Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Description: มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Search

Read the Text Version

87 3.1 รักที่จะเข้าไปหาผู้อื่นก่อน ไม่ว่าจะเข้าไปคุย ขอความช่วยเหลือ หรือให้ความ ชว่ ยเหลอื 3.2 รกั ที่จะตอ้ นรับเมื่อผอู้ ่ืนมาหาหรอื เยี่ยมเยอื น 3.3 รักท่จี ะบริการหรือทาให้ผอู้ น่ื สะดวกสบายข้นึ 3.4 รจู้ กั ชมเชยยกย่องผ้อู นื่ 3.5 รู้จักยมิ้ กบั คนท่วั ไป เพราะการย้ิมบง่ บอกถึงไมตรจี ิต 3.6 รจู้ ักทักทายปราศรัยผู้อนื่ ด้วยถอ้ ยคาสภุ าพออ่ นหวาน จะเป็นการสร้างเสน่หใ์ ห้แก่ ตัวเองและทาให้ผู้อนื่ รสู้ กึ ประทับใจ 3.7 รู้จักให้ความช่วยเหลือในเร่ืองเล็กๆ น้อยๆ เมื่อเขาขอร้องให้ทางานแทนก็ไม่ควร ปฏิเสธ 3.8 แสดงความมีนา้ ใจ โดยการให้ความช่วยเหลือผู้อื่นโดยที่เขาไมข่ อร้อง เช่น ช่วยหยิบ ของให้ ชว่ ยทางานโดยไม่น่งั ดูดาย การแสดงน้าใจย่อมก่อให้เกิดความรักใครเ่ อน็ ดู 3.9 ใหค้ วามไว้วางใจหรอื เชือ่ ในเกียรติของผอู้ ่ืน 3.10 ให้ส่ิงของเลก็ ๆ น้อยๆ ในโอกาสพิเศษ เช่น วนั เกิด เปน็ ตน้ 3.11 ให้ความสนใจแก่ผูอ้ น่ื มากกวา่ ตนเอง เชน่ ฟังเร่ืองทีผ่ อู้ ่ืนพดู อย่างตง้ั ใจ เปิดโอกาส ใหผ้ อู้ ่ืนพูดและเราเปน็ ผูฟ้ ังมากกวา่ 3.12 เอาใจใสผ่ ้อู ่ืนหรือเพ่ือนร่วมงานบา้ ง เช่น รูจ้ ักถามข่าวคราว ทุกข์สุข ถามถึงคนใน บา้ นสรา้ งตามสมควร 4. หลักการสรา้ งมนุษยสัมพนั ธ์ตามหลัก “ตนเองมคี วามสุข ผู้อ่ืนมคี วามสขุ และสังคม มีประสิทธิภาพ” การสร้างมนุษยสัมพันธ์ตามหลัก “ตนเองมีความสุข ผู้อ่ืนมีความสุข และสังคมมี ประสทิ ธิภาพ” เป็นวิธกี ารสร้างมนุษยสัมพันธ์บนพ้นื ฐานของหลักธรรมมดี ังน้ี 4.1 มีความเมตตา คือ มีความรักให้แก่ผู้อน่ื 4.2 เข้าใจ เห็นใจ และให้อภยั ผอู้ ่ืน 4.3 มีความรบั ผิดชอบ 4.4 ซอื่ สตั ย์ ตรงเวลา 4.5 รู้จักเกรงใจ คดิ ถงึ ใจเขาใจเรา 4.6 สุภาพ ออ่ นนอ้ มตอ่ ผอู้ ่นื เสมอ

88 4.7 ไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน ไม่เบียดเบียนผู้อื่นแต่ต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่นให้ คลายทุกข์ 4.8 ให้ความร่วมมือในกจิ การงานของผอู้ ื่นตามโอกาสสมควร 5. หลกั การสร้างมนษุ ยสมั พันธต์ ามหลัก “การมีผลประโยชนร์ ว่ มกัน” วิธีการสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธต์ ามหลกั “การมีผลประโยชนร์ ว่ มกัน” มีดงั น้ี 5.1 แบ่งปนั ทัง้ สงิ่ ของและความคิด 5.2 ให้และรบั ตามความเหมาะสม ตามโอกาสอันควร 5.3 มคี วามเออ้ื เฟอื้ และช่วยเหลือผู้อน่ื เม่ือมีโอกาส 5.4 ตอบแทนความดีของผู้อืน่ บา้ งตามสมควร 5.5 พยายามทาให้ผู้อ่ืน หรือเพื่อนร่วมงานมีความสุขเมอ่ื อย่กู ับเรา เช่น ยม้ิ แย้มแจ่มใส บริการ และใหค้ วามช่วยเหลือ เทคนคิ การสร้างมนษุ ยสมั พันธ์ เทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์ หมายถึง กลวิธีในการติดต่อสัมพันธ์ เพื่อสร้างความ ประทับใจให้เกิดแกค่ นทว่ั ไปในสงั คม ซ่ึงอาจจะประมวลได้ดังนี้ (สมพร สุทศั นีย์, 2554, น. 130-133) 1. ยม้ิ แยม้ แจ่มใส แมว้ า่ บคุ คลทเี่ รายิม้ ด้วยเขาจะไม่ยินดียินรา้ ย ก็จงพยายามตอ่ ไป 2. พยายามศึกษาบุคคลอ่ืนให้ลึกซึ้ง ศึกษาภูมิหลังของเขาว่าเป็นคนภูมิภาคใด นับถือ ศาสนาอะไร เรียนจบอะไร มีปมเด่นปมด้อยอย่างไร เพื่อจะได้ปรับตวั ให้เข้ากับเขาได้งา่ ย โดยเฉพาะ จะทาใหเ้ ราระวังการพดู จาไม่ใหก้ ระทบปมด้อยของเขา และเลอื กปมเด่นของเขามาพดู 3. ร้จู ักฟังใหม้ ากกว่าการพดู การเปิดโอกาสให้ผู้อื่นพูดทาให้บุคคลพอใจ เพราะเขารู้สึกว่า เขาไดร้ ับความสาคัญ และการฟงั ทาให้เราไดร้ บั ประโยชน์มาก 4. ศึกษาสภาพแวดล้อมในสงั คมหรือในที่ทางาน เพื่อให้ทราบว่าใครมีความขัดแย้งกับใคร จะได้ระมัดระวังตัวไม่พูดเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เพราะการพูดเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งย่อมทาให้อีก ฝ่ายนงึ ไมพ่ อใจได้ 5. ให้ความสาคญั แกผ่ ู้อนื่ วธิ กี ารทีแ่ สดงวา่ ผอู้ ่ืนสาคัญ มีดังนี้ 5.1 พูดใหค้ นอ่ืนรวู้ า่ เขาเก่ง ดี รา่ รวย มเี กยี รติ หรือเปน็ คนสาคัญ 5.2 แสดงกริ ิยาสุภาพออ่ นนอ้ มถอ่ มตนต่อเขา 5.3 ให้ส่งิ ที่ดีทส่ี ุดแก่เขา ให้โอกาสในการทาส่ิงตา่ งๆ ก่อนตัวเราเสมอถา้ ทาได้ 5.4 ปฏบิ ัติตอ่ ผ้อู ืน่ เยย่ี งบคุ คลพเิ ศษ เช่น ใหน้ ่ังเก้าอ้ที ีด่ ที ีส่ ดุ เทา่ ที่มอี ยู่ เปน็ ตน้

89 6. ไม่ควรทาตัวเด่นเกินไปหรือทาตัวเป็นผู้รอบรู้ และแสดงความรู้ความสามารถไปหมด ทกุ เร่ือง ทาให้กลายเปน็ คนท่ี “น่าหมั่นไส้” คนอื่นไม่ชอบหน้า และการทาตวั เช่นน้ี บางครั้งเป็นการ ทางานข้ามหนา้ ผอู้ ่ืน เพราะความอยากแสดงออกทาให้เป็นอันตรายยง่ิ 7. ไม่ควรมีความมั่นใจจนเกินไป การแสดงความม่ันใจจนเกินไป คือ จะไม่ยอมแพ้ใคร ไม่ค่อยจานนในเหตุผลของผู้อื่น ส่วนมากเป็นลกั ษณะการแสดงความคิด คนที่มีความมั่นใจจนเกนิ ไป จะกลายเป็นคนกล้าคิด กล้าทา จนทาให้กลายเป็นคนด้ือดึง ก้าวร้าว ไม่มีคนชอบ การแก้ไข คือ ควรคิดว่ามีอกี หลายอย่างท่ีเราไมร่ ู้ คิดว่าคนอื่นต้องเก่งกว่าเรา ทาเป็นยอมเขาบ้างเพ่ือจะได้รับความ รกั จากคนอืน่ ๆ 8. ควรวางตัวใหเ้ หมาะกาลเทศะและบุคคล ตัวอย่างของการรู้จกั กาลเทศะคือ ควรจะรู้ว่า เวลาน้ันเป็นเวลาท่ีโศกเศร้า ดีใจ หรือสนุกสนาน และควรรู้ว่าสถานที่น้ันเป็นงานศพ งานเล้ียง สังสรรค์ หรืองานพิธี สาหรับการรู้จักบุคคลนั้น คือ ต้องรู้ว่าบุคคลน้ัน คือใคร มีฐานะตาแหน่งอะไร อยู่ในภาวะอะไร ควรจะทาตัวอย่างไร 9. สร้างความประทับใจในการพูด เช่น สนใจเรื่องเดยี วกับผฟู้ งั มอี ารมณ์ขัน มีความจริงใจ ต่อกัน พดู ในสง่ิ ท่ดี ี พูดจาสุภาพ ไม่พูดคุยเร่อื งของตวั เองมากเกินไป รู้จกั ชมเชยยกย่องผ้พู ูดบา้ ง 10. รู้จักต้อนรับผู้อ่ืนเสมอ ไม่ว่าผู้นั้นจะไปหาเย่ียมเยียนท่ีบ้าน หรือเดินเข้ามาในที่ที่เรา กาลงั น่งั อยู่ เช่นรู้ จักเชิญให้เข้ามาในกลุ่ม หรือเชญิ ให้นง่ั ในทอ่ี ันควร 11. ร้จู กั บริการ สงเคราะหช์ ่วยเหลอื ในเรอ่ื งเล็กๆน้อยๆ 12. แสดงความเห็นใจในความทุกขข์ องผอู้ นื่ 13. รู้จกั ให้ ใหค้ วามรัก ความเห็นใจ ใหอ้ ภยั ใหค้ วามช่วยเหลอื และให้สิ่งของตามสมควร 14. สนใจผู้อน่ื และผู้ทอี่ ยู่ใกลช้ ดิ เช่น บิดามารดาของเพ่ือน เปน็ ตน้ 15. ยอมรบั ความคดิ เห็นของผอู้ น่ื 16. มีความจรงิ ใจต่อผอู้ น่ื เช่น ทาตามท่พี ูดไวเ้ สมอ 17. ยกย่องใหเ้ กยี รติแกผ่ อู้ น่ื ตามโอกาสสมควรอนั ควร 18. ไมแ่ สดงอานาจเหนอื ผอู้ นื่ 19. มคี วามเกรงใจ เชน่ ไม่ถามเรอ่ื งสว่ นตัวของผูอ้ น่ื ไม่ยืมของใชข้ องผอู้ ื่นโดยไมจ่ าเปน็ 20. มีสามัญสานึก คือ รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร ได้แก่ รู้ว่าควรพูดบางเรอื่ งกับคนบางคน หรือควรปฏิบัติต่อผู้อื่นเช่นน้ันหรือไม่ เช่น จัดห้องทางานให้พนักงานท่ีสูงอายุอยู่ช้ันท่ี 4 จัดห้อง ทางานใหพ้ นักงานวัยหนุ่มสาวอยชู่ น้ั ที่ 1 เป็นต้น 21. เมือ่ เปน็ ฝา่ ยผดิ ตอ้ งยอมรบั ผดิ 22. ยอมแพ้เสียบ้าง การยอมแพ้ไม่ได้หมายความว่าเป็นฝ่ายผิด แต่ยอมแพ้เพ่ือให้ผู้อ่ืน สบายใจ นอกจากนี้ การยอมแพ้ไม่ทาใหเ้ กิดการโตเ้ ถียง

90 23. ไม่จบั ผดิ ผูอ้ ่นื ถา้ ผอู้ นื่ ทาผดิ เล็กๆ นอ้ ยๆ แสร้งทาเป็นไม่เหน็ เสยี บ้าง 24. แสดงน้าใจต่อผู้อ่ืน ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นเพ่ือนของเราหรือไม่ ถ้ามีโอกาสก็ควรแสดง น้าใจบา้ ง 25. มีความกระตือรือร้นท่ีจะช่วยเหลือผู้อื่น เช่น หยิบปากกาออกมาจดข้อความท่ีเพ่ือน ฝากบอกผอู้ น่ื เป็นตน้ 26 มีความเป็นกันเอง คือ รู้จักทักทายปราศรัย และทาตัวง่ายๆ ไม่เจ้าระเบียบจนเกินไป ไม่ทาตนให้ผู้อ่ืนรู้สึกเกรงกลัว ห่างเหิน หรือไม่อยากเข้าใกล้ แต่ควรทาตัวให้ผู้อ่ืนรู้สึกว่า เม่ืออยู่ใกล้ แล้วทาใหเ้ ขาสบายใจ 27. เปิดเผยในระดบั ท่เี หมาะสม 28. มีมารยาทในการคบหาสมาคมกับผู้อื่น พื้นฐานสาคัญของมารยาท คือ ความสุภาพ อ่อนน้อมและสารวม คนท่ีรจู้ ักระมดั ระวงั กิริยาวาจายอ่ มทาให้ผู้อื่นพอใจได้ 29. สังเกตความต้องการของผู้อื่นและให้ในส่ิงท่ีเขาต้องการ ตลอดจนสังเกตอารมณ์ ความรู้สึก เพื่อจะได้ตอบสนองให้สอดคล้องกับอารมณ์ได้ เช่น เม่ือสังเกตเห็นว่าเพ่ือนรู้สึกผิดหวัง เนื่องจากไมม่ ใี ครเลือกเธอเป็นหวั หน้า เราก็ปลอบใจ 30. อดทนและควบคมุ อารมณ์ได้ 31. รจู้ ักขออภยั เม่อื ทาอะไรผดิ พลาดพลั้งหรอื ล่วงเกนิ ผูอ้ นื่ 32. ร่าเรงิ แจม่ ใส และมองโลกในแง่ดี 33. ไม่พดู เร่อื งสว่ นตวั ของผอู้ ื่น 34. ไม่ทาให้ผู้อน่ื รู้สึกว่าเราเป็นคนเอาเปรียบ เช่น ในการรับประทานอาหารด้วยกัน หรือ ทากิจกรรมร่วมกัน ถ้าหากเราไม่สามารถเฉลี่ยเงินให้เท่าๆ กับผู้อื่นได้ ก็ควรหาทางทาอย่างอื่นเป็น การทดแทนอาจจะเปน็ การทางานทดแทนกไ็ ด้ 35. คล้อยตามหรอื เห็นดีเห็นงามกับความคิด ความรู้สึก หรอื ความต้องการของผู้อื่น เช่น พดู ว่า “ดฉิ นั เห็นด้วยกับคุณ” “ดิฉันก็คดิ เหมอื นคุณ” “ดฉิ ันกช็ อบเหมือนกนั ” เป็นตน้ การสรา้ งความสัมพนั ธ์กับบุคคลและชมุ ชน 1. การสร้างความสมั พนั ธ์อันดกี ับบคุ คล การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคล เป็นพฤติกรรมที่ต้องกระทาต่อกันระหว่างบุคคล ในสังคม ในการดารงชีวิตตั้งแตเ่ กิดจนตาย จึงเป็นเร่ืองท่ีหลีกเลีย่ งไม่ได้ระหวา่ งมนุษย์ด้วยกัน เพราะ เป็นธรรมชาติของสังคมท่ีต้องการมีชีวิตรอดปลอดภัยโดยการพึ่งพาอาศัยกัน และช่วยเหลือกัน

91 สาหรับวิธีสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลน้ันมีข้อเสนอแนะไว้ดังนี้ (พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์, 2549; วภิ าพร มาพบสขุ , 2543; ลกั ขณา สริวฒั น์, 2556) 1.1 การตอบสนองความสุขความพอใจ ความสนใจทางสังคมอันเป็นพื้นฐานที่ทาให้ มนุษย์มีความสัมพันธ์กันน้ัน โดยท่ัวไปในชีวิตของบุคคลนับต้ังแต่วัยทารกจนถงึ วัยต่อๆ มาจะพบว่า ทารกต้องพ่ึงพาอาศัยพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูนับเป็นเวลาหลายปี ระหว่างช่วงเวลานั้นความสุขความ พงึ พอใจเป็นส่ิงที่ทารกได้รับมาจากผอู้ ื่น ทารกจึงเรยี นรู้ที่จะเกี่ยวขอ้ งกับผอู้ ่ืนเพี่อสร้างความพึงพอใจ ทางดา้ นความต้องการทางกาย ตัวอย่างเช่น ไดร้ ับความรัก ความสบาย ความสุข และความปลอดภัย ด้วยเหตุน้ีเองทารกจึงต้องการมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นเพ่ีอจะได้รับความสุข ความพอใจอันเป็นการ ตอบสนองความต้องการทางสังคมของทารก การตอบสนองเหล่านเี้ ป็นเครอื่ งมอื ท่ีมีคุณค่าย่ิงที่ทารก จะนาไปใช้และประสบความสาเร็จตามที่ตนต้องการ กระบวนการเช่นนี้จะต่อเน่ืองจากวัยทารกไปสู่ วยั เด็กและวยั เจริญเติบโตต่อๆ มาในท่ีสุดก็เป็นนิสัยในการติดต่อเกีย่ วข้องกับคนอื่นๆ เพ่ือตอบสนอง ความสุขและความพงึ พอใจของตน แม้ว่าพฤตกิ รรม เชน่ นจี้ ะไม่ได้รับแรงเสริมหรอื รางวัลก็ตาม ตามปกติแล้วบุคคลแต่ละคนจะใช้การดึงดูดความสนใจทางสังคม และใช้เป็น เคร่ืองมือแสวงหาความสุขความพอใจให้ตนเอง และในการเรียนรู้ที่จะมีการเกี่ยวข้องกับบุคคลอ่ืนๆ จะเห็นวา่ ใชว้ ิธีการเช่นเดียวกับเด็ก อาทิ เช่น การให้ความร่วมมือและทาตามความปรารถนาหรือให้ ความช่วยเหลือคนอื่น เพื่อให้ความรู้สึกพอใจแก่คนเหล่านั้นและได้รับผลกลับมาเป็นความสุขและ ความพึงพอใจของตนเอง การเรียนรู้ด้วยวิธีดังกล่าวน้ีจะดาเนินการเช่นนั้นต่อไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ เน่ืองจากว่าแต่ละคนต้องการความชว่ ยเหลือจากคนอื่น เพื่อจะดแู ละปกปอ้ งตนเอง การร่วมมอื กันใน การตอ่ สู้ดน้ิ รนเพอ่ื ชีวติ อยู่รอดปลอดภัย ย่อมตอ้ งอาศัยผทู้ ม่ี ีทักษะและความสามารถ ซ่ึงไดผ้ ลดกี ว่าท่ี จะตอ่ ส้ตู ามลาพงั 1.2 สญั ชาตญาณ นกั จติ วิทยากลมุ่ พฤติกรรมนยิ มจะไมเ่ ช่อื เรอ่ื งสัญชาตญาณ แต่จะเชื่อ ในพฤติกรรม อย่างไรก็ตามยังมีนักวิทยาศาสตร์ชาวยุโรปบางคนเช่ือในเร่อื งสัญชาตญาณ โดยอธิบาย ว่า ตามทฤษฎีสญั ชาตญาณนั้นมนุษยจ์ ะรวมกลุ่มและต้องการทจี่ ะติดตอ่ สื่อสารเพอ่ื มคี วามสัมพนั ธก์ ับ คนอ่ืนๆ เนื่องมาจากการทางานของร่างกายทางด้านชีววิทยาในการแสวงหาความเป็นเพ่ือนกับ บุคคลอน่ื 1.3 สถานการณ์ทางสังคม เป็นส่ิงเร้าท่ีให้ทั้งความพอใจและบางคร้ังก็ทาให้เกิดความ ตงึ เครยี ด บางคนต้องเผชญิ เหตกุ ารณ์ในสังคมทแ่ี วดลอ้ มตนโดยไม่คาดฝัน ต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ที่ตนไม่เห็นด้วย และบางครั้งก็แวดล้อมไปด้วยบุคคลที่มีความเมตตา มีความเห็นอกเห็นใจ เอื้อเพ่ือ เผ่ือแผ่ สิง่ เหล่าน้ีเป็นสถานการณ์ทางสังคมท่ีมีความสาคัญต่อบุคคล การที่มีบุคคลอื่นหรอื เหตุการณ์ มากระทบเขาเหล่านั้น มักจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองหรือแม้ว่าในบางครั้งจะไม่แสดงปฏิกิริยา ตอบสนอง เขาก็อาจยังคงนึกถึงส่ิงท่ีมากระทบและความไม่สบายใจที่ตนได้รับ ซ่ึงอาจทาให้เกิด

