Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Description: มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Search

Read the Text Version

138 2.4 เพ่ือการแสดงออกซ่ึงความรู้สึกต่างๆ โดยผู้บริหารหรือบุคลากรในสถานศึกษามี ความเขา้ ใจกนั เอือ้ ประโยชน์ต่อการบริหารงานและปฏบิ ตั งิ านภายในกลุ่มปฏิบตั ิงานต่างๆ 3. ข่ายงานการสอื่ สารภายในสถานศึกษา ข่ายงานการส่ือสาร (Communication Networks) เป็นลักษณะและทิศทางของการ ส่ือสารระหว่างสมาชิกของสถานศึกษา อันท่ีจะเป็นปัจจัยส่งผลต่อการดาเนินการในสถานศึกษา โดยมรี ปู แบบจาลองต่างๆ ดังนี้ 3.1 แบบวงกลม (Circle) เป็นการส่ือสารระหวา่ งสมาชกิ ของสถานศกึ ษาท่อี ยู่ใกลช้ ดิ กัน แต่ไม่มีศูนย์กลางขององค์กร ข่ายงานการสื่อสารแบบนี้มักไม่พบในสถานศึกษา หรืออาจพบใน สถานศึกษาทมี่ ขี นาดเลก็ ภาพที่ 4.11 ข่ายงานการส่อื สารแบบวงกลม ท่ีมา: วิชัย ธปู ทองและคณะ, 2554, น.165 3.2 แบบดาว (Star) เป็นการสื่อสารท่ีสมาชิกในองค์กรส่ือสารผ่านบุคคล หรือ หน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึงก่อนท่ีจะส่งข้อมูลไปยังผู้อื่น การส่ือสารลักษณะนี้เป็นการส่ือสารของ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาสอ่ื สารไปยังฝ่ายตา่ งๆ โดยมผี ู้อานวยการสถานศกึ ษาเป็นศูนยก์ ลาง ภาพที่ 4.12 ข่ายงานการสอ่ื สารแบบดาว ทมี่ า: วชิ ัย ธูปทองและคณะ, 2554, น.165

139 3.3 แบบเฉก (Team) เป็นการสื่อสารที่มีผู้รับทราบข้อมูลก่อนในระดับหนึ่ง แล้วจึง กระจายต่อให้สมาชิกในองค์กรได้รับรู้ การสื่อสารประเภทน้ีในสถานศึกษามักจะเป็นโรงเรียนขนาด กลางที่มผี ูช้ ่วยผ้บู รหิ ารรบั นโยบายจากผูบ้ ริหารสูงสดุ และกระจายตอ่ ไปยังเพอ่ื นร่วมงาน ภาพท่ี 4.13 ข่ายงานการสือ่ สารแบบเฉก ที่มา: วชิ ัย ธปู ทองและคณะ, 2554, น.165 3.4 แบบลกู โซ่ (Chain) การสอื่ สารแบบนีจ้ ะเปน็ การสื่อสารแบบบนลงลา่ งหรอื จากลา่ ง ข้ึนบนในองค์กรและสถานศึกษา ภาพท่ี 4.14 ข่ายงานการส่ือสารแบบลกู โซ่ ท่มี า: วชิ ัย ธูปทองและคณะ, 2554, น.165 3.5 แบบตัววาย (Y) เป็นการส่ือสารแบบแยกดาเนินการเป็นฝ่ายแล้วนามารวมกันใน ข้ันตอนสดุ ท้าย การสือ่ สารประเภทน้ไี ม่คอ่ ยพบในสถานศึกษา

140 ภาพท่ี 4.15 ข่ายงานการสื่อสารแบบตัววาย ทม่ี า: วิชัย ธูปทองและคณะ, 2554, น.166 3.6 แบบทุกช่องทาง (All Channel Group) เป็นการสื่อสารแบบอิสระทุกคนสามารถ ตดิ ต่อส่อื สารไดโ้ ดยตรงการสื่อสารประเภทนเ้ี ปน็ ไปได้ยากในสถานศึกษา ภาพท่ี 4.16 ข่ายงานการสอ่ื สารแบบทกุ ชอ่ งทาง ที่มา: วิชยั ธูปทองและคณะ, 2554, น.166 อปุ สรรคของการสอ่ื สารในชัน้ เรียน การเรียนการสอนในช้ันเรียนเป็นรูปแบบหน่ึงของกระบวนการส่ือสาร คือ ครเู ป็นผู้ส่งสาร ไปยังผู้เรียนซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางในการส่ือสาร โดยการส่งข่าวสารออกมาในรูปของภาษาหรือ สญั ญาณ (Signal) ลักษณะของสัญญาณจะเป็นการบูรณาการระหว่างเนื้อหาวิชากับสื่อและช่องทาง เพ่ือให้ผู้เรียนได้เข้าใจเน้ือหาท่ีครูต้องการสื่อสาร ในกระบวนการส่ือสารอาจมีสิ่งรบกวนสัญญาณ ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื สิง่ รบกวนภายนอก และส่ิงรบกวนภายใน

141 1. อปุ สรรคทเี่ กดิ จากสิ่งรบกวนภายนอก สิ่งรบกวนภายนอก ไดแ้ ก่ อปุ สรรคทางด้านกายภาพ (Physical Barriers) ซึ่งมองเหน็ ได้ ง่ายชัดเจนกว่าสิ่งรบกวนภายใน สิ่งรบกวนภายนอกในการส่ือสารที่สาคัญ ได้แก่ การจัดที่น่ังใน ชั้นเรียน และปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งครแู ละผู้เรียน นอกจากน้ัน ยังมีเสียงรบกวนภายนอกทางกายภาพ อื่นๆ ท่ีมองไม่เหน็ เช่น อุณหภมู ิ ความช้ืน การมีอากาศเปน็ พิษ เสียงดัง เปน็ ตน้ 1.1 การจดั ท่นี ่ังในช้ันเรยี น การจัดชัน้ เรียนมผี ลต่อพฤติกรรมสอ่ื สารในชั้นเรยี นของผเู้ รยี น ซง่ึ วิธีการจัดท่นี ง่ั ใน ชน้ั เรียนของผู้เรยี นจะสะท้อนใหเ้ ห็นความสัมพันธ์ระหวา่ งครกู ับผเู้ รยี น ซ่งึ เปน็ อิทธิพลทางกายภาพท่ี มีผลต่อพฤตกิ รรมทางสงั คมในช้ันเรียน ในปคี .ศ. 1974 เกทเซลค์ (Getzels, 1974) ได้เสนอบทความ อภิปรายว่ารูปแบบการจัดที่น่ังเรียนของผู้เรียนที่แตกต่างกันไป เป็นดัชนีชี้ให้เห็นความแตกต่าง ถึงวิถีทางท่ีครูมองผู้เรียน การจัดท่ีน่ังเรียนแบบตายตัวเป็นรูปสเี่ หลี่ยมผืนผ้าโดยมีครูยืนสอนอยู่หน้า ชน้ั เรียน ให้ความหมายว่าผู้เรียนมีความว่างเปล่ารอรับการบรรจุความร้จู ากครูเพยี งฝ่ายเดียว การจัด ที่นั่งเรียนเป็นรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสโดยมีโต๊ะของครูอยู่ด้านข้าง แสดงถึงผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ในขณะท่ีการจัดที่นั่งเรียนเป็นรูปวงกลม แสดงถึงสภาพสังคมท่ีดีของผู้เรียน เป็นการจัดชั้นเรียน แบบเปิด (Open Classroom) แสดงถึงผู้เรียนมีส่ิงเร้ากระตุ้นให้เป็นผู้แสวงหาความรู้ และเป็น ผคู้ น้ พบแนวทางแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง นอกจากนี้ โรเซนฟิลด์ และแบล์ค (Rosenfield, Nadine M. And Black, 1985) ไดศ้ ึกษาถึงผลของการจัดทน่ี ่ังเรียนที่มีต่อพฤติกรรมสื่อสารในชั้นเรียนของผู้เรียนโดยตรง ซ่ึงได้ศึกษา รูปแบบการจัดท่ีนั่งเรยี น 3 แบบ ไดแ้ ก่ การจัดเปน็ แถว (Rows) เป็นกลุม่ (Clusters) และการจัดทน่ี ั่ง เรียนเป็นรูปวงกลม (Circles) ผลการวิจัยปรากฏว่า การจัดโต๊ะแบบวงกลมทาให้ผู้เรียนมีความ กระตือรือร้น และมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนมากกวา่ ผเู้ รยี นที่น่ังโตะ๊ แบบแถว โดยเฉพาะอย่างย่ิง การจัดโต๊ะแบบกลุ่มและแบบวงกลมกระตนุ้ ให้ผ้เู รยี นมีการถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียนมากข้ึน และมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนมากกว่าการจัดท่ีนั่งแบบแถว จากผลการวิจัยดังกล่าว แสดงว่าการจัดโต๊ะเรียนมีอิทธิพลต่อการเข้าร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้เรียน การกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความคิด และการอภิปรายที่ส่งผลทางด้านบวกต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของ ผเู้ รยี น 1.2 ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งครแู ละผู้เรียน ครูมีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อการสอ่ื สารในช้ันเรียน ทั้งน้ีเนือ่ งจากสว่ นใหญ่แล้ว การสอื่ สารจะเริ่มมาจากตัวครู การสอ่ื สารท่ถี กู ตอ้ งระหวา่ งครแู ละผูเ้ รียนควรจะอยูใ่ นลกั ษณะของการ แลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ครูไม่ควรบังคับให้ผู้เรียนมีความคิดเห็นหรือทัศนะท่ีคอยตาม ความต้องการของครูหรือผู้สอนเพียงแต่ฝ่ายเดียว การสอนควรเป็นในรูปแบบของการสนทนา

142 (Dialogue) มากกว่าที่ครูจะเป็นผู้พูดแต่ฝ่ายเดียว (Monologue) โดยส่วนใหญ่วิธีการส่ือสารท่ีครูมุ่ง แต่จะเป็นผู้พูดและผู้เรียนเป็นผู้ฟังน้ัน มีผลทาให้ผู้เรียนได้กล้าพูดในเร่ืองที่เป็นเหตุเป็นผล ไม่กล้า โต้แย้ง ชอบที่จะเป็นผู้รับฟัง และยอมปฏิบัติตามโดยปราศจากเงื่อนไข วิธีการสอนเช่นนี้จะทาให้ ผู้เรียนรู้จักการท่องจาเป็นส่วนใหญ่มากกว่าจะส่งเสริมให้เด็กรู้จักวิพากษ์วิจารณ์หรือว่าคิดเอง ข้อจากัดจากวิธีการสอนของครูดังกล่าวจะทาให้เด็กเติบโตขึ้นมาพร้อมกั บโลกทัศน์ที่คับแคบ และมักจะมองอะไรท่ีเป็นสูตรสาเร็จ ไม่สามารถสร้างสรรค์อะไรใหม่ๆ ด้วยตนเองมากนัก เพราะ วิธกี ารสอนแบบด้ังเดิมจะจากัดกรอบให้เด็กคดิ ว่าจะต้องคิดอยา่ งนั้นๆ เม่ือเติบโตขึน้ มากเ็ ลยไมก่ ลา้ ท่ี จะคิดเอง จึงเป็นผ้ใู หญ่หรือพลเมอื งของประเทศที่ทาอะไรไปตามกลไก ตามระบบ ไม่สง่ เสริมให้เกิด นวัตกรรมใหม่ๆ ข้ึนในสังคม เพราะว่าเราขาดคนที่กล้าคิด กล้าทา และเป็นตัวของตัวเอง ดังน้ัน ครูในฐานะท่ีเป็นบุคคลท่ีมีอิทธิพลสาคัญที่ก่อให้เกิดสถานการณ์ดังกล่าวข้ึน ครูจึงควรท่จี ะตอ้ งศึกษา วธิ ีการสื่อสารท่ีเหมาะสม แล้วนามาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธกี ารสื่อสารของตนเองที่สามารถกระตุ้น ให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด ได้โต้ตอบแสดงความคิดเห็น ในขณะเดียวกับครูก็ต้องใจกว้างพอท่ีจะรับฟัง ความคดิ เห็นของผู้เรยี นด้วย เพ่อื ให้เกดิ เป็นปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ทด่ี ีระหว่างครูและผู้เรียน 2. อุปสรรคที่เกิดจากสิง่ รบกวนภายใน สิ่งรบกวนภายใน เป็นอปุ สรรคทางจิตวิทยา (Psychological Barriers) ได้แก่ อุปสรรค ของการส่ือสารท่ีเกิดจากความสามารถในการรับร้สู ่ิงตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ในใจ ความรู้สึกนึกคิดของผู้ที่ร่วมอยู่ ในกระบวนการสื่อสาร ซ่งึ มีอทิ ธิพลอยา่ งย่ิงต่อการรบั รู้ (Perception) และการตคี วามหมายของสาร (Interpretation) ปัญหาและอุปสรรคทางจิตวิทยาเกิดขึ้นภายในตัวครู คือ ผู้ส่งสาร และผู้เรียน คือ ผู้รับสาร ในบุคคลที่มีสภาพร่างกายเป็นปกติโดยทั่วไปจะสามารถรับสัมผัสเหตุการณ์ เร่ืองราว ข่าวสารต่างๆ โดยผ่านเข้ามาทางระบบประสาทสัมผัส อันได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง และ กล้ามเนื้อ เมื่อข่าวสารจากครูเข้าสู่ระบบประสาทสัมผัสของผู้เรียนแล้วจะเกิดเป็นความรู้สึก (Sensation) คือ การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรู้รส การรู้สึกร้อนหนาว หรือเจ็บปวดข้ึน กระบวนการรู้สึกท่ีเกิดขึ้นน้ีเป็นผลของการตอบสนองขั้นแรกของบุคคลต่อการเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดล้อม หลังจากน้ันสมองจึงจะทาการตีความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนว่าสิ่งที่เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น รู้รส หรือ ได้สัมผัสนั้นคืออะไร เกิดการรับรู้ข้ึน น่ันคือ ความรู้สึก และพฤติกรรมต่างๆ เกิดขึน้ จากการที่มนุษย์ รับรู้โลกภายนอกด้วยการมองเห็น การได้ยิน การรู้รส การได้กลิ่น และการสัมผัสจากอวัยวะรับ ความรู้สึกต่างๆ การรับรู้จึงเป็นการสรรค์สรา้ งของสมอง สง่ิ ท่ีสรรคส์ ร้างอาจจะครบถ้วนหรอื ไม่ครบถว้ น อาจจะตรงกบั ความเป็นจริงหรอื ไม่ตรงกไ็ ด้ เพราะกระบวนการตีความน้ีจะตคี วามจากข่าวสารท่ีรับไว้ จริงๆ ส่วนหน่ึง และอีกส่วนหน่ึงจะอาศัยข่าวสารจากความทรงจาหรือประสบการณ์เดิม โดยเฉพาะ

143 อย่างย่ิงในการรับรู้น้ันจะมีการเลือกและคัดสรรข่าวสารที่ต้องการรับรู้ กล่าวคือ ในช่วงขณะหนึ่ง บุค คลมี ความ ตั้ง ใจจด จ่ออ ยู่กับ ส่ิง เร้าส่ วน หน่ึ ง ใน หล าย ส่วน ที่ห ล่ัง ไห ลม ากระท บ ตัวเราเท่ าน้ั น ส่วนส่ิงเร้าท่ีมิได้ตั้งใจรับรู้น้ันอาจจะถูกเก็บบันทึกไว้ในระบบประสาทเพียงชั่วคราว แต่จะไม่ได้ รบั เลือกให้เป็นข่าวสารท่ีต้ังใจรับรู้ นอกเสียจากวา่ ข่าวสารหรือสิ่งเร้านั้นจะมีความเก่ียวข้องโดยตรง อยา่ งชัดเจนกับเรือ่ งท่กี าลงั รบั รอู้ ยู่ ดังนั้น มนุษย์จะมคี วามสามารถในการรับรู้ดเี พียงใดยอ่ มขน้ึ อยูก่ ับ ลักษณะของผู้รับรู้เอง ถ้าวัยวะรับความรู้สึกของผู้เรียนมีความไวต่อการรับความรู้สึกต่างกัน ความสามารถในการรับรู้ก็ต่างกัน นอกจากน้ันความสามารถในการรับรู้ยังขึ้นอยู่กับความคาดหวัง แรงจูงใจและอารมณ์ในสภาวะนั้นๆ ของผู้รับสารอีกด้วย อุปสรรคของการส่ือสารอันเน่ืองมาจาก ตัวผู้รับสารเอง ได้แก่ การรับรู้พลาด (Illusion) และการรับรู้จากัด (Selective Perception) ซ่ึงมี รายละเอยี ดดังนี้ (Levine and Shefner, 1981) 2.1 การรับรู้พลาด ในบางครั้งการรับรู้ของบุคคลเบ่ียงเบนหรือผิดพลาดไปจาก ความเป็นจริง การรับรู้พลาดหรือการรับรู้ที่คลาดเคล่ือนจากความเป็นจริงนี้ทางจิตวิทยาเรียกว่า ภาพลวงตา (Illusion) ภาพลวงตานนั้ เกิดขึ้นลักษณะตา่ งๆ กัน ได้แก่ 2.1.1 ภาพลวงตาท่ีเกิดจากการต่อเติมปลายของสิ่งเร้า การต่อเติมปลายของ เส้นตรงทาให้ความคงท่ีในการรับรู้สิ่งน้ันๆ ผิดพลาดจากความเป็นจริง ทาให้เกิดภาพลวงตา มูนเลอร์- ไลเออร์ (The Muller-Lyer illusion) คือ บุคคลจะมองเห็นว่าเส้นตรง B ยาวกว่าเส้นตรง A เนื่องจากการตอ่ เติมของปลายลูกศร ทง้ั ๆ ทีเ่ สน้ ตรง A และเสน้ ตรง B มคี วามยาวเทา่ กัน AB ภาพท่ี 4.17 ภาพลวงตามูนเลอร์- ไลเออร์ ท่ีมา: รญั จวน คาวชริ พิทกั ษ์, 2538, น. 66

144 2.1.2 ภาพลวงตาที่เกิดจากความสัมพันธ์กันของขนาด ทาให้เกิดการรับรู้ขนาด ผิดพลาด เกิดเป็นภาพลวงตาจาสโทร (The Jastrow illusion) คือ ภาพที่มีขนาดเท่ากัน แต่การท่ี รับรวู้ ่าภาพบนยาวกว่าภาพล่าง เนื่องจากส่วนส้นั ของภาพมาอยใู่ กล้เคียงกับสว่ นยาว จึงทาให้มองเห็น ภาพดา้ นลา่ งสั้นกวา่ ภาพบน ภาพท่ี 4.18 ภาพลวงตาจาสโทร ท่มี า: รญั จวน คาวชิรพิทกั ษ์, 2538, น. 66 2.2 การรับรู้จากัด ในการรับรู้ของบุคคลน้ันจะมีการเลือกและคัดสรรข่าวสารท่ี ตอ้ งการรบั รู้ กลา่ วคอื ในชว่ งขณะหน่ึงบคุ คลมคี วามตงั้ ใจจดจ่ออยกู่ ับส่ิงเร้าส่วนหนึ่งในหลายสว่ นทีม่ า กระทบกบั ตวั เราเท่าน้ัน ส่วนสง่ิ เรา้ ที่มิไดต้ ั้งใจรับรู้น้ันอาจจะถูกเก็บบันทึกไว้ในประสาทเพียงชัว่ คราว แต่จะไม่ได้รับเลือกให้เป็นข่าวสารท่ีตั้งใจรับรู้ นอกเสียจากว่าข่าวสารหรือส่ิงเร้าน้ันจะมีความ เก่ียวข้องโดยตรงอย่างชัดเจนกับเรื่องที่กาลังรับอยู่ ทาให้เกิดปรากฏการณ์ภาพกับพ้ืน (Figure and Ground) เน่ืองจากส่ิงต่างๆ ที่แวดล้อมมนุษย์มีอยู่มากมาย แต่ในการรับรู้นั้นมนุษย์เลือกใส่ใจ สง่ิ แวดลอ้ มได้ทีละสง่ิ สง่ิ ทไี่ ดร้ ับการใสใ่ จจะปรากฏเด่นออกมาเปน็ ภาพ (Figure) สิ่งอื่นๆ ทย่ี ังไมไ่ ด้รับ การใส่ใจจะเป็นพ้ืน (Ground) เช่น เมื่อครูมองไปยังผเู้ รยี นในช้ันเรียน อาจจะมองเห็นผ้เู รียนคนหนึ่ง กาลังฟุบหลับอยู่กับโต๊ะ ครสู นใจพฤติกรรมของผู้เรียนคนนี้ ผู้เรยี นคนที่กาลงั นงั่ หลับก็จะปรากฏเป็น ภาพผู้เรียนคนอ่ืนๆ หรืออุปกรณ์อ่ืนๆ ในห้องเรียนก็จะเป็นพื้น การรู้สึกจากอวัยวะรับสัมผัสอื่นๆ ก็เช่นเดียวกัน ถ้าบุคคลให้ความสนใจก็จะปรากฏเป็นภาพ ความรู้สึกอ่ืนๆ ก็จะกลายเป็นพ้ืน เช่น คนท่ีน่งั เรอื ไปตามคลองแสนแสบ ถา้ รู้สึกได้กลิ่นเหมน็ มารบกวนโสตประสาทตลอดเวลาก็เน่อื งมาจาก ให้ความใส่ใจกบั กล่ินที่เกิดข้ึน แต่สาหรับคนที่คดิ ถงึ แต่ภาพยนตรท์ ่ีเพิ่งไปดูมาเม่อื คืน อาจจะไมไ่ ด้กิน อะไรเลยก็ได้ ในภาพข้างล่างน้ีอาจมองเห็นเป็นฝูงปลาถ้าให้สีดาเป็นพื้น หรือมองเห็นเป็นฝูงเป็ด ถ้าใหส้ ีขาวเปน็ พ้ืน

145 ภาพที่ 4.19 การรบั รภู้ าพและพ้นื ทม่ี า: รญั จวน คาวชริ พทิ กั ษ์, 2538, น. 67 วธิ กี ารส่ือสารเพื่อสรา้ งสมั พันธภาพทีด่ สี าหรบั ครู ในการจัดการเรียนการสอน ครูและผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการส่ือสารกันอยู่ ตลอดเวลา ซ่ึงต่างฝ่ายก็อาจจะทาหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร หรือผู้รับสาร หรืออาจจะเป็นท้ังผู้ส่งสารและ ผู้รับสารในขณะเดียวกัน ครกู ็ตอ้ งมวี ิธีการส่ือสารเพ่ือถ่ายทอดความรไู้ ปยงั ผู้เรยี นอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตัวผู้เรียนเองก็ต้องมีความสามารถในการส่ือสารกับครูและเพื่อนเช่นเดียวกัน การส่ือสารของครูกับ ผู้เรียนนอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียน การสอนแล้ว การสือ่ สารของครูยังสามารถช่วยให้ครูรู้จักผู้เรียนของตนดีข้ึน รวู้ ่าผู้เรยี นต้องการอะไร ขัดข้องสิ่งใด และมีความสุขความพอใจเพียงใด ในขณะเดียวกันก็ช่วยให้ผู้เรียนมีความม่ันใจ กล้าซกั ถามครูเมอ่ื ไม่เขา้ ใจบทเรยี น และมีความรูส้ ึกใกล้ชิดสนิทสนมกับเพ่อื นคนอนื่ ๆ ในชน้ั เรียนดว้ ย ทงั้ น้ี สามารถนาเสนอรายละเอยี ดเกีย่ วกบั วธิ ีการสอื่ สารเพอื่ สร้างสัมพนั ธภาพท่ีดีสาหรบั ครูได้ดงั น้ี 1. การสร้างปฏสิ ัมพันธ์ทางวาจาระหว่างครูและผ้เู รยี น นักวิชาการได้จัดรูปแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียนต่างๆ กัน ดังน้ี ปฏิสัมพันธ์ แบบยึดครูเป็นศูนย์กลางและแบบยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ปฏิสัมพันธ์แบบประชาธิปไตย

