Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Description: มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Search

Read the Text Version

มนุษยสมั พนั ธ์สำหรับครู สนุ ิสำ วงศ์อำรีย์ ปร.ด. (กำรวิจัยพฤติกรรมศำสตรป์ ระยุกต์) คณะครศุ ำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏอดุ รธำนี 2562

คำนำ ตำรำ เรื่อง มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู ใช้ในกำรเรียนกำรสอนรำยวิชำ มนุษยสัมพันธ์ สำหรับครู รหัส ED15201 ซ่ึงเป็นรำยวิชำชีพครูเลือก สำหรับนักศึกษำหลักสูตรครุศำสตรบัณฑิต ท้ังนี้เพ่ือช่วยให้นักศึกษำได้มีควำมรู้เร่ืองมนุษยสัมพันธ์เป็นอย่ำงดี อันจะเป็นประโยชน์ต่อ กำรประกอบอำชีพครูในภำยภำคหน้ำหลังจำกสำเร็จกำรศกึ ษำแล้ว นอกจำกนี้ยังมีประโยชน์สำหรับ นักกำรศึกษำ และผู้ที่มีควำมสนใจในวิชำมนุษยสมั พันธ์ด้วยเช่นกัน ซึ่งกำรจัดทำตำรำฉบับน้ี ผู้เขียน ได้ศึกษำคน้ ควำ้ จำกหนงั สือ ตำรำ ผลงำนวิจัย และจำกประสบกำรณ์ท่ีใช้ในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียน กำรสอน แลว้ นำมำเขียนเรียบเรยี งเพอื่ ใหน้ ักศึกษำได้นำไปใชป้ ระกอบกำรเรยี นกำรสอน สำหรับเน้ือหำของตำรำเล่มนี้มีทั้งหมด จำนวน 7 บท คือ ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ มนษุ ยสัมพันธส์ ำหรับครู หลักกำรและแนวคิดท่เี กี่ยวขอ้ งกบั มนษุ ยสัมพันธ์ กระบวนกำรและเทคนิค กำรสรำ้ งมนษุ ยสมั พันธ์ กำรสื่อสำรเพ่ือสร้ำงสัมพันธภำพสำหรบั ครู กำรตดิ ตอ่ สัมพนั ธ์ระหวำ่ งบคุ คล และมำรยำทสัมพันธ์ กำรประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครู และมนุษยสัมพันธ์ของครูกับกำรจัด กำรเรียนรู้ ขอขอบพระคุณเจ้ำของผลงำนทุกท่ำน ที่ผู้เขียนได้นำมำอ้ำงอิงไว้ในตำรำเล่มนี้ ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชำญและผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ให้คำแนะนำในกำรพัฒนำตำรำให้มีควำมสมบูรณ์ มำกข้ึนยิ่งข้นึ และขอขอบคุณผู้ท่ีมีสว่ นเก่ียวขอ้ งทช่ี ่วยให้ตำรำเล่มน้ีสำเร็จออกมำได้ ผู้เขียนหวังเป็น อย่ำงยิ่งว่ำตำรำเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจในวิชำมนุษยสัมพันธ์สำหรับครู และช่วยให้เกิด ควำมเข้ำใจในวิชำกำรแขนงน้ีเพ่ิมมำกขึ้น หำกมีสิ่งใดที่เป็นขอ้ เสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำและปรับปรุง ผู้เขยี นขอน้อมรบั ด้วยควำมยนิ ดแี ละเป็นพระคณุ อย่ำงยิง่ สนุ สิ ำ วงศอ์ ำรีย์ 28 กรกฎำคม 2562

สารบญั คำนำ........................................................................................................................................ หนา้ สำรบญั ..................................................................................................................................... สำรบญั ภำพ.............................................................................................................................. (ก) บทที่ 1 ควำมรเู้ บือ้ งต้นเกีย่ วกบั มนษุ ยสมั พนั ธ์สำหรบั ครู ........................................................ (ค) (ฐ) ควำมหมำยของมนุษยสมั พันธ์และมนุษยสัมพนั ธส์ ำหรบั ครู ...................................... 1 ควำมหมำยของมนุษยสมั พันธ์ .............................................................................. 1 ควำมหมำยของมนษุ ยสมั พันธ์สำหรบั ครู .............................................................. 1 2 ประวตั ิควำมเปน็ มำของมนุษยสัมพันธ์ ....................................................................... 4 ยคุ อุตสำหกรรม ................................................................................................... 4 ยุคกำรบริหำรเชิงวทิ ยำศำสตร์ ............................................................................. 5 ยคุ กำรบริหำรเชิงพฤตกิ รรม ................................................................................. 6 10 ขอบเขตและหวั เรือ่ งพ้ืนฐำนทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั มนษุ ยสัมพันธ์ .......................................... 10 ขอบเขตของมนษุ ยสมั พันธ์ .................................................................................. 10 หัวเรอ่ื งพื้นฐำนที่เกย่ี วข้องกบั มนษุ ยสัมพันธ์ ........................................................ 11 11 แนวทำงกำรศึกษำมนษุ ยสัมพนั ธ์ ............................................................................... 12 ศกึ ษำตำมแนวทฤษฎี ........................................................................................... 12 ศึกษำแนวปฏิบตั ิ .................................................................................................. 12 14 ควำมสำคญั ของมนุษยสมั พนั ธ์และมนุษยสัมพนั ธส์ ำหรับครู ...................................... 18 ควำมสำคญั ของมนุษยสมั พันธ์ ............................................................................. 18 ควำมสำคัญของมนษุ ยสัมพนั ธ์สำหรับครู ............................................................. 19 20 จดุ มงุ่ หมำยของมนษุ ยสัมพนั ธ์และมนุษยสัมพันธส์ ำหรบั ครู ...................................... 20 จดุ มุ่งหมำยของมนุษยสมั พันธ์ ............................................................................. 23 จดุ มุ่งหมำยของมนุษยสมั พันธ์สำหรบั ครู ............................................................. ขอบเขตของมนษุ ยสัมพนั ธ์สำหรบั ครู ........................................................................ มนุษยสมั พนั ธร์ ะหว่ำงครูกบั ผเู้ รยี น ...................................................................... มนษุ ยสัมพันธร์ ะหว่ำงครกู ับสถำนศกึ ษำ ..............................................................

(ง) สารบญั (ตอ่ ) มนษุ ยสัมพันธ์ระหวำ่ งครกู ับชุมชน ...................................................................... หนา้ ประโยชน์ของมนษุ ยสัมพนั ธ์และมนุษยสัมพนั ธส์ ำหรบั ครู ......................................... 24 ประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์ ................................................................................ 26 ประโยชน์ของมนุษยสมั พันธ์สำหรบั ครู ................................................................ 26 ประโยชนข์ องวชิ ำมนุษยสัมพันธ์ .......................................................................... 28 ลกั ษณะของบคุ คลท่มี ีมนุษยสัมพนั ธ์และมนษุ ยสมั พนั ธ์สำหรับครู ............................ 28 ลักษณะของบคุ คลท่มี ีมนษุ ยสมั พนั ธ์ .................................................................... 30 ลักษณะของบคุ คลท่ีมีมนษุ ยสมั พันธ์สำหรับครู .................................................... 30 บทสรุป ...................................................................................................................... 32 คำถำมทำ้ ยบท ........................................................................................................... 33 เอกสำรอ้ำงองิ ............................................................................................................ 35 บทท่ี 2 หลักกำรและแนวคิดท่ีเกีย่ วข้องกับมนษุ ยสมั พันธ์....................................................... 36 หลกั ปรัชญำพืน้ ฐำนของมนษุ ยสัมพันธ์ ...................................................................... 39 มนษุ ย์มศี ักด์ิศรแี ละคุณค่ำ ................................................................................... 39 มนุษย์ตอ้ งกำรกำรจูงใจ ....................................................................................... 39 มนุษย์มคี วำมแตกตำ่ งกนั ..................................................................................... 40 พฤติกรรมของมนษุ ย์เกิดขึน้ อยำ่ งมีสำเหตุ ........................................................... 40 มนษุ ย์ตอ้ งกำรเพอื่ น ............................................................................................. 41 มนุษย์มลี ักษณะเปน็ องค์รวม ............................................................................... 41 มนุษยเ์ ปน็ ผทู้ พ่ี ัฒนำได้ ......................................................................................... 41 หลกั กำรท่ีเก่ยี วข้องกับมนุษยสมั พันธ์ ........................................................................ 41 หลักวชิ ำจิตวิทยำ ................................................................................................. 42 หลกั วิชำวทิ ยำศำสตรแ์ ละกำรแพทย์ .................................................................... 42 หลกั วชิ ำจิตวทิ ยำวเิ ครำะห์ ................................................................................... 43 หลกั วชิ ำทำงสังคมวทิ ยำและมำนษุ ยวทิ ยำ ........................................................... 44 หลักปรชั ญำและหลักจรยิ ศำสตร์ ……………………………………………………………….. 44 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ งกับมนษุ ยสมั พันธ์ ........................................................................... 45 46

(จ) สารบญั (ตอ่ ) ทฤษฏคี วำมต้องกำรตำมลำดับขน้ั ของมำสโลว์ .................................................... หนา้ ทฤษฏคี วำมสมดุลของไฮเดอร์ ............................................................................. ทฤษฎกี ำรจงู ใจ .................................................................................................... 46 ปัจจยั ที่สง่ เสริมมนุษยสัมพันธ์ .................................................................................... 49 กำรกำหนดจุดประสงค์รว่ มกนั ............................................................................. 51 กำรปฏิบัติตำมรปู แบบของควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงกนั ............................................ 52 กำรเคำรพสิทธิส่วนบุคคล .................................................................................... 52 กำรส่อื สำรอยำ่ งมีประสิทธิภำพ ........................................................................... 52 กำรแสดงควำมเอือ้ อำทรหรอื ห่วงใยตอ่ กัน .......................................................... 52 ควำมจริงใจและควำมซื่อสตั ย์ .............................................................................. 53 องค์ประกอบของมนษุ ยสมั พนั ธ์ ................................................................................. 53 กำรมีควำมเข้ำใจตนเอง ....................................................................................... 53 กำรมคี วำมเข้ำใจบุคคลอ่ืน ................................................................................... 54 กำรยอมรับควำมแตกตำ่ งของบุคคล ................................................................... 54 กำรสร้ำงสังคมและสง่ิ แวดล้อมทด่ี ี ....................................................................... 54 กำรเข้ำใจตนเองและผอู้ นื่ .......................................................................................... 54 กำรรู้จักตัวตนของบุคคล ...................................................................................... 55 กำรเรียนรเู้ ก่ยี วกับตัวตน ...................................................................................... 56 กำรเขำ้ ใจตนเองและผู้อ่นื โดยใชห้ นำ้ ต่ำงหวั ใจ ..................................................... 56 กำรเขำ้ ใจตนเองและผูอ้ ่ืนโดยใช้กลไกของจติ ใจ ................................................... 58 กำรพัฒนำตนเองเพือ่ มนุษยสมั พันธ์ .......................................................................... 59 ข้อควรระวงั และขอ้ เสนอแนะในกำรสรำ้ งมนุษยสมั พันธ์ ........................................... 65 ข้อควรระวงั ในกำรสรำ้ งมนุษยสมั พันธ์ ................................................................ 70 ขอ้ เสนอแนะในกำรสรำ้ งมนษุ ยสมั พนั ธ์ ............................................................... 73 บทสรปุ ....................................................................................................................... 73 คำถำมท้ำยบท ........................................................................................................... 75 เอกสำรอ้ำงอิง ............................................................................................................ 75 77 78

(ฉ) สารบญั (ต่อ) บทที่ 3 กระบวนกำรและเทคนิคกำรสรำ้ งมนษุ ยสัมพันธ์......................................................... หน้า กระบวนกำรของมนุษยสมั พันธ์ ................................................................................. กำรรบั รูบ้ ุคคล ...................................................................................................... 79 ลกั ษณะของสง่ิ เรำ้ ................................................................................................ 79 กำรรวมลักษณะทไ่ี ด้จำกกำรรับรู้ ......................................................................... 80 ควำมรูส้ ึกประทบั ใจคร้งั แรก ................................................................................ 80 กระบวนกำรสร้ำงมนุษยสมั พนั ธ์ ............................................................................... 80 กำรศึกษำตนเองและผู้อ่นื .................................................................................... 81 กำรแก้ไขปรบั ปรงุ ตนเอง ...................................................................................... 82 ศึกษำสภำพวัฒนธรรม ประเพณี และสังคม ........................................................ 82 ศกึ ษำหลกั และวธิ ีกำรสรำ้ งมนษุ ยสัมพันธ์ ............................................................ 83 นำหลกั และวธิ กี ำรสรำ้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์ไปใชใ้ นชีวติ จริง ........................................ 83 แนวคดิ กำรสร้ำงมนุษยสมั พนั ธ์ ................................................................................. 83 หลกั กำรสรำ้ งมนุษยสัมพนั ธ์ทยี่ งั่ ยืน ..................................................................... 84 หลกั กำรสร้ำงมนุษยสัมพนั ธท์ ่ียึดปรชั ญำของขงจอื้ .............................................. 84 หลักกำรสรำ้ งมนุษยสมั พนั ธต์ ำมหลัก “กำรจูงใจ” .............................................. 84 หลกั กำรสรำ้ งมนษุ ยสัมพันธต์ ำมหลัก 85 “ตนเองมีควำมสุข ผู้อ่ืนมีควำมสุข และสงั คมมีประสทิ ธภิ ำพ” ............................ 86 หลกั กำรสร้ำงมนษุ ยสมั พันธต์ ำมหลกั “กำรมผี ลประโยชนร์ ่วมกนั ” .................... เทคนิคกำรสรำ้ งมนษุ ยสมั พันธ์ .................................................................................. 87 กำรสรำ้ งควำมสมั พนั ธ์กับบคุ คลและชุมชน ............................................................... 88 กำรสร้ำงควำมสมั พันธ์อนั ดกี ับบุคคล ................................................................... 88 กำรสรำ้ งสมั พันธภำพท่ดี รี ะหว่ำงบุคคลในชุมชน ................................................. 90 กำรพัฒนำสัมพนั ธภำพระหวำ่ งบุคคลในชมุ ชน .................................................... 90 กระบวนกำรมนษุ ยสัมพนั ธ์ในโรงเรยี น ...................................................................... 93 กำรสร้ำงมนุษยสัมพันธ์กับผู้เรียน .............................................................................. 97 102 103

(ช) สารบญั (ต่อ) กำรสร้ำงมนษุ ยสมั พันธ์กบั บุคลำกร .......................................................................... หนา้ กำรสรำ้ งควำมสมั พันธ์อันดกี บั ผบู้ งั คบั บญั ชำ ....................................................... กำรสรำ้ งควำมสมั พนั ธอ์ ันดกี บั เพือ่ นรว่ มงำน ....................................................... 106 กำรสร้ำงควำมสัมพนั ธ์อนั ดกี ับผู้ใตบ้ งั คับบัญชำ ................................................... 106 107 กำรสรำ้ งมนษุ ยสัมพนั ธก์ ับชมุ ชน .............................................................................. 107 บทสรุป....................................................................................................................... 108 คำถำมทำ้ ยบท ........................................................................................................... 109 เอกสำรอ้ำงองิ ............................................................................................................ 111 บทที่ 4 กำรสือ่ สำรเพ่อื สรำ้ งสัมพันธภำพสำหรบั ครู................................................................. 112 ควำมหมำยของกำรสือ่ สำร ........................................................................................ 115 ควำมสำคญั ของกำรสือ่ สำร ....................................................................................... 115 116 ควำมสำคัญของกำรสือ่ สำรทัว่ ไป ......................................................................... 116 ควำมสำคัญของกำรส่ือสำรสำหรบั ครู .................................................................. 117 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรสือ่ สำร ..................................................................................... 118 องคป์ ระกอบและกระบวนกำรสอ่ื สำร ……………………………………………………………… 120 องค์ประกอบของกำรสือ่ สำร ................................................................................ 120 กระบวนกำรส่อื สำร ............................................................................................. 121 ประเภทของกำรส่อื สำร ............................................................................................. 129 กำรจำแนกตำมจำนวนของผู้ส่ือสำร ..................................................................... 129 กำรจำแนกตำมภำษำ และสญั ลักษณ์ทแ่ี สดงออก ............................................... 130 กำรจำแนกตำมลกั ษณะกำรมีปฏสิ ัมพนั ธ์ ............................................................. 130 กำรส่ือสำรระหวำ่ งผเู้ รยี น ......................................................................................... 131 ลกั ษณะกำรส่อื สำรระหว่ำงผู้เรียน ....................................................................... 132 วธิ ีกำรส่ือสำรระหว่ำงผู้เรียนในชั้นเรยี น .............................................................. 132 ปญั หำกำรส่ือสำรระหว่ำงผู้เรียน .......................................................................... 135 กำรส่ือสำรภำยในสถำนศึกษำ ................................................................................... 136 ควำมสำคญั ของกำรสอื่ สำรภำยในสถำนศึกษำ .................................................... 136

(ซ) สารบญั (ต่อ) จดุ มงุ่ หมำยของกำรสอื่ สำรภำยในสถำนศึกษำ ..................................................... หนา้ ข่ำยงำนกำรสอ่ื สำรภำยในสถำนศกึ ษำ ................................................................. อปุ สรรคของกำรสื่อสำรในชนั้ เรยี น ........................................................................... 137 อปุ สรรคท่ีเกดิ จำกสิ่งรบกวนภำยนอก ................................................................. 138 อปุ สรรคที่เกดิ จำกสิ่งรบกวนภำยใน ..................................................................... 140 วธิ ีกำรสือ่ สำรเพ่ือสร้ำงสมั พันธภำพทดี่ สี ำหรับครู ..................................................... 141 กำรสร้ำงปฏิสมั พันธท์ ำงวำจำระหว่ำงครแู ละผู้เรียน ............................................ 142 ทักษะกำรส่อื สำรที่จำเป็นสำหรบั ครู .................................................................... 145 บทสรปุ ....................................................................................................................... 145 คำถำมทำ้ ยบท ........................................................................................................... 149 เอกสำรอำ้ งอิง ............................................................................................................ 155 บทที่ 5 กำรติดตอ่ สัมพนั ธร์ ะหวำ่ งบุคคลและมำรยำทสมั พันธ์ ................................................ 157 กำรวเิ ครำะห์กำรตดิ ตอ่ สมั พันธร์ ะหว่ำงบคุ คล ........................................................... 158 ประโยชนท์ ี่ได้รับจำกกำรศึกษำ TA ........................................................................... 161 กำรวิเครำะหโ์ ครงสรำ้ งของบคุ ลกิ ภำพ ...................................................................... 161 สภำวะควำมเปน็ เด็ก ............................................................................................ 162 สภำวะควำมเปน็ ผู้ใหญ่ ........................................................................................ 163 สภำวะควำมเปน็ พอ่ แม่ ........................................................................................ 164 รปู แบบของกำรส่อื สำร .............................................................................................. 166 กำรส่ือสำรแบบคล้อยตำมกัน .............................................................................. 166 กำรสอ่ื สำรแบบขดั แยง้ กนั .................................................................................... 170 กำรส่อื สำรแบบซ่อนเร้น ....................................................................................... 170 กำรวิเครำะห์ทศั นะชวี ิตหรอื จดุ ยนื แห่งชีวติ .............................................................. 171 ฉนั ดี – เธอดี (I’m O.K. – You’re O.K.) ……………………………………………………. 172 ฉันดี – เธอด้อย (I’m O.K. – You’re not O.K.) …………………………………………. 173 ฉันดอ้ ย – เธอดี (I’m not O.K. – You’re O.K.) ………………………………………… 173 ฉันดอ้ ย – เธอด้อย (I’m not O.K. – You’re not O.K.) ……………………………… 174 174 174

