานปุ๊บปับ๊ หนีไปเลย นนั่ แหละเปน็ ตน้ เหตทุ ่ีให้เรา ตดั สนิ ใจบวช๑ ๑ เทศนอ์ บรมพระ ณ วัดป่าบา้ นตาด วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๒ คนจริงยอ่ มถึงธรรมจริง. 1

สดุ ทา้ ยทจี่ ะไดบ้ วชน้ี นี่ อำ� นาจแหง่ พอ่ แม่ นี่ล่ะ เป็นส่วนส�ำคัญที่ว่าพ่อแม่รักลูกมาก รักเรา แล้วเราก็รักพ่อแม่ สะดุดใจถึงกับ รักอย่างที่ว่านี้เสียสละทุกอย่างแล้วมามอบ สะเทอื น... คำ� วา่ พอ่ แมร่ กั ลกู เสยี สละทกุ อยา่ ง ความไว้วางใจให้ลูกเพียงเท่าน้ันไม่ได้เรื่อง ลกู ทกุ คนเราเหน็ อยู่ เวลาพอ่ แมเ่ ลยี้ งลกู เราดอู ยู่ พอ่ แมน่ ำ�้ ตาตกเลย เสยี ใจมากทเี ดยี ว ถา้ กหู วงั พง่ึ เราเป็นลูกผู้ใหญ่ดูลูกผู้น้อยที่พ่อแม่เลี้ยงดู ไอน้ ไ่ี มไ่ ดแ้ ลว้ กไู มม่ วี นั หวงั ใครแหละ ลกู ทงั้ หมด ทกุ อยา่ งๆ ประมวลเขา้ มาในตวั ของเราหมด นลี่ ะ กไู มห่ วงั กหู วงั พง่ึ คนเดยี วเทา่ นน้ั มนั ถงึ ใจ กกึ เลย! เหตทุ ่ีจะสละบวชได้ สรุปความลงได้ ท่เี ราบวชน้ี น่ีล่ะ เรียกว่าพ่อแม่รักลูก รักอย่างไรบ้าง กเ็ พราะพอ่ แมร่ กั เราทส่ี ดุ ลกู ทกุ ๆ คนเลย้ี งเอาเปน็ พิจารณาเอาทุกคน ออกมาจากหัวตับหัวปอด เอาตายเข้าว่าเลย ทุกๆ คนจนกระท่ังมาถึง พอ่ แมม่ าใหล้ กู ไมเ่ สยี ดายอะไรทง้ั หมดชวี ติ จติ ใจ ตัวของเราก็เล้ียงแบบเดียวกันเลย แล้วท�ำไม มอบใหล้ กู หมดเลย นี่จงึ เรยี กวา่ “ความรกั ”๒ พอ่ แมข่ อเพยี งเทา่ น้ี ขอไมไ่ ดม้ อี ยา่ งหรอื ลกู ทง้ั คน บิดา มารดา และนอ้ งสาว ของหลวงตา 2 ๒ เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วดั ปา่ บ้านตาด วนั ท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๑ พระไตรปฎิ กใน พระไตรปฏิ กนอก.

อยากภาวนา (พ.ศ. ๒๔๗๗) ทา่ นไดบ้ รรพชาอปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษุ ณ วดั โยธานมิ ติ ร บา้ นหนองขอนกวา้ ง ตำ� บลหนองบวั อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั อุดรธานี เม่อื วนั องั คารท่ี ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๗ ตรงกบั วนั ข้นึ ๙ ค�ำ่ เดือน ๗ ปีจอ พระธรรมเจดีย์ (จมู พนั ธโุ ล) วดั โพธสิ มภรณ์ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั อุดรธานี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปลดั ออ่ นตา เขมังกโร วัดโยธานมิ ติ ร เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ ตั้งแต่ก่อนท่ีเป็นนาคอยู่ในโบสถ์ในวัดน้ันก็เห็นท่านพระครูตอนเช้าๆ ท่านลงเดินจงกรม แตเ่ ช้า ตี ๔ ท่านลงไปเดนิ จงกรม พอสวา่ งแลว้ ท่านก็เข้าโบสถ์แล้วไหวพ้ ระท�ำวตั รเช้า พอเสร็จแล้ว พระกอ็ อกบณิ ฑบาต นเ้ี ปน็ ประจำ� อยวู่ ดั โยธานมิ ติ ร... เวลาบวชแลว้ กเ็ รยี นภาวนากบั ทา่ น อยากภาวนา แลว้ จะภาวนายังไง ท่านว่า “เอ้อ พุทโธนะ ภาวนาพทุ โธนะ เรากภ็ าวนาพุทโธเหมือนกนั ” ทา่ นวา่ ง้ัน เรากจ็ บั เอานนั้ มาภาวนา ภาวนาสะเปะสะปะตามภาษภี าษาคนอยากภาวนาแตย่ งั ไมร่ ผู้ ล เปน็ ยงั ไงก็ภาวนาไป บงั คบั จิตให้สงบไม่นานเอาสติไม่อยสู่ ติกเ็ ผลอ สตเิ ผลอไปแล้วจิตจะสงบไม่ได้ เมอื่ สตเิ ผลอ แลว้ กน็ อนภาวนา วนั หลงั เวลาไหนภาวนากต็ ง้ั สตไิ ดข้ ณะแรกครน้ั ตอ่ ไปกเิ ลสลากแลว้ สติก็อ้าปากไมม่ ีหวัง กเิ ลสเอาไปกนิ แล้ว กท็ �ำไป... หยุดเรียนหนังสือแล้วเราสละเวลาหนึ่งชั่วโมง นั่งภาวนาอย่างนี้ก่อนนอน เป็นความชอบใจมนี สิ ยั ชอบอยู่อยา่ งนน้ั ลึกๆ 3

บทเวลามันจะเป็น นึกพุทโธๆ ภาวนา ที่สงบให้ขยายตัวออกมาถอนออกมาเสีย โอ๊ย! ไปตามประสีประสาก็ไม่เคยเห็นผลจาก เสียดาย พยายามทำ� อกี มันก็ไมไ่ ด้... การภาวนาวา่ จะเป็นอยา่ งไร จะว่าสงบ พอนกึ พทุ โธๆ จติ ทมี่ นั ซา่ นอยนู่ นั้ ดว้ ยความคดิ ความปรงุ ท�ำวันหลังขยับใส่เรื่อยมันก็ไม่ได้เรื่อง ตา่ งๆ เหมอื นเราตากแหไว้ ทนี พ้ี อระลกึ พทุ โธๆ เพราะสญั ญาอารมณม์ นั ไปหมายอดตี ทเ่ี คยเปน็ มันเหมือนเราดึงจอมแหเข้ามาเป็นอย่างนั้น มาแลว้ ... มนั ไมอ่ ยกู่ บั พทุ โธใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั มนั กเ็ ลย ตีนแหก็หดเข้ามาย่นเข้ามาๆ ค่อยหดเข้ามาๆ ไม่ได้เร่ือง... จนกระทั่งจิตใจมันเหมือนหน่ึงว่า ก็เป็นจุดที่ให้จิตสนใจมากขึ้น มันก็จ่อเข้าไป หมดหวงั โอ๊ย! ได้ไมไ่ ดช้ า่ งเถอะ ทำ� ไปอย่างน้ี สตจิ อ่ เขา้ ไปเรอื่ ยๆ มนั คอ่ ยหดเขา้ มา กระแสของจติ ทีน้ีมันก็ปล่อยอารมณ์ที่มันไปคาดไปหมายไว้ คอ่ ยยน่ เขา้ มาๆ ยน่ เขา้ มาจนกระทง่ั ถงึ ใจเลยนะ ในอดีต เข้ามาเป็นปัจจุบันแล้วมันก็ลงได้อีก นเี่ ปน็ ครง้ั แรกทเี่ ราบวชใหมๆ่ เรายงั ไมร่ เู้ รอื่ งรรู้ าว ลงอัศจรรย์เหมือนเดิมแล้วก็เป็นบ้าขึ้นอีกนะ พอเข้ามาถึงใจแล้วหยุดก๊ึกเลยเทียวนะ ทีนี้ วันหลังขยับใหญ่จะเอามันก็ไม่ได้อีกแหละ... ปรากฏว่ามันว่างหมดเลย ยังเหลืออยู่เฉพาะ นเ่ี ราสรปุ เลยว่าเราเรียนหนังสอื อยู่ ๗ ปี เราไดจ้ ติ ความร้ทู ่เี ดน่ อศั จรรย์ โอ๊ย! เกดิ ความอัศจรรย์ ทสี่ งบแบบนี้ ๓ หน ไดส้ ามหนเทา่ นนั้ เรยี นหนงั สอื ตื่นเต้นนะเวลานั้น โอ๊ย! ท�ำไมจิตเราอัศจรรย์ ตง้ั เจด็ ปีเตม็ ๆ แตม่ นั ได้หลักไว้แล้วนั้นนะ คือมัน เอาขนาดน้ี เราก็ไม่เคยเหน็ เคยไดย้ ิน วนั นี้ ไม่ถอนความเช่ือท่จี ติ เปน็ ของอัศจรรย๓์ ไดป้ รากฏแลว้ ทนี คี้ วามตน่ื เตน้ มนั เลยไปเขยา่ จติ 4 ๓ เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ สวนแสงธรรม วันท่ี ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ กิริยาท่ีขวางสมมติ.

