136 |ดรุณี พวงบตุ ร อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) คาดการณ์ว่าผลผลิตน้ามันปาล์มของ() โลก ปี 2560 มีปริมาณ 64.50 ล้านตัน เพิ่มข้ึนจาก 58.84 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 9.62 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ ได้แก่ อินโดนีเซียและมาเลเซีย มีการขยายเน้ือที่เพาะปลูกเพื่อ รองรับกับความต้องการของตลาดท่ียังมีการขยายตัวเพิ่มข้ึน ประกอบกับสภาพภูมิอากาศกลับเข้าสู่ ภาวะปกติ และมปี รมิ าณนา้ ฝนเพมิ่ ขึ้นจากการคาดการณ์การเกิดภาวะลานญี า 180 Indonesia 150 Mlaysia 120 Thailand 90 Nigeria 60 Cambodia 30 0 2555 2556 2557 2558 2559 ภาพท่ี 6-9 ผลผลติ ปาล์มน้ามนั ของประเทศ 5 อนั ดับแรกของโลกในปีการผลติ 2555-2559 ท่ีมา: FAO (2017) 4000 () 3500 Indonesia 3000 Mlaysia 2500 Thailand 2000 Nigeria 1500 Cambodia 1000 500 0 2556 2557 2558 2559 2555 ภาพที่ 6-10 ผลผลิตตอ่ พื้นท่ีปาล์มนา้ มนั ของประเทศ 5 อันดบั แรกของโลกในปีการผลิต 2555-2559 ที่มา: FAO (2017) 2. สถานการณ์การตลาดปาลม์ น้ามันของโลก
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 137 ในปี 2554/55 - 2558/59 ความต้องการใช้น้ามันปาล์มของโลกมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นร้อยละ 4.04 ตอ่ ปี โดยปี 2558/59 มคี วามตอ้ งการใชน้ า้ มนั ปาลม์ 59.94 ล้านตัน เพ่ิมข้ึนจาก 58.39 ล้านตัน ในปี 2557/58 รอ้ ยละ 2.65 เนื่องจากความต้องการด้านอาหารและด้านพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น โดย ในปี 2558/2559 ประเทศ ท่ีใช้น้ามันปาล์มมากที่สุด คือ อินเดีย 9.20 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ อนิ โดนเี ซยี 8.57 ล้านตัน สหภาพยโุ รป 6.60 ลา้ นตัน และจีน 4.80 ลา้ นตนั ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม ในปี 2560 คาดว่าโลกมีความต้องการใช้น้ามันปาล์ม 63.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 59.94 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 5.11 เนื่องจากนา้ มนั ปาลม์ สามารถใช้เพ่ือการบริโภคและเพ่ือ พลังงานทดแทน และตลาด ยังคงความต้องการเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงความต้องการน้ามันปาล์ม เพ่ือผลิตไบโอดีเซล โดยประเทศผู้ใช้น้ามันปาล์มท่ีสาคัญ ได้แก่ อินเดีย 10.20 ล้านตัน อินโดนีเซีย 9.10 ลา้ นตัน สหภาพยุโรป 6.52 ล้านตัน และจีน 5.05 ล้านตนั ตามลาดับ ปริมาณส่งออกน้ามันปาล์มของโลก ในปี 2554/55 - 2558/59 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.37 ต่อปี โดยปี 2558/59 มีปริมาณการส่งออก 44.83 ล้านตัน ลดลงจาก 47.46 ล้านตัน ในปี 2557/58 รอ้ ยละ 5.54 