(ฌ) สารบญั (ตอ่ ) กำรเอำใจใส่ ............................................................................................................... หนา้ กำรเอำใจใส่ทำงบวก ............................................................................................ กำรเอำใจใสท่ ำงลบ .............................................................................................. 174 175 ตน้ แบบชวี ิต ............................................................................................................... 175 มำรยำทสัมพนั ธ์ ......................................................................................................... 176 178 กำรแนะนำ ........................................................................................................... 179 กำรเย่ียมเยยี น ...................................................................................................... 182 กำรแสดงควำมเคำรพ .......................................................................................... 187 มำรยำททวั่ ไปในชีวิตประจำวัน ............................................................................ 188 บทสรุป....................................................................................................................... 197 คำถำมท้ำยบท ........................................................................................................... 199 เอกสำรอ้ำงองิ ............................................................................................................ 200 บทท่ี 6 กำรประเมนิ ผลมนุษยสัมพันธ์ของครู ......................................................................... 201 ควำมหมำยของกำรวดั และประเมินผลมนษุ ยสัมพันธ์ ............................................... 201 ควำมหมำยของกำรวดั ......................................................................................... 201 ควำมหมำยของกำรประเมนิ ผล ............................................................................ 202 ควำมหมำยของกำรวดั ประเมินผลมนุษยสมั พนั ธ์ของครู ...................................... 202 ควำมสำคัญของกำรวดั ประเมินผลมนุษยสมั พนั ธ์ของครู ........................................... 203 ประโยชนข์ องกำรวดั ประเมนิ ผลมนษุ ยสมั พันธ์ของครู .............................................. 204 หลกั กำรวัดประเมนิ ผลมนุษยสมั พนั ธข์ องครู ............................................................. 204 วิธกี ำรวดั มนษุ ยสัมพนั ธ์ ............................................................................................. 206 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นกำรวดั ประเมนิ ผลมนษุ ยสมั พันธ์ ...................................................... 208 กำรสังเกต ............................................................................................................ 208 กำรสัมภำษณ์ ....................................................................................................... 213 กำรใช้แบบสอบถำม ............................................................................................ 215 กำรใชแ้ บบทดสอบ .............................................................................................. 216 กำรใช้แบบวัดทำงจติ วิทยำ .................................................................................. 216

(ญ) สารบญั (ตอ่ ) กำรทำสงั คมมติ ิ .................................................................................................... หนา้ คณุ ลกั ษณะกำรวดั ทำงจิตวิทยำ ................................................................................. 217 ควำมเทย่ี งของเครือ่ งมอื ...................................................................................... 218 ควำมตรงของเครอื่ งมอื ........................................................................................ 218 ตัวอยำ่ งแบบประเมนิ ผลมนุษยสมั พนั ธข์ องครู ........................................................... 220 ข้อควรระวงั ในกำรวดั ประเมนิ ผลมนุษยสัมพันธ์ ........................................................ 221 บทสรุป ...................................................................................................................... 230 คำถำมท้ำยบท ........................................................................................................... 231 เอกสำรอ้ำงองิ ............................................................................................................ 232 บทท่ี 7 มนุษยสมั พันธข์ องครกู ับกำรจดั กำรเรยี นรู้ ................................................................. 233 กำรจัดกำรเรียนรู้ ....................................................................................................... 235 ควำมหมำยของกำรจัดกำรเรียนรู้ ........................................................................ 235 ควำมสำคัญของกำรจดั กำรเรียนรู้ ........................................................................ 235 ลกั ษณะของกำรจดั กำรเรยี นรู้ .............................................................................. 237 องค์ประกอบของกำรจดั กำรเรียนรู้ ...................................................................... 237 ลักษณะกำรจัดกำรเรยี นรูทีด่ .ี ................................................................................ 238 กำรจัดกำรเรยี นร้ทู ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ................................................................... 239 ควำมหมำยของกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ .................................... 241 แนวคดิ ทส่ี ำคญั ในกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั ................................. 241 หลกั กำรทส่ี ำคัญของกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั ............................ 242 ลกั ษณะกำรจัดกจิ กรรมของกำรจดั กำรเรยี นรู้ทเี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ................. 244 ประโยชนข์ องกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ....................................... 246 กำรเรยี นรอู้ ยำ่ งมคี วำมสขุ ......................................................................................... 247 องค์ประกอบของกำรเรียนรอู้ ย่ำงมคี วำมสุข ........................................................ 248 รปู แบบกำรเรียนรอู้ ย่ำงมคี วำมสุข ....................................................................... 248 แนวทำงจัดกำรเรียนรู้เพื่อใหผ้ เู้ รียนเกิดกำรเรยี นรอู้ ย่ำงมีควำมสุข ...................... 250 ปัจจัยควำมสำเร็จในกำรจัดกำรเรยี นรู้ ....................................................................... 251 252

(ฎ) สารบญั (ต่อ) หนา้ รูปแบบกำรสอน ........................................................................................................... 253 ควำมหมำยของรปู แบบกำรสอน ............................................................................. 254 ควำมสำคญั ของรูปแบบกำรสอน ............................................................................ 255 รูปแบบกำรสอนกบั มนุษยสมั พนั ธ์สำหรบั ครู .......................................................... 256 กำรจัดบรรยำกำศในช้นั เรยี น ....................................................................................... 260 ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรจัดบรรยำกำศในช้นั เรยี น ............................... 261 จดุ มงุ่ หมำยของกำรจดั บรรยำกำศในช้ันเรยี น ......................................................... 261 บรรยำกำศท่พี ึงปรำรถนำในชนั้ เรยี น ...................................................................... 261 ประเภทของบรรยำกำศในชั้นเรียน ......................................................................... 263 บทสรุป ......................................................................................................................... 272 คำถำมทำ้ ยบท .............................................................................................................. 274 เอกสำรอ้ำงอิง ............................................................................................................ 275 บรรณำนุกรม ............................................................................................................................. 279

สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ 1.1 โรเบิรต์ โอเวน (Robert Owen) .............................................................................. 5 1.2 เฟรดเดอรกิ ดับบลวิ เทเลอร์ (Frederick W. Tayler) ............................................. 6 1.3 เอลตัน เมโย (Elton Mayo) ..................................................................................... 7 1.4 โฟตเลตต์ (Follett) .................................................................................................. 9 1.5 มนุษยสัมพนั ธ์ระหว่างครกู ับผูเ้ รยี น ........................................................................... 22 1.6 มนุษยสัมพนั ธร์ ะหวา่ งครูกับสถานศกึ ษา (เพื่อนร่วมงาน) ......................................... 24 1.7 มนษุ ยสมั พนั ธ์ระหวา่ งครูกับชุมชน ........................................................................... 25 1.8 ลักษณะของบคุ คลทีม่ มี นษุ ยสมั พนั ธ์ ......................................................................... 32 1.9 ลักษณะของครทู ่ีมีมนุษยสมั พนั ธ์ .............................................................................. 33 2.1 บคุ คลที่มีความเครียดอาจนาไปสแู่ นวโนม้ โรคจติ ประสาท ........................................ 44 2.2 แสดงลาดับความตอ้ งการของมาสโลว์ ...................................................................... 46 2.3 องค์ประกอบของมนุษยสัมพนั ธ์ ................................................................................ 55 2.4 ลกั ษณะของบุคคลโดยท่ัวไป ..................................................................................... 56 2.5 แผนภาพแสดงตวั ตนของบคุ คล ................................................................................ 57 2.6 หน้าต่างหวั ใจหรอื หน้าต่างโจฮาร่ี ............................................................................. 59 2.7 หนา้ ต่างหวั ใจเม่ือบุคคล 2 คนติดต่อเก่ียวขอ้ งกัน ..................................................... 61 2.8 หน้าต่างหัวใจเมอื่ บุคคลมคี วามสนิทสนมกนั ............................................................ 61 2.9 การขยายบริเวณเปิดเผย ........................................................................................... 62 2.10 แสดงหนา้ ตา่ งหัวใจผทู้ ไี่ ม่ยอมเปิดเผยตนเองและไม่ยอมรับฟังคาวิพากษว์ ิจารณ์ 63 จากผู้อนื่ .................................................................................................................... 2.11 แสดงหนา้ ตา่ งหวั ใจผู้ที่ยอมรับฟงั คาวพิ ากษว์ ิจารณจ์ ากผูอ้ ่นื แตไ่ มย่ อมเปิดเผย 63 64 ตนเอง ....................................................................................................................... 64 2.12 แสดงหน้าต่างหวั ใจผทู้ ่ไี มย่ อมรับฟงั คาวิพากษว์ จิ ารณ์จากผ้อู ืน่ แต่เป็นคนเปดิ เผย .. 86 2.13 แสดงหนา้ ตา่ งหัวใจผ้ทู ย่ี อมรบั คาวพิ ากษว์ จิ ารณ์จากผ้อู นื่ และเปิดเผยตนเอง ........... 103 3.1 แสดงหลักการสร้างมนษุ ยสมั พนั ธท์ ยี่ ึดปรชั ญาของขงจ้ือในเรื่องลิง 3 ตัว ................. 3.2 กระบวนการมนุษยสัมพนั ธใ์ นโรงเรียน ......................................................................

(ฑ) สารบญั ภาพ (ต่อ) ภาพที่ หนา้ 4.1 แสดงองค์ประกอบของการสื่อสาร ............................................................................... 121 4.2 แสดงข้ันตอนในกระบวนการสอื่ สาร ............................................................................ 122 4.3 แบบจาลองการสอื่ สารในช้ันเรียน ................................................................................ 124 4.4 การสื่อสารแบบทางเดยี ว ............................................................................................. 130 4.5 การสื่อสารแบบสองทาง ............................................................................................... 131 4.6 การสื่อสารแบบหลายทาง ............................................................................................ 131 4.7 การสอ่ื สารในกลุ่มแบบตวิ ............................................................................................ 133 4.8 การสื่อสารในกลมุ่ แบบผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง ................................................................ 134 4.9 การสื่อสารในกลมุ่ โดยมีปญั หาหรอื บทเรยี นเป็นศูนยก์ ลาง .......................................... 134 4.10 การส่อื สารในกลมุ่ โดยผเู้ รียนทุกคนมกี ารตดิ ต่อสอ่ื สารกนั โดยเสรี ............................... 135 4.11 ข่ายงานการส่ือสารแบบวงกลม .................................................................................... 138 4.12 ข่ายงานการส่อื สารแบบดาว ......................................................................................... 138 4.13 ข่ายงานการส่ือสารแบบเฉก ......................................................................................... 139 4.14 ขา่ ยงานการสื่อสารแบบลกู โซ่ ...................................................................................... 139 4.15 ข่ายงานการสอ่ื สารแบบตวั วาย .................................................................................... 140 4.16 ขา่ ยงานการสื่อสารแบบทกุ ชอ่ งทาง ............................................................................. 140 4.17 ภาพลวงตามูนเลอร์- ไลเออร์ ....................................................................................... 143 4.18 ภาพลวงตาจาสโทร ...................................................................................................... 144 4.19 การรับรู้ภาพและพ้ืน .................................................................................................... 145 4.20 ประเภทของปฏิสมั พนั ธ์ทางวาจาระหว่างครูและผู้เรียน .............................................. 146 5.1 แสดงสภาวะแหง่ ตนของบคุ คลหรอื บคุ ลิกภาพ ……………………………………………………. 169 5.2 (ก) แสดงลกั ษณะเด่นในสภาวะความเป็นเด็ก (ข) แสดงลักษณะเด่นในสภาวะความ เปน็ ผู้ใหญ่ และ (ค) แสดงลกั ษณะเดน่ ในสภาวะความเปน็ พอ่ แม่ …………………………… 169

บทที่ 1 ความร้เู บือ้ งตน้ เกีย่ วกบั มนุษยสมั พันธส์ าหรับครู ม นุ ษ ย สั ม พั น ธ์ ท่ี ดี เป็ น ทั้ ง ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ศิ ล ป์ ใน ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั บ บุ ค ค ล อื่ น อ ย่ า ง ร า บ รื่ น เปน็ ที่ยอมรบั ว่ามนุษยสมั พันธ์เกิดข้ึนจากการท่ีบุคคลพร้อมทจี่ ะศึกษาหาความรู้และนาไปประยุกต์ใช้ เน่ืองจากมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีไม่ไดเ้ กิดขน้ึ ตามธรรมชาติ ดังนั้น การที่บุคคลจะดาเนินชีวิตรว่ มกับผู้อื่น อย่างมีความสุข ทางานร่วมกนั ภายใต้ความสมั พนั ธ์อนั ดตี อ่ กนั ด้วยความจรงิ ใจ จงึ ต้องได้รับการปฏิบัติ ต่อตนเองและผู้อื่นในลักษณะของกัลยาณมิตร โดยเฉพาะครูนอกจากจะต้องการยอมรับแล้ว ครูยังต้องใช้มนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบัติหน้าที่อีกด้วย ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมพิ ลราชวรางกรู กติ ิสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีพระราชทานแก่บัณฑิต วทิ ยาลยั ครู เม่ือวันท่ี 4 มถิ ุนายน 2527 ความว่า “คุณสมบัติที่สำคัญสำหรับครู ผู้ปรำรถนำจะทำงำนให้ได้ดี มีควำมเจริญก้ำวหน้ำ มีเกียรติยศช่ือเสียง และมีมีฐำนะตำแหน่งอันมั่นคงถำวรน้ันมี 5 ประกำร คือ ควำมสำมำรถใน กำรแสดงควำมรู้ควำมคิดของตนเอง ควำมมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ควำมมีค่ำนิยมเหมำะสม ควำมมี วจิ ำรณญำณ และควำมมีวนิ ยั ” ครจู งึ ควรนอ้ มนาพระบรมราโชวาทมาปฏิบตั ิ โดยตระหนักถึงความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์ เป็นอย่างยง่ิ เพราะมนษุ ยสมั พันธจ์ ะเป็นปจั จัยทเี่ อื้อตอ่ การปฏบิ ตั ิหนา้ ทค่ี รู ความหมายของมนุษยสมั พนั ธ์และมนษุ ยสมั พันธส์ าหรับครู 1. ความหมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์ คาว่า “มนุษยสัมพันธ์” มาจากภาษาอังกฤษว่า Human Relations เป็นคาประสมที่ เกิดจากคา 2 คารวมกัน คือ มนุษย์ (Human) และสัมพันธ์ (Relations) โดยนักวิชาการและ นกั จิตวิทยาได้อธิบายความหมายของมนุษยสัมพนั ธ์ นาเสนอได้ดังนี้

2 พจนานุกรม ฉบับราชบัณ ฑิตสถาน พุทธศักราช 2542 (2546, น. 833) ได้ให้ ความหมายของคาว่ามนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธใ์ นทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่งก่อให้เกิด ความเข้าใจอนั ดตี อ่ กนั สมพร สุทศั นีย์ (2554, น. 3) สรุปความหมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์วา่ หมายถึง การตดิ ต่อ เกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคล เพื่อให้เกิดความรักใคร่ชอบพอ ความรว่ มมือร่วมใจในการทากิจกรรมให้ บรรลุเปา้ หมาย และการดาเนินชวี ติ ให้มีความราบร่ืน รัตติกรณ์ จงวิศาล (2554, น. 13) อธิบายว่า มนุษยสัมพันธ์ เป็นการศึกษาพฤติกรรม มนุษย์ในองค์กร และศึกษาปฏิสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มและองค์กร เพ่ือให้ทั้ง บุคคล กลมุ่ และองคก์ รบรรเุ ปา้ หมายร่วมกนั ลักขณา สริวัฒน์ (2556, น. 5) นาเสนอว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลกับบุคคลท่ีมีความเกี่ยวข้องผูกพันกันทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน เข้าใจกัน รักใคร่ กลมเกลียวต้องการชว่ ยเหลอื กัน ให้ความสนับสนนุ ด้วยความเต็มใจและจรงิ ใจต่อกัน ซ่งึ เป็นเป้าหมาย สาคญั ในอนั ท่จี ะช่วยเหลือ ป้องกนั ความขัดแย้ง ระแวงสงสัย ไมไ่ วว้ างใจกนั สง่ ผลใหบ้ ุคคลอยู่ร่วมกัน ในสงั คมได้อยา่ งเป็นสุข วีระพรรณ จันทรเ์ หลือง (2559, น. 5) สรุปความหมายของมนุษยสัมพันธ์ว่า หมายถึง ศิลปะในการที่มนุษย์ติดต่อเก่ียวข้องกันเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการก็ตาม ด้วยมารยาทท่ีดี มีมโนธรรม ดว้ ยศลิ ปะวธิ ที ท่ี าให้อยู่ร่วมกันด้วยสนั ติสุข รว่ มใจการดาเนนิ กจิ กรรมให้บรรลผุ ล ดูบริน (Dubrin, 1981, p. 4) กล่าวว่ามนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ศิลปะในการนาความรู้ เร่ืองพฤตกิ รรมมนุษย์มาใช้ในการติดต่อสมั พันธ์กัน เพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ทงั้ สว่ นตัวและสว่ นรวม เฮโลแรน (Halloran, 1995, p. 5) ให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ว่า หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่สามารถลดความขัดแย้ง และเสริมสร้างพฤติกรรมความสัมพันธ์อันดี ตอ่ กนั ระหว่างบุคคลและองคก์ ร จากความหมายข้างต้นสรปุ ได้ว่า มนุษยสมั พันธ์ หมายถึง การท่ีมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน รวมท้ังการสร้างความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ ด้วยวิธีการและการแสดงพฤติกรรมท่ี เหมาะสมตอ่ กัน เพือ่ ให้การปฏิบัตงิ านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลใหม้ นษุ ย์ดารงชีวติ อยู่ร่วมกัน อยา่ งมคี วามสุข 2. ความหมายของมนุษยสัมพันธส์ าหรบั ครู นกั วิชาการได้ให้ความหมายของมนษุ ยสัมพันธส์ าหรับครไู ว้ดงั น้ี ระมิด ฝ่ายรีย์ (2526, น. 8) ให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครูว่า หมายถึง ศาสตร์และศิลป์ในการเสรมิ สรา้ งความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครูกับบุคคลทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะอย่างย่ิง

