Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Description: มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Search

Read the Text Version

239 การเรียนรู้ตามแนวคิดของบลูม (Bloom, 1956, p. 7) ที่จาแนกไว้ 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจติ พสิ ยั และด้านทกั ษะพิสยั 4. เน้ือหาการเรียนการสอน เป็นการเลือกและการจัดลาดับเนื้อหาท่ีสอน การกาหนด เนื้อหาจะทาให้ครูผู้สอนได้ทราบว่าจะสอนอะไร ผู้เรยี นควรได้รับประสบการณ์ใดบ้าง ประสบการณ์ ใดควรได้รับกอ่ น และในขอบเขตมากนอ้ ยเพียงใดจึงจะเหมาะสม การกาหนดเนื้อหาไวล้ ่วงหน้าจะทา ให้การสอนมีสาระคมุ้ ค่ากบั เวลาทผี่ ่านไปและมคี ณุ ค่าแก่ผู้เรยี น 5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จะทาให้ผู้สอนทราบว่าจะสอนอย่างไร ใช้วิธีการใดในการ สอนหรือสร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนที่เหมาะสมกับลักษณะของเน้ือหาวิชา ผู้เรียน สภาพ ห้องเรียน และสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การสอนทก่ี าหนดไว้ 6. ส่ิงแวดล้อม หรือบริบทแวดล้อมในการเรียนการสอน ถือเป็นอีกองค์ประกอบหน่ึงใน การออกแบบการเรียนการสอนท่ีมีผลต่อคุณภาพและสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ เช่น การจัดวางโต๊ะครูในห้องเรียนที่แตกต่างกัน ก็จะมีผลต่อปฏิสัมพันธ์และผลการเรียนของผู้เรียนได้ ไม่น้อย ขอบเขตสง่ิ แวดลอ้ มทางการเรยี นการสอนสามารถพิจารณากาหนดได้หลายลักษณะ สิ่งต่างๆ รอบตัวผู้เรียนล้วนเป็นส่ิงแวดล้อมทั้งสิ้น เช่น สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อาคารสถานท่ี ห้องเรียนและโต๊ะ ป้ายนิเทศ ตารางเวลา ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสังคมในโรงเรียน ครูผู้สอน และบทบาทพฤติกรรมของผู้สอน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นส่ิงแวดล้อมและมีอิทธพิ ลทั้งทางบวกและลบต่อ ผู้เรียนได้ 7. การประเมินผลการเรียนการสอน องค์ประกอบข้อน้ีช่วยให้ผู้สอนทราบว่า การสอนท่ี ผา่ นมานัน้ บรรลุผลหรือไม่ มากน้อยเพียงใด ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธต์ิ ามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรอื ไม่ มีตอนใด หรือจุดประสงค์ใดบ้างท่ียังไม่บรรลุ ทาให้ครูผู้สอนสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้ตรงจุด การวัดผลประเมินผลน้ีมีประโยชนท์ ้ังตอ่ ผู้เรียนและครผู สู้ อน ครูผู้สอนจึงต้องทาการวัดผลประเมินผล ทุกคร้งั ท่ีสอน (อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2552, น. 8-9) ลกั ษณะการจัดการเรยี นรูท่ีดี ผูสอนที่ดีทุกคนยอมมีความรับผิดชอบในหนาที่ในดานการจัดการเรียนรู้ และการอบรม ผเู รียนใหเปนสมาชกิ ที่ดขี องชมุ ชนและชาติ ดังนั้นการจดั การเรียนรูท่ีดตี องมหี ลกั ในการยดึ ดังนี้ 1. สงเสริมใหผูเรียนไดใชความคิดอยูเสมอ โดยการซักถามหรือใหแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับปญหางายๆ สาหรับผูเรียนในระดับตางๆ เพื่อจะไดเปนการฝกใหผูเรียนคิดหาเหตุผล คิดเปรยี บเทยี บ และคดิ พจิ ารณาถึงความสัมพนั ธระหวางสิ่งตางๆ 2. สงเสรมิ ใหผูเรยี นมีประสบการณตรงใหมากทส่ี ุด ดวยการเรยี นโดยการกระทาดวยตนเอง (Learning by doing)

240 3. สงเสริมใหผูเรียนทางานเปนกลุม (Group working) โดยมีการปรึกษาหารือกันในกลุ่ม แบงงานกันทาดวยความรวมมือกนั และประเมินผลรวมกัน 4. สงเสรมิ ใหผูเรียนรูจกั แกปญหาดวยตนเองตามวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ 5. มีการเปล่ียนแปลงวิธีการจัดการเรียนรูอยูเสมอ เพื่อใหการจัดการเรยี นรูนั้น เกิดความ ยืดหยุน นาสนใจ และไมนาเบื่อ โดยการนาเอาเทคนิคการจัดการเรียนรูแบบตางๆ มาดัดแปลงใชใน การจัดการเรียนรู 6. มีการเตรียมการจัดการเรียนรูไวลวงหนา เพื่อท่ีผูสอนจะไดทราบวาจะสอนอยางไรบาง ตามลาดบั ข้ันและยงั ชวยใหผูสอนพรอมทจี่ ะสอนดวยความมั่นใจ 7. เปดโอกาสใหผูเรยี นไดแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ และคดิ หาเหตผุ ลความเปนมาของสิ่งที่ เรยี น และมกี ารรับฟงความคิดเห็นซึ่งกนั และกัน 8. มีการประเมินผลอยูตลอดเวลา เนนการประเมินตามสภาพจริง ประเมินตามความรู ความสามารถของผูเรียนอยางแทจริง เพ่ือใหแนใจวาการจัดการเรียนรูไดผลตรงตามจุดประสงคที่ วางไวหรือไม เพยี งใด 9. มีสอื่ การจัดการเรยี นรู เพ่ือชวยใหผูเรียนสนใจและเขาใจบทเรียน เชน ของจรงิ รูปภาพ หุนจาลอง แผนภูมิ คอมพิวเตอรชวยสอน วีดิทัศน ฐานขอมูลการเรยี นรู เว็บไซต และโสตทศั นปู กรณ อนื่ ๆ 10. มีการจูงใจในระหวางการจัดการเรียนรูเชน การใหรางวัล การชมเชย การลงโทษ การตเิ ตียน การใหคะแนน การสอบ การแขงขัน การปรบมือใหเกียรติ ฯลฯ มาใชเปนส่ิงกระตุนและ ชแี้ นวทางเพ่ือใหผูเรียนเกดิ ความสนใจ ตัง้ ใจ ขยันหมั่นเพยี รในการเรียนการทากจิ กรรมมากขนึ้ 11. มีกิจกรรมใหผูเรียนทาหลายอยาง เพ่ือเราความสนใจของผูเรียน และชวยใหผูเรียน สนุกสนานในการเรียน 12. สงเสริมใหผูเรียนมีความเจริญงอกงามในทุกดาน ท้ังรางกาย อารมณสังคม และ สตปิ ญญา 13. สงเสริมความสัมพันธหรือการบูรณาการระหวางวิชาที่เรียนกับวิชาอื่นๆ ในหลักสูตร เชน สอนภาษาไทยก็สอนใหสมั พันธกบั สังคมศึกษา ศิลปศกึ ษา ดนตรี และนาฏศลิ ป เปนตน 14. มีการสรางบรรยากาศในการจัดการเรียนรูใหเหมาะแกการเรียนรูตามบทเรียนท่ีสอน ท้งั ในแงของสิ่งแวดลอมและอารมณของผูเรยี น 15. สอนแบบเนนผูเรียนเปนสาคัญ (Child center) ในการจัดกิจกรรมตางๆ ผูเรียนจะ เปนผูลงมือปฏิบัติกิจกรรมตางๆ เอง ผูสอนจะเปนเพียงผูคอยใหความชวยเหลือแนะนาในการทา กิจกรรม 16. สอนโดยสงเสรมิ ใหผูเรียนไดใชประสาทสมั ผัสท้ัง 5 ใหมากท่สี ุด

241 17. สอนตามกฎแหงการเรียนรูโดยจัดบทเรียนใหเหมาะสมกับวัย ความสามารถและ ประสบการณเดมิ ของผูเรยี น 18. สอนโดยสงเสริมการดาเนินชีวิตตามแบบประชาธิปไตย โดยสามารถแสดงความ คิดเหน็ ตางๆ และฝกใหผเู รียนรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอืน่ เคารพความคดิ เหน็ ของผูอื่น อกี ท้งั เปด โอกาสใหผเู รยี นไดมกี ารวางแผนงานรวมกับผูสอน การจัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาํ คญั ผู้เรียนถือได้ว่าเป็นบุคคลที่สาคัญท่ีสุดในการเรียนการสอนและในระบบการศึกษา เน่ืองจากคุณภาพของผู้เรียนจะส่งผลถึงคุณภาพของสังคมและประเทศชาติในอนาคต และสะท้อน คณุ ภาพของการจดั การศกึ ษาในปจั จุบนั อีกด้วย จากพระราชบัญญัติศกึ ษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 กาหนดไว้ว่า “การจดั การศึกษาตอ้ งยึดหลักวา่ ผู้เรียนทุกคนมคี วามสามารถในการจัดการเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2542) เป็นผลให้เกิดการปฏิรูป การศึกษาข้ึน และการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ก็เป็นประเดน็ สาคญั ทาให้ผ้นู าหลกั สูตรไป ปฏบิ ตั ิท้งั หลักสตู รการศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานจนถึงระดบั อดุ มศกึ ษา ต้องมุ่งดาเนินการเรียน การสอนให้สอดคล้องตามแนวคิดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์เป็นสาคัญ ซึ่งครูผู้สอนหรือกค็ ือผู้นา หลักสูตรไปปฏิบัติควรตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการดาเนินการเรียนการสอนตามแนวคิด ดังกลา่ วไปพร้อมกบั การใหผ้ ูเ้ รยี นบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้รายวิชาไปพรอ้ มกัน ความหมายของการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสําคญั นักวิชาการหลายทา่ นไดใ้ ห้ความหมายของการจัดการเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญไว้ ดงั นี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2543, น. 19-20) กล่าวสรุปถึงลักษณะของ การจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ่ผี เู้ รียนสาคัญทส่ี ุดไวว้ า่ เป็นการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ี 1. มุ่งประโยชนส์ งู สุดแกผ่ เู้ รยี น 2. ผู้เรียนไดพ้ ฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ 3. ผเู้ รียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย 4. ผเู้ รยี นสามารถนาวิธีการเรยี นรูไ้ ปใชไ้ ด้ในชีวิตจรงิ ได้ 5. ทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในทกุ ขัน้ ตอนเพอ่ื พฒั นาผ้เู รียน

242 พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2544, น.7) อธิบายว่า การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ แนวการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่และสิ่งประดิษฐ์ใหม่ โดยการใช้ กระบวนการทางปญั ญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลมุ่ ) และให้ผ้เู รยี นมี ปฏิสัมพันธ์และมสี ว่ นรว่ มในการเรียนในการเรยี น สามารถนาความรูไ้ ปประยุกต์ใชไ้ ด้ โดยครมู บี ทบาท เป็นผู้อานวยความสะดวก จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนท่ี เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ต้องจัดให้สอดคล้องกับความสนใจ ความสามารถ และความถนัด เน้นการ บูรณาการความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ ใช้หลากหลายวิธีการสอน หลากหลายแหล่งความรู้สามารถ พัฒนาปญั ญาอยา่ งหลากหลาย คอื พหปุ ัญญา รวมทั้งเนน้ การวัดผลอย่างหลากหลายวธิ ี วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545, น. 51) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง หมายถึง การจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นการจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับการดารงชีวิต เหมาะสมกับความสามารถและความสนใจของผู้เรยี น โดยให้ผเู้ รียนมสี ่วนรว่ มและลงมอื ปฏิบัติจนทุก ขั้นตอน จนเกดิ การเรียนรู้ด้วยตนเอง ทิศนา แขมมณี (2559, น.120) กล่าวว่า กระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรยี นเป็นสาคัญ เป็นการ จดั การเรยี นการสอนทยี่ ดึ ผู้เรยี นเปน็ ตัวต้ัง โดยคานงึ ถงึ ความเหมาะสมกบั ผู้เรยี นและประโยชน์สงู สุดท่ี ผู้เรียนควรจะได้รับ และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการ เรียนรู้ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตื่นตัวและได้ใช้กระบวนการเรียนรู้ต่างๆ อันจะนา ผู้เรยี นไปสกู่ ารเกดิ การเรยี นรู้ทแี่ ท้จรงิ สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การเรียนการสอนที่เน้น ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง เป็นแนวทางการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ให้ผ้เู รียนใช้กระบวนการสร้างความรู้ ด้วยตนเอง เป็นการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน มีส่วนร่วมในการทากิจกรรม เกดิ การเรยี นร้อู ยา่ งมคี วามหมายที่แท้จรงิ แนวคดิ ทีส่ ําคัญในการจัดการเรียนร้ทู ่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาํ คญั สาหรับแนวคดิ นี้เปน็ แนวคดิ ท่ีมาจากจอห์นดิวอี้ (John Dewey) ซึ่งเป็นต้นคดิ ในเร่ืองของ การเรียนรู้โดยการลงมือกระทา (Learning by doing) ท่ีเป็นท่ีรู้จักกันดีทั่วโลกมานานแล้ว การจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเป็นการเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้รับ ความรู้มาเป็นผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ นั่นคือครูผู้สอนต้องรู้จักการจัดประสบการณ์ โดยมีกระบวนการท่ีมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รู้จักคิดค้น สร้าง และลงมือปฏิบัติจริง เพ่ือได้ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง สรุปความคิดความรู้ด้วยตนเอง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข และนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (วีระเดช เชื้อนาม, 2545) สอดคล้องกับ ทิศนา แขมมณี (2542) ท่ีระบุไว้ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนอย่างคงทนมากน้อยเพียงใดน้ัน

243 ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบหลายประการแต่ท่ีสาคัญคือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งเป็นการจัด กจิ กรรมที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ จากคาบอกเลา่ ของครูและนกั เรียนพบว่า ผู้เรียนจะเรียนรู้ไดด้ ีเม่ือได้ ลงมือกระทา มีสว่ นร่วม เป็นผู้เรียนและเป็นผสู้ ร้างองคค์ วามรู้ทไี่ ดเ้ รียนรู้ มกี ารจัดกจิ กรรมท่ามกลาง บรรยากาศท่ีสนุกสนาน ต่ืนเต้น มีชีวิตชีวา สอดคล้องกับความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน ทาให้มีความหมายตอ่ ผู้เรียนมาก เพราะมีประโยชน์และไดน้ าไปใชบ้ ่อยๆ ในชวี ิตประจาวันดว้ ยการฝึก แก้ปัญหาท่ีจาเป็นต้องแก้ไข ผู้เรียนจึงเต็มใจเรียนเพ่ือให้ได้รับความรู้ความก้าวหน้า ในความสาเร็จ ของตนทาใหม้ คี วามสุข นอกจากน้ี กมล ภู่ประเสริฐ (2544) ได้ใหแ้ นวคิดการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ต้องคานึงถึงเรอ่ื งตา่ งๆ หลายประการ ไดแ้ ก่ 1. สอดคล้องกบั ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผเู้ รียน 2. สง่ เสริมความสามารถในกระบวนการเรียนรู้ เพื่อใหม้ ีการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต หรือ การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 3. สง่ เสรมิ พฒั นาการทุกดา้ นของผเู้ รยี นแตล่ ะคน โดยคานึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 4. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรู้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยเน้นกระบวนการคดิ การปฏิบัติจริงและ นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ หรือมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ใหม้ ากที่สดุ 5. ส่งเสริมการเรยี นรรู้ ่วมกนั ทงั้ ผู้เรยี นและผ้สู อนรวมถึงผู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข์ (2545) ให้แนวคิดของการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญไว้ดงั นี้ 1. ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง บทบาทของครูคือผู้สนับสนุน (Supporter) และเป็นแหล่งความรู้ (Resource Person) ของผู้เรียน โดยผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบ ต้ังแต่เลอื ก วางแผน เรื่องท่ตี นจะเรียนหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือก และจะเริ่มตน้ การเรยี นรูด้ ้วย ตนเองดว้ ยการศกึ ษาค้นควา้ รบั ผดิ ชอบการเรียนตลอดจนประเมินผลการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 2. เน้ือหาวิชามีความสาคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ ในการออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้มีปัจจัยสาคัญที่จะต้องนามาพิจารณา ประกอบด้วยเน้ือหาวิชา ประสบการณ์เดิม และความ ต้องการของผูเ้ รียน การเรยี นรทู้ ี่สาคญั และมีความหมายจงึ ข้นึ อยูก่ บั ส่ิงที่สอนและเทคนิควธิ ีสอน 3. การเรียนรทู้ ี่ประสบผลสาเรจ็ หากผ้เู รยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้เรียนจะได้รับความสนุกจากการเรียนหากได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทางานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ค้นคว้า ได้พบข้อคาถามและคาตอบใหม่ๆ ประเด็นที่ท้าทายและความสามารถในเร่ืองใหม่ๆ ทเ่ี กิดข้ึน รวมท้งั การบรรลุเปา้ หมายและผลสาเรจ็ ของงานท่ีพวกเขารเิ ร่มิ ด้วยตนเอง 4. สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้เรียน การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มจะช่วยส่งเสริมความเจริญ งอกงาม การพัฒนาความเป็นผูใ้ หญ่ การปรับปรงุ การทางาน และการจัดการกบั ชีวิตของแต่ละบุคคล สัมพันธภาพท่ีเท่าเทียมกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม จึงเป็นส่ิงสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมการแลกเปล่ียน การเรียนรู้ซึง่ กันและกันของผู้เรียน