146 แบบอัตตาธิปไตย และแบบปล่อยปละละเลย ปฏิสัมพันธ์แบบครอบงาและแบบผสมผสาน เป็นต้น จากการจัดรูปแบบปฏิสัมพันธร์ ะหว่างครูและผู้เรยี นต่างกันตามหลักเกณฑ์ดงั กล่าว สามารถสรปุ เป็น รูปแบบปฏิสัมพันธ์ 2 รูปแบบ คือ ปฏิสัมพันธ์แบบที่เป็นประชาธิปไตยมาก และปฏิสัมพันธ์แบบ ประชาธิปไตยน้อย ในปฏิสัมพันธ์แบบแรก คือ การที่ครูปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่างเป็นมิตร ให้ความรัก ความอบอุ่นและเป็นกันเอง ไม่ใช่การข่มขู่บังคับหรือลงโทษอย่างรุนแรง มีการยอมรับความคิดเห็น ของผ้เู รียน เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความสามารถตามความถนัดและความสนใจ ครูจะไม่ตามใจหรือ เข้มงวดกับผู้เรียนมากเกินไป แต่จะปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่างยุติธรรมและมีเหตุผล ไม่ใช้อารมณ์เป็น เคร่ืองตัดสิน ส่วนปฏิสมั พันธ์แบบหลงั มีลักษณะตรงกันข้าม คือ ครูจะยึดตนเองเปน็ หลกั ใชก้ ารข่มขู่ ผเู้ รยี นใหป้ ฏิบัตติ ามโดยไมช่ ้แี จงเหตุผล เม่ือมคี วามขัดแยง้ เกิดขึ้นกใ็ ชอ้ ารมณ์หรอื กฎเกณฑท์ ี่ตนพอใจ ตดั สิน ไมเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้แสดงความคดิ เหน็ หรือเขา้ ไปมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ เน่อื งจากปฏสิ ัมพันธใ์ นช้นั เรยี นระหว่างครูและผู้เรียนจะอยู่ในรปู ของการพดู โตต้ อบกัน ระหว่างครูและผู้เรียนที่เรียกว่า ปฏิสัมพันธ์ทางวาจาระหว่างครูและผู้เรียน จึงมีผู้ศึกษาระบบ การสื่อสารในชั้นเรียนท่ีเป็นปฏิสัมพันธ์ทางวาจากันเป็นหลัก ยกตัวอย่างเช่น ตามแนวคิดของ แฟลนเดอร์ส (Flanders, 1970) ได้จาแนกปฏิสัมพันธ์ทางวาจาระหว่างครูและผู้เรียน ออกเป็น 4 ประเภท โดยจัดรวมเป็นกล่มุ ใหญๆ่ ได้ 3 กลมุ่ ดงั แสดงไว้ในตาราง ครูพูด อทิ ธิพลทางออ้ ม 1. การยอมรบั ความรสู้ กึ ของนกั เรยี น (Teacher Talk) (Indirect Influence) 2. การชมเชยหรอื สนับสนนุ ให้กาลังใจ 3. การยอมรับหรอื นาความคิดเห็นของนกั เรยี นมาใช้ อทิ ธิพลทางตรง 4. การถามคาถามเพื่อใหน้ กั เรียนตอบ (Direct Influence) 5. การบรรยาย 6. การออกคาสง่ั หรือการแนะแนวทางท่ีมุง่ หวงั ให้ นกั เรยี นพูด (Student Talk) นักเรยี นปฏิบัติตาม 7. วจิ ารณห์ รือการใช้อานาจครู 8. การพดู เพ่ือตอบคาถามครู 9. การพดู รเิ รมิ่ เพือ่ แสดงความคิดเหน็ การต้งั คาถาม ครู 10. การเงียบหรอื ความวนุ่ วายสบั สน ภาพที่ 4.20 ประเภทของปฏสิ ัมพันธ์ทางวาจาระหวา่ งครแู ละผเู้ รยี น ท่มี า: รัญจวน คาวชิรพิทักษ์, 2538, น. 62

147 การจาแนกปฏิสัมพันธ์ทางวาจาท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียนว่าเป็นพิธีกรรมประเภทใดนั้น แฟลนเดอร์สก็ได้อธิบายความหมายของพฤติกรรม พร้อมท้ังยกตัวอย่างคาพูดในแต่ละพฤติกรรม ดงั ต่อไปนี้ 1. การยอมรับความร้สู กึ ของนกั เรียน (Accepts Feeling) เป็นการพูดของครูซึ่งยอมรับ ความเข้าใจความรู้สึกของนักเรียน ไม่ว่าพฤติกรรมท่ีนักเรียนแสดงออกมานั้นครูจะเห็นด้วยหรือไม่ เห็นดว้ ยกต็ าม เช่น เม่ือเริม่ ดาเนินการสอนครูพูดว่า “ครูทราบดีวา่ มีพวกเราบางคนร้สู ึกวา่ บทเรียน เมื่อวานนี้ค่อนข้างยากและสับสน ดังน้ันในวันน้ีขอให้เราได้เรียนในส่ิงท่ีน่าต่ืนเต้น และน่าสนใจ มากกวา่ ” 2. การชมเชยหรือสนับสนุนให้กาลังใจ (Praises or Encourages) เป็นการพูดของครู ที่ใช้เม่ือครูเห็นด้วยกับการกระทาของนักเรียน การมองตรงไปยังนักเรียนแล้วพยักหน้ารับพร้อมทั้ง กลา่ วคาว่า “ดี..” เปน็ การบอกให้นักเรยี นทราบวา่ การกระทาของนักเรียนอยู่ในแนวทางท่ีถูกต้องแล้ว และครูต้องการให้นักเรียนกระทาต่อไป การท่ีครูยอมรับว่าการกระทาของนักเรียนถูกต้องและ เหมาะสมโดยการให้รางวัล นับว่าเป็นวิธีควบคุมที่ดีกว่าการลงโทษ การกล่าวคาว่า “ดีมาก” “ใชแ่ ล้ว” “ถกู ตอ้ ง” “ด”ี “พูดตอ่ ไปสิ” หรือการพูดตลกขบขันแตไ่ ม่ใช่การลอ้ เลยี น ถากถางนักเรียน คนใดคนหนึ่ง 3. การยอมรับหรือนาความคิดเห็นของนักเรียนมาใช้ (Accepts or Uses Ideas of Students) วิธีการที่แสดงว่าครูยอมรับความคิดเห็นของนักเรียนหรือนาความคิดเห็นของนักเรียน มาใช้ ได้แก่ การทวนคาตอบของนักเรียน การเปล่ียนแปลงแก้ไขถ้อยคาสานวนท่ีนักเรียนใช้มาเป็น คาพูดของครู การนาเอาความคิดของนักเรียนไปใช้เพ่ือลงความเห็นลงความเห็นหรือนาไปวิเคราะห์ ปัญหา การสรุปคาพูดของนักเรียน การยอมรับความเห็นของนักเรียนคนหน่ึงไว้ แล้วลองถามความ คิดเห็นของนักเรยี นคนอ่ืนๆ โดยตั้งคาถามขึ้นจากความคิดเห็นของนักเรียนคนแรก ซึ่งเป็นการขยาย ความคิดเห็นของนกั เรยี นใหก้ ว้างขนึ้ 4. การถามคาถามเพ่ือให้นักเรียนตอบ (Asks Questions) เป็นคาถามท่คี รูใช้เพ่ือนาเข้า ส่บู ทเรียน คาถามเกย่ี วกับเนื้อหาวิชาหรือวิธกี ารต่างๆ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ให้นกั เรียนตอบคาถามที่ครู ต้ังขึ้น ต้องชวนให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียน พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกน้ันมีได้ ทงั้ พฤติกรรมตอบสนองและพฤตกิ รรมริเรม่ิ 5. การบรรยาย (Lecturing) ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับนิยามข้ อเท็จจริง ทฤษฎี ต่างๆ หรอื การแสดงความคดิ เห็นของครู พฤติกรรมประเภทนีค้ รจู ะใชม้ ากในการสอน 6. การออกคาสั่ง หรือการแนะแนวทาง (Gives Directions) เป็นคาพูดของครูที่มี เจตนาให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ าม เป็นการส่งเสริมอทิ ธพิ ลของครูและไมใ่ หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี น

148 7. การวิจารณ์ หรือการใช้อานาจครู (Criticizes or Justifying Authority) เป็น พฤติกรรมท่ีแสดงว่าครูเป็นใหญ่ในการเรียนการสอน การดุว่านักเรียน การวิจารณ์คาพูด หรือการ กระทาของนักเรียน การไล่นกั เรียนออกจากหอ้ ง 8. นักเรียนพูดเพ่ือตอบคาถามครู (Student Talk-Response) เป็นการพูดของ นักเรยี นเพื่อตอบคาถามของครู หรือนักเรียนพดู โดยครเู ปน็ ผรู้ เิ ร่มิ หรอื ชกั ชวนให้นกั เรียนตอ้ งพดู 9. นักเรยี นพดู ริเร่ิม (Student Talk Initation) เปน็ การพูดของนกั เรียนเพ่ือแสดงความ คดิ เห็น หรอื ถามคาถามครเู มื่อเกดิ ข้อสงสยั 10. การเงียบ หรือความวุ่นวายสับสน (Silence or Confusion) ได้แก่ การหยุดเว้น ระยะการพูด หยุดคิด หรือเมื่อมีเสยี งวนุ่ วาย สับสนจนไมส่ ามารถจาแนกพฤติกรรมในขณะน้ันเขา้ ไว้ ในประเภทใดได้ จากระบบการจัดกลุ่มปฏิสัมพันธ์ทางวาจาของแฟนลนเดอร์ส ในกลุ่มของอิทธิพล ทางอ้อมนั้น เป็นวิธีการสื่อสารของครูในบรรยากาศท่ีเป็นประชาธิปไตย นักเรียนมีโอกาสแสดง ความสามารถให้เป็นที่ปรากฏในช้นั เรยี น มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น และมีความผูกพันใกล้ชิด กับครูและเพื่อนด้วยกันเอง แต่ในกลุ่มของอิทธพิ ลทางตรง เป็นวิธีการส่ือสารของครูในบรรยากาศท่ี เป็นเผดจ็ การ ครเู ปน็ ผกู้ มุ อานาจสาคัญ นกั เรียนขาดโอกาสในการสนทนาแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ผลการวิจัยในต่างประเทศพบว่า เม่ือครูสร้างปฏิสัมพันธ์แบบแรก คือ แบบ ประชาธิปไตยกับนักเรียน คือให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนและเข้าร่วมกิจกรรมในช้ันเรียน ครูยอมรับความแตกต่างของนักเรียน ทั้งในด้านความสามารถ ความสนใจ และเจตคติแล้ว นักเรียน จะมุ่งเรียนเพื่อความรู้มากกว่าคะแนน นักเรียนจะมีความอบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความเชื่อมั่น เป็นตัวเอง และให้ความร่วมมือกับหมู่คณะเป็นอย่างดี แต่ครูที่ใช้ปฏิสัมพันธ์แบบหลังคือ แบบยึด ตัวเองเป็นหลัก นักเรียนจะมุ่งเรียนเพื่อคะแนนเป็นสาคัญ ไม่สนใจคนอื่น ไม่รู้จักการร่วมกลุ่ม นอกจากนน้ั เมื่อทดลองใหน้ ักเรียนเรยี นเนือ้ หาเดยี วกัน แต่ใช้วธิ ีการสอนต่างกัน พบว่า ครทู ่ีใหค้ วาม สนใจนกั เรยี นและสนับสนุนให้เดก็ มบี ทบาทต่างๆ และแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง ทาใหน้ ักเรยี นมีความวิตก กงั วลต่า แก้ปัญหาได้ดี มีความม่ันคงทางอารมณ์ สาหรับการวิจัยในประเทศไทยเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครกู ับนกั เรียน พบว่า ปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างครูและนักเรียน มีความสาคัญในการเสรมิ สร้างการ เรียนรู้ บุคลิกภาพ และอัตมโนทศั นท์ ่ดี ีของเดก็ เชน่ กัน ดงั น้ัน ในการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน ควรจะใช้วิธีการสื่อสารท่ีแสดงความรัก ความอบอุ่น และสนับสนุนให้นักเรียนได้ใช้ความสามารถอย่างเต็มท่ี ตามความถนัด และความสนใจ ของนักเรียนแต่ละคน เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนในการริเร่ิมวางแผน และดาเนินกิจกรรม อย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันก็ตอ้ งระมัดระวงั ไม่ตามใจนกั เรียน หรือเข้มงวดกับนกั เรียนจนเกนิ ไป แต่จะปฏิบัติต่อนักเรียนทุกคนด้วยความยุติธรรม มีการยกย่องชมเชยตามโอกาสอันควร ปฏิบัติต่อ

149 นักเรียนทุกคนด้วยความยุติธรรม ไม่ใช้การขู่เข็ญเป็นหลักและถ้าครูได้กระทาอย่างสม่าเสมอจะ ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากมายต่อการพัฒนาอัตมโนทัศน์ที่เหมาะสมของเด็ก ครูที่ให้ความสาคัญ สนใจนักเรียน และส่งเสรมิ ให้นักเรียนได้แสดงบทบาทต่างๆ โดยเฉพาะฝึกให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วย ตนเอง ทาใหน้ กั เรยี นมีความวิตกกงั วลน้อย สามารถแก้ปญั หาไดด้ ี 2. ทักษะการสอื่ สารทจ่ี าเปน็ สาหรบั ครู กลวิธีในการสื่อสารที่ครูควรศึกษาและนาข้อความรู้จากการศึกษาไปพั ฒนาวิธีการ สื่อสารของครูในช้ันเรียน ประกอบด้วย ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ ทักษะการนาเข้าสู่เรื่อง ทักษะการใช้คาถาม ทักษะการเล่าเรื่อง ทักษะการยกตัวอย่าง ทักษะการเสริมแรง และทักษะ การสรุป ซึ่งมรี ายละเอียดดงั น้ี (รัญจวน คาวชริ พทิ กั ษ,์ 2538, น. 69 - 79) 2.1 ทักษะการสร้างสมั พนั ธภาพ สัมพันธภาพระหว่างครูและผู้เรียน หมายถึง การปฏิบัติของครูท่ีแสดงกับผู้เรียน ซ่งึ อาจทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกในทางท่ีดีหรอื ไม่ดีต่อตัวครู รวมท้ังบรรยากาศในการเรยี นการสอน ได้แก่ การแสดงออกของครูในด้านการให้ความรัก ความเอาใจใส่ ความเข้าใจ การยอมรับ การส่งเสริมให้กาลงั ใจ ความใกล้ชดิ สนิทสนม ความยตุ ิธรรม การลงโทษอย่างมีเหตผุ ล ความสามารถ ในการอธบิ ายบทเรียน และการให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรียนการสอน วิธีการสร้างสัมพันธภาพ เริ่มต้นจากครูควรทาการวิเคราะห์ตนเอง ซ่ึงครูควรมี คุณสมบัติพื้นฐานในด้านการรู้จักตนเอง เปิดเผยตนเอง และความสามารถที่จะรู้เท่าทันความคิดของ ผู้เรียนว่าเขามองตนเองอย่างไร ทั้งนี้ครูท่ีมีความสุขผู้เรียนก็มีความสุขด้วย ครูท่ีต้องการสร้าง สัมพันธภาพท่ีดีกับผเู้ รียนควรจะมคี วามรอบคอบและสารวจตนเองเสมอ ไม่ใช่รู้จกั ตนเองตามการรบั รู้ ของตนเองเพียงฝ่ายเดียว ควรรู้จักตัวตนท่ีคนอื่นมองเราด้วย เพื่อจะได้รู้ว่าคนอื่นโดยเฉพาะผู้เรียน มองเราถูกหรือผดิ ถ้าผู้เรยี นมองเราผิดหรือมองพลาด ครูก็จะได้ชีแ้ จงและปรับปรุงตนเอง ครทู ีย่ ึดม่ัน หรอื ถือม่ันว่าตนเองถกู เสมอ ดีเสมอโดยขาดการวิเคราะห์ตนเองจะนาไปสูก่ ารขัดแย้ง และไม่สามารถ สรา้ งสมั พนั ธภาพท่ดี ีกบั ผเู้ รยี นได้ รวมถึงครูควรมคี วามสามารถในการพูด ซึ่งการพดู ที่สัมฤทธ์ิผล หมายถงึ การท่ีครู สามารถถ่ายทอดความหมายหรือความรู้สึกนึกคิดของตนไปสู่ผู้ฟังคือผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสนองวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนเป็นหลัก เช่น ถา้ ครูมุ่งพูดเพื่อให้เกิดความรู้ ระดับความจา นักเรียนก็จะมีความรู้ในเน้ือหาที่สอนในระดับของความจา ถ้าครูมุ่งพูดเพ่ือให้เกิด ความรู้ในระดับการวิเคราะห์ ผู้เรียนก็มีความสามารถในเนื้อหาท่ีสอนในระดับของการวิเคราะห์ได้

150 หรือถ้าครูมุ่งจะพูดเพ่ือสร้างเจตคติที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน ผู้เรียนก็ตระหนักถึงคุณค่าและมีเจตคติ คลอ้ ยตามตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของการจดั การเรยี นการสอน เปน็ ตน้ เน่ืองจากการพูดด้วยน้าเสียงท่ีเป็นระดับเดียวกันตลอดหรือพูดด้วยน้าเสียงเบา แบบกระซิบกระซาบจะไม่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนให้มาสู่บทเรียนได้ ส่วนน้าเสียงท่ีดัง เกนิ ไป หรือตะโกนกระโชกโฮกฮาก อาจก่อใหเ้ กดิ การปะทะหรือเผชญิ หน้ากับผเู้ รยี นได้ ครูทีด่ จี งึ ควร พูดโดยใช้ระดับเสียงปานกลางจะเน้นต่อเมื่อเน้ือหาสาระนั้นมีความสาคัญ หรือต้องการให้นักเรียน สนใจเป็นพิเศษ การเนน้ เสยี งหนักเสยี งเบาจะชว่ ยทาใหเ้ นื้อหาสาระท่คี รสู อนมีความน่าสนใจข้ึน นอกจากน้ันครูควรจะมีความคล่องแคล่วในการพูด เพราะการพูดตะกุกตะกัก สื่อความหมายถึงความลังเลใจ ไม่มั่นใจในตนเอง วิธีการพูดที่ดีสามารถที่จะฝึกฝนได้ การฝึกฝน สามารถชว่ ยใหก้ ารพดู เป็นไปอยา่ งราบรืน่ ชดั เจนและมพี ลังข้นึ วิธีการใช้มือประกอบการพูดได้อย่างเหมาะสมไม่เก่งก้าง ในการเน้นน้าหนักของ บทเรียนด้วยการใช้มือดีกว่าการพูดอย่างเดียว เพราะแสดงถึงความรู้สึกมั่นใจในตัวผู้พูด แต่ถ้าใช้ มากเกินไปก็ไม่เหมาะเพราะจะทาให้เกิดความราคาญ ผู้เรียนจะหันมาสนใจมือของครูมากกว่า บทเรยี นท่กี าลังสอนได้ สาหรบั วธิ ีการสบตาก็มีความสาคญั ยงิ่ เพราะสามารถส่ือความหมายได้หลายอยา่ ง เช่น การที่ครูมองตรงไปที่ผู้เรียนขณะที่ครูกาลังพูดด้วย จะส่ือความหมายถึงความจริงใจท่ีครูมีต่อ ผ้เู รียน และสื่อว่าคาพูดน้ันเจาะจงพูดกับเขา ส่วนการมองไปท่ีอื่น หรือหลบตาลงมองท่ีพื้น เป็นการ แสดงวา่ ครูขาดความเชื่อม่ัน ส่วนครทู ่ีมองผ้เู รียนอยา่ งไว้อานาจ ผู้เรียนอาจเกดิ ความไม่ไวว้ างใจหรือ อยากถอยหนีไป อย่างไรก็ตามครูก็พึงระลึกไว้ด้วยว่า วิธกี ารสบตาอยตู่ ลอดเวลาอาจทาให้ผู้เรียนเกิด ความรูส้ ึกอึดอัดใจ ครคู วรจะมองทีผ่ เู้ รยี นคนนีบ้ ้างผู้เรยี นคนโนน้ บ้าง เพื่อเปน็ การส่อื ความหมายว่าครู ใหค้ วามสนใจและยอมรบั ผูเ้ รยี นทุกคนโดยทว่ั ถึง 2.2 ทักษะการนาเข้าสู่เร่อื ง การนาเข้าสู่เรื่อง เป็นทักษะการสื่อสารท่ีครูใช้ในการจัดกิจกรรมก่อนเร่ิมสอน เนื้อหาบทเรยี นหรือก่อนเรมิ่ เน้ือหาเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งในบทเรยี น เพื่อเป็นการเตรียมให้ผู้เรียนมีความ พร้อมที่จะรับเนื้อหาหรือขา่ วสารใหม่ โดยครูจะต้องพยายามโยงจากความรู้เดิมท่ีผู้เรยี นสะสมไว้จาก การเรียนรู้ในครั้งก่อนๆ วิธีการนาเข้าสเู่ รือ่ ง 1) สร้างความพร้อมในการรับเนื้อหาสาระใหม่ โดยการใช้วัจนะภาษา หรือ อวจั นะภาษา การใช้สือ่ โสตทศั น์ หรอื ปฏิสมั พันธ์ทีเ่ หมาะสมระหว่างผคู้ รแู ละผูเ้ รยี น

151 2) สร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียน ด้วยท่าทีที่กระตือรือร้นของครู หรือกิจกรรมท่ี นา่ สนใจ 3) ครูเชอ่ื มโยงความรู้เก่าให้เขา้ กบั ความรใู้ หม่ของผเู้ รียนด้วยการทบทวนความรู้ที่ ผเู้ รียนเรียนมาแล้ว หรือด้วยการเปรียบเทียบความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างความรู้เก่ากับ ความรใู้ หม่ 2.3 ทักษะการใชค้ าถาม คาถามเป็นการส่งสารของครูไปยังผู้เรียน อาจจะด้วยวาจาหรือการเขียนเป็น ข้อความ เพื่อกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนใช้ความคิด แสวงหาข่าวสาร แปลความหมายของขา่ วสารและเกิดการ เรยี นรขู้ ึ้น คาถามอาจจาแนกได้เปน็ 2 ระดับ คอื 1) คาถามระดับต่า เป็นคาถามท่ีถามข้อเท็จจริง หรือใช้ความคิดในระดับต่า เก่ียวกับความจาหรือความเข้าใจ มักจะขึ้นต้นคาถามด้วยใคร อะไร ที่ไหน และเม่ือไหร่ เช่น ใครคือ กษัตรยิ พ์ ระองคแ์ รกของราชวงศจ์ กั รี เปน็ ต้น 2) คาถามระดับสูง เป็นคาถามที่ผู้ตอบต้องใช้การประยุกต์หรือการประเมิน หรือใช้ความคิดในระดับสูง คาตอบท่ีได้อาจมาจากการต้ังสมมติฐาน หรือการคาดคะเน หรือการ ประเมนิ ตัวอย่างมกั จะข้ึนต้นคาถามด้วยคาวา่ ทาไม อย่างไร เช่น ทาอยา่ งไรนักการเมอื งไทยจึงจะมี คณุ ธรรมมากขึน้ เป็นต้น คาถามแต่ละระดับต้องใช้ความสามารถทางสติปัญญาแตกต่างกัน เมื่อครูจะสอน บทเรียนใดควรเตรียมตวั ในการตงั้ คาถามเพ่อื กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนใช้ความสามารถในการคิดค้นหาคาตอบ ทกั ษะและความสามารถในการคดิ ของผู้เรยี นขึน้ อยู่กับวธิ ีการตั้งคาถามของครู การใช้คาถามระดับสูง จะกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความคดิ และคน้ คว้าขอ้ มูลจากแหล่งตา่ งๆ ที่สาคัญ ครูพึงระวังไวด้ ว้ ยว่าคาถาม ระดบั สูงยังไมค่ วรใชก้ บั ผูเ้ รียนท่มี ีความสามารถต่าหรือผู้เรยี นในวัยต้นๆ ยกตัวอยา่ งเชน่ คาถามระดับ นาไปใช้ ไม่ควรใช้กับผู้เรียนที่ยังไม่มีความสามารถในการจา การแปลความ หรือการอธิบายความ คาถามที่ใช้ในการประเมินผลควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน ถ้าครูมี วัตถุประสงค์ในสอนเพ่ือให้ผู้เรียนใช้ความคิดระดับสูง การประเมินผลก็ต้องใช้คาถามในระดับ วิเคราะห์สังเคราะห์ หรอื การประเมนิ ผล เป็นต้น คาถามเป็นเครื่องมือสาคัญในการกระตุ้นให้ผู้เรียน ใช้ความคิดวิพากษ์วิจารณ์จนเกิดการเรียนรู้ในระดับที่ต้องการ ครูควรใช้คาถามในการกระตุ้นให้ ผเู้ รยี นเป็นผ้แู สวงหาและคดิ ค้นหาคาตอบด้วยตัวเองให้มากทสี่ ดุ ก า ร ใช้ ค า ถ า ม อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เกิ ด จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค า ถ า ม การฝึกหัดตั้งคาถาม นอกจากนั้นครูยังควรศึกษากลวิธีในการต้ังคาถาม ซึ่งจะนาผู้เรียนให้บรรลุ