3 เด็กนักเรียน บุคลากรในสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง เพ่ือให้ได้มาซึ่งความรักใคร่นับถือ ความรู้สึก นึกคิดท่ีดี ความร่วมมือช่วยเหลือกันอย่างเต็มอกเต็มใจ ด้วยความบริสุทธิ์และจริงใจต่อกัน เพ่ือความสามัคคี สาเร็จและเป็นปกึ แผน่ และความมนั่ คงของชาติ พัชรินทร์ พูลเพ็ชรพันธุ์ (2545, น. 4) กล่าวว่า มนุษยสัมพันธ์สาหรับครู หมายถึง การสร้างความสมั พนั ธอ์ ันดีของครูต่อนกั เรยี น ผปู้ กครอง เพอ่ื นครูด้วยกัน และบุคคลทวั่ ไปในโรงเรยี น และในชุมชน โดยมีการแสดงออกทางกายดี วาจาดี และใจดี ทาให้ได้รับความรักความศรัทธา ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจในการปฏิบัติงาน การเรียนการสอนย่อมจะได้ผลดี และมีความสุข ในการประกอบวชิ าชพี ครู ขนิษฐา สุวรรณฤกษ์ (2547, น. 14) ได้สรุปความหมายของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู ไว้ 3 ประการ ดงั นี้ 1. การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ความรัก ความศรัทธา ซึ่งกันและกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนการสอน การพัฒนาและ มคี วามสุขในการเรยี นรู้ 2. การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในสถานศึกษา เพ่ือความเข้าใจ ความรัก ความสามัคคี ความนบั ถอื และร่วมมอื กนั ทางานไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในชุมชน เพ่ือให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน เข้าใจกัน ชว่ ยเหลอื เอื้ออาทรต่อกัน ด้วยความเต็มใจอย่างเหมาะสม ท้ังในเร่อื งการศึกษาของนักเรียน กิจการ ของโรงเรียนและของชุมชน ชิราพร หนูฤทธิ์ (2548, น. 8) กล่าวถึง ความหมายของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครูว่า เป็นกระบวนการในการบูรณาการหลักการทางด้านทฤษฏีและเทคนิคการปฏิบัติมาใช้ในการติดต่อ และสร้างความสัมพันธ์อันดีในการปฏิบัติงานในหน้าท่ีครู ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายกลุ่ม เช่น ผเู้ รียน ผ้ปู กครอง เพอ่ื น ครู ผบู้ งั คับบญั ชา บุคลากรอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับกจิ กรรมโรงเรยี นทเี่ ปน็ ทัง้ บคุ คล ภายในและบุคคลภายนอก ตลอดจนชุมชนและผู้คนต่าง ๆ ในสังคมท่ีแวดล้อมโรงเรียน และวิถีชีวิต ความเป็นครู เพ่ือให้ครูมีคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่างท่ีดีของผู้เรียน ของบุคคลที่ เกี่ยวข้องและ ของสังคม ทาให้งานครูได้รับความร่วมมือร่วมใจและบรรลุเป้าหมายท้ังทางด้านประสิทธิผลและ ประสทิ ธภิ าพ และทาให้ครูดาเนินชวี ติ ได้อยา่ งมคี วามสขุ สนธยา สวัสด์ิ (2549, น. 21) กล่าวว่า มนุษยสัมพันธ์สาหรับครูเป็นการสร้างทักษะ การติดต่อสื่อสารให้กับครู เพื่อเป็นพื้นฐานความพร้อมในการทางาน บรรยากาศที่เป็นกัลยาณมิตร มงุ่ เน้นการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาใหม้ คี ุณภาพ โดยอาศยั ทฤษฏี หลักการ กระบวนการ และ เทคนิคในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ เพ่ือพัฒนาตนเองในการทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง ปกตสิ ขุ

4 จากการนาเสนอข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า มนุษยสัมพันธ์สาหรับครู หมายถึง พฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ของครูในเชิงสร้างสรรค์ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน เพื่อนครู ผู้บริหาร บคุ ลากรในสถานศึกษา ผ้ปู กครอง ชุมชน และผู้ท่ีมสี ่วนเก่ียวขอ้ งกับการจัดการศึกษาอย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ รู้จักยอมรับตนเองและผู้อื่น สามารถแสดงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม มีศิลปะ การสื่อสาร ปรับตวั อยู่รว่ มกับผ้อู ืน่ อย่างมีความสุข และมคี วามสุขในการประกอบวิชาชพี ครู ประวตั ิความเปน็ มาของมนษุ ยสัมพนั ธ์ เร่ิมแรกท่ีมีผู้ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์สัมพันธ์นั้น จะเก่ียวข้องกับการทางานในโรงงาน อุตสาหกรรมก่อน เพื่อศึกษาว่ามนุษย์มีวิธีการทางานร่วมกันอย่างไร มนุษยสัมพันธ์เก่ียวข้องกับ การทางานอยา่ งไรบา้ ง ซึ่งสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ยุค ดังน้ี (วมิ ล เหมือนคดิ , 2543, น. 3-6) 1. ยุคอุตสาหกรรม ยุคอุตสาหกรรม (The Emergence of Industrialism) เกิดข้ึนในประเทศอังกฤษ หลัง ค.ศ. 1750 มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ใช้เครื่องจักรแทนแรงงานคน การจ้างแรงงานคน ก็เพียงเพื่อควบคุมเครื่องจักรเท่าน้ัน ต่อมาอุตสาหกรรมในอังกฤษและยุโรปได้แพร่หลายไปยัง สหรัฐอเมรกิ า ความสนใจของเจ้าของกิจการในระยะแยกน้ันเน้นท่ีผลผลิต ไม่มีใครสนใจและเข้าใจ การบริหารงานบุคคล มกี ารควบคมุ แบบเข้มงวด คนงานต้องทางานหนัก ไม่มีเวลาพัก แม้จะเจ็บปว่ ย หรือประสบอุบัติเหตุก็ต้องทางาน ซ่ึงสภาพการทางานดังกล่าวไม่ก่อใหเ้ กิดมนุษยสัมพันธ์ ต่อมาได้มี การพยายามที่จะพัฒนาสภาพการทางาน โดยการจัดระบบองค์การและการผลิตให้ดี ซ่ึงช่วยให้ได้ ผลผลิตมากข้ึนและช่วยให้คนงามมีเวลาพัก มีอิสระในการทางาน ทาให้คนงามีความพอใจ ในการทางานมากข้ึน ใน ค.ศ. 1800 โรเบิร์ต โอเวน (Robert Owen) ซึ่งเป็นเจ้าของโรงงาน ชาวอังกฤษ เป็นบุคคลแรกท่ีเน้นเร่ืองความต้องการขั้นพ้ืนฐานของคนงาน เขาปฏิเสธที่จะรับเด็ก เข้าทางาน และเชื่อว่าความสะอาด สภาพการทางานท่ีเหมาะสม มีความสัมพันธ์กับการทางาน เขาจึงได้สอนให้คนงานรักษาความสะอาด จัดสถานที่ทางานให้สะอาดและปรับปรุงสภาพการทางาน ให้ดีขน้ึ ซ่งึ การกระทาดังกล่าวพอจะนบั ได้ว่าเปน็ จุดเร่มิ ตน้ ของมนุษยสัมพันธ์ (Davis, 1972 อา้ งถึงใน สมใจ เขียวสด, 2536, น. 26)

5 ภาพท่ี 1.1 โรเบริ ์ต โอเวน (Robert Owen) ทม่ี า: http://siamfishing.com/m/content/m.view ตอ่ มา แอนดรู เออร์ (Andrew Ure) ได้เขียนหนังสือ Philosophy of Manufactures ใน ค.ศ. 1835 ซ่ึงกล่าวถึงองค์ประกอบสาคัญของธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตว่ามี 3 อย่าง คือ เครื่องจักร (Machanical) การค้า (Commercial) และมนุษย์ (Human) เขาได้ให้ความสาคัญเร่ือง มนุษย์มากเป็นพเิ ศษ เช่น การจัดให้มีการหยุดพัก การให้บริการด้านการแพทย์ การติดพัดลมระบาย อากาศในทีท่ างาน เมื่อเจ็บปว่ ยกจ็ ่ายค่ารกั ษาพยาบาลให้ เปน็ ตน้ 2. ยุคการบริหารเชงิ วิทยาศาสตร์ ยุคการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้บริหารเชิงวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นวิศวกร ซ่ึงจะใช้ความรู้ ความชานาญทางเคร่ืองจักรกลท่ีมีอยู่มาใช้ในโรงงานและในระบบอุตสาหกรรม โดยสนใจคนที่ เหมาะสมท่ีสุด เพ่ือทางานให้ได้ผลผลิตมากที่สุด ผู้ท่ีมีช่ือเสียงในด้านการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ ได้แก่ เฟรดเดอริก เทเลอร์ (Frederick Tayler) วศิ วกรชาวอเมริกัน ผู้ได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่ง การบริหารงานแบบวิทยาศาสตร์” (Father of Scientific Management) ใน ค.ศ. 1911 เทเลอร์ ได้ศึกษาค้นวิธีการทางานเพ่ือเพ่ิมผลผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม โดยให้ความสนใจกับระบบงาน เขาเช่ือว่าการทางานมีหลายวิธี แต่วิธีที่ดีท่ีสุดจะมีเพียงหนึ่งวิธี และวิธีที่ดีท่ีสุดนั้นได้มา โดยวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ กล่าวคือ ต้องมีการวิเคราะห์ สังเกต จับเวลา จดบันทึกพฤติกรรมท่าทางต่างๆ ในการทางาน และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการทางาน เช่น เลือกพล่ัวท่ีเหมาะกับมือ ค้อนท่ีมีขนาดและ น้าหนักพอดีเหมาะกับงานที่ทา เป็นต้น เทเลอร์ ศึกษาวิธีการทางานแต่ละอย่างท่ีทาให้ได้ผลงาน มากทส่ี ดุ เพ่ือเปน็ มาตรฐานในการทางาน เขาไดเ้ สนอระบบการทางานไว้ 5 ประการ คอื

6 1. ฝา่ ยจัดการควรใช้วธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือแสวงหาวิธีการทางานแต่ละอย่าง แล้วจัด ระเบียบการทางาน 2. วิเคราะห์รายละเอียดการทางานแต่ละอย่าง โดยการทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูลมา ต้ังเปน็ กฏเกณฑ์ 3. เคร่ืองมอื การทางานแต่ละอย่างตอ้ งมีมาตรฐานตายตวั 4. คนงานต้องได้รับการมอบหมายงานตามความถนัดและได้รับการฝึกอบรมการใช้ เครื่องมือ และวธิ ีการทางานท่ถี ูกต้อง 5. คนงานควรได้รับค่าตอบแทน สัมพันธ์กับปริมาณงานท่ีเขาทาได้ ไม่ควรจ่าย ค่าตอบแทนตามเวลาทีเ่ ขาทางาน แม้ว่าการเสนอระบบการทางานท้ัง 5 ประการของเทเลอรจ์ ะไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเน้นไป ที่คนโดยตรงก็ตาม แต่ผลของการศึกษาค้นคว้าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับคน โดยเทเลอร์เช่ือว่าคนจะ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Effectiveness) ต้องมีความถนัดในงานนั้น ต้องได้รับการฝึกอบรม เกยี่ วกบั การใชเ้ ครื่องมอื และวธิ กี ารทางานนน้ั ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ภาพท่ี 1.2 เฟรดเดอรกิ เทเลอร์ (Frederick Tayler) ทีม่ า: http://dgd-management.blogspot.com/2016/04/frederic-wtaylor.html 3. ยุคการบริหารเชงิ พฤตกิ รรม ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรม (Behavioral Management) ในระหว่าง ค.ศ. 1920 - 1930 เน้นการศึกษาธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม โดยวิธีมนุษยนิยม (Humanistic Approach) ผนู้ าทางดา้ นน้ีได้แก่ เอลตัน เมโย (Elton Mayo) ซ่ึงเป็นศาสตราจารย์ประจามหาวทิ ยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา และได้รับสมญานามว่าเป็น “บิดาแห่งมนุษยสัมพันธ์” (Father of Employee Human Relations) ในเวลาต่อมา การศึกษาที่ได้รับการยกย่องมากคือ การศึกษาฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies)

7 ภาพที่ 1.3 เอลตนั เมโย (Elton Mayo) ท่ีมา: http://colacooper.blogspot.com/2012/10/elton-mayo.html เมโยและคณะได้ศึกษาค้นคว้าทดลองท่ีโรงงานฮอว์ธอร์น ของบริษัท Western Electric Company ที่เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา ได้ทาการทดลองหลายครั้งในช่วง ค.ศ. 1927- 1932 เพ่ือศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อการทางาน ซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. การศึกษาในห้องทางาน (Room Studies) ได้ทดลองเก่ียวกับการให้แสงสว่าง เพ่ือหาข้อเท็จจริงว่า ความเข้มของแสงสว่างที่แตกต่างกัน มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือไม่ และต่อมาได้ทดลองเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงสภาพการทางานหลายวิธี เช่น การปรับอุณหภูมิใน ห้องทางานให้ต่าง ๆ กัน จัดให้มีเวลาหยดุ พักเป็นระยะ ๆ เปล่ียนแปลงการทางานไม่ให้ซ้าซากจาเจ เพิ่มค่าจ้างเพ่ือเป็นเครื่องจูงใจและเปลี่ยนวธิ ีการควบคุมงาน เป็นต้น ผลการทดลองดังกล่าวมีผลต่อ ความเปลี่ยนแปลงในการทางาน แต่ไม่มากนัก คณะผู้วิจัยสรุปว่าการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้ผลผลติ เพิ่มขน้ึ แต่อาจจะมีปัจจัยอ่ืน ๆ ท่มี ีผลตอ่ การทางาน อีกด้วย ดังน้ันจงึ ศึกษาเจตคติของคนงานตอ่ ไป 2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ (Interview Studies) เมโยและคณะได้สัมภาษณ์ คนงานของบริษัทจานวนมาก เพื่อศึกษาเจตคติของคนงานท่ีมีต่อผู้นิเทศงานและสภาพแวดล้อม ในการทางาน ผลการสัมภาษณ์ทาให้ผู้วจิ ัยเร่ิมเข้าใจว่า การทางานของแต่ละคน ตาแหน่งหน้าที่และ สถานภาพของบุคคลในองค์การถูกกาหนดขึ้นโดยสมาชิกกลุ่ม หรือบุคคลในกลุ่ม เพื่อให้เข้าใจ ถึงผลกระทบของเรอื่ งนอ้ี ยา่ งมีระบบ จงึ ศึกษาต่อไป โดยใช้การสงั เกต 3. การศึกษาโดยการสังเกต (Observational Studies) เมโยและคณะได้สังเกต พฤติกรรมของคนงานในห้องปฏิบัติการ เพ่ือศึกษากลุ่มท่ีไม่เป็นทางการ (Informal Group)

8 โดยบันทึกการสนทนาและปฏิสัมพันธ์ของคนงาน ผลปรากฏว่า คนงานในกลุ่มดังกล่าวได้กาหนด บรรทัดฐานในการผลิตกนั เอง ตามขอ้ ตกลงของกลุ่มและยงั พบวา่ พฤตกิ รรมของแตล่ ะคนในกลมุ่ จะถูก ครอบงาโดยบรรทัดฐานของกลุ่ม โดยคนงานแต่ละคนจะต้องสังเกตและปฏิบัติตามกฎของกลุ่มคือ ไม่ทางานมากหรือน้อยเกินไป และไมบ่ อกหัวหน้าในเร่ืองท่ีจะทาให้เพื่อร่วมงานเสียหาย จึงนับได้ว่า กลุ่มท่ีไม่เป็นทางการมีความสาคัญและมีอิทธิพลต่อผลสาเร็จของงานเป็นอย่างมาก ซ่ึงช้ีให้เห็นว่า มนุษย์มีความต้องการทางสังคม ผลจากการศึกษาทาให้ได้ข้อสรุปที่เกี่ยวกับระบบสังคม (Social System) หลายประการ คือ 1. คนเป็นปัจจัยสาคัญที่แตกต่างไปจากปัจจัยการผลิตอื่น ๆ เพราะคนมีชีวิตจิตใจ มีความรูส้ ึก ดงั น้ันการสรา้ งแรงจงู ใจและขวญั ในการทางานเป็นส่ิงสาคญั มาก 2. ปริมาณการผลิตของคนงานไม่ได้ข้ึนอยู่กับความสามารถทางกายภาพ (Physical Capacity) เพียงอย่างเดยี ว แตย่ งั ข้ึนอยู่กับความสามารถทางสังคม (Social Capacity) ด้วย 3. รางวัลทางจิตใจมีผลกระตุ้นต่อการทางาน และให้ความสุขในการทางานมากกว่า รางวัลท่เี ปน็ เงิน โดยเฉพาะพนกั งานระดับสูง 4. การแบง่ แยกการทางานตามลักษณะเฉพาะดา้ น (Specialization) ไม่ได้หมายความ ว่าจะก่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุดในการทางานเสมอไป 5. คนงานจะไม่มีปฏิกิริยาสนองต่อการจัดการ บรรทัดฐานทางสังคมหรือรางวัลใด ๆ เปน็ สว่ นบคุ คล แตจ่ ะตอบสนองในลักษณะทเ่ี ป็นสว่ นหน่งึ ของกลมุ่ 6. การเปล่ียนวิธีนิเทศคนงานอย่างไม่เคร่งเครียดนัก แต่จะใช้วิธีการสร้างบรรยากาศ ทเ่ี ป็นกันเอง ทาให้เกิดความคิดวา่ ทกุ คนเป็นเพื่อนร่วมงาน 7. คนงานมีความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ (Informal) บ้าง จะทาให้มีผลต่อ การปฏิบตั งิ าน เกิดความร่วมมอื เปน็ น้าหนงึ่ ใจเดียวกัน จากผลการศึกษาฮอวธ์ อร์น ชี้ให้เห็นว่า ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับคนงาน และ ความสัมพันธ์ระหว่างคนงานในกลุ่มท่ีไม่เป็นทางการนั้น มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานมาก ฉะนั้น ในการบริหารจึงต้องหาทางเข้าใจปัญหาเก่ียวกับตัวคนให้ดีที่สุด มองคนแต่ละคนในลักษณะรวม (A Whole Person) ซึ่งมีทั้งประสบการณ์ ทักษะความสามารถ ความสนใจ อารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการ ฯลฯ ถ้าคนงานได้รับการปฏิบัติท่ีดี เช่น การให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทางาน รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า เป็นสมาชิกคนสาคัญของกลุ่ม มีคนรับฟังความคิดเห็นของตน ให้อิสระ ในการทางาน สิ่งเหล่าน้ีจะช่วยให้คนงานมีความสุขกับการทางานและส่งผลให้เขาทางานได้ดีข้ึน ผลผลิตก็จะเพิ่มข้ึน ส่งผลให้องค์การและบุคคลบรรลุเป้าหมายร่วมกัน นับแต่น้ันได้มีผู้สนใจวชิ าการ ด้านมนุษยสมั พันธอ์ ย่างแพร่หลาย