244 5. ครู คือผู้อานวยความสะดวกและเป็นแหล่งความรู้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูจะต้องมีความสามารถท่ีจะค้นพบความต้องการท่ีแท้จริงของผู้เรียน เป็นแหล่ง ความรู้ที่ทรงคณุ ค่าของผู้เรยี น และสามารถค้นคว้าหาสื่ออุปกรณ์ที่เหมาะกับผู้เรียน ส่ิงสาคัญที่สุดคือ ความเต็มใจของครทู ี่ให้ความช่วยเหลือโดยไม่มีเง่ือนไข ครูสามารถให้ทุกอย่างทีพ่ ัฒนาผู้เรียนได้ไม่ว่า จะเปน็ ความรู้ ความเช่ยี วชาญ เจตคติ และการฝกึ ฝน ซ่ึงผเู้ รียนอสิ ระในการรบั หรอื ไม่รับก็ได้ 6. ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในมุมท่ีแตกต่างจากเดิม การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญมุ่งให้ผู้เรียนมองเห็นตนเองในแง่มุมท่ีแตกต่างออกไป ผู้เรียนจะมีความม่ันใจในตนเองและ ควบคมุ ตนเองไดม้ ากข้ึน สามารถเป็นส่งิ ท่อี ยากเป็น มวี ฒุ ภิ าวะสงู มากข้นึ 7. การศกึ ษา คือ การพัฒนาประสบการณ์การเรยี นรู้ของผู้เรยี นหลายๆ ด้านพรอ้ มกนั ไปกับ การเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาผู้เรียนด้านคุณลักษณะ ด้านความรู้ ความคดิ ดา้ นการปฏิบัติ และดา้ นอารมณ์ความรสู้ กึ ซ่ึงด้านต่างๆ เหลา่ นีจ้ ะได้รบั การพัฒนาใหเ้ กดิ ขึ้น ภายในตัวผู้เรียนแต่ละคนท่ีเป็นผู้สร้างจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบกับความรู้ความเข้าใจท่ีมี อยู่เดิม เกิดจากโครงสร้างทางปัญญา ผู้สอนไม่สามารถปรับเปลี่ยนปัญญาของผู้เรียนได้ แต่สามารถ ช่วยผู้เรียนปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาได้ โดยผู้เรียนพยายามปรับข้อมูลใหม่กับประสบการณ์ เดมิ และสร้างองค์ความรใู้ หม่ สรปุ แนวคิดในการจัดการเรียนรทู้ ่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ เป็นแนวคิดในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนร่วมในการเรยี นการสอนมากที่สุด และใหผ้ ู้เรียนมีบทบาทมาก ทส่ี ุดตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้เรียน และสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละวัย ดังน้ัน สภาพการเรียนการสอนจึงมลี ักษณะผสมผสานด้วยวิธกี ารสอนท่ีหลากหลาย เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมกี ารศกึ ษา ค้นคว้า การคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนๆ และสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยบทบาทของครูเปลี่ยนจากผู้สอน อบรม หรือบอกเล่ามาเป็นให้การ สนบั สนนุ ชี้แนะแนวทางในการหาแหล่งความรู้ ให้คาปรึกษา และใหก้ าลงั ใจแก่ผูเ้ รยี นอยา่ งใกลช้ ดิ หลกั การท่ีสาํ คัญของการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาํ คญั นักวิชาการหลายท่านได้ให้แนวคิดเก่ียวกับหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดงั นี้ สุวิทย์ มูลคา (2544) ได้สรุปหลักการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญว่า ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการเรียนรู้ ได้เรียนตรงกับความต้องการและความถนัดของตนเอง มีโอกาสได้คิดอย่าง สร้างสรรค์ แสดงออกอย่างอิสระ เป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง ได้เรียนรู้จากสภาพจริงและได้รับ ประสบการณ์ตรง ได้ใช้สื่อต่างๆ เพ่ือการเรียนรู้ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น หรือได้ทางาน เปน็ กลมุ่ และไดเ้ รียนอย่างมคี วามสุข

245 กรมวิชาการ (2544) ให้ข้อมูลว่าหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อาศัย แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (หมวด 4) เป็นพ้ืนฐาน ในการศึกษาค้นคว้าและพิจารณาเลือกใช้รูปแบบ หรือวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม โดยมีวธิ ีดังต่อไปน้ี 1. การวิเคราะห์ผู้เรียน เป็นการรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มที่ช่วยให้ผู้สอน มีข้อมูลสาคัญในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม หลักการวิเคราะห์ผู้เรียนควรคานึงถึง ธรรมชาติของผ้เู รียน ประสบการณ์และพ้ืนฐานความรู้เดมิ และวธิ ีการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 2. การใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ และกระบวนการคุณธรรม ค่านิยมในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 3. การวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน เชื่อมโยงกับการพัฒนาหลักสูตรและการ จัดการเรยี นร้ใู นสถานศกึ ษา 4. การออกแบบการเรียนรู้ตามสภาพจริงใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานหลักสตู ร และเชือ่ มโยง บูรณาการระหว่างกลุ่มวิชา โดยใช้ผลการเรียนรู้ที่กาหนดเป็นหลัก และใช้กระบวนการวิจัยเป็น สว่ นหนึ่งของการจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื มุ่งพัฒนาการเรียนของผูเ้ รียน 5. การออกแบบการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ โดยใชเ้ ครื่องมือวัดท่ีหลากหลายเพื่อ สะท้อนภาพให้เห็นได้ชัดเจน และแน่นอนวา่ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ต่างๆ ได้อย่างไร ทาใหไ้ ด้ข้อมูลจาก ผู้เรียนรอบด้านท่ีสอดคล้องกับความเป็นจริง เพื่อใช้ประกอบการตัดสินผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและ มปี ระสิทธภิ าพ สรุปแนวคิดของหลักการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั ได้ดงั นี้ 1. กระบวนการที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน การสอนและรู้จกั รับผิดชอบด้วยตนเอง 2. มีการเรยี นรู้ หรือศึกษาการเรียนรู้ได้จากแหลง่ ต่างๆ มากมายไมใ่ ช่ศึกษาหาความรู้จาก แหลง่ เดียว หรอื เพยี งในห้องเรียนเทา่ นัน้ 3. เป็นการจดั กิจกรรมที่ใหผ้ ้เู รียนไดค้ ้นพบดว้ ยตนเอง 4. เปน็ กระบวนการที่มีสว่ นชว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรทู้ ีด่ ี 5. เปน็ กระบวนการทมี่ ีความสาคัญต่อการเรยี นของผู้เรียน 6. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับชีวิตจริงของแต่ละบุคคล จากหลักการดังกล่าวจะนาไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้า ร่วมกิจกรรม และเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองอย่างมีความสุข โดยครูผู้สอนต้องลดบทบาทและ ปรับเปล่ียนกระบวนการของตนจากการเป็นผู้บอกความรู้ให้แก่ผู้เรียน มาเป็นผู้สนับสนุน ผู้ชี้แนะ

246 ท่ปี รึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นมากท่ีสุดตามศักยภาพของแต่ละบุคคล จัดประสบการณ์ที่กระตุ้นให้ ผเู้ รียนใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง โดยมีครูและนักเรยี นร่วมกันบอกแหลง่ ความรู้ ลกั ษณะการจดั กิจกรรมของการจดั การเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สําคัญ ลักษณะการจัดกิจกรรม ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะ อาภรณ์ ใจเท่ียง (2552, น. 85-86) ได้อธิบายลักษณะการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยสรุปได้เปน็ คาว่า CHART PIG ดงั น้ี 1. C = Construct หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนได้ค้นพบสาระสาคัญหรือความรู้ ใหม่ด้วยตนเอง อันเกิดจากการไดศ้ กึ ษาค้นคว้าทดลอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และลงมือปฏิบัติจรงิ ทาให้ ผู้เรียนรักการอ่าน รักการศึกษาค้นคว้า เกิดทักษะในการแสวงหาความรู้ และเห็นความสาคัญของ การเรียนรู้ ซง่ึ นาไปสกู่ ารเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ (Learning Man) ทพ่ี ึงประสงค์ 2. H = Happiness หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนได้เรียนอย่างมีความสุข ซึ่งเป็น ความสุขท่ีเกิดจาก ประการท่ีหน่ึง ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งท่ีตนสนใจ สาระการเรียนรู้ชวนให้สนใจ ใฝ่ศึกษา ค้นควา้ ท้าทายให้แสดงความสามารถ และให้ใชศ้ ักยภาพของตนอย่างเต็มที่ ประการที่สอง ปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน มีลักษณะเป็น กัลยาณมิตร มีการช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน มีกิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน ทาให้ผู้เรียนรู้สึกมี ความสขุ และสนกุ กบั การเรยี น 3. A = Active Learning หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนเป็นผู้กระทาหรือปฏิบัติ ด้วยตนเอง ด้วยความกระตือรือร้น เช่น ได้คิด ค้นคว้า ทดลอง รายงาน ทาโครงงาน สัมภาษณ์ แก้ปญั หา ฯลฯ ได้ใช้ประสาทสัมผสั ตา่ งๆ ทาให้เกดิ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งแท้จริง ผู้สอนทาหนา้ ท่ี เตรยี มการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ จัดสอ่ื จัดส่งิ เร้า เสรมิ แรง ใหค้ าปรึกษา และสรุปสาระการเรียนรู้ รว่ มกนั 4. R = Resources หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทีห่ ลากหลาย ท้ังบุคคลและเครื่องมือ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ผู้เรียนได้สมั ผัสและสัมพันธ์ กับส่ิงแวดล้อมทั้งที่เป็นมนุษย์ (เช่น ชุมชน ครอบครัว องค์กรต่างๆ) ธรรมชาติ และเทคโนโลยี ตามหลักการว่า “การเรียนรเู้ กิดขึน้ ไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา และทุกสถานการณ์” 5. T = Thinking หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคิด ผู้เรียนได้ฝึกวิธีคิด ในหลายลักษณะ เช่น คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดละเอยี ด คิดชดั เจน คิดถูกทาง คิดกว้าง คิดลึกซึ้ง คดิ ไกล คิดอย่างมีเหตผุ ล เปน็ ตน้ การฝึกให้ผู้เรียนได้คิดอยู่เสมอในลักษณะต่างๆ จะทาให้ผู้เรียนเป็น คนคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น คิดอย่างรอบคอบ มีเหตุผล มีวิจารณญาณในการคิด มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ที่จะเลือกรับและปฏิเสธข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

247 ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างชัดเจน และมีเหตุผลอันเป็นประโยชน์ต่อการดารง ชวี ิตประจาวนั 6. P = Participation หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผน กาหนดงาน วางเป้าหมายงานร่วมกัน และมีโอกาสเลือกทางานหรือศึกษาค้นคว้าในเรื่องท่ีตรงกับ ความถนัดความสามารถ ความสนใจของตนเอง ทาให้ผู้เรียนเรียนด้วยความกระตือรือร้น มองเห็น คุณค่าของสง่ิ ท่ีเรียน และสามารถประยุกตค์ วามรนู้ าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจรงิ 7. I = Individualization หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ผู้สอนให้ความสาคัญแก่ผู้เรียนใน ความเปน็ เอกัตตบุคคล ผูส้ อนยอมรับในความสามารถ ความคิดเห็น ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของ ผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ มากกว่าเปรียบเทียบแข่งขันระหว่างกัน โดยมี ความเชื่อม่นั ว่าผ้เู รยี นทกุ คนมคี วามสามารถในการเรียนรู้ได้และมวี ิธีการเรียนรูท้ ต่ี ่างกัน 8. G = Good Habit & Group Process หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนได้พัฒนา คุณลักษณะนิสัยท่ีดีงาม เช่น ความรับผิดชอบ ความเมตตากรุณา ความมีน้าใจ ความขยัน ความมี ระเบยี บวินยั ความเสียสละ ฯลฯ และลกั ษณะนิสัยในการทางานรว่ มกับผอู้ ่ืน การยอมรับผูอ้ ื่น การฝึก เปน็ ผนู้ าและผตู้ าม และการเหน็ คุณคา่ ของงาน เป็นต้น ประโยชน์ของการจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาํ คัญ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นแนวความคิดที่มุ่งให้ผู้เรียนได้มีบทบาท มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากข้ึน ซ่ึงผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้โดยการลงมือกระทา ปฏิบัติ แก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยยึดความสนใจ ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ และสามารถที่จะพฒั นาศักยภาพของตนเอง และนาความร้ไู ปใช้เปน็ ประโยชน์ต่อตนเองได้ ตลอดจน เนน้ กระบวนการในการเรียนรู้รว่ มกันของผู้เรียน ผเู้ รียนจะมีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ด้วยตนเอง จะเรียนอย่างมีความสุข มีส่วนร่วมในการทางานในกิจกรรมต่างๆ อีกท้ังมีจิตใจท่ีสดช่ืน แจ่มใสในระหว่างดาเนินกิจกรรม สาหรับประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถสรุปได้ดังนี้ (ศศธิ ร เวียงวะลัย, 2556, น.10-11) 1. ผู้เรยี นมีความสุขกับการเรยี น 2. ผเู้ รยี นเรียนรู้ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข 3. ผู้เรยี นสามารถคดิ คน้ ค้นหาความรู้ หาคาตอบได้ดว้ ยตนเอง 4. ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้โดยการปฏบิ ตั ิจรงิ กล้าคิด กลา้ ทา และกลา้ แสดงออก 5. ผเู้ รียนสามารถเรยี นรูไ้ ด้หลากหลายหรอื เรียนรแู้ บบองค์รวม 6. ผเู้ รยี นสามารถจดั กจิ กรรมรว่ มกบั ผสู้ อนอย่างมีความสขุ 7. ผู้เรยี นสามารถเรยี นรูไ้ ดจ้ ากกระบวนการของตนเอง

248 8. ผูเ้ รียนสามารถสรา้ งความรแู้ ละสรปุ ความรดู้ ว้ ยตนเอง 9. ผคู้ รูผ้สู อนมคี วามสขุ กับการจัดกระบวนการเรียนรู้ 10. ผู้บรหิ ารมีความสขุ กับการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนและผเู้ รียน 11. ผู้ปกครอง/ชุมชน มีความสุขในการจัดกระบวนการเรียนการสอนในรูปแบบน้ี และให้ ความช่วยเหลอื รว่ มมือเป็นอยา่ งดี การเรียนร้อู ย่างมีความสุข การเรยี นรู้อย่างมีความสขุ เปน็ สภาพการจดั การเรียนรใู้ นบรรยากาศท่ผี ่อนคลาย เปน็ อิสระ ยอมรับความแตกต่างของบุคคล มีความหลากหลายในวิธีการเรียนของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาอย่างรอบด้าน รักการเรียนรู้ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ และต้องการเรียนรู้สิ่งต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ตลอดชวี ติ องคป์ ระกอบของการเรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2540) กล่าวว่า หลักสูตรการศึกษาสาหรับ ผู้เรียนแต่ละคนควรจะแตกต่างกันออกไปตามความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ครูต้อง พฒั นาการทางานเป็นทีม เพราะในยคุ ของเทคโนโลยีสมยั ใหม่ต้องทางานเป็นทมี ครตู อ้ งสอนผ้เู รียนให้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข โรงเรียนต้องปลูกฝังความรักการเรียนรู้ และการพัฒนา ความสามารถทางภาษาให้ผู้เรียน เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทาให้มองแนวทาง หลักสูตรการจัดการเรียนรู้ทเี่ ป็นองค์รวม โดยผ่านกระบวนการคดิ ได้อยา่ งชัดเจน ดังนั้น โรงเรยี นทุก วันน้ีไม่ควรถือว่าการให้ความรู้เนื้อหาวิชาการเป็นเร่ืองที่มีความสาคัญที่สุด แต่ควรให้เครื่องมือแก่ ผู้เรียนในการเรียนรเู้ องตลอดไป การจะบรรลุความตอ้ งการนั้นมอี งค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คอื 1. การจัดสภาพแวดล้อม การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับเน้ือหาสาระ และ กจิ กรรมตามแนวการสอนแบบองคร์ วม เร่ิมตน้ โดยการจดั พ้ืนที่ภายในห้องเรยี น ทีส่ ามารถตอบสนอง ความต้องการในการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีมีความแตกต่างหลากหลายได้ ในเร่ืองของประสบการณ์และ ความพร้อมในการเรียนของแต่ละบุคคล หรือแต่ละกลุ่มความสนใจ ดังน้ัน การจัดห้องเรียนจึงควร เป็นสถานท่ีที่ผู้เรียนได้อยู่ในโลกของภาษา ตัวหนังสือสัญลักษณ์ท่ีมีความหมายต่อเรื่องที่เรียน มุมทผ่ี ูเ้ รยี นสนใจ โดยผ้เู รียนสามารถเข้าไปเรยี นรูไ้ ดต้ ลอดเวลา 2. กระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของผู้เรียน ครูต้องมีความเช่ือม่ัน และ ไว้วางใจในตัวผู้เรียนว่าสามารถทางานต่างๆ ได้ถ้ามีความสนใจ พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนจะ

249 เกิดขนึ้ เอง ซึ่งครทู ุกคนต้องสังเกตตลอดเวลาให้เกดิ เป็นประสบการณต์ รงของครู และเป็นองค์ความรู้ ด้านพัฒนาการของผู้เรียนที่เป็นความรู้เชิงประจักษ์อยู่ในงานของครูเอง ไม่ต้องไปแสวงหาความรู้ นวัตกรรมใด น่ีคือคุณสมบัติแท้จรงิ ของครู ซึ่งพบวา่ หาไดน้ ้อยมากในเมืองไทย โดยครูต้องระลึกรู้ว่า ธรรมชาติของผเู้ รียนจะเกดิ มาพร้อมกับความสามารถในการเรียนรู้ มสี มองไว้คิด และมปี ระสาทสัมผัส ท้ัง 5 เพ่ือการรับรู้ผ่านผัสสะ คอื ตา หู จมกู ลิ้น และผิวกาย ทาให้สามารถเรียนรู้ และซึมซับสง่ิ ต่างๆ โดยธรรมชาติ และโดยการดาเนินชีวิตจริงร่วมกับพ่อแม่พี่น้อง สิ่งแวดล้อมรอบตัวทุกขณะ ทุกเวลา ทุกสถานที่ 3. การจัดการเรียนการสอนของครู บทบาทครูท่ถี ูกต้อง กระตุ้นและสง่ เสริมการเรียนรขู้ อง ผูเ้ รียน โดยการพัฒนาผูเ้ รียนตอ้ งเริ่มจากตวั ครกู อ่ น ครูต้องเขา้ ใจพฒั นาการหรือวัยวุฒิ มีความเช่อื มั่น และกล้าที่จะเปล่ียนแปลงแนวคิดไปในทางที่ดีข้ึน เพราะครูมีบทบาทสาคัญ มีอิทธิพลต่อความรู้สึก ความคิด และการแสดงออกของผู้เรียน ครูสามารถทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ เข้าใจความหมาย เหน็ โครงสรา้ งของการเรยี นร้ไู ด้ การจัดการเรยี นการสอนท่สี ร้างให้เขา้ ใจการเรยี น โดยไม่เกิดอปุ สรรค หรือความคับข้องใจ จะทาให้ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงสร้างสรรค์มากข้ึน ต่างเปิดประตู การส่ือสารท่ีดตี ่อกัน และช่วยให้เกดิ ความสขุ ความสาเร็จในการเรยี นรู้ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วครจู ะจัด ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในทางปฏิบัติอย่างเปน็ รูปธรรม เป็นแผนในรูปแบบกิจกรรมในกิจวัตรประจาวนั นอกจากน้ี เจษฎา บุญมาโฮม (2555, น. 202-203) ได้สรุปว่า การเรียนรู้อย่างมีความสุข มอี งคป์ ระกอบสาคญั 4 ประการ คือ 1. องค์ประกอบด้านผู้เรียน หมายถึง คุณลักษณะของนักเรียน ได้แก่ ความพร้อมใน การเรยี น ความกระตือรือร้น แรงจงู ใจในการเรียน ความต้องการที่จะเรียนรู้ และทศั นคตทิ ่ีจะสง่ เสริม ให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสขุ 2. องค์ประกอบด้านผู้สอน หมายถึง คุณลักษณะบุคลิกภาพ และคุณลักษณะนิสัยของ ครูผู้สอนท่ีจะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข โดยมีการสร้างบรรยากาศท่ีผ่อนคลายท้ังใน และนอกหอ้ งเรยี น การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนกลา้ แสดงออก จัดบรรยากาศท่ีส่งเสริมหรือกระตุ้นความ สนใจในการเรียน จัดสื่อการเรียนการสอน การสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย และบทเรียนส่งเสริม กระบวนการคิดและแกป้ ัญหา 3. องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมในโรงเรียน หมายถึง สภาพท่ัวไปท้ังภายในและ ภายนอกหอ้ งเรียน อันประกอบดว้ ย ส่งิ แวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อาคารเรียน สถานที่ ส่ืออุปกรณ์ แหล่งการเรียนรู้ และกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่สถานศึกษาจัดให้มีข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม สงิ่ แวดล้อมทางสังคม ได้แก่ ครู ผูบ้ ริหาร และบุคลากร เพ่ือนนักเรียน นักเรียนรุ่นพี่ นักเรียนรุ่นน้อง การสนับสนุนกจิ กรรมทพ่ี ฒั นานกั เรียนท่จี ัดขึ้นเพอื่ สง่ เสริมให้เกิดการเรยี นรอู้ ย่างมีความสุข