นเ่ี ลา่ เปน็ คตใิ หห้ มเู่ พอ่ื นฟงั เรอื่ งความจรงิ จงั เรยี นๆ จรงิ ๆ ไมถ่ อย แตส่ ำ� คญั ทเ่ี รยี นธรรมะ เขา้ ไปตรงไหนมันสะดุดใจ เอ๊ะๆ ชอบกลๆ เข้าๆไปเรื่อยๆ... อ่านพุทธประวัติเขา้ ไปและอ่านสาวก ประวตั ิเขา้ ไปอีก โอ้โฮ ทนี ีใ้ จหมนุ ติ้วๆ น่นั แลเรอ่ื งท่ีจะอยู่ไป เร่อื งภายนอกก็คอ่ ยจืดไปจางไปๆ เร่ืองธรรมะก็หมุนติ้วๆ ดูดด่ืมเข้าไปเร่ือยๆ... อยากพ้นทุกข์เหลือก�ำลัง พูดง่ายๆ อยากเป็น พระอรหนั ตน์ นั่ เอง เหน็ พระพทุ ธเจา้ กเ็ ปน็ พระอรหนั ต์ สาวกทง้ั หลายออกมาจากสกลุ ตา่ งๆ สกลุ พระราชา มหาเศรษฐี กฎุ มุ พี พอ่ คา้ ประชาชน ตลอดคนธรรมดา องค์ไหนออกมาจากสกลุ ใด ไปบำ� เพญ็ ในปา่ ในเขาหลงั จากไดร้ บั พระโอวาทจากพระพทุ ธเจา้ แลว้ เดยี๋ วองคน์ นั้ สำ� เรจ็ พระอรหนั ต์ อยู่ท่ีนนั่ องค์น้นั สำ� เร็จอยู่นัน่ อยูใ่ นปา่ นน้ั อยู่ในเขาลูกนน้ั ในทำ� เลนี้ มีแตท่ ี่สงบสงัด การประกอบ ความพากเพียรของท่านท�ำอย่างเอาจริงเอาจัง เป็นเน้ือเป็นหนัง เอาเป็นเอาตายเข้าว่าจริงๆ ทา่ นไมท่ ำ� เหลาะๆ แหละๆ เลน่ ๆ ลูบๆ คลำ� ๆ เหมือนอยา่ งเราทง้ั หลายทำ� ผลของท่านแสดงออกมา เป็นความอศั จรรยเ์ ป็นพระอรหันต์วิเศษๆ นล่ี ะมนั ถงึ ใจ๔ ต้ังความสตั ย์ ความเชอ่ื วา่ พระพุทธเจ้าตรสั รกู้ ด็ ี สาวกอรหันต์ทั้งหลายตรสั รเู้ ปน็ ผ้บู รสิ ทุ ธิ์ก็ดี รู้สกึ จะมี ความเช่ือมนั่ เข้าอย่างเต็มที่ตามนิสัยของปถุ ชุ น เหตทุ จ่ี ะเปน็ อุปสรรคแก่ตนเองอยู่ในระยะเร่ิมต้นนก้ี ค็ ือ (๑) สงสยั ปฏปิ ทาทเี่ ราดำ� เนินไปตามทา่ นนีจ้ ะถึงจดุ ทีท่ ่านถึงหรือไม่ (๒) หรือวา่ ทางเหลา่ นจี้ ะกลายเป็นขวากเป็นหนามไปเสีย (๓) หรอื จะกลายเปน็ ทางผดิ ไปเสยี ทงั้ ๆ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ และสาวกทง้ั หลายเดนิ ทางสายนไี้ ปแลว้ ถงึ แดนแห่งความเกษม น่เี ปน็ เร่อื งสงสยั ปฏิปทาอันเปน็ ฝ่ายเหตุ ท่ีน้ีฝ่ายผล ก็เป็นเหตุให้มีความสงสัยอีกเช่นเดียวกันว่าเวลาน้ีมรรคผลนิพพานจะมีอยู่ 5 เหมือนครัง้ พทุ ธกาลหรอื ไม่ ความสงสยั ท่ปี รากฏอยู่ ภายในใจเช่นน้ี ไม่สามารถระบายใหผ้ ใู้ ด ผหู้ นงึ่ ฟงั ไดเ้ พราะเขา้ ใจวา่ จะไมม่ ใี ครสามารถแกไ้ ขความสงสยั ของเราใหห้ มดไปจากจติ ใจ จงึ เปน็ เหตุ ใหม้ คี วามสนใจและมงุ่ ทจ่ี ะพบทา่ นพระอาจารยม์ น่ั อยเู่ สมอ แมจ้ ะไมเ่ คยเหน็ หนา้ เหน็ ตาทา่ นกต็ าม แตไ่ ดย้ นิ กติ ตศิ พั ทก์ ติ ตคิ ณุ ของทา่ นฟงุ้ ขจรมาจากจงั หวดั เชยี งใหมว่ า่ ทา่ นเปน็ พระส�ำคญั โดยมาก ผู้ที่มาเลา่ ให้ฟงั นัน้ จะไมเ่ ล่าข้ันธรรมในอริยภมู ิธรรมดา แตจ่ ะเลา่ ถึงอรหนั ตภูมขิ องท่านทัง้ นั้น จงึ เปน็ เหตใุ หม้ นั่ ใจวา่ เมอ่ื เราไดศ้ กึ ษาใหเ้ ตม็ ภมู คิ วามสตั ยข์ องเราทต่ี ง้ั ไวแ้ ลว้ ยงั ไงเราจะตอ้ งพยายาม ๔ เทศน์อบรมพระ ณ วัดปา่ บ้านตาด วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๒ คนจรงิ ย่อมถงึ ธรรมจริง.

วัดเจดยี ์หลวงวรวหิ าร ไปอยู่ส�ำนักของท่าน ศึกษาอบรมจากท่าน เพ่ือจะตัดข้อข้องใจในความสงสัยของเรา ที่มีฝงั ใจอยู่ ณ บัดน้ี ความสัตย์ท่ีเคยต้ังไว้ต่อตนเองน้ัน คือ การสอบเปรยี ญขอใหจ้ บเพยี ง ๓ ประโยคเทา่ นน้ั ส่วนนักธรรมจะได้ขั้นไหนก็ตามไม่เป็นปัญหา เม่ือเปรยี ญได้จบ ๓ ประโยคแลว้ จะออกปฏบิ ัติ โดยถา่ ยเดยี ว จะไมย่ อมศกึ ษาเลา่ เรยี นและสอบ ประโยคตอ่ ไปเปน็ อนั ขาด นเี่ ปน็ ความสตั ยท์ ต่ี ง้ั ไว๕้ วดั เจดีย์หลวงวรวหิ าร ออกปฏิบตั ิ (พ.ศ.๒๔๘๔) พอเดนิ ทางไปถงึ จงั หวดั เชยี งใหม่ กเ็ ผอญิ ท่านพระอาจารย์มั่นถูกท่านเจ้าคุณธรรมเจดีย์ จังหวัดอุดรธานีอาราธนานิมนต์ท่านให้ไปพัก จ�ำพรรษาอยู่ท่ีจังหวัดอุดรธานี ท่านก�ำลังออก เดนิ ทางออกจากทวี่ เิ วกมาพกั อยทู่ วี่ ดั เจดยี ห์ ลวง จงั หวดั เชยี งใหมไ่ ลเ่ ลยี่ กนั กบั ทางนไ้ี ปถงึ ... คราวนน้ั ทา่ นพกั อยทู่ ว่ี ดั เจดยี ห์ ลวงไมก่ ว่ี นั กอ็ อกเดนิ ทาง มาจังหวัดอุดรธานีกับคณะลูกศิษย์ของท่าน สว่ นเราพยายามเรยี นหนงั สอื อยทู่ วี่ ดั เจดยี ห์ ลวง พอสอบเปรยี ญไดก้ เ็ ขา้ ไปกรงุ เทพฯ เพอื่ มงุ่ หนา้ อ อ ก ป ฏิ บั ติ ก ร ร ม ฐ า น ต า ม ค� ำ สั ต ย ์ ท่ี ตั้ ง ไ ว ้ แต่ถูกผู้ใหญ่ (พระญาณดิลก ภายหลังได้เป็น สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ พมิ พ์ ธมั มธโร) สงั่ ใหอ้ ยทู่ นี่ น่ั ด้วยความเมตตาหวังอนเุ คราะห์ทางดา้ นปริยตั ิ พยายามหาทางหลกี ออกเพอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามความตง้ั ใจ และค�ำสัตย์ที่ต้ังไว้แล้ว... พอมีโอกาสปลีกตัว 6 ๕ เทศนอ์ บรมพระ ณ วัดป่าบ้านตาด วนั ที่ ๒๗ มนี าคม ๒๕๐๗ ความโงแ่ ละความสงสัย/ความว่างของจิต.

ออกจากกรงุ เทพฯ ได้ในเวลานั้น... ตอนกลางคนื กเ็ ขา้ นัง่ ตง้ั สจั จาธษิ ฐานขอบนั ดาลจากพระธรรม เพอื่ เปน็ การสนบั สนนุ ความแนใ่ จในการออกคราวน.้ี ..ถา้ จะไดอ้ อกปฏบิ ตั กิ รรมฐานตามทไ่ี ดต้ ง้ั คำ� สตั ย์ โดยความสะดวกดว้ ย ออกไปแลว้ จะไดส้ มความปรารถนาด้วย ขอให้เร่อื งนมิ ิตที่แปลกประหลาด ไดแ้ สดงขึน้ ภายในใจของเราในคนื วนั นี้ จะรทู้ างด้านภาวนาก็ตาม จะรู้ทางด้านคำ� ฝนั กต็ าม เพราะวันนี้ ไดต้ ัง้ คำ� สตั ยไ์ ว้ อธิษฐานไวอ้ ย่างน้ี ขอให้มีนมิ ติ แปลกประหลาดขึ้นมา แต่ถา้ หากว่าออกไปแลว้ ไมส่ มหวงั กด็ ี หรอื ไม่ไดอ้ อกก็ดี นมิ ติ ท่ีแสดงขึน้ มาน้นั ใหแ้ สดงเหตทุ ีไ่ มส่ มหวงั ซ่ึงไม่พอใจ... พอหลับลงไปเท่าน้ันปรากฏว่าได้เหาะขึ้นไปบนอากาศ เวลาที่เหาะข้ึนไปนั้นปรากฏว่า ไดเ้ หาะขน้ึ จากพระนครหลวงแตไ่ มใ่ ชเ่ ปน็ พระนครหลวงกรงุ เทพฯ เรา จะเปน็ นครหลวงอะไรกไ็ มท่ ราบ กวา้ งจนสุดสายหูสายตา แลว้ ก็เหาะรอบพระนครหลวงนัน้ ๓ รอบแล้วกลับลงมา พอกลับลงมาถึงทแ่ี ลว้ พอดกี ต็ ่ืนขึ้นมาตี ๔ พอด.ี .. พอฉนั จงั หนั เสร็จแล้วกเ็ ข้าไปลาสมเดจ็ กราบลาสมเด็จมหาวรี ะวงศ์ ทา่ น (สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ อ้วน ติสโฺ ส เจ้าอาวาสวดั บรมนวิ าส) กพ็ อดบี ญุ ก็ช่วย ทา่ นกย็ นิ ดีให้ไปได๖้ ออกมาทีแรกก็มาจำ� พรรษาโคราช อำ� เภอจักราช เพราะตามทา่ นอาจารยม์ น่ั ไม่ทนั ก็เรง่ ตงั้ แตม่ าถงึ ทแี รก ไมน่ านจติ กไ็ ดค้ วามสงบเพราะทำ� ทง้ั วนั ทง้ั คนื ไมย่ อมทำ� งานอะไรทงั้ นนั้ นอกจาก งานสมาธภิ าวนาเดนิ จงกรมอยา่ งเดยี วตามประสาของคนลม้ ลกุ คลกุ คลานนนั่ แหละ จติ มนั กส็ งบ ได้ ก็เร่งใหญเ่ ลย... ตอนนัน้ สมาธิไม่ใช่เล่นเหมือนกนั นะ แน่นปึง๋ เลยเทยี ว แน่ใจวา่ มรรคผล นพิ พานมแี ล้ว เพราะจิตมนั แนน่ ป๋ึงไมส่ ะทกสะท้านกับอะไร๗ ณ สวนแสงธรรม 7 ๖ แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๒-๒๒๔. วันท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๒๑ ธรรมทายาท. ๗ เทศนอ์ บรมพระ ณ วัดปา่ บ้านตาด