9 นอกจากนี้ ส่วนหน่ึงของความสนใจของเมโยและคณะ เป็นผลมาจากแนวคิดและ หลักการท่ีเก่ียวกับมนุษยสัมพันธ์ของนักสังคมศาสตร์ชื่อ โฟตเลตต์ (Follett) ซ่ึงเคยเข้าไปทางาน ด้านสังคมสงเคราะห์ในชุมชน ทาให้เข้าใจพื้นฐานทางสังคมระดับต่างๆ เป็นอย่างดี จึงก่อให้เกิด แนวคดิ ว่าการทางานรว่ มกันให้เกดิ ผลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพนั้น ต้องอาศัยมนุษยสัมพันธ์เป็นตัวเช่อื มให้ เกิดสัมพันธภาพท่ีดีต่อกัน มีความเข้าใจซึ่งกันและกัน มีความสุขในการทางาน โฟตเลตต์ได้วาง หลักการมนุษยสัมพันธ์ในการบริหาร โดยเสนอแนวคิดว่าการทางานรวมกลุ่มกัน ต้องอาศัยหลัก จิตวิทยาเพ่ือรจู้ ิตใจของคนและให้มีความเห็นร่วมกัน ซง่ึ สิ่งเหลา่ นีเ้ ป็นความสามารถของผู้บริหารท่จี ะ รู้จักใช้แรงจูงใจในการส่ือสารและการประสานงานท่ีดีกับบุคลากร ผลการวิจัยของเมโยและคณะ ได้กลายเป็นพื้นฐานแนวคิดให้แก่นักศึกษาด้านการจัดการและการบริหารบุคลากรซ่ึงเป็นสาขาใหม่ จึงมีการศึกษาเรื่องมนุษยสัมพันธ์อย่างกว้างขวาง และในปี ค.ศ. 1946 ได้มีการเปิดสอน วิชามนุษยสัมพันธ์ขึ้นเป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1950 เป็นต้นไป มนุษยสัมพันธ์ก็แพร่หลายในทุกวงการ และถือว่ามันมนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญต่อการ บรหิ ารงานในองค์การ ภาพท่ี 1.4 โฟตเลตต์ (Follett) ทมี่ า: http://adisony.blogspot.com/2012/10/mary-parker-follett.html สาหรับในประเทศไทยนับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา สถาบันการศึกษาหลายแห่ง ได้เปิดสอนวิชามนุษยสัมพันธ์ รวมทั้งองค์การราชการและเอกชนได้เล็งเห็นความสาคัญของวิชา มนุษยสัมพันธ์ได้เปิดอบรมหลักสูตรระยะส้ันสาหรับบุคคลหรือหน่วยงานต่าง ๆ มากมาย ในส่วน ของรายวิชามนุษยสัมพันธ์สาหรับครูได้ถูกกาหนดไว้ในรายวิชาชีพครูของหลักสูตรวิทยาลัยครู สถาบัน ราชภฏั และมหาวิทยาลยั เรอ่ื ยมา

10 ขอบเขตและหัวเรอื่ งพ้ืนฐานทเ่ี กี่ยวข้องกบั มนุษยสมั พันธ์ 1. ขอบเขตของมนษุ ยสัมพันธ์ เน่ืองจากมนุษยสัมพันธ์เป็นวิชาที่ผสมผสานเนื้อหาในวิชาต่างๆ อย่างหลากหลาย ซึ่งเรียกว่าเป็นสหวิชา (Interdisciplinary) ดังน้ัน การที่จะเข้าใจมนุษย์อย่างถ่องแท้ จึงต้องเข้าใจ หลักวิชาต่างๆ ที่ศึกษาพฤติกรรมและความสัมพันธ์ของมนุษย์ วิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ จิตวิทยา สังคมวิทยา และมานุษยวทิ ยา ซ่งึ เรียกว่า “พฤติกรรมศาสตร์” นน่ั เอง มีรายละเอียดดงั นี้ 1.1 จิตวิทยา (Psychology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ในรูปแบบ ต่าง ๆ กัน รวมทั้งศึกษาสาเหตุท่ีทาให้มนุษย์มีความแตกต่างกัน ท้ังในเร่ืองสติปัญญา อารมณ์ ความต้องการ เจตคติ กระบวนการเรียนรู้ การรับรู้ แรงจูงใจ และบุคลิกภาพ ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญ ในการเข้าใจมนุษย์ เพื่อปรับตัวเข้าหากัน ดารงชีวิตร่วมกัน รวมท้ังการทางานร่วมกันกับผู้อ่ืนใน องค์การหรอื หนว่ ยงานอย่างมีความสุข 1.2 สังคมวิทยา (Sociology) เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมของสังคม มุ่งศึกษา ความสัมพันธ์ของมนุษย์ในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของกลุ่มทางสังคม ซ่ึงบุคคลแต่ละคนอาจเป็นสมาชิก ของกลุ่มทางสงั คมไดห้ ลายกลุ่ม และมพี ฤติกรรมแตกต่างออกไปตามตาแหน่งทางสังคมและบทบาทท่ี ตนดารงอยู่ในตาแหน่งนั้นๆ นอกจากนี้ยังศึกษาเก่ียวกับปัญหาท่ีเกิดขึ้นในสังคม ปฏิสัมพันธ์ของ บุคคลท้ังในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม ความร่วมมือกันของกลุ่มต่างๆ รวมท้ังสถาบันหรือองค์การท่ีมี อิทธพิ ลตอ่ สังคม เชน่ สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ศาสนา เปน็ ตน้ 1.3 มานษุ ยวทิ ยา (Anthropology) เปน็ วชิ าท่ีวา่ ดว้ ยเร่ืองของมนุษย์ โดยเน้นท่อี ทิ ธพิ ล ของวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ วัฒนธรรมจะเกี่ยวข้องกับสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ ซ่ึงได้แก่ ความคิด เจตคติ ค่านิยม ความเช่ือ กฎหมาย ประเพณี ฯลฯ ส่ิงเหล่าน้ีจะส่งผลต่อวิถีชีวิตของคน ในแต่ละสังคม นักมานุษวิทยาจะศึกษามนุษย์ใน 2 ลักษณะ คือ ศึกษามนุษย์เป็นส่วนรวม (As a Whole) พิจารณาถึงบุคคล กลุ่ม สถาบันและสังคม ส่วนการศึกษาอีกลักษณะหนึ่งก็คือ การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมมนุษย์ต่างวัฒนธรรมกัน เพ่ือให้ความรู้ถึงความแตกต่างของ มนุษย์ดว้ ย 2. หัวเรอ่ื งพนื้ ฐานท่ีเกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ ปัจจุบันหัวเร่ืองพ้ืนฐานที่เก่ียวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ โดยให้ความสาคัญในเนื้อหาวิชา 5 ประเดน็ ดว้ ยกนั ดังน้ี (วิมล เหมือนคิด, 2543, น. 9 และ พรรณทพิ ย์ ศิริวรรณบศุ ย,์ 2549, น. 3-4) 2.1 การพัฒนาศักยภาพของตน (Self Development) เป็นการศึกษาให้รู้จักตนเอง ตามศักยภาพให้ดีท่ีสุดท้ังทางร่างกาย จิตใจ และบุคลิกภาพ เพราะการรู้จักตนเองจะช่วยบุคคล

11 ค้นพบว่าตนเองมีข้อดี ข้อเสียอย่างไร อันจะนาไปสูก่ ารแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งและพฒั นาศกั ยภาพท่มี อี ยู่ให้ ดีท่ีสุดเพื่อให้ตนเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพของสังคม และเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืนและสังคมโดย ส่วนรวม และเพอ่ื การดารงชวี ิตอยใู่ นสังคมอยา่ งมคี วามสุข 2.2 ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง การปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย เพ่อื ให้งานนน้ั บรรลเุ ป้าหมายอย่างดีท่ีสุด การท่ีบุคคลจะรับผิดชอบสิ่งใด เขาตอ้ งเหน็ ความสาคัญของ สง่ิ นั้นกอ่ น ความรบั ผิดชอบมีหลายแบบ เชน่ ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ต่อหน้าที่การงาน ต่อสังคม และประเทศชาติ เป็นต้น ความรับผิดชอบเป็นเร่ืองสาคัญท่ีจะช่วยให้บุคคลเป็นท่ีรักใคร่ เชื่อถือ ไว้วางใจของผอู้ ืน่ โดยเฉพาะความรับผิดชอบต่อหน้าท่กี ารงาน 2.3 การติดต่อสื่อสาร (Communication) เป็นการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อเท็จจริง อารมณ์ความรู้สึก เพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน การสื่อสารทาให้เกิดการรวมกลุ่ม และเกิดความ เขา้ ใจทด่ี ีต่อกนั ในองคก์ ารถ้ามกี ารส่ือสารที่ดีจะทาใหร้ ะบบการทางานราบร่ืน เกิดความสมั พันธ์อันดี ในกลุ่มเกิดความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย ช่วยลดปัญหาอุปสรรคและความ ขดั แยง้ ในการทางาน 2.4 การจูงใจ (Motivation) เป็นการกระตุ้นให้บุคคลมีความโน้มเอียง เพื่อท่ีจะแสดง พฤติกรรมให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอยา่ งหน่ึง ได้แก่ การศึกษาการจูงใจตนเอง และการจูงใจผอู้ ่ืนให้ มีทัศนคติตรงกัน มีจุดหมายร่วมกัน เพ่ือจุดประสงค์ในการทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนถึงการจงู ใจตนเองให้มีระเบยี บและความรบั ผดิ ชอบ 2.5 การเห็นใจหรือเข้าใจความต้องการของผู้อ่ืน (Empathy) ได้แก่ การรู้จักเอาใจเขา มาใส่ใจเรา ศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล ตระหนักถึงปัญหาของแต่ละคนซ่ึงไม่เหมือนกัน ซ่งึ เป็นความสามารถทจี่ ะทาตวั ของเราใหร้ ู้สึกเหมือนอยู่ในสภาพของผู้อ่ืน เข้าใจความรู้สกึ และแสดง ความเหน็ ใจผอู้ ืน่ ทัง้ ในสภาพความทุกข์ทรมานความโศกเศร้าเสียใจหรอื มีความสขุ แนวทางการศกึ ษามนุษยสัมพนั ธ์ เน่ืองจากมนุษยสัมพันธ์เป็นวิชาที่เกยี่ วขอ้ งกับเน้ือหาของวชิ าตา่ งๆ ดังได้กลา่ วมาแล้ว เช่น สังคมวิทยา จิตวิทยา มานุษยวทิ ยา ซ่งึ ต้องอาศัยหลักทฤษฎใี นวชิ าต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในขณะเดียวกัน มนุษยสัมพันธ์ก็ต้องอาศัยความสามารถ ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล มาใช้ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ต่างๆ ซึ่งถือได้ว่าเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง ดังนั้น ในการศึกษามนุษยสัมพันธ์สามารถทาได้ 2 แนวทาง คือ 1. ศึกษาตามแนวทฤษฎี เป็นการศึกษาวิทยาการสาขาต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับมนุษย์ เช่น สังคมวิทยา จิตวิทยา มานุษยวิทยา การบริหาร เป็นต้น เพ่ือให้เข้าใจมนุษย์ในรูปแบบต่างๆ เช่น

12 ธรรมชาติของมนุษย์ อารมณ์ ความต้องการ ค่านิยม ตลอดจนศึกษาพฤติกรรมท้ังส่วนตัวและ พฤติกรรมทางสงั คม เพือ่ จะได้ทราบหลักวิชาในการปฏบิ ัติต่อกนั อยา่ งถูกต้อง 2. ศึกษาแนวปฏบิ ัติ เป็นการศกึ ษารปู แบบของสงั คม วฒั นธรรม ระเบียบวิธีการปฏิบัติต่อ กนั ในสังคม การทางานร่วมกัน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการสร้างความสัมพันธ์ใน กลุ่ม เป็นการนาหลักทฤษฎีมาปรับใช้ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ ซ่ึงข้ึนอยู่กับบุคคลแต่ละคนที่ ตอ้ งการใช้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนคิ ตา่ งๆ มาบูรณาการในการปฏิบตั ิต่อกัน จะเห็นไดว้ ่า มนุษยสมั พันธ์จดั เปน็ ท้ังศาสตรแ์ ละศิลป์ เน่อื งจากมีหลักการและทฤษฎที ี่เป็น ข้อความรู้ และการนาหลักการหรือทฤษฎีไปปฏิบัติให้ประสบความสาเร็จได้นั้น ต้องอาศัยเทคนิค วธิ กี ารซ่ึงถอื เป็นศิลปะเฉพาะตวั ของแตล่ ะบุคคล ความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์และมนษุ ยสมั พนั ธส์ าหรบั ครู 1. ความสาคญั ของมนุษยสมั พนั ธ์ มนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการใช้ชีวิตร่วมกันในสังคม ช่วยให้การคบหา สมาคมเป็นไปอย่างราบรื่น มีความเช่ือถือไว้วางใจกัน เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทางาน ทาให้ งานบรรลุเป้าหมาย บุคคลมีความพึงพอใจในงาน จะเห็นได้ว่าถ้าบุคคลมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ก็จะชว่ ยใหต้ นเองมีความสุข ผ้อู ่นื มคี วามสุข และสังคมส่วนรวมก็สงบสุข ดังที่ สมพร สุทัศนีย์ (2554, น. 15-18) กล่าวถงึ ความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์ ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 4 ดา้ น ดงั น้ี 1. ด้านการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม มนษุ ยสัมพันธม์ ีความสาคญั ต่อการดาเนนิ ชวี ิต ดังน้ี 1.1 มนุษยสัมพันธ์จะช่วยให้มนุษย์ไม่ว้าเหว่ โดยธรรมชาติมนุษย์ส่วนมากจะเกิด ความเงียบเหงาและว้าเหว่เม่ืออยคู่ นเดยี ว และไม่อาจทนต่อความเหงาได้นาน มนุษย์จึงต้องหาเพ่ือน หรือกลมุ่ คนไวเ้ ป็นเพ่อื นคลายความเงียบเหงา มนุษยจ์ ึงต้องสร้างความสมั พนั ธ์กนั 1.2 มนุษยสัมพันธ์ทาให้มนุษย์ได้รับความช่วยเหลือ และได้รับความสาเร็จ ซ่ึงความสาเร็จเป็นยอดปรารถนาของมนุษย์ เพราะความสาเร็จย่อมนามาซ่ึงความสุข ดังได้กล่าว มาแล้วว่าการสรา้ งมนษุ ยสัมพันธ์เป็นการตดิ ตอ่ สัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คล เพื่อให้เกิดความรักใคร่ เช่ือถือ ศรัทธา ที่นาไปสู่ความร่วมมือร่วมใจในการทางาน เพื่อให้เกิดความสาเร็จ มนุษยสัมพันธ์จึงมี ความสาคัญตอ่ ความสาเร็จของมนษุ ยเ์ ปน็ อยา่ งมาก 1.3 มนุษยสัมพันธ์ช่วยให้มนุษย์มีความมั่นคงปลอดภัย มนุษย์มีความต้องการ ความมั่นคงปลอดภัยท้ังด้านร่างกายและจิตใจเป็นพ้ืนฐานสาคัญ มนุษยสัมพันธ์จะช่วยสนองความ ต้องการดังกล่าวได้ เพราะการมีมนษุ ยสมั พันธท์ ี่ดีต่อกัน ย่อมทาใหเ้ กิดการช่วยเหลือ ปกป้องคุม้ ครอง ใหแ้ ก่กัน