250 4. องค์ประกอบด้านสัมพันธภาพกับผู้อื่น หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน และการมีส่วนรว่ มในชมุ ชนของนกั เรียน ท่สี ่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนร้อู ย่างมีความสุขของนักเรยี น รปู แบบการเรียนรู้อย่างมคี วามสุข สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2540) ได้เล็งเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ อย่างมีความสุข และต้องการให้นักเรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข ซึ่งคณะผู้เช่ียวชาญร่วมกันศึกษา ค้นคว้า กิติยวดี บุญซ่ือ (2540, น. 32-84) ได้นาเสนอทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสุข โดยสรุป สาระสาคัญไว้ว่า “การเรยี นรู้อย่างมีความสุขจะต้องมีแนวคิดพ้ืนฐาน เกิดจากการสร้างความรกั และ ความศรัทธาให้กับนักเรียน เพราะศรทั ธาเป็นจุดเร่ิมต้นของการเรยี นรู้ทดี่ ีท่สี ุด การเรยี นรู้ทดี่ ีเกิดจาก การได้สัมผัส และสัมพันธ์กับของจริงและธรรมชาติ การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ตนเอง และ บุคคลรอบข้างช่วยให้เขาปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว” ซ่ึงได้เสนอรูปแบบการ เรียนร้อู ยา่ งมีความสขุ ซึ่งประกอบดว้ ยแนวคิดสาคญั 6 ประการ คอื 1. ผู้เรียนแต่ละคนได้รับการยอมรับว่าเป็นมนุษย์คนหนึ่งท่ีมีหัวใจและสมอง ควรได้มี โอกาสเลือกเรียนตามความถนดั และความสนใจ มีโอกาสเลือกอนาคตของตนเอง และมีสิทธไ์ิ ด้รับการ ปฏบิ ตั ิจากผ้ใู หญ่อยา่ งมนษุ ย์คนหน่ึง 2. ครูมีความเมตตา จริงใจ และอ่อนโยนต่อผู้เรียนทุกคนโดยท่ัวถึง มีความเข้าใจทฤษฎี แห่งการพัฒนาตามธรรมชาติของผู้เรยี นทกุ คน ครูควรใหค้ วามเอาใจใสต่ อ่ ผเู้ รียนทกุ คนเท่าเทียมกันมี การเตรยี มตวั เพ่อื การสอนใหม้ ีคณุ ภาพ มคี วามมงุ่ ม่ันท่ีจะช่วยผู้เรียนให้รู้จกั ตนเอง รู้จักแกป้ ัญหาและ เรยี นรู้วธิ ีทีจ่ ะนาตวั เองไปสคู่ วามเจรญิ ก้าวหนา้ รงุ่ เรืองอย่างมสี ติ และเพียบพรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรม 3. ผู้เรียนเกิดความรักและภูมิใจในตนเอง รู้จักปรับตัวได้ทุกที่ทุกเวลา รู้จักตนเอง เห็นคุณค่าของชีวิต และความเป็นมนุษย์ของตน ยอมรับท้ังข้อดีและจุดด้อยของตน รู้จักเกรงใจและ ให้เกียรตผิ ้อู นื่ มเี หตุผลและใจกวา้ งพร้อมที่จะดาเนนิ ชวี ิตในบทบาทของผใู้ หญ่ที่มคี วามรบั ผิดชอบ 4. ผู้เรียนแต่ละคนได้มีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ ได้ค้นพบ ความสามารถของตน ได้เรียนรู้อย่างลึกซึ้งและกว้างไกล (learn to know) เรยี นให้เข้าใจและทาให้รู้ เคล็ดลับของการกระทาส่ิงต่างๆ ให้ประสบความสาเร็จ (learn to do) แล้วเรียนจนรู้สึกเข้าใจวิธีคิด วิธีปฏิบัติของคนในอาชีพน้ัน เสมือนเป็นคนท่ีอยู่ในชีวิตจริงๆ (learn to be) ตลอดจนสามารถ ประยุกตใ์ ช้ความรทู้ ไี่ ด้อย่างสรา้ งสรรคเ์ พือ่ ความสุขของตนเองและผู้อ่นื 5. ผู้เรียนได้รู้จักคิดและพัฒนาความคิดจากความรู้ที่ได้รับขยายวงไปสู่ความรู้ใหม่ เกิดความอยากรู้อยากเห็น อยากทดลอง อยากศึกษาให้ลึกซ้ึงเพิ่มเติม รักการเรียน มีระบบใน การเรียนและเห็นประโยชน์ของการเรียน ซึ่งไม่ได้ขีดวงจากัดอยู่แต่ในห้องเรียน แต่อาจสัมพันธ์กับ

251 ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม รวมทั้งความเป็นไปในชีวิตและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตแต่ละ ทอ้ งถนิ่ 6. การเรียนรไู้ ม่จากัดอยู่เฉพาะในบทเรียน แต่สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ในสภาพความ เป็นจริง เกิดประโยชน์และมีความหมายต่อตัวเขา รู้จักสืบเสาะหาคาตอบ ข้อสงสัยต่างๆ จากแหล่ง วิทยาการ รู้จักคิดวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล มีความคิดเป็นของ ตนเอง มีความเช่ือมัน่ ในตนเอง ไม่ตกเป็นเครือ่ งมอื ของใคร รูว้ ิธดี าเนินชีวติ อย่างมีคุณค่าและสามารถ ให้ความช่วยเหลือและแนะนาผู้อื่นได้เม่ือเขาเติบโตขึ้น ครูจึงต้องเป็นผู้ท่ีมีความเป็นครูอย่างแท้จริง ท้ังด้านคุณลักษณะนิสัย จิตใจ และดา้ นความรคู้ วามสามารถที่จะจัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนา มีความสมบูรณ์ทางด้านสติปัญญา (IQ) ด้านอารมณ์ (EQ) และดา้ นจิตใจ (MQ) เพ่ือการเปน็ สมาชิกท่ี มีคุณคา่ ของสังคมต่อไป แนวทางจดั การเรยี นรู้เพอื่ ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรูอ้ ย่างมีความสขุ ในการจัดการเรียนการสอนท่ีจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเกิดความสุขในการเรียน ผู้สอนควรจัดการเรียนรู้โดยคานึงถึงข้อต่อไปน้ี (สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2540, น. 86) 1. บทเรียนเริ่มจากง่ายไปยาก โดยคานึงถึงวุฒิภาวะและความสามารถในการรับรู้ของ ผู้เรียนแตล่ ะวัย มีความต่อเนื่องในเนื้อหาวชิ าและขยายวงไปสู่ความรู้แขนงอ่ืนๆ เพอ่ื เสรมิ สร้างความ เขา้ ใจตอ่ ชีวิตและโลกรอบตวั 2. วิธีการเรียนสนุก ไม่น่าเบื่อ และตอบสนองความสนใจใคร่รู้ของผู้เรียน การนาเสนอ เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ยัดเยียดหรือกดดัน เน้ือหาที่เรียนไม่มากเกินไปจนผู้เรียนเกิดความล้าและ ไมม่ ากเกินไปจนเดก็ หมดความสนใจ 3. ทุกขัน้ ตอนของการเรยี นรมู้ ุ่งพัฒนาและสง่ เสริมกระบวนการคิดในแนวตา่ งๆ ของผู้เรียน รวมท้ังความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ จากการประมวลข้อมูลและเหตุผลต่างๆ และแก้ไขปัญหา อย่างมรี ะบบ 4. แนวการเรียนร้คู วรสัมพันธ์และสอดคล้องกับธรรมชาติ เพอื่ เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนได้สมั ผัส ความงามและความเป็นไปไดข้ องสรรพสิ่งรอบตัว บทเรยี นไม่จากดั สถานท่ี หรอื เวลา และทกุ คนมีสทิ ธิ์ เรียนร้อู ย่างเท่าเทียมกนั 5. มกี ิจกรรมหลากหลาย สนุก ชวนให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้นๆ เปิดโอกาสให้ ผ้เู รียนทุกคนได้มีสว่ นร่วมในกิจกรรม ใช้ภาษาท่ีนุ่มนวล ให้กาลงั ใจและเป็นไปในเชงิ สร้างสรรค์

252 6. สื่อท่ีใช้ประกอบการเรยี น เร้าใจให้เกิดการเรยี นรู้ บรรลุตามเป้าหมาย ซงึ่ กาหนดไวอ้ ย่าง ชัดเจน คือ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนจนรู้ชัด (learn to know) เรียนจนทาได้ (learn to do) และเรียนเพื่อจะเป็น (learn to be) 7. การประเมินผล มงุ่ เน้นพัฒนาการของผเู้ รียนในภาพรวมมากกว่าจะพจิ ารณาจากผลการ ทดสอบทางวิชาการ และเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นได้ประเมนิ ผลด้วยตนเอง จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่า ครูเป็นบุคคลสาคัญที่สุดในการสร้างบรรยากาศ การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ครูจึงจาเป็นต้องมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม และมีความรู้ความสามารถในการ จัดการเรียนรู้ ปจั จัยความสาํ เรจ็ ในการจดั การเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้ทีป่ ระสบความสาเรจ็ มีปัจจยั สาคญั 4 ประการ ได้แก่ (เจษฎา บุญมาโฮม 2555, น. 204-205) 1. ผู้บริหาร เปน็ ผู้ท่ีมีความสาคัญท่ีสุดในการสนบั สนนุ ใหก้ ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน บรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจในปรัชญา กระบวนการเรียนรู้และธรรมชาติของ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือจะได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดซ้ือส่ือต่างๆ อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมท่ตี ้องใช้แหล่งเรยี นร้ใู นท้องถน่ิ ภายนอกโรงเรียน ช่วยเสนอแนะ แหล่งวิทยาการและแหล่งเรียนรู้ นิเทศติดตามผลการจัดการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ ให้กาลังใจท้ังครู และนักเรยี น 2. ครูผ้สู อน เป็นผู้ที่มคี วามสาคัญในการท่ีจะแปลมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละสาระการเรียนรู้ ทเี่ ป็นตัวหนงั สือใหเ้ ป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม นา่ สนใจ และมีกระบวนการเรียนรู้หลากหลาย วธิ ีอยา่ งอสิ ระ ครูผูส้ อนจาเปน็ ต้องมีคณุ สมบตั ดิ งั น้ี 2.1 มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั เป้าหมายของการเรียนการสอน 2.2 มคี วามเขา้ ใจเก่ยี วกับธรรมชาตขิ องแต่ละรายวิชา 2.3 มีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระของวิชาเป็นอย่างดี รวมถึงรู้วิธีการเรียนรู้ มีความสามารถในการสบื เสาะหาความร้แู ละแก้ปัญหา 2.4 มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกับตวั ผู้เรียน พรอ้ มทจี่ ะเรียนร้เู ร่ืองราวใหม่ๆ พรอ้ มกบั นักเรียน 2.5 เป็นผู้ท่ีมีความสนใจใฝ่หาความรู้อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง เพื่อนามาปรับปรุง พัฒนาตนเอง

253 2.6 มีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรปู แบบ มีการใช้ส่ือ การเรยี นการสอนหลากหลาย และสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศได้ 2.7 มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในอาชพี ครใู นฐานะครวู ิชาชีพ 2.8 มีมนุษยสัมพันธท์ ่ีดีท้ังกับเพ่ือนครูในโรงเรียนและชุมชน เพื่อจะหาความรว่ มมือใน การจดั การเรยี นการสอน 3. ผเู้ รียน เป็นอีกองค์ประกอบหน่ึงที่มีความสาคญั ต่อการเรียนการสอน ผ้เู รียนแต่ละคน มีความแตกต่างกันท้ังบุคลิกภาพ สติปัญญา ความถนัด ความสนใจ และความสมบูรณ์ของร่างกาย ผ้เู รียนควรมีโอกาสรว่ มคดิ ร่วมวางแผนในการจดั การเรียนการสอน และมีโอกาสเลือกวิธเี รียนได้อย่าง หลากหลายตามความเหมาะสมภายใตก้ ารแนะนาของครูผสู้ อน 4. สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องมีวิธีการท่ีจะจัด สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาทางวิชาการ เช่น จัดห้องชวนคิด ห้องกิจกรรมวิทยาศาสตร์ จัดระบบนิเวศจาลอง จัดบริเวณโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา ธรณีวิทยา เป็นต้น มีการดัดแปลงห้องเรียนให้นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถมีปฏิสมั พันธ์ กนั ได้ดี และจัดกจิ กรรมทีเ่ อื้อใหผ้ ปู้ กครองและชุมชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนด้วย จากท่ีกล่าวสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้น้ันเป็นความสาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียน เพราะ ความรู้คือพื้นฐานการดาเนินชีวิต เมื่อครูจัดการเรียนรู้ได้ดีก็จะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีมี ประสทิ ธิภาพ ความรู้เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู จะเป็นปัจจัยพ้ืนฐานให้ครูสามารถจดั การเรียนรู้ ใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ได้ ทง้ั น้ีเมือ่ สัมพนั ธ์มีความเกย่ี วข้องกับการจดั การเรียนรู้โดยตรง 2 ประการ คือ การใช้รูปแบบการสอนทเ่ี น้นกิจกรรมความสัมพันธ์ของผู้เรยี น และบรรยากาศการเรยี นรู้ รปู แบบการสอน รปู แบบการสอน จัดเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รปู แบบการสอนท่ีมี ความสอดคล้องกับสภาพบริบทปฏิบัติการจะสามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างเต็ม ศักยภาพ ดังน้ัน ผู้สอนจึงควรมีความรู้และสามารถเลือกใช้รูปแบบการสอนโดยประยุกต์ใช้ความรู้ เกย่ี วกบั มนุษยสมั พันธ์เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ

254 ความหมายของรปู แบบการสอน รูปแบบการสอนเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้มีนักวิชาการให้ความหมาย ของรูปแบบการสอนไว้ดังนี้ เซเลอร์ และคณะ (Saylor et al, 1981, p. 217) กล่าวว่า รูปแบบการสอน (Teaching model) หมายถึง แบบหรือแผน (Pattern) ของการสอนที่มีการจัดกระทาพฤติกรรมขึ้น ซ่ึงมีความ แตกตา่ งกันตามจดุ มงุ่ หมายหรอื จดุ เน้นเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหน่ึง อเรนส์ (Arends, 2009, p. 255) กล่าวว่า รูปแบบการสอนมีความหมายกว้างกว่า กลวิธีการสอนหรือวิธีการสอน เนื่องจากรูปแบบการสอนมีทฤษฎีหรือหลักการพื้นฐานท่ีแสดงถึง กระบวนการในการเรียนรู้ และนามาจัดเปน็ แบบแผนทมี่ ีลกั ษณะเฉพาะ วรรณี โสมประยูร (2548) กล่าวว่า รูปแบบการสอน หมายถึง โครงสร้างท่ีเป็นกรอบ กระบวนการสอน (teaching process frame) แบบแผนการสอน (teaching pattern) เพ่ือแสดง ลาดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเอาไวอ้ ย่างมีระเบียบและเป็นระบบ ทุกข้ันตอนจะมี การประสานสัมพันธ์กันอย่างต่อเน่ืองครบวงจร โดยแต่ละขั้นตอนจะชี้นาหรือบ่งบอกพฤติกรรม การเรยี นการสอน ท่ที าใหน้ กั เรียนเกิดการเรยี นร้หู รอื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมได้อยา่ งสมบรู ณ์ ทิศนา แขมมณี (2559) นิยามว่า รูปแบบการเรียนการสอน คือ สภาพ ลักษณะของการ เรียนการสอนท่ีครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญ ซึงได้รับการจัดไว้อย่างเป็นระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อต่างๆ โดยประกอบด้วย กระบวนการ หรือขั้นตอนสาคัญใน การเรียนการสอน รวมท้ังเทคนิคการสอนต่างๆ ท่ีสามารถช่วยให้สภาพการเรียนการสอนนั้นเป็นไป ตามทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดท่ียึดถือและได้รับการพิสูจน์ทดสอบ หรือยอมรับวา่ มีประสิทธิภาพ สามารถใช้แบบแผนในการเรยี นการสอนใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์เฉพาะของรูปแบบน้ันๆ ดงั นน้ั รปู แบบการเรยี นการสอนจงึ จาเป็นต้องมีองค์ประกอบสาคญั ๆ ดงั นี้ 1. มีปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อท่ีเป็นพ้ืนฐานหรือเป็นหลักของ รปู แบบการสอนน้ันๆ 2. มีการบรรยายและอธบิ ายสภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้อง กบั หลักการทีย่ ึดถือ 3. มกี ารจัดระบบ คอื มีการจัดองคป์ ระกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบ ให้สามารถนาผูเ้ รียนไปสเู่ ป้าหมายของระบบหรอื กระบวนการน้ันๆ 4. มีการอธิบายหรือให้ข้อมูลเก่ียวกับวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่างๆ อันจะช่วยให้ กระบวนการเรยี นการสอนนั้นๆ เกดิ ประสิทธิภาพสงู สุด 5. รูปแบบการเรยี นการสอนจะต้องสามารถทานายผลทีจ่ ะเกิดตามมาได้ และมศี กั ยภาพใน การสรา้ งความคดิ รวบยอดและความสมั พนั ธใ์ หมๆ่ ได้