รูปป้นั หลวงปู่มน่ั วดั ปา่ บ้านโคก พบพระอาจารยม์ ั่น กุฏหิ ลวงปู่มนั่ วัดป่าบา้ นโคก (พ.ศ.๒๔๘๕) 8 จากนครราชสีมา มาจงั หวัดอดุ รธานีน้ี จุดประสงค์ก็เพื่อจะมาให้ทันพระอาจารย์มั่น ซงึ่ จำ� พรรษาอยทู่ ว่ี ดั โนนนเิ วศน์ อดุ รธานี แตก่ ม็ า ไม่ทันท่านเพราะท่านถูกนิมนต์ไปจังหวัด สกลนครเสยี กอ่ น จงึ เลยไปพกั อยทู่ วี่ ดั ทงุ่ สวา่ ง จงั หวดั หนองคายประมาณสามเดอื นกวา่ พอถงึ เดือนพฤษภาคม ๒๔๘๕ ก็ออกเดินทางจาก หนองคายไปจงั หวดั สกลนครและเดนิ ทางตอ่ ไป ถึงวัดท่านพระอาจารย์มั่นท่ีตั้งอยู่บ้านโคก ตำ� บลตองโขบ... ในบทธรรมทแี่ สดงใหฟ้ งั ในคนื วนั ทไ่ี ปถงึ ...เปน็ บทธรรมทฝ่ี งั ลกึ อยภู่ ายในใจจน บัดนว้ี า่ “ทา่ นมหากน็ บั วา่ เรยี นมาพอสมควรจน ปรากฏนามเปน็ มหา ผมจะพดู ธรรมใหฟ้ งั เพอ่ื เปน็ ข้อคิด แต่อย่าเข้าใจว่าผมประมาทธรรมของ พระพทุ ธเจา้ นะ เวลานธ้ี รรมทท่ี า่ นเรยี นมาไดม้ าก ได้น้อยยังไม่อ�ำนวยประโยชน์ให้ท่านสมภูมิ ท่ีเป็นเปรียญ นอกจากจะเป็นอุปสรรคต่อการ ภาวนาของทา่ นในเวลานเี้ ทา่ นนั้ เพราะทา่ นจะ อดเป็นกังวลและน�ำธรรมที่เรียนมานั้นเข้ามา เทียบเคียงไม่ได้ในขณะที่ท�ำใจสงบ ดังนั้น เพอื่ ความสะดวกในเวลาจะทำ� ความสงบใหแ้ กใ่ จ ขอให้ท่านที่จะท�ำใจให้สงบยกบูชาไว้ก่อนใน บรรดาธรรมที่ท่านได้เรียนมา ต่อเม่ือถึงกาล ที่ธรรมซึ่งท่านเรียนมาจะเข้ามาช่วยสนับสนุน

ใหท้ า่ นไดร้ บั ประโยชนข์ น้ึ มากแลว้ ธรรมทเ่ี รยี นมาทงั้ หมดจะวง่ิ เขา้ มาประสานกนั กบั ทางดา้ นปฏบิ ตั ิ และกลมกลืนกันได้อย่างสนิท ทั้งเป็นธรรมแบบพิมพ์ซ่ึงเราควรจะพยายามปรับปรุงจิตใจให้เป็น ไปตามดว้ ย แตเ่ วลานผ้ี มยงั ไมอ่ ยากจะให้ทา่ นเป็นอารมณ์กบั ธรรมที่ท่านเลา่ เรียนมา อยา่ งไรจิต จะสงบลงไดห้ รอื จะใชป้ ญั ญาคน้ คดิ ในขนั ธก์ ข็ อใหท้ า่ นทำ� อยใู่ นวงกายนก้ี อ่ นเพราะธรรมในตำ� ราทา่ น ชเ้ี ขา้ มาในขนั ธท์ ง้ั นน้ั แตห่ ลกั ฐานของจติ ยงั ไมม่ จี งึ ไมส่ ามารถนำ� ธรรมทเี่ รยี นมาจากตำ� รานอ้ มเขา้ มา เป็นประโยชน์แกต่ นไดแ้ ละยังจะกลายเป็นสญั ญาอารมณ์ คาดคะเนไปทอี่ น่ื จนกลายเปน็ คนทไ่ี ม่มหี ลกั เพราะจิตติดปริยัติในลักษณะไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า ขอให้ท่านน�ำธรรมที่ผมพูดให้ฟังไปคิดดู ถ้าท่านตั้งใจปฏิบัติไม่ท้อถอย วันหน่ึงข้างหน้าธรรมที่กล่าวน้ีจะประทับใจท่านแน่นอน” เทา่ ทจ่ี �ำได้ในวนั นั้นกน็ �ำมาเล่าให้ฟังเพียงเทา่ น้ี๘ ไปอยกู่ บั ทา่ นไดป้ ระมาณสกั ๔-๕ คนื เทา่ นนั้ ละ่ มงั ความฝนั นกี้ เ็ ปน็ เรอื่ งความฝนั อศั จรรย์ เหมอื นกนั ฝนั ว่าได้สะพายบาตร แบกกลด ครองผา้ ด้วยดไี ปตามทางอนั รกชัฏ สองฟากทางแยก ไปไหนไมไ่ ด้ มแี ตข่ วากแต่หนามเตม็ ไปหมด... พอไปถึงท่ีแหง่ หนงึ่ ก็มกี อไผห่ นาๆ ล้มทบั ขวางทางไว้ หาทางไปไม่ได้... ช่องท่ีทางเดินไปตรงนั้นแหละเป็นช่องนิดหน่อยพอท่ีจะบึกบืนไป...เจ้าของ ก็คืบคลานไป... พยายามบึกบึนกันอยู่น้ันเป็นเวลานาน พอดีเจ้าของก็พ้นไปได้ ข้างหน้าเป็น มหาสมทุ รมองไปฝง่ั โนน้ ไมม่ ี เหน็ แตฝ่ ง่ั ทเี่ จา้ ของยนื อยเู่ ทา่ นนั้ และมองเหน็ เกาะหนง่ึ อยโู่ นน้ ไกลมาก เรากข็ นึ้ นงั่ เรอื ...พอไปถงึ เกาะนนั้ แลว้ ...ขนึ้ บนฝง่ั ...ปนี เขาขนึ้ ไปๆ กไ็ ปเหน็ ทา่ นอาจารยม์ น่ั ...กำ� ลงั นงั่ ตำ� หมากจอ๊ กๆ อยู่ “อา้ ว! ทา่ นมหามาไดย้ งั ไงน?ี่ ทางสายนใี้ ครมาไดเ้ มอื่ ไหร่ ทา่ นมหามาไดย้ งั ไงกนั ?” “กระผมนัง่ เรือมา ขึ้นเรอื มา” “โอ้โฮ ทางนีม้ ันมายากนา ใครๆ ไมก่ ล้าเสีย่ งตายมากันหรอก เอา้ ถ้าอย่างนัน้ ต�ำหมากใหห้ นอ่ ย” ท่านก็ยนื่ ตะบันหมากให้ เรากต็ �ำจ๊อกๆๆ ได้ ๒-๓ จ๊อกเลยรู้สกึ ตวั ตื่น พอตน่ื เชา้ มากเ็ ลยไปเลา่ ความฝนั ใหท้ า่ นฟงั ทา่ นพดู ทำ� นายไดด้ มี าก “เออ้ ทฝ่ี นั นเ้ี ปน็ มงคล อย่างย่ิงแล้วนะ นี้เป็นแบบเป็นฉบับในปฏิปทาของท่านไม่เคลื่อนคลาดนะ ให้ท่านด�ำเนินตาม ปฏปิ ทาทีท่ ่านฝนั นี้ เบื้องตน้ จะยากลำ� บากที่สุดนะ ท่านต้องเอาใหด้ ี ทา่ นอย่าทอ้ ถอย เบอ้ื งตน้ นี้ ลำ� บาก ดทู า่ นลอดกอไผม่ าทงั้ กอนนั้ แหละล�ำบากมากตรงนน้ั เอาใหด้ ี อยา่ ถอยหลงั เปน็ อนั ขาด พอพน้ จากนน้ั ไปแลว้ กเ็ วงิ้ วา้ งไปไดส้ บายจนถงึ เกาะ อนั นน้ั ไมย่ าก ตรงนตี้ รงยากนา...เปน็ กบั ตาย ท่านอย่าถอยตรงนี้ ครั้งแรกน้ียากท่ีสดุ ”๙ ๘ 9 ๙ แวน่ ดวงใจ หน้า ๒๒๔-๒๒๕. วนั ท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๒๑ ธรรมทายาท. เทศนอ์ บรมพระ ณ วดั ป่าบา้ นตาด