13 1.4 มนุษย์สัมพันธ์จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความรักและการยอมรับ เม่ือมนุษย์ ต้องการให้คนอ่ืนรักและยอมรับตน เขาก็จะสร้างความสัมพันธ์โดยการให้ความรักและการยอมรับ ผู้อนื่ ก่อน ดงั โคลงสีส่ ุภาพบทหนง่ึ ที่ว่า “ให้ท่านทา่ นจักให้ ตอบสนอง นบทา่ นท่านจกั ปอง นอบไหว้ รักทา่ นทา่ นควรครอง ความรกั เรานา สามสงิ่ นี้เว้นไว้ แด่ผู้ทรชน” 1.5 มนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญต่อคุณภาพชีวิต ชีวิตท่ีมีคุณภาพ คือ ชีวิตท่ีดีมี ความสขุ มนุษยสัมพันธ์ย่อมทาให้บรรลุเป้าหมายได้ เพราะจุดมุ่งหมายสุดท้ายของมนุษย์สัมพันธ์ คือ การทาใหต้ นเองมีความสขุ ผู้อ่ืนมคี วามสุข และสังคมมีคณุ ภาพ 2. ด้านการบริหารงานในองค์การ นอกจากจะนามนุษยสัมพันธ์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ในครอบครวั ในหมู่เพือ่ นฝงู ซึ่งนบั ไดว้ ่าเปน็ ความสัมพนั ธ์แบบไม่เป็นทางการแลว้ ยังสามารถปรับเป็น ความสัมพันธ์แบบเป็นทางการใช้ในองค์การต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางทุกองค์การ เช่น องค์การธุรกิจ เอกชน องค์การรัฐบาล หรือองค์การอื่นๆ ที่มีบุคคลทางานร่วมกันเพื่อความสาเร็จขององค์การ ผบู้ ริหารยอ่ มตระหนักดกี วา่ มนุษยสมั พันธเ์ ป็นปจั จัยสาคัญอันดับแรกที่สง่ ผลต่อความสาเร็จของงานที่ ตนรบั ผิดชอบ โดยเฉพาะการสร้างความสมั พันธ์กับพนักงานในองคก์ าร 3. ด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ เมื่อสังคมเปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม จึงทาให้เกิดการแข่งขันขึ้น การแข่งขันทาให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจท่ีจะซ้ือ สินค้าและบริการ การจะโน้มน้าวจิตใจผู้บริโภคน้ันมิใช่อยู่ที่คุณภาพสินค้าและราคาย่อมเยาเท่านั้น หากแต่เป็นการรู้จักปฏิบัติตามหลักของมนุษยสัมพันธ์ เช่น รู้จักยกย่อง ให้เกียรติ ชมเชย ให้บริการ ที่ดี เอาใจผู้บริโภค เป็นต้น ส่ิงเหล่านี้ล้วนเป็นการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ทั้งส้ิน เจ้าของธุรกิจผู้ใดที่มี มนษุ ยสัมพนั ธด์ กี ับผู้บรโิ ภคย่อมจะเป็นผชู้ นะในการแขง่ ขนั ธรุ กจิ เจรญิ ก้าวหน้า เศรษฐกจิ กจ็ ะดีขึ้น 4. ด้านการเมือง ผู้นาทางการเมืองย่อมต้องมีมนุษยสัมพันธ์กับสมาชิกในคณะรัฐบาล ของตนเพ่ือความอยู่รอด เพ่ือความม่ันคงของตนเองและพรรคการเมืองหรือคณะรัฐบาล หากผู้นา ทางการเมืองมีมนุษยสัมพันธ์ดีต่อกัน ทาให้ทุกคนมีความสุขและบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะรฐั บาลจะมคี วามม่ันคง รวมถงึ ความสัมพันธ์อนั ดีระหวา่ งผนู้ ารฐั บาลกบั ราษฎรอีกด้วย นอกจากน้ี วราภรณ์ ตระกูลสวัสด์ิ (2549, น. 89) ได้นาเสนอความสาคัญของ มนุษยสัมพนั ธไ์ ว้ 4 ประการ ดังนี้ 1. มนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญตอ่ การดาเนินชีวิต มนุษยสัมพันธ์ชว่ ยให้การติดต่อของ มนุษย์เป็นไปในลักษณะที่ดีต่อกัน ทาให้เกิดความพอใจ รักใคร่ ศรัทธา สามัคคีและนาไปสู่ความ ชว่ ยเหลือเกอื้ กูลกนั การรว่ มมอื รว่ มใจในการทางานร่วมกนั อย่างดีและมคี วามสุข

14 2. คุณภาพชีวิตทั้งระดับบุคคลและระดับสังคม บุคคลที่มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีจะกระทา สงิ่ ใดมักจะประสบความสาเรจ็ ดงั ที่หวังและตอ้ งการ ส่งผลให้ชีวิตมีความสุขท้ังร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสังคม เมื่อบุคคลในสงั คมมีความสุขก็ย่อมจะนาความสุขมาสู่สังคม ความสุขของสงั คมจะเกดิ ขึ้น ได้สว่ นหน่ึงมาจากการที่บุคคลในสังคมต่างมีมนุษยสัมพันธท์ ีด่ ีตอ่ กัน โดยการร่วมมือกนั ชว่ ยเหลือกัน มีความเห็นอกเห็นใจช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีเมตตากรุณา รู้จักช่วยเหลือ เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ มีความ ซื่อสัตย์ จริงใจต่อกัน การไม่ทาผิดศีลธรรม มีความอดทนอดกลั้นต่อกัน และใช้คาพูดที่ไพเราะ พดู ดีและทาดตี ่อกัน 3. มนษุ ยสัมพันธม์ คี วามสาคัญต่อการบริหารงาน การบริหารงานจะประสบผลสาเร็จได้ ย่อมต้องอาศัยหลักมนุษยสัมพันธ์ เป็นปัจจัยสาคัญอันดับแรกในการสร้างแรงจูงใจให้พนักงานใน องค์การมกี ารร่วมแรงร่วมใจกันทางาน โดยอาศัยหลักการมนษุ ยสัมพันธ์ ซึ่งจะส่งผลให้ “คนรกั คน” “คนรักงาน” และทาให้หน่วยงานมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ 4. มนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญต่อการสร้างมิตรและครองใจคน หลักการสาคัญ ประการหนง่ึ ในการสร้างมิตรและการครองใจคน คอื การมมี นษุ ยสัมพันธ์ตอ่ กัน ได้แก่ การมนี ้าใจต่อ กัน มีความซื่อสัตย์ รจู้ ักควบคุมอารมณ์ เจรจาไพเราะ รู้จักยกยอ่ งชมเชย เอ้ือเฟ้อื เผอื่ แผ่ชว่ ยเหลอื กัน และการพึ่งพาอาศยั ซึ่งกันและกันได้ หากปฏบิ ตั เิ ชน่ น้ไี ด้ย่อมจะสร้างมติ รและครองใจคนได้ สรปุ ได้ว่า มนษุ ยสมั พันธ์มคี วามสาคัญในการเรียนรู้วธิ ีที่จะเกี่ยวขอ้ งกบั สง่ิ แวดล้อมของ ตนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งข้นึ ความสัมพันธท์ างสังคมท่ีบคุ คลมตี ่อกันทาให้เกิดการเรียนรทู้ จ่ี ะสรา้ ง ความสัมพันธ์กับคนอ่นื ๆ ไดง้ ่ายขึ้น หรือสรา้ งความสัมพันธก์ บั บคุ คลอน่ื ได้อย่างดี และเปน็ พืน้ ฐานใน การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ กัน มนุษยสัมพันธ์อันดีที่มีต่อกันระหว่าง ผรู้ ่วมงานซึ่งมรี ะดับและฐานะในหนา้ ที่การงานแตกต่างกันท้ังสูงสุดและต่าสุด ตลอดจนการมีความรู้ ความเข้าใจในพฤติกรรมมนุษย์มีความสาคัญและจาเป็นต่อชีวิตประจาวัน เพราะจะช่วยให้เข้าใจ พฤติกรรมและแนวทางที่บุคคลปฏิบัติต่อกัน บุคคลเหล่านั้นมีความแตกต่างกันท้ังในด้านภูมิหลัง ประสบการณ์ ระบบเศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจนตาแหน่งหน้าท่กี ารงาน หรือแม้แต่คนที่มีภูมิหลัง ในด้านต่างๆ คล้ายกัน ความเข้าใจในพฤติกรรมของมนุษย์และมนุษยสัมพันธ์จะช่วยลดความรู้สึก ขัดแย้งท่ีมีต่อกัน ลดความคับข้องใจของตนเองและคนอ่ืน หรือความรู้สึกท่ีมีต่อคนอื่นในทางลบ เพิม่ ความร้สู ึกทดี่ ตี อ่ คนอื่นและรูจ้ ักปรบั ปรงุ ตนเอง 2. ความสาคัญของมนุษยสมั พันธ์สาหรบั ครู มนุษยสัมพันธ์สาหรับครู เป็นสงิ่ จาเป็นทคี่ รจู ะตอ้ งมีเน่ืองจากครูมีบทบาทที่ต้องปฏิบัติ หลายอย่าง ทั้งต่อตนเอง ต่อชุมชน ต่อสังคม และต่อศิษย์ท่ีต้องอบรมส่ังสอนให้ความรู้ เนื่องจากครู มไิ ดม้ ีหน้าท่ีอบรมส่งั สอนเฉพาะศิษย์ในสถานศึกษาเท่านน้ั ครูยังตอ้ งมีหน้าท่ีในการเป็นผู้นาทางด้าน

15 ศลี ธรรม จริยธรรม และค่านิยม พัฒนาสังคมและอื่นๆ ดังนั้น การท่ีครูมีมนุษยสัมพันธท์ ี่ดี จะมีส่วน ช่วยทาใหง้ านในบทบาทหน้าท่ขี องครปู ระสบความสาเร็จ ศิริมา สัมฤทธ์ิ (2532, น. 21-22) ได้กล่าวถึงความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู ไว้ดังนี้ 1. ช่วยในด้านการเรียนการสอน คือ ช่วยให้ครูได้รู้ถึงความต้องการ ความสนใจ ของผู้เรียนครูจะได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม นอกจากนี้ ยังทาให้ครูได้ใช้หลักของ มนษุ ยสมั พันธใ์ นการจูงใจใหผ้ ู้เรยี นสนใจ และมคี วามต้งั ใจเรยี นย่ิงขนึ้ 2. ช่วยในการบริหารงานในสถานศึกษา ในการบริหารงานในสถานศึกษาจะประสบ ผลสาเร็จก็ต้องอาศัยท้ังคนและระบบงาน แต่ส่ิงที่จะทาให้งานดาเนินไปเป็นระบบนั้นก็คือ บุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษา ถ้าผู้บริหารเป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี คณะครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีความสัมพันธ์ท่ีดตี ่อกนั ก็จะทาใหง้ านนน้ั ดาเนนิ ไปตามเปา้ หมายได้อยา่ งรวดเรว็ 3. ช่วยในการประสานงานระหว่างสถานศึกษากับผู้เรียน ถ้าสถานศึกษามี มนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีกับผู้เรียน มีความเข้าใจตอ่ กัน ชว่ ยกันคิด ช่วยกันแก้ปัญหาร่วมกัน ก็จะชว่ ยให้การ ดาเนนิ งานเก่ยี วกับกิจกรรมผเู้ รยี นประสบผลสาเร็จ ได้รับความรว่ มมอื จากผูเ้ รยี น 4. ช่วยในการประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง สถานศึกษากับผู้ปกครองย่อมต้อง ติดต่อกันตลอดเวลา เพ่ือรับทราบเก่ียวกับพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียน ท้ังระหว่างอยู่ใน สถานศึกษาและที่บ้าน ตลอดจนการร่วมมือช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา สถานศึกษาที่มีการสร้าง มนษุ ยสมั พันธ์กบั ผูป้ กครองด้วยดีอย่างสมา่ เสมอ กจ็ ะไดร้ บั ความรว่ มมอื จากผ้ปู กครองด้วยดีเชน่ กนั 5. ช่วยในการติดต่อขอความร่วมมือกับบุคลากรหรือหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา ได้แก่ หน่วยงานราชการในส่วนกลาง เช่นกระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานในท้องถ่ิน ได้แก่ จังหวัด อาเภอ นอกจากน้ี มูลนิธิและสถาบันตา่ งๆทั้งของเอกชนและรัฐบาล ก็มีส่วนท่ีจะช่วยสนับสนุน และ ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาได้ซึ่งการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานเหล่าน้ี จะดาเนิน ไปไดด้ ว้ ยดี และประสบผลสาเร็จก็ตอ้ งใชห้ ลักการของมนษุ ยส์ ัมพันธเ์ ขา้ ชว่ ยในการติดตอ่ ส่วน ขนิษฐา สุวรรณฤกษ์ (2547, น. 114-115) ได้กล่าวถึงความสาคัญของ มนุษยสมั พันธ์สาหรบั ครไู วด้ งั น้ี 1. ทาให้ครูมีความสุข มีเพื่อน ได้รับการยอมรับจากผู้อื่น และมีความรู้สึกท่ีดีต่อกัน พง่ึ พาอาศัยกนั ได้ด้วยความเต็มใจและเข้าใจกัน 2. ได้รับการตอบสนองท่ีดีจากบุคคลอ่ืนและสงั คม โดยให้ความสนใจในด้านการศึกษา และใหค้ วามร่วมมือในกจิ กรรมของสถานศึกษา 3. ได้รับการยอมรับ การไว้วางใจ ให้เกียรติเป็นสมาชิกในกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ซึ่งจะ ยดึ โยง ให้เกิดความสามัคคแี ละความมนั่ คงในสถานศึกษา

16 4. ไดร้ ับความร่วมมือร่วมใจในการดาเนินกิจการงาน ท้ังในส่วนตัวและการทางานเป็น กลมุ่ ให้สาเรจ็ ลุล่วงไปอย่างราบรื่น 5. ได้รับความร่วมมือในกิจกรรมกระบวนการเรียนการสอน และการพัฒนาผู้เรียนใน ดา้ นตา่ งๆ จากหน่วยงานในสถานศกึ ษา จากองคก์ รอื่นและชุมชน 6. ได้รับความรักความศรัทธาจากผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนไม่เบ่ือการเรียน ไว้วางใจ ให้ความร่วมมือในการพัฒนาการเรียนรู้ท้ังในชั้นเรียนและนอกช้ันเรียน รวมท้ังการเปลี่ยนแปลง บคุ ลิกภาพในทางท่ีพงึ ประสงค์ 7. ได้รบั ความศรัทธาจากชมุ ชน สถานศกึ ษา และเพ่มิ คณุ ภาพของสถานศกึ ษายิ่งขน้ึ รวมท้ัง บุญสม จันทร์เอ่ียม (2547, น. 50) ได้สรุปความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์ สาหรบั ครู ไว้ 5 ประการดงั น้ี 1. มนุษยสัมพันธ์ทาให้ครูได้รับความรักใคร่ เช่ือถือ ศรัทธาจากบุคคลอื่นๆ ท้ังในและ นอกสถานศกึ ษา 2. มนุษยสัมพันธ์ช่วยลดปัญหาความขดั แย้งในการทางานระหว่างครูกบั เพ่ือนครู และ ผ้บู งั คบั บญั ชาของครู 3. มนุษยสมั พนั ธช์ ่วยให้เกดิ ความราบรืน่ ในการมปี ฏิสัมพนั ธ์ระหว่างครกู ับผ้เู รยี น 4. มนุษยสัมพันธ์ช่วยให้ครูเข้าใจธรรมชาติและความต้องการที่เหมือนและแตกต่าง กนั ได้ และสอดคลอ้ งกับการจดั การเรียนร้ทู ยี่ ึดผู้เรยี นเปน็ สาคัญดว้ ย 5. มนุษยสัมพันธ์ช่วยให้ครูสร้างความสุข ความสมัครสมานสามัคคีในหมู่คณะ และ สร้างบรรยากาศทด่ี ีในชัน้ เรยี นใด้ นอกจากนี้ เจษฎา บุญมาโฮม (2555, น. 46) ได้สรุปความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์ สาหรบั ครูไว้ดงั น้ี 1. มนุษยสัมพันธ์ช่วยให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าท่ีหลัก 4 ประการ คือ การสอนและ การวิจัยการอบรมพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาตนและวิชาชีพ และร่วมกิจกรรมกับชุมชนและสังคมให้ ประสบความสาเร็จ 2. มนุษยสัมพันธ์จะช่วยให้ครูสามารถสร้างสัมพันธภาพกับผู้เรียน เพราะบุคลิกภาพ ของครูท่ีมีมนุษย์สัมพันธ์จะมีลักษณะจริงใจ อ่อนโยน และเข้าใจผู้อื่น เป็นเหตุให้เข้าถึงปัญหาและ ตัวตนของผู้เรียน อันที่จะช่วยเหลือแก้ไขและพัฒนาผู้เรียนให้เจริญงอกงามตามเจตนารมณ์แห่ง วชิ าชพี ครู 3. มนุษยสัมพันธ์จะช่วยให้ครูสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อันได้แก่ ผู้เรียน เพ่ือนครู บคุ ลากรในโรงเรียนและผู้ปกครอง ทาให้ลดความขัดแย้งในการปฏิบตั ิงาน ได้รับความร่วมมือในการ ปฏิบตั ิงาน

17 4. มนุษยสัมพันธจ์ ะช่วยให้ครู รู้จักเข้าใจตนเองและผูอ้ ่ืน จากหลักการ “ใจเขาใจเรา” ทาให้ปฏิบตั ติ นของตนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5. มนุษยสัมพันธ์จะช่วยให้ครูเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ ปัจจุบันการประเมินเพ่ือเล่ือน วิทยฐานะ หรือการประเมินเพ่ือเล่ือนเงินเดือน/ความดีความชอบก็จะกาหนดองค์ประกอบ ด้านมนุษยสัมพันธ์ไว้ในการประเมินด้วย นอกจากนี้ การมีมนุษย์สัมพันธ์ก็จะได้รับการยกย่องเชิดชู จากสงั คม 6. มนุษยสัมพันธ์จะช่วยให้ครูมีความสุขในการประกอบวิชาชีพ รักและศรทั ธาวิชาชีพ ครูเพิ่มขึ้น เนือ่ งจากเกิดความราบรน่ื และมีความสขุ ในการปฏบิ ัติงาน ทาให้อุทิศตนต่อการประกอบ วิชาชีพครู นามาซงึ่ การเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ จากการนาเสนอทัศนะข้างต้น จะเหน็ ได้วา่ มนุษยสัมพนั ธ์มีความสาคญั ต่อครูทง้ั ในด้าน การประกอบวิชาชีพและด้านการดาเนินชีวิต ดังน้ัน การที่ครูมีมนุษยสัมพันธ์จะเอ้ือต่อการประสบ ความสาเร็จและมีความสุขในการประกอบวิชาชีพครู นอกจากน้ีในงานวจิ ัยหลายเรื่องพบว่าปัจจัยที่ ส่งผลต่อความสาเร็จต่อการประกอบวชิ าชีพครู คือเรื่องของการมีมนุษยสัมพันธ์ของครู ดังจะเห็นได้ จากงานวิจัยต่อไปนี้ งานวิจัยของสุภาณี ฝนทองมงคล (2546) ศึกษาวิจัยพบว่า ตัวแปรสาคัญของการ ทางานและคณุ ภาพชวี ติ ของครู คือ การมมี นุษยสัมพนั ธ์กับเพอ่ื นรว่ มงาน งานวิจัยของดุจเดือน พันธุมนาวิน และอัมพร ม้าคะนอง (2547) พบว่า ครูที่มีความ สัมพันธฺที่ดีกับนักเรียนน้อย เป็นผู้ท่ีมีความเครียดในการทางานมากกว่าครูท่ีมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับ นกั เรียนมาก งานวิจัยของอนุชา แก้วหลวง (2545) ศึกษาวิจัยพบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพ การทางานของครูอาจารย์ คอื มนุษย์สัมพนั ธแ์ ละการทางานเป็นทีม งานวิจยั ของพชิ ัย ศรีศสลักษ์ (2545) ท่ีพบว่า การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพน้ันมี องค์ประกอบหลายประการ แต่มีประการหนึ่งท่ีสาคัญก็คือการจัดสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะครูต้อง เป็นกัลยาณมติ รกบั ผเู้ รียนและบุคคลอน่ื งานวิจัยของวราภรณ์ ธนะสุริยะเกียรติ (2552) พบว่า ครูท่ีมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ นักเรียนน้อย ได้รับการสนับสนุนจากหัวหน้าน้อย เป็นผู้ท่ีมีสภาวะจิตมอดไหม้ และเป็นผู้ที่มีความ พรอ้ มที่จะลาออกมากกว่าครทู ีม่ ีความสัมพนั ธ์ที่ดีกับนกั เรียนมาก ได้รับการสนับสนนุ จากหัวหน้ามาก มนุษยสัมพันธจ์ งึ มีความสาคญั ตอ่ ครู งานวิจัยของเกษม คาศรี (2554) ท่ีพบว่า ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ ข้าราชการครู สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ข้ึนอยู่กับความสาเร็จในงาน ความสัมพันธก์ บั เพอ่ื นรว่ มงานท่ีดี การไดร้ ับการยกย่อง และความก้าวหนา้ ในการปฏิบตั งิ าน