92 ความรู้สึกตึงเครียดข้ึนมาได้ คนบางคนเบ่ือหน่ายที่จะต้องอย่คู นเดียวจึงต้องแสวงหาความสัมพันธ์กับ คนอ่นื ๆ ทงั้ ๆ ทใ่ี นบางครงั้ ผลท่ีไดร้ ับอาจทาให้เกดิ ความไม่สบายใจ 1.4 ความต้องการแสวงหาส่งิ เร้าท่ีแปลกใหม่ แม้ว่าคนเราชอบสิ่งเร้าที่แปลกใหม่ หรือ สิ่งท่ีลึกลับซับซ้อน เพราะทาให้น่าค้นหา เร้าใจ ดึงดูดใจให้ใคร่ศึกษา แต่โดยทั่วไปมักจะชอบ สถานการณท์ างสังคมท่ีมีความคลา้ ยคลึงกันมากกวา่ สถานการณ์ทีแ่ ปลกใหม่ สถานการณท์ ่ีคล้ายคลึง นน้ั เป็นสงิ่ ท่ีอาจทานายได้ สามารถเข้าไปร่วม จัดการ หรือควบคมุ ได้ เนอ่ื งจากมปี ระสบการณ์ในเรื่อง น้ันๆ มาแล้ว แต่ความต้องการดังกล่าวน้ันได้เปลี่ยนไปตามเวลา และคนเรามักจะเชื่อในสิ่งซ้าๆ จาเจ จึงทาให้แสวงหาสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดความตื่นเต้นแก่ชีวิต เช่น การหางานทาที่ห่างไกลบ้าน เพราะรู้สึก เบื่อท่ีต้องอยู่ในที่เดิมๆ นับตั้งแต่จาความได้จนเรียนจบ อยู่แต่ที่บ้านเลยเวลาย่ีสิบปีแล้วทาให้อยาก ออกไปผจญภยั นอกบา้ นบา้ ง 1.5 ความต้องการได้รับความสนใจ นักจิตวิทยาด้านทฤษฎีบุคลิกภาพกล่าวว่า คนเรา ต้องการความรักและความสนใจ และหากบุคคลน้ันไม่ได้รับความรักความสนใจจะด้วยลักษณะใด ก็ตาม จะทาให้เขาเจ็บป่วยทางจิตใจและอาจถึงแก่ชีวิตได้ ความคิดในลักษณะนี้เป็นเรื่องของ สุขภาพจติ และความคิดทางด้านจติ วเิ คราะห์ ความตอ้ งการไดร้ ับความสนใจจากคนอน่ื มีความสัมพนั ธ์ กบั ความรู้และความสนใจในความจรงิ เกี่ยวกับตนเอง การสัมผสั และคาพูดทีแ่ ต่ละคนปฏิบัติต่อกันน้ัน เป็นความจริงที่บุคคลนั้นได้รับความสัมพันธ์ของมนุษย์ท่ีมีต่อกันช่วยอธิบายได้ ว่าทาไมบุคคลนั้นๆ จงึ สนใจคนอืน่ แทนท่ีจะสนใจตน ความรู้สกึ ที่ตามมากค็ ือความรู้สึกไม่เป็นมิตรหรือความอจิ ฉาเพราะ เป็นการชใ้ี หเ้ หน็ ว่าคนอน่ื มีความสาคัญมากกวา่ ตน 1.6 ความต้องการวางโครงสร้างของชีวิต ความต้องการในการจัดระเบียบและทานาย ความเป็นไปได้ในชีวิตท่ีมีแต่ความซับซ้อน และมีศักยภาพมากกว่าการที่คนเราจะเรียนรู้และเข้าใจ ด้วยวิธีง่ายๆ การวางโครงสร้างของชีวิต หมายถึงการรับรู้ความสัมพันธ์ระหว่าง เหตุการณ์ต่างๆ ซ่ึง ได้แก่ วัตถุ บุคคล สถาบัน และสิ่งต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับชีวิต ความสัมพันธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับบุคคลแต่ละ คนเป็นพิเศษและได้รับความสนใจอย่างมากคือ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์และตัวบุคคลนั้น เหตุการณ์ทุกอย่างจะมีความหมาย ตอ่ เมอ่ื เหตกุ ารณ์นน้ั มคี วามสัมพันธก์ ับสิ่งที่บคุ คลน้นั ต้องการ 1.7 ความสนใจทางสังคม ความต้องการแรงจงู ใจและแรงขับเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญทีท่ าให้ บคุ คลต้องการที่จะติดตอ่ เกี่ยวข้องและมีความสัมพนั ธก์ ัน การศึกษา การติดตอ่ เก่ยี วข้องกับบุคคลอื่น ช่วยทาให้มนุษย์เรามีการวิเคราะห์และมีความเข้าใจตนเองและความสัมพันธ์ของตนกับบุคคลอ่ืน ตลอดจนสังคมทแี่ วดล้อมตนได้เป็นอย่างดี ความสัมพนั ธท์ างสังคมของบุคคล เริ่มตน้ จากการรับรู้ทาง สงั คมที่บคุ คลมตี ่อกนั ความรูส้ ึกประทบั ใจครง้ั แรกเป็นสง่ิ สาคญั ในการทบ่ี ุคคลเราใช้เป็นข้อมลู ในการ ตัดสินบุคคลอ่ืน อย่างไรก็ตามมนุษยสัมพันธ์ของบุคคลท่ีมีต่อกัน น้ันมีองค์ประกอบอื่นท่ีสาคัญอีก มากมายหลายประการ เชน่ ความประทับใจ บุคลิกภาพ การคาดหวงั การดงึ ดดู ความสนใจ เปน็ ตน้

93 1.8 ความสัมพันธ์เน่ืองมาจากความสนใจในรูปร่างหน้าตาเป็นที่ยอมรับ โดยท่ัวไปว่า รูปร่างหน้าตาเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญในการดึงดูดใจในตัวบุคคล จนอาจมีผลต่อเนื่องที่ทาให้เกิด ความรู้สึกประทับใจ แม้แต่คนแปลกหน้ายังทาให้กลายเป็นคนรใู้ จได้ในเวลาต่อมา อย่างไรก็ดี รูปรา่ ง หน้าตาก็ไม่ได้เป็นส่ิงเดียวที่ทาให้บุคคลสนใจและสร้างมนุษยสัมพันธ์ต่อกัน จากแนวคิดของ นกั จติ วทิ ยาท่ีศกึ ษาแล้วพบว่าในการเลอื กคนู่ ดั พบน้ัน ชายจะสนใจในความดึงดูดทางร่างกายของคนู่ ัด พบมากกว่า ในขณะท่ีผู้หญิงเลือกคู่นัดโดยสนใจในสถานะทางสตปิ ัญญามากกว่าที่จะสนใจในรปู ร่าง หน้าตา และสนใจชายในเรอื่ งเชือ้ ชาติ วัฒนธรรม และการนบั ถือ ศาสนาเดียวกัน ผู้หญิงมีแนวโน้มใน การวางมาตรฐานคนู่ ดั สงู กวา่ ผูช้ าย และพอใจในคนู่ ดั ของตนน้อยกวา่ ผชู้ าย 1.9 ความสัมพันธ์เน่ืองจากความคล้ายคลึงกัน มีการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ของ บคุ คลไม่ได้เกดิ ข้ึน เพราะรูปร่างหน้าตาและความดงึ ดดู ความสนใจทางร่างกายเท่าน้ัน ยังมีตัวแปรอีก หลายตัวแปรที่เป็นท่ีมาของการดึงดูดความสนใจ และตัวแปรหนึ่งคือการมีสิ่งต่างๆ คล้ายคลึงกันจะ ทาให้เกิดการดึงดูดความสนใจซึ่งกันและกัน เช่น มีเจตคติเหมือนกัน มีความชอบเหมือนกัน หรือมี ประสบการณ์เหมือนกัน จะสร้างความดงึ ดูดความสนใจต่อกนั ได้เปน็ อยา่ งดี 1.10 ความสัมพันธ์เนื่องมาจากความแตกต่าง นอกจากคนเราจะมีความสัมพันธ์ อนั เนอ่ื งมาจากการมคี วามดงึ ดูดความสนใจในสง่ิ ที่คลา้ ยคลึงกันแลว้ มีการศึกษาพบว่าคนเรากม็ ีความ ดงึ ดูด เพราะความแตกต่างกันในด้านความต้องการและอารมณ์ เพราะต่างพบจุดเดน่ และจุดด้อยที่ ไปด้วยกันได้เป็นอย่างดี เช่น ฝ่ายชายไม่ค่อยพูดแต่ฝ่ายหญิงชอบพูด ความสัมพันธ์ก็จะยืนยาว เนื่องจากไม่ต้องทะเลาะกันเพราะแย่งกันพูด เป็นต้น หรือฝ่ายหนึ่งชอบธรรมชาติ อีกฝ่ายหน่ึงชอบ ศลิ ปะ ก็มีความสมั พนั ธก์ ันไดด้ เี พราะชอบคนละอย่างท่เี อื้อประโยชน์ต่อกนั 1.11 ความสัมพันธ์เน่ืองมาจากการได้พบกันบอ่ ยๆ นักสังคมวิทยากล่าวไว้ว่า ถ้าบุคคล 2 คน หรือมากกว่า 2 คน ได้พบปะพูดคุยกันบ่อยๆ ความชอบพอของบุคคลเหล่าน้ันจะเพิ่มมากขึ้น จากการยอมรับความจริงอย่างหน่ึงคือ เม่ือเราชอบใครก็มักจะหาโอกาสพบคนๆ น้ัน นักเรียนท่ีอยู่ ห้องเรียนเดียวกันมีแนวโน้มท่ีจะชอบพอกันมากกว่าในวันแรกของการมาเรียน หรือคนท่ีอยู่หอพัก เดียวกันจะมีความสนิทสนมกันมากกว่าอยู่คนละหอ หรือนักเรียนที่เลือกเรียนวิชาเลือกเหมือนกันก็ ย่อมสนทิ กันมากกวา่ คนทีเ่ รียนวิชาอืน่ เปน็ ตน้ 2. การสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดรี ะหว่างบุคคลในชุมชน วธิ ีสรา้ งสมั พันธภาพทีด่ รี ะหว่างบุคคลในชุมชน หรือในองคก์ ร มีขอ้ แนะนาในการปฏบิ ัติ ตา่ งๆ ดังน้ี (สรุ ินทร์ ธนโกไสย, 2538) 2.1 จงเป็นคนเห็นค่าและความสาคัญของมนุษย์ ในแง่ของคนท่ีจะสัมพันธก์ ันได้ดีต้อง เหน็ ว่าคนมีคุณคา่ และสาคญั กวา่ สิ่งของเงินทองและเครอ่ื งมือ บางคนเห็นเคร่ืองจกั รดีกว่าคนและเห็น

94 คนมีค่าต่าต้อยกว่าเคร่ืองจักร เคร่ืองไม้เคร่ืองมือ คนที่สนใจเคร่ืองจักร คิดถึงแต่กาไร ขาดทุน หรือ สนใจแต่ตนเองไม่สนใจคนอื่นมักจะมปี ัญหาทางด้านมนษุ ยสัมพันธ์ แตล่ ะคนจะมโี ลกของความสนใจ ของเขาและของเราไม่เหมือนกัน จงเห็นคน เห็นเร่ืองของมนุษย์เป็นสิ่งสาคัญ ที่จะต้องเพิ่มและ ระมดั ระวังใหค้ วามสนใจเป็นพิเศษมากกวา่ ส่ิงของ วัตถุ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ จงคิดว่าเขาคอื เพ่ือน ลูก ภรรยา ญาติ พนี่ ้อง และเขาเปน็ คนมีหวั ใจ และความรูส้ กึ นกึ คิด 2.2 จงเป็นคนถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน อริสโตเติล สอนว่า “เราต้องประพฤติปฏิบัติกับคน อื่นให้เหมือนกับท่ีต้องการให้คนอ่ืนประพฤติปฏิบัติต่อเรา” พฤติกรรมถ้อยทีถ้อยอาศัยกันเป็น พฤติกรรมอันวิเศษข้อหน่ึงของมบุษยสัมพันธ์ ดีกว่าการเอะอะ ตึงตัง โวยวาย เกินกว่าเหตุ ดื้อดึง เอาแต่ใจตน เป็นนิสัยที่ไม่ควรประพฤติ ฉะน้ันจงเป็นคนอะลุ่มอล่วย ประนีประนอม เอาใจเขามาใส่ ใจเรา เห็นอกเห็นใจคนอ่นื 2.3 ใช้ “คุณ” หรือ “เรา” โดยใช้ “ผม ฉนั ข้าพเจ้า” ให้น้อยลง พูดให้มหี างเสียง การ ใช้ “คณุ ผม'' เป็นจดุ ศนู ยก์ ลางท่ใี ห้ผลดา้ นมนษุ ยสัมพนั ธต์ ่างกัน วิธีนใี้ ชไ้ ดท้ ้งั การพูดและการเขยี น 2.4 บทบาทสมมติท่ีเราแสดงช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ บทบาทสมมติ หรือลีลา บุคลิก ในการแสดงออกนี้กาลังเป็นเรื่องท่ีสนใจฝึกหัดกันในด้านมนุษยสัมพันธ์ เพราะเมื่อเราเปล่ียน งานเปล่ียนตาแหน่งเราก็จะต้องปรับและเปล่ียนแปลงบทบาทสมมติไปตามตาแหน่งท่ีได้รับไปด้วย เราจึงตอ้ งแสดงบทบาทให้สมบทบาทและประทับใจ 2.5 แก้ไขตัวเราก่อน พยายามปรับและเปลี่ยนแปลงตัวเราให้เข้ากับผู้อ่ืนได้ แต่อย่า พยายามไปเปล่ียนแปลงผู้อ่ืนให้เข้ากับเรา หรือรอให้ผู้อื่นเปลี่ยนแปลงก่อนแล้วตัวเราจึงจะ เปลี่ยนแปลงทีหลังซึ่งเป็นเร่ืองที่ไม่ได้ผล ดังนั้นจงปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงตัวเราให้เข้ากับคนอ่ืน กอ่ นเสมอ 2.6 ไม่ควรหลบหน้าคนรู้จัก คนที่เคยรู้จักกัน คุ้นเคยกัน เม่ือเห็นเมื่อพบหน้ากัน ต้อง ทักกันพูดจากัน อย่างน้อยก็โบกไมโ้ บกมือเปน็ การทักกัน ยิม้ ใหก้ นั ถ้าอยไู่ กลกนั การทาเป็นมองไมเ่ ห็น ทาเมินหลบหน้า หนีหน้าคนเคยรจู้ ักกันเดินสวนกัน ทาเฉยหรือทักอย่างเสียไม่ได้นั้นเป็นขอ้ เสียด้าน ความสัมพนั ธ์ จาเป็นจะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข และอย่าได้ประพฤติปฏบิ ตั ิเป็นอันขาด แม้มคี ุณสมบตั ิด้าน อนื่ ดีเดน่ สกั เพยี งไรก็จะไม่ได้รบั ความสาเรจ็ ด้านมนุษยสมั พันธเ์ ลย 2.7 เหน็ คุณคา่ ความคดิ เห็นของผู้อืน่ ความขัดแย้งที่สาคัญคือความขดั แย้งทางความคิด ท่ีลุกลามไปถึงความขัดแย้งทางความสัมพันธ์ ผู้ทีมีความเชื่อม่ันในตัวเองสูงหรือมีการศึกษาสูง รมู้ ามาก ผู้ที่ได้รับความสาเร็จในชีวิตมีฐานะม่ังคั่ง มักมีจุดอ่อนที่ไม่ค่อยยอมรับนับถือหรือให้เกียรติ ยกย่องความคิดของผู้อื่น เห็นความคิดของผู้อ่ืนเป็นส่ิงทใี ช้ไม่ได้ เคยลม้ เหลว เคยผา่ นมาแล้ว ปฏิเสธ ดูถูก หรือปัดไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน สิ่งน้ีเองเป็นต้นเหตุของความขัดแย้งไม่สัมพันธ์ บางคร้ังถงึ กับไม่มองหน้าหรือวิวาทกันด้วยคาพูดจนถึงการลงไม้ลงมอื กนั การรับพังความคิดเห็นของ

95 ผู้อ่ืนด้วยความสนใจ เป็นการให้เกียรติและเห็นในคุณค่ากอ่ นในข้ันแรก แล้วจึงค่อยๆ ช้ีแจง ทาความ เข้าใจให้เขายอมรับเข้าใจปัญหาและเหตุผลด้วยขั้นแรก แล้วจึง ค่อยๆ ช้ีแจง ทาความเข้าใจ ให้เขา ยอมรับ เข้าใจถึงปัญหาและเหตุผลด้วยตัวเขาเอง นั่นเป็นการปทู างไปสูค่ วามสมั พันธท์ ี่ดกี ว่า 2.8 การสร้างบรรยากาศ การสร้างบรรยากาศให้เกิดความสัมพันธ์เป็นส่ิงสาคัญ การสร้างบรรยากาศที่ร้อน หรือท่ีเย็นชืด เฉื่อยชา มักไม่เกิดผลเท่าที่ควร ควรเป็นบรรยากาศอบอุ่น ต้อนรบั กระฉบั กระเฉง พยายามสังเกตความรุนแรงท่ีเกิดจากการพดู ปฏิกิริยาท่ีแสดงออกที่จะทาให้ เกิดบรรยากาศที่เปล่ียนไป คอยปรับปรุงสังเกตแก้ไขบรรยากาศให้ดาเนินไปในทางท่ีจะทาให้เกิด ความสมั พันธ์ทด่ี ตี ลอดเวลา 2.9 การยมิ้ ทาให้บรรยากาศผ่อนคลายสดใสข้นึ สร้างนสิ ัยให้มีรอยยิ้มอยบู่ นใบหน้าบา้ ง ความยิ้มแย้มเป็นส่ิงที่มนุษย์ต้องการเพราะเป็นการสร้างบรรยากาศแห่งความสัมพันธ์ ถ้าเป็นคนที่ ใบหน้าบงึ้ ตลอดเวลา จะเป็นผสู้ ร้างบรรยากาศของความตงึ เครียด บึ้งตงึ ขุ่นมัวไม่สดใส ไม่มีใครอยาก เข้าใกล้หรือคบหาด้วย แต่เมื่อไรก็ตามรอยย้ิมปรากฏบนใบหน้า บรรยากาศแห่งความสดใส จะย่างกรายเข้ามาทันที ถ้าเราต้องการให้บรรยากาศสดช่ืนแจ่มใสราบรื่นในความสัมพันธ์ของเรา กจ็ งเติม “ความย้มิ แยม้ ” ของเราลงไปในบรรยากาศน่ันเสมอ 2.10 สมบัติผู้ดีเป็นคุณสมบัติที่ชวนชื่นชอบ ทาไมคนจึงฝึกหัดการเป็นผู้ดี คุณสมบัติ ลักษณะของร่างกายจิตใจที่มีความประพฤตขิ องผู้ดนี ับเปน็ ส่งิ สาคัญ เป็นศิลปะของการสรา้ งมิตรและ รักษามิตรภาพ ความช่ือตรง และการเป็นผู้มิจิตใจบริสุทธิ์ สุจริต คุณสมบัติของความเป็นผู้ดีเป็น ปจั จยั ของการถนอมมิตร มีมนุษยสมั พันธ์อันย่ังยืน ยาวนาน พยายามฝกึ หดั สร้างสะสม และอยา่ ขาด คุณสมบตั ิผู้ดี 2.11 พูดจาสุภาพ อ่อนหวาน เกรงใจคนทั่วไป การพูดจา อ่อนหวาน เกรงใจ ยกย่อง ชมเชยย่อมเป็นท่ีต้องการของคนทั่วไปทกุ หนทกุ แหง่ เพ่ือนรว่ มงาน สามีภรรยา คนคุ้นเคย สนทิ สนม จะพูดจากันต้องเกรงใจกัน ให้เกยรติกัน อย่าเหยียดหยามกัน พูดเอาใจกันไว้ พูดให้ดี เพ่ื อ ความสัมพนั ธ์ในวันหน้า 2.12 ความประพฤติที่ดีช่วยให้คบหาเพ่ือนได้ดี ความประพฤติท่ีดี (โดยเฉพาะผู้หญิง) เป็นเรื่องสาคัญ ถา้ ประพฤติไม่ดีก็เสยี คนได้ง่ายเอาตวั ไม่รอด พยายามประพฤตดิ ี มีมารยาทดี จะเป็น ความชื่นชอบของบุรุษและสตรี สุภาพบุรุษต้องลุกจากที่น่ังเมื่อมิสุภาพสตรีเข้ามาในห้อง ให้ท่ีนั่งแก่ ผู้หญิงในรถไฟ รถประจาทาง เวลาเดนิ บนถนนต้องเดนิ ดา้ นนอกริมถนน เม่ือรถชนจะไดช้ นผู้ชายก่อน ผู้ชายจะต้องลุกขึ้นยืน เม่ือสุภาพสตรีลุกขึ้น และต้องยืนอยู่จนกว่าผู้หญิงจะนั่งลง เป็นต้น ความ ประพฤติดี มารยาทดี แสดงให้เห็นเผ่าพันธ์ุดี เผ่าพันธุ์ดีแสดงให้เห็นรสนิยมดี รสนิยมดีแสดงให้เห็น สกุลดี สรุปแลว้ ก็คือเราต้องประพฤตดิ ี และจะต้องผา่ นการอ่านหนงั สือสมบัติผดู้ ี มาก่อนเท่าน้ันเอง

96 2.13 มีความจริงใจ สุจริตต่อผู้อ่ืน ถ้าต้องการความจริงใจ สุจริตใจจากผู้อ่ืน ผู้อื่นก็ ต้องการความจริงใจ สุจริตใจจากเรา จึงควรเป็นเร่ืองง่ายที่จะแสดงการเอาอกเอาใจ ย้ิมแย้มแจ่มใส พดู ยกยอ่ งชมเชย จับมอื โอบหลัง โอบไหล่ แต่นั่นเป็นสิ่งท่จี ะชนะใจผอู้ ื่นทแี่ ท้จริง ถ้าขาดความจรงิ ใจ พฤติกรรมตา่ งๆ จะทาให้ผูอ้ ื่นหยงั่ ร้สู งั เกตเห็น และรู้สกึ ได้ 2.14 อย่าเป็นคนข้ีระแวงสงสัย บางคนมีความรู้สึกไว หรือระแวงสงสัยคนอื่นอยู่เป็น ประจาจะทาให้ชีวิตไม่ราบรื่นสดช่ืนแจ่มใส เม่ือถูกมองหรือมีการกระซิบกระซาบกัน ก็คิดว่าคนอื่น นินทาตน บางคร้ังก็กลุ้มใจโดยไม่มีเหตุผล หว่ันระแวงจะเกิดเหตุร้ายข้ึนโดยท่ียังไม่มีสาเหตุ เช่น กลัวว่าเขาจะมาทาร้าย กลัวถูกฆ่า กลัวจะถูกขโมย กล่าวหาผู้อื่นว่าเป็นผู้ท่ีปองร้ายตนหรือ คอยแกล้งตน นินทาตน เหล่าน้ีจะทาใหก้ ลายเปน็ โรคประสาท ขาดความสขุ ได้ จงอยา่ เป็นคนขี้ระแวง สงสัย จะเป็นอุปสรรคในการสมั พันธ์กับผอู้ นื่ 2.15 หลีกเลย่ี งการโตเ้ ถียง โต้แย้ง คนเป็นจานวนมากท่ีดาเนินชีวิตอยา่ งไม่เฉลยี วฉลาด เลยท่ีชอบโต้เถียง โต้แย้งกับทุกๆ คน ในทุกๆ เร่ืองและทุกแห่ง ไม่เลือกว่าจะเป็นเร่ือง สาคัญหรือไม่ สาคัญ ทาให้ผู้สนทนาด้วยเบื่อหน่าย เกดิ การชะงักงันในการสนทนา ไมม่ ีใครอยากรว่ มวงสนทนาหรือ สัมพันธ์ด้วย เป็นการสร้างศัตรู ความไม่พอใจ ขุ่นเคืองใจ ขุ่นข้องหมองใจ กระท่ังเกิดความขัดแย้ง จนไม่มองหน้ากัน เลิกคบหาสมาคมทนในท่ีสุด เลิกสนุกกับการโต้เถียง โต้แย้งเสีย เพราะเป็นส่ิงที่ ทาลายความสัมพนั ธ์ทาใหก้ ารคบหาไมร่ าบรื่น 2.16 จงใช้ความยุติธรรมต่อเพื่อนและผู้คบหา ย่อมไม่เป็นการยุติธรรมที่เราต้องให้ เพ่อื นเลีย้ งและออกเงนิ ให้เป็นประจา เพื่อนให้ของขวญั ด้วยราคาแพง แต่ถงึ คราวที่ต้องให้เขา กลับให้ ของราคาถูก หรือเราขายของในราคาแพงแต่ซ้ือของคนอ่ืนในราคาถูก หรือให้เพื่อนเลี้ยงอาหารที่ ภตั ตาคารหรูหราราคาแพง แต่เราเชิญเขาไปทานอาหารที่ร้านแผงลอย ใช้ของของคนอื่นเปน็ ประจา แต่ของของเรากลับประหยัดไว้ ถ้าต้องตอบแทนกันต้องตอบแทนให้เท่ากว่า หรือีดกว่า หรือเรียกว่า “การตอบแทนท่ีเป็นที่พอใจระหว่างกัน” อย่าทาลายมิตรภาพในส่วนลึกของหัวใจด้วยการเอาเปรยี บ ถ้าต้องการเข้าหาผู้อื่นและปฏิบัติตนให้ชนะใจผู้อื่นวิธีนี้เราจะรักษามิตรภาพ และความสัมพันธ์กับ ผู้อื่นได้ตลอดไปและหมายถึงรักษาและดารงอยู่ซึ่งฐานะ ทางสังคมและการค้าของเราให้อยู่ด้วยดี ตลอดไปดว้ ย 2.17 อย่าสร้างความอึดอัดและไม่สบายให้แกผ่ ู้คบหา การสร้างความอัดอัดไมส่ บายใจ แก่ผู้คบหาหรือใกล้เคียงอาจเกิดจากความเป็นคนเจ้าระเบียบเกินไป สะอาดและอนามัยจัด หรือ สบู บุหร่ีพ่นควันโขมง ส่งกล่ินตลบอบอวล พูดโทรศัพท์คุยส่งเสียงดังไม่เลือกท่ี ไม่ว่าจะเป็น ที่ทางาน ร้านอาหาร ฯลฯ เอะอะ โวยวาย ววู่ ามชอบก่อเหตุวิวาท พดู จาไม่ระมัดระวงั ถ้อยคา พูดจาหยาบคาย เมาสุราอาละวาด พูดจาไม่เกรงใจและไม่ไว้หน้าใคร ขาดมารยาทคุณสมบัติผู้ดี เหล่าน้ีทาให้ผู้คน อึดอดั เป็นท่ีรังเกียจของคนทว่ั ไป