กฏุ ิหลวงปู่มัน่ วัดปา่ บ้านโคก จิตเส่ือม (พ.ศ.๒๔๘๕) 10 กอ่ นทจ่ี ะเขา้ อยปู่ ฏบิ ตั กิ บั ทา่ นอาจารยม์ น่ั น้ัน ทา่ นไปพกั ณ บ้านเกดิ เน่ืองจากเอากลด เกา่ มาใชม้ นั จงึ ขาดหลดุ ลยุ่ เลยไปทำ� กลดหลงั หนงึ่ ปรากฏวา่ ในดา้ นสมาธเิ รม่ิ เสอื่ มลงเปน็ เวลาหนง่ึ ปี ห้าเดือน ขน้ั ทลี่ ม้ ลกุ คลกุ คลานกเ็ หมอื นอยา่ งเราๆ ท่านๆ ทง้ั หลายท่ีปฏิบัติอย่นู ี้แล เอาเกอื บเป็น เกือบตายก็ให้มันเหยียบเอาๆ อยู่นั้น เหมือน เขน็ ครกขน้ึ บนจอมปลวก กลง้ิ ไปมนั กลงิ้ ทบั หวั เรา ต่อหน้าต่อตาเพราะเราไม่มีก�ำลังสามารถ ต้านทานมันไว้ได้ นี่กิเลสซึ่งเป็นเหมือนครก ก็เหมือนกันเวลามีอ�ำนาจมากมันกล้ิงทับเรา อย่างน้ันเหมือนกัน ผมเคยเป็นมาแล้วทั้งนั้น ไม่ใช่เอามาคุยอวดหมู่เพ่ือนนะ ผมพูดไปตาม ความเปน็ จรงิ บางทนี ำ้� ตารว่ งกดั ฟนั นะ เมอ่ื ไร กจู ะไดเ้ อามงึ สกั ทนี ะ ถงึ ขนาดนน้ั นะ...อยา่ งคราว ทวี่ า่ จติ เสอื่ มนน้ั แหละ เราไดเ้ หน็ ประจกั ษต์ วั ทเี ดยี ว จิตเข้าได้บ้าง ไม่ได้บ้าง แต่ก่อนเข้าได้สนิทๆ เหมือนหินนะเวลามันเป็น จิตเป็นสมาธิแน่น เหมือนหิน สุดท้ายมันก็เสื่อมเพราะความ ไม่รอบคอบของตวั เอง ไมร่ ้จู กั วิธีรกั ษา... เราเปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ เวลามนั เสอ่ื มลง ไปนี้ ความเคียดความแค้นน้ี แหม...ทกุ ข์ ทกุ ข์ แสนสาหัสไม่มีอะไรทุกข์ยิ่งกว่าในหัวใจเรานะ ไมม่ อี ะไรทกุ ขย์ ง่ิ กวา่ สมาธเิ สอ่ื ม แตก่ อ่ นไมไ่ ดส้ มาธิ

จิตไม่เป็นสมาธิมันก็เทียบกันได้กับคนท่ีเขาหาเช้ากินเย็นนั่นแหละ เขาไม่เคยมีเงินหมื่นเงินแสน เงนิ ลา้ น เขาจะเอาอะไรมาเสยี ใจเพราะความลม่ จมของเงนิ หมน่ื เงนิ แสนเงนิ ลา้ นเลา่ เขาหาเชา้ กนิ เยน็ เขาสบายกวา่ คนมเี งนิ แสนเงนิ ลา้ นทล่ี ม่ จมไปดว้ ยเหตกุ ารณอ์ นั ใดอนั หนง่ึ ผนู้ นั้ จะรอ้ นมากทสี่ ดุ นกี่ ็เหมอื นกนั คนท่ไี ม่เคยเจอสมาธิกจ็ ะเอาอะไรมาเดือดร้อน๑๐ พระอาจารยม์ นั่ ใหก้ ำ� ลงั ใจวา่ “นา่ เสยี ดาย มนั เสอื่ มไปทไี่ หนกนั นา เอาเถอะทา่ นอยา่ เสยี ใจ จงพยายามทำ� ความเพยี รเขา้ มากๆ เดยี๋ วมนั จะกลบั มาอกี แนๆ่ มนั ไปเทยี่ วเฉยๆ พอเราเรง่ ความเพยี ร มนั กก็ ลบั มาเอง หนจี ากเราไปไมพ่ น้ เพราะจติ เปน็ เหมอื นสนุ ขั นน่ั แล เจา้ ของไปไหนมนั ตอ้ งตดิ ตาม เจา้ ของไปจนได้ นถ่ี า้ เราเรง่ ความเพยี รเขา้ ใหม้ าก จติ กต็ อ้ งกลบั มาเองไมต่ อ้ งตดิ ตามมนั ใหเ้ สยี เวลา มนั หนีไปไหนไมพ่ ้นเราแนๆ่ จงพยายามท�ำความเพยี รเข้าให้มากเชยี ว มนั จะกลบั มาในเร็วๆ นี้แล ไม่ตอ้ งเสยี ใจให้มันได้ใจ เดยี๋ วมันว่าเราคิดถงึ มนั มากมนั จะไม่กลับมา จงปลอ่ ยความคิดถงึ มันเสีย แลว้ ให้คดิ ถึงพทุ โธตดิ ๆ กันอย่าลดละ พอบรกิ รรมพทุ โธถ่ียิบติดๆ กนั เข้า มนั ว่งิ กลบั มาเอง คราวน้ี แมม้ นั กลบั มากอ็ ยา่ ปลอ่ ยพทุ โธ มนั ไมม่ อี าหารกนิ เดยี๋ วมนั กว็ ง่ิ กลบั มาหาเรา จงนกึ พทุ โธเพอ่ื เปน็ อาหารของมันไว้มากๆ เมือ่ มนั กนิ อม่ิ แล้วตอ้ งพกั ผ่อน เราจะสบายขณะทีม่ ันพักสงบตัวไมว่ ิ่งว่นุ ขนุ่ เคอื งเทย่ี วหาไฟมาเผาเรา ท�ำจนไลม่ นั ไมย่ อมหนไี ปจากเรา นนั่ แลพอดกี บั ใจตวั หวิ โหยอาหาร ไมม่ วี นั อม่ิ พอ ถา้ อาหารพอกบั มนั แลว้ แมไ้ ลห่ นไี ปไหนมนั กไ็ มย่ อมไป ทำ� อยา่ งนนั้ แลจติ เราจะไมย่ อม เส่ือมต่อไป คือไม่เสื่อมเมื่ออาหารคือพุทโธพอกับมัน จงท�ำตามแบบที่สอนน้ีท่านจะได้ไม่เสียใจ เพราะจติ เสือ่ มแลว้ เสอ่ื มเล่าอกี ต่อไป”๑๑ กต็ ง้ั คำ� มนั่ สญั ญาขนึ้ อกี วา่ ถงึ อยา่ งไรเราจะน�ำบทบรกิ รรมมากำ� กบั จติ ใจทกุ เวลาไมว่ า่ เขา้ สมาธิ ออกสมาธิ ไมว่ ่าจะไปทีไ่ หน อยูท่ ี่ใด แมท้ ่ีสดุ ปัดกวาดลานวดั หรือท�ำกิจวัตรต่างๆ จะไมย่ อมให้จติ พลง้ั เผลอจากคำ� บรกิ รรมคอื พทุ โธ... ตอ่ มาจติ ทมี่ คี วามเจรญิ เชน่ นน้ั เปน็ ลำ� ดบั ๆ ขน้ึ มากเ็ ลยไมเ่ สอ่ื ม เปน็ เหตใุ หร้ ูอ้ ีกทีหนึง่ ว่า อ้อ เรอ่ื งที่เคยเสอื่ มนนั้ เสอื่ มเพราะว่าเราขาดคำ� บรกิ รรมแลว้ เปน็ การ เผลอสติไปในระยะนนั้ ๆ จงึ เปน็ เหตุให้จิตเส่ือมได้ในระยะน้นั ๑๒ ๑๐ 11 ๑๑ ๑๒ เทศน์อบรมพระ ณ วดั ป่าบ้านตาด วันท่ี ๒๕ มนี าคม ๒๕๒๙ สารธรรมในตน. ประวตั ิทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ัตตเถระ หน้า ๒๔๑. ความโง่และความสงสัย/ความว่างของจติ . เทศนอ์ บรมพระ ณ วดั ปา่ บ้านตาด วนั ท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๐๗

ภาวนาตลอดรุ่ง (พ.ศ.๒๔๘๖) พระธาตพุ นม จ.นครพนม พรรษาที่ ๑๐ ความเพยี รและความหกั โหม มันเริ่มมาตั้งแต่ยังไม่เข้าพรรษาเดือนเมษายน และพฤษภาคมนะ่ มาจากพระธาตพุ นมกบั พอ่ แม่ ครอู าจารย์ ทา่ นไปเผาศพพอ่ แมค่ รอู าจารยเ์ สาร์ กลับมา ก็ไปรับท่านมาด้วยกัน ก็เข้ามาอยู่ บา้ นนามน จำ� พรรษาทนี่ น่ั มนั หมนุ ตว้ิ ๆ เรม่ิ แต่ โน่นแลว้ สมาธเิ ริ่มแนน่ ไมเ่ สอื่ มอกี มาแต่เดือน เมษายน๑๓ กลางวนั พอฉนั จงั หนั เสรจ็ แลว้ ลา้ งบาตร ลา้ งอะไร เชด็ บาตรเรยี บรอ้ ยแลว้ ไมเ่ ขา้ ถลกแหละ เอาไปวางปบุ๊ แลว้ เขา้ ทางจงกรมเลย ฟดั มนั จน โนน้ ๑๑ โมงเปน็ อยา่ งนอ้ ยหรอื เทย่ี งวนั ออกมา จากทางจงกรมกพ็ กั ออกจากพกั กน็ ง่ั ภาวนาราว ชวั่ โมงกล็ งเดนิ จงกรมอกี แลว้ อยา่ งนนั้ เปน็ ประจำ� ถ้าวันไหนร่างกายมันบอบช้�ำมากจิตลงได้ยาก วันนน้ั แหละไดน้ งั่ พบั เพยี บ นง่ั พับเพยี บฉนั จังหัน มนั เหมอื นไฟเผาอยกู่ น้ บางทไี ดเ้ อามอื คลำ� ดนู ะ ก้นพองหรือ คล�ำดูก็ไม่พอง กระดูกทุกส่วน เหมอื นจะแตก กลางวนั กต็ ามมนั เจบ็ ปวดรวดรา้ ว ไปหมดไม่ใช่เฉพาะเวลาเรานั่งภาวนาจึงปวด กระดกู ตามรา่ งกายสว่ นตา่ งๆ เหมอื นมนั จะแตก จะหักเพราะมันบอบช้�ำมาตั้งแต่กลางคืน ฉะนน้ั จงึ ตอ้ งเดนิ ใหม้ ากทเี ดยี วในเวลากลางวนั หรือกลางคืนท่ไี ม่ได้นง่ั ตลอดร่งุ ๑๔ 12 ๑๓ ๑๔ เทศน์อบรมพระ ณ วัดป่าบ้านตาด วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๒๕ หลักแห่งการอยรู่ ว่ มกนั -ชยั ชนะบนเวทธี รรม. เทศนอ์ บรมพระ ณ วัดปา่ บ้านตาด วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๒๔ ศาสนาคอื น�้ำดับไฟ.