เนื่องจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซ่ึงเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกท่ีสาคัญมี ผลผลิตลดลง ประกอบกับหนั มาใชน้ า้ มันปาล์มภายในประเทศเพ่ิมข้ึน ประเทศผู้ส่งออกน้ามันปาล์มท่ี สาคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย 24.00 ล้านตัน และมาเลเซีย 16.60 ล้านตัน ตามลาดับ ท้ังสองประเทศ รวมกันมสี ดั ส่วนการสง่ ออกร้อยละ 94.74 ของการส่งออกโลก ส่วนในปี 2560 คาดว่ามีปริมาณการส่งออกน้ามันปาล์มของโลก 47.81 ล้านตัน เพิ่มข้ึนจาก 44.83 ล้านตันในปี 2559 ร้อยละ 6.65 เน่ืองจากความต้องการใช้เพื่อการบริโภคและเพ่ือพลังงาน ทดแทนเพิ่มข้ึนโดยประเทศผู้ส่งออกน้ามันปาล์มดิบที่สาคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย 26.00 ล้านตัน และ มาเลเซยี 17.50 ล้านตัน ตามลาดับ การนาเขา้ นา้ มนั ปาล์มของโลก ในปี 2554/55 - 2558/59 มแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ 2.85 ต่อ ปี โดยปี 25587/59 นาเข้า 43.43 ล้านตัน ลดลงจาก 44.62 ล้านตันในปี 2557/58 ร้อยละ 2.67 เน่ืองจากอนิ เดีย และจีนหนั มาบริโภคน้ามันพืชอ่ืนทดแทนเพ่ิมมากข้ึน ประเทศผู้นาเข้าท่ีสาคัญ ได้แก่ อนิ เดีย 8.74 ล้านตัน สหภาพยโุ รป 6.70 ลา้ นตนั และจนี 4.69 ล้านตนั ตามลาดบั ส่วนในปี 2560 คาดว่ามีปริมาณการนาเข้าน้ามันปาล์มของโลก 46.34 ล้านตัน เพ่ิมขึ้นจาก 43.43 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 6.70 เน่ืองจากอินเดียและจีน มีความต้องการใช้น้ามันปาล์มเพ่ิม มากข้ึน โดยประเทศผู้นาเข้าน้ามันปาล์มที่สาคัญ ได้แก่ อินเดีย 10.00 ล้านตัน สหภาพยุโรป 6.60 ลา้ นตัน และจีน 5.10 ล้านตัน ตามลาดับ (สานักเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560c) ในส่วนราคานา้ มันปาลม์ ดบิ ตลาดรอตเตอรด์ ัม ปี 2555 - 2559 มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 9.84 ตอ่ ปี โดยปี 2559 ราคาน้ามนั ปาล์มดบิ เฉล่ียตนั ละ 700.00 ดอลลาร์สหรฐั ฯ (24.80 บาทตอ่ กิโลกรัม) เพ่มิ ข้ึนจาก 616.09 ดอลลาร์สหรฐั ฯ (21.09 บาทต่อกิโลกรมั ) ในปี 2558 ร้อยละ 13.62 และร้อยละ 17.59 ตามลลาดบั
138 |ดรณุ ี พวงบตุ ร 3. สถานการณ์การผลติ ปาลม์ น้ามันของไทย ในปี 2551 - 2559 เน้ือท่ีให้ผลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อย 5.35 ต่อปี ในขณะที่ผลผลิตมีแนวโนเพ่ิมข้ึนเช่นเดียวกัน คิดเป็นร้อยละ 3.30 ต่อปี โดยปี 2559 มีเนื้อท่ีให้ผล 4.4 ล้านไร่ เพ่ิมข้ึนจาก 4.2 ล้านไร่ ในปี 2558 ร้อยละ 4.5 ในขณะที่มีผลผลิต 11.4 ล้านตัน ลดลง จาก 12.1 ล้านตัน ในปี 2558 รอ้ ยละ 7.30 (ภาพที่ 6-11) เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้งต้ังแต่ปี 2557 ตอ่ เนอ่ื