255 สรุปได้ว่า รูปแบบการสอน หมายถึง แบบแผนของการจัดการเรียนการสอนท่ีจัดข้ึนอย่าง เป็นระบบ สัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี หลักการเรียนรู้ แนวคิด หรือความเช่ือต่างๆ ท่ีรูปแบบน้ัน ยึดถือและได้รับการพิสูจน์ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม จุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบน้ันๆ ซึ่งรูปแบบการสอนมักประกอบด้วย ปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคดิ หรือความเชื่อทีเ่ ปน็ พน้ื ฐานหรือเป็นหลักของรปู แบบการสอนน้ันๆ มจี ุดมุ่งหมายสาคัญเฉพาะ รูปแบบน้ัน มีการบรรยายกระบวนการหรือขั้นตอนสาคัญ และอธิบายสภาพหรือลักษณะของการ จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักการที่ยึดถือ หรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีสอนและเทคนิค การสอนต่างๆ อันจะช่วยให้กระบวนการเรียนการสอนน้ันๆ เกิดประสิทธิภาพสูง ซึ่งผู้สอนสามารถ นาไปใช้เป็นแบบแผน หรือแบบอย่างในการดาเนินการสอนที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะตามท่ีรูปแบบ น้ัน ยดึ ถือได้ ความสาํ คญั ของรูปแบบการสอน ทิศนา แขมมณี (2559) อธิบายว่า เนื่องจากรูปแบบการสอนเป็นโครงสร้างท่ีแสดงกรอบ กระบวนการสอนหรือแบบแผนการสอน รูปแบบการสอนจึงนับเป็นปัจจัยหลักเบ้อื งต้นทม่ี ีอิทธพิ ลต่อ การเรียนรู้ เพราะเป็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญย่ิงในการวางแนวทางเพื่อจัดสร้าง หรือออกแบบกิจกรรม การเรยี นการสอน เริ่มต้ังแต่การเขียนแผนการสอน การดาเนินการสอน ตลอดจนกระท่ังการวเิ คราะห์ และประเมินผล รูปแบบการสอนที่นักวิชาการได้สร้างสรรค์ขึ้นมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีอยู่มาก หลายที่ครูผู้สอนอาจจะนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการสอนวิชาตา่ งๆ ให้บังเกิดผลดีมากน้อยแตกต่างกนั ไป ได้ตามลักษณะเฉพาะพิเศษของแต่ละรูปแบบการสอน โดยครูผู้สอนอาจใช้เพียงรูปแบบเดียวหรือ นาไปผสมผสานกันหลายๆ รูปแบบก็ได้ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับลักษณะและวัตถุประสงค์ของบทเรียนใน แตล่ ะวิชา รวมถงึ วิธกี ารเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นสภาพแวดล้อม และความพรอ้ มอื่นๆ อีกหลายอยา่ ง อย่างไรก็ตาม สาหรับประสิทธผิ ลหรือประโยชน์ในการเรยี นรขู้ องผู้เรียนอนั พึงจะได้รบั จาก รูปแบบการสอนท่ีจะนาไปใช้น้ันย่อมข้ึนอยู่กับครูผู้สอนเป็นสาคัญ ตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบ รปู แบบการสอนกับแผนการรกั ษาโรคของแพทย์ และพิมพ์เขียวของสถาปนิก จะเหน็ ได้วา่ ท้งั แผนการ รักษาและพิมพ์เขียวทั้งสองอย่างนี้เป็นเพียงแผนปฏิบัติการเท่านั้น เพราะคนไข้จะหายจากโรคได้ดี หรอื บา้ นจะสวยงามมน่ั คงและแข็งแรงเพียงใดน้ันย่อมขึน้ อยกู่ บั ความสามารถหรอื ความเชยี่ วชาญของ ผ้ปู ฏบิ ตั เิ ป็นสาคญั สาหรบั การสอนวชิ าต่างๆ ของโรงเรียนท่ัวไปน้ัน ส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะใช้รูปแบบการสอน ตามปกตทิ ี่มอี ย่อู ย่างนอ้ ย 3 ขน้ั ตอน คือ ขน้ั นา ข้นั สอน และขน้ั สรปุ โดยอาจต่อเติมเสริมแตง่ ขั้นตอน และส่ือการสอนเขา้ ไปอีกบ้างตามความเหมาะสม ครูผ้สู อนบางทา่ นอาจจะใช้แผนการสอนสาเร็จรูปที่ มีนักวิชาการหรือกลุ่มโรงเรียนจัดทาขึ้น แต่ก็มีครูผู้สอนบางคนที่มีศักยภาพสูงได้ทดลองสร้างสรรค์

256 หรือออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนขึ้นใช้เอง โดยศึกษาจากรูปแบบการสอนต่างๆ เพื่อให้ได้ กระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนกลุ่มนั้นๆ โดยเฉพาะ ซ่ึงนับว่าเป็นบุคคลตัวอย่างท่ี ควรสง่ เสรมิ และยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตเิ ป็นอย่างย่งิ รูปแบบการสอนกับมนุษยสัมพนั ธส์ าํ หรบั ครู สาหรับรูปแบบการสอนที่เกี่ยวข้องกับรายวิชามนุษยสัมพันธ์สาหรับครูก็คือ การเลือกใช้ รูปแบบการสอนท่ีส่งเสริมสัมพันธภาพอันดีระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกัน ซึง่ สามารถนาเสนอได้ดงั น้ี (นคร พนั ธ์ุณรงค์, 2550) 1. การเรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วม การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) เป็นการนาหลักการเรียนรู้ เชงิ ประสบการณก์ ับการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุม่ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นเน้ือหารายวิชาตา่ งๆ 1.1 หลกั การของการเรียนรู้แบบมีสว่ นรว่ ม คือ กระบวนการสรา้ งความร้โู ดยผู้เรียนเป็น เจ้าของการเรียนรู้เอง เป็นการเรียนรู้ที่อาศัยประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนสามารถกาหนดหลักการท่ีได้จากการปฏิบัติและสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างถูกต้อง เป็นการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่ม มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ครูผู้สอนกับผู้เรียน และมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง ก่อให้เกิดเครือข่ายการเรียนรู้อย่าง กว้างขวาง มกี ารแสดงออกทง้ั การเขยี นและการพดู 1.2 ขน้ั ตอนของการเรยี นรู้แบบมสี ว่ นร่วม การเรยี นรูแ้ บบมีสว่ นร่วมมีขนั้ ตอนสาคัญดังน้ี 1.2.1 ขั้นประสบการณ์ ครูผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนนาประสบการณ์เดิมของตน มาพฒั นาเปน็ องคค์ วามรู้ หรอื พัฒนาความรู้อย่างต่อเนอ่ื ง 1.2.2 ขั้นการสะท้อนความคิดและอภิปราย ครูผู้สอนจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้มี โอกาสแสดงออกในการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และเรยี นรู้ซงึ่ กันและกนั เป็นระบบกลุ่ม 1.2.3 ข้ันความคิดรวบยอด ผู้เรียนเกิดความเข้าใจความคิดรวบยอดจากผลงาน ของกล่มุ ซึ่งอาจเกดิ โดยผู้เรียนเป็นฝ่ายริเริ่มแล้วครเู พ่ิมเตมิ ให้ 1.2.4 ข้ันตอนการทดลองหรือประยุกต์แนวคิด ผู้เรียนนาเอาการเรียนรู้ท่ีได้ไป ประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณ์จรงิ หรอื เงอ่ื นไขอื่นๆ จนเกิดเปน็ แนวปฏิบตั ิของผเู้ รยี นเอง 2. การเรยี นรแู้ บบร่วมมอื การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เป็นการจัดสถานการณ์และ บรรยากาศให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ แต่ละกลุ่มมีสมาชิกท่ีมีลักษณะแตกตา่ งกัน ในด้านสติปัญญาหรือความถนัด สมาชิกแต่ละคนจะต้องมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองและ ของสมาชิกในกลุ่ม รับผิดชอบในความสาเร็จของกลุ่มร่วมกัน ความสาเร็จของกลุ่มพิจารณาจาก

257 ความสาเร็จในการเรียนรู้ของสมาชิกแต่ละคน การเรียนรู้แบบร่วมมือจะพัฒนาผู้เรียนท้ังทางด้าน สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสังคม 2.1 ลกั ษณะสาคญั ของการเรียนแบบร่วมมือ คือ ผู้เรยี นท่ีเรยี นดจี ะไดร้ ับการปลูกฝงั ให้มี ความเสียสละในการดแู ลรับผดิ ชอบของสมาชกิ ในกลุ่ม ไม่เห็นแก่ตัวตนเอง ส่วนผเู้ รียนทเ่ี รียนอ่อนจะ ได้รับการดูแลจากสมาชิกในกลุ่ม จนเกิดความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น ไม่รู้สึกโดดเด่ียว ถูกทอดท้ิง ซ่งึ เป็นลกั ษณะที่สอดคลอ้ งกับสภาพทีเ่ หมาะสมในการอยูร่ ว่ มกันในสงั คม 2.2 รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบร่วมมือมีหลายรูปแบบ รูปแบบที่นิยม ใชก้ ันมากมี 3 รูปแบบ คือ 2.2.1 STAD (Student team - achievement divisions) เป็นการสอนท่ีเร่ิมต้น โดยการท่ีครูให้ความรู้ ต่อจากนั้นแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 4 คน ทางานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน เปรียบเทียบคาตอบ อธิบายวิธีการเรียน ฝึกหัดซ่ึงกันและกัน แต่ในช่วงการทดสอบน้ัน จะใหท้ าเป็น รายบุคคลในตอนท้าย จงึ มกี ารคานวณคะแนนเฉลย่ี ของกลมุ่ 2.2.2 Jigsaw เป็นการจัดให้ผู้เรียนท่ีมีความแตกต่างกัน กลุ่มละ 5-6 คน เรียนรู้ ร่วมกัน โดยผู้สอนแบ่งบทเรียนเป็นเรื่องย่อยๆ เมื่อได้รับมอบหมายผู้เรียนในกลุ่มจะแบ่งภารกิจไป ศึกษาเรือ่ งย่อยและนาผลการศกึ ษามารายงานตอ่ กลุ่ม 2.2.3 Co - op co - op เป็นการสอนที่จัดให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกันในกลุ่มและ ได้ร่วมมือระหว่างกลุ่ม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ของห้องเรียนร่วมกัน ดังน้ัน จึงต้องจัดให้มี การแบ่งบทเรียนเปน็ หัวเรื่องหลัก มอบให้แต่ละกลุ่มรับผดิ ชอบในการศึกษา ต่อจากน้ันในแต่ละกลุ่ม จะมีการมอบหมายภารกิจให้ศึกษาหวั เรอื่ งยอ่ ยๆ เพ่ือนามาสรปุ ร่วมกันแบบ Jigsaw 2.3 ขัน้ ตอนของการเรยี นรู้แบบร่วมมือ การเรยี นรแู้ บบร่วมมอื น้ันมขี ัน้ ตอนสาคัญดังน้ี 2.3.1 ขัน้ เตรียม เป็นขน้ั ท่คี รูแบง่ กลุ่มผู้เรียนออกเปน็ กลุ่มย่อยๆ ประมาณ 2 - 6 คน โดยคละผู้เรียนในกลุ่มให้แตกต่างกันในด้านสติปัญญา ความถนัด และภูมิหลัง แล้วครูอธิบาย วิธกี ารเรยี น และแจง้ จุดประสงค์ของบทเรยี น 2.3.2 ขั้นสอน เป็นขั้นท่ีครูนาเข้าสู่บทเรียน สอนเน้ือหาหรือแนะนาเนื้อหา แหลง่ ขอ้ มูล และมอบหมายงานให้ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่ม 2.3.3 ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม เป็นขั้นที่ผู้เรียนฝึกทักษะการเรียนรู้ร่วมกัน หรือผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันในกลมุ่ ย่อย โดยแต่ละคนมีบทบาทและหน้าทต่ี ามท่ไี ด้รับมอบหมาย รว่ มกันรบั ผิดชอบ ในผลงานของตนเองและผลงานของกลมุ่ 2.3.4 ข้ันตรวจสอบผลงานและทดสอบ เป็นขั้นตรวจสอบการทางานของกลุ่มว่า ผ้เู รียนได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนแล้วหรือยัง ผลการปฏิบัติเป็นอย่างไร เน้นการตรวจผลงานกลุ่มและ ผลงานรายบคุ คล ในบางกรณีผเู้ รียนอาจตอ้ งซ่อมเสรมิ สง่ิ ทย่ี ังตอ้ งปรบั ปรงุ แลว้ จึงทาการทดสอบ

258 2.3.5 ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทางานเปน็ กลุ่ม เป็นข้ันท่ีครูและผู้เรียน ช่วยกันสรุปบทเรยี น ในข้ันนี้ครูให้ความรู้ที่จาเป็นเพิ่มเติม แล้วจึงร่วมกันประเมินผลการทางานเป็น กลุ่ม ให้การเสริมแรงโดยการชมเชย หรือมอบรางวัลกลุ่มที่ทาคะแนนได้ตามเกณฑ์ และการให้ กาลังใจกับสมาชิกในกลุม่ ท่ียังไม่สามารถทางานผา่ นเกณฑไ์ ด้ 3. การเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม การเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการกล่มุ (Group Process Learning) เป็นการจัดสถานการณ์ การเรยี นการสอนที่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นต้งั แต่ 2 คนขนึ้ ไป ไดม้ ีปฏิสมั พันธ์กันโดยมีแนวคิดการกระทา และแรงจงู ใจรว่ มกันแบ่งหน้าที่ช่วยเหลือกันและกันในการทาส่ิงใดสิ่งหนึ่ง การทางานเป็นกลุ่มที่ดีจะ ก่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพในการทางานสูงกวา่ ผลรวมของประสทิ ธิภาพ 3.1 หลักการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม จะให้ผู้เรยี นทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม และเรียนรู้จากกลุ่มให้มากที่สุด ฝึกให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับตัวและทางาน ร่วมกบั คนอ่ืนๆ ได้ กระบวนการกลุ่มเปน็ การเรยี นรทู้ ่ยี ดึ หลักการค้นพบ และสร้างสรรค์ความร้ดู ้วยตัว ของผู้เรียนเอง โดยครูเปน็ เพียงผ้สู ่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นไดค้ ้นพบและพบคาตอบด้วยตนเอง 3.2 ข้ันตอนของการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม มีขัน้ ตอนสาคญั ดงั นี้ 3.2.1 ขั้นนา เป็นการสร้างบรรยากาศและสมาธิของผู้เรียนให้มีความพร้อมใน การเรียนการสอน การจัดสถานที่ การแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย แนะนาวิธีการดาเนินการสอน กติกา กฎเกณฑก์ ารทางาน ระยะเวลาในการทางาน 3.2.2 ขั้นสอน เป็นขั้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่มๆ เพ่ือให้เกิด ประสบการณ์ตรง โดยที่กิจกรรมต่างๆ จะต้องคัดเลือกให้เหมาะสมกับเน้ือเร่ืองในบทเรียน เช่น กจิ กรรมเกมและเพลง บทบาทสมมติ สถานการณจ์ าลอง และการอภปิ รายกลมุ่ เปน็ ตน้ 3.2.3 ข้ันวิเคราะห์ เป็นข้ันให้ผู้เรียนวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ พฤติกรรมต่างๆ ความสัมพันธ์ในกลุ่ม ตลอดจนความร่วมมือในการทางานร่วมกัน โดยวิเคราะห์ ประสบการณ์ท่ีได้รับจากความรู้สึกและการรับรู้ของผู้เรียน แสดงข้อคิดที่ได้จากการทางานกลุ่มให้ คนอ่นื ไดร้ บั รู้ เป็นการถ่ายทอดประสบการณก์ ารเรียนรขู้ องกนั และกัน 3.2.4 ขัน้ สรุปและนาหลกั การไปประยุกต์ใช้ โดยให้ผู้เรียนสรุป รวบรวมความคิดให้ เป็นหมวดหมู่ โดยครูกระตุ้นให้แนวทางและหาข้อสรุป จากนั้นนาข้อสรุปท่ีค้นพบจากเนื้อหาวิชา ท่เี รียนไปประยกุ ต์ใช้ใหเ้ ขา้ กับตนเองและปรบั ปรุงตนเอง ประยกุ ต์ใช้ใหเ้ ขา้ กับคนอื่น ประยกุ ตใ์ ช้เพ่ือ แกป้ ญั หา และสร้างสรรค์สิง่ ทีเ่ กดิ ประโยชนต์ ่อสังคม ชมุ ชน และการดารงชวี ติ ประจาวนั 3.2.5 ข้ันประเมินผล เป็นการประเมินผลการเรียนว่า ผู้เรียนบรรลุผลตาม จุดมงุ่ หมายมากนอ้ ยเพยี งใด โดยจะประเมินท้ังด้านเนอื้ หาวชิ าและดา้ นกลมุ่ สมั พนั ธ์

259 4. การเรยี นร้โู ดยการสบื เสาะหาความร้เู ปน็ กลุ่ม การเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation Learning) เป็น การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนมีอิสระ ในการศึกษาหาความรู้ตามหลักประชาธิปไตย ให้ผู้เรียนรู้จักการ ทางานร่วมกนั เป็นกลุ่ม และการศกึ ษาหาความรจู้ ากแหล่งต่างๆ 4.1 หลักการการเรยี นรโู้ ดยการสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม ควรเริ่มต้นดว้ ยการให้ผู้เรยี น ได้เผชิญสถานการณ์ที่เป็นปัญหาจากการนาเสนอของครู หรือจัดเป็นสถานการณ์จรงิ ก็ได้ จากน้ันครู ต้องดึงความรู้ แนวคิด ปฏิกิริยา ของผู้เรียนออกมาให้หลากหลาย ครูจะโน้มน้าวให้ผู้เรียน คิดเหมือนกันไม่ได้ เมอื่ ผู้เรียนคดิ ต่างกนั แนวทางการแก้ปัญหา การคน้ คว้าแสวงหาความรู้ ข้อความรู้ ท่ีจะค้นพบก็หลากหลาย ทาให้ผู้เรียนมีความรู้และประสบการณ์มากข้ึน กิจกรรมกลุ่มจะช่วยให้ ผู้เรียนเสาะแสวงหาความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังได้ฝึกฝนทักษะทางสังคมได้เข้า ใจความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล และไดเ้ รียนรูท้ ี่จะแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั 4.2 ข้ันตอนของการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม การสืบเสาะหาความรู้ เปน็ กลุ่มมขี ัน้ ตอนสาคัญ ดังน้ี 4.2.1 ข้นั เตรียม เป็นการกระตนุ้ ความสนใจ 4.2.2 ขัน้ กจิ กรรม เปน็ ขน้ั ทผ่ี ู้เรยี นคิดและทางาน 4.2.3 ขั้นเสนอปญั หา ครกู ระต้นุ ใหผ้ ู้เรียนอยากรู้อยากเห็น กระตือรือรน้ ที่จะศกึ ษา และแก้ปญั หา 4.2.4 ข้ันกระตุ้นให้ผเู้ รยี นคดิ แกป้ ัญหา ผู้เรียนทั้งช้ันพิจารณาปัญหาหรือเร่ืองท่ีครู นาเสนอแบง่ เป็นประเดน็ ยอ่ ยๆ ผู้เรียนแบ่งกลุม่ เลอื กประเด็นยอ่ ย เพอื่ ค้นควา้ เพ่มิ เติม 4.2.5 ข้ันการวางแผน ผู้เรียนแต่ละกลุ่มวางแผน แบ่งงานไปศึกษาหาความรู้จาก แหลง่ ต่างๆ เชน่ หอ้ งสมดุ วัด ด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ ตามทกี่ ล่มุ คดิ เช่น อา่ นเอกสาร สัมภาษณ์ เปน็ ต้น 4.2.6 ขั้นลงมือปฏิบัติงาน ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่มลงมอื ปฏิบตั ิตามแผนงาน แยกย้ายกัน ไปคน้ ควา้ หาความรู้เปน็ กล่มุ ย่อยหรือรายบุคคล 4.2.7 ข้ันรายงานผลงานและกระบวนการทางาน ผู้เรียนกลับเข้ากลุ่มรวบรวม เรียบเรียงข้อมลู เสนอต่อที่ประชุม ทงั้ ดา้ นข้อสรุปและของกลมุ่ และวธิ กี ารสืบเสาะหาความรขู้ องกลุ่ม 4.2.8 ขั้นทบทวนปัญหา ผู้เรียนร่วมกันพิจารณาประเด็นปัญหาท่ีต้องการรู้อีก ครงั้ หนึ่ง ถา้ ตอ้ งการค้นหาคาตอบเพมิ่ ให้ดาเนนิ การตามข้ันที่ 1 ใหม่ 5. การเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการ ข้ันตอน วิธีการ หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่จะช่วยให้การดาเนินงานเป็นกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ทั้งผลงานท่ีดี และได้ท้ัง ความรู้สึกและความสัมพันธท์ ่ดี ีระหวา่ งผูร้ ว่ มงาน