ตอนนงั่ ภาวนาตลอดรงุ่ ตงั้ แตเ่ รมิ่ คนื แรกเลย พจิ ารณาทกุ ขเวทนา แหม! มนั ทกุ ขแ์ สนสาหสั นะ ทแี รกกไ็ มน่ กึ วา่ จะนง่ั สมาธภิ าวนาตลอดรงุ่ นง่ั ไปๆ ทกุ ขเวทนาเกดิ ขน้ึ ๆ พจิ ารณายงั ไงกไ็ มไ่ ดเ้ รอ่ื ง เอะ๊ ! มนั ยงั ไงกนั นวี่ ะ! เอา้ ! วนั นตี้ ายกต็ าย เลยตง้ั อธษิ ฐานในขณะนน้ั เรมิ่ ตงั้ แตบ่ ดั นไ้ี ปจนถงึ สวา่ ง ถึงจะลกุ เอ้า! เปน็ กเ็ ปน็ ตายกต็ าย! จากนน้ั ก็ฟาดกันเลยทีเดียวจนกระทั่งจิตซงึ่ ไม่เคยพจิ ารณา ปัญญายงั ไมเ่ คยออกแบบน้ันนะ แตพ่ อเวลามนั จนตรอกจนมุมจรงิ ๆ โอย๋ ! ปญั ญามันไหวตัว ทันเหตุการณ์ทุกแง่ทุกมุม จนกระท่ังรู้เท่าทุกขเวทนา รู้เท่ากาย รู้เร่ืองจิต ต่างอันต่างจริง มันพรากกันลงอย่างหายเงียบเลยท้ังๆ ที่เราไม่เคยเป็นอย่างนั้นมาก่อนเลย กายหายในความรู้สึก ทุกขเวทนาดบั หมดเหลอื แตค่ วามรทู้ ่ีสักแต่รู้ ไม่ใชร่ ้เู ดน่ ๆ ชนดิ คาดๆ หมายๆ ได้นะ คอื สักแต่ว่ารู้ เทา่ นนั้ แตเ่ ปน็ สงิ่ ทลี่ ะเอยี ดออ่ นทสี่ ดุ อศั จรรยท์ สี่ ดุ ในขณะนนั้ พอถอนขนึ้ มากพ็ จิ ารณาอกี แตก่ าร พจิ ารณาเราจะเอาอุบายตา่ งๆ ที่เคยพิจารณาแลว้ มาใช้ขณะนั้นไมไ่ ดผ้ ล มนั เป็นสัญญาอดีตไปเสีย ต้องผลิตข้ึนมาใหม่ให้ทันกับเหตุการณ์ในขณะน้ันจิตก็ลงได้อีก คืนน้ันลงได้ถึง ๓ คร้ังก็สว่าง โอ๋ย! อศั จรรย์เจา้ ของละซ.ิ .. จิตท่ีมันรู้แล้วมันรู้ชัดตั้งแต่คืนแรกนะ ที่ว่าจิตเจริญแล้วเส่ือม เจริญแล้วเสื่อมก่อนมา ภาวนาถงึ ขน้ั นัง่ ตลอดรงุ่ ทแี รก มนั กไ็ ม่เสอื่ มตง้ั แตเ่ ดอื นเมษามากไ็ มเ่ สอ่ื ม แตม่ นั กย็ งั ไม่ชดั พอมาถงึ คืนวนั นน้ั แล้วมันชัดเจน เอ้อ ตอ้ งอยา่ งน้ไี ม่เสื่อมน่ะ เหมือนกับว่ามนั ปนี ข้นึ ไป ตกลง ปีนขนึ้ ไป ตกลง พอปีนข้นึ ไปเกาะตดิ ปั๊บนไี้ มเ่ สือ่ ม มันรูแ้ ลว้ ๑๕ ดว้ ยความปตี ยิ นิ ดอี ยากเลา่ ถวายผลแหง่ การปฏบิ ตั ขิ องตนตอ่ ทา่ น เมอ่ื ขดั ขอ้ งประการใด ทา่ นจะไดช้ แ้ี จงใหเ้ ราทราบ นก่ี อ็ อกผงึ ๆๆ เลย... ทา่ นกน็ ง่ิ ฟงั ทกุ กทิ กุ กนี ะ พอเลา่ จบลง...พอเราหยดุ ทีนี้ท่านก็ผางขน้ึ มาเลย เหน็ ไหมธรรมตอ่ ธรรมถงึ กนั “เออ ตอ้ งอย่างนั้นซิ ถกู ตอ้ งแลว้ ท่ีน่”ี เหน็ ไหมล่ะ เวลาท่านข้นึ เรากห็ มอบ “เอ้าทีนีถ้ กู ตอ้ งแล้ว ได้หลักไดเ้ กณฑแ์ ลว้ เอ้าๆ ฟาดมันเลย อตั ภาพ เดียวนีม้ นั ไมไ่ ดต้ ายถงึ ห้าหน” ทา่ นวา่ “มนั ตายหนเดยี วเทา่ น้นั แหละ คราวนี้ไดห้ ลกั ไดเ้ กณฑ์ แลว้ เอาให้หนกั ” ทา่ นว่าอย่างนนี้ ะ๑๖ นบั แตข่ ณะเรม่ิ นง่ั จนถงึ ขนั้ เวทนาใหญเ่ กดิ ขนึ้ ถา้ ผยู้ งั ไมเ่ คยประสบมากอ่ นกน็ า่ จะไมท่ ราบวา่ 13 อนั ไหนเปน็ เวทนาเลก็ อนั ไหนเปน็ เวทนาใหญ่ กลวั จะเรม่ิ เหมาไปแตเ่ วทนาเลก็ ซง่ึ เปน็ เพยี งลกู หลาน ของมันเท่าน้ันว่าเป็นเวทนาใหญ่ไปเสียหมด ท้ังท่ีเวทนาใหญ่ยังไม่ต่ืนนอนก็เป็นได้ แต่ถ้าผู้เคย ประสบมาแล้วก็ทราบได้ทันทีว่าเป็นเวทนาอะไรเพราะเวทนาใหญ่จะเร่ิมปรากฏตัวนับแต่ห้าหก ชวั่ โมงลว่ งไปแลว้ กอ่ นหนา้ นมี้ แี ตเ่ วทนาเลก็ ซงึ่ เปรยี บกบั ลกู ๆ หลานๆ เทา่ นนั้ มาเยย่ี มหยอกเลน่ ๑๕ เทศนอ์ บรมพระ ณ วัดปา่ บา้ นตาด วนั ที่ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๒๑ ธรรมทายาท. ๑๖ เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ป่าบา้ นตาด วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ มีข้อบังคบั ตนเองวันเข้าพรรษา.

กฏุ หิ ลวงปู่ม่ัน วดั ป่าบ้านนามน พอใหร้ ำ� คาญ เวทนาใหญเ่ ม่ือเกดิ ข้ึนเต็มท่ีแลว้ อวยั วะสว่ นตา่ งๆ ปรากฏวา่ เจบ็ ปวดรวดรา้ วและ 14 ระบมไปหมดราวกบั จะแตกทลายลงในขณะนน้ั จรงิ ๆ ความออกรอ้ นตามหลงั มอื หลงั เทา้ รนุ แรง มากเหมอื นมคี นมากอ่ ไฟหงุ ตม้ แกงอะไรๆ ในที่ นน้ั กระดกู ในอวยั วะสว่ นตา่ งๆ เหมอื นมคี นเอา ค้อนมาทุบตีให้แตกให้หักไปในขณะนั้นเพราะ ความเจ็บปวดแสบร้อนสาหัสจนไม่มีที่ปลงวาง ร่างกายจติ ใจลงได้เลย ปรากฏเปน็ กองเพลิงไป ทัง้ ร่าง ส่ิงที่จะสามารถต้านทานกันได้เวลานั้น มีแต่สติปัญญาศรัทธาความเพียรมีความอด ความทนเปน็ เครอื่ งหนนุ หลงั ไมย่ อมถอยทพั กลบั แพ้ขา้ ศึกทก่ี �ำลังโหมกันมาอย่างเต็มที่ มสี ติกับ ปัญญาเท่านั้นที่ต้องผลิตข้ึนมาด้วยอุบายต่างๆ เพื่อให้ทันกับเวทนาในเวลาน้ัน โดยแยกแยะ กาย เวทนา จิต ออกทดสอบเทียบเคียงกันดู จนทราบความจรงิ ของแตล่ ะสงิ่ อยา่ งชดั เจนดว้ ย ปญั ญา การแยกแยะไมว่ า่ แยกแยะกายกบั เวทนา หรือแยกแยะจิตกับเวทนา สติกับปัญญาต้อง หมุนต้ิวอยู่ในวงงานที่ท�ำจะส่งออกไปอื่นไม่ได้ เวลานนั้ ทกุ ขเวทนาแสดงตวั มากเพยี งไร สตปิ ญั ญา ยง่ิ พจิ ารณาไมห่ ยดุ หยอ่ นเพอื่ รคู้ วามจรงิ ในสง่ิ ท่ี ประสงคอ์ ยากรอู้ ยากเหน็ อยากเขา้ ใจ เวทนาจะ ก�ำเริบหรือลดตัวลงหรือว่าจะดับไปก็ให้รู้ ประจักษใ์ นวงการพิจารณาเปน็ สำ� คัญ ขอ้ สำ� คญั อยา่ ตง้ั ความหวงั ใหท้ กุ ขด์ บั ไป โดยทพ่ี จิ ารณายงั ไมเ่ ขา้ ใจความจรงิ ของกายของ เวทนาและของจติ วา่ ตา่ งอนั ตา่ งเป็นความจริง