งถึงปี 2558 ส่งผลทาให้การออกจ่ันตัวเมียและการติดผลปาล์มในปี 2559 ลดลง ส่งผลให้ในปี 2559 มีผลผลิตต่อไร่ 2,605 กิโลกรัม ลดลงจาก 2,905 กิโลกรัม ในปี 2558 ร้อยละ 10.32 (สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560a) ในปี 2560 คาดว่ามีเนื้อที่ให้ผล 4.92 ล้านไร่ ผลผลิต 12.10 ล้านตัน เพิ่มข้ึนจากเนื้อที่ให้ผล 4.4 ล้านไร่ ผลผลิต 11.14 ล้านตัน ตามลาดับ เป็นผลจากการขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน้ามัน ตาม แผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์ม ปี 2551-2555 ต้นปาล์มเริ่มให้ผลแล้ว แต่ ผลกระทบจากภัยแล้งในช่วง 1-2 ปี ท่ีผ่านมายังคงส่งผลต่อการติดผลของปาล์มน้ามัน ทาให้ผลผลิต ตอ่ ไร่ลดลง ภาพที่ 6-11 พนื้ ที่ปลูก ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ปาล์มนา้ มนั ของไทย ในปี 2551-2559 ท่ีมา: สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2560a) ความต้องการใช้น้ามันปาล์มดิบ ในปี 2555 - 2559 มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนทั้งเพื่อการบริโภคและ การผลิตไบโอดีเซล ร้อยละ 1.78 และร้อยละ 8.11 ต่อปี ตามดับ โดยปี 2559 มีความต้องการใช้ น้ามันปาล์มดิบเพ่ือการบริโภค 970,945 ตัน ลดลงจาก 1,053,329 ตันในปี 2558 ร้อยละ 7.82 และ มี ความต้องการใช้น้ามันปาล์มดิบเพ่ือผลิตไบโอดีเซล 890,858 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 833,223 ตัน ในปี
พชื ไร่เศรษฐกิจ| 139 2558 ร้อยละ 6.88 เนื่องจากความต้องการใช้น้ามันดีเซลหมุนเร็วเพ่ิมขึ้นจากวันละ 58.52 ล้านลิตร ในปี 2558 เป็น 61.22 ล้านลิตร ในปี 2559 อย่างไรก็ตามตั้งแต่กลางปี 2559 กระทรวงพลังงานได้ ประกาศปรับสัดส่วนการใช้ไบโอดีเซลส่งผลทาให้ความต้องการใช้น้ามันปาล์มเพ่ือผลิตไบโอดีเซลในปี 2559 เพิ่มขึ้นไม่มากนัก (ภาพท่ี 6-21) ส่วนในปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้น้ามันปาล์มเพื่อการ บริโภค 1,050,000 ตัน เพ่ิมข้ึนจาก 970,945 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 8.14 และความต้องการใช้ นา้ มันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซล 1,000,000 ตัน เพิ่มข้ึนจาก 890,585 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 12.29 เน่ืองจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติเห็นชอบให้มีการใช้น้ามันไบโอดีเซล B10 เป็นพลงั งานทางเลอื กภายในหนว่ ยงานราชการ ภาพท่ี 6-12 สดั ส่วนความต้องการใช้ปาล์มนา้ มนั ในการบริโภคและผลติ ไบโอดีเซล ท่ีมา: สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560b) ปริมาณและมูลค่าการส่งออกน้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์ในช่วงปี 