260 5.1 หลักการการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ คือ ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ยึดกลุ่มเป็นแหล่งความรู้ที่สาคัญยึดการค้นพบด้วยตนเองเน้นกระบวนการควบคู่ไปกับผลงานและ เน้นการนาความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน กิจกรรมการเรียนรู้ของกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนกระทา เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นกิจกรรมกลุ่มย่อย เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนจะต้องค้นหาความคาตอบด้วย ตนเอง เปน็ กิจกรรมที่ประกอบไปด้วยข้ันตอนของการวิเคราะห์ อภปิ รายเกีย่ วกับกระบวนการตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง และเปน็ กิจกรรมที่ประกอบไปดว้ ยการอภิปราย 5.2 ขั้นตอนของการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธม์ ขี ้ันตอนดงั น้ี 5.2.1 ข้ันนา เป็นการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียน อาจเป็นการทบทวนความรู้ สรา้ งบรรยากาศใหเ้ หมาะสมต่อการเรยี นรู้ทจี่ ะตามมา 5.2.2 ขั้นกิจกรรม เป็นการให้ผู้เรยี นลงมือทากิจกรรมท่ีเตรียมไว้ เพื่อให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมและรับผิดชอบในการเรียนของตน และเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ที่จะสามารถนามา วิเคราะห์ อภิปรายใหเ้ กดิ การเรียนรู้ 5.2.3 ข้ันอภิปราย เป็นการให้ผ้เู รียนมีโอกาสได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ ความคิด ความร้สู กึ และการเรยี นรู้ท่เี กดิ ขน้ึ 5.2.4 ข้ันสรุปและนาไปใช้ เป็นข้ันการรวบรวมความคิดเห็นและข้อมูลตา่ งๆ จนได้ ขอ้ สรุปทชี่ ดั เจน และเป็นขัน้ กระต้นุ ใหผ้ ูเ้ รยี นนาเอาการเรียนรู้ไปปฏิบตั ิหรือใช้ในชีวติ ประจาวัน การจัดบรรยากาศในช้นั เรยี น บรรยากาศในชั้นเรียนมีความสาคัญเป็นอย่างยง่ิ ต่อกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นปัจจัยท่ี มีส่วนสาคัญในการส่งเสริมให้ครูประสบความสาเร็จในการสอน และทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ บรรยากาศในชน้ั เรียนตอ้ งเป็นบรรยากาศเชงิ บวก หมายความว่า มีความเป็น กันเองระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน ซึ่งเต็มไปด้วยความอบอุ่น ย้ิมแย้มแจ่มใส ครูผู้สอนมีความ เอ้อื อาทรต่อผเู้ รยี น และผู้เรียนก็มีความสนใจ ตง้ั ใจศกึ ษาเล่าเรียนในบทเรียนน้นั ๆ ให้ได้รบั ความรู้ จากครูผูส้ อนมากที่สดุ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงตอ้ งมีความรคู้ วามเข้าใจ และทักษะการจัดบรรยากาศใน ชั้นเรยี น ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้

261 1. ความหมายและความสาํ คญั ของการจัดบรรยากาศในชนั้ เรียน ความหมายและความสาคัญของการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน สรุปได้ดังน้ี (ประสาร ศรีพงษเ์ พลิด, 2554, น. 209; สันติ บญุ ภริ มย์, 2557, น. 123) 1.1 ความหมายของการจัดบรรยากาศในช้นั เรียน การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน หมายถึง การจัดสถาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้ เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยส่งเสริมให้กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และช่วยสร้างความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ตลอดจนช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้สึกได้ว่ามี ความเป็นกันเองระหว่างผู้เรยี นกับครผู ู้สอน และผู้เรียนกบั ผ้เู รียนด้วยกนั โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือให้ กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนได้กาหนด พร้อมท้ังใน ภาพรวม ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของหลักสูตรในแต่ละระดับการศึกษา โดยสอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของการศกึ ษา และให้ผเู้ รียนมคี วามสขุ ตลอดระยะเวลาของการเรยี นในคร้งั นั้นๆ 1.2 ความหมายของการจดั บรรยากาศในชน้ั เรียน การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นการช่วยสนับสนุน ส่งเสริมให้การเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประสิทธิผลด้านการศึกษาของผู้เรียน ซ่ึงเป็นบุคคลสาคัญใน กระบวนการบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นใหไ้ ดร้ ับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ 2. จุดมุง่ หมายของการจดั บรรยากาศในชัน้ เรียน การจัดบรรยากาศในช้ันเรียนจะช่วยส่งเสริมและสร้างเสริมให้ผู้เรียนได้เรียน รู้ทักษะ วชิ าการ และคุณลักษณะอันพึงประสงคใ์ ห้สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน ที่สาคัญทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายในการจัดบรรยากาศใน ช้นั เรยี นใหส้ อดคล้องกับผูเ้ รียน โดยมจี ดุ มงุ่ หมายดงั น้ี 2.1 เพื่อส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนได้พัฒนาการเรียนให้มีประสทิ ธิภาพและทันต่อเหตุการณ์อยู่ เสมอ 2.2 เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ ทางดา้ นพุทธพิ สิ ัย จติ พิสัย และทักษะพสิ ยั 2.3 เพอ่ื สง่ เสริมพัฒนาการของผ้เู รียนทง้ั ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา 2.4 เพื่อสง่ เสรมิ การมมี นุษยสมั พนั ธอ์ ยู่รว่ มกนั การเป็นผู้นาและผ้ตู ามทด่ี ี 2.5 เพ่ือใหก้ ารสอนของครูผู้สอนบรรลตุ ามวัตถุประสงคท์ ีต่ ัง้ ไว้ 3. บรรยากาศทพ่ี งึ ปรารถนาในชั้นเรยี น ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนต่างปรารถนาให้กิจกรรมการเรียนการสอน ดาเนินไปอย่างราบรื่น และผู้เรียนเกดิ พฤติกรรมตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ทาให้การ

262 เรียนรู้มีประสิทธิภาพ บรรยากาศในช้ันเรยี นมีส่วนสาคัญในการส่งเสริมให้ความปรารถนานี้เป็นจริง ครูจึงจาเป็นต้องสรา้ งบรรยากาศในชั้นเรียนให้ผเู้ รียนรู้สึกว่าตนเองมคี ณุ ค่า ซง่ึ บรรยากาศในชน้ั เรยี นท่ี จะนาไปสู่ความสาเร็จในการสอน จัดแบ่งได้ 7 ลักษณะ ดังนี้ (พรรณี ช. เจนจิต, 2550, น. 305; เจษฎา บญุ มาโฮม, 2555, น. 216-218) 1) บรรยากาศท่ีท้าทาย (Challenge) เป็นบรรยากาศที่ครูกระตุ้นให้กาลังใจ นักเรียน เพื่อให้ประสบผลสาเรจ็ ในการทางาน การพูดให้นักเรียนรสู้ ึกว่าครูเช่ือในความสามารถของ เขาที่จะทางานนั้นๆ ให้สาเร็จได้แม้ว่าจะเป็นงานที่ค่อนข้างยาก ให้นักเรียนรู้สึกมีอิสระที่จะทาไม่ใช่ การถูกบงั คบั 2) บรรยากาศท่ีอิสระ (Freedom) เป็นบรรยากาศท่ีนักเรียนมีโอกาสได้คิด ได้ตัดสินใจเลือกส่ิงที่มีความหมายและมีคุณค่า จะช่วยให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ยอมรับนับถือความสามารถของตนเอง ซ่งึ ท้งั นี้รวมถึงโอกาสท่ีจะทาผดิ พลาดด้วย บรรยากาศเช่นนจ้ี ะ กอ่ ให้เกิดการเรียนรู้ นักเรียนจะเกดิ ความมัน่ ใจในตนเอง จะปฏิบัตกิ จิ กรรมดว้ ยความตง้ั ใจโดยไม่รสู้ ึก ตึงเครียด 3) บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect) เป็นบรรยากาศที่ครูรู้สึกว่า นักเรียนเป็นบุคคลสาคัญ มีคุณค่า และสามารถเรียนได้ การท่ีครูเห็นคุณค่าในตัวนักเรียนเป็น ส่ิงสาคัญในการพัฒนาความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง ถ้าครูมีความรู้สึกเช่นน้ีให้กับนักเรียนอย่าง จริงใจ จะมีผลต่อการกระทาต่างๆ ของนักเรียน อันส่งผลให้นกั เรียนเกิดความเชื่อม่ันในตนเอง และ เกิดการยอมรบั นบั ถือตนเอง ความร้สู ึกเชน่ น้ีเป็นสิ่งจาเป็นมากสาหรับนักเรยี นท่ีมีปมด้อย ขาดความ มั่นใจในตนเอง ดังน้ัน ครูจึงควรพยายามถ่ายทอดความรู้สึกที่แสดงถึงคุณค่าและความสาคัญของ นกั เรยี นใหน้ ักเรยี นได้รบั รู้ 4) บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth) เป็นบรรยากาศทางดา้ นจิตใจ ซึง่ มี ผลต่อความสาเร็จในการเรียน ดังน้ัน การที่ครูมีความเข้าใจนักเรียน เป็นมิตร ยอมรับ ตลอดจนให้ ความช่วยเหลือ จะทาให้นักเรียนเกดิ ความอบอุ่น สบายใจ อยากเข้าใกล้ ความรู้สกึ เช่นน้ีจะส่งผลต่อ นักเรียนที่จะเรียนรู้อย่างมีความสุข ดังนั้น บรรยากาศท่ีมีความอบอุ่น มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และนักเรียนรู้สึกว่าครูเอื้ออาทรกับการกระทาของตน จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้สึกรักครู รกั โรงเรยี น และรกั การมาเรยี น 5) บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control) การควบคุมในที่น้ี หมายถึง การฝึกให้นักเรียนมีระเบียบวินัย แต่มิได้อยู่ภายใต้การควบคุมลงโทษ ครูจะต้องช้ีแจงให้นักเรียน เขา้ ใจว่า เพราะเหตุใดจึงต้องทาสิ่งน้ี แต่ไมท่ าสิ่งนน้ั วิธกี ารพูดของครมู คี วามสาคัญมาก ตอ้ งสุภาพแต่ มีความหนักแน่น และอกี ส่งิ หนึ่งท่ีครูจะตอ้ งคานึง คือ ไม่ให้สทิ ธพิ เิ ศษกับนกั เรยี นบางคน มิเช่นนั้นจะ มีปัญหาว่าทาไมคนนี้ทาได้แต่คนน้ันทาไม่ได้เทคนิคการควบคุมท่ีใช้ได้ผลดีโดยมิให้นักเรียนรู้ตัว คือ

263 การทคี่ รพู ูดใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ ทุกคนล้วนเป็นคนที่มีความสาคัญต่อครูท้ังส้ิน ดังนั้น ไม่ว่านักเรยี นจะ ทาอะไร การกระทาน้ันๆ ของเขาล้วนมีความสาคัญท้ังสน้ิ 6) บรรยากาศแห่งความสาเร็จ (Success) เป็นบรรยากาศที่นักเรียนเกิด ความรู้สึกประสบความสาเร็จในงานท่ีทา ซ่ึงส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีข้ึน เป็นสิ่งที่ครูควร สร้างให้เกิดข้ึนในชั้นเรียนเพราะความเห็นชอบจากบุคคลที่มีความสาคัญต่อนักเรียน จะมีผลต่อ ความสาเร็จในการกระทากิจกรรมต่างๆ และการไม่ได้รับความเหน็ ชอบจะมีผลต่อความสาเรจ็ ในการ กระทากิจกรรมตา่ งๆน้อยลง ดังนั้น ครูจึงควรพูดถึงความสาเร็จมากกวา่ การพูดถงึ ความล้มเหลวของ นักเรียน เพราะความล้มเหลวไม่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ท้ังน้ีเพราะคนเราจะเรียนรู้ว่าตนเองมี ความสามารถนั้นเกดิ จากความสาเร็จมิใช่ความล้มเหลว 7) บรรยากาศแห่งความใกล้ชิด (Intimacy) เป็นบรรยากาศของการเอาใจใส่ ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของอารมณ์ความรู้สึก และความสามารถของนักเรียน จะทาให้นักเรียน มคี วามรู้สกึ ดีงาม มีชีวิตชีวาตื่นตัว กระฉับกระเฉง และรสู้ ึกว่ามีความสาคัญ ความเอาใจใสเ่ หล่าน้ีครู สามารถแสดงออกได้ในหลายๆ ลักษณะ เช่น การสัมผัส แตะต้องทางกาย การมอง การยิ้มให้ การสบตา การใช้คาพูด การแสดงออกทางสีหน้า การแสดงเหลา่ นี้จะช่วยให้นักเรียนเกิดความมั่นใจ และความร้สู กึ ที่ดีต่อตนเองและผอู้ ื่น 4. ประเภทของบรรยากาศในชัน้ เรียน โดยทั่วไปนักวิชาการมักจาแนกประเภทของบรรยากาศในช้ันเรียนที่สามารถส่งเสริม การเรียนรู้ ออกเป็น 2 ประเภทคือ บรรยากาศทางกายภาพ และบรรยากาศทางจิตวิทยาเป็นหลัก โดยมีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี 4.1 บรรยากาศทางกายภาพ บรรยากาศทางกายภาพ เป็นลักษณะของบรรยากาศท่ีเกิดจากการจัดอาคาร สถานท่ี สอื่ วัสดอุ ปุ กรณท์ ส่ี อดคล้องกับกจิ กรรมการเรียนรู้ และสภาพของผเู้ รียน การจัดบรรยากาศ ทางกายภาพที่ตอบสนองผู้เรียน และการทากิจกรรมต่างๆ จะทาให้ผู้เรียนได้รับความสะดวกและ ดาเนนิ กิจกรรมด้วยความราบร่ืน สง่ ผลใหก้ ารเรยี นรู้ดาเนินไปด้วยดี ไม่ติดขัดไมร่ ู้สึกว่ามีความยงุ่ ยาก ทาใหผ้ ้เู รยี นรักท่จี ะเรียน และเป็นผเู้ รียนทีก่ ระตือรอื ร้นมคี วามสนใจตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั 4.1.1 ลักษณะการจัดชัน้ เรยี นทางกายภาพท่ดี ี ศศิธร ขันติธรางกูล (2551, น. 5) ได้สรุปการจัดช้ันเรียนทางกายภาพที่ดี จากงานวิจยั ตา่ งๆ ไว้ดังน้ี 1) มีการจัดที่ว่างในช้ันเรียนอย่างชัดเจน เพื่อใช้อเนกประสงค์และเพื่อให้ ผู้เรียนม่ันใจในการใช้ที่ว่างของตน ตัวอย่างเช่น ชั้นเรียนจะประกอบด้วยพ้ืนที่ท้ังในส่วนท่ีมีการ

264 เคล่ือนไหวอย่างพลุกพล่าน ได้แก่ บริเวณท่ีมกี ารใช้วสั ดอุ ุปกรณร์ ่วมกนั และท่ีว่างส่วนตวั ที่ผู้เรียนจะ ทางานได้โดยลาพงั เช่น โตะ๊ ในแถวของผู้เรยี นแต่ละคน เป็นต้น 2) ในช้ันเรียนที่มีผู้เรียนประสบปัญหาทั้งทางด้านการเรียนและด้าน พฤตกิ รรม อาจแก้ปัญหาได้ด้วยการแยกออกมาอยูใ่ นท่ีว่างมากขึ้น เพื่อใหผ้ ู้เรียนสงบ มีสมาธิในการ ทางานได้อยา่ งอิสระตามลาพัง 3) มีท่ีว่างส่วนตัวของผู้เรียนแต่ละคน และมีพ้ืนที่ของผู้เรียนท้ังกลุ่มใหญ่ กลุ่มเล็ก สาหรับทากิจกรรมต่างๆ จึงควรจัดสถานท่ีเฉพาะเพ่ือให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนหรือ ผู้เรียนกับครู และอาจจะมที ว่ี ่างสาหรบั จดั เกบ็ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพวิ เตอร์ สอ่ื อุปกรณ์เทคโนโลยี ต่างๆ 4) ลักษณะท่ีน่ังของผู้เรียนเป็นแถวเพื่อสะดวกในการทากิจกรรมการเรียนรู้ ในเนื้อหาวชิ าการ ในขณะทก่ี ารจัดท่นี ง่ั แบบกลุม่ จะทาใหผ้ เู้ รียนมปี ฏสิ ัมพันธ์ทางสังคม 5) การจัดชั้นเรียนในบริเวณท่ีจากัด เช่น บริเวณที่เหลาดินสอ ที่วางถังขยะ หลังห้อง หรอื บรเิ วณทม่ี ีการเรียนการสอน ตลอดจนส่วนท่ีทาให้ผเู้ รยี นถูกรบกวนโดยง่าย ครูควรจัด ใหผ้ ู้เรยี นนง่ั หา่ งออกไป 4.1.2 การจัดบรรยากาศทางกายภาพ ครูผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศทางกายภาพได้ดังน้ี (อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2552, น. 230-232; ประสาร ศรีพงษเ์ พลิด, 2554, น. 209-211) 1) การจดั โต๊ะเรียนและเก้าอ้ีของนกั เรียน 1.1) ใหม้ ขี นาดเหมาะสมกับรูปรา่ งและวยั ของนักเรยี น 1.2) ให้มีช่องว่างระหว่างแถวท่ีนักเรียนจะลุกน่ังได้สะดวก และทา กิจกรรมไดค้ ลอ่ งตวั 1.3) ให้มีความสะดวกต่อการทาความสะอาดและเคลื่อนย้ายเปล่ียน รูปแบบทน่ี ่ังเรียน 1.4) ให้มีรูปแบบที่ไม่จาเจ เช่น อาจเปลี่ยนเป็นรูปตัวที ตัวยู รูปครึ่ง วงกลม หรอื เขา้ กลุ่มเป็นวงกลมได้อยา่ งเหมาะสมกับกิจกรรมการเรยี นการสอน 1.5) ให้นักเรยี นทน่ี งั่ ทกุ จุดอา่ นกระดานดาไดช้ ดั เจน 1.6) แถวหน้าของโต๊ะเรียนควรอยู่อยู่ห่างจากกระดานดาพอสมควร ไม่น้อยกวา่ 3 เมตร ไมค่ วรจัดโต๊ะติดกระดานดามากเกินไป ทาให้นกั เรียนตอ้ งแหงนมองกระดานดา และหายใจเอาฝนุ่ ชอล์กเข้าไปมาก ทาให้เสียสขุ ภาพได้