ของตนอยา่ งไรกนั แน่ พจิ ารณาจนเขา้ ใจทง้ั กายทงั้ เวทนาทงั้ จติ เมอ่ื เขา้ ใจดว้ ยสตปิ ญั ญาจรงิ ๆ แลว้ กายก็สกั แตว่ ่ากายไมไ่ ด้นยิ มว่าตนเปน็ ทกุ ขเ์ ปน็ เวทนา เวทนากส็ กั แต่ว่าเวทนาอยูเ่ ทา่ นน้ั ไม่นยิ มวา่ ตนเป็นกายเป็นจิต แม้จิตก็สักแต่ว่าเป็นจิตอยู่เท่านั้นไม่นิยมว่าตนเป็นกายเป็นเวทนาดังท่ีเคย ส�ำคัญแบบสุ่มๆ เดาๆ มาแต่เวลาท่ียังมิได้พิจารณาให้เข้าใจ พอสติปัญญาพิจารณารอบแล้ว ทกุ ขเวทนาท้ังหลายกด็ บั ลงในขณะนัน้ ไม่กำ� เริบตอ่ ไป จติ ก็รวมลงอย่างสนิทชนิดไมร่ ับรู้กันเลย อีกประการหนึง่ แมจ้ ิตจะไม่รวมลงถงึ ขน้ั ดับสนิทแตก่ ม็ ิได้รบั ความกระทบกระเทอื นจาก เวทนา คือ กายกจ็ รงิ เวทนาก็จริง จิตก็จริง ตา่ งอนั ตา่ งจริง ต่างอันต่างอยูต่ ามความจริงของตน ขณะทต่ี า่ งอนั ตา่ งจรงิ นนั้ จะไดเ้ หน็ ความอศั จรรยข์ องจติ และเหน็ ความอาจหาญของจติ วา่ สามารถ แยกตนออกจากเวทนาทั้งหลายได้อย่างอัศจรรย์เกินคาด นอกจากนั้นยังเกิดความอาจหาญ ต่อความเป็นความตายที่ขวางหนา้ อยอู่ ยา่ งไม่สะทกสะท้านใดๆ อีกด้วย เน่ืองจากไดเ้ หน็ หน้าตา เวทนาทเ่ี คยหลอกลวงใหก้ ลวั เปน็ กลวั ตายอยา่ งประจกั ษใ์ จแลว้ ในขณะนน้ั คราวตอ่ ไปแมเ้ วทนา จะแสดงความกลา้ สาหสั มากมายขนาดใด ใจกส็ ามารถพจิ ารณาไดท้ ำ� นองทเี่ คยพจิ ารณาและเขา้ ใจ มาแล้ว การรู้เห็นอย่างน้ีแลคือการรู้เห็นสัจธรรมด้วยสติปัญญาแท้ แม้จะมิใช่รู้เห็นขั้นเด็ดขาด ฟาดกเิ ลสใหจ้ มไปโดยสน้ิ เชงิ กต็ าม แตก่ เิ ลสจะจมมดิ หวั ไมม่ ฟี น้ื ไดก้ ต็ อ้ งอาศยั วธิ นี เ้ี ปน็ เครอ่ื งดำ� เนนิ ในวาระต่อไป๑๗ จงึ ไดเ้ รง่ เตม็ ทเี่ ต็มฐานในพรรษานน้ั ออ้ ๙ คืน ๑๐ คนื กวา่ ๆ แต่ไม่ติดกนั บางทกี ็เวน้ ๖-๗ คนื ก็มี จนเปน็ ทแ่ี นใ่ จในเรอื่ งของทกุ ขเวทนาหนกั เบามากนอ้ ย๑๘ ความเพยี รของเราเปน็ นสิ ยั ผาดโผนดงั ทเ่ี คย เลา่ ใหฟ้ งั พอ่ แมค่ รจู ารยต์ อ้ งรงั้ เอาไวๆ้ ตลอดเพราะเปน็ นสิ ยั ผาดโผน พอวา่ นง่ั ตลอดรงุ่ มนั จะเอาจรงิ ก้นแตก เอา้ แตก! กิเลสยงั ไม่แตกกไู มถ่ อย แนะ่ ! น่ังเอาจนกน้ แตกนัน่ ล่ะน่งั ตลอดรุ่งๆ เอา้ แตกกแ็ ตก ไปซะ! กิเลสไมแ่ ตกกยู งั ไม่ถอย พอ่ แมค่ รจู ารย์ก็ร้งั เอาไว้ ขึน้ ไปน่งั ปบั๊ กราบลง “มา้ ตัวไหนมนั คกึ คะนองมาก” เรายังไมไ่ ดพ้ ดู นะท่านขึ้นแลว้ “ตวั ไหนมนั คกึ คะนองมากไมฟ่ งั เสียง การฝึกทรมาน ของเจ้าของแล้วเขาต้องฝึกอย่างหนัก ไม่ควรกินหญ้าไม่ให้กิน ไม่ควรกินน้�ำไม่ให้กิน แต่การฝึก ฝึกเอาอย่างหนัก เอาจนกระท่ังม้าน้ีค่อยลดพยศลงๆ การฝึกของเขาก็ค่อยลดลงๆ จนกระทั่ง ม้าท�ำงานตามค�ำส่ังของสารถีเรียบร้อยแล้ว การฝึกอย่างน้ันเขาก็ระงับไป” ท่านพูดเท่าน้ันละ มนั ก็มาเขา้ เราป๊ับ เรากไ็ ม่เคยนงั่ ตลอดรุง่ อกี นะ๑๙ หลังจากน้ันมาแลว้ ก็เจริญเรื่อยๆๆ จิตนีเ้ ปน็ หินไปเลย คือความแน่นหนามัน่ คงของสมาธิ มนั ชำ� นาญพอจนเปน็ เหมอื นกบั หนิ ทง้ั แทง่ ไมห่ วนั่ ไหวอะไรงา่ ยๆ เลยตดิ สมาธนิ อ้ี ยถู่ งึ ๕ ปเี ตม็ ๆ๒๐ ๑๑๑๒๘๐๗๙ปเเเทททฏศศศปิ นนนท์อ์์ออาบบบขรรรอมมมงฆพพพรรรราะะะวธณณาดุ สงววคณดัดั กปปรว่า่ารดั บบมปา้า้ฐ่านนาบนตตา้ าานสดดตาววยานันัดทททา่ วน่ี่ี นั ๓๓พท๑๑ร่ี ะ๑ตตอ๖ลลุุ าาาจพคคาฤมมรษย๒๒ภ์ม๕๕า่ันค๒๒ภม๑๑รู ๒ิทธธ๕ตั รรต๕รรเมม๐ถททราาะหยยนาาหเททดน..ยี ้าว๑เท๖า่ ๑นั้น-ไ๑ม๖เ่ ป๖น็ .อีก. 15

โยมพ่อเสยี (พ.ศ.๒๔๘๗) เราก�ำลังเร่งความเพียรอยู่ในป่าตอน พอน่ังตี ๔ ปรากฏวา่ นอ้ งพ่อนั้นแหละ ๑๑ พรรษา อยศู่ รสี งครามนนั่ ละ่ พอ่ เสยี ปนี น้ั ๒๑ คอื อาถอื จดหมายเขา้ มายนื่ ให้ บอกวา่ พอ่ เสยี แลว้ จ�ำพรรษาๆ หนึ่ง จ�ำด้วยกันสามองค์ตั้งแต่ปี เสยี เดยี๋ วนว้ี า่ งน้ั นะ พอ่ เสยี แลว้ พอตน่ื เชา้ ขน้ึ มา ๒๔๘๗-๘๘ จ�ำพรรษาท่ีน่ัน...ไปสามผงก็ กบ็ อกหมเู่ พอ่ื น “เออนง่ั ภาวนาอยเู่ มอ่ื คนื นเี้ ปน็ ประมาณ ๑๑-๑๒ กิโล... อันนี้ก็แบบเดิม ยังไงแปลก อยู่ๆ ก็อาน้องของพ่อน่ันละเอา ไมค่ อ่ ยฉนั จงั หนั ละ่ อนั นแ้ี บบหนงึ่ ทางศรสี งคราม จดหมายมายื่นให้ ไม่ได้อ่านจดหมายล่ะ บอกวา่ ไม่ค่อยฉันจังหัน ความเพียรหนัก๒๒ ตอนนั้น พ่อเสียแล้ว” พอออกจากที่ภาวนาก็เล่าให้ เป็นตอนท่ีเราก�ำลังออกประกอบความเพียร หมู่เพื่อนฟัง “ให้จดไว้นะ วันน้ีล่ะวันท่ีปรากฏ เร่งความเพียรเป็นปีที่พ่อเสียนะ จิตวิญญาณก็ ในภาวนาว่าพ่อเสีย วันน้ีล่ะจดไว้นะ” ๗ วัน แปลกอยู่ จิตวญิ ญาณมันถึงกนั นะนัง่ ภาวนาอยู่ จดหมายก็มาถึง พ่อเสีย เสียในคืนนั้นพอดี ดเู ปน็ พรรษาที่ ๑๑...ทำ� กระตอ๊ บเลก็ ๆ กระตอ๊ บ มันก็แปลกอยู่นะ นี่ล่ะบอกหมู่เพ่ือนจดไว้ สำ� หรับฉัน ๓ องคน์ ี้ ๓ องคร์ วมกันฉัน สว่ นทพ่ี กั น้ัน “จำ� ไวน้ ะมนั จะจรงิ หรอื ไมจ่ รงิ ภาวนานนี้ ะ” มาจรงิ เอาหญา้ มงุ ทำ� แครน่ สี้ งู จากพนื้ เทา่ นน้ั พอ กลางคนื จรงิ ๆ นะพอ่ ก็เสยี ตอนนน้ั ก�ำลงั เรง่ ภาวนา๒๓ ตี ๔ เอ๊ะ มันแปลกอยู่ จนได้สั่งหมู่เพื่อนไว้ท่ไี ป ดว้ ยกนั สององค์ กฏุ ิหลวงตา วดั ป่าบา้ นตาด พ.ศ. ๒๔๙๘ 16 ๒๑ ๒๒ เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดป่าบา้ นตาด วนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ศรทั ธาพ่อกบั แม่เสมอกนั . ๒๓ เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ปา่ บ้านตาด วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ความเอาใจใสใ่ นครูบาอาจารย์. เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ บา้ นตาด วันท่ี ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ เมาหนเดียว.