152 เป้าหมายที่ต้ังไวใ้ นบทเรียนแตล่ ะบทได้ วธิ กี ารใช้คาถามเป็นเร่อื งท่ีครูสามารถเรียนรู้ได้ วิธดี าเนินการ และแนวทางใชค้ าถามทเี่ หมาะสม สรปุ เป็นประเด็นสาคัญไดด้ ังน้ี 1) เริ่มจากคาถามท่ีงา่ ยไปหาคาถามทยี่ าก 2) ไม่ทวนคาถามและคาตอบโดยไม่จาเป็น เพ่ือให้ผู้เรียนจดจ่อกับคาถามที่ ต้องการใหค้ าตอบ 3) เวน้ ระยะใหผ้ ูเ้ รยี นคิด เมือ่ ถามคาถามจบแตล่ ะคาถาม 4) ใช้คาถามถูกจังหวะ สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการจดั การเรียนการสอน 5) ตระหนักว่าบุคลิกลักษณะ ท่าทาง และน้าเสียงของการถามจะช่วยสร้าง บรรยากาศท่ดี ใี นการเรยี น 6) เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นตอบคาถามตามระดับความสามารถ ไม่เจาะจงว่าคาถามนี้ ผูเ้ รยี นคนใดต้องเปน็ ผตู้ อบโดยเฉพาะ 7) ผู้ถามต้องแก้ปัญหาเม่ือได้รับคาตอบท่ีไม่ตรงกับความต้องการ เช่น ปรับปรุง คาถามงา่ ยๆ เข้า หรือแนะนาให้ผู้เรียนไปค้นคว้าหาคาตอบจากทอี่ นื่ 8) ใหก้ ารเสริมแรงในชว่ งเวลาที่เหมาะสม 2.4 ทกั ษะการเลา่ เร่ือง การเล่าเรื่องเป็นทักษะท่ีครูนาเอาเร่อื งราวจากหนังสือ นิทานพื้นบ้าน ชีวประวัติ ของบุคคลสาคัญ หรือเหตุการณ์แวดล้อมรอบตัวต่างๆ ที่เป็นเรื่องราวมาเล่าให้ผู้เรียนฟัง เพื่อให้เกิด ข้อคิด คติเตือนใจ การวิเคราะห์ การประเมิน และการสร้างบรรยากาศในช้ันเรียนให้เกิดความ สนุกสนาน กลวิธใี นการเลา่ เรอ่ื ง มดี ังน้ี 1) ใช้ท่าทางประกอบการเล่าเร่ืองได้สอดคล้องกบั เน้ือเรื่อง 2) ใช้ภาษาทสี่ ภุ าพ เขา้ ใจง่าย เหมาะกบั ระดับผู้ฟัง 3) ใช้นา้ เสียงหนักเบา เร็ว ช้า หรือเว้นระยะตามเหตุการณ์ของเรือ่ ง เพื่อให้ผู้เรยี น เห็นจรงิ เกิดอารมณ์คลอ้ ยตาม 4) แสดงอารมณอ์ อกทางใบหนา้ ให้เหมาะสมตรงกบั เหตุการณ์ของเรื่อง 5) เลือกใชส้ ื่อโสตทศั น์ประกอบการเลา่ ให้เหมาะกับเน้ือเร่ือง อาจจะใช้ในตอนนา ตอนสรุป โดยสื่อโสตทัศน์ควรจะมีลักษณะสีสันน่าสนใจ มีขนาดใหญ่พอท่ีจะมองเห็นได้ท้ังชั้นเรียน ถ้าเป็นสอื่ โสตทศั น์เกยี่ วกบั เสียงกค็ วรชดั เจนและไดย้ นิ อย่างทวั่ ถงึ

153 2.5 ทกั ษะการยกตัวอยา่ ง การยกตัวอย่าง เป็นทักษะท่ีครูใช้ตัวอย่างเพื่อส่ือสารให้เกิดความเข้าใจในส่ิงที่ เป็นนามธรรม ตัวอย่างอาจเป็นการอุปมาอุปมัย การเล่านิทาน วัสดุ แผนภูมิ แผนภาพ และอ่ืนๆ ที่จะช่วยให้บทเรียนที่เป็นนามธรรมกระจ่างขึ้น หรือแสดงสิ่งท่ีเป็นนามธรรมให้เข้าใกล้เคียงกับสิ่งท่ี เป็นรูปธรรมมากข้ึน ตัวอย่างทด่ี ีควรเป็นสิ่งท่ีผู้เรียนคุ้นเคย ครทู ี่มีความสามารถในการยกตัวอย่างจะ สามารถโยงจากบทเรยี นท่ีผ้เู รยี นไม่รู้ไปสสู่ ่งิ ที่ผูเ้ รยี นรู้ การยกตัวอย่างเปน็ วิธีการส่ือสารที่สามารถชว่ ย ให้ผู้เรียนเขา้ ใจบทเรยี นท่มี คี วามยากและซับซอ้ นได้ วธิ ีการยกตัวอย่าง มดี ังน้ี 1) ใชต้ ัวอยา่ งทเี่ ข้าใจงา่ ย หรือใชต้ ัวอย่างที่ผู้เรียนมีความรู้มาแลว้ 2) ใชต้ ัวอยา่ งที่สอดคลอ้ งกบั กฎหรอื แนวคิดทกี่ าหนด 3) ใช้ตัวอย่างทีน่ ่าสนใจ เพอื่ รับความสนใจของผู้เรียน 4) ใชต้ วั อยา่ งทเี่ หมาะสมกบั สถานการณ์ อายุ ความสามารถของผู้เรยี น 2.6 ทกั ษะการเสริมแรง การเสริมแรง คือ เทคนิคหรือกลวิธีที่ครูใช้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน ไปในทิศทางท่ีพึงประสงค์ ตามหลักการสาคัญว่าการกระทาใดๆ ที่ได้รบั การเสรมิ แรงจะมีแนวโน้มให้ ความถี่ในการกระทาน้ันเพิ่มข้ึน ส่วนการกระทาที่ไม่ได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มให้ความถี่ใน การกระทาน้ันลดลงและหายไปในท่ีสดุ ยกตวั อย่างเชน่ เมื่อครูถามคาถามและผู้เรียนตอบคาถามของ ครแู ลว้ ครูยกย่องชมเชย โดยทีก่ ารยกยอ่ งชมเชยเปน็ ท่ีพึงปรารถนาของผูเ้ รยี นผู้นั้น การยกยอ่ งชมเชย ก็จะเป็นตัวแรงเสริมให้ผู้เรียนตอบคาถามของครูบ่อยขึ้น หรือด้วยความต้ังใจย่ิงขึ้น แต่ถ้าหากว่า คาตอบของผู้เรียนได้รับการเมินเฉยจากครูหรือถูกครูตาหนิเม่ือตอบผิด ซ่ึงเป็นภาวะที่ผู้เรียนผู้นั้น ไม่พงึ ประสงค์ ความถใี่ นการตอบคาถามหรอื ความตงั้ ใจของผเู้ รยี นในการตอบคาถามก็จะลดน้อยลง วิธกี ารเสริมแรงในชัน้ เรยี น มีดงั นี้ 1) การเสริมแรงทางวาจา ได้แก่ การกล่าวขวัญถึง การชม การให้กาลังใจ การสนับสนุนโดยการใช้คาพดู เช่น ดีใ ชแ่ ล้ว ถูกต้อง เยี่ยมมาก น่าพอใจมาก ขอชมเชย เปน็ คาถามท่ี ดีมาก ผลงานดีมาก 2) การเสริมแรงด้วยกิริยาท่าทาง ครูใช้หน้าตาท่าทางสื่อความหมายท่ีแสดงการ ยอมรบั พอใจ เชน่ ยมิ้ พยักหน้า หวั เราะ ปรบมอื ยกนิ้ว เป็นตน้ 3) การเสริมแรงด้วยการแสดงความเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ได้แก่ ครูเข้าไปใกล้ เข้าไปน่ังดว้ ยความเปน็ กนั เอง เป็นต้น

154 4) การเสริมแรงด้วยการสัมผัส ได้แก่ การลูบหัว ตบหัวไหล่ จับมือ หรืออ่ืนๆ ทเี่ หมาะสมตามเพศ วัย และวัฒนธรรม 5) การเสริมแรงด้วยกิจกรรม ได้แก่ การจัดกิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วม และสร้าง เสริมกาลงั ใจใหผ้ เู้ รยี นรสู้ ึกวา่ ตนสามารถทาได้สาเร็จ 6) การเสริมแรงด้วยการให้รางวัล ได้แก่ การให้คะแนน การให้รางวัลด้วยขนม การเขียนชมเชยในสมุดแบบฝึกหัด การแสดงการพัฒนาการของผู้เรียนด้วยแผนภูมิ การให้ผู้เรียน ได้รับเกยี รตจิ ากกลุ่ม เป็นตน้ 2.7 ทกั ษะการสรุป การสรุป คือ การประมวลสาระสาคัญๆ ของบทเรียนท่ีได้เรียนจบลง หรือเนื้อหา ตอนใดตอนหน่ึงของบทเรียน เพื่อใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ นวคิดทถี่ กู ต้องในเรือ่ งน้นั และเชือ่ มโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ ในเน้ือหาต่อไป ยกตัวอย่างเช่น ในชัว่ โมงการเรียนวชิ าชวี วิทยา ครนู าเขา้ ส่เู ร่อื งด้วยการนานกท่ีสตัฟฟ์ ไว้มาให้ผู้เรียนดู เพ่ือนาไปสู่การเรียนเรื่อง “สัตว์ปีก” เมื่อจบบทเรียน ครูก็นาภาพค้างคาวมาให้ ผเู้ รยี นดู แล้วถามว่าค้างคาวเป็น “สตั ว์ปีก” หรือ “สัตว์เล้ียงลูกดว้ ยนม” คาถามนี้ต้องการให้ผู้เรียน นาความรทู้ ่ีเพิงได้รับโยงไปสกู่ ับเนื้อหาใหมท่ ่ีจะเรียนในอันดับตอ่ ไป หลงั จากนั้นครูอาจสรปุ บทเรียน ว่า “วันน้ีเราเรียนเรื่องสัตว์ปีก ซึ่งเป็นสัตว์เลือดอุ่น ค้างคาวมีปีกก็จริง แต่เป็นสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ในคราวหน้าเราจะมาพิจารณากันว่า ทาไมค้างคาวจึงถูกจัดไวใ้ นกลุ่มประเภทสตั ว์เลยี้ งลูกด้วยนม” การสรปุ มี 2 ลักษณะ คอื 1) การสรุปเน้ือหา คือ การดึงให้ผู้เรียนเอาใจใส่ในสาระสาคัญจากเนอ้ื หาบทเรียน ที่เรียนไปแล้ว การสรุปเนื้อหากระทาเมื่อจบบทเรียน เมื่อจบเรื่องใดเรื่องหนึ่งในบทเรียน หรือเมื่อ ผู้เรียนอภปิ รายหรือฝกึ ปฏบิ ัติจบลง 2) การสรุปเสริมพลังใจ ได้แก่ การสรุปที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจใน ความสาเร็จและกระตนุ้ ใหม้ ีการกาลงั ใจ ความสามารถที่จะเรยี นตอ่ ไป การสรุปเสริมพลงั ใจกระทาได้ เมือ่ จบบทเรียน หรือเมือ่ จบการเรยี นเร่ืองท่ียาก ดังน้ัน สามารถท่ีจะบูรณาการสรุปเนื้อหาและการสรุปเสริมพลังใจเข้าด้วยกัน เพ่ือประมวลความรู้ท่ีพ่ึงเรียนจบลง เพ่ือให้ผู้เรียนใส่ใจเรื่องท่ีเรียนไปแล้ว และเพ่ือสร้างความรู้สึก ประสบความสาเรจ็ และความสามารถให้แก่ผูเ้ รยี น วธิ ีการสรปุ มดี ังนี้ 1) สรปุ เชื่อมโยงเนือ้ หา ประกอบดว้ ย 1.1) การสรุปทบทวน ได้แก่ การสรุปทบทวนสาระสาคัญๆ ของเนื้อหา ครไู ม่จาเป็นตอ้ งทบทวนเองท้งั หมด ผู้เรยี นควรมีสว่ นร่วม แตค่ รูจะต้องพยายามใหม้ ีการทบทวนให้ได้

155 สาระสาคญั ๆ และประมวลเรียบเรียงอย่างเหมาะสม ครอู าจจะสรปุ โดยใช้วิธีกล่าวเช่ือมโยงจุดสาคัญ ตา่ งๆ และมุมต่างๆ ในเน้ือหาท่ีเรยี น หรืออาจใช้การแปรเปล่ียนกจิ กรรมซึ่งอาจทาให้ความรู้สึกร่วม ในการสรุปมีมากขึ้น เชน่ การเขยี นลงบนกระดานดา การใชร้ ูปภาพ การแสดงบทบาทสมมตุ ิ เป็นต้น 1.2) การประเมิน ได้แก่ การที่ครูติดตามดูว่าผู้เรียนเข้าใจหรือเรียนรู้ สาระสาคัญต่างๆ ที่มีในบทเรียนหรือไม่ โดยอาจจะดูจากการแสดงออกเก่ียวกับเน้ือหาสาระท่ื กาลังเรียน ความเอาใจใส่ สนใจ หรือพ้นื ความรู้เดมิ ของผู้เรยี น 1.3) การนาไปสู่การเรยี นเนื้อหาตอ่ ไป ได้แก่ การเช่อื มโยง การสรปุ ทบทวนกับ กิจกรรมการเรียนทีจ่ ะเรียนต่อไป ครูอาจกลา่ วถงึ งาน แบบฝึกหัด หรอื กจิ กรรมท่ีจะปฏิบัตใิ นบทเรยี น ขา้ งหน้าให้สมั พนั ธ์กับการสรปุ เนอื้ หาทีเ่ รียนจบลง 2) การเช่ือมโยงทางใจ ครูสร้างความรู้สึกของความสาเร็จในการสรุป โดยการ เสรมิ แรง ครอู าจจะใหค้ าชมเชยในความสามารถเพื่อจงู ใจใหม้ ีความพยายามและความต้งั ใจต่อไป 3) การเรา้ ความสนใจ ครูแสดงความเอาใจใส่ กระตือรือรน้ เพื่อดึงความสนใจของ ผู้เรียน ตลอดบทเรียน ครูอาจใช้กิจกรรมที่ตื่นเต้นหรือแปลกในการสรุป เพ่ือชวนให้ผู้เรียนติดตาม ด้วยความสนใจ บทสรปุ การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความต้องการ อารมณ์ และ ความรู้สึกซ่ึงกันและกัน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน การสอื่ สารมคี วามสาคญั ในการติดต่อสัมพันธ์ การดาเนินชีวิต และการบริหารงาน ซึ่งการสื่อสารมีความสาคัญต่อครูในด้านการถ่ายทอดความรู้ ความน่าเชื่อถือ เคารพยาเกรงทั้งต่อศิษย์ เพ่ือนร่วมงานและผู้ปกครอง รวมถึงการปฏิบัติงานใน สถานศกึ ษา การสอ่ื สารโดยทั่วไปมีวตั ถุประสงค์เพอื่ ให้ข้อมูล การจูงใจ การบงั คบั บัญชาหรอื การสอน และสร้างความบันเทิง สว่ นการส่ือสารสาหรับครู จะเก่ียวข้องกับการติดต่อสอื่ สารในช้นั เรียน ซึง่ เป็น การส่งผ่านและแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารในลักษณะของความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม ความคิดเห็น ความเข้าใจ ความรู้สึกซึ่งกันและกันระหว่างครูกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามหลักสตู รในแตล่ ะระดับของการศึกษา องค์ประกอบท่ีสาคัญของการส่ือสาร ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร ข่าวสาร สื่อ และผู้รับสาร ส่วนกระบวนการส่อื สารมีลักษณะเป็นระบบ แบ่งได้ 7 ขน้ั ตอน ได้แก่ การเกิดความคิด การประมวล ความคิดหรือเข้ารหัส การถ่ายทอดข่าวสาร การรับสาร การถอดรหัสหรื อการถอดความ การแสดงออกหรือพฤติกรรมตอบสนอง และการให้ข้อมูลย้อนกลับ สาหรับการส่ือสารในชั้นเรียน

156 มีองค์ประกอบท่ีสาคัญ คือ ตัวครูหรอื ผู้ส่งสาร สาร ชอ่ งทางการสื่อสาร ตัวผู้เรียนหรือผู้รับสาร และ การให้ข้อมลู ย้อนกลับ ประเภทของการสื่อสาร สามารถจาแนกได้โดยอาศัยเกณฑ์ 3 ประการ คือ 1) การจาแนก ตามจานวนของผู้ส่ือสาร ได้แก่ การส่ือสารภายในบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสาร กลุ่มใหญ่ การสื่อสารในองค์กร และการส่ือสารมวลชน 2) การจาแนกตามภาษา และสัญลักษณ์ท่ี แสดงออก ไดแ้ ก่ การสื่อสารเชิงวัจนะภาษา และการสอื่ สารเชิงอวจั นะภาษา และ 3) การจาแนกตาม ลักษณะการมีปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การส่ือสารแบบทางเดียว การส่ือสารแบบสองทาง และการส่ือสาร แบบหลายทาง ส่วนการสื่อสารระหว่างผู้เรียน ประกอบด้วย ลักษณะการสื่อสารระหว่างผู้เรยี น และ วิธีการส่ือสารระหว่างผู้เรียนในชั้นเรียน ได้แก่ การส่ือสารในกลุ่มแบบติว การสื่อสารในกลุ่มแบบ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การสื่อสารในกลุ่มโดยมีปัญหาหรือบทเรียนเป็นศูนย์กลาง และการส่ือสารใน กลุ่มโดยผู้เรียนทุกคนมีการติดต่อสื่อสารกันโดยเสรี และปัญหาการส่ือสารระหว่างผู้เรียน ได้แก่ ประสบการณ์ต่างกัน การขาดทักษะในการส่ือสาร บุคลิกภาพของผู้เรียน การควบคุมอารมณ์ การล้อเลียน ความภักดีต่อกลุ่ม และการขาดทักษะในการปฏิเสธ สาหรับข่ายงานการสื่อสารภายใน สถานศึกษา ประกอบด้วย แบบวงกลม แบบดาว แบบเฉก แบบลูกโซ่ แบบตัววาย และแบบทุก ช่องทาง อุปสรรคของการส่ือสารในช้ันเรียน เกิดจากปัจจัย 2 ประการ คือ 1) ส่ิงรบกวนภายนอก ได้แก่ การจัดท่ีนั่งในชั้นเรียน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน และ 2) ส่ิงรบกวนภายใน ได้แก่ การรับรู้พลาด และการรบั ร้จู ากัด สาหรับวิธกี ารสื่อสารเพอ่ื สร้างสัมพันธภาพทีด่ สี าหรับครู ทาได้โดย 1) การสร้างปฏิสัมพันธ์ทางวาจาระหว่างครูและผู้เรียน และ 2) เสริมสร้างทักษะการส่ือสารที่จาเป็น สาหรับครู ไดแ้ ก่ ทักษะการสร้างสมั พันธภาพ ทักษะการนาเขา้ สู่เร่ือง ทกั ษะการใช้คาถาม ทักษะการ เล่าเรอ่ื ง ทกั ษะการยกตัวอยา่ ง ทกั ษะการเสรมิ แรง และทกั ษะการสรุป

157 คาถามทา้ ยบท จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ โดยอธิบายพร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ 1. จงอธิบายความหมายของการส่อื สาร 2. การส่อื สารมีความสาคญั อย่างไรต่อการปฏบิ ัตหิ น้าทขี่ องครู 3. จงอธิบายวตั ถปุ ระสงค์ของการสือ่ สาร 4. จงอธบิ ายองคป์ ระกอบของการสอ่ื สาร และการส่อื สารในชัน้ เรียน 5. กระบวนการสอ่ื สารเป็นอย่างไร และขนั้ ตอนของการส่อื สารข้ันใดสาคญั ที่สุด 6. จงอธิบายประเภทของการสอื่ สาร 7. จงอธบิ ายวิธีการสื่อสารระหว่างผเู้ รยี นในชน้ั เรยี น 8. ทา่ นคดิ ว่าปญั หาการสือ่ สารระหวา่ งผเู้ รยี นที่พบมากคอื ปญั หาใด และมีวธิ กี ารแกป้ ัญหา อย่างไร 9. จงอธบิ ายปัญหาและอุปสรรคของการส่ือสารในช้นั เรียน 10. ท่านคดิ วา่ ทกั ษะการสอื่ สารที่จาเปน็ สาหรับครู ทกั ษะใดสาคัญที่สุด และอธบิ ายวิธีการ เสรมิ สรา้ งทกั ษะน้ัน

158 เอกสารอ้างอิง กมลรฐั อินทรทัศน์ และพรทิพย์ เย็นจะบก. (2553). ศิลปะการสือ่ สาร. ใน ศิลปะการดาเนินชวี ิต. (พมิ พ์คร้งั ที่ 10). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เจษฎา บุญมาโฮม. (2555). มนุษยสมั พนั ธ์สาหรับคร.ู นครปฐม: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม. พรรณทพิ ย์ ศริ วิ รรณบุศย.์ (2549). มนษุ ยสัมพนั ธ.์ (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). กรุงเทพฯ: สานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รญั จวน คาวชริ พิทกั ษ์. (2538). จติ วิทยาการสอื่ สารในชัน้ เรยี น. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัย สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. วงศน์ ภา ตยิ ะวานิช. (2548). พฤตกิ รรมมนุษยก์ บั การพัฒนาตน. นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม. วิชัย ธปู ทองและคณะ. (2554). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. อดุ รธานี: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ อุดรธาน.ี วมิ ล เหมอื นคดิ . (2543). มนษุ ยสัมพันธ์. พมิ พ์ครงั้ ที่ 4. กรุงเทพฯ: ศนู ย์ผลิตตาราเรียน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สมพร สุทัศนีย์. (2554). มนุษยสัมพันธ.์ (พิมพค์ รั้งท่ี 10). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เสนาะ ตเิ ยาว์. (2551). หลักการบริหาร. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. อัญชลี โพธทิ์ อง. (2551). การบริหารการประชาสัมพันธแ์ ละความสัมพนั ธ์ชมุ ชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาแหง. อาภสั สรี ไชยคุนา. (2542). การสื่อความหมายสาหรบั คร.ู เชียงใหม่: คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏ เชียงใหม.่ Barker, L.L. (1982). Communication in the Classroom. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall. Inc. Baron, R.A. & Byrne, D. (2000). Social Psychology. NJ: Allyn and Bascon. Flanders, N.A. (1970). Analyzing Teaching Behavior. Massachusett: Addison Wesley Publishing Company. Getzels, J. W., and Guba, E. G. (1974). “Social Behavior and Administrative Process”. School Review. 65(11), 423-441. Koontz, H. & Weihrich, H. (1988). Management. New York: McGraw – Hill.