265 2) การจดั โต๊ะครู 2.1) ให้อยู่ในจุดท่ีเหมาะสม อาจจัดไว้หน้าห้อง ข้างห้อง หรือหลังห้อง ก็ได้ งานวิจัยบางเรื่องเสนอแนะให้จัดโต๊ะครูไว้ด้านหลังห้องเพื่อให้มองเห็นนักเรียนได้อย่างทั่วถึง อย่างไรก็ตาม การจดั โต๊ะครนู น้ั ข้ึนอยู่กบั รูปแบบการจดั ที่นง่ั ของนักเรียนดว้ ย 2.2) ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งบนโต๊ะและลิ้นชักโต๊ะ เพ่ือ สะดวกต่อการทางานของครู และการวางสมุดงานของนักเรียน ตลอดจนเพ่ือปลูกฝังลักษณะนิสัย ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยแก่นักเรียน 3) การจัดปา้ ยนเิ ทศ ป้ายนิเทศที่ไว้ฝาผนังของห้องเรียนส่วนใหญ่จะติดไว้ที่ข้างกระดานดาทั้ง 2 ขา้ ง ครูควรใชป้ ้ายนิเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการเรยี นการสอนโดย 3.1) จดั ตกแตง่ ออกแบบให้สวยงาม น่าดู สร้างความสนใจให้แกน่ ักเรียน 3.2) จัดเน้ือหาสาระให้สอดคล้องกับบทเรียน อาจใช้ติดสรุปบทเรียน ทบทวนบทเรยี นหรอื เสริมความรู้ใหแ้ ก่นกั เรยี น 3.3) จัดให้ใหม่อยู่เสมอ สอดคล้องกับเหตุการณ์สาคัญ หรือวันสาคัญ ต่างๆ ทนี่ ักเรยี นเรยี นและควรรู้ 3.4) จัดติดผลงานของนักเรียนและแผนภูมิแสดงความก้าวหน้าในการ เรียนของนักเรยี น จะเปน็ การให้แรงจูงใจท่นี ่าสนใจวิธีหน่งึ 4) การจัดสภาพหอ้ งเรยี น การจดั สภาพหอ้ งเรยี นต้องใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ กลา่ วคือ 4.1) มีอากาศถ่ายเทได้ดี มีหน้าต่างเพียงพอ และมีประตูเข้าออกได้ สะดวก 4.2) มีแสงสว่างพอเหมาะ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนอ่านหนังสือได้ชัดเจน เพ่ือ เปน็ การถนอมสายตา ควรใชไ้ ฟฟา้ ชว่ ยถ้ามแี สงสว่างนอ้ ยเกนิ ไป 4.3) ปราศจากสิ่งรบกวนต่างๆ เช่น เสียง กลน่ิ ควนั ฝุ่น ฯลฯ 4.4) มีความสะอาด โดยฝึกให้นักเรียนรับผิดชอบช่วยกันเก็บกวาด เช็ดถู เป็นการปลกู ฝังนสิ ัยรักความสะอาด และฝึกการทางานร่วมกนั 5) การจัดมุมต่างๆ ในห้องเรียน 5.1) มุมหนังสือ ควรมีไว้เพ่ือฝึกนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้นักเรียนอ่าน คล่อง ส่งเสริมการค้นคว้าหาความรู้ และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ครูควรหาหนังสือหลายๆ ประเภทที่มีความยากง่ายเหมาะสมกับวยั ของนักเรียนมาใหอ้ า่ น และควรหาหนังสือชุดใหมม่ าเปล่ียน บ่อยๆ การจัดมมุ หนงั สือควรจดั ให้เป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยเพือ่ สะดวกต่อการหยบิ อ่าน

266 5.2) มุมเสริมความรู้กลุ่มประสบการณ์ต่างๆ ควรจัดไว้ให้น่าสนใจ ช่วยเสริมความรู้ ทบทวนความรู้ เช่น มมุ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา มุมความรู้ ข่าวเหตุการณ์ 5.3) มุมแสดงผลงานของนักเรยี น ครูควรติดบนป้ายนเิ ทศ แขวนหรือจัด วางไว้บนโต๊ะ เพื่อให้นักเรียนเกิดความภูมิใจในความสาเร็จ และมีกาลังใจในการเรียนต่อไป อีกท้ัง ยงั สามารถแกไ้ ขพัฒนาผลงานนักเรยี นให้ดขี ึ้นโดยลาดบั ไดอ้ กี ด้วย 5.4) ตเู้ ก็บสื่อการเรียนการสอน เช่น บัตรคา แผนภูมิ ภาพพลิก กระดาษ สี กาว ฯลฯ ควรจัดไว้ให้เป็นระเบียบ เป็นสัดส่วน สะดวกต่อการหยิบใช้ อุปกรณ์ชิ้นใดท่ีเก่าเกินไป หรือไม่ใช้แล้วไมค่ วรเกบ็ ไว้ในตใู้ หด้ ูรกรงุ รัง 5.5) การประดับตกแต่งห้องเรียน ครูส่วนใหญ่มักนิยมประดับตกแต่ง ห้องเรียนดว้ ยสง่ิ ตา่ งๆ เช่น ม่าน มลู่ ่ี ภาพดอกไม้ คาขวัญสุภาษิต ควรตกแต่งพอเหมาะไมใ่ ห้ดูรกรงุ รัง สีสันที่ใช้ไม่ควรฉูดฉาดหรือใช้สีสะท้อนแสง อาจทาให้นักเรียนเสียสายตาได้ การประดับตกแต่ง หอ้ งเรียนควรคานงึ ถึงหลักความเรียบงา่ ย เปน็ ระเบียบ ประหยัด มงุ่ ประโยชน์ และสวยงาม 5.6) มุมเก็บอุปกรณ์ทาความสะอาด ตลอดจนชั้นวางเครื่องมือเคร่ืองใช้ ของนักเรียน เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน แก้วน้า กล่องอาหาร ป่ินโต ฯลฯ ควรจัดวางไว้อย่างเป็น ระเบยี บ และหมนั่ เชด็ ถูใหส้ ะอาดเสมอ 4.2 บรรยากาศทางจิตวิทยา บรรยากาศทางจิตวิทยา เป็นลักษณะของบรรยากาศที่เกิดข้ึนโดยการกระทาของ ผู้เรียนที่ส่งผลต่อความรู้สึกนึกคิด จิตใจ และพฤติกรรมของผู้เรียน ถ้าลักษณะบรรยากาศทาง จิตวิทยาเป็นไปในทางบวก ผู้เรียนจะเกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ ผ่อนคลาย มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อครูผู้สอน ตลอดจนมีอิสระในความกล้า แสดงออกอยา่ งมรี ะเบยี บวินัยในชน้ั เรยี น ทาให้เกิดการเรียนรู้ไดโ้ ดยง่ายและมีผลทาให้รู้สึกมีความสุข ในการเรียนรู้ ทาให้เป็นทีร่ ักและใฝ่ในการเรยี นรู้ ดงั นน้ั ผูเ้ รียนจะเกิดความรสู้ กึ เช่นน้ี ขึ้นอยูก่ บั “ครู” เป็นสาคัญ ในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้ 4.2.1 บคุ ลิกภาพของครู สภาพบรรยากาศในชั้นเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มี บุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย การยืน การเดิน ท่าทาง น้าเสียง การใช้คาพูด การแสดงออกทาง สีหน้าแววตา ฯลฯ เหมาะสมกบั การเปน็ ครู จะช่วยส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ได้ดี บคุ ลิกภาพของ ครูมีผลตอ่ ความรสู้ ึกของนักเรียน ดงั น้ี (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน, 2531, น. 8-13)

267 1) ครปู ระเภทที่ 1 จะสร้างบรรยากาศแบบประชาธิปไตย โดยนักเรยี นและ ครจู ะยอมรบั ความคดิ เห็นซ่งึ กันและกนั ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นได้แสดงความคิดเหน็ ไดแ้ ลกเปล่ยี น ความคิดเห็น ได้รู้จักทางานร่วมกัน รู้จักสิทธิ และเคารพสิทธิและหน้าท่ีซึ่งกันและกัน มีเหตุมีผล นักเรียนจะรู้สึกสบายใจในการเรียน ช่วยเหลือผู้เรียนให้แสดงสักยภาพเต็มความสามารถ คานึงถึง ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เปน็ บรรยากาศทส่ี ่งเสริมให้เกิดการเรยี นรทู้ ีด่ ี ถ้าครูแสดงความเปน็ มิตร นักเรยี นจะอบอนุ่ ใจ ถ้าครยู ิ้มแย้ม นักเรียนจะแจม่ ใส ถ้าครมู อี ารมณข์ นั นักเรยี นจะเรียนสนุก ถา้ ครูกระตือรือรน้ นักเรยี นจะกระปกี้ ระเปร่า ถ้าครมู นี ้าเสยี งนุ่มนวล นักเรยี นจะสภุ าพอ่อนน้อม ถา้ ครูแต่งกายเรยี บร้อย นักเรยี นจะเคารพ 2) ครูประเภทท่ี 2 จะสร้างบรรยากาศแบบเผด็จการ โดยนักเรียนจะไม่ได้ แสดงความคดิ เห็น ครจู ะเขม้ งวด ครูเป็นผูบ้ อกหรอื ทากิจกรรมทุกอย่าง นักเรียนไม่มีโอกาสคิดหรือ ทากิจกรรมท่ีต้องการ นักเรียนจะรู้สึกอึดอัด นักเรียนจะขาดลักษณะการเป็นผู้นา ขาดความคิด รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ เป็นบรรยากาศที่ไม่สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ทด่ี ี ถ้าครูเขม้ งวด นักเรียนจะหงุดหงดิ ถ้าครหู น้านิว่ คว้ิ ขมวด นักเรียนจะร้สู ึกเครยี ด ถ้าครูฉุนเฉยี ว นักเรียนจะอึดอัด ถ้าครูป้ันปง่ึ นักเรียนจะกลัว ถา้ ครูแตง่ กายไมเ่ รยี บร้อย นักเรยี นจะขาดความเคารพ ถ้าครใู ช้น้าเสียงดดุ นั นักเรยี นจะหวาดกลัว 3) ครูประเภทท่ี 3 จะสร้างบรรยากาศแบบตามสบาย เป็นบรรยากาศ การเรียนที่น่าเบ่ือหนา่ ย นักเรียนย่อท้อ สับสนวุ่นวาย ขาดระเบียบวินยั ไม่มีความคงเสน้ คงวา ครไู ม่ สามารถควบคุมช้ันเรียนให้อยใู่ นความสงบเรยี บร้อยได้ เปน็ บรรยากาศทีไ่ ม่ส่งเสริมให้เกิดการเรยี นรู้ ทด่ี ี

268 ถา้ ครทู อ้ ถอย นักเรยี นจะท้อแท้ ถ้าครูเฉยเมย นักเรยี นจะเฉื่อยชา ถา้ ครเู ชือ่ งชา้ นกั เรยี นจะหงอยเหงา ถา้ ครูใช้น้าเสียงราบเรยี บ นกั เรียนจะไม่สนใจฟัง ถ้าครูปลอ่ ยปละละเลย นักเรียนจะขาดระเบยี บวินยั ถ้าครูแต่งกายไมเ่ รียบร้อย นกั เรียนจะขาดความเคารพ จากครูท้ัง 3 ประเภทที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า ครูประเภทที่ 1 มีลักษณะ ความเป็นผู้นาแบบประชาธปิ ไตย ก็จะสร้างบรรยากาศแบบประชาธิปไตย ทาใหน้ กั เรยี นรู้สึกสบายใจ ท่ีจะเรียน มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าประเภทอ่ืนๆ บุคลิกภาพของครูจึงมีส่วนสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ได้อย่างมาก ดังนั้น ครูสามารถสรา้ งบรรยากาศท่สี ่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี โดยมแี นวทางการจัดบรรยากาศ ดังน้ี 1) ฝึกให้นักเรียนรู้จักสิทธิและหน้าที่ของตน พร้อมท้ังฝึกการใช้สิทธิหน้าที่ เหล่าน้ัน เชน่ สิทธใิ นการเลอื กประธานนกั เรียน หัวหนา้ กลมุ่ 2) จดั ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ กลุ่มทางาน โดยหมนุ เวียนกลุ่มกันไป เพ่อื ฝกึ การทางาน ร่วมกบั ผู้อื่น 3) จดั ทน่ี ั่งของผู้เรียนให้สลับท่ีกันเสมอ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสปรับตวั เข้ากับ กลุ่มอ่นื ได้ 4) เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนร่วมกันสร้างระเบียบวินัยในชั้นเรียน เมื่อผู้เรียนเป็น ผูว้ างระเบียบก็จะยินดีทจี่ ะปฏิบตั ติ ามระเบียบน้นั ๆ 5) จดั ให้นกั เรียนหมุนเวยี นกันเปน็ ผู้นาในกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้นักเรียนเป็น ผูน้ าและผูต้ ามทีด่ ี 4.2.2 พฤติกรรมการสอนของครู พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกท่ีดีให้แก่นักเรียน เช่นเดียวกันกับบุคลิกภาพของครู ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนที่สอดคล้อง เหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ เจตคติ และทักษะตามที่หลักสูตร กาหนด พฤตกิ รรมของครคู วรเป็นดงั น้ี (วฒั นา พัชราวนชิ , 2544, น. 156) 1) ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรยี น โดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เชน่ ใช้วาจา ใช้ทา่ ทาง ให้รางวัล และสัญลักษณ์ต่างๆ ตลอดจนทาให้กิจกรรมที่นักเรยี นชอบ ครูควร เสริมแรงใหท้ ่ัวถงึ และเหมาะสม

269 2) เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคดิ เห็น และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของ นกั เรยี น แสดงให้นกั เรียนเหน็ ว่าความคิดของเขามีประโยชน์ พยายามนาความคดิ เหล่าน้ันมาใชใ้ หเ้ กิด ประโยชนใ์ นการเรยี นรู้ 3) ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม การให้ทางานเป็นกลุ่มจะช่วยให้นักเรียน รู้จักทางานร่วมกับผู้อ่ืน ได้ใช้ความรู้ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้าง มนุษยสัมพันธ์ที่ดี และได้ผลงานนามาสู่ความภาคภูมิใจในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้ กลุ่มทาน้ัน ครูควรคานึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกล่มุ ประสบความสาเร็จ เป็นการสร้างความรู้สกึ ทางบวกใหแ้ ก่นักเรียน งานใดที่ครูเห็นว่า ยาก ครคู วรเข้าไปดูแลกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั คดิ แก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะตอ้ งมีความอดทนท่ี จะไม่รีบชี้แนะ หรือบอกวิธีการแก้ปัญหาตรงๆ ต้องฝึกให้นักเรียนใช้วิธีการต่างๆ หลายๆ แบบจน สามารถแกป้ ญั หาไดส้ าเร็จ 4) ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทาให้นักเรียนเบื่อหน่ายในการเรียน ครูควร คิดค้นคว้าและแสวงหาแนวทางวิธกี ารใหม่ๆ มาใช้จัดการเรียนการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีท่ียึด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียนเป็นผู้กระทากิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบ แก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสืบสวนสอบสวน แบบแบ่งกลุ่มกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนทนี่ ่าสนใจ การใชว้ ธิ กี ารสอนแบบใดนั้นครูต้องเลือกให้ เหมาะสมกับบทเรยี น ระยะเวลา สติปัญญา และวัยของนกั เรยี น 4.2.3 เทคนิคการปกครองชน้ั เรยี นของครู เทคนิคหรือวิธีการที่ครูใช้ปกครองช้ันเรียนมีส่วนส่งเสริมในการสร้าง บรรยากาศทางจิตวิทยา กล่าวคือ ถ้าครูปกครองช้ันเรียนด้วยความยุติธรรม ยึดหลักประชาธิปไตย ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ทุกคนยอมรับ ยินดีปฏิบัติ นักเรียนก็จะอยู่ในห้องเรียนอย่างมีความสุข เกิดความรู้สึกอบอุ่น พอใจ และสบายใจ ในทางตรงกันข้าม ถ้าครูโลเล ไม่ยุติธรรม เลือกท่ีจะรักมัก ทชี่ ัง ปกครองช้ันเรียนแบบเผด็จการ นักเรียนจะเกิดความรู้สกึ ไมศ่ รัทธาครู ไมเ่ ห็นคุณค่าของระเบียบ กฎเกณฑ์ ส่งผลให้นักเรียนไม่สนใจเรียน ไม่อยากมาโรงเรียนในที่สุด ดังนั้น เทคนิควิธีการปกครอง ช้นั เรียนของครูจึงมีความสาคัญต่อการสร้างบรรยากาศทางจิตวทิ ยาด้วย ในการปกครองช้ันเรียนครู ควรยึดหลักตอ่ ไปนี้ 1) หลักประชาธิปไตย เป็นหลักการพื้นฐานในการดาเนินชีวิต เม่ือบุคคลมา อยรู่ ่วมกัน ทม่ี ีการเคารพซงึ่ กันและกันในลักษณะตา่ งๆ ประกอบด้วย คารวะธรรม สามคั คีธรรม และ ปัญญา โดยครูควรให้ความสาคัญต่อนักเรียนเท่าเทียมกัน ให้ความเสมอภาค ให้อิสระ ให้โอกาสแก่ ทกุ คนในการแสดงความคิดเห็น ขณะเดียวกันครูต้องใจกว้างยินดีรับฟังความคิดเห็นของทุกคน และ ควรฝกึ ใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติตามสทิ ธิหนา้ ที่ รจู้ กั เคารพสทิ ธิผู้อืน่ ใหร้ ู้จักการอยู่รว่ มกันอยา่ งประชาธิปไตย

270 2) หลักความยุติธรรม เป็นหลักการอยู่ร่วมกันในสังคมอีกประการหน่ึงที่ ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญมากที่สุด ครูควรปกครองโดยใช้หลักยุติธรรมแก่นักเรียนทุกคนโดยทั่วถึง นกั เรียนจะเคารพศรัทธาครู และยินดีปฏิบัติตามกฎระเบียบของครู ยนิ ดีปฏิบัติตามคาอบรมสั่งสอน ของครู ตลอดจนไมส่ รา้ งปัญหาในชน้ั เรยี น 3) หลักธรรมทางศาสนา สามารถนามาปรับใช้ตามลักษณะของงานน้ันๆ สาหรับงานในชั้นเรียนสามารถนาหลักธรรมมาปรับใช้ ได้แก่ พรหมวิหาร 4 คุณธรรมประจาใจ อันประเสริฐ หลักประพฤติที่ประเสริฐบริสุทธิ์ ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา อิทธบิ าท 4 คณุ ธรรมท่นี าไปส่คู วามสาเร็จแหง่ ผลทมี่ ุ่งหมาย ประกอบด้วย ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา และสังคหวัตถุ 4 ธรรมยึดเหน่ียวใจบุคคล และประสานหมู่ชนไว้ให้สามัคคีกัน ประกอบด้วย ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และสมานัตตา ถ้าครูทุกคนยึดหลักธรรมทางศาสนาในการปกครองชั้นเรียน นอกจากจะทาให้นักเรยี นมีความเคารพรักศรัทธาครจู ะมคี วามสุขในการเรียนแล้ว ยังเป็นการปลูกฝัง คุณธรรม จรยิ ธรรม ให้แก่นกั เรียนดว้ ย 4) หลักความใกล้ชิด การท่ีครูแสดงความเอาใจใส่ ความสนใจ ให้ความ ใกล้ชิดกับนักเรียน เป็นวิธีการหนึ่งในการสร้างบรรยากาศทางด้านจิตวิทยา วิธีการแสดงความสนใจ นักเรียนทาได้หลายวธิ ี จติ รา วสวุ านิช (2531, น. 135) ได้เสนอแนะไวด้ ังน้ี 4.1) ครูจะต้องรู้จักนักเรียนในช้ันเรียนทุกคน รู้จักช่ือจริง ชื่อเล่น ความสนใจของเด็กแต่ละคน เป็นต้นว่า งานอดิเรก มีพ่ีน้องก่ีคน จุดเด่น จุดด้อย ของนักเรียน แต่ละคน 4.2) ครูจะต้องแสดงความสนใจในสารทุกข์สุขดิบของเด็กแต่ละคน เช่น หมั่นถามความเป็นไปของพี่น้อง ความคบื หน้าของการสะสมแสตมป์ คือ ไมเ่ พียงรู้แตว่ า่ เด็กเป็นอะไร ในขอ้ 1 แต่รู้ข่าวคราวความเคลอ่ื นไหวของสงิ่ เหลา่ นั้นด้วย 4.3) ครูจะมอบเวลาของตนเพ่ือเด็ก เวลาท่ีนอกเหนือจากงานสอน ไดแ้ ก่ เวลาเย็นหลังเลิกเรียน ช่วงพักระหว่างการเรียน เพ่ือช่วยเด็กที่ต้องการการช่วยเหลือเป็นพิเศษ ว่าต้องการขอคาปรึกษา ต้องการขอคาแนะนาในการหารายได้พิเศษ ครูจะต้องพร้อมที่จะให้ความ ชว่ ยเหลือเด็กได้ตลอดเวลา 4.4) ครูจะต้องใกล้ชิด สัมผัสท้ังร่างกายและจิตใจ คาสั่งสอนและการ กระทาของครจู ะต้องสอดคล้องกัน เป็นต้นว่า ถา้ ครูจะอบรมสง่ั สอนเดก็ เรื่องความซ่ือสตั ย์ ครจู ะต้อง ปฏิบัติตนเป็นคนซ่ือสัตย์ด้วยเช่นกัน การสัมผัสก็เปน็ ส่ิงจาเป็น การจับต้องตวั บ้าง จะเป็นสื่อนาใหเ้ ด็ก รสู้ ึกถึงความใกล้ชดิ สนทิ สนม