97 2.18 รู้จักการให้อภัย ความผิดพลาดของมนุษย์เกิดขึ้นอยู่เสมอตลอดเวลา กล่าวได้ว่า คนเราทาผิดด้วยกันทุกคน มนุษย์โดยทั่วไปมักจะนึกถึงตนเองว่าถูกเสมอไม่คิดว่าตนผิดและมักจะ มองว่าถา้ ทาผิดคนอน่ื ผิด ถ้ามขี ้อทาผิดเกิดข้ึนและมักจะเห็นว่าเป็นเรื่องปกติแลว้ และทุกคนมีการให้ อภัยซ่ึงกันและกัน ไม่ถือโทษโกรธเคืองกัน ก็จะไม่มีเรื่องขุ่นข้องหมองใจกันได้ ดังนั้นการพูดคาว่า “ขอโทษ” จงึ ควรใชใ้ นการทางานร่วมกนั ในชุมชน ในสงั คม สรุปวิธีสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมีมากมายหลายวิธี แต่ละวิธีล้วนเป็นวิธีง่าย ไม่ลกึ ลบั ซับซ้อนแต่ประการใด ทุกคนสามารถปฏิบัตไิ ด้ทั้งสิน้ เพยี งแต่ยึดหลักที่วา่ ท้งั เราและเขาเป็น คนเหมือนกัน ย่อมชอบและรู้สึกในลักษณะเอาใจเขามาใส่ใจเรา เราชอบ รู้สึกอย่างไร คนอ่ืนก็ชอบ และรู้สึกอยา่ งนน้ั เพราะต่างคนต่างกเ็ ปน็ มนษุ ยเ์ หมือนกันนัน้ เอง 3. การพฒั นาสมั พันธภาพระหวา่ งบุคคลในชุมชน การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในชุมชน จาเป็นต้องปฏิบัติไม่ว่าชุมชนใดๆ กต็ าม ในชุมชนจะประกอบด้วยบุคลากรท่ีมีสถานภาพแตกต่างกัน เช่น ผู้นาชุมชน หรือหัวหน้างาน หรือเป็นผู้บังคับบญั ชาและผู้ใตบ้ ังคับบัญชา จึงจาเปน็ ต้องตระหนักใหไ้ ด้ว่าปจั จัยแรกท่ีสาคัญในการมี มนุษยสัมพนั ธ์ คือ ตัวเราเอง คงจะไม่มใี ครรู้จักตัวเราเท่ากับตัวเราเอง แต่ก็มีคนเป็นจานวนมากยังไม่ รู้จักตนเองดีพอ ไม่รู้ว่าจุดเด่นอะไรบ้าง เช่น ความสามารถ ความแข็งแรง รูปร่างหน้าตาดี พูดจาดี มีเหตุผล มีความคิดดี อารมณ์เยือกเย็นสุขุม ซึ่งสามารถจะพัฒนาให้ก้าวหน้าได้อีกมาก หรือเรามี จุดอ่อนอย่างไร มีลักษณะอะไรบ้างท่ีควรแก้ไข เช่น บุคลิกภาพไม่ดี ก้าวร้าว อารมณ์ร้อน เอาแต่ใจ ตนเอง มีความประพฤตทิ ่ีไม่เหมาะสม เห็นแกต่ ัว เปน็ ต้น มีนักจิตวทิ ยาหลายทา่ นทใี่ ห้แนวคิดเกยี่ วกับ การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในชุมชนนั้น ควรคานึงถึงปัจจัยตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ (Pace et al, 1979) 3.1 บุคลิกภาพ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตนที่ติดตัวเรามาต้ังแต่เกิด เช่น สูง ต่า ดา ขาว เป็นไปตามธรรมชาติ แต่สิ่งเหล่าน้ีในบางอย่างเราแก้ไขปรับปรุงเสริมแต่งได้ ถ้าบุคลิกไม่ ดี เราก็ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ด้านรูปร่างสาหรบั คนอ้วน กต็ ้องมีการออกกาลังกาย เล่นกีฬา ระวังใน การรับประทานที่ไม่เพ่ิมความอ้วน งดเว้นการดื่มและการบริโภคที่เป็นส่ิงบั่นทอน สุขภาพอนามัย ด้านกิรยิ าทา่ ทาง กฝ็ กึ ฝน ฝึกหดั ได้ เพอ่ี ใหเ้ ป็นท่ีนา่ เลอ่ื มใส รักใคร่ เคารพนับถือ 3.2 การแต่งกาย การแต่งกายชว่ ยเสรมิ สรา้ งบุคลิกลักษณะ การแต่งกายไม่จาเป็นต้อง ใชข้ องมีราคาแพง แต่ควรสะอาด เรยี บรอ้ ย ถูกระเบียบ ถกู ต้องตามสถานการณ์ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความนิยมของสังคม ผู้ท่ีแต่งกายผิดระเบียบแบบแผนมากก็ทาให้เสียบคุ ลกิ ภาพ เพราะเป็นการส่อแสดงถึงนิสัยใจคอของผู้แต่งด้วย และการแต่งกายยังเป็นการเสริมสร้าง บุคลกิ ลักษณะให้เป็นคนภมู ฐิ าน น่ารัก น่าเคารพ ดสู ุภาพ เรียบรอ้ ย

98 3.3 สุขภาพอนามัย เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญ ผู้ท่ีเจ็บป่วยอ่อนแอ โรคภัยเบียดเบียน อยู่เสมอ ย่อมเป็นอุปสรรคในการทางานและพัฒนาตนเอง ผิวหนังร่างกายเป็นรอยกลากเกล้ือน ดูสกปรก ตรากตรา หักโหมกับการด่ืม เล่น เท่ียว เป็นการทาลายสุขภาพของตนเองท้ังสิ้น จึงต้อง ระมัดระวัง มีสติสัมปชัญญะในการคิดและปฏิบัติอยู่ตลอดเวลา จะสามารถควบคุมให้อยู่ในความ พอเหมาะพอดีได้ ท่ีสาคัญคือต้องมีการตรวจสุขภาพเป็นประจาตามข้อเสนอแนะของกรมสุขภาพจิต มกี ารพักผอ่ นท้งั ด้านร่างกายและจติ ใจอย่างเหมาะสม 3.4 รับประทานอาหารให้เพียงพอ ออกกาลังกายสม่าเสมอ จะช่วยให้สุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงเป็นประจา จะมีผลทาให้จติ ใจ สมอง สติปัญญา สุขภาพจติ ดีเป็นปกติ การคบหาสมาคมก็จะ เป็นปกติราบรน่ื ไปดว้ ย 3.5 ความรู้ เมื่อมบี ุคลิกลักษณะดี แต่งกายดี สุขภาพดแี ลว้ ความรู้เป็นสว่ นหนึ่งทท่ี าให้ คนเราได้รับการยกย่องนับถือแตกต่างกัน การศึกษาหาความรู้ให้แก่ตนเองมีความจาเป็น คนท่ี มี ความรู้และมีความรู้หลายๆ ด้านสามารถจะดารงชีวิตได้ดีกวา่ คนที่มีความรู้น้อย คือสามารถปรบั ตัว เข้ากับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมได้ 3.6 ความสามารถ เรามักจะพูดควบคู่กันไปว่า มีความรู้ความสามารถ คนท่ีมีความรู้ มักจะมีความสามารถในการใช้ศักยภาพท่ีมีอยู่ในตัวให้เกิดประโยชน์แก่ ตนเองและชุมชนได้มาก จึงจาเป็นตอ้ งสร้างความสามารถให้มากในตัวเรา บางคนรู้แต่ไม่มีความสามารถนาเอาไปใชไ้ ปปฏิบัติ ได้ก็มีคนท่ีจบปริญญาสูงๆ มาด้วยกันไม่ใช่จะได้รับความสาเร็จในชีวิตเหมือนกัน อยู่ท่ีแต่ละคนมี ความสามารถในการใช้ความรู้ได้เพียงใด บางคนมีความสามารถทางานก้าวหน้าได้รับความสาเร็จ บางคนไมส่ าเร็จดงั ทีต่ ั้งใจไว้ แต่กม็ บี ้างท่ีบางคนมีความรู้นอ้ ย แต่สามารถปฏบิ ัติงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้ ความสามารถจึงอยูท่ ก่ี ารเอาความรูท้ ั้ง หลายท่มี ีมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทางาน หรือวิธีปฏิบัติในชีวิตจริงได้ดีเพียงใดเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง ท่ีทุกคนอาจเรียนรู้ได้เท่าๆ กัน แต่การ นาเอาไปปฏิบตั ิได้ไม่เหมือนกัน สิ่งทีท่ าให้เราใช้ความรู้ ท่ีมอี ยใู่ หเ้ กิดประโยชนต์ ่องาน สังคม สว่ นรวม คอื ความสามารถ 3.7 ความประพฤติและทัศนคติ ความประพฤตินั้นเป็นเรื่องของกาย วาจา ใจ ทุกคน อยากคบหากับคนที่มีความประพฤติดี มีความสุภาพ อ่อนน้อม ถ่อมตน ไม่เย่อหย่ิง คงไม่มีคนอยาก คบคนประพฤติชว่ั หยาบคาย เลวทราม เพราะไดร้ บั แต่ความเดือดรอ้ น ทาให้ถูกตาหนิ ติเตียน เปน็ ท่ี รังเกียจของสังคม คนท่ีมวี าจาไพเราะ มีกริ ิยามารยาทดีจะเกิดจากจิตใจที่สภุ าพ เรียบร้อย มีศีลธรรม การเสแสรง้ ทาย่อมจะทาได้อยู่ไมน่ าน ตอ้ งสุจริตทง้ั กาย วาจา ใจ ถ้าใจสบายเราก็พดู จาไพเราะสุภาพ ถ้าใจและอารมณ์ไม่ดี ก็จะแสดงกิริยาไม่ดีออกมากระแทกกระทั้น พูดจาหยาบคายเป็นการระบาย อารมณ์ จงึ ตอ้ งมีการคิดบวก มองโลกในแงบ่ วก พฤติกรรมหรอื การกระทาจงึ แสดงออกมาในลักษณะ ที่ดงี าม มแี ต่ความสุขสงบในชมุ ชน

99 3.8 ความต้ังใจ ความตัง้ ใจเกดิ จากฉนั ทะ ความรัก ความพึงพอใจในงานท่ีตนรบั ผิดชอบ เรามบี คุ ลิกลักษณะดี สุขภาพอนามัยดี ความสามารถ ความประพฤติ และทศั นคตดิ ี แตพ่ อทางานไม่มี ความตั้งใจ ไม่เอาจริง ทาแล้วเลิกกลางคัน ล้มเหลว ไม่มีความมานะ พยายามสร้าง นิสัยให้เป็นผู้มี ความจริงจังในการทางาน ความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ โนชีวติ ก็จะเกิดข้ึนได้ ปัจจัยท้ัง 8 ประการที่ทาให้เกิดการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในชุมชนท่ี กล่าวมาน้ัน ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการทางานในชุมชน ทาให้บังเกิดผลสาเร็จ อย่างไรก็ตามในการ ปฏิบัติงานในชุมชนให้ได้รับความสาเร็จท่ีดีน้ัน จะต้องพิจารณาถึง สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม โอกาส เวลา และสถานที่ประกอบไปด้วย เพราะส่ิงเหล่าน้ีเป็นปัจจัยแวดล้อมท่ีมีผลกระทบต่อความสาเร็จ ราบรื่น หรือลม้ เหลวได้เหมอื นกัน ดังนน้ั จึงต้องไตรต่ รองเสียก่อนวา่ ในโอกาสใดเราควรจะทาอย่างไร ให้เหมาะสมกับโอกาสนั้นและถูกจังหวะเวลาด้วย ชีวิตท่ีอับเฉาก็เพราะดาเนินชีวติ ไปอย่างไม่ถูกกับ จงั หวะ เวลา และเหตกุ ารณ์ ซึ่งสามารถอธิบายในรายละเอียดได้ดงั น้ี 1. บคุ คล เป็นสิง่ แวดลอ้ มที่ก่อให้เกดิ สถานการณ์ต่างๆ ไดม้ าก เราจะต้องคบหาสมาคม กับคนที่อยู่รอบตัวเราให้ดีและราบรื่น บุคคลเป็นปัจจัยสาคัญท่ีแวดล้อมตัวเราซ่ึงจริงอยู่ ตัวเราเป็น ผู้สร้างความดี แต่ความดีน้ันต้องได้รับการยอมรับโดยผู้อื่น เราจะได้ดิบได้ดีก็จะต้องมีคนสนับสนุน ช่วยเหลือ เราจะทาจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขอะไรมักจะมีเร่ืองของบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งได้แก่เรื่องของอารมณ์และจิตใจ คนท่ียากแกก่ ารท่จี ะหย่ังรู้ถึง แต่ก็ไม่จนเหลือวิสยั เราจาเป็นต้อง อาศัยคนทุกระดับ ต้ังแต่หัวหน้า เพื่อนร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นผู้สนับสนุนการทางานของ เรา อย่าลืมคากล่าวที่ว่า “แม้นความรู้ดั่งสรรพวิญญู ผิบ่มีคนชู ห่อนข้ึน” มีเพื่อนหรือคนแวดล้อมดี กจ็ ะเปน็ การสง่ เสรมิ และเสรมิ สรา้ งบารมขี องผนู้ น้ั 2. เพือ่ นร่วมงานใกลช้ ิดกับเราเหล่าน้ี ปฏบิ ัติงานรว่ มกนั กบั เรา งานจะดจี ะเลว เขากม็ ี สว่ นชว่ ยเหลือเรา ฉะนน้ั เราจึงตอ้ งมคี วามสมั พันธท์ ดี่ กี บั เขา เพ่ือให้เขาสนบั สนนุ ความสาเรจ็ ของงาน ซง่ึ จะทาให้เรามคี วามเจรญิ กา้ วหน้าไปด้วย 3. โอกาส การติดต่อสัมพันธ์ให้ราบรื่นได้รับความสาเร็จในกิจการงานใด โอกาสและ เวลาเป็นส่ิงสาคัญ ถ้าโอกาสเหมาะสมเราไม่รีบดาเนินการ จังหวะโอกาสน้ันหลุดลอยไป ความสาเร็จ จะไมบ่ งั เกดิ แน่นอน ถ้าโอกาสที่ไม่เหมาะสมหรือไม่อานวยในการตดิ ตอ่ สัมพันธ์แต่เรา เป็นคนไม่เลือก ไม่ดูโอกาส เอาแต่ความเหมาะสมของตน ไมด่ ูความเหมาะสมของผู้ทเ่ี ราจะไปติดตอ่ ก็จะพบกับความ ล้มเหลวได้เช่นเดียวกัน สิ่งท่ีผู้ได้รับความสาเร็จและยิ่งใหญ่ คือ “โอกาส” คาว่า “ฉวยโอกาส” บางคนมองไปในแง่ท่ีไม่ดี แต่ถา้ มองถึงความเฉลียวฉลาดในการใช้โอกาส ใช้โอกาสเป็นประโยชน์แล้ว การฉวยโอกาสจงึ เป็นสิง่ ที่จาเป็น

100 4. เวลา คนเรามีเวลาที่มีอารมณ์ดี อารมณ์เสีย วันนี้ไม่ยอม แต่พรุ่งนี้อาจจะยอม เราควรจะพูดในวันนี้จะเหมาะสม หรือจะเอาไว้ไปพดู ท่ีทางานดกี วา่ มาพูดทีบ่ ้าน หรอื พดู ท่บี ้านดีกว่า ที่ทางาน เหลา่ นี้เปน็ เรอ่ื งของเวลาและสถานทีเ่ ขา้ มาเก่ียวขอ้ ง 5. บุคลิกทช่ี นะใจคน บุคลิกภาพ กิรยิ า ท่าทาง ที่แสดงออกสามารถที่จะเอาชนะใจคน และสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างกันในชุมชน ลองสารวจตัวเองว่า ท่าทาง การยืน การน่ัง ไหล่ห่อ ตวั งอ หลังโกง การแสดงท่าทางประกอบการพูดคุย การแกว่งแขนขณะเดนิ เสื้อผ้าท่ี สวมใส่ เสียงท่ี พดู วิธีการพดู คาพูด ควรฝกึ หัดจากบุคคล ตารา การฝึกหัดจากการสอน เพ่ือเป็นการแก้ไขปรับปรุง บุคลกิ ของตนเสียเพ่ือสรา้ งเสนห่ ์และความประทับใจแรก การสรา้ งความสมั พนั ธ์ในชุมชน มีวธิ กี ารดงั รายละเอียดต่อไปน้ี (Miller et, 1983) 1. การสรา้ งความสมั พนั ธ์กับผู้บงั คับบญั ชา มีดงั นี้ 1.1 ต้ังใจทางานในหนา้ ที่ของตนใหด้ ที ่ีสดุ 1.2 หลกี เล่ียงการประจบสอพลอ 1.3 ไมน่ นิ ทาผบู้ ังคับบญั ชา 1.4 เรียนร้นู สิ ยั การทางานของผู้บงั คบั บญั ชา 1.5 ปฏบิ ัติตามคาส่ังของผ้บู ังคับบญั ชา 1.6 ไม่ควรคลอ้ ยตามผูบ้ งั คบั บญั ชาทุกเร่อื งโดยโมม่ ีเหตุผล 1.7 การจะเข้าพบผบู้ ังคับบญั ชานนั้ ควรดูจงั หวะทเี่ หมาะสม 1.8 ไมค่ วรรบกวนผู้บังคับบญั ชาด้วยเร่ืองเลก็ ๆ น้อยๆ 1.9 ไม่ควรสรา้ งความเป็นศัตรกู ับผบู้ งั คบั บัญชา 1.10 ไม่ควรทาให้ผูบ้ ังคบั บญั ชาอับอายขายหน้า 1.11 ประเมนิ ตนเองอย่างมีเหตุผล 1.12 ไมแ่ สดงความโกรธผ้บู งั คบั บญั ชา 1.13 แสดงความกตญั ญูกตเวทตี ่อผ้บู งั คบั บญั ชา 1.14 ไม่พรา่ บน่ ถึงความยากลาบาทในการทางาน 1.15 ยกย่องชมเชยและให้เกยี รติผู้บังคบั บญั ชาทัง้ ต่อหนา้ และลบั หลัง 1.16 เชอ่ื ฟังคาส่งั และให้ความรว่ มมือในการทางานอยา่ งสมาเสมอ 1.17 แก้ไขในสิ่งทผ่ี ิดพลาดของตนเอง 2. ผู้ใต้บังคบั บัญชาทผ่ี ้บู งั คับบัญชาไมพ่ ึงปรารถนา 2.1 ตตี นเสมอ 2.2 หลบเล่ยี งงาน 2.3 ใช้งานแล้วไมไ่ ดง้ าน

101 2.4 ขาดการคารวะ 2.5 นินทาผู้บังคบั บญั ชา 2.6 นาความเดือดร้อนมาสอู่ งคก์ ร 2.7 ไม่ชอื่ สัตย์สุจรติ 2.8 ไมพ่ ัฒนาตนเองใหท้ นั กับความก้าวหนา้ 2.9 มุ่งเนน้ แตป่ ระโยชนส์ ่วนตน 2.10 ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือ 2.11 กอ่ ใหเ้ กิดความวุ่นวายในวงงาน 2.12 ขอร้องผู้บงั คับบญั ชาท่ไี มส่ มควร เช่นในเรอื่ งหยุมหยิมไมเ่ ปน็ เรื่อง 2.13 ไม่มีความรบั ผิดชอบ 2.14 ขอรบั กระผมตลอดเวลา แตไ่ ม่ปฏบิ ัตติ าม 2.15 ตอ่ ด้านดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ นานา 2.16 ชอบบ่นถึงความยากลาบาก 2.17 ชอบเสนอจนเกนิ ความจาเปน็ 2.18 พูดจาไม่ไพเราะ 2.19 ความประพฤติไมเ่ รยี บรอ้ ย 2.20 แตง่ กายไม่สภุ าพ 2.21 ชอบซัดทอดความผิด 2.22 อจิ ฉาริษยา 3. การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา สาหรับวิธีการสร้างความสัมพันธ์กัน ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชา มีดังน้ี 3.1 บอกเป้าหมายและนโยบายขององค์กรให้ชัดเจน และแจ้งให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ทราบให้ท่วั ถึงกนั 3.2 มีการวางแผนในการทางาน 3.3 แจง้ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมให้ผู้ใต้บงั คบั บัญชาทราบ 3.4 กาหนดอตั ราค่าจ้างอยา่ งเปน็ ธรรม 3.5 สง่ั งานชัดเจน ไมว่ ่าจะด้วยวาจาหรือลายลกั ษณ์อักษร 3.6 สั่งงานโดยมีขอ้ แมเ้ พือ่ มิให้ผิดระเบยี บ 3.7 แสดงความสามารถในการทางานใหผ้ ู้บงั คับบัญชาเห็น 3.8 แนะนาและบอกวธิ ีการปฏบิ ตั งิ านอย่างใกล้ชิด 3.9 อธิบายเหตุผลในการสงั่ งานวา่ เหตใุ ดต้องทางานน้ันและมผี ลดผี ลเสยี อยา่ งไร