159 Levine, M.W. and Shefner, J.M. (1981). Fundamentals of Sensation and Perception. Phillippines Addison-Wesley Pub. Com., Inc. Lussier, R.N. (2002). Human relations in organizations: Application and skill-building. 5th ed. Boston: McGraw-Hill. Rosenfield, P., Lambert, N. M., & Black, A. (1985). Desk arrangement effects on pupil classroom behavior. Journal of Educational Psychology. 77(1), 101-108. Schiffman, S.P, Kanuk, L.L. (2007). Consumer behavior. 9th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

บทท่ี 5 การติดต่อสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและมารยาทสัมพนั ธ์ ในการติดต่อสื่อสารน้ัน ส่ิงที่สาคัญท่ีสุด คือ ผู้รับสารและผู้ส่งสาร เพราะการรับสารหรือ สง่ สารนั้นจะเป็นไปอย่างเทย่ี งตรง และมีประสทิ ธิผลต้องอาศัยการท่ีผู้ส่งสาร และผู้รับสารสามารถท่ี จะใช้สติปัญญาควบคู่กับอารมณ์ในการส่งสารและรับสาร รวมถึงการทบี่ ุคคลจะเข้าใจความหมายของ การส่ือสารได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์นั้น ส่วนหน่ึงต้องรู้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มาเก่ียวข้องกัน รวมท้ังปัจจัยอื่นๆ ของบุคคลน้ัน ซึ่งได้แก่ ความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม อปุ นิสัย การอบรมเลี้ยงดู ฯลฯ นอกจากน้ี ในชีวิตประจาวันของแต่ละคนต้องเก่ียวข้องกับบุคคลอ่ืนๆ ในสังคมนั้น กิริยามารยาทที่ บุคคลแสดงออกต่อผู้อื่นย่อมมีความสาคัญมาก ถ้าแสดงกิริยามารยาทท่ีถูกต้องเหมาะสมตาม กาลเทศะ ย่อมเป็นท่ีรักใคร่ของผู้อื่น จะติดต่องานใดๆ ก็ได้รับความสะดวก และได้รับความร่วมมือ ดงั นัน้ กริ ยิ ามารยาททีบ่ คุ คลปฏิบัตติ ่อกนั อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะนั้น นับว่ามคี วามสาคัญยง่ิ ทจ่ี ะ นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ความร่วมมอื ความรักใคร่ อันเป็นหัวใจสาคัญของมนษุ ยสมั พนั ธ์ การวเิ คราะหก์ ารตดิ ต่อสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล การวเิ คราะห์การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Transactional Analysis : TA) เป็นทฤษฎี วิเคราะห์การติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล เพอ่ื ให้บคุ คลได้รู้จักบุคลิกภาพของตนเองและผู้อ่ืน ช่วยให้ เข้าใจพฤติกรรมในการติดต่อสื่อสารของตนเองและผู้อื่น ผู้เป็นเจ้าของทฤษฎีคือ ดร.อีริค เบิร์น (Eric Berne) เป็นจิตแพทยช์ าวแคนาดา เกิดท่ีเมอื งมอลทรีล ประเทศแคนาดา ได้สถาปนาทฤษฎี TA เม่ือ ค.ศ.1957 โดยอีริค เบิร์นได้พัฒนาทฤษฎี TA มาจากทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) ของซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ซึ่งเน้นว่าพฤติกรรมต่างๆ ท่ีบุคคลใช้ในการส่ือสารกันน้ัน เป็นส่ิงท่ีวิเคราะห์ได้ และได้รับอิทธพิ ลมาจากประสบการณ์ในวัยเดก็ ดงั นนั้ การวิเคราะห์พฤติกรรม จงึ สามารถวเิ คราะหย์ ้อนหลังในอดตี ไดด้ ว้ ย พรรณราย ทรัพยะประภา (2532, น.7 – 8) กล่าวว่า แต่เดิมนั้น TA เป็นวิธีการทาง จิตบาบัด (Psycho-therapy) ชนิดหน่ึง โดยจัดในรูปของกลุ่มซึ่งบุคคลและคนในกลุ่มจะสามารถ ตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเองได้มากข้ึน จากการเข้ากลุ่มนี้เอง จะทาให้ผู้รับการบาบัดได้แสดงออก

162 ซ่ึงส่ิงต่อไปน้ีคือ โครงสร้างของบุคลิกภาพของเขาเอง วิธกี ารท่ีใช้ในการติดต่อสมั พันธ์กับผู้อ่ืน เกมท่ี เล่นและบทบาทในชีวิตท่ีแสดงออกมา การตระหนักรู้ดังกล่าวช่วยส่งเสริมให้บุคคลสามารถมองเห็น ตนเองได้ชัดเจนย่ิงข้ึน เพ่ือจะสามารถเปลี่ยนแปลงในส่ิงท่ีเขาต้องการเปล่ียนแปลงได้ และสามารถ สร้างความเข้มแข็งในส่ิงท่ีเขาต้องการสร้างได้ การเปล่ียนแปลงเริ่มต้นด้วยการสร้างข้อสัญญากัน ระหว่างนักจิตบาบัดกับผู้รับการบาบัด ข้อสัญญานี้อาจเก่ียวข้องกับอาการบางอย่าง เช่น อาการ หน้าแดง หูแดง อาการขัดขืน เย็นชา หรืออาการปวดศีรษะ อาจเก่ียวกบั การควบคุมพฤติกรรม เช่น การดื่มจัด การถูกเลี้ยงดูอย่างผิดๆ การสอบตก อาจจะเน้นที่ประสบกาณ์ในวัยเด็ก ซึ่งเป็นส่วนหน่ึง ท่ีมีอิทธิพลต่ออาการและพฤติกรรมบางอย่างในปัจจุบัน ประสบการณ์ที่เด็กถูกเหยียบย่าให้ต่าต้อย ถูกทอดทิ้ง ถูกตามใจมากเกินไปหรือไม่ได้รับความเอาใจใส่ วิธีการสร้างสัญญานี้จะช่วยรักษาความ ตัง้ ใจของตนเองต่อผู้รับการบาบัดและจะชว่ ยให้เขา รวู้ ่าเขาจะไดอ้ ะไรจาก TA บา้ ง ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการศึกษา TA การวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีประโยชน์ดังต่อไปน้ี (วิมล เหมือนคิด, 2543, น. 124 - 125) 1. ช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมของบุคคล เพราะเมอื่ มีการสอื่ สารกัน จะสามารถสังเกตได้จาก กริ ิยาท่าทาง นา้ เสียง การแสดงออกทางสหี น้า พฤตกิ รรมต่างๆ เหลา่ นแ้ี สดงถึงอารมณ์ ความตอ้ งการ เจตคติ ฯลฯ ของบุคคล ทาให้ทราบว่าในขณะส่ือสารกันอยู่นั้น บุคคลใช้สภาวะแห่งตนแบบใด เขาต้องการอะไรจากการสื่อสารนั้น เชน่ ตอ้ งการคาชม ต้องการกาลังใจ 2. ช่วยให้สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเป็นไปอย่างราบร่ืน เพราะการวิเคราะห์การสื่อสาร ระหว่างบุคคล จะช่วยให้ทราบรูปแบบของการสอื่ สาร และสภาวะแห่งตนของบุคคล จึงสามารถปรับ เขา้ หากนั ใหส้ อดคล้องทั้งสองฝา่ ย จะชว่ ยให้เกดิ ความสัมพันธ์ทีด่ ีต่อกนั 3. ช่วยในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่างรวดเร็ว และเห็นผลได้ในทันที เพราะในการสื่อสารระหว่างบุคคลจะสะท้อนให้เหน็ ว่าบคุ คลควรปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมอะไรบา้ ง และ จะปรับเปลี่ยนอย่างไร ซึ่งถ้าบุคคลได้รู้จุดบกพร่องท่ีต้องการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ก็สามารถลงมือ ปฏบิ ตั ไิ ด้ในทนั ที 4. สามารถใช้ได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย แม้ผู้ท่ีมจี ิตใจวุ่นวายสับสน ผู้ท่ีมีปัญหาทางด้าน อารมณอ์ ยา่ งรนุ แรง ผู้ทเ่ี ป็นปญั ญาออ่ น ผู้ป่วยในโรงพยาบาลและในสถานบาบัดตา่ งๆ รวมทง้ั คนปกติ ทั่วๆ ไปก็สามารถใช้ TA ในการส่ือสาร เพื่อจะได้เกิดความรู้สึกท่ีดีและเกิดความมั่นใจในขณะที่มี ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผู้อ่นื

163 5. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ซึ่งใช้ได้ท้ังภาครัฐและเอกชน วงการธุรกิจและ อุตสาหกรรม ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน ทาให้เกิดขวัญ กาลังใจที่ดี สร้างความพึงพอใจในการทางาน อัตราการลาออกลดน้อยลง อันจะนามา ซึ่งประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของหนว่ ยงาน ดังได้กล่าวมาแล้วว่าการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เร่ิมต้นมาจากวิธีการ ทางจิตบาบัด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อปรบั ปรุงพฤติกรรมของบุคคลให้ดีขึ้น เบิร์นเช่ือว่าพฤติกรรมของ บุคคลขณะที่มีการติดต่อสัมพันธ์กันน้ัน จะมีอดีตของบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย กล่าวคือ ประสบการณ์ต่างๆ ในอดีต จะถูกบันทึกไว้และจะเข้ามามบี ทบาทสาคญั ต่อการแสดงพฤติกรรมของ บุคคลในปัจจบุ ันนน่ั เอง ในการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลจงึ จาเป็นต้องกล่าวถึงหวั ข้อ เกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างของบุคลิกภาพ (Structural Analysis) รูปแบบของการส่ือสาร (Transactions) การวิเคราะห์ทัศนะชีวิตหรือจุดยืนแห่งชีวิต (Life Position) การเอาใจใส่ (Stroke) และตน้ แบบชีวิต (Life Script) การวเิ คราะห์โครงสรา้ งของบุคลิกภาพ การวเิ คราะห์โครงสร้างของบุคลิกภาพ (Structural Analysis) จะช่วยให้เข้าใจตนเองและ ผู้อ่ืนมากขึ้น เม่ือบุคคลคนหน่ึงทาการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ นั้น จะสังเกตเห็นได้ว่ามักจะมี การเปลี่ยนน้าเสียง คาพูด สีหน้า ท่าทาง แววตา ฯลฯ แตกตา่ งกันไปตามบุคคลที่กาลังติดตอ่ สื่อสาร แต่ละคน สาเหตุท่ีเป็นเช่นน้ี อธิบายได้ว่า เน่อื งจากเกิดการเปล่ียนแปลงสภาวะแห่งตน (Ego State) หรือบุคลิกภาพ (Personality Element) จากแบบหนึ่งไปสูอ่ ีกแบบหนึ่ง ซึ่งเมื่อบุคคลเปล่ียนไปอยู่ที่ บุคลิกภาพแบบใดแล้ว ความรู้สึกอารมณ์และกระบวนพฤติกรรมที่ผสมกลมกลืนกันนั้นก็จะปรากฏ ออกมาเป็นภาพรวมของบคุ ลกิ ภาพของบคุ คล โดยเบริ น์ ได้แบ่งสภาวะแหง่ ตน ออกเปน็ 3 แบบ ได้แก่ สภาวะความเป็นเด็ก (Child Ego State) สภาวะความเป็นผู้ใหญ่ (Adult Ego State) และสภาวะ ความเป็นพ่อแม่ (Parent Ego State) สภาวะแห่งตนทั้ง 3 แบบ ไม่ใช่ “บทบาทของบุคคล” (Role) แต่เป็นความจริงทางจิตวิทยา (Psychological Reality) บุคคลโดยทั่วไปจะต้องมีบุคลิกภาพ ท้ัง 3 แบบรวมอยู่ในตัวเอง แต่มากน้อยแตกต่างกันในแต่ละบุคคล ขึ้นอยู่กับว่าจะมีบุคลิกภาพโน้ม เอียงไปในลักษณะใดมาก ก็จะมีพฤติกรรมไปในทางนั้นเป็นส่วนใหญ่ สามารถอธิบายลักษณะของ บคุ ลิกภาพในแต่ละประเภทไดด้ ังนี้

164 1. สภาวะความเปน็ เด็ก สภาวะความเป็นเด็ก (Child Ego State : C) เป็นลักษณะที่แสดงออกถึงความรู้สึก การกระทาที่แท้จริงท่ีตนมีอยู่ เช่น ดีใจก็กระโดดโลดเต้น กร๊ีดกร๊าด เวลาเสียใจจะร้องไห้ฟูมฟาย ออดออ้ นเพื่อตอ้ งการความรกั ความเอาใจใส่ เป็นต้น เป็นการแสดงออกแบบเดก็ ๆ ซ่ึงแสดงออกอยา่ ง ธรรมชาติแสดงถึงความต้องการท่ีแท้จริงของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ด้านบวกหรือด้านลบ โดยสภาวะความเป็นเดก็ แบ่งได้เปน็ 3 แบบ คอื 1.1 สภาวะความเป็นเด็กธรรมชาติ (Natural Child : NC or Free Child : FC) ได้แก่ พฤติกรรมที่แสดงออกอย่างเป็นธรรมชาติ มีความสนุกสนานร่าเริง ไร้เดียงสา มีความอยากรู้ อยากเหน็ ไมม่ ีเหตผุ ล เหน็ แก่ตัว รวมท้ังความกลวั ความวิตกกังวล และความก้าวรา้ ว เป็นส่วนทไี่ มไ่ ด้ ขดั เกลา จงึ แสดงออกตามความต้องการท่แี ท้จรงิ โดยปราศจากการควบคุม แสดงออกโดยอสิ ระ ตัวอย่าง ภาษาพูด : อุ๊ย!น่ารัก เย่ียมไปเลย ฉนั อยากได้ ฉนั รกั เธอจังเลย ไม่ใชค่ วามผดิ ของฉัน ฉันไม่รู้ โอ้โฮ้! ตายหละ เบ่ือจงั บ่นอยู่นน่ั แหละ กิริยาท่าทาง : ยิ้ม หัวเราะ รอ้ งไห้ ไม่เกบ็ อารมณ์ กระโดดโลดเตน้ กระทืบเท้า ทง้ึ ผม นา้ เสยี ง : เสียงดงั เต็มไปดว้ ยความรู้สึก ส่วนดีของสภาวะความเป็นเด็กธรรมชาติ (NC+) เป็นส่วนที่แสดงถึงความร่าเริง สนกุ สนาน มีความน่ารกั ไร้เดยี งสา สนิทสนมกับผอู้ ่นื อยา่ งตรงไปตรงมา ไมเ่ ก็บกด ส่วนเสียของสภาวะความเป็นเด็กธรรมชาติ (NC-) เป็นการแสดงพฤติกรรมท่ีมุ่ง สนองความต้องการของตนเอง โดยไม่คานึงว่าจะเกิดโทษตอ่ ตนเองและผูอ้ ่ืน การขาดระเบียบวินัยใน ตนเอง ขาดความรับผดิ ชอบ การตดั สินใจแบบหุนหนั ขาดการไตรต่ รองที่ดี ตัวอย่างประโยค NC+ “ดใี จจังเลยทไ่ี ด้เกรด A วิชามนษุ ยสมั พนั ธ์” กล่าวพรอ้ มกับหัวเราะกระโดด โลดเตน้ จบั มือเพอ่ื นเขย่าไปมา NC- “ซิ่งไปเลยเพื่อน อย่ายอมแพ้ แซงใหไ้ ด้เลยนะ” วา่ แล้วเพื่อนกข็ ับรถซ่งิ แซงขน้ึ ไป เสยี หลกั เกิดอบุ ตั เิ หตุ 1.2 สภาวะความเป็น เด็กปรับตัว (Adated Child : AC) เป็นผลมาจากการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสังคมของบุคคล เพ่ือรับกับสถานการณ์ที่อยู่รอบตัว ท้ังน้ีเพราะบุคคล ต้องการการยอมรับ เช่น การยอมให้เพื่อนแย่งของเล่นไปเพื่อต้องการให้เพ่ือนรัก ถ้าเชื่อฟังพ่อแม่ พอ่ แม่ก็จะรัก เป็นต้น แต่ถ้าการปรบั ตัวมีมากเกินไปจะทาให้ระดบั ความเชื่อมั่นในตนเองต่า มีผลทา ใหไ้ มก่ ล้าแสดงออก ชอบพงึ่ พาผอู้ ่นื ไม่เป็นตวั ของตนเอง ตัวอยา่ ง ภาษาพดู : ซ้ือชนิ้ ไหนดี ช่วยเลือกหน่อยซิ ช่วยฉนั ทารายงานหน่อยนะ ฉันทาไม่ได้ คิดไมอ่ อก ขอความกรุณา ไปเปน็ เพ่อื นฉนั หน่อยซิ

165 กิริยาทา่ ทาง : สภุ าพ หลบสายตา ประหม่า กลวั ไมม่ ่ันใจตนเอง นา้ เสียง : เสียงค่อย อ้อมแอม้ ไม่เต็มปากเตม็ คา เสยี งส่นั เครอื ส่วนดีของสภาวะความเป็นเด็กปรับตัว (AC+) เป็นส่วนที่แสดงถึงความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน มสี มั มาคารวะ เชือ่ ฟงั ผอู้ น่ื ทาให้เป็นทีร่ กั ใคร่ของบุคคลรอบขา้ ง สว่ นเสยี ของสภาวะความเป็นเด็กปรับตัว (AC-) เป็นพฤติกรรมท่ีขาดความม่ันใจ ในตนเอง ไม่กล้าแสดงออก ยอมตามผู้อื่นจนขาดความเป็นตวั ของตัวเองหรือเช่ือง่าย หัวอ่อน งมงาย ไร้สาระจนเกดิ โทษแก่ตนเอง เช่น เช่อื โชคลาง เช่ือภูตผีปีศาจ เปน็ ตน้ ตัวอย่างประโยค AC+ “ครบั ครับ เพอ่ื คุณครู ผมจะเลิกสบู บุหร่ีแลว้ ครบั ” AC- “ฉันไปดูดวงมา หมอดูบอกวา่ กา้ ลังมเี คราะห์ ฉนั ตอ้ งท้าพธิ สี ะเดาะเคราะห์ 7 วดั ” 1.3 สภาวะความเป็นเด็กสร้างสรรค์ (Little Professor : LP) ได้แก่ การมีความคิด รเิ ร่ิมสร้างสรรค์และความยืดหยุ่น โดยเร่ิมต้ังแต่ในวัยเดก็ ที่เรียนรู้สิ่งต่างๆ จากพ่อแม่ โดยสังเกตจาก พฤติกรรม น้าเสียง สีหน้า ท่าทางที่แสดงออกแต่ละสถานการณ์ว่ามีความหมายอย่างไร การเรียนรู้ บางอย่างอาจผิดพลาดได้ เช่น เด็กไม่สามารถแยกได้ว่าสีหน้าแม่ปวดศีรษะ กับแม่กังวลเรื่องงานไม่ เสร็จตามกาหนด แตกต่างกันอย่างไร แต่เด็กสามารถมีความคดิ ริเร่ิมบางอย่างขึ้นมาได้ เชน่ การวาด ภาพ การระบายสี การก่อกาแพงทรายกนั้ น้าท่ชี ายทะเล การต่อภาพจิก๊ ซอ (Jigsaw) เปน็ ตน้ เมื่อโตขึ้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของบุคคลจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ ลกั ษณะการเปน็ เด็กสร้างสรรค์ในวัยเดก็ กล่าวคอื จะชว่ ยให้บุคคลเรียนรสู้ ่ิงต่างๆ ท่ีเปน็ ประสบการณ์ รอบตัวได้เร็วขึ้น พฤติกรรมของผู้ใหญ่ เชน่ การออกแบบ การแตง่ เพลง การจัดสวน กรปรบั ปรงุ ด้าน มนุษยสมั พันธ์ การคิดคน้ สูตรทาอาหาร เหล่านี้ล้วนเกดิ จากสภาวะความเป็นเดก็ สร้างสรรค์ในวยั เด็ก ท้ังสิ้น สภาวะความเป็นเด็กสร้างสรรค์จะรวมถึงความคิดฝันในส่ิงต่างๆ ที่ได้รับอิทธิพล มาจากวัยเด็ก เช่น นิทานเก่ียวกับเวทมนตร์ อานาจวิเศษของแม่มด กระจกวิเศษ หรือพลังของ ซุปเปอร์แมน ซึ่งจะอยู่ในความนึกคิดของเด็กๆ ที่อยากจะได้อานาจเหล่าน้ันติดตัวมา บางคร้ังก็เกิด ความสบั สนระหว่างความคิดฝันกับความจริงที่เด็กไม่สามารถแยกแยะออกจากกันได้ และมีผลทาให้ เป็นคนส้ินหวังหรือทางานแบบฉวยโอกาส ตัดสินใจไม่เป็น มักจะใช้สิทธิพิเศษในการไต่เต้าไปสู่ ตาแหนง่ ท่สี ูงกวา่ โดยการขา้ มหวั คนอื่น เป็นตน้ ตวั อย่างประโยค “รถเก่าอย่างนี ผมจะใชส้ ีทีเ่ หลอื แตง่ ใหส้ วยเลย” “ทา้ อย่างนีดไี หม ฉนั เคยเห็นเขาท้ากนั ” “ถา้ ฉนั เป็นแมม่ ด ฉนั จะข่ีไมก้ วาดไปเท่ียวรอบโลกใหส้ นุกเชยี วหละ”

166 2. สภาวะความเป็นผู้ใหญ่ สภาวะความเป็นผู้ใหญ่ (Adult Ego State : A) เป็นลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลที่ ทางานโดยใชห้ ลักความคดิ แหง่ เหตผุ ล มจี ดุ มุ่งหมาย คานึงถงึ ผลเสยี ในการกระทา ใช้สตปิ ัญญาในการ พิจารณาสิ่งต่างๆ พิจารณาสภาพข้อเท็จจริง สุขุมรอบคอบ ตัดสินใจสิ่งใดต้องมีข้อมูล ไม่รีบร้อน ไมค่ านึงถงึ ความรู้สึก ไมม่ อี ารมณม์ าเกย่ี วข้อง พยายามแยกแยะ ตรวจสอบสภาพความเปน็ จรงิ บุ ค ค ล ที่ มี ส ภ า ว ะ ค ว าม เป็ น ผู้ ให ญ่ จ ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร ใช้ เห ตุ ผ ล ป ร ะ เมิ น สถานการณ์ รวบรวมขอ้ มูลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสนิ ใจและเก็บข้อมูลสาหรับใช้ในอนาคตได้อย่างดี สามารถปรับอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีตรงกับความเป็นจริง สภาวะความเป็นผู้ใหญ่จะช่วยให้บุคคลดารงชีวิตได้อย่างมีอิสระและอยู่รอดได้ในสถานการณ์ต่างๆ สามารถแยกแยะความเป็นจรงิ ออกจากระเบียบประเพณี ความเพ้อฝัน อคติ และความยึดม่ันถือมั่น ในสิ่งใดส่ิงหนึ่ง เม่ือบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาท่ีต้องตัดสินใจ ก็จะต้องคาดคะเนโอกาสท่ีจะเกิดข้ึน และผลของการกระทานั้น สภาวะความเป็นผู้ใหญ่จะทาหน้าท่ีเหล่านี้ เพ่ือตรวจสอบข้อเท็จจริงและ โอกาสท่ีจะเกิดผลอย่างใดอย่างหน่ึง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเลือกทางเลือกท่ีดีที่สุดเท่าที่จะทาได้ การพิจารณว่าสภาวะความเป็นผู้ใหญ่ทาหน้าที่ได้ดีเพียงใดนั้น ไม่ได้พิจารณากันท่ีความถูกต้องใน การตัดสินใจ แต่พิจารณาท่ีกระบวนการวิเคระห์ความเป็นไปได้ ซง่ึ นาไปสกู่ ารตัดสินใจของบุคคลน้ัน ผลท่ีเกิดจากการตัดสินใจจะเป็นอย่างไร ย่อมต้องอาศัยวิธีท่ีได้ข้อมูลนั้นมาและวิธีการใช้ข้อมูล เหล่านัน้ ดังนัน้ บุคคลทจี่ ะประมวลผลข้อมลู ได้ดีท่สี ดุ ยอ่ มเปน็ บคุ คลท่ีมีศกั ยภาพสูงสดุ ตวั อย่าง ภาษาพูด : อะไร ทาไม ที่ไหน อย่างไร ขณะนี้กาลงั ตรวจสอบขอ้ มลู อยู่ เป็นไปได้ ไหมเทา่ ท่สี ังเกต กิริยาท่าทาง : สีหน้าปกติ สนใจฟงั น่งั ตวั ตรง ยนื ตรง ผอ่ นคลายเปน็ บางครัง้ น้าเสียง : เปน็ จรงิ เปน็ จัง ตวั อยา่ งประโยค “นกั ศกึ ษาจะร่วมมือกนั แกป้ ญั หานีไดอ้ ย่างไรบ้าง” “การจราจรติดขดั เพราะมีอุบัตเิ หตุ” “พวกเราต้องวเิ คราะหห์ าสาเหตขุ องความล้มเหลวครังนีนะ จะไดป้ รบั ปรงุ ครังตอ่ ไป” 3. สภาวะความเป็นพอ่ แม่ สภาวะความเป็นพ่อแม่ (Parent Ego State : P) เป็นส่วนที่มีลักษณะพฤติกรรม เหมือนผู้ที่เป็นพ่อแม่ บุคคลจะมีสภาวะความเป็นพ่อแม่มาต้ังแต่เด็กๆ เกิดจากการรบั เอาแบบอย่าง พฤตกิ รรมมาจากพ่อแมแ่ ละบุคคลใกล้ชิด แล้วนามาปฏิบัตอิ ยา่ งเดียวกันกบั ที่พ่อแม่ปฏบิ ตั ิต่อตนองใน เวลาต่อมา เช่น การดูแลเอาใจใส่ การอบรมสั่งสอน กฎระเบียบข้อบังคับในการดาเนินชีวิต ข้อห้าม