18 จะเหน็ ได้วา่ มนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญตอ่ การประกอบวชิ าชีพครูเปน็ อย่างมาก ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้ครูได้ตระหนักถึงความสาคญั และแสดงออกถงึ พฤตกิ รรมการมมี นษุ ยสมั พันธ์ท่ีดี จุดมงุ่ หมายของมนุษยสัมพนั ธ์และมนษุ ยสมั พนั ธส์ าหรบั ครู 1. จุดม่งุ หมายของมนุษยสัมพนั ธ์ มนุษยสัมพันธ์เริ่มต้ังแต่การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว ญาติ เพื่อนร่วมงาน และสังคม สาหรับจุดมงุ่ หมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์มดี ังนี้ วิมล เหมือนคิด (2543, น. 11) กลา่ วถึงจดุ มุ่งหมายที่สาคญั ของมนษุ ยสมั พันธม์ ดี งั นี้ 1. เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างมนุษย์ ก่อให้เกิดความราบร่ืนในการติดต่อ เกย่ี วขอ้ งกัน 2. เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเชื่อถอื ไวว้ างใจ มีความเข้าใจทด่ี ีต่อกัน 3. เพ่ือส่งเสรมิ และรกั ษาไวซ้ ่ึงสมั พนั ธภาพท่ดี ีตอ่ กัน 4. เพ่ือให้งานสาเรจ็ ลลุ ว่ ง และบรรลุตามวัตถุประสงคท์ ้ังของตนเองและสว่ นรวม 5. เพอ่ื ให้เกิดความรกั ความเหน็ อกเห็นใจซ่ึงกันและกัน ซ่ึงจะช่วยป้องกันความขดั แย้ง ความระแวงสงสัยไม่ไวว้ างใจ 6. เพ่ือใหเ้ กิดความสามัคคีในการทางานร่วมกนั 7. เพอ่ื การดารงชีวิตอยู่รว่ มกับผูอ้ น่ื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในส่วน สมพร สุทัศนีย์ (2554, น. 24) ได้สรุปจุดมุ่งหมายของมนุษยสัมพันธ์ไว้ 6 ประการ นาเสนอไดด้ ังนี้ 1. เพื่อให้รจู้ กั และเข้าใจตนเอง 2. เพื่อใหร้ จู้ ักและเขา้ ใจผู้อ่ืน 3. เพอ่ื ใหเ้ กิดความรักใคร่ เช่อื ถือ ศรทั ธา และไว้วางใจจากผอู้ ื่น 4. เพ่ือให้เกดิ ความรว่ มมอื ร่วมใจในการทางานไปสเู่ ป้าหมาย 5. เพ่อื ลดปัญหาความขดั แย้งในการทางานและการอยู่ร่วมกัน 6. เพอ่ื ให้ตนเองมีความสุข ผอู้ ื่นมคี วามสุข และสงั คมมีประสิทธภิ าพ นอกจากน้ี ชิษณุพงศ์ โคตรบัณฑิต (2554, น. 4) ได้เพ่มิ จุดมุ่งหมายของมนุษยสมั พันธ์ จากสมพร สุทศั นยี ์ อีก 6 ประการ ดังน้ี 1. ทาใหบ้ คุ คลที่เก่ียวข้องเกิดความเขา้ ใจซึง่ กันและกัน 2. ทาใหเ้ กดิ ความสามัคคใี นการทางานร่วมกนั 3. ทาให้บรรยากาศในการทางานราบรน่ื สามารถรว่ มกันทางานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

19 4. ทาให้เกิดความร้สู ึกเป็นพวกเดียวกนั 5. ทาใหก้ ารตดิ ตอ่ สอื่ สารสะดวกรวดเร็ว 6. ทาให้บรรลุวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายขององคก์ าร โดยไดท้ ัง้ ผลงานและความมนี า้ ใจ ของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน จากการนาเสนอขา้ งต้นสามารถสรปุ จุดมงุ่ หมายของมนุษยสัมพันธไ์ ด้ดังนี้ 1. เพื่อสร้างสมั พนั ธภาพเชงิ สร้างสรรค์ เพ่ือการอยู่ร่วมกนั ของคนในสงั คม 2. เพื่อทาให้บุคคลรสู้ กึ อบอ่นุ ปลอดภยั เปน็ มติ ร ไมร่ ูส้ กึ โดดเดี่ยว อ้างวา้ ง เกดิ แรงจูงใจในการดาเนนิ ชวี ิต 3. เพ่อื ให้การปฏิบัติหน้าที่กิจการงานต่างๆ สาเร็จลุล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความ ขดั แยง้ ตา่ งๆ 4. สร้างความรกั ใครก่ ลมเกลยี วในหม่คู ณะ เกดิ ความไวว้ างใจเชื่อถอื กัน 5. เพื่อพัฒนาตนเองในเชงิ สร้างสรรค์ เกดิ ความงอกงามในการดาเนินชีวิต ในการนาเสนอจุดมุ่งหมายของมนุษยสัมพันธ์ แสดงให้เห็นว่ามนุษยสัมพันธ์มี ความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตอย่างยิ่ง ดังนั้น บุคคลจึงควรตระหนักและใส่ใจถึงความสาคัญของ มนษุ ยสัมพันธ์ 2. จุดมงุ่ หมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์สาหรับครู จุดมุ่งหมายของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู สรุปได้ 4 ประการ ดังน้ี (สนธยา สวัสดิ์, 2549, น. 18-19) 2.1 การพัฒนาศกั ยภาพของตนเอง การพัฒนาศกั ยภาพของตนเอง ไดแ้ ก่ การศกึ ษาตนเองและการพัฒนาตนใหเ้ ปน็ ผู้ที่ มีคุณลักษณะเหมาะสมกับความเป็นครู มีความรับผิดชอบในการทางาน มีคุณธรรมจริยธรรม ความ เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี สามารถบริหารจัดการงานของตนเองและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีความสุข ครูต้องเป็นผู้ท่ีใฝ่รู้ หมั่นศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา เพราะสถานการณ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การรู้เท่าทันความรู้และสถานการณ์ โดยอาศัยความเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ จะช่วยให้ความเป็นครูมีความสมบูรณ์ มีบุคลิกภาพสง่างาม น่าเชอ่ื ถือ เปน็ ที่ยอมรับของบุคคลอ่ืน เกิดความรว่ มมอื และมกี ารประสานการทางานท่ีดี 2.2 การสรา้ งแรงจูงใจใหผ้ เู้ รียน การสรา้ งแรงจูงใจให้ผู้เรียน เป็นการกระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามกระตอื รอื รน้ หรอื เกิด แรงจงู ใจในการเรียนและการพัฒนาตนเอง การกระตุน้ ให้ผู้เรียนพดู คยุ แสดงความคิดเห็นร่วมกนั ขยัน อดทนต่อการเรียน มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี และเป็นผทู้ ่ีมีคุณธรรมจริยธรรมอย่างแท้จริง ถือเป็น

20 บทบาทหน้าที่ที่ครูต้องปฏิบัติ การสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงตนเองในทิศทางท่ี เหมาะสม อาจเป็นเร่ืองทีล่ ะเอียดอ่อน ต้องอาศัยความรแู้ ละหลักการปฏิบัติของมนุษยสัมพันธ์ให้ครู ได้เรียนรู้ มีทักษะ และเทคนิคในการจัดกิจกรรม ทาให้ครมู ีความม่ันใจในการปฏิบตั ิหน้าที่และภูมิใจ ในความสาเรจ็ ของงาน 2.3 การประสานงานและการติดตอ่ สือ่ สาร การประสานงานและการติดตอ่ สอื่ สาร เป็นกระบวนการทางานซง่ึ ตอ้ งอาศยั ทกั ษะ การวางแผน จัดระบบ ให้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันท้ังระบบ เทคนิคการพูด การฟัง การเจรจา ติดต่อส่ือสารถือเป็นเร่ืองสาคัญเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมและแรงจูงใจในการเรียน นอกจากนี้ ครูยังต้องพบปะพูดคุยกับผู้ปกครอง และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาสถานศึกษา การประสานงานซึ่งอาศัยความรู้และเทคนิคการเจรจา เพ่ือให้งานราบร่ืนและประสบผลสาเร็จ ครูต้องเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเอง เพื่อให้เป็นครูที่เก่งและทันสมัย เป็นท่ียอมรับของผู้เรียน ผู้ปกครอง และประชาชน โดยอาศัยหลักการและเทคนคิ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ 2.4 การพัฒนาทมี งานและความสมั พนั ธ์ การพัฒนาทมี งานและความสมั พันธ์ เป็นการทางานรว่ มกนั เป็นกลุ่ม อาศยั หลักการ ทางานที่ยึดมั่นในหลักการปฏิบัติและจุดประสงค์ร่วมกัน เพื่อให้งานบรรลุจุดมุ่งหมาย การสร้าง ทมี งานท่ดี ตี ้องอาศัยระบบการจัดการและการบรหิ ารงานท่ีมปี ระสิทธิภาพ มผี ู้นาทดี่ เี ป็นที่ยอมรับของ ทีมงาน มีความสามัคคี รับผิดชอบ รู้จักเสียสละเพ่ือให้งานบรรลุผล การสร้างทีมงานที่ดีจะช่วยให้ บรรยากาศการทางานเสมือนผู้ร่วมทุกข์ร่วมสุข มีความห่วงใยรักใคร่ซ่ึงกันและกัน ช่วยเหลือกัน และกัน และช่วยให้งานมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาควรจัดให้มีการพัฒนาทีมงาน เพื่อให้ระบบการ ทางานในสถานศึกษามีความสัมพนั ธเ์ ช่อื มโยงกนั และเกิดความร่วมมือกนั อยา่ งการทางานอย่างเตม็ ที่ ขอบเขตของมนษุ ยสมั พนั ธ์สาหรับครู ในการปฏิบัติงานของครูส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับบุคคล 3 ฝ่ายหลัก ได้แก่ ผู้เรียน สถานศึกษา และชุมชน ดังน้ันในท่ีนี้จะขอจาแนกขอบเขตของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครูออกเป็น 3 ประการ ดงั น้ี (ขนิษฐา สวุ รรณฤกษ์, 2547, น. 116-117) 1. มนษุ ยสมั พันธ์ระหว่างครูกับผ้เู รยี น ครูมีหน้าที่จัดการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้เปน็ คนดี คนเกง่ และมีความสุข

21 การเปน็ คนดี หมายถึง เป็นผู้มคี ุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ มีพฤติกรรมทแี่ สดงออกเป็นท่ี ยอมรับในสังคม คือ มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และความต้องการของตนเอง รจู้ ักเห็นใจ ผู้อ่นื และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสว่ นรวม การเป็นคนเก่ง หมายถึง การมีความสามารถในการรู้จักตนเอง การสร้างแรงจูงใจและ ขวัญกาลังใจให้กับตนเองได้ มีความมุง่ ม่ันท่ีจะไปให้ถึงเป้าหมาย มีความสามารถในการตัดสินใจและ แกป้ ญั หา มีความสามารถในการมสี มั พนั ธภาพกับผู้อ่นื การมีความสุข หมายถึง ความสามารถในการดารงชีวิตอยู่อย่างมีสุข มีความภูมิใจใน ตนเอง คือ เห็นคุณค่าและเชื่อมั่นในตนเอง มีความพึงพอใจในชีวิต คือ มองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ขัน และพอใจในส่ิงท่ีตนมีอยู่ และมีความสงบสุขสงบทางใจ คือ รู้จักผ่อนคลายมีกิจกรรมท่ีเสริมสร้าง ความสุข การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นรู้วัตถุประสงค์ดังกล่าว ครูต้องอาศัยความอดทน ความมี มนุษยสัมพันธ์ เพราะมนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมให้เป็นคนดี มีความสุข การสอนให้ผู้เรยี นเป็นคนดี มีความสุข โดยอาศัยหลักวิชาการทฤษฎีตา่ งๆ ให้เกิดการรับรู้ เทา่ นั้น ไม่อาจจะทาให้ผู้เรียนเป็นคนดี และมีความสุขได้ ส่ิงสาคญั ท่ีจะขัดเกลาหล่อหลอมซึมซับส่ิงท่ี ดีงามให้เกิดข้ึนในจิตใจ และเปล่ียนพฤติกรรมในทางท่ีดีงามคือ พฤติกรรมของครูและความมี มนุษยสัมพันธ์ของครูท่ีมีต่อผู้เรียน ด้วยความรัก ความเมตตา ความเสียสละ และความหวังดี ดว้ ยความจรงิ ใจ โดยครูจะต้องรจู้ กั และเข้าใจผู้เรยี นดว้ ย นอกจากนี้ ครูยังเป็นผู้สร้างมนุษยสัมพันธ์ให้เกิดข้ึนในชัน้ เรียน โดยครูต้องทาหน้าที่ท่ี รบั ผิดชอบให้ดีท่สี ดุ ตามสภาพความเปน็ จรงิ ซึ่งหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบของครนู ั้นมีมาก กลา่ วโดย สรุปดังนี้ 1. การสง่ั สอนและฝกึ ฝนวิทยาการตา่ งๆ ใหแ้ ก่ผู้เรียน หน้าท่ขี องครูในขอ้ น้ีนับวา่ สาคัญ ที่สุด เพราะเป็นหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง กล่าวคือ ครูต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัด การศึกษาเล่าเรียน โดยสอนผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนคิดเปน็ ทาเป็น และแกไ้ ขปัญหาเป็น สอนให้ผู้เรยี นเป็น คนท่ีมีความรู้ความสามารถ โดยนาเอาความรู้หรือวิทยาการต่างๆ ไปใช้ในการดารงชีวิตอย่างมี ความสขุ 2. การฝึกอบรมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงามต่างๆ ให้แก่ผู้เรยี น เป็นสิ่งที่ครู ทุกคนต้องกระทาควบคู่ไปกับการสอนวิทยาการต่างๆ ทุกวิชา หากครูมุ่งสอนแต่ความรู้โดยมิได้ ฝึกอบรมคุณ ธรรมจริยธรรม และค่านิยมต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน ผู้เรียนจะมีแต่ความรู้แต่ขาดคุณธรรม ซึ่งอาจส่งผลกระทบด้านลบตอ่ การดาเนินชีวิตอยู่ในสังคม 3. ปกครองดูแลทุกข์สุขของผู้เรียน เม่ือผู้เรยี นมาอยู่ท่ีสถานศึกษาจึงเป็นหน้าที่ของครู ที่จะดูแลเอาใจใสค่ วามทกุ ขส์ ุขของผเู้ รียนให้ทว่ั ถงึ อยา่ งสมา่ เสมอ วิธที ค่ี รสู ามารถทาไดม้ ีดังนี้

22 3.1 ดูแลห้ามปราบ ตักเตือน หรือลงโทษผู้เรียนที่มีนิสัยก้าวร้าว มิให้ทาความ เดอื ดรอ้ นให้แกเ่ พอื่ นนกั เรียนด้วย 3.2 การดูแลด้านอาหารการกิน น้าด่ืมน้าใช้สาหรับผู้เรียนให้ถูกสุขลักษณะและ อนามัยอยู่เสมอ 3.3 ดูแลรักษาพยาบาลผู้เรียน เมอ่ื ยามป่วยไข้หรอื ไดร้ บั อุบัตเิ หตุ 3.4 ช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดแคลนเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม อาหารกลางวัน อุปกรณ์ การเรยี น และหนังสือเรียน เปน็ ต้น 3.5 จัดกิจกรรมนันทนาการให้ผู้เรียนได้ผ่อนพักผ่อนหย่อนใจ หรือเสริมสร้าง สติปญั ญาตามความเหมาะสม 3.6 สอดส่องดูแล ห้ามปราม ตักเตือน หรือลงโทษผู้เรียนท่ีมีนิสัยชอบลักขโมย ของเพอื่ น 3.7 สง่ เสรมิ และประกาศเกยี รติคณุ แกผ่ ู้เรียนท่ีจะทาความดี จะเห็นได้มา ในการปกครองดูแลความทุกข์สุขของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องอาศัยการประสานสัมพนั ธ์ที่ดรี ะหวา่ งบา้ นกับสถานศกึ ษา หรอื ระหว่างครูกบั ผู้ปกครอง ภาพท่ี 1.5 มนุษยสมั พันธ์ระหว่างครกู บั ผู้เรยี น ทม่ี า: https://www.trueplookpanya.com/blog/content/71274