ติดสขุ เมอ่ื จติ ไดแ้ นว่ อยใู่ นสมาธนิ น้ั อยสู่ กั กช่ี วั่ โมงกอ็ ยไู่ ด้ นล่ี ะมนั ตดิ ไดอ้ ยา่ งนเี้ อง สดุ ทา้ ยกน็ กึ วา่ ความรู้ท่ีเด่นๆ อยู่น้ีเองจะเป็นนิพพานอันน้ีจะเป็นนิพพาน จ่อกันอยู่น้ันว่าจะเป็นนิพพานๆ สดุ ทา้ ยมนั กเ็ ปน็ สมาธอิ ยอู่ ยา่ งนนั้ ละจนกระทงั่ วนั ตาย กจ็ ะตอ้ งเปน็ สมาธแิ ละตดิ สมาธจิ นกระทง่ั วนั ตายถ้าไม่มคี รูบาอาจารย์มาฉดุ ลากออก ผมเองก็คอื หลวงปู่มั่นมาฉดุ ลาก เถยี งกนั เสยี จนตาด�ำ ตาแดง จนกระทัง่ พระท้ังวดั แตกฮือกันมาเตม็ อยูใ่ ตถ้ ุน นเี่ พราะฟงั การโตก้ ับหลวงปู่มัน่ ไม่ใชโ่ ต้ ดว้ ยทฐิ มิ านะอวดรอู้ วดฉลาดนะ โตด้ ว้ ยความเรากเ็ ขา้ ใจวา่ จรงิ อนั หนง่ึ ของเรา ทา่ นกจ็ รงิ อนั หนงึ่ ของ ทา่ น สดุ ทา้ ยกห็ วั เราแตกเพราะทา่ นรนู้ ี่ เราพดู ทง้ั ๆ ทกี่ เิ ลสเตม็ หวั ใจแตเ่ ขา้ ใจวา่ สมาธนิ ม่ี นั จะเปน็ นพิ พาน แลว้ สดุ ทา้ ยกท็ า่ นมาไลอ่ อก “เหน็ ไหม สมาธมิ นั มคี วามสขุ มากขนาดไหน หอื เทา่ ไร? แลว้ เนอ้ื ตดิ ฟนั มคี วามสขุ ขนาดไหนวา่ ซ?ิ สมาธกิ เ็ หมอื นกบั เนอ้ื ตดิ ฟนั นน้ั แหละ มนั สขุ ขนาดไหนเนอ้ื ตดิ ฟนั ทา่ นรไู้ หมๆ?... ท่านรู้ไหมว่าสมาธทิ ง้ั แท่งนนั้ ละคือตวั สมทุ ยั ทั้งแท่ง ท่านรไู้ หมๆ?”... “ถ้าหากวา่ สมาธเิ ป็นตัวสมทุ ยั แลว้ สัมมาสมาธจิ ะใหเ้ ดินทไ่ี หน” นั่นเอาซใิ ส่กัน “มนั กไ็ มใ่ ชส่ มาธติ าย นอนตายอยอู่ ยา่ งนซี้ ิ สมาธขิ องพระพทุ ธเจา้ สมาธติ อ้ งรสู้ มาธิ ปญั ญา ต้องรู้ปัญญา อันนี้มันเอาสมาธิเป็นนิพพานเลย มันบ้าสมาธิน่ี... สมาธินอนตายเหรอเป็นสัมมา สมาธินะ่ เอ้าๆ พดู ออกมาซ?ิ ” 17

มนั ก็ยอมล่ะซิ พอออกจากทา่ นไปแลว้ โห! นเี่ ราไปเกง่ มาจากทวปี ไหนนี่ เรามามอบกาย ถวายตัวต่อท่านเพ่ือศึกษาอรรถศึกษาธรรม หาความจรงิ ทำ� ไมวนั นจ้ี งึ มาโตก้ นั กบั ทา่ นยงิ่ กวา่ มวยแชมเปย้ี นเขาน่ี มนั เปน็ ยงั ไงเราน้ี มนั ไมเ่ กนิ ครเู กนิ อาจารยไ์ ปแลว้ เหรอและทา่ นพดู นน้ั ทา่ นพดู ดว้ ยความหลงหรอื ใครเปน็ คนหลงละ่ นะ เอาละ ท่ีนี่ย้อนเข้ามาหาตัวเอง ถ้าไม่ตั้งใจประพฤติ ปฏิบตั ติ ามทท่ี า่ นสอนนมี้ าหาท่านท�ำไม ถา้ ว่า เราวิเศษวิโสแล้วท�ำไมเราจึงต้องมาหาครูบา อาจารยท์ ี่ตนวา่ ไม่วเิ ศษล่ะ แต่เราก็ไมเ่ คยดถู กู ทา่ นแหละ นห่ี มายความวา่ ตเี จา้ ของยอ้ นขน้ึ มา เขน่ เจา้ ของ สดุ ทา้ ยกอ็ อกกา้ วทางดา้ นปญั ญา๒๔ เหน็ กายทห่ี นองผือ หลงั จากนง่ั ตลอดรงุ่ มาแลว้ นง่ั ตลอดรงุ่ มนั กล็ งอกี แบบหนงึ่ หากแบบนเี้ ปน็ แบบกวา้ งขวาง มากทีเดียวเลยว่างหมดโลกธาตุนี่ท่ีจิตลงอยู่ หนองผอื นนั่ จงึ ไดก้ ราบเรยี นพอ่ แมค่ รอู าจารยม์ น่ั ท่านก็ขึ้นอุทานทันที รับกันอย่างเด็ดทีเดียว “เออ้ ทนี ไี้ ดส้ กั ขพี ยานแลว้ ผมกเ็ ปน็ อยา่ งนแ้ี หละ อย่างท่านมหาเป็นน่ีแหละ” นี่ละอันหน่ึง ทนี่ ง่ั ตลอดรงุ่ ลงแบบอศั จรรยๆ์ ลงแบบหนงึ่ นะทกุ ครงั้ ลงแบบเดยี วกนั อนั นล้ี งอกี แบบหนง่ึ กวา้ งขวาง ไปหมดทวั่ แดนโลกธาตทุ หี่ นองผอื อนั นนั้ ลงนนั้ แลว้ กวา้ งขวางไมก่ วา้ งขวางไมไ่ ดส้ นใจคอื มนั ดบั หมด ภาพการพจิ ารณากาย จติ รกรรมฝาผนังวดั โพธิสมภรณ์ จ.อดุ รธานี รา่ งกายเรานท้ี งั้ ๆ ทค่ี วามทกุ ขท์ งั้ หลายโหมเขา้ มานี้ 18 ๒๔ เทศน์อบรมพระ ณ วดั ป่าบ้านตาด วันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๓๐ ความลกึ ลบั ซับซอ้ นของจติ วญิ ญาณ.

รา่ งกายของเรานเี้ หมอื นทอ่ นฟนื นะ ทกุ ขเวทนาทม่ี นั โหมหมดทง้ั เนอ้ื ทง้ั ตวั เรานเี้ ปน็ เหมอื นไฟเผา ลงไปในนๆี้ ทีน้ีจติ มนั ก็หมนุ ตว้ิ ๆ ภายในไม่ให้ออกจากองคอ์ ริยสัจ ทกุ ข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรค นี้เป็น สถานที่ฆา่ กเิ ลส ซัดกนั อยู่ในนีจ้ ติ ไม่ยอมให้ออกหนไี ปไหนเลย ดงั ทเี่ คยพดู แลว้ นนั่ ละ วนั นเี้ ปน็ วนั นง่ั ตลอดรงุ่ วนั นว้ี นั สละชวี ติ จติ จะแยบ็ ออกไปไหน ไมไ่ ด้เดด็ ขาดเลยน้เี ปน็ ข้นั ท่ี ๑ ลอ้ มรวั้ เอาไว้ไม่ใหจ้ ิตแย็บออกไป ทสี่ องหมนุ อยภู่ ายในรา่ งกายของเรานอี่ นั ที่ ๒ อนั นสี้ ำ� คญั มากนะยง่ิ ทกุ ขม์ ากเทา่ ไรจติ ยง่ิ หมนุ ติ้วๆ ลงถึงอัศจรรยเ์ ลย๒๕ พอออกจากสมาธดิ ว้ ยอำ� นาจทา่ นอาจารยม์ นั่ เขกเอาเสยี อยา่ งหนกั จงึ ออกพจิ ารณา พอพจิ ารณา เร่ืองปัญญา ก็เข้าสมาธิพร้อมแล้วเหมือนกับเคร่ืองทัพสัมภาระท่ีจะมาปลูกบ้านสร้างเรือนนี้ มนั มพี รอ้ มแลว้ เปน็ แตเ่ พยี งเราไมป่ ระกอบใหเ้ ปน็ บา้ นเปน็ เรอื นเทา่ นน้ั มนั กเ็ ปน็ เศษไมอ้ ยเู่ ปลา่ ๆ ไมเ่ กดิ ประโยชนอ์ ะไร นสี่ มาธกิ เ็ ปน็ สมาธอิ ยอู่ ยา่ งนน้ั เมอ่ื ไมน่ ำ� มาประกอบใหเ้ ปน็ สตปิ ญั ญามนั กห็ นนุ อะไรไม่ได้ มนั ต้องพจิ ารณาตามท่านอาจารยใ์ หญ่ทา่ นเขก พอทา่ นเขกเท่านน้ั มันก็ออก๒๖ ผมเคยเหน็ แล้ว ทีแรกก็อาศยั คิดคาดไปเสยี กอ่ น หมายไปเสยี ก่อน พิจารณาไปๆ พอมัน ไดจ้ งั หวะ ทีนี้จติ มันก�ำหนดป๊บั ปับ๊ เข้าไปน่ัน มนั ตดิ ป๊ับ ทนี มี้ นั ไมย่ อมปล่อย พอไมย่ อมปลอ่ ยมนั กช็ ดั เขา้ ๆ เหน็ ชดั ไปหมดทวั่ รา่ งกายเลยทนี ี่ มนั กระจายไปหมดเหมอื นกระดาษซมึ นี่ มนั ซมึ ไปหมด ทวั่ รา่ งกายจนกระทง่ั ความแตกสลายมนั เปน็ ไปในนนั้ ใหเ้ ราเหน็ ใหเ้ ราดู มนั พงั ลงไปแตกกระจาย มันเปื่อยเน่าก็ดูใหเ้ ห็นให้ชดั มนั พองตัวออกมา มันเปน็ ไปอย่างรวดเร็วนะ ปุบปับๆๆๆ ยง่ิ เกดิ ความสลดสังเวช “ออ๋ เหน็ อย่างนี้เหรอเหน็ กาย เหน็ อย่างนี้เหรอ เห็นอยา่ งนเ้ี หรอ” ทีน่มี นั ชัดนะ ทีนนี้ ่ะ น่ีล่ะ ปจจฺ กขฺ ทิฏฺฐิ คือเห็นดว้ ยตนเองจริงๆ เห็นดว้ ยเปน็ ความจรงิ เป็นอย่างน้ี ผิดกบั เหน็ ด้วยความจ�ำ ชัดเข้าๆๆๆ อันนั้นขาดออกอันนี้หลุดลงไปโดยที่เราไม่ได้ก�ำหนดมันเป็นข้ึนมาเอง เป็นแตเ่ พียงความรหู้ ย่ังไว้ยงั งั้นแหละ และจุดเดยี วทก่ี ระจายไปหมดในทั่วร่างกายของเราเอง ในขณะพจิ ารณารา่ งกายของตวั อวยั วะสว่ นนนั้ ขาดลง อนั นข้ี าดลง ตกลงไปอยงู่ น้ั มนั ไมม่ ี 19 ความรู้สกึ กายนะว่ากายมนี ะ หายเงียบไปหมดทงั้ ๆ ทีพ่ ิจารณากายตัวเองนั้นอยนู่ ัน้ แหละ นานไปหรือไร จนกระท่ังมันลงถึงท่ีมันแล้ว ส่วนดินก็เห็นได้ชัดมันค่อยกระจายไปเป็นดิน ส่วนน�้ำก็ซึมลงไป ในดินบ้าง ข้ึนไปบนอากาศบา้ ง ลม ไฟก็ไปตามสภาพของมนั ตอ่ จากนน้ั มนั ก็ว่างเปลา่ ไปหมดจติ ๒๕ เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดป่าบา้ นตาด วันที่ ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๔๓ บุญญาบารมีของพ่ีนอ้ งชาวไทย. ๒๖ เทศน์อบรมพระ ณ วดั ปา่ บ้านตาด วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๒๑ ธรรมทายาท.