167 ต่างๆ เป็นต้น สภาวะความเป็นพ่อแม่ท่ีเด็กได้รับมาน้ีจะได้มาจากการที่เด็กสังเกตพฤติกรรมของ พ่อแม่ เม่ือส่ือสารกับบุคคลอื่นๆ ได้ยินคาอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่เสมอๆ ได้เห็นและได้สัมผัส พฤติกรรมตา่ งๆ โดยตรง เช่น การโอบกอด การเฆี่ยนตี ประสบการณ์เหล่านี้มีทงั้ ท่ีน่าประทับใจและ น่าเบื่อหน่าย มีทั้งที่จาได้แม่นยาไม่มีวันลืมและจาได้บา้ งบางส่วน แต่กล่าวโดยสรุปแลว้ ประสบการณ์ ตา่ งๆ ทเ่ี ด็กไดร้ ับจากพ่อแม่จะมีอิทธิพลตอ่ พฤติกรรมของเด็กในเวลาต่อมาและเป็นท่ีมาของการเกิด สภาวะความเป็นพ่อแม่ ซ่ึงเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกนั่นเอง สภาวะความเป็นพ่อแม่ แบ่งได้ 2 แบบ คือ 3.1 สภาวะความเป็นพ่อแม่เมตตา (Nurturing Parent : NP) ได้แก่ พฤติกรรมท่ี แสดงถงึ ความเหน็ อกเหน็ ใจ เอื้ออาทรต่อผู้อื่น ปกปอ้ งคุ้มครอง คอยดูแลช่วยเหลือ แสดงการยอมรับ ยกย่องใหเ้ กยี รติ เอาใจใสห่ ่วงใยและมคี วามจรงิ ใจในการชว่ ยเหลือผอู้ ืน่ ตัวอย่าง ภาษาพดู : มอี ะไรให้ชว่ ยม๊ยั ใช่ ดมี าก ถูกต้องแล้ว ทาต่อไปเถอะ เหน่ือยไหม ไม่เป็นไร เก่งมาก กริ ิยาท่าทาง : มองด้วยความเมตตา โอบไหล่ ลบู หลัง จบั ศีรษะเบาๆ พยักหนา้ อบอ่นุ น้าเสยี ง : ออ่ นโยน ลากเสยี ง ไมห่ ว้ นหรอื ดุ ส่วนดีของสภาวะความเปน็ พ่อแม่เมตตา (NP+) เป็นส่วนท่ีแสดงถึงความออ่ นโยน รักใคร่ เอาใจใส่ห่วงใยผู้อื่นอย่างแท้จริง มีความจริงใจและปรารถนาดีต่อผู้อ่ืน โดยไม่มีเง่ือนไขใดๆ ทั้งสิ้น และไม่ก่อให้เกิดโทษแก่ตนเองและผู้อื่น เปรียบเหมือนความรัก ความปรารถนาดีท่ีพ่อแม่มี ต่อลูก ส่วนเสียของสภาวะความเป็นพ่อแมเ่ มตตา (NP-) เป็นส่วนทแี่ สดงความรัก ความ เอาใจใส่ช่วยเหลือผู้อื่นในทางที่ผิด หรือช่วยเพราะหวังส่ิงตอบแทน หรือทาให้ท้ังตนเองและผู้อ่ืน เดอื ดรอ้ น เชน่ ให้เพือ่ นยืมรถไปขับซ่ิงจนชนคนเสียชีวติ รถเสียหายยับเยิน หรือให้เพ่อื นลอกข้อสอบ จนถกู จบั ทุจรติ และถกู ลงโทษพักการเรียน เปน็ ต้น ตวั อย่างประโยค NP+ “คุณเปน็ นักศกึ ษาที่แตง่ กายเรยี บรอ้ ยดมี าก ถือวา่ เปน็ การใหเ้ กยี รตสิ ถาบนั ดว้ ย ครูช่ืนชมจรงิ ๆ” NP- “คนเราไม่ได้ดูกนั ท่ีเคร่อื งแตง่ กาย นักศึกษาจะใส่เสือยืด ใสร่ องเทา้ แตะเข้า ชันเรยี นได้ ครูยนิ ดีจ๊ะ” 3.2 สภาวะความเป็นพอ่ แม่บังคับควบคุม (Critical Parent : CP) ไดแ้ ก่ พฤติกรรมที่ แสดงถึงความเข้มงวด ให้อยู่ในระเบียบวินัย ข้อกาหนด การตัดสินชี้ถูกช้ีผิด การอบรมส่ังสอน ตกั เตือน ลงโทษ ทาตวั เหนอื ผ้อู ่ืน วิพากษ์วจิ ารณ์ คอยจบั ผิดผูอ้ ่ืน

168 ตัวอย่าง ภาษาพูด : คณุ ต้องทาตามทผี่ มสงั่ จาไวน้ ะอย่าทาแบบนี้อกี คณุ น่ีโง่จรงิ เชียว หยุดนะ อะไรอีกละ่ ไปทาเสยี ซิชักชา้ อย่ไู ด้ อย่ารบกวนฉัน กิรยิ าทา่ ทาง : กอดอก ช้ีน้ิว ส่ายหน้า หน้านว่ิ ค้ิวขมวด มองดว้ ยสายตาดูถูกหรอื แสดง ความเบื่อหนา่ ย มือเทา้ สะเอว การกระแอม น้าเสยี ง : เขม้ งวด หว้ น ดุ ประชดประชนั เสยี งดงั ส่วนดีของสภาวะความเป็นพ่อแม่บังคับควบคุม (CP +) เป็นส่วนที่แสดงถงึ ความ เขม้ แข็ง มคี วามคิดเหน็ เป็นของตนเอง มคี วามเชอ่ื มนั่ ในตนอง ถ้าเปน็ คาพดู ในลกั ษณะวิพากษ์วจิ ารณ์ จะเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ในเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดการปล่ียนแปลงในทางท่ีดีขึ้น ไม่ใช่การตาหนิ หรือพูดดถู กู ใหผ้ ูอ้ ื่นเสียหาย ส่วนเสียของสภาวะความเป็นพ่อแม่บังคับควบคุม (CP -) เป็นส่วนที่นินทาว่าร้าย วิพากษว์ ิจารณ์ในเชิงทาลาย ลบหลู่ดูหมนิ่ ผู้อนื่ ทาให้ผ้อู ื่นเกิดความรสู้ ึกต่าตอ้ ย เสียศักดิศ์ รี เสยี หน้า ตัวอยา่ งประโยค CP + “คุณขาดเรยี นบ่อย ระวังจะเรียนไม่ทันเพ่อื น คะแนนกิจกรรมในชน้ั เรียนกจ็ ะ ไม่มี ตอ่ ไปพยายามอยา่ ขาดเรียนนะคะ” CP - “ขาดเรียนบอ่ ยๆ อยา่ งน้ี ผมวา่ ไปซ้อื ใบสมคั รเตรียมสอบเขา้ เรียนใหม่เถอะ” จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า ในช่วง 6 ปีแรกของชีวิต เด็กจะพัฒนาสภาวะความเป็นพ่อแม่ โดยเลียนแบบพ่อแม่หรือผู้ท่ีเล้ียงดู และในช่วงวัยรุ่นจะพัฒนาสภาวะความเป็นผู้ใหญ่อย่างมาก ถ้าได้รับประสบการณ์ท่ีดี จะปฏิบัติตนได้สมบทบาท สามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมว่าเม่ือใดจะ แสดงสภาวะบุคลิกภาพใดจงึ จะเหมาะสมกับบทบาท มีความเป็นตัวของตวั เอง ปราศจากการเสแสร้ง แสดงละคร เข้าใจตนเองและผูอ้ นื่ สามารถแสดงออกไดอ้ ย่างเสรี ร้จู กั ใหแ้ ละรับความรัก จะเห็นได้ว่า พฤติกรรมของบคุ คลเปล่ียนแปลงตลอดเวลา พฤตกิ รรมทเ่ี ปล่ียนแปลงไปนั้น จะเปล่ียนไปตามเวลาและสถานการณ์ บุคคลจะต้องรู้ว่าเมื่อไรควรจะมีพฤติกรรมแบบพ่อแม่ แบบผู้ใหญ่ หรือแบบเด็ก การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ ทาให้บุคคลเข้ากับคนอื่นในสังคมได้ จึงนบั ไดว้ ่าเปน็ ผทู้ มี่ มี นษุ ยสมั พนั ธ์ทดี่ ี ลักษณะโครงสร้างของบคุ ลิกภาพทั้ง 3 แบบ สามารถเขียนโดยใชส้ ญั ลกั ษณย์ อ่ ดงั น้ี P แทนสภาวะความเป็นพ่อแม่ A แทนสภาวะความเป็นผู้ใหญ่ C แทนสภาวะความเป็นเดก็

169 โดยสภาวะแห่งตนท้ัง 3 แบบ ประกอบกันเป็นบุคลิกภาพของบุคคล เขียนเป็นแผนภูมิได้ ดังน้ี P NP (พ่อแม่เมตตา) CP (พอ่ แม่บงั คับควบคมุ ) A A (ผใู้ หญ่) บคุ ลิกภาพ C NC (เดก็ ธรรมชาติ) AC (เด็กปรบั ตวั ) LP (เด็กสรา้ งสรรค์) ภาพที่ 5.1 แสดงสภาวะแห่งตนของบคุ คลหรือบุคลกิ ภาพ ที่มา: สมพร สทุ ัศนีย์, 2554, น. 174 สภาวะแห่งตนของบุคคลแต่ละคนจะมีเปอร์เซ็นต์ของ P, A และ C ท่ีแตกต่างกัน ข้ึนอยู่ กับประสบการณ์และการอบรมเล้ียงดูในวัยเด็ก ไม่เก่ียวกับอายุจริงของบุคคล บุคคลทุกคนมี คุณลักษณะท้ัง 3 แบบประกอบกันเป็นบุคลิกภาพของตน ซึ่งแต่ละคนจะตอบสนองต่อส่ิงต่างๆ แตกต่างกนั ไปแล้วแตล่ กั ษณะเดน่ ของบุคลกิ ภาพ ซึ่งสามารถแสดงได้ดังนี้ PP P AA A C C C (ก) (ข) (ค) ภาพที่ 5.2 (ก) แสดงลักษณะเด่นในสภาวะความเป็นเด็ก (ข) แสดงลกั ษณะเดน่ ในสภาวะความ เปน็ ผูใ้ หญ่ และ (ค) แสดงลกั ษณะเด่นในสภาวะความเปน็ พ่อแม่ ท่มี า: เจษฎา บญุ มาโฮม, 2555, น. 152 ดังน้ันการวิเคราะห์โครงสร้างของบุคลิกภาพจะทาให้เข้าใจพฤติกรรมโดยรวมของตนเอง และผู้อนื่ มากยิ่งขน้ึ วธิ ีการหาเปอรเ์ ซน็ ตข์ องสภาวะแห่งตน อาจทาได้โดยการทาแบบทดสอบหรือการ ประเมินโดยบุคคลที่ใกล้ชิดช่วยกันให้ข้อเท็จจริงเก่ียวกับบุคคลนั้น แล้วนามาหาค่าเฉล่ีย ก็จะทาให้ ทราบถงึ บคุ ลิกภาพโดยรวมได้

170 รูปแบบของการสอ่ื สาร รูปแบบของการส่ือสาร (Transactions) เป็นการส่ือสารท่ีบุคคลมีความเข้าใจความรู้สึก ระหว่างกัน หรือเป็นการนาเอาสภาวะแห่งตนของแต่ละคนเข้ามาเกี่ยวข้องกับการสื่อสารน้ันด้วย สรุปได้ว่าการส่ือสารในแนว TA น้ัน มิใช่เป็นเพียงการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันแต่เพียง อย่างเดียว แต่ยังส่ือความรู้สึกระหว่างกันอีกด้วย ซึ่งมีท้ังการสื่อสารท่ีเป็นคาพูดและไม่เป็นคาพูด เมอื่ มีการสือ่ สารระหว่างบุคคล อาจเป็นการส่ือสารท่ีทาใหเ้ กิดความสบายใจ หรอื ขุ่นข้องหมองใจก็ได้ ดงั นน้ั การศกึ ษารูปแบบของการสอ่ื สารจะช่วยให้บคุ คลทราบและเข้าใจสภาวะแหง่ ตนของตนเองและ อกี ฝ่าย ในขณะส่อื สารว่าเปน็ แบบใด เพอ่ื จะได้ทราบแนวทางทป่ี รับตนเองให้สอดคล้องกับทุกฝ่ายได้ นั่นเอง รูปแบบของการส่ือสารมี 3 รปู แบบ คอื 1. การส่ือสารแบบคล้อยตามกัน (Complementary Transaction) เป็นการส่ือสารท่ี สนองจุดประสงค์ของผู้พูดทั้งสองฝ่าย มีลักษณะสอดคลอ้ งคลอ้ ยตาม ถ้อยทีถอ้ ยอาศัยกัน ชว่ ยให้การ สื่อสารนั้นดาเนินไปได้อย่างราบร่ืน ทาให้ท้ังสองฝ่ายเกิดความรู้สึกพึงพอใจ ไม่ขุ่นข้องหมองใจหรือ โกรธเคืองกัน และมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทิศทางของการส่ือสาร ลูกศรจะไม่ตัดข้ามกัน ลูกศรจะ ขนานกันไป การสื่อสารแบบนี้จะไมส่ ่งผลเสยี ต่อสัมพันธภาพ ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี ตัวอยา่ งที่ 1 การสนทนาระหวา่ งนกั ศกึ ษา 2 คน สปุ รชี า : คณะฯ จะติดประกาศผลสอบวนั ไหน P P ณัฐณชิ : วันท่ี 20 พฤษภาคมน้ี AA CC สุปรชี า ณัฐณิช จากตัวอย่างข้างตน้ สปุ รีชาถามขอ้ มลู จากณัฐณชิ ซง่ึ สุปรีชาได้คาดหมายคาตอบล่วงหน้า แล้วว่าณฐั ณิชจะตอบตามข้อเท็จจริงทเ่ี ขามีอยู่ ไม่ไดต้ อบแบบหาเร่อื ง การสนทนาจงึ จบลงดว้ ยดี ตัวอยา่ งท่ี 2 การสนทนาระหวา่ งอาจารยก์ บั นกั ศกึ ษา PP อาจารย์ : สูบบุหรม่ี ีแต่จะเกดิ โทษ เมือ่ ไหร่คณุ จะเลกิ สูบเสยี ที A A นักศกึ ษา : ครบั ! ผมกาลังพยายามอยู่ครบั C C อาจารย์ นักศึกษา

171 จากตัวอย่างข้างต้น อาจารย์ใช้สภาวะแห่งตนแบบพ่อแม่ เพื่ออบรมนักศึกษา และ นกั ศึกษากใ็ ช้สภาวะแห่งตนแบบเด็ก คือ เช่ือฟังและยอมรับในคาตักเตือนนน้ั ถอื เปน็ การสอื่ สารแบบ คล้อยตามกัน 2. การส่ือสารแบบขัดแย้งกัน (Crossed Transaction) เป็นการส่ือสารที่ผู้รับสารไม่ได้ ตอบกลับด้วยคาตอบท่ีผู้ส่งสารคาดหมายไว้ แต่ตอบกลับด้วยคาตอบท่ีผู้ส่งสารไม่คาดคิด ทาให้การ สื่อสารต้องหยุดชะงักหรือส้ินสุดลง ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจกัน บาดหมาง ขุ่นข้องหมองใจหรือ โกรธแคน้ นาไปสู่การทะเลาะเบาะแว้งหรือเกิดความขัดแย้งตามมาได้ ทิศทางของลูกศรจะตัดข้ามกัน ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้ ตวั อยา่ งท่ี 1 การสนทนาระหว่างนกั ศกึ ษา 2 คน สุปรีชา : คณะฯ จะติดประกาศผลสอบวนั ไหน P P ณัฐณิช : ไม่รูซ้ ิ! ไม่เหน็ มีใครบอกผมเลย AA CC สปุ รีชา ณฐั ณิช จากตัวอย่างข้างต้น สุปรีชาถามเพื่อต้องการทราบข้อมูล แต่ณัฐณิชไม่ยอมบอกตาม ขอ้ เทจ็ จรงิ กลบั แสดงสภาวะความเปน็ เด็กออกมาเพอ่ื ขอความเห็นใจว่าไมม่ ีใครบอกเขาเลย ตัวอย่างท่ี 2 การสนทนาระหวา่ งพก่ี บั นอ้ ง น้อง : ชว่ ยทาการบ้านต่อใหห้ นอ่ ยซิ เบื่อจะแย่แล้ว P P พี่ : พกี่ ย็ ังทาไม่เสรจ็ เหมอื นกัน เห็นใจพี่เถอะ AA การบ้านเยอะมาก CC น้อง พ่ี จากตัวอย่างข้างต้น แสดงให้เห็นว่านอ้ งส่งข่าวสารโดยต้องการความช่วยเหลอื ถ้าพ่ีชว่ ย ทาการบ้านก็เป็นการส่ือสารแบบคล้อยตามกัน แต่พี่ตอบกลับเป็นลักษณะของการปฏิเสธและ ขอความเห็นใจจากนอ้ งดว้ ย จงึ เปน็ การสอื่ สารแบบขัดแยง้ กัน

172 3. การสื่อสารแบบซ่อนเร้น (Ulterior Transaction) เป็นการส่ือสารท่ีมีความยุ่งยาก ซบั ซ้อนมากกวา่ 2 แบบแรก เพราะมีการส่งขา่ ว 2 ข่าวสารพร้อมกัน และใช้สภาวะแห่งตนมากกว่า 2 สภาวะในเวลาเดียวกนั การสง่ ขา่ วสารทเ่ี ป็นคาพูดหรือกิริยาท่าทาง ซึ่งเปิดเผยเป็นไปตามมารยาท ทางสังคม เรียกว่า ข่าวสารทางสังคม (Social Message) ส่วนข่าวสารซ่ึงถูกซ่อนเร้นอยู่ภายใน เรยี กว่า ข่าวสารทางจิตวิทยา (Psychological Message) หรือจะกล่าวง่ายๆ กค็ ือ เปน็ การส่ือสารท่ี ความหมายของขา่ วสารไม่ตรงกบั คาพูดนน่ั เอง การสื่อสารแบบซอ่ นเรน้ มี 2 แบบ คอื 3.1 การส่ือสารแบบซ่อนเร้นทางเดียว (Angula Transaction) เป็นการส่งข่าวสารที่ ฝา่ ยใดฝา่ ยหนึง่ ส่งข่าวสาร 2 แบบ ออกไปในเวลาเดียวกันดัง ตัวอย่างต่อไปน้ี ตวั อย่าง การสนทนาระหว่างพนกั งานขายกับลูกคา้ ณ ศูนยจ์ าหนา่ ยรถยนต์ PP พนกั งานขาย : รถคันนเ้ี ปน็ รถสปอรต์ แบบใหม่ ลา่ สดุ ทสี่ วยงามมาก แต่สมรรถนะ A A ของรถ อาจจะมากไปสาหรบั คุณ C (ซอ่ นเร้น) : (กระตนุ้ ความต้องการของลกู คา้ ) พนกั งานขาย C ลูกค้า : ตกลงผมจะซือ้ คันนี้เลยครับ ลูกค้า จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ จะเห็นว่าพนักงานขายจะใชส้ ภาวะแห่งตนแบบผู้ใหญ่ ไปยัง สภาวะความเป็นผู้ใหญ่ของลูกค้าในลักษณะข่าวสารทางสังคม แต่ขณะเดียวกันพนักงานขายก็ส่ง ข่าวสารทางจิตวิทยาออกไปด้วย โดยส่งไปยังสภาวะความเป็นเด็กของลูกค้า (แทนด้วยเส้นประ) ข่าวสารทางจิตวิทยาคอื ส่วนที่ซอ่ นเรน้ อยู่น้นั เจตนาจะกระตุ้นความต้องการของลูกค้าใหซ้ อ้ื รถนน่ั เอง 3.2 การสื่อสารแบบซ่อนเร้นสองทาง (Duplex Transaction) เป็นการสื่อสารท่ี ทงั้ สองฝา่ ยต่างกส็ ง่ ขา่ วสาร 2 แบบออกไปในเวลาเดียวกนั ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปน้ี ตวั อย่าง การสนทนาระหว่างอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาโครงงานกบั นักศกึ ษา P P นกั ศกึ ษา : แนน่ อนครบั ผมยินดีรบั ฟังคา A A วิพากษว์ ิจารณเ์ กย่ี วกบั โครงงาน C C ทผี่ มออกแบบไว้ นักศกึ ษา อาจารย์ (ซ่อนเร้น) : เพราะคณุ เป็นอาจารย์ท่ปี รกึ ษา เลยคิดว่าวเิ ศษกวา่ นักศึกษา ท่แี ท้ ความคดิ ของคุณ มันเตา่ ลา้ นปีชัดๆ อาจารย์ : ในฐานะที่ผมเปน็ ที่ปรกึ ษาโครงการคณุ กค็ วรรบั ฟงั คาวพิ ากษว์ จิ ารณ์ของผม (ซ่อนเร้น) : เจ้าเดก็ นอ้ ยเอ๋ย เพงิ่ จะส้ินกลนิ่ น้านมจะมาอวดกาแหงเทยี บฝีมอื กบั ฉนั ถ้าฉันไม่ชว่ ยละก็ อยา่ หวังเลยวา่ จะจบออกไปได้