271 4.2.4 การปฏสิ มั พนั ธ์ในชั้นเรียน ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคล 2 คน หรือบุคคล 2 ฝ่าย โดยต่างฝ่ายต่างมีอิทธิพลซ่ึงกันและกัน ซ่ึง ประดินันท์ อุปรมัย (2523, น. 133) ไดจ้ าแนกปฏิสัมพันธใ์ นชั้นเรยี น ออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน ถ้าปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน เป็นไปด้วยดี หมายถึง ทั้งครแู ละนักเรยี นต่างมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ ซกั ถาม ครูให้ความเป็นกันเองแก่นักเรยี น ให้นักเรียนมีอิสระ และมีความสบายใจในการทากิจกรรม บรรยากาศภายในห้องเรียนก็จะไม่ตงึ เครียด เป็นบรรยากาศทร่ี ่ืนรมย์ นา่ เรียน น่าสอน ซึ่งจะส่งเสริม ให้เกดิ การเรียนรู้ทดี่ ี 2) ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างนักเรยี นกับนกั เรียน บรรยากาศในห้องเรียนจะเตม็ ไป ด้วยความอบอุ่น สร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่นักเรียนได้ ถ้านักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน คือ มคี วามสมคั รสมานสามัคคี รักใคร่กลมเกลียวกนั ช่วยเหลือซง่ึ กนั และกนั มีน้าใจเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ซ่ึงกัน และกัน ฯลฯ นักเรยี นจะมีปฏิสมั พันธ์ที่ดีตอ่ กันไดน้ ั้น ขึ้นอยู่กบั ครูเป็นสาคัญ กลา่ วคอื เป็นแบบอย่าง ท่ีดแี กน่ ักเรียน ปกครองดแู ลนักเรียนไดท้ ั่วถึง ส่ังสอนอบรมบ่มนิสัย และแกไ้ ขพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม ของนักเรียนได้ถูกต้อง นักเรียนก็จะค่อยๆ ซึมซาบและซับเอาส่ิงที่ดีงามไว้ปฏิบัติจนเป็น คุณลักษณะเฉพาะตนที่พึงประสงค์ เมื่อนักเรียนทุกคนต่างเป็นคนดี เพราะมีครูดี ทุกคนก็จะมี ปฏสิ มั พันธ์ที่ดตี ่อกนั อันเป็นส่วนสรา้ งเสรมิ ให้เกดิ บรรยากาศทพ่ี ึงปรารถนาข้นึ ในหอ้ งเรียน 3) ปฏิสัมพันธ์ทางวาจา หมายถึง การพดู จารว่ มกันในช้นั เรียนระหว่างครูกับ นกั เรยี น อาจเปน็ การบรรยาย การอภิปราย การถามคาถาม การมอบหมายงาน การพูดของนักเรียน เป็นต้น ทั้งหมดนี้มีอิทธิพลต่อการสร้างบรรยากาศในช้ันเรียนเช่นกัน สาหรับการมีปฏิสัมพันธ์ทาง วาจามผี ลดี ดงั นี้ (พรเพญ็ สุวรรณเดชา, 2533, น. 14) คอื 3.1) การแสดงออกทางวาจาด้วยดีระหว่างครูกับนักเรียน จะช่วยสร้าง ความเข้าใจอนั ดีตอ่ กัน 3.2) ช่วยให้การเรียนได้ผลดี เพราะมีการสื่อความหมายที่ถูกต้อง เข้าใจกนั 3.3) ช่วยให้นักเรียนรู้สึกสบายใจในการท่ีจะรับวิชาการ หรือทาความ เขา้ ใจบทเรยี น และกลา้ แสดงความคดิ เหน็ โดยไม่หวาดกลัวครู 3.4) ช่วยให้นกั เรยี นเกดิ ความไวว้ างใจในตัวครู มีเหตผุ ล 3.5) ชว่ ยแก้ปัญหาการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี นได้ 3.6) ช่วยสร้างบรรยากาศที่เอื้ออานวยให้เกิดเจตคติความสนใจ ค่านิยม และผลการเรยี นร้เู ป็นไปตามจุดมงุ่ หมายที่กาหนดไว้

272 4.2.5 เจตคตแิ ละความคาดหวังของครู เจตคติเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความคิดและการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ดังนั้น ครูท่ีมีเจตคติท่ีดีต่อการสอน และเจตคติที่ดีต่อผู้เรียนท่ีตนสอนย่อมเป็นผู้ท่ีสามารถสร้าง บรรยากาศที่ดีให้เกิดข้ึนแก่ชั้นเรยี น กล่าวคือ ครูที่มีเจตคติที่ดตี ่อการสอนและผู้เรียนจะมีพฤติกรรม การเตรียมตัวสอน มองกิจกรรมการสอนและผู้เรียนในแง่ดี เข้าใจนักเรียนและวิเคราะห์นักเรียนได้ ออกแบบการสอนได้ มีความตั้งใจท่ีจะสอน ไม่แสดงอาการเบ่ือหน่าย หรือโกรธเมื่อนักเรียนถาม หรือไมต่ ั้งใจเรียน ให้ความสนใจนักเรียน ให้อภัยเมื่อนักเรียนทาผิด ความคาดหวังของครูก็เป็นปจั จัย สาคัญที่มีผลต่อบรรยากาศในช้ันเรียน เพราะความคาดหวังของครูมีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรม ของนักเรยี น ดงั น้ี (สมุ าลี เกษรวนชิ วฒั นา, 2548) 1) ครูท่ีมีความคาดหวงั สูง กล่าวคือ ครูทีค่ ิดว่านักเรยี นของตนเองเก่ง เข้าใจ บทเรียนงา่ ยกว่าห้องอืน่ ก็จะจัดเน้ือหายากๆ อธบิ ายเร็ว หรือกิจกรรมทซ่ี ับซ้อน นกั เรยี นเรยี นรู้ไมท่ ัน ตามที่ครูสอน ครกู ็จะผิดหวังและอาจแสดงพฤติกรรมทท่ี าใหน้ ักเรยี นท้อแท้ เครียด ทาให้บรรยากาศ ในการเรียนเสียไป 2) ครูท่ีมีความคาดหวังในตัวนักเรียนต่า กล่าวคือ ครูคิดว่านักเรียนของตน น่าจะเข้าใจบทเรียนช้า จึงขาดความกระตือรือร้นในการสอน สอนช้าไป บทเรียนง่ายไป ไม่ทักทาย นักเรียนเกิดความเบ่อื หน่าย บรรยากาศการเรียนเสียไปเชน่ กัน ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน เป็นความพยายามของครูผู้สอนในการ ดาเนนิ การให้กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ บรรลุไปตามจุดประสงคข์ องการ เรยี นรู้ในแตล่ ะรายวิชาท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ในเบ้อื งตน้ ครูผู้สอนควรจดั บรรยากาศทางกายภาพให้ เกิดการจูงใจเมื่อผู้เรียนเข้ามาอยู่ในช้ันเรียน ทั้งน้ี ถ้าจัดใหค้ รบถ้วนสมบูรณ์ไม่ไดก้ ็ควรจะจดั ให้มีวัสดุ อปุ กรณ์ขั้นต่าที่สามารถดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปด้วยความราบร่นื ได้ และครูผู้สอน เพ่ิมเติมด้วยบรรยากาศทางจิตวิทยา ซึ่งเป็นบรรยากาศที่ผู้สอนสามารถสร้างขึ้นได้โดยตัวของ ครูผ้สู อนเอง บทสรุป การจดั การเรียนรู หมายถึง กระบวนการปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียนเพื่อท่ีจะทาให ผ้เู รียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคของผูสอน การจัดการเรยี นรูเปรียบเสมือนเคร่ืองมือที่สงเสริม ใหผูเรียนรักการเรียน ต้ังใจเรียน และเกิดการเรียนรูข้ึน ซ่ึงการจัดการเรียนรู้มีลักษณะเปนกระบวน การปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน โดยมีจุดประสงคใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงคท่ีกาหนดไว ซ่ึงการจัดการเรียนรูจะบรรลุจุดประสงคไดดี ตองอาศัยทั้งศาสตรและ

273 ศิลปของผูสอนด้วย องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ผู้เรียน ผู้สอนหรือครู จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหาการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อม และการ ประเมินผลการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ เป็นการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง เปน็ แนวทางการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการสรา้ งความรู้ด้วยตนเอง เป็นการ เรียนการสอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน มีส่วนร่วมในการทากิจกรรม เกิดการเรียนรู้อย่างมี ความหมายที่แท้จริง ตลอดจนเน้นกระบวนการในการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เรียน ผู้เรียนจะมีความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง จะเรียนอย่างมีความสุข มีส่วนร่วมในการทางานใน กจิ กรรมตา่ งๆ อกี ท้งั มจี ิตใจท่ีสดช่ืนแจ่มใสในระหวา่ งดาเนินกจิ กรรม การเรยี นร้อู ย่างมคี วามสขุ เปน็ สภาพการจัดการเรยี นรใู้ นบรรยากาศท่ีผอ่ นคลาย เป็นอสิ ระ ยอมรับความแตกต่างของบุคคล มีความหลากหลายในวิธีการเรียนของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ ซึ่งองค์ประกอบของการเรียนรู้อย่างมีความสุข ประกอบด้วย การจดั สภาพแวดล้อม กระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาตติ ามวัยวุฒิของผู้เรียน และการจัดการเรียน การสอนของครู รวมถึงการจัดการเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จ มีปัจจัยสาคัญ 4 ประการ ได้แก่ ผู้บรหิ าร ครูผ้สู อน ผเู้ รยี น และสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรยี นการสอน รูปแบบการสอน หมายถึง แบบแผนของการจัดการเรียนการสอนที่จัดข้ึนอย่างเป็นระบบ สัมพนั ธส์ อดคลอ้ งกบั ทฤษฎี หลกั การเรยี นรู้ แนวคดิ หรือความเชอ่ื ตา่ งๆ ทร่ี ปู แบบน้ันยึดถือและไดร้ ับ การพิสูจน์ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของ รปู แบบนั้นๆ ซ่ึงมีรูปแบบการสอนท่ีสัมพันธ์กับมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู อาทิ การเรียนรู้แบบมีส่วน ร่วม การเรียนรแู้ บบร่วมมือ การเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการกลุ่ม การเรยี นรูโ้ ดยการสืบเสาะหาความรู้ เปน็ กลุ่ม และการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการกล่มุ สมั พนั ธ์ บรรยากาศในชัน้ เรยี นมคี วามสาคัญเปน็ อยา่ งยิ่งต่อกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นปจั จัยที่ มีส่วนสาคัญในการส่งเสริมให้ครูประสบความสาเร็จในการสอน และทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ ซ่ึงบรรยากาศในชั้นเรียนท่สี ามารถส่งเสริมการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื บรรยากาศทางกายภาพ และบรรยากาศทางจติ วิทยา

274 คาํ ถามท้ายบท จงตอบคาถามต่อไปนี้ โดยอธบิ ายพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ 1. การจัดการเรียนรูท้ ี่มีประสทิ ธภิ าพมีองค์ประกอบอย่างไร 2. มนษุ ยสมั พันธ์เกีย่ วข้องอย่างไรกับการจัดการเรยี นรู้ 3. จงอธิบายองคป์ ระกอบการจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญมาพอสงั เขป 4. การจัดการเรยี นร้ทู เ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั เก่ียวข้องอย่างไรกบั มนุษยสมั พนั ธ์สาหรับครู 5. จงอธิบายการจัดการเรยี นรเู้ พื่อใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรูอ้ ยา่ งมีความสุข 6. จงอธิบายรูปแบบการสอนที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัมพันธภาพเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ ผ้เู รียนมาพอสังเขป 7. มนุษยสัมพนั ธเ์ กี่ยวข้องอย่างไรกับบรรยากาศการเรยี นรู้ 8. จงอธบิ ายหลกั การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ทางกายภาพ 9. จงอธบิ ายหลกั การสร้างบรรยากาศการเรียนร้ทู างจิตวทิ ยา 10. บุคลิกภาพของครเู ก่ยี วขอ้ งอย่างไรกบั บรรยากาศการเรยี นร้ทู างจติ วิทยา

275 เอกสารอ้างองิ กมล ภ่ปู ระเสรฐิ . (2544). การบรหิ ารงานวชิ าการในสถานศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ทิปส์พบั บลิเคชัน่ . กรมวิชาการ. (2544). กลวธิ ีจัดการเรียนการสอนที่สอดคลอ้ งกับวิธีการเรียน (learning style). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว. กติ ิยวดี บุญซอื่ . (2540). ทฤษฎีการเรยี นร้อู ย่างมีความสขุ . กรุงเทพฯ: ไอเดยี สแควร์. จติ รา วสวุ านชิ . (2531). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. พมิ พ์คร้ังที่ 4. กรงุ เทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ.์ เจษฎา บญุ มาโฮม. (2555). มนษุ ยสมั พนั ธ์สาหรบั ครู. นครปฐม: คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม. ชเู กียรติ โพธิ์ม่นั . (2548). นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา. ลพบุรี: มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี. นคร พันธ์ณุ รงค.์ (2550). การเตรยี มความพร้อมของครผู ู้สอนส่กู ารปฏริ ูปการศกึ ษาปี 2545. กรงุ เทพฯ : โรงเรียนยพุ ราชวทิ ยาลยั . ประดนิ นั ท์ อปุ รมยั . (2523). การสรา้ งสภาพแวดล้อมการเรียนรู้. ในเอกสารการสอน ชดุ วชิ าระบบ การเรียนการสอน หนว่ ยท่ี 1-5. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. ประสาร ศรีพงษเ์ พลิด. (2554). จติ วิทยาสาหรบั คร.ู ร้อยเอด็ : มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอด็ . ทิศนา แขมมณ.ี (2542). “การจดั การเรียนการสอนโดยยดึ ครเู ปน็ ศนู ย์กลาง: โมเดลซปิ ปา (CIPPA Model)”. วารสารวชิ าการ. 3(5): 25; พฤษภาคม. ________. (2559). ศาสตรก์ ารสอน องค์ความรู้เพ่อื กระบวนการจดั การเรียนรูท้ ี่มปี ระสิทธภิ าพ. (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 20). กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สานักพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . พรรณี ช. เจนจิต. (2550). จติ วิทยาการเรยี นการสอน. นนทบรุ ี: สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสรมิ วชิ าการ. พรเพญ็ สุวรรณเดชา. (2533). “ปฏสิ มั พันธท์ างวาจากับการเรียนการสอน”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.์ 3(15). 13-16. พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์. (2544). แนวคิดและตวั บ่งชขี้ องการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ สแู่ ผนการสอน. ในพมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ (บก.) การเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ: แนวคดิ วิธกี ารและเทคนิคการสอน 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทเดอะมาสเตอรก์ รปุ๊ แมเนจเม้นท์ จากดั . วรรณี โสมประยรู . (2548). รูปแบบการสอนกบั วธิ ีสอน: ความสบั สนในวงการศึกษา. ครศุ าสตร์. 33(3): 1 – 9. มนี าคม – มถิ ุนายน. วชิ ยั ประสทิ ธิว์ ุฒิเวชช. (2542). การพฒั นาหลักสูตรทองถนิ่ . กรุงเทพฯ: เลิฟแอนดลพิ เพรส.

276 วีระเดช เชือ้ นาม. (2545). “การจดั การเรยี นการสอนโดยยดึ ผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลางคอื อะไร”. วารสารวชิ าการ. 5(2): 2-4; กมุ ภาพนั ธ์. วัฒนา พชั ราวนิช. (2544). ประยุกต์จิตวทิ ยาเพอ่ื การเรยี นรู้. กรุงเทพฯ: คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภฏั บ้านสมเด็จ. วฒั นาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนคิ และกิจกรรมการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ตามหลักสูตร การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ 2544. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟกิ . ศศธิ ร ขันตธิ รางกูล. (2551). “การจดั การช้ันเรยี นของครูมืออาชีพ”. วารสารครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏเลย. 1(2), 2-19. ศศิธร เวียงวะลยั . (2556). การจดั การเรียนรู้ (Learning Management). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์ สนั ติ บุญภริ มย.์ (2557). การบริหารจัดการในหอ้ งเรยี น Classroom Management. กรงุ เทพฯ: ทรปิ เพิล้ เอด็ ดเู คชั่น. สุมน อมรววิ ฒั น์. (2533). สมบตั ทิ ิพยของการศกึ ษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . สุมาลี เกษรวนชิ วัฒนา. (2548). ผลงานวชิ าการของสุมาลี เกษรวนชิ วฒั นา. กรุงเทพฯ : โรงเรยี น สาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์. สวุ ทิ ย์ มลู คา. (2544). เรียนรู้สคู่ รูมืออาชีพ. กรงุ เทพฯ: ท.ี พี. พริน้ . สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ. (2540). คู่มอื อบรมครแู นวการใช้หลักสูตร ประถมศกึ ษา พุทธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พก์ ารศาสนา. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ. (2540). ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสุข. กรุงเทพฯ: ไอเดยี สแควร.์ ________. (2543). แนวทางการจดั การศกึ ษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บรษิ ัทพิมพ์ดี จากัด. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2531). ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: ศรเี มืองการพิมพ์. อาภรณ์ ใจเท่ยี ง. (2552). หลกั การสอน (ฉบบั ปรับปรุง). (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 5). กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ Arends, R.I. (2009). Learning to teach. 8th ed. New York: McGraw-Hill. Bloom, B. (1956). Taxonomy of Educational Objectives. New York: McKay. Hills, P.J. (1982). A dictionary of education. London: Routledge Kegan & Paul. Hough, J.B. & Duncan, J.K. (1970). Teaching description and analysis. London: Addison-Westlu. Moore, K.D. (1992). Classroom teaching skills. New York: McGraw-Hill.

277 Saylor, J.G. et al. (1981). Curriculum planning for better teaching and learning. 4th ed. New York: Rinehart. Smith, R., & Lynch, D. (2010). Rrthinking Teacher Education: Teacher Education in the Knowledge Age. Sydney: AACLM Press.