2555-2559 มีแนวโน้ม ลดลงร้อยละ 33.29 และร้อยละ 31.49 ต่อปี เน่ืองจากความผันผวนด้านราคาในประเทศ ส่งผลต่อ ความสามารถในการแข่งขัน โดยในปี 2559 มีปริมาณการส่งออกน้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์147,952 ตัน มูลค่า 4,478 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจาก 131,189 ตัน มูลค่า 3,904 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 12.78 และร้อยละ 14.71 ตามลาดับ เน่ืองจากราคาน้ามันปาล์มในตลาดโลกปรับตัวเพ่ิมข้ึนเม่ือเทียบ กบั ปีที่ผา่ นมาสง่ ผลทาใหค้ วามสามารถในการสง่ ออกดีข้ึน ส่วนในปี 2560 คาดว่าปริมาณการส่งออกน้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์ของไทย 150,000 ตัน มูลค่า 4,500 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจาก 147,952 ตัน มูลค่า 4,478 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 1.38 และร้อยละ 0.49 ตามลาดบั อยา่ งไรก็ตามปรมิ าณการส่งออกจะปรับตัวเพิม่ ขน้ึ หรือไม่ ข้ึนอยู่กับความ แตกต่างของระดบั ราคาภายในประเทศกบั ราคาในตลาดโลก และนโยบายการสง่ ออกของประเทศ ปริมาณและมูลค่าการนาเข้าน้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์ในช่วงปี 2555 - 2559 มีแนวโน้ม ลดลงร้อยละ 3.64 และร้อยละ 4.95 ต่อปี โดยในปี 2559 มีปริมาณการนาเข้าน้ามันปาล์มและ
140 |ดรุณี พวงบตุ ร ผลิตภัณฑ์ 110,125 ตัน มูลค่า 3,827 ล้านบาท ลดลงจาก 158,008 ตัน และ 4,650 ล้านบาท ในปี 2558 รอ้ ยละ 30.30 และรอ้ ยละ 17.69 ตามลาดบั ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ พบว่าในปี 2555 - 2559 ราคาปาล์มน้ามนั และน้ามนั ปาล์มของไทย มแี นวโน้มปรับตวั เพิ่มขน้ึ ตามราคาน้ามนั ปาล์มดิบในตลาดโลก ประกอบกับกาลังการผลิตของโรงงาน สกดั น้ามันปาล์มมมี ากกว่าผลผลติ ทอ่ี อกสู่ตลู าดสง่ ผลให้มีการแยง่ ซื้อวตั ถุดบิ จากการคาดการณ์ว่าความต้องการใช้น้ามันปาล์มดิบในโลกยังคงมีแนวโน้นเพิ่มข้ึนอย่าง ต่อเน่ืองเฉลี่ยร้อยละ 4.04 ต่อปี ในขณะที่สต็อกน้ามันปาล์มดิบโลกทรงตัวอยู่ในระดับต่า คาดว่าปี 2560 ราคา น้ามันปาล์มดิบจะเคล่ือนไหวตามราคาตลาดโลกอยู่ระหว่างกิโลกรัมละ 19.50 – 24.50 บาท และสง่ ผลใหร้ าคาผลปาล์มสดทเี่ กษตรกรขายได้ ในปี 2560 เฉลี่ยกิโลกรมั ละ 5.00 บาท พื้นท่ีปลูกปาล์มน้ามันที่สาคัญในประเทศไทย อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี กระบ่ี ชุมพร นครศรธี รรมราช และพังงา (ภาพท่ี 6-13) ภาพท่ี 6-13 พ้ืนที่ปลูกปาล์มนา้ มนั ของไทย ทม่ี า: สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560a)
พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 141 4. สถานการณ์การตลาดปาล์มนา้ มนั ของไทย จากการวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการใช้น้ามันปาล์มดิบของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในปี 2556-2560 พบว่าความต้องการใช้ท้ังเพื่อการบริโภคและการผลิตไบโอดีเซล ร้อยละ 3.14 และร้อย ละ 4.34 ตอ่ ปี ตามลาดับ โดยปี 2560 มีความต้องการใชน้ า้ มันปาลม์ ดิบเพ่ือการบริโภค 1.09 ล้านตัน เพมิ่ ขนึ้ จาก 0.99 ล้านตนั ในปี 2559 รอ้ ยละ 10.32 และมคี วามตอ้ งการใชน้ ้ามันปาล์มดิบเพื่อผลิตไบ โอดเี ซล 0.97 ล้านตนั เพิ่มขึน้ จาก 0.82 ลา้ นตนั ในปี 2559 รอ้ ยละ 18.87 เนื่องจากความต้องการใช้ น้ามันดีเซลหมุนเร็วเพ่ิมขึ้นจากวันละ 61.00 ล้านลิตร ในปี 2559 เป็น 62.50 ล้านลิตร ในปี 2560 (ภาพที่ 6-14) ปริมาณการส่งออก พบว่าในช่วงปี 2556 - 2560 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกน้ามันปาล์ม และผลิตภณั ฑข์ องไทยมแี นวโน้มลดลงรอ้ ยละ 28.65 และรอ้ ยละ 24.90 ตอ่ ปี เนื่องจากความผนั ผวน ดา้ นราคาในประเทศ ส่งผลตอ่ ความสามารถในการแข่งขัน โดยในปี 2560 มีปริมาณการส่งออกน้ามัน ปาล์มและผลิตภัณฑ์ 233,198 ตัน มูลค่า 6,698 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจาก 117,538 ตัน มูลค่า 4,478 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 98.40 และร้อยละ 49.58 ตามลาดับ เน่ืองจากราคาน้ามันปาล์มของ ไทยในช่วงปลายปีปรับตัวลดลงมาอยู่ใกล้เคียงกับราคาในตลาดโลก ส่งผลทาให้สามารถส่งออกได้ เพิม่ ข้ึน (ภาพท่ี 6-14) ในปี 2561 คาดวา่ ความต้องการใชน้ า้ มันปาลม์ เพ่อื การบรโิ ภค 1.10 ล้านตนั เพิม่ ขึ้นจาก 1.09 ล้านตัน ในปี 2560 ร้อยละ 0.92 และความต้องการใช้น้ามันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซล 1.05 ล้านตัน เพ่ิมข้ึนจาก 0.97 ลา้ นตนั ในปี 2560 รอ้ ยละ 8.25 ปริมาณการนาเข้า พบว่าในช่วงปี 2556-2560 ปริมาณการนาเข้าน้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์ ของไทยมีแนวโนม้ ลดลงรอ้ ยละ 2.52 ตอ่ ปี ในขณะท่มี ูลค่าการนาเข้าน้ามันปาล์มและผลิตภัณฑ์ปาล์ม น้ามัน 63 ของไทยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนร้อยละ 3.51 ต่อปี โดยในปี 2560 มีปริมาณการนาเข้าน้ามัน ปาล์มและผลติ ภณั ฑ์ 102,152 ตัน มูลค่า 4,004 ล้านบาท ลดลงจาก 116,037 ตัน และ 4,555 ล้าน บาท ในปี 2559 รอ้ ยละ 11.97 และรอ้ ยละ 12.10 ตามลาดับ (ภาพท่ี 6-14) ราคาที่เกษตรกรขายได้ ในช่วงปี 2555-2559 ราคาปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มของไทยมี แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ามันปาล์มดิบในตลาดโลก ประกอบกับกาลังการผลิตของโรงงาน สกัดน้ามนั ปาล์มมีมากกวา่ ผลผลติ ทีอ่ อกสู่ตลาดส่งผลให้มีการแยง่ ซื้อวตั ถดุ บิ จากการคาดการณว์ า่ ปริมาณความต้องการใชใ้ นตลาดโลกมแี นวโน้มเพ่ิมขน้ึ น้อยกวา่ ปริมาณ การผลิต ส่งผลทาให้สต็อกน้ามันปาล์มโลกมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน คาดว่าปี 2561 ราคาน้ามันปาล์มดิบ ภายในประเทศจะเคล่ือนไหวตามราคาตลาดโลกเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.50 บาท และส่งผลให้ราคาผล ปาลม์ สดทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี กิโลกรัมละ 4.00 บาท (ภาพท่ี 6-15)
142 |ดรณุ ี พวงบตุ ร ภาพที่ 6-14 สถานการณก์ ารตลาดปาลม์ น้ามนั ของไทย ในปี 2556 - 2560 ทีม่ า: สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560a) ภาพที่ 6-15 ราคาท่ีเกษตรกรขายปาลม์ น้ามัน ในปี 2555 - 2560 ทมี่ า: สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560a)
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 143 ปาล์มนา้ มันและผลิตภณั ฑ์การแปรรูป นา้ มนั ปาล์มและนา้ มันเมลด็ ในประกอบด้วยกรดไขมันอิสระชนิดต่าง ๆ ซ่ึงเมื่อนามาแยกและ ทาให้บริสุทธ์ิจะสามารถนามาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่อเน่ืองต่าง ๆ เช่น อุตสาหกกรมอาหาร อุตสาหกรรมนมข้นหวานและนมจืด อุตสาหกรรมบะหม่ีสาเร็จภาพ อุตสาหกรรมเนยขาวและเนย เทียม อุตสาหกรรมครีมเทยี ม อตุ สาหกรรมของว่างและขบเคี้ยว และอุตสาหกรรมสบู่ เป็นต้น ดังภาพ ท่ี 6-16 ภาพที่ 6-16 การแปรรปู และอตุ สาหกรรมต่อเน่ืองของปาล์มน้ามนั ท่ีมา: ณรงค์ฤทธิ์และลัดดา (2561) นา้ มนั จากปาลม์ น้ามนั สามารถสกดั ไดจ้ ากสว่ นของเปลอื กนอกและจากเมล็ดใน ซ่ึงกรดไขมนั ทีพ่ บในน้ามนั ปาลม์ ท่สี าคญั คือกรดโอเลอิก เป็นกรดไขมันไม่อ่ิมตัว และกรดสเตยี ริก เป็นกรดไขมนั อม่ิ ตัวทส่ี าคัญทส่ี ดุ ท่ีใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพ่ือการอปุ โภคต่างๆ 1. น้ามนั ปาลม์ จากเปลือกนอก น้ามันปาล์มโดยทั่วไปหีบได้จากเปลือกนอกของผลปาล์ม เม่ือหีบจะได้น้ามันปาล์มดิบ มี ลักษณะเหลวมีน้าปนอยู่ หลังจากนั้นจะนามากรองแยกสิ่งสกปรกและเส้นใยออก แล้วนาไปขจัด ความช้ืนให้อยู่ในมาตรฐาน เพ่ือลดการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส ระหว่างการเก็บทะลายขนส่งน้ามัน ปาลม์ ดิบท่ไี ดบ้ รรจุลงเกบ็ ในถัง เพ่อื รอนาขายใหก้ บั โรงกลน่ั ใสน้ามันปาล์มตอ่ ไป
144 |ดรณุ ี พวงบุตร 2. น้ามนั ปาล์มเมล็ดในปาลม์ เมลด็ ในปาลม์ จะมีน้ามันประมาณ 46-57% การหีบน้ามันเมล็ดในท้าได้โดยหีบด้วยแรงอัดสูง ๆ หรือสกัดด้วยตัวทาละลาย น้ามันท่ีได้แตกต่างจากน้ามันจากเปลือกปาล์ม แต่มีคุณสมบัติและ ส่วนประกอบใกล้เคียงกับน้ามันมะพร้าว น้ามันเมล็ดในจะใสไม่มีสีถึงสีเหลืองอ่อน กรดไขมันท่ีมีอยู่ ส่วนมากจะเป็นกรดไขมันอิ่มตัวคลา้ ยกบั ที่พบในน้ามันมะพรา้ ว กระบวนการผลติ น้ามันปาลม์ ประกอบดว้ ย 2 กระบวนการหลกั คอื 1. กระบวนการสกดั น้ามนั ปาล์ม (Mill Processing) ทะลายปาลม์ นา้ มันท่ีไดจ้ ากการเก็บเกี่ยวจะถกู ขนสง่ ไปยังโรงงานสกัดน้ามนั ปาลม์ ซึง่ มี กระบวนการสกัดนา้ มนั 2 แบบ คอื แบบมาตรฐาน (หบี น้ามนั แยก) นา้ มันท่ีได้จัดเปน็ นา้ มันเกรดเอ เนือ่ งจากมกี ารแยกชนดิ ของน้ามนั ปาล์ม และแบบหีบน้ามนั ผสม เป็นน้ามนั ผสมระหวา่ งน้ามนั ปาล์ม จากเปลือกและน้ามันเมล็ดในปาลม์ 2. กระบวนการกลน่ั บริสุทธ์นิ ้ามันปาลม์ (Refine Processing) การกลน่ั บรสิ ุทธิน์ ้ามันปาลม์ เป็นกระบวนการทาใหน้ ้ามนั ปาลม์ ดิบและน้ามนั เมล็ดในปาล์ม ดิบ เปน็ นา้ มันปาลม์ บริสุทธ์แิ ละนา้ มนั เมลด็ ในปาล์มบรสิ ุทธพ์ิ รอ้ มสาหรบั การบรโิ ภค ซ่ึงกระบวนการ กล่นั สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 วิธีการ คือ 2.1 วิธีทางกายภาพ (Physical or Steam refining) เป็นกระบวนการกาจัดกรดไขมันอิสระ โดยผ่านไอน้าเข้าไปในน้ามันร้อน แล้วกล่ันแยกกรดไขมันอิสระและสารที่ให้กลิ่นให้ระเหยออกไป จึง เป็นการกาจัดกลิ่นและทาให้น้ามันเป็นกลางไปพร้อมกัน จะได้น้ามันปาล์มหรือน้ามันเมล็ดในปาล์ม บรสิ ทุ ธิ์ 2.2 วธิ ที างเคมี (Chemical refining) เป็นกระบวนการกาจัดกรดไขมันอิสระโดยใช้สารเคมีที่ นิยมคือใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์หรือโซเดียมคาร์บอเนตทาปฏิกิริยากับกรดไขมันอิสระใน น้ามันให้เกิดเป็นสบู่ จากนั้นแยกสบู่ออกโดยวิธีการหมุนเหวี่ยง สาหรับความเข้มข้นของด่างท่ีใช้มาก น้อยแปรผันตามปริมาณกรดไขมันอิสระในน้ามันปาล์ม น้ามันปาล์มท่ีผ่านการทาให้บริสุทธ์ิแล้ว จะ แยกเป็นสองส่วนคือ ส่วนล่างมีลักษณะเป็นไขและส่วนบนเป็นน้ามันมีสีเหลืองอ่อนถึงเข้ม ผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ท่ีสาคัญ จากการกล่ันบริสุทธ์ิน้ามันปาล์ม คือ กรดไขมันปาล์ม หรือ palm fatty acid distillated (PFAD) ซ่ึงนิยมใช้เป็นวัตถุดิบในการท้าสบู่ อาหารสัตว์ ใช้เป็นสารตั้งต้นในการสกัดกรด ไขมันชนิดตา่ ง ๆ หรือการสกัดวิตามนิ อีในอุตสาหกรรมออรโิ อเคมิคอล น้ามันปาล์มเป็นน้ามันที่ได้รับการยอมรับจากภาคอุตสาหกรรมในการนาไปใช้เป็นผลิต ผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ มากมาย ปัจจุบันการแปรรปู น้ามันปาล์มสว่ นใหญ่ยังคงเน้นที่การแปรภาพเป็นน้ามัน พชื สาหรับบรโิ ภคประมาณ 85 - 87% และการนาไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 145 1. อุตสาหกรรมอาหาร ซงึ่ มกี ารนาไปใชผ้ ลติ เปน็ ผลิตภัณฑห์ ลากหลายชนดิ ไดแ้ ก่ 1.1 เนยขาว นา้ มนั ปาล์มท่ีฟอกบรสิ ุทธ์สิ ามารถแปรภาพให้เป็นเนยขาวได้ โดยทาให้เย็น ตัวลงฉบั พลันทอ่ี ุณหภมู ิ 40 องศาเซลเซียส