102 3.10 มีความยืดหยุ่น ไม่ควรขีดเส้นตายของงาน หรือคาดโทษผู้ที่ทางานไม่เสร็จ ตามเวลา หรือลงโทษเม่อื ทาผดิ 3.11 เม่ือส่ังให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทางานควรใช้คาพูดเชิงขอร้องดีกว่าใช้อานาจ สง่ั ใหท้ า สรุปการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในชุมชน คานึงถึงปัจจัยภายนอกและ ภายในตัวบคุ คล ปัจจยั ภายนอกได้แก่ บุคลิกภาพทม่ี องเห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การแต่งกายที่เหมาะสม การวางตัวสอดคล้องกลมกลืนกับสภาพการณ์ เช่น การไปร่วมในงานบวช ไม่สวมกางเกงขาสั้น หรือ งานแต่งงานใส่ชุดราตรีในงานเลี้ยงตอนเย็น เป็นต้น ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด ไม่พูดจาดหู มิน่ เหยียดหยามคนอืน่ พูดคยุ อย่างสุภาพ พดู ขอบคณุ และพดู ขอโทษให้ตดิ เปน็ นิสยั กระบวนการมนษุ ยสัมพันธใ์ นโรงเรยี น ครูมีบทบาทมากในโรงเรียน บทบาทที่ครจู ะปฏบิ ตั ิตอ่ ศษิ ย์ คือ นักเรียนในโรงเรยี น จะตอ้ ง เป็นบทบาทของครูท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี สม่าเสมอต่อเด็ก แม้จะทาโทษเด็ก ครูจะต้องมีเหตุผล ไม่แสดงความโมโห น้อยใจออกมา ควรรู้จักวิธีอบรมส่ังสอนลูกศิษย์ ให้เข้าใจเจตนาที่ดีของครูว่าการ ทาโทษนี้เพ่ือหวังให้ลูกศิษย์ดีต่อไปในอนาคต แต่การทาโทษควรเป็นการกระทาโทษที่เป็นการ สรา้ งสรรค์ ไม่ใช่การทาร้ายให้เด็กเจ็บตวั เปน็ ตน้ หรือว่ากล่าวเด็กด้วยการใส่อารมณ์ โมโหและพูดจา อย่างรุนแรง ไม่สุภาพ ฉะน้ัน ครูต้องเป็นรูปแบบที่ดีให้กับศิษย์ในโรงเรียนในทุกอิริยาบท ไม่ว่า การแต่งกาย นิสัยการสอน การพูดคุย การขยันหมั่นเพียร การปฏิบัติตนตรงต่อเวลา การเอาใจใส่ การอบรมสั่งสอนศษิ ย์ ครจู ะต้องกระทาสม่าเสมอ และจะตอ้ งสร้างสัมพันธภาพกบั ลกู ศษิ ย์ในช้นั เรยี น เท่าน้ันไม่พอ จะตอ้ งสรา้ งสัมพันธภาพไปถงึ พ่อแม่ด้วย และมีสมั พันธภาพกับเพ่ือนครู คนงานภารโรง ผู้บังคับบัญชา ตลอดจนประชาชนในชุมชน สิ่งใดที่กระทาแล้วถือว่าเป็นการสร้างสรรค์ เป็นการ พัฒนาให้สังคมเจริญ ครูควรกระทาส่ิงนั้น เช่น ให้ความร่วมมือต่อสังคม ทาบุญ อบรมส่ังสอนศิษย์ และประชาชนในสังคม ในชุมชน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสุภาพ มีศิลป์ในการสนทนา รู้จักชนะใจคน มีน้าใจ มีวิธีการพัฒนาโรงเรียนให้เจริญ จัดบริการแนะแนวที่ดีให้เด็กและประชาชน เปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ีในการรักษาความสะอาดของหอ้ งเรียน บริเวณโรงเรียน ห้องอาหาร ห้องสมุด มีความ ขยันหม่ันเพียรในการสอน และการประเมินผล และติดตามผลนักเรียน จัดสวัสดิการท่ีมีประโยชน์ ให้แก่เด็กและผู้ปกครอง จัดโครงการท่ีเป็นการพัฒนาต่อบุคลิกภาพ พัฒนาบ้านเรือน พัฒนาเกษตร และสหกรณ์ใหป้ ระชาชน เป็นโครงการรว่ มกนั กบั ชมุ ชน เปน็ ต้น

103 ภาพที่ 3.2 กระบวนการมนุษยสัมพันธใ์ นโรงเรยี น ที่มา : http://www.phrapathom.ac.th/gallery-detail_49237 การสร้างมนษุ ยสัมพนั ธ์กบั ผเู้ รียน การสรา้ งความสัมพันธก์ ับนักเรียน นักศึกษา หมายถึง การที่ครู อาจารย์ ปฏิบัติต่อผูเ้ รียน ทัง้ ในและนอกห้องเรียน เพอื่ ใหเ้ กิดความสัมพนั ธ์ท่ีดีต่อกัน สัมพนั ธภาพท่ดี ขี องครกู ับผเู้ รยี นเปน็ ปัจจัย หน่ึงทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การเรียนรู้ของผู้เรียน มีผลการวจิ ัยหลายเร่ืองท่ียนื ยันวา่ สัมพันธภาพท่ีดีของครูกับ นกั เรยี นส่งผลต่อผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน การรับรู้ตนเอง และพฤตกิ รรมของผู้เรียนในทางสรา้ งสรรค์ ดังท่ี อาพร เจนประภาพงศ์ (2528) ศึกษาพบว่า สัมพันธภาพของครูประจาชั้นกับนักเรียนและ สุขภาพจิตของนักเรียนมีความสัมพันธ์กัน ทัศนีย์ ประธาน (2548) ศึกษาพบว่าครูและนักเรียน ต้องการมีปฏิสัมพันธ์ต่อการในการสร้างสรรค์ ซึ่งครูและนักเรียนควรร่วมกันสร้างสัมพันธภาพที่ดี ต่อกัน โดยนักเรียนควรมีบทบาทในการให้ความร่วมมือ ในการสร้างบรรยากาศแบบประชาธิปไตย พรอ้ มท่ีจะปฏิบัติตามคาแนะนาของครู และยอมรับโทษเม่ือทาความผิดและได้รับการอธิบายเหตุผล อย่างชัดเจน ส่วนครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนท้ังด้านบุคลิกภาพ พฤติกรรมท่ีแสดงออก ความรับผิดชอบในการสอน ลงโทษด้วยวิธีที่เหมาะสมกับความผิด ไม่มีอคติ ทั้งอธิบายเหตุผล และ ไม่แสดงอารมณ์ฉุนเฉียว งานวิจัยของ ลดาวัลย์ พรอนันตชัย (2548) สพุ ัตรา ผลรตั นไพบูลย์ (2550) และ ปิยะ คงอุบล (2553) พบว่า สัมพันธภาพของครูมีความสัมพันธ์ทางบวกกับเจตคติ และ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น

104 อย่างไรก็ตามในสังคมไทยถือว่าครู มีอานาจเหนือนักเรียน นักศึกษา บางคร้ังก็ใช้อานาจ มากเกินไป จึงทาให้สัมพันธภาพระหว่างครู อาจารย์ กับนักเรียนเส่ือมคลายลง สัมพันธภาพท่ีดีของ ครูกับนักเรียนนั้น ครูจะต้องยอมรับ เข้าใจ เป็นกันเอง ตลอดจนส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักพัฒนาตน ครูตอ้ งแสดงใหน้ ักเรยี นได้ชัดเจนด้วยน้นั ก็คือครูจะตอ้ งมีสัมพันธ์ ดังนั้น ครูควรยึดหลักปรัชญาความ เช่ือที่ว่า “นักเรียนทุกคนเป็นมนุษย์ และนักเรียนจะมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีหรือไม่นั้นข้ึนอยู่กับ ส่งิ แวดลอ้ มรอบข้าง น่ันหมายรวมถึงตัวครูด้วย” โสภณ พวงสุวรรณ (2530, น. 131) กล่าวว่า ปัญหา ด้านมนุษยสัมพันธ์ท่ีเกิดข้นึ ระหว่างครูกับนักเรียนนั้น ส่วนใหญ่แล้วเป็นเพราะครไู ม่เข้าถงึ ความรู้สึก นึกคิด ความตอ้ งการของผูเ้ รียน หรอื กล่าวโดยงา่ ยก็คือ ลืมไปวา่ นกั เรียนก็เปน็ มนุษย์เหมอื นกันกบั ตน เปน็ ผมู้ ีอารมณ์ ความรูส้ ึกนกึ คดิ ไม่ใชส่ ่ิงของทค่ี รูจะเป็นปฏบิ ัตอิ ย่างไรกไ็ ด้ 1. องค์ประกอบสาคัญของมนุษยสมั พันธ์ทด่ี รี ะหว่างครูกบั ผูเ้ รยี น การท่ีครูและผู้เรียนจะมีมนุษยสัมพันธท์ ี่ดีต่อกันได้นน้ั แตล่ ะฝา่ ยจะต้องมีองค์ประกอบ ดงั ต่อไปน้ี 1.1 มีความเปิดเผยต่อกันและกัน ไม่ปิดบังความรู้สึกท่ีแท้จริงของตนเองต่ออีก ฝ่ายหนึ่ง อย่างไรก็ตาม การเปิดเผยตนเองต้องใช้ระยะเวลาเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จนเกิดความ สนิทสนมไว้วางใจกัน บคุ คลจงึ จะเปิดเผยตนเอง ดังนน้ั เป็นไปไมไ่ ด้เลยทผี่ เู้ รียนจะเข้ามาเปดิ เผยเรื่อง ของตนเองกบั ครโู ดยไม่มคี วามสนิทสนม หรือม่นั ใจวา่ ครูเปน็ พวกเดยี วกับเขา 1.2 มีความใส่ใจต่อกัน ครูและผู้เรียนต้องมีทักษะพฤติกรรมการใส่ใจต่อผู้อ่ืน เพราะ การใส่ใจผู้อน่ื เชิงสรา้ งสรรค์ ทาใหเ้ ป็นจุดเร่มิ ตน้ ของการทักทาย รูจ้ ักมักค้นุ และสานต่อสัมพนั ธภาพ 1.3 มีระยะเวลาในการคบหามีปฏิสัมพันธ์กัน การท่ีบุคคลจะสนิทกันได้ ต้องมี ช่วงเวลาให้ได้มีปฏิสัมพันธ์ ได้ทางานหรือกิจกรรมร่วมกัน ดังนั้น การท่ีสถานศึกษาจัดคาบกิจกรรม โฮมรูมให้นั้น ครูและผู้เรยี นต้องเห็นคุณค่ากจิ กรรมโฮมรูม ใช้กิจกรรมโฮมรูมให้เกิดประโยชน์ในการ รูจ้ ักครูและผู้เรยี น 1.4 มีความเข้าใจและยอมรับซึ่งกันและกัน ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ ธรรมชาตแิ ละพฒั นาการของผ้เู รยี น เพอื่ จะปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมในการมปี ฏิสมั พนั ธ์กบั ผู้เรียน 2. วธิ ีสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างครูกับผู้เรยี น ขนิษฐา สุวรรณฤกษ์ (2547, น. 128-131) ได้นาเสนอแนวทางการสร้างสัมพันธภาพ ระหว่างครกู บั ผ้เู รยี นไว้ 3 ประเด็น ดงั น้ี 2.1 การสร้างความประทับใจให้แก่ผู้เรียน โดยบุคลิกภาพทางกายภาพของครู ซ่ึงเป็น การเร่ิมต้นที่ดีท่ีผู้เรียนนิยมชมชอบ การแสดงออกของบุคลิกภาพทางกาย ได้แก่ การวางตน กริยา

105 ท่าทาง การแต่งกาย การพูดจา และการแสดงความเอ้ืออาทรด้วยความเป็นมิตร โดยการแสดง พฤติกรรมให้ผู้เรียนรู้สึกอบอุ่น คลายความกังวล มีความรู้สึกท่ีดีต่อครูและสถานศึกษา ซ่ึงปฏิบัติได้ ดังนี้ 2.1.1 วางตนเหมาะสมเปน็ ผใู้ หญ่น่านับถือ 2.1.2 ยิม้ แยม้ แจ่มใส แสดงความเปน็ มิตร มีความเมตตา 2.1.3 พูดจาไพเราะ ไม่พูดหยาบ ไม่พูดห้วน คิดทุกคาพูดที่พูด พูดมีประโยชน์ต่อ ผู้ฟงั 2.1.4 แต่งกายดีเหมาะสม นั่นคือ เหมาะสมกับเพศ วัย กาลเทศะ ทันสมัยนิยม สะอาด ประณีต และเป็นระเบียบ เพราะการแต่งกายดี นอกจากจะสวยงามเสริมบุคลิกภาพให้น่าดู สงา่ งามแลว้ ยงั เป็นการให้เกยี รตแิ กส่ ถานศึกษาและบุคคลอ่นื ดว้ ย 2.1.5 แสดงความเมตตาไม่รังเกียจผู้เรียน ให้ความช่วยเหลือ มีการทักทาย ปราศรยั กบั ผเู้ รียนตามสมควรโดยไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ 2.2 การจัดกระบวนการเรียนการสอนให้สนุกประทับใจ กระบวนการจัดการเรียน การสอน และการพัฒนาผู้เรียนเป็นบทบาทหน้าท่ีของครูโดยตรง การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดผล ครูจะต้องใช้หลักวิชาชีพและความมีมนุษยสัมพันธ์เข้าช่วยทุกข้ันตอน เพ่ือให้เกิดความรู้สึกที่ดี คลายความอึดอัดกังวลใจ มแี รงกระตุ้นให้เกิดกาลงั ใจอยากเรยี นรู้ เชอ่ื ฟัง ยอมทาตาม ซ่งึ จะบรรลุผล สาเร็จในท่ีสุด การท่ีครูจะเสนอและสนองความต้องการของผู้เรียน สร้างศรัทธาให้เกิดข้ึนใน กระบวนการเรียนรู้และตัวครู ครูจาเป็นต้องรู้จักผู้เรียน ธรรมชาติของผู้เรียน ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะ แตล่ ะวยั ทงั้ นก้ี ารจดั การเรียนการสอนให้เกิดการเรยี นรูอ้ ย่างมคี วามสขุ มสี ิง่ ที่ควรคานงึ 3 ประการคือ 2.2.1 การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ในห้องเรียน ห้องเรียนจะต้องมีลักษณะน่าอยู่ หน้าเรียนมีสื่ออุปกรณ์การเรียนรู้เหมาะสมกับสภาพห้องเรียน ห้องเรียนจะต้องสะอาดเรียบร้อย เป็นแหล่งการเรียนรู้ตามความเหมาะสม มีระเบียบข้อตกลง วัฒนธรรมการปฏิบัติในชั้นเรียน จดั หอ้ งเรยี นสวยงาม และส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนได้เข้ากลมุ่ การเรียนรู้ 2.2.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีดีมี ประโยชน์ และเป็นที่ต้องการของผู้เรยี น ก็นับได้วา่ เป็นเทคนิคการสรา้ งความรู้สึกที่ดีให้แก่ผเู้ รียนต่อ การเรียนรู้และต่อตัวครูด้วย กระบวนการดังกล่าวนับเป็นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ของครูต่อผู้เรียน เชน่ กัน 2.3 การแสดงความเป็นกัลยาณมิตรของครูตอ่ ผู้เรียน ปัจจยั สาคัญที่ทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ ได้ผลดีและมีความสุข มีกาลังใจ กระตุ้นให้มุ่งมั่นในการเรียนก็คือ ความเอาใจใส่ ความเมตตา ความเออ้ื อาทรของครทู ี่มีต่อผเู้ รยี น

106 จากที่กล่าวมา สามารถสรุปแนวทางการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างครูกับผู้เรียน ไดด้ ังน้ี 1) ยิ้มแย้มแจ่มใส เม่ือเข้าห้องเรียนควรทักทายปราศรัยผู้เรียน ด้วยใบหน้าท่ีย้ิมแย้ม แจม่ ใส พดู จาเปน็ กนั เอง ไพเราะ ไม่พดู ดูถกู หรือด่าทอผเู้ รียน 2) มีทักษะในการจดจารายละเอียดของผู้เรียน เพราะการจารายละเอียดของผู้เรียน เชน่ จาชอื่ ช่ือเลน่ ความสนใจของผเู้ รียนได้ จะทาใหผ้ เู้ รยี นเกิดความประทบั ใจ 3) ตั้งใจสอนและถ่ายทอดความรู้โดยไม่อาพราง เข้าใจพัฒนาการของผู้เรียน ว่ามี พัฒนาการอยา่ งไร และสอนใหส้ อดคล้องกับพัฒนาการ ความตอ้ งการ ความสนใจ 4) รจู้ กั ใช้เทคนิคการสอนทส่ี นุกสนานหรือกระต้นุ ให้ผ้เู รียนได้มบี ทบาทมากทีส่ ุด เพราะ จะทาให้ผเู้ รียนเกิดเจตคติทีด่ ีตอ่ ผสู้ อนและรายวชิ า นามาซึง่ สัมพันธภาพที่ดี 5) เป็นแบบอย่างท่ีดี เช่น เข้าสอนตรงต่อเวลา และสม่าเสมอ ความยุติธรรม และการ รจู้ กั แก้ปัญหา 6) แสดงความห่วงใยเอื้ออาทรต่อผู้เรียน เช่น ไต่ถามทุกข์สุข หรือสาเหตุของการ ขาดเรียน และรู้จักแบ่งเวลาให้ผู้เรียนเข้าพบเพ่ือปรึกษาปัญหาต่างๆ ได้ตามสมควร และให้ความ ช่วยเหลอื เท่าท่ชี ว่ ยได้ การสร้างมนษุ ยสัมพนั ธ์กับบุคลากร การปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาต้องปฏิสัมพันธ์กับบุคคลหลายฝ่ายด้วยกัน ดังน้ัน เพื่อให้การปฏิบัติบังเกิดสัมฤทธ์ิสูงสุด ครูจึงต้องรู้จักการสร้างมนุษยสมั พันธ์กับบุคคลในสถานศึกษา นาเสนอได้ดังนี้ (ขนิษฐา สุวรรณฤกษ์, 2547, น. 131-135; บุญสม จันทร์เอี่ยม, 2547, น. 65-67; สนธยา สวสั ดิ์, 2549, น. 28-29 และบุญม่นั ธนาศุภวฒั น์, 2553, น. 174) 1. การสร้างความสมั พนั ธ์อันดกี บั ผู้บงั คับบัญชา แนวทางการปฏิบัตติ นเพ่อื สรา้ งสมั พนั ธภาพทีด่ ีกับผู้บังคบั บัญชานาเสนอไดด้ ังนี้ 1.1 ทางานให้ดี คบหาผู้บงั คับบญั ชาดว้ ยผลงาน หลีกเลีย่ งการประจบสอพลอ 1.2 ชว่ ยทาให้ความคิดหรือคาส่ังของผูบ้ ังคบั บัญชาไดร้ ับผลสาเรจ็ 1.3 ไม่ควรใช้คาวา่ “ครบั ” หรอื “ไม่” ตลอดไปจนทาให้เสียประโยชน์ 1.4 อยา่ ก่อศตั รอู ันจะเปน็ เหตใุ หก้ วนใจผูบ้ งั คับบญั ชา 1.5 เรียนรนู้ ิสยั การทางานของผูบ้ งั คบั บญั ชาใหเ้ ข้าใจ 1.6 อยา่ กวนเรื่องเล็กๆ นอ้ ยๆ จุกจิก

107 1.7 ถ้าจะเขา้ หาให้ดูเวลาและโอกาสท่ีเหมาะสม 1.8 อยา่ นินทาลบั หลัง 1.9 ประเมินตนเองเสยี บ้าง โดยไม่เขา้ ข้างตนเอง เพือ่ หาทางแกไ้ ขและพัฒนาตน 1.10 อย่าแสดงความโกรธเม่ือผูบ้ ังคับบัญชาไมเ่ ห็นด้วยกับเรา เพราะเราอาจผดิ และไม่ ละเอียดรอบคอบเพียงพอ ควรศึกษาเทคนิคการเสนอขอ้ คิดเห็นอยา่ งแนบเนยี น 1.11 เมอื่ ผบู้ ังคับบัญชาดีต่อเรา ตอ้ งหาทางแสดงความกตัญญูกตเวที 1.12 อย่าบ่นถึงความยากลาบากในการทางานตอ่ ผู้บงั คบั บัญชา 1.13 อ่อนน้อมถอ่ มตน ให้เกียรตติ ่อหน้าและลับหลัง 2. การสรา้ งความสัมพันธ์อันดกี บั เพอ่ื นรว่ มงาน โดยมีแนวทางการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 2.1 ให้ความเคารพนับถือยกย่องให้เกียรติในคุณวุฒิ วัยวุฒิ และประสบการณ์ใน การทางาน 2.2 ใหค้ วามรว่ มมือในการทางานอย่างเต็มท่ี ชว่ ยงานตา่ งๆ เทา่ ที่ทาได้ ไม่ถือเขาถือเรา 2.3 ปฏบิ ัตติ วั ต่อเพ่อื นดว้ ยความสุภาพ นุม่ นวล ไม่เยอ่ หย่งิ 2.4 ขอคาปรกึ ษาแนะนาดว้ ยวาจาสภุ าพ 2.5 ใหค้ วามชว่ ยเหลือเอ้ือเฟอื้ เผื่อแผต่ ามสมควร 2.6 ไม่คดิ ริษยาเมือ่ เขาไดด้ ี 2.7 ใหค้ าตชิ มดว้ ยความสจุ รติ ใจ 2.8 รบั คาติชมอยา่ งใจกวา้ ง อารมณเ์ ยน็ 2.9 รับฟังและให้กาลงั ใจอยา่ งเป็นมติ ร 3. การสรา้ งความสมั พันธ์อนั ดกี บั ผูใ้ ตบ้ งั คับบญั ชา โดยมแี นวทางการปฏิบตั ดิ ังน้ี 3.1 มอบหมายงานอย่างชัดเจน ถ้าเรื่องสาคัญควรมอบหมายเป็นบันทึกเอกสาร เพื่อ ป้องกันความเข้าใจผดิ และการผดิ พลาดของคาส่งั 3.2 มอบหมายงาน โดยมขี อ้ เสนอแนะให้ปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑห์ รือแนวทางปฏบิ ตั ิต่างๆ 3.3 แนะนา สอนหลักการและวธิ กี าร 3.4 ตดิ ตามความคืบหนา้ ของงาน ไต่ถามปัญหา อปุ สรรค และแก้ไขปญั หาให้ 3.5 เมอ่ื ทาดี ยกยอ่ ง สรรเสรญิ ชมเชยต่อหนา้ บุคคลอ่ืน และพยายามทาเป็นบันทกึ เพื่อ เป็นหลักฐานปรากฏ ถ้าเป็นเร่อื งสาคัญรายงานให้ผบู้ ังคับบัญชาทราบด้วย