บรรณานกุ รม

280

281 บรรณานกุ รม กมล ภปู่ ระเสริฐ. (2544). การบรหิ ารงานวชิ าการในสถานศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ทปิ ส์พบั บลิเคชนั่ . กมลรัฐ อนิ ทรทศั น์ และพรทิพย์ เย็นจะบก. (2553). ศิลปะการสื่อสาร. ใน ศิลปะการดาเนนิ ชวี ติ . (พิมพค์ รงั้ ที่ 10). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ กรมวชิ าการ. (2544). กลวธิ จี ดั การเรยี นการสอนทส่ี อดคล้องกับวธิ กี ารเรยี น (learning style). กรุงเทพฯ: โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพร้าว. กฤษณา ศักดิศ์ รี. (2534). มนุษยสัมพันธ.์ กรุงเทพฯ: อกั ษรพทิ ยา. กิติยวดี บุญซอ่ื . (2540). ทฤษฎกี ารเรยี นรู้อย่างมีความสุข. กรุงเทพฯ: ไอเดียสแควร์. กุลวดี ตวั ตน, ผู้แปล. (2542). รจู้ ักตนเอง. กรงุ เทพฯ: เคล็ดไทย. เกษม คาศรี. (2554). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงานของขา้ ราชการครสู ังกดั สานักงานการ ประถมศกึ ษาจงั หวัดสพุ รรณบุรี. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบรหิ าร การศกึ ษา บัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี. ขนษิ ฐา สุวรรณฤกษ์. (2547). มนุษยสมั พันธส์ าหรบั ครูและผบู้ ริหารสถานศึกษา. กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี. คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ, สานกั งาน. สานักนายกรฐั มนตร.ี (2545). พระราชบัญญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟิก. จรูญ ทองถาวร. (2539). มนุษยสัมพนั ธ.์ กรงุ เทพฯ: อกั ษราพพิ ฒั น์. จติ รา วสุวานิช. (2531). จิตวิทยาการศกึ ษา. พมิ พ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: แสงจันทรก์ ารพมิ พ.์ จฑุ า บรุ ีภักด.ี (2547). มนุษยสัมพันธส์ าหรบั คร.ู (พิมพ์ครง้ั ที่ 2). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์สมายพรนิ ต.์ เจษฎา บญุ มาโฮม. (2555). มนษุ ยสมั พนั ธส์ าหรับครู. นครปฐม: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม. ชนัดดา เหมอื นแกว้ . (2538). มนษุ ยสมั พนั ธ์. กรุงเทพฯ: สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนคร เหนอื . ชษิ ณพุ งศ์ โคตรบัณฑิต. (2554). เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าจติ วิทยามนษุ ยเ์ ชิงธรุ กิจ. ชลบรุ ี: อกั ษรเทคโนโลยีพทั ยา. ชริ าพร หนูฤทธ์ิ. (2548). มนษุ ยสัมพนั ธ์สาหรบั ครู. นครศรีธรรมราช: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช. ชเู กยี รติ โพธ์ิม่ัน. (2548). นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา. ลพบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตร.ี

282 นคร พันธณ์ุ รงค.์ (2550). การเตรยี มความพร้อมของครผู ู้สอนส่กู ารปฏิรปู การศึกษาปี 2545. กรงุ เทพฯ : โรงเรยี นยพุ ราชวทิ ยาลยั . บญุ มน่ั ธนาศภุ วัฒน์. (2553). จติ วิทยาองคก์ าร. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์ บุญเรยี ง ขจรศิลป์. (2539). วธิ ีวิจยั ทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ บญุ สม จันทรเ์ อยี่ ม. (2547). เอกสารประกอบการสอนรายวิชามนษุ ยสัมพนั ธ์สาหรบั ครู. ปทุมธานี: มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชปู ถมั ภ์. ปนดั ดา ชานาญสขุ . (2553). การเขา้ ใจตนเองและการพัฒนาชีวติ . ใน ศิลปะการดาเนนิ ชวี ิต. (พิมพ์ครัง้ ที่ 10). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ประดินนั ท์ อปุ รมัย. (2523). การสร้างสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้. ในเอกสารการสอน ชุด วชิ าระบบ การเรียนการสอน หน่วยท่ี 1-5. นนทบุรี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ประสาร ศรีพงษเ์ พลิด. (2554). จติ วทิ ยาสาหรับครู. ร้อยเอด็ : มหาวิทยาลัยราชภฏั รอ้ ยเอด็ . ปราณี รามสตู ร และจารสั ด้วงสวุ รรณ. (2555). พฤตกิ รรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. (พิมพ์คร้ังท่ี 5). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี. ปยิ ะ คงอุบล. (2553). การศึกษาความสมั พนั ธ์ระหว่างรปู แบบการส่ือสารในครอบครวั สัมพันธภาพ ของครูและนกั เรียนกบั พฤตกิ รรมการเรยี นคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี นระดับช้ันประถมศึกษา ปที ี่ 4-6 โรงเรยี นวัดม่วง สังกัดสานักงานเทศเขตบางแค กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาจติ วทิ ยาการให้คาปรกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัย รามคาแหง. ป่ินวดี ธนธานี. (2550). เอกสารประกอบการเรยี นการวิจัยทางการศึกษาและการวจิ ัยเพือ่ พฒั นา การเรียนรู้. นครปฐม: กลุ่มวิชาวัดผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. ดุจเดอื น พันธมุ นาวิน และอมั พร ม้าคะนอง. (2547). รายงานการวจิ ยั เรอื่ งปัจจยั เชิงเหตแุ ละผลของ พฤติกรรมการพัฒนานกั เรยี นของครูคณิตศาสตร์ในระดบั มธั ยมศึกษา. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ. ทศิ นา แขมมณี. (2542). “การจัดการเรียนการสอนโดยยึดครเู ป็นศูนย์กลาง: โมเดลซปิ ปา (CIPPA Model)”. วารสารวชิ าการ. 3(5): 25; พฤษภาคม. ________. (2559). ศาสตร์การสอน องคค์ วามรู้เพื่อกระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ. (พิมพค์ รัง้ ที่ 20). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สานักพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ทศั นีย์ ประธาน. (2548). รายงานการวจิ ยั เรอ่ื งปฏิสัมพันธ์ระหว่างครกู บั ผู้เรียนในเขตภมู ิศาสตร์ ภาคใต้. สงขลา: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา.

283 ธญั ญภัสร์ ศิรธชั นราโรจน์. (2559). จติ วิทยากับการพฒั นาตน. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . พรรณี ช. เจนจิต. (2550). จติ วิทยาการเรียนการสอน. นนทบรุ ี: สานักพิมพ์ศนู ยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบศุ ย.์ (2549). มนษุ ยสัมพันธ.์ (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 5). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์แห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. พรเพ็ญ สวุ รรณเดชา. (2533). “ปฏิสัมพนั ธ์ทางวาจากับการเรยี นการสอน”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์. 3(15). 13-16. พระธรรมปิฎก (ป.ป.ปยตุ โต). (2540). จะพัฒนาคนกันได้อย่างไร: พทุ ธศาสนากบั การพัฒนามนษุ ย.์ (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 6). กรงุ เทพฯ: มูลนิธิพทุ ธธรรม. พัชรนิ ทร์ พูลเพช็ รพันธุ์. (2545). เอกสารประกอบการสอนรายวิชามนษุ ยสัมพันธ์สาหรับครู. เพชรบรุ ี: คณะครศุ าสตร์ สถาบันราชภัฏเพชรบุร.ี พิชยั ศรศี สลกั ษ์. (2545). แนวทางพัฒนาการเรียนการสอนของโรงเรยี นประถมศึกษาให้ได้เกณฑ์ มาตรฐาน. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต.์ (2544). แนวคิดและตวั บ่งช้ขี องการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ สู่แผนการสอน. ในพมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ (บก.) การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ: แนวคิด วิธีการและเทคนิคการสอน 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเมน้ ท์ จากดั . เพญ็ นภา สังขส์ วุ รรณ. (2547). การพฒั นาแบบทดสอบวัดคุณธรรมดา้ นมนษุ ยสมั พนั ธข์ องนกั เรียน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสงั กัดสานกั งานการประถมศกึ ษา จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี. วิทยานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ สาขาการวัดผลการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ทักษิณ. รัญจวน คาวชิรพิทักษ์. (2538). จิตวิทยาการสือ่ สารในช้ันเรยี น. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. รัตตกิ รณ์ จงวศิ าล. (2554). มนษุ ยสัมพันธ:์ พฤติกรรมมนุษยใ์ นองค์การ. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ระพนิ ทร์ โพธ์ศิ รี. (2552). หลกั และทฤษฎกี ารวัดและประเมินผลการเรยี นร้.ู อตุ รดติ ถ:์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์. ระมิด ฝา่ ยรยี ์. (2526). ความรู้เบ้อื งต้นทางการศึกษา. นครราชสีมา: สริ ิสุขการพมิ พ์.

284 ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ สถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบคุ ส์. ________. (2555). พจนานกุ รมศัพทศ์ กึ ษาศาสตรฉ์ บบั ราชบัณฑติ สถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. เรียม ศรีทอง. (2542). พฤตกิ รรมมนษุ ยก์ บั การพฒั นาตน: ศาสตรแ์ หง่ การพฒั นาชีวติ และสังคม. กรงุ เทพฯ: เสมาธรรม. ลดาวัลย์ พรอนันตชยั . (2548). ตวั แปรท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ทัศนคติต่อการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ของ นกั เรียนชว่ งช้ันที่ 2 ทม่ี ีพฤติกรรมไม่ตัง้ ใจเรียน โรงเรยี นวัดสร้อยทอง เขตบางซือ่ กรุงเทพมหานคร. ปรญิ ญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาจิตวทิ ยาการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. ลักขณา สริวัฒน์. (2556). มนุษยสมั พนั ธ์. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ วรรณี โสมประยูร. (2548). รูปแบบการสอนกับวธิ สี อน: ความสับสนในวงการศึกษา. ครุศาสตร์. 33(3): 1 – 9. มนี าคม – มถิ นุ ายน. วราภรณ์ ตระกูลสวัสด์ิ. (2549). จิตวทิ ยาการปรับตัว. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ ศูนยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ. วราภรณ์ ธนะสรุ ิยะเกยี รติ. (2552). “การวเิ คราะหร์ ะบบจติ มอดไหม้ในงานครู” วารสาร จิตพฤติกรรมศาสตร์. 6(1), 88-128. วงศน์ ภา ตยิ ะวานิช. (2548). พฤตกิ รรมมนุษย์กบั การพัฒนาตน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม. วารนิ ทร์ สายโอบเออื้ . (2542). การทดสอบทางจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏพระนคร. วิชัย ประสิทธ์วิ ฒุ ิเวชช. (2542). การพฒั นาหลกั สูตรทองถ่ิน. กรงุ เทพฯ: เลิฟแอนดลิพเพรส. วิชัย ธปู ทองและคณะ. (2554). พฤติกรรมมนษุ ย์กบั การพัฒนาตน. อุดรธานี: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี. วิภาพร มาพบสขุ . (2543). มนษุ ยสมั พันธ.์ กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยเู คชัน่ . วมิ ล เหมอื นคิด. (2543). มนษุ ยสมั พนั ธ.์ พิมพ์คร้ังท่ี 4. กรงุ เทพฯ: ศนู ยผ์ ลิตตาราเรียน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . วีระเดช เช้อื นาม. (2545). “การจดั การเรยี นการสอนโดยยึดผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลางคืออะไร”. วารสารวิชาการ. 5(2): 2-4; กมุ ภาพนั ธ์. วีระพรรณ จนั ทร์เหลอื ง. (2559). มนุษยสมั พนั ธ.์ กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์. วฒั นา พัชราวนิช. (2544). ประยกุ ตจ์ ิตวิทยาเพ่ือการเรียนร.ู้ กรุงเทพฯ: คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภฏั บา้ นสมเด็จ.

285 วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนคิ และกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญตามหลักสตู ร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ 2544. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก. ศศธิ ร ขนั ติธรางกลู . (2551). “การจัดการช้นั เรียนของครูมืออาชพี ”. วารสารครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภฏั เลย. 1(2), 2-19. ศศธิ ร เวยี งวะลยั . (2556). การจดั การเรยี นรู้ (Learning Management). กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ ศิริชยั กาญจนวาสี. (2539). การเรยี นรขู้ องผู้เรียนกับการวดั และประเมินผลการศกึ ษา. ใน เอกสาร การสอนชุดวชิ าจิตวิทยาและสงั คมวิทยาพื้นฐานเพ่ือการวัดและประเมินผลการศึกษา หน่วยที่ 1-7. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. ศริ มิ า สมั ฤทธิ์. (2532). เอกสารประกอบการสอนรายวิชามนุษยสัมพันธส์ าหรับครู. อุดรธานี: ภาควชิ าจติ วทิ ยาและการแนะแนว คณะครศุ าสตร์ วิทยาลยั ครอู ุดรธานี. สนธยา สวัสด.ิ์ (2549). เอกสารประกอบการสอนรายวิชามนุษยสมั พันธส์ าหรบั ครู. เชยี งใหม่: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่. สมคดิ บางโม. (2544). หลักบริหารการศึกษา. (พิมพค์ รั้งท่ี 4). กรงุ เทพฯ: สถาบันราชภฏั พระนคร. สมใจ เขียวสด. (2536). มนษุ ยสัมพนั ธ์สาหรบั ผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์พิศิษฐก์ ารพิมพ์. สมพร สทุ ัศนยี ์. (2544). การทดสอบทางจิตวทิ ยา. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ________. (2554). มนุษยสัมพนั ธ์. (พิมพค์ ร้ังที่ 10). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สมหวัง พธิ ิยานวุ ฒั น์. (2549). “ความร้พู นื้ ฐานสาหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา” ใน สมหวงั พธิ ยิ านุวฒั น์. บรรณาธิการ รวมบทความทางการประเมนิ โครงการ. หน้า 101 -121 พมิ พค์ ร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สันติ บญุ ภิรมย.์ (2557). การบริหารจัดการในห้องเรยี น Classroom Management. กรงุ เทพฯ: ทริปเพลิ้ เอด็ ดูเคชั่น. สุจิตรา พรมนชุ าธปิ . (2549). มนษุ ยสมั พันธ์. กรงุ เทพฯ: สวุ ีรยิ าสาสน.์ สุพัตรา ผลรตั นไพบูลย์. (2550). ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อพฤตกิ รรมการเรียนวิชาคณติ ศาสตรข์ องนักเรยี น ช่วงชน้ั ที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพ์ ทิ ยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี. ปริญญานพิ นธก์ ารศกึ ษา มหาบัณฑติ สาขาจติ วิทยาการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร. สภุ าณี ฝนทองมงคล. (2546). การศกึ ษาปัจจยัทม่ี ีอิทธพิ ลต่อคุณภาพชวี ิตการทางานของข้าราชการ ครสู ังกดกั รงุ เทพมหานครในสานกั งานเขตราษฎรบ์ ูรณะ. วิทยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี. สุมน อมรวิวฒั น์. (2533). สมบัตทิ พิ ยของการศึกษาไทย. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย.

286 สมุ าลี เกษรวนิชวฒั นา. (2548). ผลงานวชิ าการของสมุ าลี เกษรวนชิ วฒั นา. กรุงเทพฯ : โรงเรยี น สาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. สุรพล พะยอมแยม้ . (2548). จิตวิทยาสัมพนั ธภาพ. กาญจนบรุ ี: โรงพมิ พส์ หายพัฒนาการพมิ พ.์ สุรนิ ทร์ ธนโกไสย. (2538). มนุษยสัมพนั ธ.์ (พิมพค์ ร้งั ท่ี 5). กรงุ เทพฯ: ธนะการพมิ พ.์ สุวทิ ย์ มลู คา. (2544). เรียนรู้สคู่ รูมอื อาชพี . กรุงเทพฯ: ท.ี พี. พรน้ิ . เสนาะ ติเยาว์. (2530). การสอ่ื สารในองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ________. (2551). หลักการบรหิ าร. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2540). คมู่ ืออบรมครแู นวการใช้หลกั สตู ร ประถมศึกษา พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ. (2540). ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ . กรงุ เทพฯ: ไอเดยี สแควร.์ ________. (2543). แนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บริษทั พมิ พด์ ี จากดั . สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2531). ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง. กรงุ เทพฯ: ศรีเมอื งการพิมพ์. โสภณ พวงสุวรรณ. (2530). มนุษยสมั พนั ธ์สาหรับครูและผู้บรหิ าร. ราชบรุ ี: คณะครุศาสตร์ วทิ ยาลัยครูหมู่บ้านจอมบึง. หลยุ จาปาเทศ. (2533). จิทวทิ ยาสัมพนั ธ์. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2). กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . อนชุ า แกว้ หลวง. (2545). รายงานการวจิ ยั เรอ่ื งปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ ประสทิ ธิภาพการทางานเป็นทมี ของ อาจารย์สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ. เชียงใหม่: สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ. อัญชลี โพธิ์ทอง. (2551). การบรหิ ารการประชาสัมพนั ธแ์ ละความสัมพนั ธช์ มุ ชน. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. อาภรณ์ ใจเท่ียง. (2552). หลกั การสอน (ฉบับปรับปรุง). (พิมพ์ครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ อาภสั สรี ไชยคนุ า. (2542). การสอื่ ความหมายสาหรบั ครู. เชียงใหม่: คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏ เชียงใหม.่ อาพร เจนประภาพงศ์. (2528). ความสัมพนั ธ์ระหว่างสัมพันธภาพของครูประจาช้ันกับนกั เรียน สขุ ภาพจิตของนักเรยี นและผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 เขตกรุงเทพมหานคร. ปรญิ ญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑติ สาขาจิตวิทยาการแนะแนว บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมิตร.

287 Arends, R.I. (2009). Learning to teach. 8th ed. New York: McGraw-Hill. Anastasi, A. (1990). Psychological Testing. NJ: Prentice Hall. Barker, L.L. (1982). Communication in the Classroom. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall. Inc. Baron, R.A. & Byrne, D. (2000). Social Psychology. NJ: Allyn and Bascon. Bloom, B. (1956). Taxonomy of Educational Objectives. New York: McKay. Dubrin, A.T. (1981). Human Relations: A Job – Oriented Approach. Verginia and Winston. Ebel, R.L. (1990). Educational Measurement. Washington DC: American Council and Education. Flanders, N.A. (1970). Analyzing Teaching Behavior. Massachusett: Addison Wesley Publishing Company. Getzels, J. W., and Guba, E. G. (1974). “Social Behavior and Administrative Process”. School Review. 65(11), 423-441. Halloran, J. (1995). Applied Human Relation: An Organizational Approach. Englewood Clifts, N.J.: Prentice Hall. Hills, P.J. (1982). A dictionary of education. London: Routledge Kegan & Paul. Hough, J.B. & Duncan, J.K. (1970). Teaching description and analysis. London: Addison-Westlu. Kelly, H. & Thibaut, J.W. (1959). Psychology of Group. Minnesota: University of Minnesota. Koontz, H. & Weihrich, H. (1988). Management. New York: McGraw – Hill. Levine, M.W. and Shefner, J.M. (1981). Fundamentals of Sensation and Perception. Phillippines Addison-Wesley Pub. Com., Inc. Luchins, A.S. (1957). The order of presentation. Hovland: New Haven. Lussier, R.N. (2002). Human relations in organizations: Application and skill-building. 5th ed. Boston: McGraw-Hill. McGregor, D. (1960). The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill Book Company. Mehrens, W.A. & Lehmann, T.J. (1991). Measurement and Evaluation in Education and Psychology. (4th ed.). New York: Holt, Rinehart & Winston.

288 Miller, B.W. et al. (1983). Decision making: Case studies in business and industry, education and community relations. Minneapolis, Minnesota: Burgess Publishing Company. Moore, K.D. (1992). Classroom teaching skills. New York: McGraw-Hill. Pace, R.W. et al. (1979). Techniques for effective communication. Massachusetts: Addison-Wesley Publishing Company. Rosenfield, P., Lambert, N. M., & Black, A. (1985). Desk arrangement effects on pupil classroom behavior. Journal of Educational Psychology. 77(1), 101-108. Saylor, J.G. et al. (1981). Curriculum planning for better teaching and learning. 4th ed. New York: Rinehart. Schiffman, S.P, Kanuk, L.L. (2007). Consumer behavior. 9th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Smith, R., & Lynch, D. (2010). Rrthinking Teacher Education: Teacher Education in the Knowledge Age. Sydney: AACLM Press. Stufflebeam, D. (2001). Evaluation models. New direction for evaluation, 2001(89), 7 – 98.