173 เน่อื งจากการส่ือสารแบบซ่อนเร้น อาจออกมาในรูปของพฤตกิ รรมที่ไม่ใช่คาพูดท้งั หลาย เช่น การแสดงสีหน้า น้าเสียง กิริยาท่าทาง ดังนั้นจึงอาจทาให้เกิดความผิดพลาดในการแปล ความหมาย กล่าวคือ ความหมายของการส่ือสารท่ีเป็นข่าวสารทางสังคม กับความหมายท่ีซ่อนเร้น หรือข่าวสารทางจิตวิทยาไม่ตรงกัน บางครั้งการส่ือความหมายแบบซ่อนเร้นมีประโยชน์ในกรณีที่ ต้องการจะซ่อนเร้นความหมายของบคุ คลท่ีสาม อย่างไรก็ตามถ้าไม่จาเป็นก็ควรหลีกเล่ียงการสื่อสาร แบบซอ่ นเร้น เพราะจะทาใหเ้ กดิ ความสับสนและเป็นการเสียมารยาท การท่ีบุคคลเข้าใจรูปแบบของการสื่อสาร จะช่วยสร้างความเข้าใจระหว่างบุคคล และสามารถช่วยให้การส่ือสารนนั้ ดาเนนิ ไปได้อย่างเหมาะสม เม่ือบุคคลมีโอกาสทจี่ ะเลือกตอบสนอง การสอื่ สารควรคานึงถงึ ส่งิ ตอ่ ไปนี้ 1. ขณะที่ผู้อ่นื สอ่ื สารกับเราน้ัน เขาใชส้ ภาวะแห่งตนแบบใดในการสื่อสาร โดยพิจารณา จากพฤติกรรมทางการสื่อสาร ท้ังทเ่ี ปน็ คาพูดและไมใ่ ช่คาพูด 2. บุคคลน้ันมีวัตถุประสงค์อะไรหรือต้องการอะไรจากการสื่อสารน้ัน เช่น ต้องการ การยอมรับ ต้องการความชว่ ยเหลือ ตอ้ งการความเห็นใจ เป็นต้น 3. เราควรตอบสนองการส่ือสารน้ันอย่างไร กล่าวคือ เม่ือรู้ว่าเขาใช้สภาวะแห่งตน แบบใด ก็จะเลือกสภาวะแห่งตนท่ีเหมาะสมตอบสนอง เช่น ใช้สภาวะแห่งตนแบบเด็กเพ่ือขอ ความเห็นใจ ก็ตอบสนองด้วยสภาวะแห่งตนพ่อแม่เมตตา เพื่อให้เป็นการส่ือสารแบบคล้อยตามกัน และนาไปสสู่ ัมพนั ธภาพทด่ี ีตอ่ กนั การวิเคราะห์ทศั นะชวี ติ หรือจุดยนื แหง่ ชวี ติ ทัศนะชีวิตหรือจุดยืนแห่งชีวิต (Life Position) หมายถึง เจตคติท่ีบุคคลมีต่อตนเองหรือ บุคคลอ่ืนท้ังแง่บวกและแง่ลบ บุคคลใดมีทัศนะชีวิตอย่างไร จะมีพื้นฐานมาจากผลของการเข้าใจ ตนเอง ความรสู้ กึ ทีม่ ีตอ่ ตนเองและบุคคลอ่นื และสภาพแวดล้อมตง้ั แต่ยงั เดก็ ของบุคคลน้นั ทัศนะชีวิตหรือจุดยืนแห่งชีวิตเกิดจากประสบการณ์ในวัยเด็กท่ีบุคคลสะสมไว้ จากการ ได้รับเอาความเอาใจใส่จากบุคคลรอบข้างและเรียนรู้ท่ีจะให้ความเอาใจใส่แก่บุคคลรอบข้าง แล้วพัฒนามาเป็นทัศนะชีวิตหรือจุดยืนแห่งชีวิตของบุคคล ดังน้ัน จุดยืนแห่งชีวิต จึงหมายถึง ความรู้สึกนึกคิดที่บุคคลมีต่อตนเองและผ้อู ื่นเมื่อมีการติดต่อส่ือสารระหว่างกัน แบ่งออกเป็น 4 แบบ ดังน้ี 1. ฉันดี – เธอดี (I’m O.K. – You’re O.K.) เป็นทัศนะท่ีเห็นคุณค่าท้ังในตนเองและผู้อื่น เป็นคนที่มีสุขภาพจิตสมบูรณ์ มีการยอมรับการกระทาของตนเองอย่างรู้ตัวและมองการกระทาของ คนอื่นในแง่ดี เป็นคนที่มีความสุขเข้ากับคนอ่ืนได้ดี มีความกระตือรือร้น ไม่หลบหลีกปัญหาของ

174 สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน แต่จะกล้าเผชิญกับปัญหาและหาวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุมีผล และ สร้างสรรค์ บคุ คลประเภทนี้ จะประสบความสาเร็จในชวี ิตมากทส่ี ุด 2. ฉันดี – เธอด้อย (I’m O.K. – You’re not O.K.) เป็นทัศนะท่ีเห็นว่าตนเองเหนือกว่า ผู้อื่น เป็นผทู้ ่ีมีเจตคติท่ีไม่ดีต่อบุคคลอ่ืน มองผู้อ่ืนในแง่ร้าย ไม่เชื่อใจใคร หลงตัวเองไม่ให้เกียรติผู้อ่ืน ดังนั้นพฤติกรรมที่แสดงต่อผู้อ่ืนจึงเป็นไปในลักษณะไม่สนใจ ไม่ให้การยอมรับนับถือ ไม่ไว้วางใจ คอยจับผิด ติเตียนการกระทาของผู้อ่ืนอยู่เสมอ เพราะคิดว่าไม่มีใครดีมีคุณค่าเท่ากับตัวเอง บคุ คลประเภทน้ีไม่ว่าจะอยู่ในบทบาทหรือตาแหน่งใด ก็จะไม่ประสบความสาเร็จในชวี ิตอยา่ งแทจ้ รงิ 3. ฉันด้อย – เธอดี (I’m not O.K. – You’re O.K.) เป็นทัศนะท่ีเห็นว่าตนเองด้อยกว่า ผ้อู น่ื ไม่กล้าคิด ไม่กล้าตัดสินใจ มีความรูส้ ึกว่าตนเองไมม่ ีคุณค่าและถูกกดดัน หรือเรยี กง่ายๆ ว่าร้สู ึก ว่าตนเองมีปมด้อย ซึ่งตรงกันข้ามกับผู้อ่ืน พฤติกรรมของผู้ที่มีความรู้สึกดังกล่าวจะแสดงออกใน ลักษณะของคนที่ไม่มีความสุข อิจฉาริษยาผู้อ่ืน ไม่มีความเชื่อม่ันหรือมั่นใจในตนเอง มองหาความ ชว่ ยเหลือจากผู้อนื่ อยู่ตลอดเวลา บางคนจะพยายามหลกี เลยี่ งหรือหนีหา่ งจากสังคม 4. ฉันด้อย – เธอด้อย (I’m not O.K. – You’re not O.K.) เป็นทัศนะท่ีไม่เห็นคุณค่า อะไรท้ังในชีวิตตนเองและของผู้อ่ืน เป็นความรู้สึกนึกคิดของคนที่ส้ินหวังในชีวิต คิดว่าตัวเองไม่มี คุณค่าและในขณะเดียวกันคนอ่ืนๆ ก็เป็นเช่นนั้นด้วย พฤติกรรมของคนที่มีจุดยืนแห่งชีวิตแบบนี้จะ เป็นคนที่ไม่รู้จะทาอะไรในปัจจุบันและอนาคต ไม่มีจุดหมายปลายทางและหากมีความรู้สึกรุนแรง มากๆ อาจถึงกบั ฆา่ คนอ่ืนและฆา่ ตัวเองเพ่ือใหพ้ ้นสภาพผิดหวังในความรูส้ ึกของตน การเอาใจใส่ การเอาใจใส่ (Stroke) หมายถึง การกระทาใดๆ ก็ตามของบุคคลหน่ึงท่ีมีผลกระทบต่อ บคุ คลอื่นท่เี ก่ียวข้องที่แสดงถึงการยอมรับในคณุ คา่ ของความเปน็ คน ซง่ึ อาจจะเป็นการสมั ผสั แตะต้อง ทางกายโดยตรง เช่น การจับมือ การโอบกอด การแตะไหล่อย่างนุ่มนวล หรือเป็นการใช้คาพูดที่ ไพเราะ สายตาที่แสดงความเป็นมิตร การย้ิมด้วยความจริงใจ เป็นต้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่อร่างกาย และจิตใจของผู้เกย่ี วข้องในทางดหี รือทางลบ อบอนุ่ หรอื อา้ งว้าง ดีใจหรอื เสียใจ ฯลฯ ก็ได้ เบิร์นได้ศึกษาพบว่า มนุษย์ต้องการการสัมผัสทั้งทางร่างกายและจิตใจ หากขาดสิ่งนี้ มนุษย์จะไม่สามารถมีชีวิตอยู่รอดหรือเจริญเติบโตท้ังทางร่างกายและจิตใจอย่างปกติได้ ทารกเม่ือ แรกเกิดต้องการการเอาใจใส่จากพ่อแม่ ครั้นเม่ือเติบโตมากขึ้นความต้องการความรักความเอาใจใส่ กเ็ พิม่ มากข้นึ และเมอ่ื บุคคลตอ้ งประกอบกจิ การงาน ความต้องการการเอาใจใสก่ ็มไิ ด้ลดน้อยลงไปเลย แต่กลบั ดเู หมอื นว่าจะยงิ่ ต้องการเพิม่ ขน้ึ

175 ความต้องการที่จะได้รับการเอาใจใส่จากผู้อ่ืนน้ัน มักเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมหรือการ กระทาของบุคคล เช่น ชายหนุ่มแต่งตัวด้วยเส้ือผ้าทันสมัยเพ่ือให้แฟนสาวชม เด็กเล็กร้องไห้เพ่ือให้ พ่อแมอ่ มุ้ เป็นตน้ การเอาใจใส่แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. การเอาใจใส่ทางบวก (Positive Stroke) หมายถึง การกระทาใดๆ ท่ีทาให้ผู้รับเกิด ความรู้สึกดีใจ ภาคภูมิใจ มีความสุข มกี าลังใจ และรู้สกึ เป็นมิตรกับผู้ให้ เป็นความรู้สกึ ทีน่ าไปสู่การมี จุดยืนแห่งชีวิตแบบฉันดี – เธอดี (I’m O.K. – You’re O.K.) ท้ังน้ีเพราะการเอาใจใส่ทางบวก จะมี ข่าวสารของการยอมรับอยู่ในน้ัน กล่าวคือ ผู้ให้ให้อย่างจรงิ ใจ เหมาะสม สุภาพ และยกย่องให้เกียรติ การเอาใจใส่ทางบวกมักออกมาในรูปของการส่ือสารแบบค ล้อยตามกัน (Complementary Transaction) ซึ่งมีลักษณะตรงไปตรงมา มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ในขณะน้ัน การเอาใจใส่ทางบวกแบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คือ 1.1 การเอาใจใส่ทางบวกอย่างมีเง่ือนไข (Conditional Positive Stroke) เป็นการ แสดงออกซ่ึงความรักใคร่ ความรู้สึกชื่นชมยินดี ยกย่องชมเชย ให้กาลงั ใจ โดยมีสิ่งอื่นหรือเหตุการณ์ อน่ื ๆ เข้ามาเกย่ี วข้อง เชน่ พพี่ ดู กับน้อง : “ขอบใจมากนะจ๊ะท่ชี ่วยพมิ พ์รายงานให้พ่ี” ผู้จัดการพดู กบั ลูกน้อง : “ถา้ คณุ ทายอดขายไดเ้ ปน็ 2 เทา่ ของปที แี่ ล้ว คุณจะได้ เลื่อนตาแหน่งเป็นผจู้ ัดการเขตแนน่ อน” แม่พดู กับลูก : “วนั นี้ลูกลา้ งรถให้แมส่ ะอาดเป็นพิเศษเชียวล่ะ แม่ภมู ิใจในตัวลกู มาก” 1.2 การเอาใจใส่ทางบวกอย่างไม่มีเงื่อนไข (Unconditional Positive Stroke) หมายถึง การกระทาใดๆ ในทางบวกโดยไม่ตอ้ งมีสิง่ อน่ื หรอื เหตกุ ารณ์อ่ืนเข้ามาเกีย่ วข้อง เช่น อาจารยพ์ ดู กบั นักศกึ ษา : “ครูรักศิษยท์ ุกคนอยา่ งเทา่ เทียมกัน” หัวหน้าพดู กับลกู น้อง : “คุณเปน็ คนมีความสามารถสูงทีเดยี ว” ชายหนุม่ พูดกบั หญงิ สาว : “คุณสวยจงั เลย” 2. การเอาใจใส่ทางลบ (Negative Stroke) หมายถึง การกระทาใดๆ ท่ีทาให้ผู้รับเกิด ความรู้สึกเสียใจ ผิดหวัง ท้อแท้ หมดกาลังใจ เช่น การวิพากษ์วิจารณ์ การตาหนิ การนินทาว่าร้าย ดุด่าเฆ่ียนตี การแสดงออกทางสีหน้าที่เยย้ หยัน น้าเสียงท่ีดุดัน การหัวเราะในความทุกข์รอ้ นของผู้อื่น การชี้หน้าอย่างเกร้ียวกราด เป็นต้น ผู้ที่ชอบให้การเอาใจใส่ทางลบแก่ผู้อื่น จะมีจดุ ยนื แห่งชวี ิตแบบ ฉันดี – เธอด้อย (I’m O.K. – You’re not O.K.) และนิยมใช้การติดต่อส่ือสารแบบขัดแย้งกัน (Crossed Transaction) การเอาใจใส่ทางลบแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

176 2.1 การเอาใจใส่ทางลบอย่างมีเงื่อนไข (Conditional Negative Stroke) หมายถึง การดถู ูก ตาหนิ หรอื ลงโทษผอู้ ่ืน โดยมีปจั จัยตา่ งๆ เข้ามาเก่ยี วขอ้ ง เช่น อาจารยพ์ ูดกบั นกั ศกึ ษา : “ข้ีเกียจอยา่ งน้ี คงหวังเกรด A ยาก” หัวหน้าพูดกบั ลกู น้อง : “คณุ ทางานผิดพลาดอย่อู ย่างน้ี อย่าหวังเลยว่าจะไดข้ นึ้ ขัน้ เงนิ เดอื น” เพ่ือนหญงิ ทกั ทายกนั : “เฮ้! อ้วนแล้วไมเ่ จยี มตวั ใสเ่ สือ้ รดั รูปอย่างกะ ข้าวตม้ มัดเชียว” 2.2 การเอาใจใส่ทางลบอย่างไม่มีเง่ือนไข (Unconditional Negative Stroke) หมายถึง การดถู กู ตาหนิ หรอื ลงโทษผ้อู น่ื โดยไม่ต้องมปี ัจจัยต่างๆ เข้ามาเก่ียวข้อง เชน่ อาจารยพ์ ดู กับนกั ศกึ ษา : “เธอน่ีช่างโง่ดักดาน” หวั หน้าพูดกบั ลกู น้อง : “คุณแยม่ าก” คณุ นายพดู กับคนรบั ใช้ : “สันดานแก เลย้ี งไม่เชื่อง” บุคคลทุกคนต้องการให้ผู้อื่นเอาใจใส่ทางบวกมากกว่าการเอาใจใส่ทางลบ แต่ถ้าไม่ได้รับ หรือได้รับน้อยเกินไป ก็จะแสวงหาการเอาใจใส่ทางลบ ท้ังน้ีเพราะการได้รับการเอาใจใส่ทางลบ ยงั ดีกว่าไม่ได้รบั การเอาใจใสเ่ ลย ตวั อย่างพฤติกรรมท่แี สดงว่าต้องการการเอาใจใสท่ างลบ เชน่ ลูกใส่ รองเท้าท่ีย่าโคลนวิ่งเข้าบ้าน เพ่ือให้แม่ดุ วัยรุ่นไปม่ัวสุมยาเสพติด เพื่อเรียกร้องความสนใจจาก พอ่ แม่ เป็นตน้ ดังน้ันในการอยู่ร่วมกันบุคคลจึงควรให้ความเอาใจใส่ทางบวกแก่กัน ซึ่งจะก่อให้เกิด กาลังใจ ความภาคภูมิใจ ความรู้สึกเป็นมิตร และเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ไม่ว่าจะเป็น การเอาใจใส่ต่อบุคคลในครอบครัว ต่อเพื่อน ต่อผู้ใต้บังคับบัญชา หรือแม้แต่บุคคลทั่วๆ ไปก็ย่อม กอ่ ให้เกดิ ความรสู้ ึกท่ดี ีตอ่ กัน ตน้ แบบชวี ติ ต้นแบบชีวิต (Life Script) เป็นแบบของการแสดงออกและการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมท่ี บุคคลเลียนแบบจากบุคคลใกล้ชิด ต้ังแต่ในวัยเด็กและติดตัวมาจนถึงวัยผู้ใหญ่ นับว่ามีอิทธิพลต่อ บุคลิกภาพของบุคคลมาก เป็นการท่ีบุคคลพบเห็นส่ิงใดแล้ว จดจานามาเป็นแบบอย่างของการ แสดงออกในลักษณะต่างๆ ทั้งการพูด การกระทา นิสัยใจคอ ต้นแบบชีวิตก็เหมือนกับบทละครหรือ บทภาพยนตร์ท่ผี ู้กากับกาหนดบทให้ผแู้ สดง แสดงไปตามบทน้นั ๆ เม่อื การแสดงสิ้นสุดลง บทบาทของ ตัวละครกส็ ้ินสุดลงด้วยเช่นกัน ผู้ที่มีอิทธิพลตอ่ บทบาทของผแู้ สดงกค็ ือ ผู้กากบั แตใ่ นชวี ติ จริงมีบุคคล

177 หลายคนและมีสภาพแวดล้อมหลายอย่างที่เป็นตัวกาหนดบทบาทชีวิตของแต่ละคน ซ่ึงต้องโลดแล่น ไปบนเวทชี วี ิต ต้นแบบชีวิตน้ันเป็นเสมือนรายการหรือลาดับเรอ่ื งของการแสดงบทบาทชีวิตของแต่ละคน ซึ่งจะเปน็ ตัวกาหนดลักษณะการกระทา การพูด และพฤตกิ รรมต่างๆ แต่ละคนก็ต้องมบี ทที่ตอ้ งแสดง เม่ือเป็นหัวหน้างาน ผู้จัดการ สามี นักร้อง ลูก ฯลฯ ในแต่ละบทบาทการแสดงอาจแตกต่างกัน เช่น บทตนื่ เต้น โลดโผน หวาดเสียว มีชีวิตชวี า เบอื่ หน่ายท้อแท้ เสนาะ ติเยาว์ (2530, น. 392) กล่าวว่า การประเมินว่าบทที่แสดงดีหรือไม่ดี ประเมินได้จากความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการกระทา ประเมินได้จากอาชีพของแต่ละคน บางครั้งเมือ่ แสดงจบแล้ว กย็ ังไม่สามารถประเมินได้ทันที ต้องรอ ให้เวลาผ่านพ้นไปสักระยะหน่ึงจึงจะบอกได้ แต่บางคร้ังก็ประเมินได้ทันที เมื่อการแสดงจบลง ประวัติศาสตรเ์ ทา่ น้ันจะเปน็ ตวั บ่งบอกถึงความสาเร็จหรอื ความล้มเหลว ฐานะของคนที่แสดงบทบาทในชวี ิตนัน้ แบ่งได้ 2 ประเภท คอื 1. ผู้ชนะ คือ ผู้ท่ีทาส่ิงใดกต็ ามถูกต้องเสมอและมีอานาจ ผู้ชนะไม่กลัวท่ีจะทาตามความรู้ และความคิดของตัวเอง สามารถแบ่งแยกข้อมูลท่ีเป็นจริงกับข้อมูลที่เป็นความคิดเห็นได้ เขาจะฟัง ผู้อื่น หาขอ้ มูลมาประกอบการตดั สินใจอยา่ งกว้างขวาง ผู้ชนะจะไม่ดาเนินชีวิตภายใตโ้ ชคชะตา แตจ่ ะ คิดพิจารณว่าสมควรดารงชีวิตอย่างไรจงึ จะเหมาะสม สามารถมองเห็นความแตกต่างระหวา่ งส่ิงต่างๆ ได้ ตัดสินปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ผู้ชนะไม่ใช่ผู้ท่ีทาให้อีกฝ่ายหนึ่งแพ้ แต่เป็นผู้ที่มี ความรับผิดชอบ ไว้ใจได้ น่าเชื่อถือ รู้กาลเทศะ ไม่ยึดม่ันถือม่ันต่อสิ่งใดส่ิงหน่ึงตลอดไป แต่สามารถ ปรบั ตวั ให้เขา้ กับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ ขึ้น มีระเบียบวินัยและมีหลักการ ไม่หนีปญั หาแตก่ ล้าเผชญิ กับ ความจริง สนใจที่จะปรับปรุงตนเองอยเู่ สมอ 2. ผแู้ พ้ คือ ผทู้ ข่ี าดความเช่อื มน่ั ในตนเอง มคี วามผดิ หวังบอ่ ยๆ มีความสัมพนั ธ์กับผอู้ ื่นใน ทางท่ีไม่ดี มีปมด้อย และมีประสบการณ์ในทางลบและผิดหวัง ทาให้กลายเป็นคนเอาชนะด้วยเล่ห์ เพทุบาย ขาดความจริงใจ ฉลาดแกมโกง และเปลี่ยนแปลงทุกอย่างเพื่อให้ตนเองได้ในส่ิงที่ต้องการ ผแู้ พต้ ้องการชนะอยา่ งมีหลมุ พราง ตอ้ งการความสาเรจ็ อย่างเตม็ ไปด้วยความวติ กกังวล ต้องการไปให้ ถึงจดุ หมายปลายทาง แต่ไม่มคี วามสุข ทางานอยา่ งไรจ้ ดุ หมาย เหน่ือยหนา่ ย เมอื่ ประสบความผดิ หวัง มักจะโทษโชคชะตา ผู้แพ้มักจะคิดถึงแต่ความผิดหวังในอดีต เช่น ถ้าเกิดมารวยก็คงไม่เป็นอย่างน้ี ถ้าได้แต่งงานกับคนอื่นชีวิตคงจะดีกว่านี้ ถ้าได้เรียนสูงกว่าน้ีอนาคตก็คงจะไกลกว่าท่ีเป็นอยู่ ผแู้ พ้จะใชเ้ วลาไปกับสิ่งหลอกลวง ไม่จรงิ จัง เอาตัวรอดโดยขาดหลักการและแสดงบทบาทเหมอื นเด็ก ที่ขาดความรับผิดชอบ มีชีวิตอยู่ด้วยอนาคต มักจะฝันถึงส่ิงที่เป็นไปไม่ได้ และรอคอยแต่สิ่งที่ไม่เป็น ความจริง มกั จะราพงึ ราพนั ถงึ สิ่งทต่ี นเองปรารถนา โดยไม่ใช้ความพยายาม ทุกคนเกิดมาก็หวังจะเป็นผู้ชนะด้วยกันท้ังนั้น แต่คนเราเลือกเกิดไม่ได้ เน่ืองจาก สภาพแวดล้อมของชวี ติ ที่ต่างกัน ทาให้แนวทางในการดาเนนิ ชีวิตแตกต่างกันไปดว้ ย มีคนจานวนนอ้ ย