108 3.6 เมื่อพบว่าผิด ว่ากล่าวตักเตือน ตาหนิสองต่อสอง และตาหนิแบบสร้างสรรค์ คือ ตักเตือนแนะนาเพื่อป้องกนั มิให้ทาผดิ อกี ไม่ตาหนิด้วยความโกรธ เกลียด ดูถูกหรอื ใช้คาบริภาษ เช่น คาวา่ โง่ เป็นต้น 3.7 จัดประชุมตามควร เพ่ือช้ีแจงงาน แผนงาน นโยบาย และรับฟังปัญหา ข้อคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะจากผใู้ ตบ้ ังคับบัญชา 3.8 ยิน ดีรับ ฟั ง รับพิ จารณ าความคิดเห็น ด้วยดี ไม่รีบตัดรอ น ก ระตุ้น ให้ ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาเสนอข้อคิดเหน็ ถ้าความเหน็ ดีกร็ บี รบั และให้ความเชอื่ ถอื แก่ผู้เสนอ 3.9 ถ้าความคิดเห็นของผู้ใต้บงั คับบัญชาผิดก็รับไวพ้ ิจารณาก่อน ไม่รีบดูถูกหรือตาหนิ ฉีกหนา้ ทนั ที 3.10 พยายามให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนในการร่วมตัดสินใจเร่ืองต่างๆ โดยถือว่า ทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือของฝ่าย ยกเว้นกรณีเร่ืองด่วนและกรณีผู้ใต้บังคับบัญชายังขาด ความรู้ ประสบการณ์ยังไมพ่ รอ้ มท่จี ะรว่ มตัดสินใจไดอ้ ย่างดี 3.11 เมื่อจะให้ข้อคิด ข้อแนะนา พยายามให้เป็นลักษณะเสนอแนวคิดให้ และปรึกษา กัน ไมใ่ ชเ่ ป็นการสง่ั สอนตลอดเวลา เพราะไม่เป็นการจูงใจในการทางาน 3.12 มีความสม่าเสมอ ยุติธรรม ไมล่ าเอียงหรือแสดงความชอบคนใดคนหน่ึงเป็นพิเศษ ปฏบิ ัติโดยเสมอหน้ากนั 3.13 สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผ้ใู ต้บงั คับบญั ชาได้พัฒนาความรู้ ความสามารถอย่างยุติธรรม โดยการไปดูงาน ไปฝกึ อบรม และพฒั นาตนเอง 3.14 หมน่ั สนใจ ดูแลฐานะและโอกาสความกา้ วหนา้ ทางด้านตาแหนง่ อยเู่ สมอ 3.15 พยายามสนับสนุนให้ความอนเุ คราะหช์ ว่ ยเหลือกจิ การสว่ นตัวตามสมควร 3.16 ปฏิบัติต่อกันด้วยความสุภาพ และให้เกียรติในฐานะเพ่ือนมนุษย์ ผู้มีศักด์ิศรี เทา่ เทยี มกัน การสรา้ งมนุษยสัมพันธก์ บั ชุมชน ชุมชนถือเป็นส่วนหน่ึงที่มีบทบาทหรือมีส่วนในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใน ปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับชุมชนถือเป็นเรื่องสาคัญ บทบาทของครูท่ีพึงกระทาคือการทา ความเข้าใจกับบุคคลท่ีมีส่วนร่วมในชุมชน โดยการนาผู้เก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาในชมุ ชนให้เข้ามามีบทบาทในการร่วมกาหนดนโยบายร่วมกัน และช่วยเสริมสร้างสิ่งต่างๆ ในสถานศึกษาให้ก่อเกิดอย่างเป็นรูปประธรรมได้มากยิ่งข้ึน ทั้งน้ีการสร้างความสัมพันธ์ท่ีครูพึงมีต่อ บุคคลในชมุ ชนและผู้ปกครอง มีดังน้ี (สนธยา สวัสดิ์, 2549, น. 248-249)

109 1. มีความสานึกในหน้าที่ของตนว่า มีหน้าท่ีบริการช่วยเหลือประชาชนในฐานะที่เขาเป็น ผเู้ สยี ภาษอี ากร หรอื เสียแต่ค่าเรียน ไม่ทาตัวเหนือประชาชน 2. แสดงความเตม็ ใจในการใหค้ วามช่วยเหลือแนะนาดว้ ยความจรงิ ใจ 3. พดู จาด้วยความสภุ าพ อ่อนโยน เพื่อใหผ้ รู้ บั บรกิ ารเกดิ ความมัน่ ใจ 4. ให้คาแนะนาในสิ่งที่ผู้มาติดต่อไม่รู้ ไม่เข้าใจ หรือแนะนาให้ไปหาคนที่มีความรู้เรอ่ื งราว น้นั ดี แบบมีมารยาท 5. เต็มใจบริการใหไ้ ดร้ ับความสะดวก รวดเร็ว ทันใจ ไม่เก็บเร่ืองไว้ในตะกรา้ แต่ต้องรบี ทา ให้เมื่อมีเวลา หรือแม้แต่จะต้องทาในตอนพักกลางวันหรือกลางคืน เสร็จแล้วก็รีบเสนอให้ ผ้บู งั คบั บญั ชาลงนาม 6. ทาตนเป็นกลาง ประสานความเข้าใจระหว่างประชาชนกับฝ่ายครู และบุคลากรใน สถานศึกษา ถ้าหากมีปัญหาตอ้ งรีบช่วยเหลือแกไ้ ข 7. ปฏิบัติต่อผู้มาติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานศึกษาทุกคน ด้วยความสุจริตยุติธรรม ไมม่ อี คตหิ รือเหน็ แกส่ ินจา้ งรางวัล 8. เต็มใจรบั ฟงั ข้อคดิ เห็น การตาหนิหรือวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างอดทนและพรอ้ มท่ีจะแกไ้ ข 9. พยายามใช้ภาษาถนิ่ พดู คุยกบั ผปู้ กครองและคนในชมุ ชน 10. หาทางไปเยีย่ มบา้ นนกั เรยี นหรือประชาชน หาโอกาสไปร่วมงานพิธขี องทอ้ งถ่นิ 11. ไมด่ หู ม่นิ เหยยี ดหยามประชาชนหรือผ้ปู กครอง 12. ไมเ่ บยี ดเบียนหรือสรา้ งความเดอื ดรอ้ นใหแ้ ก่ประชาชนหรือผู้ปกครอง บทสรุป กระบวนการของมนุษยสัมพันธ์ เป็นการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีกับบุคคล ซึ่งมี องค์ประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ การรับรู้บุคคล ลักษณะของส่ิงเร้า การรวมลักษณะที่ได้จากการรับรู้ และความรู้สึกประทับใจคร้ังแรก ซึ่งกระบวนการสร้างมนุษยสมั พนั ธ์ ประกอบด้วย การศึกษาตนเอง และผู้อื่น การแก้ไขปรับปรุงตนเอง การศึกษาสภาพวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม การศึกษาหลัก และวธิ กี ารสร้างมนุษยสมั พันธ์ การนาหลกั และวธิ ีการสรา้ งมนษุ ยสัมพันธ์ไปใชใ้ นชีวิตจริง การสร้างมนุษยสัมพันธ์มีด้วยกันหลากหลายวิธี ข้ึนอยู่กับแนวคิด และหลักการที่นาไปใช้ ไดแก่ หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ย่ังยืน หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ยึดปรัชญาของขงจื้อ หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ตามหลัก “การจูงใจ” “ตนเองมีความสุข ผู้อ่ืนมีความสุข และสังคมมี ประสิทธิภาพ” และ “การมีผลประโยชน์ร่วมกัน” รวมท้ังการใช้เทคนิคในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งหมายถึง กลวิธีในการติดต่อสัมพันธ์ เพื่อสร้างความประทับใจให้เกิดแก่คนท่ัวไปในสังคม เช่น

110 การย้ิมแย้มแจ่มใส รู้จักฟังให้มากกว่าการพูด ให้ความสาคัญแก่ผู้อ่ืน ควรวางตัวให้เหมาะกาลเทศะ และบคุ คล เปน็ ตน้ การสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลและชุมชน ประกอบด้วย การสร้างความสัมพันธอ์ ันดีกับ บุคคล การสรา้ งสัมพันธภาพท่ีดรี ะหว่างบุคคลในชุมชน และการพฒั นาสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคลใน ชมุ ชน รวมถึงกระบวนการมนษุ ยสมั พันธ์ในโรงเรยี น ที่ครคู วรสร้างมนุษยสัมพนั ธ์กบั ผู้เรียน บุคลากร และชมุ ชน เพอื่ การอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสขุ

111 คาถามท้ายบท จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี โดยอธิบายพร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ 1. จงอธิบายกระบวนการของมนุษยสมั พนั ธ์ 2. กระบวนการสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์มปี ระโยชนต์ ่อวิชาชพี ครอู ย่างไร 3. หากท่านเป็นครใู หม่ ท่านจะมีวิธีการสรา้ งมนุษยสมั พันธไ์ ดอ้ ยา่ งไร 4. หลกั ธรรมสามารถสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธไ์ ดอ้ ยา่ งไร 5. จงบอกวธิ ีการสร้างสัมพันธภาพระหวา่ งครูกับศษิ ย์ 6. องคป์ ระกอบสาคัญของมนษุ ยสมั พันธท์ ด่ี รี ะหวา่ งครกู ับนักเรยี นมอี ะไรบา้ ง 7. จงยกตัวอยา่ งการนาเทคนคิ การสร้างมนษุ ยสัมพันธ์มาใชใ้ นวิชาชพี ครู 8. การสรา้ งความสัมพันธก์ บั บุคคลและชมุ ชน 9. จงบอกวิธีการสรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งครกู บั ผ้ใู ต้บงั คบั บัญชา 10. หากท่านเป็นครูบรรจุใหม่ ท่านจะมีแนวทางการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับชุมชนได้ อยา่ งไร

112 เอกสารอา้ งองิ ขนิษฐา สุวรรณฤกษ์. (2547). มนษุ ยสัมพันธส์ ำหรบั ครแู ละผูบ้ รหิ ำรสถำนศึกษำ. กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี. บุญมนั่ ธนาศภุ วฒั น์. (2553). จติ วิทยำองค์กำร. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์. บุญสม จนั ทร์เอี่ยม. (2547). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำมนษุ ยสมั พนั ธส์ ำหรบั ครู. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณใ์ นพระบรมราชูปถมั ภ์. ปิยะ คงอบุ ล. (2553). กำรศกึ ษำควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำงรปู แบบกำรส่อื สำรในครอบครัว สัมพันธภำพ ของครแู ละนกั เรียนกับพฤติกรรมกำรเรียนคณติ ศำสตร์ของนักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษำ ปที ี่ 4-6 โรงเรยี นวัดม่วง สังกัดสำนักงำนเทศเขตบำงแค กรงุ เทพมหำนคร. วิทยานพิ นธ์ วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจติ วทิ ยาการให้คาปรกึ ษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัย รามคาแหง. ทัศนีย์ ประธาน. (2548). รำยงำนกำรวิจัยเรือ่ งปฏิสัมพนั ธ์ระหวำ่ งครกู ับผเู้ รยี นในเขตภมู ิศำสตร์ ภำคใต้. สงขลา: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา. พรรณทพิ ย์ ศิริวรรณบุศย.์ (2549). มนุษยสมั พนั ธ์. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 5). กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . พระธรรมปฎิ ก (ป.ป.ปยุตโต). (2540). จะพฒั นำคนกันได้อย่ำงไร: พุทธศำสนำกับกำรพัฒนำมนษุ ย์. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 6). กรุงเทพฯ: มูลนธิ พิ ทุ ธธรรม. เรียม ศรีทอง. (2542). พฤตกิ รรมมนษุ ยก์ บั กำรพัฒนำตน: ศำสตรแ์ หง่ กำรพัฒนำชวี ติ และสงั คม. กรงุ เทพฯ: เสมาธรรม. ลดาวัลย์ พรอนันตชยั . (2548). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติตอ่ กำรเรยี นวิชำคณิตศำสตรข์ อง นกั เรียนชว่ งชั้นท่ี 2 ทมี่ ีพฤตกิ รรมไม่ต้งั ใจเรยี น โรงเรยี นวัดสร้อยทอง เขตบำงซ่อื กรงุ เทพมหำนคร. ปรญิ ญานพิ นธ์การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาจติ วิทยาการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. ลกั ขณา สรวิ ัฒน์. (2556). มนษุ ยสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. วิภาพร มาพบสขุ . (2543). มนษุ ยสมั พันธ์. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยเู คชัน่ . สนธยา สวัสด์ิ. (2549). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำมนุษยสมั พนั ธส์ ำหรับครู. เชยี งใหม่: คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่. สมพร สุทัศนยี ์. (2554). มนุษยสัมพนั ธ.์ (พิมพค์ ร้งั ท่ี 10). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

113 สพุ ัตรา ผลรัตนไพบลู ย์. (2550). ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อพฤตกิ รรมกำรเรียนวิชำคณติ ศำสตร์ของนกั เรยี น ชว่ งชัน้ ท่ี 3 โรงเรยี นสรุ ำษฎร์พิทยำ จังหวดั สรุ ำษฎร์ธำนี. ปรญิ ญานพิ นธ์การศึกษา มหาบัณฑติ สาขาจติ วิทยาการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร. สุรินทร์ ธนโกไสย. (2538). มนุษยสัมพันธ.์ (พิมพค์ รัง้ ที่ 5). กรงุ เทพฯ: ธนะการพมิ พ.์ โสภณ พวงสวุ รรณ. (2530). มนษุ ยสมั พนั ธ์สำหรับครแู ละผบู้ ริหำร. ราชบุรี: คณะครุศาสตร์ วิทยาลยั ครหู มู่บา้ นจอมบงึ . อาพร เจนประภาพงศ์. (2528). ควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงสมั พันธภำพของครูประจำชน้ั กับนกั เรียน สุขภำพจิตของนักเรยี นและผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษำปีที่ 6 เขตกรุงเทพมหำนคร. ปรญิ ญานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑิต สาขาจติ วิทยาการแนะแนว บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมติ ร. https://www.gotoknow.org/posts/424076 http://www.phrapathom.ac.th/gallery-detail_49237 Kelly, H. & Thibaut, J.W. (1959). Psychology of Group. Minnesota: University of Minnesota. Luchins, A.S. (1957). The order of presentation. Hovland: New Haven. Miller, B.W. et al. (1983). Decision making: Case studies in business and industry, education and community relations. Minneapolis, Minnesota: Burgess Publishing Company. Pace, R.W. et al. (1979). Techniques for effective communication. Massachusetts: Addison-Wesley Publishing Company.

บทท่ี 4 การสอื่ สารเพอ่ื สร้างสมั พนั ธภาพสาหรบั ครู การส่ือสารเป็นปัจจัยท่ีสาคัญยิ่งต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ เพราะเมื่อบุคคลเกี่ยวข้องกัน ย่อมต้องอาศัยการสื่อสารเพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ได้ทราบข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความต้องการ และความรู้สึกต่างๆ จากผู้อ่ืน ขณะเดียวกันก็ได้ถ่ายทอดความต้องการ ความรู้สึก นึกคิดของตนใหผ้ ู้อ่ืนทราบ เพ่ือจะได้มีความเข้าใจท่ีตรงกันและปรับตัวเข้าหากันได้นั่นเอง จะเห็นได้ ว่าเม่ือบุคคลแต่ละคนต้องเก่ียวข้องกับผู้อ่ืน บางครั้งก็ทาหน้าที่เป็นผู้รับข่าวสาร ซึ่งจะต้องแปล ความหมายในส่ิงที่ผู้อ่ืนถา่ ยทอด ถ้าแปลความหมายผิดพลาด ก็อาจจะเกิดความเข้าใจผิดกัน มีผลต่อ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ได้ และบางครั้งเมื่อบุคคลต้องเป็นผู้ส่งสาร ถ้าไม่รู้วิธีท่ีจะสื่อความหมายให้ ผูอ้ น่ื เขา้ ใจความคิด ความรู้สึก และส่ิงที่ต้องการได้อย่างแท้จรงิ ก็จะเกิดความผิดพลาดได้เชน่ เดียวกัน ท้ังนี้เพราะบุคคลแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ดังน้ัน การสื่อสารจึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิต ร่วมกันในสังคม ช่วยให้กิจกรรมต่างๆ สามารถดาเนินไปได้ ถ้าไม่มีการสื่อสารก็ไม่มีการกระทาใดๆ เกิดขนึ้ ระหวา่ งบุคคลหรอื กลุ่มของสังคมนั่นเอง ความหมายของการส่ือสาร การส่ือสาร (Communication) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า “Communis” หมายถึง ความรว่ มมือกัน หรอื ความเหมือนกัน โดยนกั วชิ าการไดใ้ ห้ความหมายของการสอื่ สารไวด้ งั นี้ อัญชลี โพธิ์ทอง (2551, น. 180) ได้อธิบายว่า การส่ือสาร หมายถึง การสร้างหรือแสดง พฤติกรรมต่างๆ ที่ดาเนินไปในลักษณะที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันทั่วๆ ไป เพื่อให้ทั้งสองฝ่าย สามารถเขา้ ใจในความหมายทีต่ รงกัน กมลรัฐ อนิ ทรทัศน์ และพรทิพย์ เย็นจะบก (2553, น. 319) กล่าววา่ การติดต่อสอ่ื สารเป็น กระบวนการถา่ ยทอดขอ้ มลู ข่าวสาร ทงั้ โดยภาษาพดู ภาษาเขียน และความรู้สึกท่มี อี ทิ ธิพลต่อบคุ คล สมพร สุทศั นีย์ (2554, น. 283) กล่าววา่ การส่อื สาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจรงิ ตลอดจนความตอ้ งการ อารมณค์ วามรสู้ กึ จากผสู้ ่งไปยังผู้รับเพอ่ื ให้เข้าใจตรงกัน

116 ลุสเซีย (Lussier, 2002, p. 221) ได้ให้ความหมายของการสื่อสารว่าคือ กระบวนการท่ี ผสู้ ่ง (Sender) ทาการสง่ ผา่ นขอ้ มลู ขา่ วสารไปยังผ้รู บั (Receiver) ดว้ ยความเข้าใจอนั ดี ชิฟฟ์แมน และคานุก (Schiffman & Kanuk, 2007, p. 658) กล่าวว่า การส่ือสาร คือ การส่งผ่านสาร (Message) จากผู้ส่ง (Sender) ไปยังผู้รับสาร (Receiver) ด้วยวิธีการใช้สัญญาณ ชนดิ ใดชนิดหน่ึง โดยอาศัยชอ่ งทาง (Channel) หรอื ส่ือบางชนิด จากความหมายท่ีกล่าวมาพอสรุปได้ว่า การส่ือสาร หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยน ขอ้ มูลขา่ วสาร ความตอ้ งการ อารมณ์ และความร้สู กึ ซง่ึ กันและกัน เพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจตรงกนั ความสาคัญของการสือ่ สาร ในปัจจุบันเป็นท่ีตระหนักกันแล้วว่า การส่ือสารมีบทบาทสาคัญย่ิงต่อการดาเนินชีวิตและ การอยรู่ ่วมกันของมนุษยใ์ นสังคม ในทุกวงการไมว่ ่าจะเป็นทางดา้ นการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม และการศึกษา ซึ่งในบทนี้จะอธบิ ายความสาคัญของการสื่อสารใน 2 ลักษณะ คือ ความสาคัญ ของการสื่อสารทั่วไป และความสาคัญของการสอ่ื สารสาหรับครู 1. ความสาคญั ของการส่ือสารท่วั ไป โดยปกติทั่วไปการส่ือสารมีความสาคัญต่อบุคคลสรุปได้ดังนี้ (วงศ์นภา ติยะวานิช, 2548, น. 109) 1.1 การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญในการติดต่อสัมพันธ์ การส่ือสารเป็นกระบวนการ ถ่ายทอดข้อมูล ความคิด อารมณ์ความรู้สึก และความต้องการไปยังผู้อ่ืนตลอดเวลา ถ้าปราศจาก การส่ือสาร กจ็ ะไม่มโี อกาสถ่ายทอดข้อมูลให้แกก่ นั บคุ คลและสังคมกจ็ ะขาดความรู้ความเขา้ ใจต่อกัน ดังนั้น ควรตระหนักถึงกระบวนการถ่ายทอดข้อมูล รวมทั้งปรับปรุงสื่อต่างๆ เช่น คาพูด การเขียน กริยาท่าทาง ให้มีประสทิ ธิภาพ เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจตรงกันและเกิดความพึงพอใจต่อกัน 1.2 การส่ือสารเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นในการดาเนินชีวิต ความสาเร็จในการประกอบ อาชีพใดๆ หรือการดารงตาแหน่งใดๆ ในองค์การ ความสามารถในการสื่อสารมีความสาคัญมาก การมีทักษะในการพิจารณาความรู้สึกและความต้องการของผู้มาติดต่อสื่อสารด้วย ทาให้สามารถ ตอบสนองความต้องการและปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืนได้ ถ้าหากไม่มีการสื่อสารก็จะไม่ทราบความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการหรือข้อมูลใดๆ ทาให้ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกันระหว่างคน ในสังคม การมปี ฏิกิริยาตอบสนองตอ่ กนั จาเป็นตอ้ งอาศยั การสื่อสารทม่ี คี ุณภาพ 1.3 การส่อื สารมีความสาคัญตอ่ การบรหิ ารงาน เพราะกจิ กรรมทุกชนิดในการบรหิ ารงาน ในองค์การต้องอาศัยการส่ือสารตลอดเวลา ได้แก่ การส่ังงาน การมอบหมายงาน การแนะนาช้ีแจง

117 การประสานงาน การรายงานผลการปฏิบัติงาน ถ้าปราศจากการสื่อสาร การบริหารงานก็ไม่อาจจะ ประสบผลสาเร็จได้ ในการบริหารงานต้องอาศัยการสื่อสารทางท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การส่ือสารที่เป็นทางการเป็นการสนองจุดประสงค์คือ “ก่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน” เช่น มีคาสั่ง ชดั เจนเป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนการสอ่ื สารที่ไม่เป็นทางการ จุดประสงค์เพ่ือความรวดเร็วและความ พึงพอใจต่อกัน การสือ่ สารทั้งสองลักษณะมีความจาเป็นในการบรหิ ารงานมาก เพราะการบริหารงาน ในองคก์ ารมีสายการบังคับบัญชาหลายระดับ ผู้บงั คบั บัญชาย่อมตอ้ งใช้การส่ือสารเพื่อถ่ายทอดข้อมูล ความคิด ความต้องการไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างราบร่ืน และบรรลุ เป้าหมาย สาหรับผู้ใต้บังคับบัญชาก็ต้องอาศัยการส่ือสารเพื่อสนองความต้องการ และรับรองความ ตอ้ งการ เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนผลประโยชนซ์ ง่ึ กนั และกนั 2. ความสาคญั ของการสือ่ สารสาหรบั ครู การสื่อสารมคี วามสาคญั ต่อครดู งั ต่อไปน้ี 2.1 การถ่ายทอดความรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้จะบรรลุจุดประสงค์ได้ ก็ด้วย การสือ่ สารที่มีประสิทธิภาพ นั่นคือ หากครูมีการส่ือสารท่ีดีมีประสทิ ธิภาพก็จะเอื้อต่อความสาเรจ็ ใน การจดั การเรียนรู้ 2.2 การส่ือสารท่ีดีจะทาให้ครูสามารถชี้แจงและร่วมมือปฏิบัติงานในสถานศึกษาได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.3 การสื่อสารที่ดีจะทาให้เกดิ ความน่าเช่ือถอื เคารพยาเกรงท้ังต่อศิษย์ เพอื่ นร่วมงาน และผู้ปกครอง 2.4 การสือ่ สารที่สรา้ งสรรคจ์ ะทาใหล้ ดปญั หาการปฏิบตั ิงานของครู นอกจากนี้ รัญจวน คาวชิรพิทักษ์ (2538, น. 35) ได้กล่าวว่า ความสามารถใน การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นผ่านกระบวนการสื่อสาร การสื่อสารจึงมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียนอย่างย่ิง การเรียนการสอนจัดเป็นกระบวนการส่ือสารอย่างหน่ึง การสื่อสารในช้ันเรียนเป็น ปัจจัยสาคัญให้เกิดการเรียนรู้ข่าวสารและความคิดระหว่างครูและนักเรียน ดังที่บาร์เกอร์ (Barker, 1982) กล่าวว่า พลวัตของการส่ือสารในช้ันเรียนระหว่างครูและนักเรียนมีเป้าหมายสาคัญเพื่อการ ถ่ายทอดเนื้อหาสาระความรู้จากครูไปสู่ผู้เรียน ดังน้ันกระบวนการสื่อสารกับกระบวนการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์กนั กระบวนการสอื่ สารทม่ี ีประสิทธิภาพย่อมก่อให้เกดิ การเรียนรู้ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพด้วย หนา้ ที่สาคญั ของครูหรอื ผูส้ อนก็คอื จะใชว้ ธิ ีการสื่อสารอย่างไรท่จี ะทาให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ทด่ี ีได้