23 2. มนุษยสมั พนั ธ์ระหว่างครูกับสถานศกึ ษา บุคลากรในสถานศึกษาประกอบด้วยผู้บริหาร เพ่ือนครูผู้สอน ผู้สนับสนุนการศึกษา เจ้าหน้าที่ นักการภารโรง และนักเรียน บุคคลดังกล่าวมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน โดยเป็น ผู้บังคับบัญชา เป็นเพื่อนร่วมงาน เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์กันทั้งใน ด้านส่วนตัวและหน้าที่การงาน ในด้า นบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นสถาบันทาง สังคม ซ่ึงทาหน้าท่ีถ่ายทอดวัฒนธรรมคือ ความรู้ ความรู้สึก และทัศนคติให้แก่เยาวชน และสร้าง วัฒนธรรมใหม่ โดยการรับวัฒนธรรมอื่นท่ีไหลบา่ เข้ามาในประเทศมาพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสมกับ วัฒนธรรมไทย เป็นการพัฒนาวัฒนธรรมให้เหมาะสมกับยุคสมัย การปฏิสัมพันธ์กับบุคลากรใน สถานศกึ ษาทง้ั ท่เี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ จึงยดึ ถอื หลกั การสื่อสารเพื่อเสรมิ สร้างมนุษยสมั พันธ์ ตามบทบาทหน้าท่ีและสถานภาพของตนในขณะน้ัน และปฏิบัติตน ปฏิบัติงานสนองความต้องการ ของสถานศึกษา โดยคานึงถงึ ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทย นอกจากน้ี มนษุ ยสมั พันธ์ระหว่างครูกบั สถานศกึ ษา ควรเปน็ การสรา้ งความเข้าใจซึ่งกัน และกัน โดยการที่สมาชกิ ในสถานศกึ ษา พยายามเข้าใจในความสนใจ ความตอ้ งการ ตลอดจนเจตคติ ของผอู้ ่ืน ทั้งนเี้ พ่อื ใหเ้ กดิ การให้อภยั กนั มีการปรับตวั เข้าหากัน มกี ารยดื หยุ่นในการปฏิบัติงานดว้ ยกัน ทั้งนี้เพอ่ื ใหส้ ามารถอย่รู ่วมกัน และทางานกันด้วยดี สงิ่ ท่จี าเปน็ ในการสร้างความเข้าใจต่อการมดี ังนี้ 1. ศึกษาถึงธรรมชาติของมนุษย์ ว่าโดยธรรมชาตินั้นบุคคลมีอะไรท่ีแตกต่างกันบ้าง บคุ คลแตล่ ะคนมคี วามตอ้ งการอะไร เพอื่ จะเป็นฐานในการเขา้ ใจคน 2. ทาความรู้จักและเรียนรู้เพ่ือนร่วมงานในทุกด้าน เช่น ความสนใจ ความถนัด ความต้องการ ปัญหา จุดเด่นจุดด้อย ตลอดจนอุปนิสัยใจคอ สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ เพ่ือจะได้เป็นแนวทางในการปรบั ตัวเข้าหากนั 3. ศึกษาถึงอุปสรรคและปัญหาอันจะเกิดขึ้นในการปฏิบัติงานกับเพ่ือนร่วมงาน แล้วขจัดปญั หานน้ั 4. ปรับท่ตี วั เรา รู้จกั การเอาใจเขามาใส่ใจเรา พยายามเข้าใจผู้อ่ืน เป็นฝ่ายเริม่ ทาความ เข้าใจก่อน และใหอ้ ภัยเมื่อผรู้ ว่ มงานมขี อ้ ผิดพลาด

24 ภาพที่ 1.6 มนุษยสัมพนั ธ์ระหว่างครูกับสถานศกึ ษา (เพื่อนรว่ มงาน) ที่มา: http://www.secondary5.go.th/main/q=news/1477.html 3. มนษุ ยสัมพันธร์ ะหว่างครูกบั ชุมชน การจัดการศึกษาในสถานศึกษาต้องเก่ียวข้องกับบุคลากรในชุมชน องค์กรในท้องถ่ิน ท้ังภาครัฐและเอกชนอยู่มาก นอกจากมีความเกี่ยวข้องในเรื่องการเรียนการสอน การปกครอง นักเรียนแล้ว ยังมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในด้านบริหารจัดการสถานศึกษาด้วย พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดใหช้ ุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการเรยี นการสอน เชน่ มีบคุ คลใน ชมุ ชนเปน็ คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อทาหนา้ ที่กากับและสง่ เสริมสนบั สนนุ กิจการของสถานศกึ ษา ด้านหลักสูตรของสถานศึกษา หรือหลักสูตรท้องถิ่นในสถานศึกษา ซ่ึงเป็นหน้าทขี่ องสถานศึกษาต้อง จัดทาข้ึน โดยความร่วมมือของชุมชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ของท้องถ่ิน คือให้นักเรียนได้รู้จักท้องถ่ินของตนเอง ภูมใิ จในส่ิงที่ดีงามในท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถ่ิน อาชีพ และวัฒนธรรม อันจะนาไปสู่การเป็นคนดีของท้องถ่ิน รักและพัฒนาท้องถ่ินของตน ดังนั้น ครูจึงต้องมีปฏิสัมพันธ์ร่วมมือกับบุคคลในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนพัฒนา สถานศึกษาและพฒั นาชุมชน นอกจากนี้ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับชุมชน มีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือที่จะให้ ผลประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนมากที่สุด ความมุ่งหมายของการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับ ชมุ ชนสรุปได้ดงั นี้

25 1. เพ่ือต้องการให้ชุมชน ได้ทราบการดาเนินงานความก้าวหน้า และความเคล่ือนไหว ของครูและสถานศกึ ษา และความคลี่คลายข้อข้องใจ ช่วยทาให้คนในชุมชนเขา้ ใจครแู ละสถานศึกษา ในแง่ดี 2. เพื่อครูและสถานศึกษาได้ทราบขา่ วสารความเคลื่อนไหวของชุมชน อันจะกอ่ ให้เกิด ประโยชน์แกผ่ ู้เรียน ครูและสถานศึกษา 3. เพ่ือส่งเสริมให้คนในชุมชน ได้มีความเข้าใจในความสาคัญของการศึกษา และเกิด ความรสู้ กึ วา่ เปน็ หน้าทข่ี องคนในชมุ ชนท่จี ะตอ้ งสนใจ และให้การสนับสนนุ การศกึ ษา 4. เพอ่ื ส่งเสริมให้คนในชุมชนมสี ว่ นดแู ลจัดการศึกษา มบี ทบาทในการวางเปา้ หมายของ การศกึ ษา และการพฒั นาการเรียนการสอน เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์แกผ่ ู้เรยี น ครู และสถานศกึ ษา 5. เพ่ือสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ระหว่างบ้าน สถานศึกษา และชุมชนหรือ ท้องถ่ินให้เกิดข้ึน โดยมีสถานศึกษาเป็นศูนย์กลาง ทาให้เกิดความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากบั สถาบนั อืน่ ๆ ในชมุ ชน เชน่ วดั อาเภอ สานกั งานต่างๆ เป็นต้น 6. เพื่อครูและสถานศึกษาจะได้เสนอความรู้ ความก้าวหน้า และแนวโน้มใหม่ๆ ทางการศกึ ษาใหช้ มุ ชนทราบ และชว่ ยในการประเมนิ ผลดาเนินงานของครูและสถานศกึ ษาจากชุมชน ภาพท่ี 1.7 มนุษยสัมพนั ธร์ ะหว่างครูกับชมุ ชน ทม่ี า: http://www.hayeeminaschool.com/gallery-detail_54932

26 ประโยชน์ของมนษุ ยสมั พนั ธ์และมนษุ ยสมั พันธ์สาหรบั ครู 1. ประโยชนข์ องมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์เป็นวิชาที่ว่าด้วยศาสตร์และศิลป์ในการสร้างเสรมิ ความสัมพันธ์อันดีกับ บุคคล เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงาน หรืออยู่ร่วมกันด้วยดีและมีความสุข มนุษยสัมพันธ์มีความสาคัญมากในการที่จะเชื่อมต่อหรือประสานใจในลักษณะกาวใจระหว่างบุคคล หรอื กลุ่มบุคคล อันจะยงั ประโยชนอ์ ย่างยิง่ ต่อบุคคลและมนษุ ยชาติ สามารถป้องกันแก้ไขปญั หาตา่ งๆ และจะชว่ ยเสรมิ สรา้ งสันติสุขใหเ้ กิดข้ึนแก่สังคมได้ สจุ ติ รา พรมนชุ าธปิ (2549, น. 2) อธิบายประโยชน์ของมนุษยสัมพันธไ์ ว้ดงั น้ี 1. ทาให้เข้าใจถึงความต้องการ ความแตกต่าง ตลอดจนลักษณะของคนและสามารถ เอาชนะจติ ใจคนใหเ้ ขา้ มาทางานดว้ ยความรักและความเข้าใจ 2. ทาให้นักบรหิ ารสามารถเข้าถงึ ประชาชนไดท้ ุกชั้น 3. สร้างทักษะให้ผู้บริหารในการทางานร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชา และติดต่อกับกลุ่มชน ประสานงานกับหน่วยงานอ่นื ๆได้ดี 4. ใช้ประโยชน์ในการสื่อสารความคิด การต่อติดต่อ การประชาสัมพันธ์กับประชาชน เพื่อเรยี กรอ้ งความเหน็ ชอบ กับชีแ้ จงใหร้ ถู้ งึ บริการตา่ งๆ ของหนว่ ยงานในองคก์ ร 5. ก่อให้เกดิ ลกั ษณะท่ีดีต่างๆ คอื 5.1 ความราบรนื่ ในการคบค้าสมาคม 5.2 ความพอใจ ยนิ ดี และร่วมมอื ในการทางาน 5.3 ความเชอื่ ถอื รกั ใครซ่ ่ึงกนั และกัน 5.4 ความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กัน 5.5 ความสาเร็จในกจิ การท่ีมีวัตถปุ ระสงคร์ ่วมกนั ส่วน เจษฎา บุญมาโฮม (2555, น. 53) สรปุ ประโยชน์ของมนษุ ยสัมพนั ธ์ได้ดังนี้ 1. ชว่ ยทาให้เข้าใจธรรมชาติด้านตา่ งๆ ของมนุษย์ 2. ช่วยทาให้เข้าใจความต้องการของมนุษย์ และสามารถหาวิธีการตอบสนองความ ต้องการทีแ่ ตกต่างกนั อยา่ งเหมาะสม 3. มนุษยสัมพันธ์ทาให้เกิดความรักใคร่ชอบพอ เลื่อมใสศรัทธาจากบุคคลรอบข้าง ท้ังในครอบครัว ในสังคม ในหน่วยงาน ในการคบค้าสมาคม ทาให้เกิดหลัก 3 ช ข้ึน คือ ช ที่ 1 คือ ชอบ หมายถึง ชอบพอรักใคร่ ช ท่ี 2 คือ เช่ือ หมายถึง เช่ือฟังนับถือ และ ช ท่ี 3 คือ ช่วย หมายถึง ชว่ ยเหลอื ในหน้าท่ีการงาน โดยสรปุ คอื จะเกิดความร่วมมอื รว่ มใจในการทางานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย

27 4. ช่วยลดปัญหาความขัดแย้ง การแบง่ พรรคแบ่งพวกในการอยรู่ ่วมกนั และการทางาน ร่วมกันได้ 5. ทาให้เกิดแรงจูงใจในการทางาน รักงาน และสนุกกับการทางาน ส่งผลถึงการรัก เพือ่ นรว่ มงาน รักผ้นู า จงรักภักดตี ่อองค์กรอกี ดว้ ย 6. มนุษยสัมพนั ธ์เปน็ ปัจจัยสาคญั ในการปอ้ งกันปัญหา แกไ้ ขปญั หา ไม่วา่ จะเป็นปัญหา ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การเมือง นอกจากป้องกันปัญหาแก้ไขปัญหาเหล่าน้ันแล้ว ยงั สง่ เสรมิ ใหส้ ังคม องค์การ รวมท้ังประเทศชาตเิ จริญก้าวหนา้ อีกดว้ ย 7. มนษุ ยสมั พนั ธ์ทาให้ตนเองเป็นสุข คนอนื่ เปน็ สุข สงั คมร่มเย็นมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ธัญญภัสร์ ศิรธัชนราโรจน์ (2559, น. 239-240) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของ มนษุ ยสัมพันธไ์ ว้ดังน้ี 1. มนุษยสมั พนั ธ์มีประโยชน์อย่างย่งิ ในการทางานและการอยู่รว่ มกันเปน็ สงั คม เพราะ ช่วยให้มนุษย์เรียนรู้ที่จะยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และปรับตัวปรับใจให้ร่วมสังคม และร่วม กจิ กรรมกันอย่างสันตสิ ขุ 2. การมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีน้ัน จะช่วยให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ในแง่ประโยชน์ต่อตนเอง บุคคลที่มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อน จะก่อให้เกิดความเข้าใจและความ เหน็ ใจซ่งึ กันและกัน ชว่ ยเหลอื กัน สามารถสมาคมกับบุคคลในระดบั ตา่ งๆ ได้ดี ประสบความสาเรจ็ ใน การศึกษา และการประกอบกิจกรรมหรือการอาชีพ ในแง่ส่วนรวม การมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีจะช่วย สร้างความสามคั คขี ้ึนในหม่คู ณะ รว่ มใจกันทางานใหส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดีโดยปราศจากขอ้ ขดั แย้ง 3. การมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีน้ันทาให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และช่วยพัฒนาให้สังคม และประเทศชาติเจริญก้าวหน้า ทางสังคมจะทาให้คนทางานมีกาลังใจทางาน มีความสัมพันธ์อย่าง เหนียวแน่นกับองค์การทตี่ นทางานอยู่ ทาใหเ้ กดิ ความสามัคคีเป็นปึกแผ่นขนึ้ ในองค์การ 4. การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีน้ันมีประโยชน์ในการบรหิ ารงาน มนุษยสัมพันธ์เป็นปัจจัยที่ สาคัญท่ีสุดปัจจัยหนึ่งท่ีจะทาให้หัวหน้างานประสบความสาเร็จและเจริญก้าวหน้า หัวหน้างานควร จะต้องใส่ใจกับศิลปะของการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ในหน่วยงาน ทาความเข้าใจธรรมชาติของคน โดยเฉพาะในเรื่องความต้องการของมนษุ ยแ์ ละการจูงใจ 5. ทาให้เกิดความรู้จักคุ้นเคย ยอมรับนับถือกันในหมู่สมาชิก ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นของ พลงั กลมุ่ และชว่ ยใหก้ ารคบหาสมาคมเป็นไปอยา่ งราบรน่ื ทาให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดแี ละอยู่ร่วมกนั ได้ ดว้ ยความสามัคคี ทาให้บรรยากาศในการทางานราบรืน่ สามารถร่วมงานกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 6. การมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ท่ีดีน้นั ก่อให้เกิดประโยชน์รว่ มกันในสงั คม มนุษยสมั พนั ธ์ในส่วน ท่ีมนุษย์จะอยู่ร่วมกันในสังคม รวมพลังของกลุ่มบุคคลเพ่ือให้ชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีจะ กลายเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม

28 จากประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์ดังกล่าว สามารถนาไปใช้ได้ในทุกโอกาสไม่ว่าจะเป็น การสรา้ งความสมั พันธภ์ ายในครอบครวั ในที่ทางาน ในสังคมทั่วไป แมแ้ ต่ระหวา่ งหนว่ ยงาน องคก์ าร หรือแม้กระทั่งระหว่างประเทศ ก็สามารถประยุกต์หลักการของมนุษยสัมพันธ์ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ไดเ้ สมอ 2. ประโยชน์ของมนุษยสัมพนั ธส์ าหรับครู พัชรินทร์ พูลเพ็ชรพันธ์ุ (2545, น.12) กล่าวว่า มนุษยสัมพันธ์มีประโยชน์ต่อภารกิจ ของครู 4 ประการดังน้ี 1. ทาให้เข้าใจถึงความต้องการ ความแตกต่าง ตลอดจนลักษณะของบุคคล และ สามารถชนะใจคนใหม้ าร่วมงานดว้ ยความรกั ความพอใจ 2. ทาให้ครสู ามารถเข้าถึงผเู้ รียนไดท้ ุกระดับ 3. สร้างทักษะให้ครู ในการทางานร่วมกับผู้บังคับบัญชา และติดต่อกับบุคลากรอ่ืน ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียนได้ 4. เป็นส่ือในการติดต่อความคดิ และการประชาสัมพันธ์กับผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไป เพ่ือเรียกรอ้ งความเหน็ ชอบ และชแี้ จงใหร้ ู้ถงึ บรกิ ารต่างๆ ของสถานศึกษา 3. ประโยชน์ของวิชามนุษยสมั พันธ์ วิชามนุษยสัมพันธ์เป็นวิชาที่เก่ียวข้องกับทุกคน และมีโอกาสใช้อยู่ตลอดเวลาทุกกรณี เนื่องจากมนุษย์จะต้องติดต่อสัมพันธ์กันและกันตลอดเวลาและทุกหนทุกแห่ง วิชามนุษยสัมพันธ์นี้ สามารถทาให้ผู้เรียนมีความสุขในชีวิตส่วนตัว มีส่วนสร้างสรรค์ความสงบความเรียบร้อย และความ เจริญก้าวหน้าให้แก่หมู่คณะและสังคมประเทศชาติได้อย่างถาวร ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์ของ วิชามนษุ ยสัมพันธไ์ ดด้ งั น้ี จรูญ ทองถาวร (2539, น. 6-7) สรุปประโยชน์ของวิชามนุษยสัมพันธไ์ ว้ดงั นี้ 1. เพ่ือให้เข้าใจถึงธรรมชาติ ความต้องการ ความแตกต่าง ตลอดจนลักษณะของบุคคล รวู้ ิธีทจี่ ะเอาชนะใจคนใหเ้ ข้ามาร่วมงานด้วยความรักและความพอใจ 2. ทาให้เกดิ ความราบรน่ื ในการคบหาสมาคม สามารถทางานร่วมกบั บุคคลทกุ คนไดด้ ี 3. เปน็ ประโยชน์สาหรบั ผบู้ ริหารในการใช้มนษุ ยสัมพนั ธ์เพอื่ ความสาเรจ็ ของงาน 4. ทาให้เกิดความเช่ือถือ รกั ใครซ่ ่งึ กันและกัน อนั จะนามาซ่ึงความสามคั คี 5. การสื่อในการตดิ ต่อประชาสัมพันธ์ให้บุคคลอ่ืนยอมรับ เข้าใจในการปฏิบัติงานของ บุคคล ตลอดจนรับฟังข้อคิดเห็นจากบุคคลที่เก่ียวข้อง อันจะทาให้กิจการต่างๆ ที่ทาขึ้นนั้นสาเร็จได้ ดว้ ยดี