178 เท่าน้ันที่เป็นผู้แพ้หรือผู้ชนะเพียงอย่างเดียว แต่คนส่วนมากจะเป็นทั้งผู้แพ้และผู้ชนะ ซึ่งก็เป็นเร่ือง ธรรมดาของชีวิต อย่างไรก็ตามในแง่ของบทบาทท่ีเป็นต้นแบบชีวิตน้นั ไม่ได้พิจารณาเฉพาะผู้แพ้และ ผู้ชนะอย่างเดียว แต่พิจารณาบทบาทของแต่ละคนท่ีเป็นต้นแบบชีวิตนั้น โดยสรุปแล้วแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ บทบาทผู้กล่าวหา (Persecutor) จะชอบกล่าวร้าย กล่าวโทษผู้อื่น บทบาท เหย่ือ (Victim) คือ ผู้ที่ถูกผู้อ่ืนรังแก และบทบาทผู้ช่วยเหลือ (Rescuer) คือ ผู้ท่ีชอบช่วยเหลือผู้อ่ืน บทบาททั้ง 3 ประเภทน้ี ทาให้คนทุกคนเป็นเหมือนนักแสดงที่ต้องสวมหัวโขนใส่หน้ากากเข้าหากัน และแสดงไปตามบทบาทของตน การแสดงบทบาทโดยการสวมหน้ากากเข้าหากัน และขาดความ จริงใจต่อกัน จะนาไปสู่การเล่นเกม ซ่ึงเกมในเชิงจิตวิทยา (Psychological Game) เปน็ รูปแบบหนึ่ง ของการติดต่อส่ือสารที่ดูเหมือนเป็นการสื่อสารแบบคล้อยตามกัน ในลักษณะของการคบหาสมาคม กันตามปกติ แต่มีการซ่อนเร้นความรู้สึก น้าเสียง และกิริยาท่าทางเอาไว้ โดยผลที่เกิดขึ้นจะบอกว่า ผู้เล่นเกมน้ันมีวัตถุประสงค์อะไร ไม่ว่าจะเป็นการเล่นเกมประเภทใดก็ตาม จะต้องมีสิ่งที่ซ่อนเร้นไว้ เช่น ทาใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจผดิ หรือเกดิ ความเสียหาย เสียเวลา เกดิ ความหวาดระแวง ความโกรธ ความกลัว ความผดิ หวัง ความเคียดแค้น อาฆาตพยาบาท ความเจ็บปวด แม้กระทง่ั ความตาย ซึ่งขนึ้ อยู่กบั ระดับ ของเกม มารยาทสัมพันธ์ คาว่า “มารยาท” หรอื “มรรยาท” ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน แปลวา่ กิริยา วาจาทถ่ี ือว่าเรยี บรอ้ ย (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546, น. 647) ในชีวิตประจาวนั ของแต่ละคนซ่ึงตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกับบุคคลอ่ืนๆ ในสังคมนั้น กิริยามารยาทที่ บุคคลแสดงออกต่อผู้อ่ืนย่อมมีความสาคัญมาก ถ้าแสดงกิริยามารยาทที่ถูกต้องเหมาะสมตาม กาลเทศะ ย่อมเป็นที่รักใคร่ของผู้อ่ืน จะติดต่องานใดๆ ก็ได้รับความสะดวก และได้รับความร่วมมือ แต่ถ้าเป็นบุคคลที่ไม่ให้ความสาคัญในเร่ืองกิริยามารยาท เมื่อต้องเกี่ยวข้องกับผู้อื่นก็มักจะไม่ได้รับ ความร่วมมือ ไม่มีใครสนใจจะให้ความช่วยเหลือ ดังนั้นกิริยามารยาทท่ีบุคคลปฏิบัติต่อกันอย่าง เหมาะสมตามกาลเทศะนั้น นับว่ามีความสาคัญย่งิ ที่จะนาไปส่คู วามสาเร็จ ความร่วมมือ ความรักใคร่ อันเป็นหวั ใจสาคญั ของมนษุ ยสัมพันธ์ ในที่นจ้ี ะกลา่ วถึงมารยาทท่ีจาเป็นต่อการอยู่ร่วมกัน และเป็นแบบแผนปฏิบตั ิสืบตอ่ กันมา เป็นระยะเวลานาน ซึ่งแสดงความ เป็นเอกลักษณ์ของชาติ ได้แก่ มารยาทในการแนะนา การเย่ียมเยียน และการแสดงความเคารพ กับอีกส่วนหนึ่งจะ เป็นมารยาททั่วๆ ไป ที่ใช้ใน ชีวิตประจาวัน เช่น การเข้าห้องเรียน การใช้ห้องสมุด การประชุม การใช้โทรศัพท์ การโดยสารรถ ประจาทาง การใชล้ ิฟต์ เป็นต้น ซงึ่ จะอธบิ ายรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

179 1. การแนะนา การแนะนาให้รจู้ ักกันนนั้ อาจเป็นการแนะนาเพื่อนให้รู้จัก การแนะนาผนู้ ้อยใหร้ จู้ ักกับ ผู้ใหญ่ หรอื การแนะนาตนเองให้บุคคลอ่ืนรู้จกั นับว่าเป็นส่ิงจาเปน็ และสาคัญอย่างยง่ิ เพราะเป็นการ เชื่อมโยงความสัมพันธแ์ ละความเข้าใจซ่ึงกันและกัน เป็นการสร้างมนุษยสมั พนั ธ์ให้กวา้ งขวางออกไป บคุ คลทเี่ ป็นผ้แู นะนาจะตอ้ งมคี วามเฉลียวฉลาดมีไหวพริบ และมีศลิ ปะในการแนะนา เมือ่ แนะนาแล้ว ก็ตอ้ งช่วยให้ทั้งสองฝ่ายได้สนทนาต่อไปอย่างราบร่ืน การแนะนาให้ใครต่อใครรู้จกั กันน้นั ควรคานึงถึง ความเหมาะสม ดังนี้ (ชนดั ดา เหมอื นแก้ว, 2538, น. 275 - 278) เวลา โดยท่ัวไปแล้วจะแนะนาให้รู้จักกันเมื่อพบกันคร้ังแรก เช่น แนะนาเพ่ือนให้ รู้จักกนั แนะนาผู้นอ้ ยตอ่ ผู้ใหญ่ ฯลฯ สถานท่ี ไม่ควรแนะนา ให้รู้จักกันในพื้นที่ที่จอแจ หรือมีเนื้อท่ีจากัด ท่ีมีอากาศร้อน อบอ้าว หรือที่มเี สียงรบกวน เช่นตามถนน ในลฟิ ต์ ฯลฯ บุคคล ผู้แนะนาควรสังเกตว่า บุคคลท่ีจะแนะนาให้รู้จักกันน้ัน มีความพอใจและ ตอ้ งการจะรู้จกั กนั หรือไม่ โดยสงั เกตจากกริ ิยาทา่ ทาง 1.1 หลักปฏิบตั ิในการแนะนา ผูแ้ นะนาควรยึดหลกั ปฏบิ ัติต่อไปน้ี 1.1.1 การแนะนาชายให้รู้จักกับหญิง ระดบั เสมอกันจะต้องนาชายไปรู้จักกับหญิง กอ่ น หญิงแสดงความเคารพกอ่ น ชายรบั ความเคารพ ผู้แนะนาต้องคานึงถึงสถานที่ในการแนะนานั้น ตอ้ งไมใ่ ช่ที่เปลย่ี ว หรือท่ลี บั ตาคน หรือในเวลาท่ีฝา่ ยหน่งึ ฝ่ายใดยงั แต่งกายไม่เรียบร้อย 1.1.2 การแนะนาให้ชายรู้จักกับชาย ถ้าเป็นการแนะนาชายต่อชายที่มีอายุรุ่นราว คราวเดียวกัน ทั้งสองฝ่ายจะต้องกม้ ศีรษะคานับกัน แต่ถ้าท้งั สองฝ่ายเปน็ เพื่อนสนิทของผู้แนะนาควร จับมือกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งอาวุโสกว่า จะเป็นในทางตาแหน่งหรือในทางอายุก็ดี ผู้น้อยจะต้องคานับหรือ ยกมือไหว้ก่อน ส่วนผู้ใหญ่ต้องรับไหว้หรือจับมือด้วย เพื่อเป็นการแสดงว่ายินดีที่ได้รู้จัก หรืออย่าง นอ้ ยกต็ อ้ งกม้ ศีรษะคานบั ตอบด้วยความยินดี และทักทายปราศรัยตอ่ ไป 1.1.3 การแนะนาหญงิ ให้รู้จักกับหญิง ถ้าท้ังสองฝ่ายมีอายรุ ่นุ ราวคราวเดยี วกันควร ย้ิมให้กัน และสนทนาเพ่ือแสดงความยินดีท่ีได้รู้จักกัน ถ้าฝ่ายหน่ึงเป็นผู้ใหญ่กว่า จะเป็นในทาง ตาแหน่งหรือในทางอายุก็ตาม ผู้น้อยควรยกมือไหว้ก่อน และผู้ใหญ่ก็ยกมือรับไหว้ หรือย้ิมแย้ม ทักทายปราศรยั ดว้ ย 1.1.4 การแนะนาคนต่างวัยให้รู้จกั กัน ต้องนาคนอายนุ ้อยไปแนะนาต่อคนท่ีมีอายุ มาก ผทู้ ี่มือายนุ ้อยทาความเคารพผู้ใหญ่ก่อน และผู้ใหญ่ตอ้ งรับเคารพ 1.1.5 การแนะนาหญิงที่สมรสแลว้ กับหญงิ โสด ต้องนาหญิงโสดไปแนะนาตอ่ หญิงที่ สมรสแลว้ หญงิ โสดทาความเคารพกอ่ น หญิงสมรสแลว้ รับความเคารพ

180 1.1.6 การแนะนาคนท่ีเรารู้จักไมส่ นิทกับคนท่ีเราสนิท ตอ้ งนาคนที่เรารู้จักไม่สนิท ไปแนะนาตอ่ คนท่เี ราสนิท คนไมส่ นิททาความเคารพกอ่ น คนที่เราสนิทรบั ความเคารพ 1.1.7 การแนะนาตนเองให้ผอู้ ่ืนรู้จัก ต้องบอกชื่อ สกุล ท่ีอยู่ และหน้าท่ีการงานให้ ชัดเจน กรณีที่จะต้องแนะนาตัวให้ละเอียดควรหลีกเลี่ยงการโอ้อวดในร่ืองต่างๆ เช่น การศึกษาสูง ความรา่ รวย ตาแหน่งหน้าที่การงานใหญ่โต ฯลฯ เพราะจะทาให้ผู้ท่ีได้รับการแนะนาไม่ชอบ และเป็น การเสยี มารยาทด้วย ถ้ามีโอกาสแนะนาตนเองควรดเู วลา สถานท่ี และความเป็นกนั เองของทบี่ ุคคลใน สถานที่น้นั ๆ แล้วใช้วิจารณญาณว่าควรแนะนาได้ในระดบั ใด เม่ืออยู่ในกลุ่มผู้มีอาวุโสมากควรแนะนา ตนเองกบั ผู้ท่ีมีอาวุโสมากท่ีสดุ เพยี งท่านเดียวเท่าน้นั เพราะท่านอ่ืนๆ ย่อมได้ยนิ แล้ว กรณีการแนะนา ตนเองนี้ถา้ หลกี เล่ยี งไดก้ ็ควรหลีกเล่ยี ง ควรใหผ้ ้อู ่นื แนะนาตัวเราจะดีกวา่ 1.2 การกล่าวชอื่ ในการแนะนา ในการแนะนาให้บุคคลรู้จักกัน ควรกล่าวชื่อของท้ังสองฝ่าย แต่บางคร้ังอาจเรียก ตาแหน่งกไ็ ด้ แตจ่ ะมีฝ่ายหน่ึงทีไ่ ด้รับเกยี รติกล่าวชื่อก่อน ในสังคมไทยจะให้เกียรตผิ ูอ้ าวุโส ผมู้ ียศหรือ ตาแหน่งสูงและสภุ าพสตรี จึงนยิ มกล่าวช่ือก่อน เปรียบเหมือนการขออนุญาตทีจ่ ะให้ผู้อ่นื มาทาความ รู้จกั นัน่ เอง ซึ่งมรี ูปแบบการกลา่ วชอ่ื ที่เป็นทีน่ ยิ มกนั ดังน้ี 1.2.1 การแนะนาชายให้รู้จักกับหญิงระดับเสมอกัน ต้องกล่าวช่ือผู้หญิงก่อน หญิงทาความเคารพกอ่ น เช่น “คุณพัชรินทรค์ รับ ผมขอแนะนาคณุ วรี ะศักดิ์ เพอ่ื นร่วมงานผมครับ” 1.2.2 การแนะนาชายให้รู้จักกับชายระดับเสมอกัน จะกล่าวชื่อใครก่อนก็ได้ เช่น “คณุ สมชายครบั ผมขอแนะนาคณุ กติ ิศักด์ิ เพอื่ นผมครบั ” 1.2.3 การแนะนาหญิงให้รจู้ กั กับหญิงระดับเสมอกัน จะกล่าวชือ่ ใครกอ่ นกไ็ ด้ เช่น “คณุ ภาวิศาครับ ผมขอแนะนาคณุ มณีญาครบั ” 1.2.4 การแนะนาคนต่างวยั ให้ร้จู ักกนั ต้องกล่าวช่ือ ผู้ใหญ่ก่อน เช่น “คณุ ลุงครับ นีศ่ ภุ กรเพ่ือนผมครับ” 1.2.5 การแนะนาหญิงท่ีสมรสแล้วกับหญิงท่ีอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ต้องกล่าว ช่อื หญงิ ที่สมรสแล้วก่อน เช่น “คณุ พรพิสุทธค์ิ รับน่ีคุณชาคริยาเพือ่ นผมเองครับ” พรพสิ ุทธ์ิสมรสแล้ว ชาคริยาโสด) 1.2.6 การแนะนาคนที่เรารู้จักไม่สนิทกับคนท่ีเราสนิท ต้องกลา่ วช่ือคนท่ีเราสนิท ก่อน เช่น “ทรรศนีย์จ๊ะ ฉันขอแนะนาพวงทองเพื่อนใหม่ของฉันจ๊ะ” ทรรศนีย์เป็นเพ่ือนสนิทกับ ผ้แู นะนามากกวา่ พวงทอง ซึ่งเปน็ เพือ่ นใหม่) 1.2.7 การแนะนาผู้น้อยแก่ผู้มียศหรือตาแหน่ง ต้องกล่าวชื่อผู้มียศหรือตาแหน่ง กอ่ น เช่น “คณุ หญิงวรารตั น์ครับ ผมขอแนะนาอภิญญาภรรยาผมครับ”

181 1.3 มารยาทในการแนะนา ในการแนะนาควรปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1.3.1 เม่ือทั้งสองฝ่ายได้รับการแนะนาให้รู้จกั กัน ต่างฝ่ายต่างกล่าวคาว่า “สวัสดี ครับ” หรือ “สวัสดีค่ะ” ไม่ควรกล่าวว่า “ยินดีทไ่ี ด้พบคุณ” เพราะประโยคนี้จะใช้เมื่อแนะนาให้รู้จัก กันแลว้ และกาลังจะลาจากกันมากกว่า 1.3.2 ควรแสดงความเคารพ พร้อมกับคากล่าวสวัสดี อาจจะโค้ง ก้มศีรษะ ไหว้ หรือจบั มอื อย่างใดอย่างหน่ึง โดยปฏิบัตใิ ห้เปน็ ไปตามควรแกส่ ถานภาพ ดงั น้ี กรณีเด็กทาความเคารพผู้ใหญ่ หรือผู้น้อยทาความเคารพผู้มียศหรือ ตาแหน่งสงู กวา่ ควรย้มิ และยกมอื ไหว้ ผู้รบั ไหวต้ อบหรือก้มศีรษะเล็กนอ้ ย กรณีระดับเสมอกัน ถ้าเป็นชายกบั ชาย ควรย้ิมหรือก้มศีรษะเชิงคานับหรือ จบั มือตามทีผ่ ู้ปฏิบัติจะเหน็ สมควร กรณีระดบั เสมอกนั ถา้ เป็นหญงิ กับหญิง ควรยิม้ ใหก้ นั กรณีแนะนาชายแก่หญิง หญิงควรยกมือไหว้ชายเสมอแม้ว่าจะอยู่ในระดับ เสมอกัน ชายยม้ิ และรบั ไหว้ตอบ อน่ึง การแสดงความเคารพด้วยการจับมอื ถือเปน็ สากลนยิ ม สามารถปฏบิ ัติ ไดต้ ามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี ผูน้ ้อยจะจับมอื ผ้ใู หญ่ได้ตอ่ มื่อผ้ใู หญ่เป็นฝา่ ยยืน่ มอื ให้จับ ชายจะจบั มือหญิงได้ ก็ต่อเมอื่ หญงิ ยืน่ มือใหจ้ ับเท่านนั้ ระหว่างชายกับชาย หรือหญิงกับหญิงในระดับเสมอกัน ต่างฝ่ายตา่ งยื่นมือ ใหจ้ บั ไดต้ ามตอ้ งการ ไม่ต้องรอให้อกี ฝ่ายหนึง่ ยน่ื มอื ใหก้ ่อน สาหรับวิธีการจับมือ ควรยืนตรง มองตาผู้น้ัน ย้ิม จับมือให้แน่น ส่ันเพียง เลก็ นอ้ ยและปลอ่ ยมือเร็ว ในขนั้ ตอนน้ีจะพบว่าทง้ั สองฝ่ายจะตอ้ งแสดงออกทางสหี น้าด้วยการยิ้มแย้ม แจ่มใส เป็นการแสดงถึงความยินดีท่ีได้รู้จักกัน วาจาต้องกล่าวอย่างสุภาพอ่อนโยน แสดงถึงความมี ไมตรี ส่วนทท่ างอาจจะแสดงออกตามความนิยมของสังคม เชน่ กรณีเป็นชายและกาลังน่ังอยู่ เม่ือมีผู้มาแนะนาให้รู้จักกับหญิงหรือชาย ก็ตาม ต้องลกุ ขึ้นยนื เพื่อเปน็ การให้เกยี รติแก่ผ้ทู ่จี ะรจู้ กั ด้วย กรณที ี่เป็นหญงิ และกาลังนัง่ อยู่ เม่ือมผี นู้ าชายมาแนะนาให้รู้จัก หญิงไม่ต้อง ลกุ ขึ้นยนื ยกเวนั แนะนาชายหรอื หญิงกต็ ามทอ่ี าวุโส ยศหรอื ตาแหน่งสูงกวา่ ควรยนื ขึน้ 1.3.3 เริม่ สนทนาควรเรม่ิ ด้วยเรื่องใกลต้ ัวหรือสถานการณ์ปจั จุบัน อาจเร่ิมคุยเร่อื ง งาน สถานท่ีทางาน ฯลฯ ถ้าท้ังสองไม่ทราบว่าจะคุยเรื่องอะไรดี ผู้แนะนาควรเป็นผู้เชื่อมโยงให้

182 การสนทนาดาเนนิ ตอ่ ไป ดว้ ยการแนะนาขอ้ มูลท่ที ัง้ สองฝ่ายมคี ล้ายๆ กัน เช่น งานอดิเรกต่างๆ สาเร็จ จากสถาบนั การศึกษาเดยี วกัน ฯลฯ จะชว่ ยใหท้ งั้ สองฝ่ายมเี รื่องคุยได้ตอ่ ไป 1.3.4 การกล่าวลา เมื่อกล่าวคาอาลาในระดับเสมอกันมักกล่าวว่า “ยินดีที่ได้พบ คุณ” หรือ “หวังว่าเราคงจะได้พบกันอีก” ฝ่ายตอบรับควรตอบว่า “ยินดีท่ีได้พบคุณเช่นกัน” หรือ “หวังว่าจะได้พบคณุ เช่นกัน” 2. การเยี่ยมเยียน การเยี่ยมเยียน คือ การไปมาหาสู่กันระหว่างเพ่ือนฝูง ญาติ และผู้ที่เคารพนับถือ ซ่ึงจัดเป็นมารยาททางสังคมอย่างหน่ึง การเย่ียมมีหลายรูปแบบ เช่น การเยี่ยมเพ่ือแสดงความยินดี เย่ียมเพื่อขอความช่วยเหลือ เย่ียมผู้ป่วย เป็นต้น การเยี่ยมนอกจากจะทาให้ผู้เย่ียมเป็นผู้มีมารยาท ทด่ี ีแลว้ ยงั แสดงถึงความมนี า้ ใจของผู้เย่ียม และชว่ ยกระชับความสัมพนั ธไ์ ด้แน่นแฟ้นย่ิงขน้ึ 2.1 หลักปฏิบัติในการเย่ียมเยียน การเย่ียมเยียนจะต้องประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้ไปเย่ยี ม และเจ้าของบา้ น จึงควรยดึ แนวทางดังต่อไปน้ี 2.1.1 มารยาทของผูไ้ ปเยีย่ ม มขี อ้ ควรปฏิบตั ดิ ังนี้ 1) ถ้ามีธุระสาคัญควรนัดหมายเจ้าของบ้าน เกี่ยวกับวัน เวลา ก่อนท่ีจะ ไปหา พร้อมแจง้ ธรุ ะนัน้ ใหท้ ราบกอ่ น และต้องไปถงึ บา้ นตามเวลาที่นัดหมาย 2) ถ้าไม่จาเป็นอย่าไปเย่ียมผู้อื่นในเวลากลางคืน ในเวลาท่ีเขาควรจะ พกั ผอ่ นหลบั นอน หรอื ในเวลาที่ทราบว่าเขาไม่ต้องการตอ้ นรบั ใคร 3) เคาะประตูบ้าน กดกร่ิง หรอื ใช้เสยี งก่อนที่จะเปิดประตูเข้าไป แตถ่ ้าบ้าน ที่ไปหานั้นไม่รู้จักสนิทสนม ก็ต้องรอใหเ้ จ้าของบ้านเปิดประตูรับเสียก่อน หรือไดร้ ับอนุญาตใหเ้ ขา้ ไป จงึ เข้าไปได้ 4) ผู้ไปเย่ียมควรทาความเคารพผู้เป็นเจ้าของบ้านก่อน เว้นแต่ผู้ไปเย่ียมมี อาวโุ สกว่า 5) ถ้าเจ้าของบ้านมีแขกผู้อ่ืนที่เราไม่รู้จักนั่งคุยด้วยกจิ ธุระ ซึ่งน่าจะเป็นการ ส่วนตัว ควรบอกลากลับ แล้วค่อยไปใหม่หรือหลบออกไปน่ัง หรือเดินไปท่ีอื่นที่ใกล้ๆ กัน รอให้แขก ผู้น้ันกลับเสยี กอ่ นจงึ เข้าไป ทั้งนข้ี น้ึ อยกู่ ับสถานกรณ์ในขณะนน้ั 6) ถ้าผู้ท่ีเป็นเจ้าของบ้านเป็นญาติ หรือเพ่ือนสนิท ควรมีของเล็กๆ น้อยๆ ตดิ มอื ไปย่ียมด้วย เป็นการแสดงความมีน้าใจ 7) เมื่อเจ้าของบ้านเชิญให้นั่งก็น่ังให้เรียบร้อย พร้อมกับขอบคุณ และรอให้ เจ้าของบ้านน่ังลง จนเห็นวา่ พรอ้ มแล้ว จึงเริ่มสนทนาถามทุกข์สขุ ของบคุ คลในครอบครวั โดยทัว่ กนั

183 8) อย่าแสดงอาการรังเกียจ หรือไม่พอใจต่อลูกหลานของเจ้าของบ้านท่ี รอ้ งไห้หรือซุกซนหรอื แสดงอาการไม่พอใจตอ่ สัตว์เล้ียงที่รบกวน ขณะพดู คยุ กบั เจา้ ของบา้ น 9) พูดธุระท่ตี นตอ้ งการพดู เม่ือเห็นว่ามโี อกาสควรจะพูด หากเห็นวา่ โอกาส ไม่เหมาะก็ควรกลับไปกอ่ น แลว้ คอ่ ยหาโอกาสมาใหม่ 10) การเย่ียมเยียนไม่ควรพร่าเพรื่อนัก จะทาให้เจ้าของบ้านราคาญ ไม่มี เวลาได้พักผอ่ น หรอื ทาธุระอย่างอืน่ จงึ ควรไปเป็นคร้งั คราวตามความจาเป็น 11) การไปหาไม่ควรอยู่นานเกินควร เม่ือหมดธุระท่ีตนต้องการแล้ว ควร ลากลับ 12) อย่าคุยกับเจ้าของบ้านจนถึงเวลาอาหาร หรือเวลาที่เขามีธุระอย่างอ่ืน เมือ่ เหน็ ว่าถงึ เวลานนั้ ควรลากลับ 13) ในการไปหาผู้ที่ตนมีความสนิทสนมมาก ไม่ควรนาเพ่ือน หรือ บุตรหลานไปด้วย เพราะอาจจะกอ่ ความราคาญแกเ่ จา้ ของบ้านได้ 14) ไม่ควรรบกวนเจา้ ของบา้ นด้วยเร่ืองต่างๆ เช่น ขอใช้โทรศพั ท์ ขอต้นไม้ ไปปลกู ขอยมื หนังสือไปอา่ น ฯลฯ 15) เมื่อเสร็จธุระแล้วควรลากลับ พร้อมกล่าวคาขอบคุณที่เจ้าของบ้านให้ การตัอนรบั และถ้าสนิทสนมกนั ก็เชื้อเชิญใหเ้ ขาไปเย่ียมเยยี นเราบา้ ง 2.1.2 มารยาทของผู้เปน็ เจา้ ของบ้าน มีขอ้ ควรปฏิบัตดิ ังน้ี 1) เมื่อมีผู้มาเย่ียม เจ้าของบ้านต้องแสดงกิริยาชื่นชม ต้อนรับด้วยการ ย้มิ แย้มแจม่ ใส ทกั ทายอยา่ งสภุ าพ และเชญิ ใหน้ ง่ั ในทีอ่ ันควร จัดหาน้าดม่ื มาตอ้ นรบั ในข้ันต้น 2) ไม่ควรถามผู้มาเยี่ยมว่ามาธุระอะไร เพราะถ้าไม่มีธุระแต่ตั้งใจมาเยี่ยม เพือ่ ความสัมพันธท์ ่ีดี อาจทาใหผ้ มู้ าเย่ยี มเคอะเขนิ ได้ และควรชวนเขาคุย ไม่ปลอ่ ยใหน้ งั่ นิง่ เงียบๆ 3) ถ้าถึงเวลาอาหารก็ควรชวนผู้มาเยี่ยมรับประทานอาหารด้วยกัน ถ้าเตรียมอาหารไว้ไม่พอหรือติดขัดประการใด ก็ควรเล่ือนเวลารับประทานอาหารออกไป อย่า รบั ประทานอาหารโดยให้ผู้มาเยี่ยมนั่งรอเปน็ อันขาด เพราะถือเปน็ การเสยี มารยาทอย่างยงิ่ 4) ถา้ ผู้มาเย่ียมมาขอควมช่วยหลือก็ควรชว่ ยหลือตามสมควร ถ้าขัดข้องไม่ สามารถชว่ ยเหลือได้ ก็ต้องพดู ให้เขาเข้าใจอยา่ งสุภาพ และแสดงความเสียใจทีไ่ มส่ ามารถชว่ ยเหลือได้ 5) อย่าแสดงกิริยาท่าทางที่ทาให้ผู้มาเย่ียมเกิดความรู้สึกว่าเจ้าของบ้าน ไม่อยากต้อนรับ เช่น ทาหน้าบ้ึงตึง พูดขัดคอ มองดูนาฬิกาบ่อยๆ ลุกไปปัดกวาด จัดเก็บข้าวของ ดดุ า่ ลกู หลานหรือคนรบั ใช้ การแสดงพฤติกรรมดังกล่าวจะทาใหผ้ ู้มาเย่ยี มเกิดความรู้สึกว่ากาลงั ถูกไล่ ทางอ้อม