118 วัตถุประสงค์ของการสือ่ สาร การส่อื สารโดยทวั่ ไปมีวัตถุประสงค์ดงั ต่อไปน้ี (วิมล เหมอื นคดิ , 2543, น. 107-108) 1. เพ่ือให้ข้อมูล เป็นวัตถุประสงค์ขน้ั พ้ืนฐานของการสื่อสารในชีวิตประจาวัน เพื่อให้ผู้อื่น ทราบเหตุการณ์ ข้อมูลข่าวสาร ความรู้สึกนึกคิด ข้อเท็จจริงต่างๆ การให้ข้อมูลอาจอยู่ในรูปของ การพดู คุยสนทนา การรายงานข่าว การเขียนรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน เป็นตน้ 2. เพ่ือการจูงใจ เป็นการสื่อสารเพ่ือจูงใจให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางด้านเจตคติ ความรู้ ความเชื่อ ให้เป็นไปตามที่ผู้ส่งต้องการ เช่น การรณรงค์ให้เยาวชนเล่นกีฬา ไม่พึ่งพายาเสพติด การเผยแพร่แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเก่ียวกับการดาเนินชีวิตด้วยหลัก เศรษฐกิจแบบพอเพียง เพื่อให้ประชาชนได้เล็งเห็นถึงชีวิตที่เปน็ สุขแบบพออยู่พอกิน ไม่ฟุ้งเฟ้อ และ นาแนวพระราชดารินั้นมาเปลี่ยนแปลงรปู แบบการดาเนินชีวิตของตนเสียใหม่ นอกจากน้ี การสื่อสาร ทีม่ ีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อการจูงใจที่เห็นได้ชัดเจน เช่น การโฆษณาสนิ ค้าด้วยสอ่ื ต่างๆ เพื่อใหผ้ ู้รบั ข่าวสาร เกดิ ความเชื่อถือในคาโฆษณาและตดั สนิ ใจซอื้ สินค้าชนดิ นัน้ ๆ หรือการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกต้ัง สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร เปน็ ตน้ 3. เพื่อใช้ในการบงั คบั บญั ชาหรือการสอน ไมว่ ่าจะเป็นการดาเนินชวี ิตประจาวัน การเรยี น หรอื การประกอบอาชีพ ต่างก็ต้องมีการสอื่ สารเพ่ือการบังคับบัญชาหรือการสอนท้ังสิ้น สว่ นใหญ่ผ้สู ่ง จะมีอานาจหรือมีคุณวุฒิสูงกว่าผู้รับ เช่น พ่อแม่อบรมสั่งสอนลูก ครูอาจารย์ถ่ายทอดความรู้ให้ แกศ่ ษิ ย์ ผบู้ งั คบั บัญชามอบหมายงานให้ผูใ้ ตบ้ งั คับบญั ชาปฏิบตั ิ เป็นตน้ 4. เพือ่ สร้างความบันเทงิ เป็นการส่อื สารเพ่อื ความสนกุ สนาน เพลิดเพลิน อาจจะออกมาใน รูปของการเลา่ เรื่องสนุกๆ เบาสมอง รายการบนั เทิงตา่ งๆ ทางโทรทัศน์ การเขียนนวนยิ าย เปน็ ต้น นอกจากนี้ ในการส่ือสารสาหรับครู จะเก่ียวข้องกับการติดต่อส่ือสารในช้ันเรียน (Communication in Classroom) ซึ่งเป็นการส่งผ่านและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในลักษณะของ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม ความคิดเห็น ความเข้าใจ ความรู้สึกซ่ึงกันและกันระหว่างครู อาจารย์ ซึ่งเป็นผู้สอน กับนักเรียนนักศึกษา และเป็นผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสตู รในแตล่ ะระดับของการศึกษา และครผู สู้ อนเป็นผ้วู ดั และประเมนิ ผลพฤติกรรมต่างๆ ของ ผู้เรียน แล้วประเมินออกมาได้ว่าผ่านหรือไม่ผ่าน หรือผ่านในระดับใด เป็นต้น โดยทฤษฎีระดับของ การติดต่อส่ือสารท่ีเก่ียวกับการเรียนการสอนเป็นหลัก มีอยู่ 4 ระดับดังน้ี (เสนาะ ติเยาว์, 2551, น.268 - 269) 1. การติดต่อสือ่ สารกับตวั เอง เป็นการเตรียมการสอนของครูผู้สอนที่จะต้องพยายามถาม ตัวเองว่าจะทาการเกร่ินนาอย่างไรกับเรื่องราวที่เป็นหัวข้อเร่ืองประจาบท หัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวขอ้ ยอ่ ย คาสาคญั และเนือ้ หาสาระประกอบในเรื่องน้นั ๆ ให้ผเู้ รียนได้บรรลุผลตามวตั ถปุ ระสงคข์ อง

119 หลักสูตรในเวลาอันจากัด และสามารถพยากรณ์ได้ว่าในหัวข้อเร่ืองต่างๆ ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประเมินค่า ซึ่งเป็นพฤติกรรม หลักในด้านการเรียนการสอนหรือการศึกษาท่ีเรียกว่า ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) และพฤติกรรมอ่ืนๆ อีก 2 ด้าน คือ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) และด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ท้ังนี้ การเกิดทักษะท่ีเป็นจุดมุ่งหมายของการศึกษาทั้ง 3 ด้านนี้ ในอตั ราส่วนท่ีครูผูส้ อนยอมรับได้ และทาการประเมนิ ผลการศึกษาออกไปวา่ เป็นอยา่ งไร ในระดับใด 2. การติดต่อสื่อสารระหว่างบคุ คล เป็นลักษณะของการติดต่อสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับ ผู้เรียน โดยในเบ้ืองต้นครูผู้สอนเป็นผู้ส่งสารท่ี (Teacher as a Sender) ที่ประกอบด้วย ความรู้สึก ความคิด หรือความรู้ ท่ีเรียกว่า ข่าวสาร (Message) วิธีการถ่ายทอดข่าวสาร (Chanel) รูปแบบท่ี ผรู้ ับเข้าใจ (Decode) การรับข่าวสารของผู้รับ (Receiver) และผรู้ ับต้องมีปฏิกริ ิยาโตต้ อบต่อข่าวสาร ที่ไดร้ บั (Feedback) การติดต่อสือ่ สารจึงจะครบกระบวนการ 3. การติดต่อสื่อสารในกลุ่มย่อย เปน็ กิจกรรมการเรยี นการสอนอกี รูปแบบหนึง่ ในปจั จบุ ัน พบว่าเมื่อผู้สอนได้ทาการสอนเน้ือหาสาระที่สาคัญไปแล้ว ในส่วนของเวลาเรียนในห้องเรียน หรือ ครูผู้สอนอาจจะทาการมอบหมายให้ผู้เรยี นไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติม ทั้งน้ีเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม ดังนั้น ในส่วนของรายกลุ่มย่อย ผู้เรียนจะต้องไปทาการพบกลุ่มหรือประชุมกลุ่ม เพ่ือทาการระดม ความคิดความรู้ ความรู้สึกตามลักษณะของช้ินงานที่ครูผู้สอนกาหนดให้ตามความเหมาะสม ดังน้ัน การสนทนาภายในกลมุ่ ยอ่ ยจึงมีบทบาทสาคญั ต่อความสาเร็จของคณุ อีกด้วย 4. เทคโนโลยีทางการส่ือสาร เช่น เครื่องมือท่ีครูผู้สอนใช้ประกอบการเรียนการสอน นอกเหนือจากการใช้ภาษาพูด (Verbal Language) ได้แก่ เครื่องขยายเสียง เครื่องฉายชนิดต่างๆ และเคร่อื งคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน เป็นตน้ ดังน้ัน จึงสรุปได้ว่า การติดต่อส่ือสารในชั้นเรียน เป็นวิธีการที่ครูผู้สอนใช้ในเบื้องต้น เพ่ือ การเตรียมการสอนที่จะต้องมีการเตรียมอย่างรอบด้าน เป็นการแสดงเจตนาที่ดีต่อผู้เรียนท่ีจะได้มี ความรแู้ ละคุณลักษณะอนั พึงประสงค์อื่นๆ ตามทีห่ ลักสูตรได้กาหนดไว้ สว่ นในระดับที่สูงขน้ึ เป็นการ สอ่ื สารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนด้วยกันตามกิจกรรมที่ครูผู้สอนได้มอบหมายให้ปฏิบัติ ในขณะเดียวกัน ครูผู้สอนต้องมีเครื่องมือในการส่ือสารตามความเหมาะสมกับเน้ือหาสาระและ ขนาดของกลุม่ ผเู้ รียนดว้ ย

120 องค์ประกอบและกระบวนการสื่อสาร 1. องคป์ ระกอบของการสอื่ สาร การสื่อสารเป็นกระบวนการถ่ายทอดข่าวสารระหว่างบุคคลอย่างน้อยสองคน ซ่ึงมี องค์ประกอบทสี่ าคัญของการสอ่ื สารสามารถสรปุ ได้ดังน้ี 1.1 ผู้ส่งสาร (Sender) หมายถึง ผู้เริ่มต้นท่ีต้องการส่งข่าวสารให้ผู้อ่ืนทราบ โดยมี จดุ มงุ่ หมายใหเ้ ขา้ ใจความหมาย หรอื ความคดิ ตรงกับทต่ี นตอ้ งการ 1.2 ข่าวสาร (Message) หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ฯลฯ ท่ีผู้ส่งต้องการให้ผู้รับ ได้ทราบ หรือเกิดการกระทาบางอย่าง ซ่ึงข่าวสารจะเป็นตัวกาหนดว่าอะไรคือเนื้อหาสาระในการ ส่อื สารแตล่ ะครั้ง 1.3 สื่อ (Media) หรือตัวนาข่าวสาร (Message) คือ ส่ิงท่ีนาข่าวสารไปสู่ผู้รับ อาจจะ เป็นคาพูด ตัวหนังสือ กิริยาท่าทาง สัญลกั ษณ์ รูปภาพ โทรศัพท์ โทรทัศน์ ดาวเทียม ฯลฯ เม่ือมีการ ใช้ส่ือหรือตัวนาข่าวสารหลายๆ อย่างประกอบกัน จะช่วยให้การสื่อสารในครั้งน้ันมีความถูกต้อง แม่นยาขน้ึ เช่น การพูดพร้อมกับการแสดงทา่ ทางประกอบ และมีรูปภาพให้ดู ย่อมทาให้ผูฟ้ ังเข้าใจได้ ดีกว่าการพูดอยา่ งเดียว หรอื การสื่อสารระหวา่ งครูกบั นักเรียนในการสอน ต้องใชท้ ้ังหนังสือ กระดาน ดาภาพ แผนภูมิ ตลอดจนโสตทศั นอปุ กรณต์ ่างๆ นอกเหนอื จากคาพดู ของครู เปน็ ตน้ 1.4 ผู้รับสาร (Receiver) คือ บุคคลท่ีเป็นผู้รับข่าวสารจากผู้ส่งจะเป็นบุคคลเดียวหรือ กลมุ่ ก็ได้ 1.5 การตอบสนองและข้อมูลยอ้ นกลับ ในการส่ือสารน้ันเม่ือผูส้ ่งสารทาการส่งสารไปยัง ผรู้ ับสาร ผรู้ ับสารก็ย่อมจะแสดงปฏสิ ัมพันธ์ต่างๆ เพ่ือเป็นการรับรูว้ ่าได้รับสารน้นั แล้ว บางคร้งั การ ตอบสนองนก้ี ็ทาใหผ้ รู้ บั สารกลายเป็นผู้สง่ สารให้ผู้ท่สี ่งสารเดมิ น้ันรบั ทราบ 1.6 สถานการณ์ และกาลเทศะ ในการส่ือสารแต่ละคร้ังน้ัน ส่ือและวิธีการส่ือสารและ สารอาจทาใหก้ ารสอื่ สารไมส่ มบูรณ์ได้ ถ้าหากผูส้ ง่ สารไม่รจู้ กั วิเคราะห์สถานการณ์เพ่อื จะไดป้ ฏิบตั ิตน ขณะสื่อสารได้อย่างถูกต้อง นั่นคือ เป็นการสื่อสารท่ีถูกต้องตามกาลเทศะ การส่ือสารจึงมี ประสทิ ธภิ าพทส่ี ุด องค์ประกอบของการสอ่ื สาร สามารถแสดงไดด้ ังภาพตอ่ ไปนี้

121 กาลเทศะ สอ่ื /ตัวนาขา่ วสาร การใช้วาจา (Verbal) - การพดู - การร้องเพลง ผ้สู ่งสาร ข่าวสาร การไมใ่ ช้วาจา (Nonverbal) ผ้รู ับสาร - การเขยี น (จดหมาย, คาส่ัง ฯลฯ) - การวาดภาพ - สญั ลกั ษณ์ - สัญญาณเครือ่ งหมาย การใชพ้ ฤติกรรม (Behavioral) - การแสดงสีหนา้ - การแสดงกริ ิยาท่าทาง สถานการณ์ ภาพท่ี 4.1 แสดงองคป์ ระกอบของการสื่อสาร ท่มี า: พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์, 2549, น. 92 2. กระบวนการสอ่ื สาร กระบวนการส่ือสารมีลักษณะเป็นระบบ เน่ืองจากองค์ประกอบต่างๆ ทั้งผู้ส่ง ข่าวสาร ส่ือ และผู้รับ ต่างก็มีความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน โดยท่ัวไปกระบวนการสื่อสารแบ่งได้ 7 ขั้นตอน ดังแสดงในภาพต่อไปน้ี

122 ความคิด ผู้สง่ สาร (Ideation) การใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับ (Feedback) การประมวลความคดิ /เขา้ รหัส (Encoding) การถา่ ยทอดข่าวสาร (Transmission of Message) การรบั สาร (Reception) การถอดรหัส ผรู้ ับสาร (Decoding) การแสดงออก (Acting) ภาพท่ี 4.2 แสดงขนั้ ตอนในกระบวนการสอื่ สาร ท่ีมา: วิมล เหมอื นคดิ , 2543, น. 109 พิจารณารายละเอยี ดแตล่ ะข้ันตอน ดงั น้ี (Koontz & Weihrich, 1988, p. 87 - 124) 2.1 ข้ันการเกิดความคิด (Ideation) เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารเกิดความคิดและต้องการ ถา่ ยทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สกึ และความต้องการไปยงั ผรู้ ับสาร ผสู้ ่งสารควรเขา้ ใจความคิดของ ตนเองให้ชัดเจนกอ่ นท่ีจะส่งสาร 2.2 ข้ันการประมวลความคิดหรือเข้ารหัส (Encoding) เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารเรียบเรียง ความคิดหรือสารให้เหมาะสมกับผู้รับ เวลา สถานท่ี สถานการณ์ขณะน้ัน แล้วเลือกสารท่ีจะส่งให้ เหมาะสม และผรู้ ับสารเกิดความรูส้ ึกในทางที่ดี

123 2.3 ข้ันการถ่ายทอดข่าวสาร (Transmission of Message) เป็นการถ่ายทอดหรือ ส่งสารทีพ่ ิจารณาแล้ววา่ เหมาะสมกับเวลาและสถานที่ เชน่ การเลือกใชค้ าพูดทีป่ ลอบโยนต่อผ้ทู ี่อยใู่ น ภาวะทกุ ขใ์ จ หรือการแสดงความดใี จเม่อื เพอ่ื นได้รับปรญิ ญาด้วยช่อดอกไมห้ รอื ของทร่ี ะลกึ 2.4 ขั้นการรับสาร (Reception) ผู้รับสารจะรับสารท่ีส่งมาได้ถูกต้องสมบูรณ์หรือไม่ ข้นึ กับความตั้งใจและการเปิดใจต้อนรับสารอย่างแท้จริง ดังน้ัน การรบั สารนอกจากจะใช้การสงั เกต ดว้ ยสมั ผสั ทง้ั ห้าแล้ว ยังต้องมใี จท่ีเปิดกวา้ งดว้ ย เพ่ือให้สามารถรับสารได้ครบถ้วนทงั้ ท่เี ป็นคาพูดและ ภาษาท่าทาง เพ่อื จะนาไปสกู่ ารรับรูส้ ิ่งทีผ่ สู้ ่งสารต้องการอยา่ งแท้จริง 2.5 ข้ันการถอดรหสั หรอื การถอดความ (Decoding) เป็นการแปลความหมายของสารท่ี ได้รบั มา ผู้รับสารจะตอ้ งเปดิ ใจให้กวา้ งที่สดุ เพื่อทีจ่ ะไดเ้ ข้าใจทง้ั เนือ้ หาและอารมณ์ความรสู้ ึกที่แฝงมา ในสาร ส่วนใหญ่บุคคลมักจะรับรู้และแปลความหมายตามประสบการณ์ของตนเอง (Phenomenal Field) ซง่ึ อาจทาให้การรบั รู้สารบิดเบือนไปได้ นอกจากน้ี การมีอคติ (Bias) จากประสบการณ์ของตน ย่อมส่งผลถึงการแปลความสารท่ีคาดเคล่ือน ซ่ึงจะทาให้เกิดความเข้าใจท่ีไม่ตรงกันได้ ดังนั้น ควรมี การตรวจสอบเพ่อื ให้แนใ่ จก่อนที่จะมีการตอบสนองออกไป 2.6 ข้ันการแสดงออกหรือพฤติกรรมตอบสนอง (Acting) เป็นขั้นแสดงการตอบสนอง อันเป็นผลมาจากการแปลความหมายในข้ันท่ีผ่านมา การตอบสนองจะเปน็ อย่างไรขึ้นอยู่กับการแปล ความหมายของผู้รบั สาร เชน่ เห็นคนแปลกหน้าย้ิมใหเ้ รา เราอาจหันซ้ายหรือขวาเพื่อดูใหแ้ น่ใจว่าเขา ยม้ิ ให้ใครกนั แน่ 2.7 ข้ันการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญและจาเป็น เพราะจะทาให้รู้ว่าสารที่ส่งมามีการรับรู้ถูกต้องตรงกันหรือไม่ ซ่ึงอาจย้อนกลับด้วย การถาม การทวนซ้า หรือการสรุป เป็นต้น การให้ข้อมูลย้อนกลับจึงเป็นข้ันตอนของการตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของสารทีไ่ ดร้ บั กบั ผสู้ ง่ สาร เพอ่ื ตอกย้าความเขา้ ใจว่าผู้รับสารเขา้ ใจตรงกันกบั ผู้ส่งสาร นอกจากนี้ รญั จวน คาวชิรพิทักษ์ (2538, น. 50 - 57) ได้เสนอแบบจาลองการสอ่ื สาร ในชั้นเรียน (Model of Classroom Communication) ดว้ ยแผนภาพของแบบจาลอง ประกอบดว้ ย คาอธบิ ายองค์ประกอบตา่ งๆ ในแบบจาลอง ได้ดังตอ่ ไปนี้

124 สาร ช่องทางการสอ่ื สาร ประสิทธิภาพ (Message) (Channel) ของการสอื่ สาร ผูส้ ง่ สาร - เนือ้ หาสาระ ความถกู ต้อง (Source) - หลักสตู ร - สื่อโสตทัศน์ - ครู - ภาษา แม่นยา - ผู้สอน - วฒั นธรรม - อาจารย์ การให้ขอ้ มูล ผรู้ ับสาร ย้อนกลับ (Reciever) (Feedback) นกั เรียน การตอบสนอง (Response) ผลของการสือ่ สาร - ความสนใจในชน้ั เรยี น การเปล่ียนแปลง - การซักถาม พฤตกิ รรมของผู้เรยี น - ผลการวัดและประเมิน - การนาไปประยกุ ต์ใช้ ฯลฯ - ความรู้ - ทกั ษะ - เจคติ ภาพท่ี 4.3 แบบจาลองการสอ่ื สารในชนั้ เรยี น ที่มา: รญั จวน คาวชิรพิทักษ์, 2538, น. 51 องคป์ ระกอบในแบบจาลองการสอ่ื สารในชั้นเรยี นขา้ งต้นอธบิ ายไดด้ งั นี้ 1. ตวั ครูหรอื ผ้สู ่งสาร ในช้ันเรียนนั้นแหล่งสารหรือผู้ส่งสารก็คือครู ได้มีผู้เสนอทัศนะเกี่ยวกับผู้ส่งสารไว้ สรุปเปน็ ประเภทของผู้สง่ สารได้ 4 ประเภท คอื 1.1 ผู้ส่งสารประเภทนักพัฒนา (Developmental Communicator) ผู้ส่งสาร ประเภทนี้มีความยืดหยุ่น พร้อมท่ีจะร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน ไม่ยึดถืออย่างหัวชนฝาว่าความคิดเห็นหรือการกระทาของตัวเองจะต้องถูกต้องเสมอไป ผู้ส่งสาร