29 6. เป็นปัจจัยสาคัญในการประสานประโยชน์เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ การปกครอง และการเมือง 7. ทาให้ทุกคนมีความร้สู ึกเปน็ พวกเดยี วกัน พร้อมจะร่วมมือกนั ทางาน และอยู่ร่วมกัน ด้วยความสขุ รวมทัง้ สมพร สทุ ัศนยี ์ (2554, น. 24) กล่าวถึงประโยชน์ของวชิ ามนุษยสมั พนั ธ์ไว้ดังนี้ 1. ทาให้เขา้ ใจธรรมชาติดา้ นตา่ งๆ ของมนุษย์ 2. ทาใหเ้ ข้าใจความตอ้ งการพนื้ ฐานของมนุษย์ และสามารถสนองความต้องการพ้นื ฐาน ทเ่ี หมือนกันและแตกต่างกนั ได้ 3. ทาให้เกิดความราบรืน่ ในการคบหาสมาคมกบั ผอู้ ่ืน 4. ทาใหไ้ ด้รบั ความรักใคร่ เชือ่ ถือ ศรทั ธาจากบคุ คลในครอบครวั องค์การและสังคมได้ 5. ทาให้เกิดความร่วมมือรว่ มใจในการทางานให้บรรลุเป้าหมายได้ โดยเฉพาะผู้บริหาร มนษุ ยสมั พนั ธ์จะช่วยใหง้ านสาเร็จได้ 6. ชว่ ยลดปญั หาความขดั แยง้ ในการทางานและในการอยรู่ ่วมกนั 7. ทาให้บุคคลมีแรงจงู ใจในการทางาน มคี วามสามัคคกี ลมเกลียว รักองคก์ ารและทาให้ องค์การมคี วามมัน่ คงเปน็ ปกึ แผ่น 8. เป็นปัจจัยสาคัญในการประสานประโยชน์ของสังคม ป้องกัน และแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองได้ 9. มนุษยสัมพันธ์ทาให้ทุกคนมีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน พร้อมท่ีจะต่อสู้เพื่อ ประโยชน์ร่วมกัน 10. ทาให้ตนเองมคี วามสุข ผู้อ่ืนมีความสขุ และสงั คมมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากน้ี การศึกษาวิชามนุษยสมั พันธ์สาหรบั ครูจะเกิดประโยชนต์ ่อผเู้ รียน ดังนี้ 1. เป็นพื้นฐานให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติตน ระหว่างศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั และระหวา่ งประกอบวชิ าชพี ครู 2. ทาให้รู้จกั และยอมรบั ตนเอง 3. ทาใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ และมที กั ษะในการสร้างมนุษยสัมพนั ธ์สาหรบั ครู 4. ลดความขดั แย้ง และมศี ลิ ปะในการตดิ ต่อส่ือสาร 5. สามารถใช้หลกั การของมนษุ ยสมั พันธใ์ นการจดั บรรยากาศการเรยี นรู้ 6. สามารถใช้หลักการของมนุษยสัมพันธ์ในการช่วยเหลือ แก้ไข ป้องกัน และพัฒนา ผู้เรียน

30 ลักษณะของบคุ คลที่มีมนุษยสัมพันธแ์ ละมนษุ ยสมั พนั ธส์ าหรับครู 1. ลกั ษณะของบคุ คลทม่ี ีมนษุ ยสมั พันธ์ วิมล เหมือนคดิ (2543, น. 49-50) ได้กล่าวถึงบุคคลท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ดกี ็คือ บุคคลที่มี บุคลิกภาพสมบรู ณน์ ั่นเอง ซึง่ โดยทวั่ ไปมลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี 1. สขุ ภาพร่างกายสมบูรณแ์ ขง็ แรง 2. แต่งกายเหมาะสมตามกาลเทศะ 3. ลักษณะทา่ ทางสงา่ กริ ิยามารยาท และวาจาสุภาพเรียบรอ้ ยเป็นเสนห่ แ์ ก่ผูพ้ บเห็น 4. ใหค้ วามเคารพต่อผูท้ ี่ควรเคารพ รบั คาวพิ ากษ์วจิ ารณ์ และคาแนะนาจากผ้อู น่ื 5. มคี วามกระตือรอื รน้ ใฝ่หา และรกั ษาความกา้ วหน้า 6. มองโลกในแงด่ ี ยอมรบั ความจรงิ และเข้าใจในกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ 7. มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิดกล้าตัดสินใจ มีลักษณะของความเป็นผู้นา เป็นที่ เช่ือถอื และไว้วางใจของผ้อู ่นื 8. มีความรา่ เริง ยิ้มแยม้ แจม่ ใสอยู่เสมอ 9. มีความอดทน ขยันหมั่นเพียร มีกาลังใจท่ีเข้มแข็ง กล้าเผชิญกับอุปสรรค และ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าไดด้ ี สามารถเผชญิ กบั เหตกุ ารณ์ต่างๆ โดยไมห่ ว่นั ไหว 10. เหน็ อกเหน็ ใจผูอ้ ่ืน เหน็ แก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ส่วนตน 11. มคี วามซื่อสัตย์สจุ ริต ยุตธิ รรม 12. มีอารมณ์ม่ันคง สุขมุ รอบคอบ มีเหตผุ ล ไม่เอาแตใ่ จตนเอง รบั ฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น 13. ยกยอ่ งชมเชย และใหเ้ กยี รตผิ ู้อื่น 14. มคี วามรบั ผิดชอบ ท้ังในหน้าทีก่ ารงาน คาพดู และคาม่นั สญั ญา 15. มีจติ ใจเออ้ื เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ ชว่ ยเหลือผอู้ นื่ และให้ความร่วมมือ ส่วน สมพร สุทัศนีย์ (2554, น. 133-134) ได้สารวจความคิดเห็นของนักศึกษา สาขาวิชาการศกึ ษา ท่ีเรียนวิชามนุษยสัมพนั ธ์ จานวน 85 คน กลา่ วถงึ ลกั ษณะของผ้มู มี นุษยสมั พนั ธ์ดี มดี ังน้ี 1. ยิ้มแย้มแจม่ ใส 2. มคี วามเกรงใจ 3. พูดจาสภุ าพออ่ นหวาน 4. มคี วามจรงิ ใจต่อผู้อื่น 5. ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อนื่

31 6. มนี ้าใจ 7. วางตวั เหมาะกาลเทศะและบคุ คล 8. แสดงความเหน็ ใจผอู้ ่ืน 9. รจู้ กั ยกยอ่ งชมเชยผ้อู นื่ 10. ไมเ่ หน็ แกต่ วั 11. รจู้ กั ขอโทษเมอื่ ทาผิด 12. สุภาพออ่ นนอ้ มถอ่ มตน 13. รู้จกั การให้ เชน่ ให้อภยั เปน็ ตน้ 14. อดทนและควบคมุ อารมณ์ได้ 15. ร้จู กั ให้ความชว่ ยเหลือแก่ผอู้ นื่ นอกจากน้ี เจษฎา บุญมาโฮม (2555, น. 55-56) กลา่ วถึงบุคคลทมี่ มี นุษยสัมพันธม์ ักจะ มลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี 1. ทกั ทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยูร่ ว่ มกับผู้อื่นได้ 2. รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ใส่ใจ และคานงึ ถงึ ความรสู้ ึกของผู้อื่น 3. สามารถปรบั ตัว มคี วามยืดหยุ่นตอ่ สถานการณต์ ่างๆ 4. รับฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื ทง้ั มีศลิ ปะการฟังและพูด 5. มองโลกในแงด่ ี มีน้าใจชว่ ยเหลอื ผ้อู ่ืน 6. รู้จกั ตนเอง ผ้อู ืน่ และบริบทของสถานการณ์ 7. มีความสามารถในการตดิ ต่อส่ือสาร โดยเน้นความประนีประนอม 8. เป็นคนช่างสังเกต ชา่ งจดจา 9. ยกย่องให้เกียรติผูอ้ นื่ 10. มีความเปน็ เพ่อื น มคี วามเปน็ กันเอง 11. มกั เปน็ ทรี่ ัก หรือกล่าวถงึ จากผูอ้ ื่นในเชงิ สร้างสรรคอ์ ยูเ่ สมอ

32 ภาพที่ 1.8 ลักษณะของบคุ คลที่มีมนุษยสมั พันธ์ ทม่ี า: https://brandthinkbiz.com/p/shell 2. ลกั ษณะของบุคคลท่ีมีมนุษยสมั พนั ธส์ าหรับครู สาหรบั ลกั ษณะของครูท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ สรุปไว้ดังน้ี 1. มีเหตผุ ลในการดาเนินชีวติ และปฏิบัติหนา้ ท่ี 2. ไดร้ บั เลอื กให้ปฏบิ ตั ิหน้าทีส่ าคัญต่างๆ ของสถานศึกษา 3. รกั เมตตา และปรารถนาดีต่อศิษยแ์ ละผอู้ ่นื 4. เปน็ ทีร่ ัก ศรทั ธา และยกยอ่ งจากศิษย์ 5. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 6. อธั ยาศัยดี ย้มิ แยม้ แจ่มใส อยรู่ ว่ มกับผอู้ ื่นได้อยา่ งมีความสขุ 7. ใส่ใจพฤติกรรมผู้อื่นในเชงิ สรา้ งสรรค์ 8. เขา้ ใจและยอมรับตนเองและผู้อืน่ 9. มองโลกในแงด่ ี มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทัศนคตติ ่อตนเองและผ้อู น่ื ดี 10. มีความสามารถในการสร้างสีสนั ความสนุกด้วยศิลปะการพดู และการฟัง 11. ปฏบิ ัติตนดี มีความรับผดิ ชอบ จูงใจใหเ้ พอื่ นครคู บหาและรว่ มงานด้วย 12. ปฏบิ ัติหนา้ ทคี่ รูอยา่ งมคี วามสุข

33 ภาพท่ี 1.9 ลักษณะของครูท่มี ีมนษุ ยสมั พนั ธ์ ทมี่ า: https://plearndee.wordpress.com บทสรปุ มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง การท่ีมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน รวมทั้งการสร้าง ความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ ด้วยวิธีการและการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อกัน เพ่ือให้การ ปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ส่วนมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู หมายถึง พฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ของครูในเชิงสร้างสรรค์ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน เพื่อนครู ผู้บริหาร บุคลากรในสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ท่ีมี สว่ นเก่ียวข้องกบั การจัดการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสมมีประสิทธิภาพ รจู้ ักยอมรับตนเองและผ้อู ่ืน สามารถ แสดงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม มีศิลปะการสื่อสาร ปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข และ มคี วามสขุ ในการประกอบวชิ าชีพครู ประวัติความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ แบ่งได้เป็น 3 ยุค คือ ยุคอุตสาหกรรม ยุคการ บรหิ ารเชิงวิทยาศาสตร์ และยุคการบริหารเชิงพฤติกรรม ซ่ึงขอบเขตของมนุษยสัมพันธ์จะเก่ียวกับ การศึกษาพฤติกรรมและความสัมพันธ์ของมนุษย์ วิชาที่เก่ียวข้อง ได้แก่ จิตวิทยา สังคมวิทยา และ มานุษยวิทยา ซ่ึงเรียกว่า “พฤติกรรมศาสตร์” โดยมีหัวเรื่องพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพของตน ความรับผิดชอบ การติดต่อส่ือสาร การจูงใจ และการเห็นใจหรือ เข้าใจความต้องการของผู้อื่น สาหรับแนวทางการศึกษามนุษยสัมพันธส์ ามารถทาได้ 2 แนวทาง คือ ศกึ ษาตามแนวทฤษฎี และศกึ ษาแนวปฏิบตั ิ

34 มนุษยสัมพนั ธม์ คี วามสาคัญต่อการดาเนินชีวติ คณุ ภาพชีวติ ทั้งระดบั บุคคลและระดบั สงั คม การบรหิ ารงาน และการสรา้ งมิตรและครองใจคน ส่วนความสาคัญของมนุษยสมั พนั ธ์สาหรับครู ไดแ้ ก่ ช่วยในด้านการเรียนการสอน การบริหารงานในสถานศกึ ษา การประสานงานระหว่างสถานศึกษากับ ผเู้ รียน การประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง และการติดต่อขอความร่วมมือกับบุคลากรหรือหน่วยงาน ภายนอกสถานศึกษา ซ่ึงจุดมงุ่ หมายของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู ประกอบด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของตนเอง การสร้างแรงจงู ใจให้ผ้เู รยี น การประสานงานและการตดิ ตอ่ สื่อสาร และการพฒั นาทมี งาน และความสมั พันธ์ ขอบเขตของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู แบ่งออกเป็น 3 ประการ ได้แก่ มนุษยสัมพันธ์ ระหว่างครูกบั ผู้เรียน มนุษยสมั พันธ์ระหวา่ งครูกับสถานศึกษา และมนุษยสมั พนั ธ์ระหว่างครูกบั ชมุ ชน ส่วนประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์สาหรับครู ประกอบด้วย การทาครูให้เข้าใจถึงความต้องการ ความแตกต่าง ตลอดจนลักษณะของบุคคล ครูสามารถเข้าถึงผู้เรียนได้ทุกระดับ สร้างทักษะให้ครู ในการทางานร่วมกับบุคลากรอ่ืน ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน และเป็นสือ่ ในการติดต่อความคิด และการประชาสมั พนั ธก์ บั ผ้ปู กครอง ประชาชนทว่ั ไป นอกจากนี้ ลักษณะของบคุ คลทมี่ ีมนุษยสมั พนั ธ์ สาหรับครู เช่น มีเหตุผลในการดาเนินชีวิตและปฏิบัติหน้าท่ี มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรัก เมตตา และปรารถนาดตี อ่ ศษิ ย์และผู้อื่น ปฏิบตั หิ น้าทคี่ รูอย่างมคี วามสุข เปน็ ตน้

35 คาถามทา้ ยบท จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี โดยอธิบายพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ 1. จงอธิบายความหมายของคาว่ามนุษยสัมพันธ์ และมนษุ ยสัมพันธส์ าหรับครู ตามทัศนะ ของตนเอง 2. เพราะเหตุใดจึงยกย่องเมโยว่าเป็นบิดาของมนุษยสัมพนั ธ์ และสรุปประวัติความเป็นมา ของมนุษยสมั พันธม์ าพอสังเขป 3. จงสรปุ ขอบเขตและหัวเร่อื งพน้ื ฐานทีเ่ ก่ียวข้องกับมนุษยสัมพนั ธ์ 4. จงอธิบายแนวทางการศึกษามนษุ ยสัมพันธ์ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 5. มนษุ ยสัมพนั ธเ์ กยี่ วข้องกบั การดาเนินชีวิตของท่านอยา่ งไร 6. มนษุ ยสมั พันธ์เก่ยี วข้องกับอยา่ งไรกบั ทา่ น ในฐานะท่ีทา่ นเปน็ นกั ศึกษาคณะครุศาสตร์ 7. เพราะเหตุใด จงึ กล่าวว่ามนุษยสัมพันธ์เปน็ เคร่ืองมือนาครสู ่คู วามสาเรจ็ ในการประกอบ วิชาชพี ครู และการดาเนินชวี ติ 8. นายสันติเป็นครูบรรจุใหม่ ท่านคิดว่าครูสันติต้องมีขอบข่ายมนุษยสัมพันธ์กับบุคคล ใดบ้าง อย่างไร 9. จงอธบิ ายประโยชน์ของมนุษยสมั พันธส์ าหรับครู พรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ 10. ให้ท่านยกตัวอย่างครูในสถานศึกษาแห่งน้ีที่ท่านคิดว่ามีมนุษยสัมพันธ์สูง โดยอธิบาย ลกั ษณะบคุ ลิกภาพ

36 เอกสารอา้ งองิ เกษม คาศรี. (2554). กำรศกึ ษำควำมพงึ พอใจในกำรปฏิบัติงำนของขำ้ รำชกำรครูสงั กดั สำนกั งำนกำร ประถมศึกษำจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ี. ขนษิ ฐา สวุ รรณฤกษ์. (2547). มนษุ ยสัมพันธส์ ำหรบั ครูและผู้บริหำรสถำนศึกษำ. กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี. จรูญ ทองถาวร. (2539). มนุษยสัมพนั ธ.์ กรงุ เทพฯ: อักษราพพิ ฒั น.์ เจษฎา บุญมาโฮม. (2555). มนุษยสมั พันธ์สำหรบั ครู. นครปฐม: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครปฐม. ชิษณุพงศ์ โคตรบณั ฑิต. (2554). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำจติ วิทยำมนษุ ย์เชงิ ธุรกิจ. ชลบุรี: อักษรเทคโนโลยพี ทั ยา. ชิราพร หนฤู ทธิ์. (2548). มนุษยสัมพนั ธส์ ำหรบั ครู. นครศรธี รรมราช: คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช. บญุ สม จันทร์เอยี่ ม. (2547). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำมนุษยสมั พันธส์ ำหรบั ครู. ปทุมธานี: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณใ์ นพระบรมราชปู ถัมภ์. ดจุ เดอื น พันธุมนาวิน และอมั พร ม้าคะนอง. (2547). รำยงำนกำรวิจยั เรือ่ งปจั จัยเชงิ เหตุและผลของ พฤตกิ รรมกำรพฒั นำนักเรยี นของครคู ณิตศำสตร์ในระดับมัธยมศกึ ษำ. กรุงเทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ. ธัญญภัสร์ ศริ ธชั นราโรจน์. (2559). จิตวทิ ยำกบั กำรพัฒนำตน. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2549). มนุษยสัมพันธ.์ (พมิ พค์ รั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พแ์ ห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . พัชรินทร์ พูลเพ็ชรพันธุ์. (2545). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำมนษุ ยสมั พนั ธส์ ำหรบั คร.ู เพชรบุรี: คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภัฏเพชรบุรี. พิชยั ศรีศสลกั ษ์. (2545). แนวทำงพฒั นำกำรเรียนกำรสอนของโรงเรยี นประถมศึกษำใหไ้ ดเ้ กณฑ์ มำตรฐำน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. รัตตกิ รณ์ จงวิศาล. (2554). มนษุ ยสัมพันธ์: พฤติกรรมมนษุ ยใ์ นองค์กำร. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ระมดิ ฝ่ายรีย์. (2526). ควำมร้เู บ้ืองต้นทำงกำรศึกษำ. นครราชสมี า: สริ ิสขุ การพิมพ์.