184 6) เม่ือผู้มาเยี่ยมต้องการพูดคุยกับผู้หนึ่งผู้ใดโดยฉพาะ ควรเปิดโอกาสให้ เขาไดค้ ยุ กัน ด้วยการกล่าวคาขอโทษ แลว้ ลุกออกจากหอ้ งน้นั ไปช่ัวระยะเวลาหน่ึง 7) เมื่อผู้มาเยี่ยมลากลับ เจ้าของบ้านควรตามไปส่งที่ประตูบ้านและ เชือ้ เชญิ ใหม้ าเยี่ยมอีกในโอกาสตอ่ ไป 8) เม่ือผู้มาเย่ียมออกจากประตูห้องรับแขกหรือประตูบ้าน อย่าปิดประตู บ้านเสียงดงั จะทาให้ผมู้ าเยยี่ มเกิดความรสู้ ึกวา่ เจ้าของบ้านไม่พอใจ จงึ ปิดประตไู ลต่ ามหลัง 2.2 ชนิดของการเย่ยี มเยยี น การเยี่ยมเยียนแบ่งได้หลายชนิด ตามวัตถุประสงค์ในการเยี่ยมเยียน ในท่ีนี้จะ กล่าวถึงเฉพาะการเยี่ยมเพ่ือผูกมิตร การเย่ียมผู้ปว่ ย การเยี่ยมคนที่กาลังมีความทกุ ข์ การเย่ียมคานับ การเย่ยี มเพ่อื แสดงความยมิ ดี การเยีย่ มเพอื่ ขอความชว่ ยเหลอื ซงึ่ จะกล่าวตามลาดับตอ่ ไปนี้ 2.2.1 การเยี่ยมเพือ่ ผูกมติ ร มีข้อควรปฏบิ ตั ิดังน้ี 1) ไม่ควรไปเยยี่ มบอ่ ยเกนิ ไป เพราะเพอ่ื นอาจตอ้ งการเวลาท่เี ป็นสว่ นตัว 2) ไม่ควรไปเยี่ยมในเวลาอาหาร เพราะอาจทาให้เพื่อนไม่สะดวกในการ จดั เตรียมอาหาร นอกจากจะมกี ารนดั หมายลว่ งหน้า และได้รับเชิญให้ไปรบั ประทานอาหารด้วยกัน 3) ถ้าไม่มีธุระจาเป็นจริงๆ ก็ไม่ควรไปเยี่ยมเพ่ือนในเวลากลางคืน ซึ่งเป็น เวลาทเี่ พ่ือนตอ้ งการพักผ่อน 4) เม่ือมีการสนทนาขณะเยี่ยม ควรสนทนาในเรื่องท่ีทาให้เกิดความ สนุกสนาน และเรอื่ งที่เพือ่ นชอบ ไม่ใช่เรอื่ งทเี่ ราชอบ 5) ไม่ควรอยู่นานเกินไป เพราะจะเป็นการรบกวนเวลาเพ่ือน ซง่ึ อาจต้องมี ภารกจิ อยา่ งอน่ื ตอ้ งปฏบิ ตั ิ 2.2.2 การเย่ียมผู้ปว่ ย มีขอ้ ควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1) ก่อนเย่ียมผู้ป่วย ควรถามแพทย์หรือพยาบาลก่อนวา่ มีขอ้ ห้ามอะไร เพ่ือ จะได้ปฏบิ ตั ิต่อผ้ปู ว่ ยไดถ้ ูกตอ้ ง 2) ไม่ใช้คาพูดท่ีทาให้ผู้ป่วยสะเทือนใจ ควรพูดให้ผู้ป่วยสบายใจ มีกาลังใจ เช่น คณุ มอี าการดีขึ้นมาก คุณแขง็ แรงขึน้ มาก 3) ไม่เล่าเร่ืองที่ทาให้ผู้ป่วยไม่สบายใจ แม้ว่าเรื่องน้ันจะมีความสาคัญ เพยี งใดก็ตาม 4) ไม่ควรลุกเดินไปมา เพราะผู้ป่วยจะต้องเหลียวหน้าแหงนหน้า หรือ พลกิ ตวั มาหาผูเ้ ย่ียม จะทาใหผ้ ู้ปว่ ยเหนอ่ื ยโดยใชเ่ หตุ 5) ไม่ควรสูบบุหรี่ห้องผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ป่วยท่ีเป็นโรคเก่ียวกับ ทางเดนิ หายใจ

185 6) ไม่ควรอยูน่ านเกินไป เพราะจะเป็นการรบกวนผูป้ ว่ ย 7) ต้องปฏิบัติตามกฎของสถานท่ี หรือโรงพยาบาลและคาสั่งของแพทย์ อยา่ งเคร่งครัด ในกรณีท่ีเป็นผู้ป่วยหนักถึงขั้นห้ามเยี่ยม ก็ควรไปถามข่าวคราวจาก พยาบาลหรือญาติพี่น้อง หรอื ลงนามในสมุดเยี่ยม (ถ้ามีการจัดไว้) เพื่อแสดงถึงความห่วงใยและเป็น การให้กาลงั ใจแกญ่ าตพิ ่ีนอ้ งของผ้ปู ว่ ย 2.2.3 การเยย่ี มคนทกี่ าลงั มคี วามทุกข์ คนที่มีความทกุ ข์ก็เหมอื นผปู้ ่วยนั่นเอง แต่ เป็นการป่วยทางใจ ทุกข์ใจ ซึ่งเหตุการณ์ต่างๆ ที่ทาให้คนมีความทุกข์มีหลายอย่าง เช่น ไฟไหม้บ้าน ญาติพี่น้องเสียชีวิต ถูกปล้นจ้ี ทรัพย์มีค่าสูญหาย ฯลฯ การไปเย่ียมเช่นน้ีจะทาให้ผู้ท่ีเราไปเย่ียม ซาบซึ้งในนา้ ใจของกันและกัน จงึ มีขอ้ ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี 1) ควรไปเย่ียมทันทีที่ทราบข่าว เพราะในระยะแรกๆ ท่ีเกิดเหตุ เขาย่อม ต้องการกาลังใจ ความเห็นอกเห็นใจจากคนรอบขา้ งเปน็ อย่างยง่ิ การทิ้งระยะเวลาไว้เน่ินนานเกนิ ไป จะไม่ช่วยในเรอ่ื งกาลงั ใจมากนกั 2) มีหนทางใดทจี่ ะชว่ ยเหลอื ให้ทกุ ข์นั้นคลี่คลายหรอื บรรเทาลงไปได้ กค็ วร ทาทนั ที เพราะคนเราจะรูซ้ ้งึ นา้ ใจกันไดอ้ ย่างดีก็ตอนเจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ย หรอื ไดร้ บั ความทุกขน์ ี่เอง 3) เวลาในการเยี่ยมนัน้ ไม่มกี าหนดแนน่ อนว่าควรอยนู่ านแค่ไหน หรือควร เย่ยี มเวลาใด ทงั้ น้ขี นึ้ อยกู่ บั ลักษณะของความทุกข์และความใกล้ชดิ สนิทสนมระหว่างบคุ คลนั้นๆ 4) การพดู คุยกับคนที่กาลังมีความทุกข์ก็เช่นเดียวกับการพูดคยุ เม่อื ไปเยี่ยม ผู้ป่วย กล่าวคือ ต้องพูดแสดงความเห็นใจ ปลอบใจ และให้กาลังใจไปพร้อมๆ กัน เช่น ญาติพ่ีน้อง เสียชีวิตก็ควรพูดให้เขารู้สึกว่าความตายเป็นเรื่องธรรมดาของคนเรา ไม่มีใครหลีกเล่ียงได้ หรือพูด ยกย่องในความดีของผ้ตู าย เขาทาความดีไว้มากคงจะไปสูส่ ุคติ เป็นต้น คาพูดท่ีไม่ควรใช้ เชน่ พูดว่า “โธ่! ยังหนุ่มยังแน่น ไม่น่าอายุส้ันเลย” แม้ว่าจะเป็นความจริงแต่จะทาให้ญาติพ่ีน้องเสียใจมากขึ้น และทุกข์หนักเข้าไปอีก ซึ่งเรียกว่าพูดไม่เป็น ส่วนคนที่ไฟไหม้บ้าน ถูกโจรผู้ร้ายปล้นจี้ ทรัพย์สินมีค่า สูญหาย ก็ควรใช้คาพูดในลักษณะที่ว่า ทรัพย์สินเป็นของนอกกาย ไม่ตายก็หาใหม่ได้ หรือหมด เคราะห์หมดโศกเสียที ต่อไปน้จี ะได้ตั้งตน้ ชีวติ ใหม่ เคราะห์ดีท่ีหนีออกมาได้ หรือเคราะห์ดีทไ่ี มถ่ ูกโจร ทาร้าย เป็นตน้ 2.2.4 การเยี่ยมคานับ มักทาแก่ผู้บังคับบัญชา ผู้ใหญ่ที่เคารพ ผู้สูงศักดิ์ ในการ เยี่ยมคานับ ผู้เยี่ยมควรจะเขียนช่ือ สกุลของตนลงในสมุดเย่ียมให้ชัดจน โดยไม่ใช้ลายเซ็น เพื่อให้ อา่ นง่าย การเย่ยี มชนิดนีเ้ ปน็ การเยย่ี มท่ีทากันเปน็ พิธแี ละมักจะทากันในโอกาสตา่ งๆ เชน่ เพ่ืออวยพร ในวันขึ้นปใี หม่ ครบรอบวนั เกิด หรอื เพื่อการเดนิ ทางไกลของท่านผู้นนั้ เปน็ ตน้

186 2.2.5 การเย่ียมเพื่อแสดงความยินดี การเยี่ยมชนิดน้ีเป็นการแสดงถึงความมี มารยาทที่ดีอย่างหน่ึง และช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันไดอ้ ย่างดี โอกาสท่ีควรเยี่ยมแสดง ความยินดี เช่น ได้รับตาแหน่งท่ีสูงขึ้น มีความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน ได้รับพระราชทาน ปรญิ ญาบัตร ไดร้ ับทุนไปดงู านต่างประทศ ฯลฯ ในการเย่ยี มแสดงความยนิ ดี มีข้อควรปฏิบัติดงั นี้ 1) ควรพูดแสดงความยนิ ดีด้วยความจรงิ ใจ มีสีหน้าเบิกบานแจ่มใส 2) ไมค่ วรอยนู่ านเกนิ ไป 3) ถ้ามีผู้อ่ืนมาแสดงความยินดี ก็ควรรีบลากลับเพื่อให้โอกาสผู้อ่ืนได้แสดง ความยินดบี า้ ง 2.2.6 การเยี่ยมเพ่ือขอความช่วยเหลือ คนเรามีความจาเป็นต้องพ่ึงพาอาศัยกัน จะด้วยกาลังกาย กาลังความคิดหรือกาลังเงินก็ตาม ไม่มีใครในโลกท่ีสามารถอยู่คนดียวได้ การชว่ ยเหลือกันจึงเปน็ สิ่งจาเปน็ และเป็นเรื่องธรรมดาของมนษุ ย์ เมื่อมีความจาเปน็ ตอ้ งการขอความ ช่วยหลอื ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1) การขอความช่วยเหลือจะกระทาเมื่อได้พยายามช่วยเหลือตัวเองอย่าง ที่สดุ แล้วแต่ไมส่ าเร็จ 2) ไม่ขอความช่วยเหลือบ่อยครั้ง จะทาให้เขามีความรู้สึกว่าผู้ขอความ ชว่ ยเหลือเป็นบคุ คลทีเ่ ห็นเเก่ตวั 3) ไม่ขอความช่วยเหลือในสิ่งที่จะทาให้ผู้อ่ืนเกิดความลาบากใจ เช่น ขอใหเ้ ป็นผคู้ า้ ประกนั ขอให้รับรองความประพฤติ 4) การขอความช่วยเหลือ ควรพูดให้เขาเหน็ ใจ พูดยกย่องในความดี ความ มีเมตตา หรือมีจิตใจโอบอ้อมอารี มีผู้เคารพนับถือมาก ฯลฯ และท่ีสาคัญต้องพูดด้วยความจริงใจ ไม่เสแสรง้ จะทาให้เขามีความพอใจและเตม็ ใจจะชว่ ยเหลือ ในกรณีกลับกัน ถ้ามีคนมาขอความช่วยเหลือและพิจารณาอย่างรอบคอบ แล้วว่าเขาเป็นคนดีจริง เม่ือช่วยเหลือแล้วไม่ทาความเดือดร้อนเสียหาย ก็ควรให้ความช่วยหลือ เพราะการช่วยเหลอื จะทาใหผ้ ู้ได้รบั ความช่วยเหลือซาบซึง้ ในน้าใจ เปน็ การสร้างมนุษยสัมพนั ธท์ ี่ดีอีก ประการหน่ึง อย่างน้อยถ้าช่วยเหลืออะไรได้ไม่มากก็ควรหาทางปลอบใจ ให้คาแนะนาที่ดี เพ่ือให้เขา เห็นว่าเราเห็นใจและต้องการช่วยหลือ เขาจะได้ไม่รู้สึกเสียใจ ผิดหวัง และไม่เสียความสัมพันธ์อันดี ต่อกัน หลักสาคัญอีกประการหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือใครน้ัน อย่ารับปากจะช่วยเหลือ แล้วไม่ ชว่ ยเหลือ เพราะจะทาใหเ้ ขามีความหวัง ในท่ีสุดกจ็ ะกลายเปน็ คนขาดความน่าเชื่อถอื เป็นคนโลเลไม่ แน่นอน และทาให้เกิดความบาดหมางกันได้ง่าย ดังน้ัน ก่อนที่จะรับปากช่วยเหลือผู้ใด ต้องคิดให้ รอบคอบก่อนว่าเราจะใหค้ วามช่วยเหลอื เขาได้ จงึ ค่อยรับปาก อย่าพูดชนิดขอไปทเี ปน็ อันขาด

187 3. การแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพมีหลายลักษณะ เช่น การประนมมือ การไหว้ การกราบ การคานับ การถวายความเคารพ การท่ีจะแสดงความเคารพในลักษณะใดนั้น ต้องพิจารณผู้ที่จะรับ ความเคารพด้วยว่าอยู่ในฐานะเช่นใด หรือในโอกาสใด แล้วจึงแสดงความเคารพให้ถูกต้องและ เหมาะสม การแสดงความเคารพแบ่งไดด้ ังนี้ คือ 3.1 การไหว้ การไหว้ที่ถูกต้องมือที่ประนมต้องให้น้ิวชิดกนั ถ้าเปน็ “ประนมมือ” ตอ้ ง ใหม้ ือที่ประนมอย่รู ะหวา่ งกลางอก ให้ปลายน้ิวตง้ั ตรงขึน้ เบื้องบน ยกมือข้ึนให้อยู่ตรงสันจมกู การไหว้ มี 3 แบบ คอื 3.1.1 การไหว้พระ เมื่อประนมมือแล้ว ยกขึ้นให้น้ิวหัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว ปลายน้ิวชี้จรดตีนผมให้ชิดกับหน้าผากเรียกว่าไหว้ระดับ 1 สาหรับผู้ชายให้ค้อมตัวลง สาหรบั ผู้หญิง ใหก้ ้าวขาขวาออกไปข้างหน้าเล็กน้อยแล้วยอ่ ตัวลง 3.1.2 การไหว้บิดามารดาครูอาจารย์ ให้ประนมมือยกขึ้นจนน้ิวหัวแม่มือจรด ปลายจมูก ปลายน้ิวชี้จรดระหว่างค้ิว เรยี กว่าไหว้ระดับ 2 ผู้ชายค้อมตัวลงเล็กนัอย ผู้หญิงก้าวขาขวา ไปขา้ งหน้าเลก็ น้อยแลว้ ย่อตวั ลงแตพ่ องาม 3.1.3 การไหว้ผู้เคารพนับถือโดยทั่วไป รวมทั้งผู้มีฐานะเสมอกันประนมมือให้ น้ิวหัวแม่มือจรดปลายคาง ปลายน้ิวช้ีจรดปลายจมูก ก้มหน้าลงเล็กน็อยไม่ต้องค้อมตัวหรือย่อตัว เรียกว่าไหว้ระดับ 3 การรับไหว้ ใช้สาหรับการรับการเคารพจากผู้มีอาวุโสน้อยกว่า ให้ประนมมือ ยกข้ึนอย่ใู นระดับอก ปลายน้อิ ยใู่ นระหว่างปลายคาง ก้มหนา้ เล็กนอ้ ย 3.2 การกราบ การกราบบุคคลกระทาเฉพาะกบั ผู้ทีอ่ าวุโสสงู มาก เชน่ บิดามารดา ครู อาจารย์ท่ีมีอายุมาก เมื่อจะกราบ เร่ิมต้นต้องทากิรยิ าบถหมอบก่อนโดยลดตัวลงนั่งพับเพียบกับพื้น เก็บปลายเท้าแล้วค้อมตัวหมอบลงให้แขนท้ังสองข้างคร่อมเข่า เวลากราบให้ประนมมอื ไหวแ้ ล้วค้อม ตัวลง มือท่ีประนมต้ังในระดับพ้ืน กับศีรษะลงไปจรดหัวแม่มือ กราบเพียง 1 ครั้ง เรียกว่ากราบลง ศอกตั้งมือ แล้วจึงลุกข้ึนอยู่ท่านั่งพับเพียบหรือท่าหมอบแล้วแต่กรณี ส่วนการกราบพระพุทธรูป หรือภิกษุสงฆ์ ให้กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ คือให้หน้าผาก 1 มือ 2 เข่า 2 รวมเป็น 5 จรดพื้น พร้อมกันและตอ้ งกราบ 3 ครงั้ การกราบแบบนี้ใช้กบั บุตรกราบลาพ่อแม่เพอ่ื บวชดว้ ย 3.3 การถวายบังคม การถวายบังคมเป็นราชประเพ ณีถวายความเคารพ พระมหากษัตริย์ในงานพระราชพิธีสาคัญ ก่อนจะถวายบังคมต้องน่ังอยู่ในท่าเตรียม คือนั่งคุกเข่า ปลายเท้าต้ัง นั่งบนส้นเท้าเช่นเดียวกนั ทง้ั ชายเละหญิง มือทั้งสองวางควา่ เหนือเข่าทั้งสองข้าง ชายน่ัง เเยกเข่าได้เล็กน้อย หญงิ นัง่ เข่าชิดการถวายบงั คม แบง่ เป็น 3 จังหวะดงั นี้

188 จงั หวะท่ี 1 ยกมอื ข้ึนประนมระหว่างอก ปลายนิ้วต้ังขน้ึ แนบลาตวั ไมก่ างศอก จังหวะที่ 2 ยกมือท่ีประนมข้ึนให้ปลายน้ิวหัวแม่มือจรดหน้าผาก เงยหน้าขึ้น เล็กน้อย จังหวะท่ี 3 ลดมือกลับลงมาตามเดมิ มาอยู่ในจังหวะที่ 1 ทาจนครบ 3 ครั้ง แล้ว ลดมอื ลงวางคว่าเหนือเข่าท้ังสองข้าง การถวายบงั คมดังกล่าวนี้ใช้กรณที ี่มีทั้งชายหญิงไปบงั คมรว่ มกัน ถ้าหญิงลว้ นใหใ้ ช้วิธหี มอบกราบ 3.4 การแสดงความเคารพศพ จะต้องกราบพระพุทธรูปเสียก่อน แล้วจึงไปทา ความเคารพศพ สว่ นการจุดธูปหน้าศพน้ันเปน็ เรื่องเฉพาะของลูกหลานหรอื ผู้เคารพนับถือท่ีประสงค์ จะบูชา การเคารพศพพระ ถ้าเจ้าภาพจัดให้มีการจุดธูป ให้จุด 3 ดอก ชายกราบแบบ เบญจางคประดิษฐ์ หญงิ หมอบกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ 3 คร้ัง การเคารพศพคฤหัสถ์ ให้ทาความเคารพเช่นเดียวกับตอนท่ีผู้ตายยังมีชีวิตอยู่ ถ้าเป็นศพของผู้ที่มีอาวุโสมาก กราบ 1 คร้ัง แต่ถ้าเป็นศพของผู้ที่มีอาวุโสใกล้เคียงกันกับผู้ท่ีไปทา ความเคารพ ใหไ้ หว้แบบบุคคลทัว่ ๆ ไป ส่วนการเคารพศพเด็กนั้นมีเพียงยืนสงบหรือน่ังสารวมครู่หนึ่ง ในกรณีที่ศพ ได้รับพระราชทานเกียรติยศ ผู้เป็นประธานจุดธูปเทียนท่ีหน้าพระพุทธรูปและที่หน้าตู้พระธรรม แล้วไปจดุ เคร่อื งทองน้อยท่ีหน้าศพเพื่อแสดงว่าผวู้ ายชนม์บูชาพระธรรม แล้วจึงเคารพศพ 4. มารยาทท่ัวไปในชีวติ ประจาวัน ในชีวติ ประจาวันบุคคลต้องใช้ชวี ติ รว่ มกบั ผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา ดังนนั้ การปฏิบัตติ นในการ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนจึงต้องปฏิบัติอย่างถูกต้อง เหมาะสมตามกาลเทศะ จึงจะได้ชื่อว่าเป็นผู้มีวัฒนธรรม ซงึ่ นอกจากจะทาให้บคุ คลนั้นไม่มีปัญหาในการอยู่ร่วมกับผ้อู ื่นแล้ว ยังก่อให้เกิดความเป็นระเบียบใน สังคมอีกดว้ ย 4.1 มารยาทในการเข้าห้องเรยี น นกั ศึกษาสว่ นใหญจ่ ะทราบถึงขอ้ ควรปฏิบัติและข้อควรละเวน้ ขณะเรียนในห้องเรียน มาแล้วเป็นอย่างดี เพราะกว่าจะเรียนในระดับอุดมศึกษาก็ต้องผ่านการเรียนในห้องเรียนมาแล้ว หลายระดับ ขอ้ ควรปฏิบัตเิ มอื่ เขา้ ห้องเรียนมีดังนี้ 4.1.1 ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน จะไม่เป็นการดีเลยถ้าในขณะท่ีอาจารย์กาลังสอน นกั ศกึ ษาจับกลมุ่ คุยเสยี งดังแขง่ กบั อาจารย์ หรอื สนใจการ์ตนู หรือสิ่งอน่ื มากกว่าบทเรียนในขณะน้นั