125 ประเภทนี้จึงมักจะยึดแบบการสื่อสารสองทางเป็นหลัก กล่าวคือไม่ชอบพูดคนเดียวโดยไม่ปล่อยให้ ผู้อื่นไดม้ โี อกาสโต้ตอบหรอื แสดงความคดิ เห็น 1.2 ผู้ส่งสารประเภทนักควบคุม (Controlling Communicator) ผู้ส่งสารประเภท นี้มีลักษณะตรงกันข้ามกับผู้ส่งสารประเภทท่ี 1 กล่าวคือ ไม่ชอบรับฟังผู้อ่ืน ถือว่าความคิดเห็นหรือ การกระทาของตนจะถูกต้องเสมอ ผู้ส่ือสารประเภทนถ้ี ้าเป็นผู้บริหารกจ็ ะเป็นผู้บริหารแบบเผด็จการ หรอื แบบพอ่ ปกครองลกู 1.3 ผู้ส่งสารประเภทปล่อยเขาว่าไป (Relinquishing Communicator) ผู้ส่งสาร ประเภทนจี้ ะมีลักษณะรว่ มด้วยกไ็ มเ่ ชิง จะถอยกไ็ มใ่ ช่ และมกั จะคิดว่าคนอน่ื ๆ มอี ะไรๆ ดกี วา่ ตนเอง 1.4 ผู้ส่งสารประเทศนอกฉาก (Withdrawn Communicator) ผู้ส่งสารประเภทน้ี จะไมย่ นิ ดียินรา้ ยกบั เรอ่ื งราวอะไรทัง้ ส้ิน สนใจเพยี งแตก่ ารรกั ษาสภาพทีเ่ ป็นอยู่เท่านน้ั ถา้ มองจากทัศนะว่า ครูคือแหล่งสารหรือผู้สง่ สารแลว้ การแบง่ ประเภทของผสู้ ง่ สาร ตามแนวคดิ ดังกลา่ วไม่ได้หมายความวา่ ครูแต่ละคนจะมีลกั ษณะเป็นผ้สู ่งสารแบบใดแบบหนึง่ เสมอไป หากแต่อาจจะเป็นแบบผสมหรือเปลี่ยนจากแบบหน่ึงไปสู่อีกแบบหนึ่งได้ตามสถานการณ์ อย่างไร ก็ตามถ้าคุณมีลักษณะของผู้ส่งสารประเภทนักพัฒนาเป็นส่วนใหญ่แล้ว ก็จะเอ้ืออานวยต่อการสร้าง บรรยากาศท่ีเหมาะสมต่อการมุ่งให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด เพราะสามารถสร้างบรรยากาศที่เป็น กันเอง สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความเข้าใจซ่ึงกันและกัน และมีเจตคติที่ดีต่อกันระหว่างครูกับ นักเรียน และระหว่างนักเรยี นดว้ ยกันเอง 2. สาร ข้อมลู ข่าวสารท่เี กีย่ วขอ้ งกับการสื่อสารในชน้ั เรยี น ประกอบดว้ ย เนอื้ หา สาระ หรือ หลักสูตร โดยเนื้อหาสาระของสารควรจะมีความพอเหมาะท้ังในด้านระดับความยากง่ายและความ แปลกใหม่ ถ้าเน้ือหาสาระจากผู้ส่งสารไม่ได้มีอะไรผิดแผกไปจากสิ่งที่ผู้รับสารทราบอยู่แล้ว แนวคิด ทางจิตวิทยาการสื่อสารก็ถือว่ามีได้เกิดมีการส่ือสารขึ้น เนื่องจากผู้รับสารไม่ได้เกิดการเรียนรู้ใดๆ ในทานองเดียวกัน ถ้าเน้ือหาสาระที่ใช้ในการส่ือสารมีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงจากส่ิงที่ผู้รับสารมี ความรู้อยู่แล้ว แนวคิดทางการส่ือสารก็ถือว่าผู้รับสารจะไม่มีพ้ืนฐานความเข้าใจหรือขาดเครื่องมือท่ี จะถอดรหัสเนื้อหาน้ันได้ (Decode the Information) ดังน้ัน ช่องว่างทางด้านความรู้ระหว่าง ผู้สง่ สารและผรู้ บั สารควรจะอยู่ในสภาพการณ์ทีเ่ หมาะสม ไม่มากหรือไม่นอ้ ยจนเกินไปดว้ ยการสือ่ สาร ซง่ึ เป็นเขา้ ใจทั้งฝา่ ยผู้ส่งและผ้รู บั สาร 3. ชอ่ งทางการสือ่ สาร 3.1 การใช้ส่อื โสตทศั น์ สื่อโสตทศั น์หรอื ช่องทางการสอ่ื สารทีส่ ่งเสริมใหผ้ ้เู รียนรับรูไ้ ด้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับ คุณลักษณะของส่ือโสตทัศน์หรือช่องทางการส่อื สาร ดังน้ี

126 3.1.1 ความเข้ม ครูท่ีเสียงดังชัดเจน ผู้เรียนจะให้ความสนใจมากกว่าครูที่ เสียงเบา พดู อุบอบิ ออู้ ้ีในลาคอ 3.1.2 ขนาด อุปกรณก์ ารสอนทม่ี ีขนาดใหญก่ วา่ จะน่าสนใจมากกวา่ 3.1.3 ความแตกต่างท่ีเห็นชัดเจน ความสามารถในการรับรู้ความแตกต่างมี ความสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอน เช่น ในการสอนอ่านเด็กจะต้องมีความสามารถในการ แยกแยะความแตกต่างทางการเห็น เพราะถ้าผู้เรียนไม่สามารถสังเกตเห็นความแตกต่างของรูปคา จะเกดิ ความสับสนเก่ยี วกับคาบางคาท่ีคลา้ ยกัน เช่น house, louse, horse เป็นต้น 3.1.4 การเคล่ือนไหว ถ้าครูสอนแบบเสียงราบเรียบ ใช้ระดับเสียงเดียวไป เรือ่ ยๆ พดู แบบ monotone จะทาให้น่าเบ่ือ จะต้องใชเ้ สยี งหนกั เบา มกี จิ การหลายๆ แบบหมุนเวยี น เปล่ียนไปบ้าง อุปกรณ์การสอนที่เป็นภาพยนตร์จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเรียนรู้ได้ดีกว่าภาพนิ่ง เปน็ ต้น 3.1.5 การฝึกฝน การฝึกฝนจะช่วยให้ผ้เู รยี นมกี ารรับรูท้ ี่ดขี ้ึน เชน่ การรบั รู้ดา้ น สุนทรียภาพ (Esthetic perception) ดังน้ัน ในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะ ผู้เรียนควรจะ เรยี นรู้ท่ีจะมองเห็นความสวยงามจากส่งิ แวดล้อมรอบตัวของเขาในรูปของความละมุนละไมออ่ นช้อย หรือความสง่างาม ซึ่งก่อให้เกิดความรู้สึกเพลิดเพลินพอใจจนถึงข้ันด่ืมด่า เช่น จินตนาการที่เกิดข้ึน เมือ่ เวลามองภาพพระอาทติ ย์ขนึ้ หรอื ตก หรอื เมอ่ื ฟังเสียงดนตรี 3.2 ภาษา ในสังคมที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน การส่ือสารระหว่างกันและกัน อาจจะมีการ รบั รู้และการตอบสนองแบบผดิ ๆ โดยเฉพาะในเร่ืองของภาษา ในชมุ ชนที่ใช้ภาษาต่างกัน บุคคลอาจ ไม่เขา้ ใจความหมายในการสือ่ สารระหวา่ งกัน การรับรู้ในเรื่องนั้นก็ไม่เกดิ ข้นึ แต่ถา้ เป็นภาษาเดยี วกัน ท่ีใช้อยู่ย่อมจะมีการรับรู้ท่ีดีกว่า อย่างไรก็ตาม การแปลภาษาหน่ึงไปเป็นอีกภาษาหนึ่งเพื่อให้เข้าใจ ตรงกันกับคนถิ่นน้ันๆ บางทีเป็นเร่ืองยาก แม้บางทีจะมีการแปลภาษาให้เป็นอีกภาษาหนึ่งแล้ว ก็ตาม แต่การตอบสนองที่ออกมาก็ต่างไปจากที่ต้องการ ภาษาจึงเป็นส่ิงเร้าชนิดหน่ึงท่ีก่อให้เกิด การรับรู้ และการแสดงออกทางปฏิกริ ิยาตอบสนองได้ เน่ืองจากบุคคลใชภ้ าษามาตงั้ แต่เดก็ ๆ การรับรู้ ต่างๆ เกี่ยวกับภาษาจึงเจริญควบคู่กันมา อิทธิพลของภาษาจึงอาจเกิดขึ้นได้ในชั้นเรียน ในท้องถ่ิน ตา่ งๆ ควรใชภ้ าษาราชการหรือภาษากลางในชัน้ เรียน 3.3 วัฒนธรรม ในหลกั ของการรบั รู้มีอยู่ว่า สิ่งตา่ งๆ จะมีคุณสมบตั ิตามคณุ สมบัติของสว่ นใหญ่ ท่มี ันอยู่ร่วมด้วย วัฒนธรรมอาจจะเป็นเคร่ืองกาหนดการรับรู้ของบุคคลโดยเฉพาะในวิชาศิลปศึกษา ดังนัน้ การจัดการเรยี นการสอนวชิ าศลิ ปศึกษาจงึ ตอ้ งคานึงถึงความแตกต่างทางดา้ นวัฒนธรรมดว้ ย

127 4. ตวั ผูเ้ รยี นหรอื ผู้รบั สาร ตัวผู้เรียนในฐานะผู้รับสาร มีส่วนสาคัญในการเรียนรู้ ไม่วา่ ครจู ะมีวิธีการส่ือสารเพ่ือ ถ่ายทอดความรู้ดีเพียงใด ถ้าผู้เรียนไม่มีความพร้อม ไม่สนใจในการเอาใจใส่ การเรยี นรู้กจ็ ะไม่เกดิ ข้ึน ผเู้ รียนหรือผรู้ ับสารมีธรรมชาติท่ีแตกต่างกันออกไปตามเพศ วัย สภาพรา่ งกาย จติ ใจ และพ้ืนภูมิหลัง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเอง มีผู้จาแนกลักษณะการรับสารของผู้เรียนไว้ สรปุ ได้เปน็ 6 แบบ คอื 4.1.1 แบบอิสระ (Independence) ลักษณะผู้เรียนแบบนี้ชอบท่ีจะคิดและทางาน ต่างๆ ด้วยตนเอง แต่จะรับฟังความคิดเห็นของคนอ่ืนๆ ในชั้นเรียนด้วย มีความตั้งใจศึกษาเรียนรู้ เน้อื หาวิชาท่ตี นเองรูส้ ึกวา่ สาคัญ และมคี วามเช่อื มนั่ ในความสามารถในการเรียนรดู้ ว้ ยตวั ของเขาเอง 4.1.2 แบบหลีกเล่ียง (Avoidance) ผู้เรียนแบบน้ีจะไม่สนใจการเรียนรู้เน้ือหาวิชา ในช้ันเรียนตามแบบแผน (Traditional Classroom) ไม่มีส่วนร่วมกับผู้เรียนคนอื่นๆ และผู้สอนใน ห้องเรียน ไม่สนใจสิ่งท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียน ทัศนะของผู้เรียนแบบนี้เห็นว่า ห้องเรียนเป็นสิ่งที่ไม่ น่าสนใจ 4.1.3 แบบร่วมมือ (Collaboration) ผู้เรียนแบบนี้รู้สึกว่าเขาสามารถเรียนรู้ได้มาก ท่ีสุด โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความสามารถกับผู้อื่น ผู้เรียนแบบน้ีจะร่วมมือกับผู้สอน และกลุ่มเพื่อน ชอบทางานร่วมกับคนอื่นๆ เห็นชั้นเรียนเป็นสถานที่สาคัญสาหรับการมีปฏิสัมพันธ์ ซ่ึงกันและกัน (Social Interaction) และเปน็ สถานทีส่ าหรบั เรียนรเู้ นื้อหาวชิ าตา่ งๆ 4.1.4 แบบพ่ึงพา (Dependence) ลักษณะของผู้เรียนแบบนี้เป็นแบบที่แสดงความ อยากเรียนรู้น้อย จะเรียนรู้เฉพาะส่ิงท่ีถูกบังคับหรือกาหนดให้เรียน ผ้เู รียนเหน็ ผู้สอนและกลุ่มเพื่อน ร่วมชั้นเรียนเป็นแหล่งของโครงสร้างความรู้ เป็นแหล่งสนับสนุนทางวิชาการ (Source of Structure and Support) เขาจะมองผมู้ ีความร้เู พ่อื เป็นแนวทางและต้องการให้บอกว่าควรทาอะไร ดงั น้ันผเู้ รียน แบบน้ีดจู ะไม่มคี วามคดิ รเิ ร่มิ หรอื มคี วามคดิ บางอย่างท่ีเป็นตวั ของตัวเอง 4.1.5 แบบแข่งขัน (Competition) ผู้เรียนแบบนี้เรียนรู้เน้ือหาวิชาเพื่อท่ีจะทา คะแนนให้ดีได้ดีกว่าคนอื่นๆ ในช้ันเรียน เขารู้สึกว่าจะต้องแข่งขันกับผู้เรียนคนอ่ืนๆ เพื่อให้ได้รับ รางวัลจากช้ันเรียน เช่น คะแนนหรือคาชมของผู้สอน และความสนใจของผู้สอน เขามองชนั้ เรยี นเป็น สนามแขง่ ขันซ่ึงจะตอ้ งมแี พช้ นะ และผู้เรียนมีความรู้สึกว่าต้องชนะเสมอ ผเู้ รยี นอืน่ ๆ จงึ มักจะไมช่ อบ ทจ่ี ะมีส่วนร่วมกบั ผเู้ รยี นแบบน้ี 4.1.6 แบบมสี ว่ นร่วม (Participation) ลกั ษณะของผูเ้ รียนแบบนี้ตอ้ งการทจ่ี ะเรยี นรู้ เนื้อหาวิชาและชอบเข้าชั้นเรียน มีความรับผิดชอบที่จะเรียนรู้ให้มากท่ีสุดจากชั้นเรียน และมี ส่วนร่วมกับผู้อ่ืนตามท่ีตกลงร่วมกันไว้ ผู้เรียนแบบนี้รู้สึกว่าควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียนให้ มากที่สดุ เทา่ ทีจ่ ะมากได้ แต่จะมีสว่ นร่วมนอ้ ยในกจิ กรรมที่มไิ ด้อยใู่ นแนวทางของวชิ าที่เรยี น

128 ผเู้ รียนหรือผู้รับสารแบบที่ 3 คอื แบบใหค้ วามร่วมมือนนั้ เป็นท่ีพึงประสงค์มากท่ีสุด ครูควรกระตนุ้ ให้ผู้เรียนเป็นผรู้ ับสารแบบที่ 3 น้ี และในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมผเู้ รียนให้พัฒนาเต็มท่ี โดยให้ความสาคัญกับองค์ประกอบตา่ งๆ ของผูเ้ รียน ดังตอ่ ไปน้ี 1) ปัจจยั ทางด้านสรีระ ต้องคานึงถึงลักษณะของผูเ้ รยี นว่า มปี ัญหาทางด้านอวัยวะ รบั ความรู้สึกหรือไม่ เชน่ ผเู้ รียนทหี่ ตู าไม่ดีตอ้ งให้นง่ั ขา้ งหน้า เป็นต้น 2) ประสบการณ์ความประทับใจจากการเรียนครั้งแรกๆ จะส่งผลต่อเจตคติต่อ วิชาเรียนนั้นๆ ถ้าหากผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีและผู้เรียนอาจเรียนวิชานั้นๆ ไม่ได้ดี จึงต้องพยายาม สร้างสรรค์ให้นักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อวิชาที่เรียน ความสาเร็จและความสามารถในการเรียนเป็น ประสบการณ์ทส่ี ร้างความประทบั ใจในการเรียนได้ ดงั นั้นในการจดั บทเรยี นครูควรเรมิ่ ต้นจากสงิ่ ทเ่ี ด็ก มีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเสียก่อน เพ่ือจะได้ใช้ความรู้เดิมในการตีความหมายสิ่งที่จะรับรู้จาก บทเรยี นใหม่หรือครูอาจจะจัดใหม้ ีการทดสอบความรูพ้ ้ืนฐานกอ่ นเรียนเพ่ือให้ครไู ด้ทราบพื้นฐานและ ประสบการณ์เดิมของผเู้ รยี น จะได้จดั บทเรยี นและกจิ กรรมตา่ งๆ เหมาะสมกบั ผเู้ รียน 3) อารมณ์ มีความสาคัญต่อการรับรู้ ครูต้องสนใจปัญหาทางด้านอารมณ์ ไม่สร้าง บรรยากาศที่เครียดและบีบค้ันทางอารมณ์ ครูควรให้ความเป็นกันเอง มีความยุติธรรมและเมตตา กรณุ า บรรยากาศของการข่มขู่ อาจทาให้การรับรู้ของผ้เู รยี นบิดเบือนไป ครจู ะตอ้ งใหค้ วามสาคญั กับ บรรยากาศแวดล้อม เชน่ ท่นี ง่ั แสงสวา่ ง ห้องเรียนทีถ่ กู สขุ ลกั ษณะดว้ ย 4) ความใส่ใจของผเู้ รียน ต้องคานึงว่าผู้เรียนพรอ้ มที่จะเกิดการรับรูใ้ นส่ิงท่ีจะเรียน มากน้อยเพียงใด ถ้านักเรียนเกิดความเหน่ือยล้าต้องสอดแทรกกิจกรรมเพ่ือให้ได้พักชั่วคราว เพอ่ื ผู้เรยี นจะได้เกิดความตืน่ ตัว เกิดความใส่ใจทจ่ี ะเรยี นตอ่ ไป 5. การให้ขอ้ มูลย้อนกลบั การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) นอกจากจะเป็นปฏิกิรยิ าตอบสนองของผู้เรียน ท่ี มี ต่ อ ข้ อ มู ล ห รื อ ข่ า ว ส า ร ที่ ไ ด้ รั บ แ ล้ ว ยั ง ห ม า ย ถึ ง ป ฏิ กิ ริ ย า ที่ ค รู แ ส ด ง อ อ ก ให้ ผู้ เรี ย น ไ ด้ รู้ ว่ า การตอบสนองของผู้เรยี นเป็นท่ียอมรับได้หรือไม่ ถ้าการตอบสนองหรือพฤติกรรมใดที่ผู้เรยี นกระทา แล้วได้รับผลกรรมคือ ข้อมูลย้อนกลับท่ีตนพึงพอใจ ผู้เรียนก็มีแนวโน้มที่จะตอบสนองหรือกระทา พฤติกรรมน้ันซ้าอีก ยกตัวอย่างเช่น การท่ีมานะมาเรียนตรงเวลา ครูให้คาชมเชย (การให้ข้อมูล ย้อนกลบั ซ่ึงเป็นตัวแรงเสรมิ ทางบวก) ทาใหม้ านะเข้าช้นั เรียนตรงเวลาทุกครง้ั การให้ข้อมูลย้อนกลับน้ี ได้กลายมาเป็นตัวแปรท่ีได้รับความสนใจจากผู้ศึกษา วิชาการสื่อสาร เน่ืองจากเป็นตัวแปรที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ในการส่ือสารของมนุษย์นั้น มิใช่เป็นเพียงแต่การส่งสารออกไปยังผู้รับสารด้านเดียว แต่การสื่อสารจะครบถ้วนก็ต่อเม่ือผลที่เกิด จากการส่ือสารน้ันๆ ได้ถูกนามาพิจารณาด้วย การให้ข้อมูลย้อนกลับที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ใน ชั้นเรียนได้ดี คือ การเสริมแรงทางบวก การเสริมแรงทางลบ และการลงโทษ โดยท่ีการเสริมแรง

129 ทางบวกอาจจะทาได้โดยใช้ตัวแรงเสริมที่เป็นตัวเสริมแรงทางสังคม เบ้ียอรรถกร หรือกิจกรรมที่ พึงพอใจ ตัวเสริมแรงทางสังคม ได้แก่ การใช้ภาษาคาพูด และภาษาท่าทาง เช่น การใช้คาชมเชย การพูดจายกย่อง การแสดงท่าทางยอมรับ หรือการแตะตวั ทไี่ หล่เบาๆ เป็นต้น ประเภทของการสอ่ื สาร นักวิชาการด้านการสื่อสารมวลชน ได้จาแนกประเภทของการสื่อสารไว้แตกต่างกัน หลายลักษณะ ทัง้ น้ีขน้ึ อยู่กับวา่ จะใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ในการจาแนก ในท่ีน้ีจะแสดงการจาแนกประเภท ของการส่อื สารโดยอาศัยเกณฑใ์ นการจาแนกทีส่ าคญั 3 ประการ ดังน้ี 1. การจาแนกตามจานวนของผสู้ ่อื สาร การจาแนกตามจานวนของผู้สื่อสาร จะคานึงถึงจานวนของบุคคลที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ในสถานการณ์การส่ือสารเป็นเกณฑ์ โดยพิจารณาว่าในสถานการณ์น้ันๆ มีผู้ทาการสื่อสารมากน้อย เทา่ ใด เกณฑน์ สี้ ามารถจาแนกได้ 5 ประเภท ดังนี้ (อาภัสสรี ไชยคุนา, 2542, น. 8 – 16 และ Baron and Byrne, 2000, p. 4) 1.1 การส่ือสารภายในบุคคล เป็นการส่ือสารของบุคคลคนเดียว โดยบุคคลน้ันจะทา หน้าท่ีเป็นผู้ส่งสารให้กับตนเองและเป็นผู้รับสารจากตนเอง กล่าวคือระบบประสาทส่วนกลางของ บุคคลน้ันจะทาหน้าท่ีเบ็ดเสร็จท้ังส่งสารและรับสาร ตัวอย่างของการสื่อสารภายในตัวบุคคล ได้แก่ การพูดกบั ตัวเอง การรอ้ งเพลงคนเดียว เปน็ ตน้ 1.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นการส่ือสารที่ประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ทาการส่ือสารการในลักษณะตัวต่อตัว กล่าวคือ ทั้งฝ่ายผู้ส่งสารและผู้รับสารที่จะติดต่อแลกเปล่ียน สารกนั ไดโ้ ดยตรง ในขณะท่คี นหน่ึงทาหน้าทเ่ี ป็นผู้ส่งสารอีกคนหน่ึงกจ็ ะเปน็ ผู้รับสาร ปรับความเข้าใจ ซง่ึ กันและกนั การสัมภาษณ์หรือการตัดสินใจในกจิ กรรมบางอย่างท่มี ีคนไม่มาก ดังนั้น การสอ่ื สารใน ลกั ษณะน้ีจงึ เกดิ ขึน้ ในกรณีคน 2 คน เชน่ การสนทนา การติดตอ่ ทางโทรศัพท์ เป็นตน้ 1.3 การสื่อสารกลุ่มใหญ่ เป็นการส่ือสารระหว่างคนจานวนมาก ซึ่งอยู่ในที่เดียวกัน หรือใกล้เคียงกนั เช่น การอภปิ รายในหอประชุม การพูดหาเสยี งเลือกต้งั เป็นตน้ 1.4 การส่ือสารในองค์กร เป็นการส่ือสารระหว่างผู้เป็นสมาชิกขององค์กรหรือ หน่วยงาน เพื่อปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งประกอบด้วย การส่ือสารระหว่าง ผบู้ ังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา การสื่อสารระหว่างผู้รว่ มงานในระดบั เดียวกัน เช่น การส่ือสารใน บรษิ ทั หา้ งร้าน การสื่อสารในหน่วยราชการ และภายในสถานศกึ ษา เป็นตน้

130 1.5 การสื่อสารมวลชน เป็นการส่ือสารกับมวลชนจานวนมากในขณะเดียวกัน พร้อมกัน โดยที่สมาชิกของมวลชนแต่ละคนอยู่ในสถานท่ีต่างๆ กัน เพื่อให้ข่าวสารไปถึงมวลชนได้ พร้อมกัน จึงต้องอาศัยส่อื ท่ีเข้าถึงประชาชนจานวนมากได้ในเวลาอนั รวดเรว็ คอื สื่อมวลชน ซึ่งได้แก่ หนังสอื พิมพ์ วทิ ยุ โทรทัศน์ เปน็ ตน้ 2. การจาแนกตามภาษา และสัญลกั ษณท์ ี่แสดงออก การจาแนกประเภทของการส่ือสารในลักษณะน้ีคานึงถึงรหัส (Code) หรือสัญลักษณ์ (Symbol) ที่ใช้ในการสอื่ สารระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารว่า รหัสหรือสัญลักษณ์ที่ใช้น้ันเปน็ ภาษาพูด หรอื ภาษาเขียนหรอื ไม่ โดยจาแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 2.1 การสื่อสารเชิงวัจนะภาษา เป็นการส่ือสารโดยใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียนเป็น สญั ลกั ษณใ์ นการสอ่ื สาร ซง่ึ จะใช้ภาษาใดกไ็ ด้ เช่น พดู หรอื เขียนภาษาไทย เปน็ ตน้ 2.2 การสื่อสารเชิงอวัจนะภาษา เป็นการส่ือสารหมายโดยใช้รหัสหรือสัญลักษณ์ อย่างอื่นในการส่ือสาร แทนการใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียน เช่น การย้ิม การแสดงกิริยาอาการ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน เป็นต้น รหัสหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาพูด หรือภาษาเขียนในการ สือ่ สารเชิงอวจั นะภาษา 3. การจาแนกตามลกั ษณะการมีปฏสิ ัมพันธ์ การจาแนกประเภทการสื่อสารในลักษณะนี้ กาหนดโดยพิจารณาจากลักษณะการมี ปฏิสมั พนั ธใ์ นกระบวนการสือ่ สารระหว่างผสู้ ง่ สารกบั ผรู้ ับสาร ซ่งึ จะแบง่ ออกได้เป็น 3 ประเภท คอื 3.1 การสื่อสารแบบทางเดียว (One - Way Communication) เป็นการสื่อสารที่ ผู้ส่งสารทาการส่งสารไปยังผู้รับสาร โดยไม่มีการสื่อสารกลับจากผู้รับสาร เช่น ผู้สอนบรรยายใน ช้นั เรียนโดยไม่ซักถามผู้เรียน หรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม การรับสารจากสื่อมวลชนโดยที่ผู้อ่าน หรือผู้ชมไม่ได้มีปฏิกิริยาใดๆ กลับมายังส่ือมวลชน พฤติกรรมการสื่อสารแบบทางเดียวในแง่ การบริหาร ได้แก่ การสงั่ การของผ้บู รหิ ารของทหารตารวจ เป็นต้น สามารถแสดงไดด้ งั ภาพท่ี 4.4 ผสู้ ่งสาร ผูร้ ับสาร ภาพที่ 4.4 การสอ่ื สารแบบทางเดียว ท่ีมา: เจษฎา บุญมาโฮม, 2555, น. 133