ทีแรกเคยเห็นอย่างชัดๆ น่ีผมเห็นอยู่ ทีนี่เงียบเลย...ไม่ทราบว่าว่างว่ายังไงทีน่ีน่ะ หนองผอื นะ ตะลอ่ มคอื รวมกระดกู เขา้ มา นอกนนั้ หมดความส�ำคัญมั่นหมายใดๆ ท้ังหมดไม่ทราบ มนั กระจายไปหมด มนั กลายไปเปน็ นำ�้ กลายไป ว่าอยู่สูงอยู่ต่�ำ อยู่ท่ีไหน น่ังอยู่หรือนอนอยู่ เป็นดินไปหมด น�้ำก็ไปตามน�้ำเหือดแห้งไป อยกู่ ฏุ หิ รอื อยรู่ ม่ ไมห้ รอื อยทู่ ไี่ หนไมส่ ำ� คญั ทง้ั หมด ส่วนท่ีมันเปื่อยง่ายมันก็เป็นดินไปอย่างรวดเร็ว มีแต่ความว่าง ความรู้อย่างละเอียดสุขุม สว่ นทม่ี นั เหน็ งา่ ยเปน็ กระดกู มนั กย็ งั เหลอื กองกนั เป็นความอัศจรรย์ของความรู้อันนั้นอยู่เท่าน้ัน มันท�ำงานของมันเองน่ีนะ เหมือนกับมันกวาด จนกระทงั่ ไดจ้ งั หวะพอดแี ลว้ กค็ อ่ ยขยายตวั ออกมา เขา้ มาตะลอ่ มเขา้ มารวมกนั เปน็ กอง แทนทจ่ี ะ ขยายตัวออกมาแล้วจนกระท่ังมาเป็นจิตธรรมดา เอาไฟเผามัน มันกลับไม่เป็นอย่างน้ัน มันเป็น ตามขัน้ ภูมขิ องจติ เรา มนั ยงั ว่างอยเู่ ลย ก�ำหนด ของมันเอง “เออ ร่างกายท้งั ร่างน้มี ันกลายไป ดูกุฏิหลังไหนก็ไม่เห็น มันว่างไปหมดเพราะ เปน็ อยา่ งนเ้ี หรอ เปน็ ธาตอุ ยา่ งนเ้ี หรอ” มนั รำ� พงึ อ�ำนาจแห่งความว่างในภายในสมาธิน้ันมันยัง มนั สลดสงั เวชนะ รา่ งกายตวั เองถกู พจิ ารณาจน ไมห่ ายจางไปเพราะตอนนจ้ี ติ ของเรายงั ไมถ่ งึ ขน้ั เปอ่ื ยสลกั หกั พงั ไป ยงั เหลอื แตเ่ พยี งกระดกู แหง้ ๆ วา่ งนนี่ ะ๒๗ ดมู นั เปน็ ดนิ มันเป็นไดอ้ ย่างง้ี เปน็ ไดอ้ ย่างง้ี มันเป็นขึ้นมาเองมันจึงไปพูดให้ท่านฟัง กำ� ลงั กำ� หนดอยใู่ นกองนนั้ แหละ ไมท่ ราบ ไดอ้ ย่างอาจหาญ เอาความจริงไปพดู ...พอเลา่ แผ่นดินมาจากท่ีไหน ปึ๊บมาเลย มาปิดอันนี้ ถวายท่านแล้ว โอ๊ย! ใจก็พอง แล้วเราก็ได้ ปบ๊ึ ทนั ที มา มาปดิ อนั น้ี เหมอื นกบั วา่ มาปกกอง หลกั ของเรากแ็ นอ่ ยู่แลว้ ก็ยิ่งมีสกั ขีพยานอนั กระดูกท่ีเราก�ำลังหลง แผ่นดินมาจากท่ีไหน เปน็ ตวั เอกแลว้ ใจกย็ ง่ิ พองขนึ้ ... ไปเลา่ ใหท้ า่ นฟงั มากลบกนั ปบ๊ึ นนั่ มนั กเ็ ปน็ ธรรมเทศนาอนั หนง่ึ ทา่ นกค็ กึ คกั ขน้ึ เลย “เออ ถกู ตอ้ งแลว้ เหมาะแลว้ “อ๋อ มนั กเ็ ปน็ ดนิ อยา่ งนเ้ี อง” พอว่าง้นั วูบลง ไดห้ ลกั ไดเ้ กณฑแ์ ลว้ ผมเคยเปน็ มาแลว้ ตง้ั แตอ่ ยู่ ว่างหมดเลย ว่างหมดไม่มีอะไรเหลือเลย ถำ้� สาริกา” ท่านก็เลยร้ือมาเลา่ ให้ฟัง กฏุ หิ ลวงตาพระมหาบวั วัดป่าบ้านหนองผือ ศาลาฉนั (หลังเดมิ ) วดั ปา่ บ้านหนองผือ 20 ๒๗ เทศน์อบรมพระ ณ วัดป่าบ้านตาด วันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๒๑ บอ๋ ยกลางเรือนของกเิ ลส.

“โห โลกธาตุดับหมดเลยเหมือนกันกับท่านมหาแหละ พูดตรงกันเป๋งเลย เอาละทีน้ี ได้หลกั ใหญ่แลว้ ” ท่านวา่ หลักใหญ.่ .. แตน่ ม้ี นั เปน็ อยา่ งนน้ั เปน็ ยงั ไงพดู ไมถ่ กู มนั เปน็ ของมนั อยเู่ ปน็ ประจำ� แตอ่ นั ไหนทเ่ี ปน็ บทเดด็ มันกม็ อี ยา่ งท่ีว่านี่ บทเดด็ มันก็มี... โถ เรากซ็ ดั ใหญเ่ ลย วนั หลงั กจ็ ะเอาอยา่ งเกา่ มนั ไมไ่ ดอ้ กี แหละ สองสามวนั ซดั กนั อยยู่ งั ไมไ่ ด้ ข้ึนไปหาท่านอกี “ทน่ี ม่ี นั ไมเ่ ปน็ อยา่ งนั้นอกี ” “มนั เปน็ ยังไง” ทา่ นวา่ “ว่าจะเอาใหเ้ ป็นอย่างนนั้ มนั เลยเปน็ หนเดยี ว จากนน้ั มันก็รู้ธรรมดา ลงธรรมดา” “มนั จะเปน็ บา้ นะน.่ี ..ไมไ่ ดส้ อนใหค้ นเปน็ บา้ มนั เปน็ มนั กเ็ ปน็ หนเดยี วเทา่ นนั้ ผมกเ็ ปน็ หนเดยี ว เท่าน้ันแหละ ผมไม่เห็นเป็นบ้า น่ีมาเป็นบ้าอะไรอีก...ไม่ได้สอนคนให้เป็นบ้านี่นะ มันเป็นแล้ว มันก็ผ่านไปแล้วไปยงุ่ กบั มันท�ำไม พจิ ารณาในหลักปัจจบุ นั ซ.ิ ..มนั จะเปน็ อะไรก็ใหเ้ ปน็ ขึ้นในหลกั ปัจจบุ ัน ทา่ นรนู้ นั้ ท่านรู้ในหลักปจั จุบันใช่ไหม...นีไ้ ปคว้าหาที่ไหนอีก” โอ๋ย! ขนาบอกี นกี่ ด็ ีเราก็ไม่ลมื นั่นเห็นไหมจติ เวลามนั แสดง... เราก็ โห ขบขันดี กไ็ ม่เป็นอกี นะเปน็ หนเดยี วเทา่ นั้น เป็นแบบน้ันนะ แบบอ่ืนมันกเ็ ป็นของมนั จปิ าถะแล้วแต่มนั จะเปน็ แต่ท่ีมันเดน่ ๆ เดด็ ๆ มากๆ สะดุดใจอย่างมาก อย่างไมเ่ คยเปน็ เราก็เลา่ ใหฟ้ งั อยา่ งทีข่ ึน้ ไปเล่าถวายทา่ น๒๘ เราอยหู่ นองผอื ทา่ นเคยเลา่ เรอ่ื งจติ ของทา่ นสวา่ งไสว ปรากฏผใี หญม่ าหา เราเขยี นประวตั ทิ า่ น ได้เห็นหรือเปล่า เขียนในประวัติของท่านน่ะ ผีใหญ่มาจะมาท�ำลายท่าน แบกตะบองใหญ่มา ทา่ นอยถู่ ำ�้ สารกิ า ทนี ม้ี นั มาเขา้ กนั กบั ของเราตอนเราอยหู่ นองผอื ผดิ กนั ตงั้ แตไ่ มม่ ผี มี าแบกตะบอง มาจะตเี ท่าน้นั เอง... ท่านว่า “ผิดกนั ต้ังแตผ่ ใี หญ่เทา่ นั้น ทา่ นมหาไม่มีผี ผมมีผี”... เราอยากให้เป็น อย่างนั้นอีก มาเล่าให้ท่านฟังท่านดุใหญ่เลย จากน้ันมาเราก็ไม่หาอีกแล้ว หาแบบบ้าน่ัน๒๙ ท่านก็บอกทา่ นเป็นหนเดยี ว เปน็ เหมือนอยา่ งเดยี วกันนี้ โห มันราบไปหมดเลย โล่งไปหมด๓๐ ๒๘ 21 ๒๙ ๓๐ เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ป่าบ้านตาด วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๑ พดู เปิดอกในสภา. เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ บ้านตาด วนั ท่ี ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ ผใี หญม่ าหา. เทศน์อบรมฆราวาส ณ วดั ป่าบ้านตาด วันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๔๑ ผูป้ ระสทิ ธิป์ ระสาทธรรม.