131 3.2 การส่ือสารแบบสองทาง (Two - Way Communication) เป็นการส่ือสารที่มี การโต้ตอบกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร บุคคลสามารถเป็นได้ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารในเวลา เดียวกัน เช่น การสนทนาโทรศัพท์ การสัมภาษณ์ การสอนแบบอภิปรายซักถาม เป็นต้น สามารถ สามารถแสดงไดด้ งั ภาพท่ี 4.5 ผู้ส่งสาร ผ้รู บั สาร ภาพท่ี 4.5 การสือ่ สารแบบสองทาง ทม่ี า: เจษฎา บุญมาโฮม, 2555, น. 134 3.3 การสื่อสารแบบหลายทาง เป็นการติดต่อส่ือสารที่มีผู้รับสารและผู้ท่ีส่ือสาร มากกว่า 2 คน หรือกลุ่ม เชน่ การอภปิ รายกลุ่ม เป็นต้น สามารถแสดงไดด้ ังภาพท่ี 4.6 ผ้สู ง่ สาร/ผู้รับสาร ผสู้ ง่ สาร/ผรู้ ับสาร ผสู้ ง่ สาร/ผู้รับสาร ภาพท่ี 4.6 การส่อื สารแบบหลายทาง ทม่ี า: เจษฎา บุญมาโฮม, 2555, น. 134 การส่อื สารระหวา่ งผูเ้ รียน ก า ร ส่ื อ ส า ร ร ะ ห ว่ าง ค รูกั บ ผู้ เรี ย น น้ั น อ ยู่ ใน รู ป ข อ ง ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ท่ี เกิ ด ขึ้ น ใน ห้ อ ง เรี ย น (Classroom Interaction) ซ่ึงรวมทั้งพฤติกรรมทางวาจาและลักษณะอื่นๆ ที่ครูปฏิบัติต่อผู้เรียน ซงึ่ ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกทั้งในทางดีและไม่ดีตอ่ ครู รวมทั้งบรรยากาศในการเรยี นการสอน ได้แก่ การแสดงออกของครูในด้านการให้ความรัก ความเอาใจใส่ ความเข้าใจ การยอมรับ การส่งเสริมให้ กาลังใจ ความใกลช้ ิดสนิทสนม ความยุติธรรม การลงโทษอย่างมีเหตุผล ความสามารถในการอธบิ าย บทเรยี น และการให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ท้ังน้ีสามารถนาเสนอรายละเอยี ด

132 เกี่ยวกับการส่ือสารระหว่างครูกับผู้เรียนได้ดังน้ี (อาภัสสรี ไชยะคุนา, 2542, น. 130 – 131 และ รญั จวน คาวชิรพทิ ักษ์, 2538, น. 42 – 45) 1. ลักษณะการสอื่ สารระหว่างผู้เรียน การสอื่ สารระหวา่ งผู้เรยี น สามารถจาแนกลักษณะได้ 5 ประเภท คือ 1.1 การสร้างความสัมพันธ์ เช่น การทักทายและการจับกลุ่มพูดคุยกัน เพื่อความ สนุกสนานและผ่อนคลายความตงึ เครียดจากการเรียนม 1.2 การใหข้ า่ วสารเป็นการบอกเลา่ เรอื่ งราวตา่ งๆ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา 1.3 การปรกึ ษาหารือในเร่ืองต่างๆ ทั้งปญั หาสว่ นตวั และปญั หาการเรยี น 1.4 การแลกเปล่ียนความรู้โดยเฉพาะในเน้ือหาวิชาที่ยาก ผู้เรียนฟังคาอธิบายจาก ผสู้ อนไมท่ ัน ขาดเรียนหรอื เขา้ ใจคาสง่ั ของผู้สอนไดไ้ ม่ดพี อ 1.5 การนัดหมาย ซ่ึงอาจจะเป็นลักษณะทางวิชาการ เช่น แบ่งงานและหน้าท่ี รับผิดชอบงานท่ีได้รับผิดชอบมอบหมายจากผู้สอน การทากิจกรรมชมรมหรือการนัดหมายเพ่ือ วัตถุประสงคส์ ว่ นตัว เช่น การเลยี้ งสังสรรค์ เลี้ยงรุน่ การไปเที่ยว การเป็นกีฬา เป็นตน้ 2. วิธีการสือ่ สารระหว่างผู้เรียนในชั้นเรียน ครูหรือผู้สอนสามารถประยุกต์ความรู้เก่ียวกับการสื่อสารในกลุ่มเข้ามาใช้ในการเรียน การสอนได้ ตวั อย่างของแนวการสอนท่ีครูสามารถเลือกใช้ให้สอดคล้องกบั เป้าหมาย เนือ้ หาวิชา และ คณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน จากการใชว้ ิธกี ารส่ือสาร ได้แก่ 2.1 การสอนแบบพเี่ ล้ยี งหรือแบบตวิ (Tutorial Group) เปน็ การสอนแบบครชู ว่ ยเหลือ ผู้เรียนในกลุ่มที่ละคน ผู้เรียนสามารถทาความเข้าใจกับครู หรือทาความเข้าใจกับเพ่ือนในกลุ่มด้วย กไ็ ด้ 2.2 การใช้กลุ่มเพื่อเสนอการสอนเนื้อหาวิชา (Diadactic Presenttation) อาจจัดให้ ผ้เู รียนท่ีมีปัญหาหรือความสนใจคลา้ ยๆ กนั มารวมกลุ่มกันแล้วครูเสนอเนื้อหาวิชา นักเรียนอภิปราย ร่วมกับครู 2.3 การค้นคว้าร่วมกันเป็นกลุ่ม (Group Investigation) โดยให้ผู้เรียนทางานหรือ แกป้ ญั หาอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ รว่ มกัน 2.4 การสนทนากันอย่างสนิทสนมเพ่ือแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นร่วมกนั (Colloquium) โดยผู้เรียนคนหนึ่งจะเสนอปัญหาให้กลุม่ ช่วยวเิ คราะห์ มีการค้นควา้ เพ่ือการแก้ปัญหาและนามาเสนอ ปญั หาใหก้ ลุ่มรบั ทราบ

133 2.5 การใช้กลุ่มเพื่อฝึกตั้งคาถาม (Heuristic Method) คือ การสอนให้รู้จักใช้ศิลปใน การตั้งคาถาม เพ่อื ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง 2.6 การแบ่งกลุ่มเพ่ือให้ผู้เรียนระดมความคิดร่วมกัน (Brainstorming) การส่ือสารใน รปู แบบน้ีของกลุ่ม คือ ผู้เรียนทุกคนจะระดมความคิดเห็นแก้ไขปัญหาโดยมีปัญหาจากจุดศูนย์กลาง ครหู รอื ผสู้ ่งสารจะกระตนุ้ ให้ทกุ คนมสี ่วนร่วมในการแกป้ ัญหา 2.7 การฝึกการซักซอ้ มทบทวน (Rehearsal) เป็นการฝึกหัดรว่ มกนั เป็นกลุ่มเล็กๆ เช่น ฝกึ ภาษา เป็นต้น 2.8 การแสดงละคร (Dramatic Activities) เช่น การแสดงบทบาทสมมุติ (Role- Playing) และสงั คมนาฎการ (Socio-drama) 2.9 การเล่นเกมและการสร้างสถานการณ์สมมติ (Game and Simulation) เพื่อให้ ผู้เรียนไดก้ ระทากจิ กรรมร่วมกันในกลมุ่ 2.10 การรว่ มกลุ่มเพอื่ ปฏบิ ัตกิ าร (Workshop) เช่น การทดลองวิทยาศาสตร์ เปน็ ตน้ จากวิธีการสอนทั้ง 10 วิธีดังกล่าว สามารถสรุปเป็นรูปแบบการส่ือสารในช้ันเรียนที่ สาคัญ 4 รปู แบบ ดังต่อไปน้ี 1) การส่อื สารในกลมุ่ แบบตวิ การส่ือสารในกลุ่มแบบติว มีวัตถุประสงค์เพื่อสอนหรือถ่ายทอดความรู้ในเร่ืองใด เร่ืองหน่ึง โดยมีครูหรือผู้ส่งสารเป็นจุดศูนย์กลาง ซ่ึงจะได้ผลดี ถ้าให้โอกาสผู้เรียนซักถามข้อข้องใจ มกี ารเพมิ่ เตมิ ความคดิ เห็นจนผู้เรียนทุกคนเกดิ ความเข้าใจ ผเู้ รยี น ผูเ้ รียน ครูหรอื ผู้สง่ สาร ผูเ้ รยี น ผู้เรียน ผ้เู รยี น ภาพท่ี 4.7 การสอื่ สารในกล่มุ แบบติว ทีม่ า: รัญจวน คาวชิรพทิ กั ษ์, 2538, น. 44

134 2) การสือ่ สารในกลุม่ แบบผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง การส่ือสารแบบนี้ ครูจะมอบหมายปัญหาหรือบทเรียนให้ผู้เรียนเป็นผู้ดาเนินการ โดยครูเพียงชแ้ี นะ หรือวิพากษ์วจิ ารณ์ให้ข้อคิดเห็นแก่กลุ่ม และสมาชิกในกล่มุ จะมีการสือ่ สารซ่ึงกัน และกัน เพอื่ แก้ปัญหาหรือทาความเข้าใจกับบทเรยี นนั้น ครหู รอื ผสู้ ่งสาร ผ้เู รยี น ปญั หา ผเู้ รียน ผู้เรียน ผเู้ รยี น ผู้เรียน ภาพท่ี 4.8 การสือ่ สารในกลุม่ แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ที่มา: รญั จวน คาวชริ พิทักษ์, 2538, น. 44 3) การสอื่ สารในกล่มุ โดยมปี ัญหาหรอื บทเรียนเป็นศนู ยก์ ลาง การส่ือสารแบบนี้ผู้เรียนจะระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหา หรือทาความเข้าใจใน บทเรยี น โดยมคี รูเปน็ ผกู้ ระตุน้ ให้ทุกคนมีสว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหา ครูหรอื ผู้ส่งสาร ผเู้ รยี น ผ้เู รยี น ผ้เู รียน ปัญหา ผเู้ รียน ผู้เรยี น ผู้เรียน ผู้เรยี น ภาพที่ 4.9 การสอ่ื สารในกล่มุ โดยมปี ญั หาหรือบทเรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง ทม่ี า: รัญจวน คาวชริ พิทักษ์, 2538, น. 45

135 4) การส่ือสารในกลมุ่ โดยผู้เรยี นทกุ คนมีการตดิ ต่อสอื่ สารกนั โดยเสรี การส่ือสารแบบน้ี ผู้เรียนทุกคนมีการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ มีการอภิปราย โตแ้ ย้งกันอย่างเต็มท่กี อ่ นสรปุ ปัญหาและแนวทางแกไ้ ข ผเู้ รยี น ผเู้ รียน ผ้เู รยี น ผเู้ รียน ผ้เู รยี น ภาพท่ี 4.10 การส่ือสารในกลมุ่ โดยผ้เู รียนทุกคนมีการตดิ ตอ่ สอื่ สารกนั โดยเสรี ทม่ี า: รญั จวน คาวชริ พทิ กั ษ์, 2538, น. 45 3. ปัญหาการสื่อสารระหวา่ งผูเ้ รยี น การสือ่ สารระหวา่ งผ้เู รียนส่วนใหญจ่ ะเป็นการส่ือสารแบบไมเ่ ปน็ ทางการ และข่าวสารก็ จะถกู ส่งออกมาในลกั ษณะทไี่ มเ่ ป็นทางการ เชน่ การพูดคยุ ปรบั ทกุ ข์ เล่าเรอื่ งของตนเองหรอื ของผอู้ ่ืน ซง่ึ การสือ่ สารระหวา่ งผู้เรียนอาจมีปญั หาเกดิ ข้นึ ไดด้ ังน้ี 3.1 ประสบการณ์ต่างกัน ผู้เรียนแต่ละคนมาจากสภาพแวดล้อมทางสังคมต่างกัน ได้รับการอบรมเล้ียงดูจากครอบครัวมาแตกต่างกัน ทาให้การเลือกใช้ภาษาคาพูด ตลอดจนการ ถอดรหัสตคี วามสารแตกต่างกนั จงึ ทาให้เกิดความเขา้ ใจผิดและอาจจะผิดใจกันในการสอ่ื สารระหว่าง ผูเ้ รยี นที่มปี ระสบการณต์ ่างกนั ได้ 3.2 การขาดทักษะในการส่ือสาร การเลือกใช้คาพูดหรือการแสดงกิริยาท่าทาง ซึ่งเป็นอวัจนะภาษาที่เหมาะสม เช่น การพูดตามอารมณ์หรือความรู้สึกของตนเอง โดยไม่คานึงถึง กาลเทศะหรือความรู้สึกของผู้ฟัง อาจทาใหเ้ กดิ การโกรธเคอื งทะเลาะวิวาทกนั ได้ 3.3 บุคลิกภาพของผู้เรียน กิริยาท่าทางน้าเสียง จังหวะลีลาในการพูด ซึ่งเป็น บคุ ลกิ ภาพของผู้พูดเป็นองค์ประกอบทสี่ าคญั ในการสื่อสารท่จี ะใหผ้ รู้ ับสารเกิดอารมณ์พึงพอใจหรอื ไม่ พึงพอใจ และเกดิ ความขดั แย้งขึน้ ได้ โดยเฉพาะผเู้ รยี นที่อยูใ่ นวยั ทีย่ ังขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ 3.4 การควบคมุ อารมณ์ ผ้เู รียนโดยเฉพาะวัยรนุ่ ซง่ึ เรยี กกันวา่ พายุทางอารมณ์ มกั จะมี อารมณอ์ ่อนไหวงา่ ย ใจรอ้ น ดงั นั้น ถ้าการควบคมุ อารมณ์ยังไมด่ ีพอจะทาให้แสดงออกในการสือ่ สารมี

136 แนวทางไปในทางลบ เชน่ มคี วามไมพ่ ึงพอใจก็จะแสดงออกในการส่ือสาร ท้ังสีหน้าท่าทางและคาพูด ในทางก้าวร้าว ประณามดูถกู ประชดตเิ ตียนผู้อ่ืน ซง่ึ ทาใหเ้ กดิ ความบาดหมางต่อกัน 3.5 การล้อเลียน ผู้เรียนบางคนมีนิสัยนาปมด้อย ข้อบกพร่องหรือลักษณะท่ีแตกต่าง ออกไปจากกลุม่ ของผูอ้ ื่นมาลอ้ เลียน เชน่ ปัญหาในการพูด บางคนอาจจะพดู ไม่ชัด พดู ติดอ่าง หรอื ติด สาเนียงภาษา หรือมีลักษณะบกพรอ่ งทางร่างกายอนื่ ๆโดยถือเป็นความสนุกสนานของตน การส่ือสาร ในลักษณะนี้ ผู้สอนจะต้องสอดสอ่ งติดตามและแกไ้ ข เพราะเป็นผลร้ายทั้งผูพ้ ูดและผู้ฟัง คือ เป็นการ สรา้ งนสิ ัยทไ่ี ม่ดสี าหรบั ผพู้ ูด และเปน็ การทาร้ายจติ ใจผูฟ้ ัง 3.6 ความภักดีต่อกลุ่ม ผู้เรียนบางกลุ่มจะมีความผูกพันกับสถานศึกษาสูง โดยเฉพาะ ชื่อหรือสัญลักษณ์ ให้ความสาคัญกับกลุ่มเพื่อนมาก ทาให้เกิดการถือเขาถือเรา และอาจนาไปสู่การ เป็นปฏปิ ักษ์กับสถานศึกษาอ่นื การพดู จาพาดพิงสถานศกึ ษาอ่ืน จึงเป็นส่ิงทพี่ งึ ระมดั ระวัง 3.7 การขาดทักษะในการปฏิเสธ เช่น ขาดความสามารถในการโต้แย้งให้เหตุผล ขาดความสามารถในการกล่าวปฏิเสธเม่ือถูกชักจูงให้กระทาในสิ่งท่ีไม่เหมาะสม ทาให้เกิดกรณี เพื่อนมากลากไป นาไปสู่พฤติกรรมเบ่ียงเบนหรือไม่เหมาะสม เช่น เท่ียวกลางคืน สูบบุหรี่ หรือ เสพสิง่ เสพติด เป็นตน้ การสื่อสารภายในสถานศึกษา การสื่อสารภายในสถานศึกษาถือเป็นการส่ือสารภายในองค์กรอย่างหนึ่ง ซ่ึงการสื่อสาร ภายในสถานศึกษาท่ีดีจะช่วยสรา้ งความเข้าใจในนโยบายของผู้บรหิ าร และเปน็ สิ่งเช่อื มความสัมพันธ์ ระหว่างบคุ ลากรในสถานศึกษา และทาให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลตอ่ สถานศึกษาในทางบวก เพราะนโยบายการบริหารงาน การจัดการของสถานศึกษาเป็นส่วนสาคัญ ท่ีให้การดาเนินงานบรรลุ เปา้ หมายที่วางไว้ ท้งั นี้สามารถนาเสนอรายละเอยี ดเก่ยี วกับการส่ือสารภายในสถานศกึ ษาได้ดงั นี้ 1. ความสาคญั ของการสอ่ื สารภายในสถานศึกษา การส่ือสารภายในสถานศึกษาเปน็ สิ่งจาเป็นยง่ิ สาหรบั กิจกรรมและการดาเนินงานต่างๆ ที่จะเกิดข้ึนในสถานศึกษา ทั้งน้ีหากการสื่อสารภายในสถานศึกษาดีมีความชัดเจน ก็จะส่งผลให้การ ปฏบิ ัตงิ านตามนโยบายเป็นไปในทิศทางเดียวกนั บุคลากรในสถานศึกษาเกดิ ความพึงพอใจ และเข้าใจ นโยบายได้อย่างชัดเจน และส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทางาน ดังน้ัน กระบวนการทางานของ สถานศึกษาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายจะต้องทาให้การติดต่อส่ือสารระหว่างบุคลากรในฝ่ายต่างๆ ท้ังภายใน และภายนอกสถานศึกษาเป็นไปอย่างคลองตัว เพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน เกิดความ

137 ร่วมมือ และการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การทางานของสถานศึกษาสามารถบรรลุ เป้าหมาย และประสบผลสาเร็จด้วยดี ความสาคญั ของการส่ือสารภายในสถานศกึ ษามดี งั นี้ 1.1 เป็นเครื่องมือของผู้บรหิ ารในการบริหารงาน เพราะการสื่อสารภายในสถานศึกษา จะช่วยทาให้สามารถทางานได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องจากการทางานต้องอาศัยหลายฝ่าย หลายส่วนงานเข้ามาชว่ ยเสรมิ สร้างศกั ยภาพให้กับสถานศึกษา 1.2 เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับบุคลากรต่างๆ ภายใน สถานศึกษาเดียวกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ีตรงกัน และสร้างความไว้วางใจต่อกัน โดยเฉพาะการ เปดิ โอกาสใหบ้ ุคลากรในระดบั ตา่ งๆ ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารงานของผู้บริหาร 1.3 การชว่ ยกนั ปฏิบัติภารกจิ ของสถานศึกษาและมกี ารประสานงานระหว่างกัน พรอ้ ม ทั้งทางานสอดคลอ้ งกนั แมว้ า่ จะต่างฝ่ายกันกต็ าม แต่เพือ่ สถานศึกษาเดียวกนั ผู้บรหิ ารสามารถใช้การ ส่อื สารให้เป็นการส่ือสารเพ่ือสร้างความเปน็ หนงึ่ เดียวภายในสถานศกึ ษาให้ได้ 1.4 การช่วยใหเ้ กิดการพฒั นาและการทางานที่มปี ระสทิ ธิภาพ จากปัจจยั ตา่ งๆ ข้างต้น เม่ือผสมผสานเขา้ กันแลว้ สามารถชว่ ยทาให้เกิดการพฒั นาสถานศึกษาได้ โดยเฉพาะพลงั ขับเคล่ือนท่ี นาโดยผู้บริหารที่รู้จกั การสอ่ื สารภายในสถานศึกษาเปน็ อย่างดี อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การส่ือสารคือเครอ่ื งมืออย่างหน่ึงของผู้บริหาร ท่ีจะทาให้เกิด ความสัมพันธ์ท่ีดีภายในสถานศึกษา ถ้าผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกระดบั บริหาร มีส่วนในการ บริหาร ถ้าขาดการสอ่ื สารก็ไม่สามารถท่ีจะทาให้การงานมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตท่ี ดแี ก่บคุ ลากรได้ 2. จุดมุ่งหมายของการส่อื สารภายในสถานศกึ ษา จุดมุง่ หมายของการสอื่ สารภายในสถานศกึ ษา มดี งั นี้ 2.1 เพ่ือให้ข้อเท็จจริงและสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน ในการประสานงานเพ่ือให้งาน สาเร็จตามเป้าหมาย โดยให้ข้อเท็จจริงท่ีแท้จริงตรงไปตรงมา ควรใช้ภาษาทีก่ ระชับชัดเจน ไม่ยืดยาว เยนิ่ เย้อโดยไม่จาเปน็ 2.2 เพ่อื กระตุ้นและโน้มน้าวจิตใจให้บคุ ลากรในสถานศกึ ษาปฏิบตั ิงานตามจดุ มุ่งหมาย และแผนการที่วางไว้ ทาให้เกิดความร่วมมือร่วมใจกันทางานในสถานศึกษา การกระต้นให้บุคลากร ปฏิบตั ิตามแผนตอ้ งใชศ้ ิลปะ ถ้อยคา สานวน การแสดงต่อกันดว้ ยไมตรจี ิต มุ่งผลประโยชน์สูงสุดของ การปฏบิ ัติงานสาหรับสถานศึกษา 2.3 เพ่ือสร้างมนุษยสัมพันธ์ การดูแลทุกข์สุข เอื้ออาทร รวมถึงการประชาสัมพันธ์ เก่ียวกับสวัสดกิ าร และสทิ ธปิ ระโยชน์ตา่ งๆ