เนยขาวนามาใช้ทาผลิตภัณฑ์ได้มากมาย เช่น เค้ก ทาครีม หนา้ ขนมเค้ก ทาไส้ขนมปังกรอบ ทาขนมพาย เป็นต้น 1.2 มาการีนหรือเนยเทียม ทาจากน้ามันปาล์มเมล็ดในปาล์ม ซึ่งมีลักษณะเป็นของแข็ง และยังมีคุณสมบตั พิ เิ ศษ คือ ละลายได้รวดเร็วเมื่อสัมผัสล้ิน ในอุตสาหกรรมมักใช้น้ามันปาล์มบริสุทธ์ิ 6% น้ามันเมลด็ ใน 30% และนา้ มันสเตยี รนี 10% 1.3 น้ามันสาหรับทอด เนื่องจากมีราคาถูกและมีคุณสมบัติอยู่ตัวได้ดีกว่าพืชชนิดอ่ืนๆ มักจะใช้น้ามันปาล์มเติมไฮโดรเจนซ่ึงมีคุณสมบัติอยู่ตัวพิเศษและยังทาให้วัสดุท่ีนามาทอดมีลักษณะ กรอบอีกด้วย เช่น ใช้ในอุตสาหกรรมมันฝรั่งทอด โดนัท ข้าวเกรียบทอด และบะหมี่สาเร็จภาพ เป็น ตน้ 1.4 นมข้นหวาน น้ามันปาล์มนามาใช้เป็นส่วนผสมในอุตสาหกรรมนมข้นหวาน เนือ่ งจากมีคณุ สมบัติเหมาะสมหลายอย่าง เชน่ ไมม่ ีกลิ่น 1.5 ไอศกรีม น้ามันปาล์มสามารถนามาใชเ้ ปน็ ส่วนผสมในการผลติ ไอศกรีมร่วมกับน้ามัน มะพร้าวอย่างละครง่ึ 1.6 ครีมเทยี มและนมเทียม มักใช้นา้ มนั ปาล์มสเตียรีนเปน็ วตั ถดุ ิบหลักในการผลติ 2. อุตสาหกรรมท่ีไมอ่ าหาร ซ่ึงมกี ารนาไปใช้ผลติ เปน็ ผลิตภัณฑ์หลากหลายชนดิ ได้แก่ 2.1 สบู่ น้ามันปาล์มสามารถนามาใช้ผลิตสบู่ได้ ท้ังปาล์มสเตียรีนร้อยละ 40 น้ามันปาล์ม รอ้ ยละ 40 และใช้น้ามันเมล็ดในปาล์มหรอื นา้ มันมะพร้าวรอ้ ยละ 10 2.2 การใช้ในการผลิตน้ามันไบโอดีเซล โดยการนาน้ามันปาล์มผสมกับเมทิลแอลกอฮอล์ ร่วมกับโซดาไฟ จะได้เมทิลเอสเตอร์ (methyl ester) ซึ่งมีคุณสมบัติเทียบเท่ากันน้ามันดีเซลใช้กับ เคร่อื งยนตไ์ ด้ 2.3 อาหารสัตว์ ในการผลิตอาหารสตั วซ์ ึง่ ต้องการไขมนั และวิตามินเป็นส่วนผสม มักนิยมใช้ กากเมลด็ ในปาล์มผสมกบั อาหารสตั ว์ 2.4 อุตสาหกรรมลโิ อเคมคี อล เปน็ อตุ สาหกรรมท่ีใช้เทคโนโลยีสูงและละเอียดอ่อน โดยการ นากรดไขมันอิสระ เป็นส่วนที่ได้มาขั้นตอนสุดท้ายของการกล่ันบริสุทธิ์ โดยท่ีกรดน้ีจะมีความบริสุทธ์ิ สูงประมาณร้อยละ 95 ถ้าหากนาไปแยกส่วนเป็นกรดต่าง ๆ ออกมาได้จะสามารถนาไปใช้ อตุ สาหกรรมหลายชนดิ เพ่ือป้อนโรงงานอุตสาหกรรมผลติ ภณั ฑ์
146 |ดรณุ ี พวงบุตร น้ามนั ปาลม์ เนยขาว มารก์ ารนี นมขน้ หวาน ไอศกรีม ครมี เทยี ม สบู่ ไบโอดเี ซล อาหารสัตว์ ภาพท่ี 6-17 ตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑแ์ ปรรูปจากปาล์มนา้ มนั
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 147 สรปุ ปาล์มน้ามันเป็นพืชท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจอันดับ 5 ของประเทศไทย โดยมีพ้ืนท่ีปลูก และผลผลิตเพิ่มขึ้นอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยในปี 2560 มพี น้ื ที่เก็บผลผลิต 4.77 ล้านไร่ และให้ผลผลิต 13.5 ล้านตัน การเพิ่มข้ึนของพ้ืนปลูกเนื่องจากความต้องการใช้น้ามันปาล์มเพ่ิมมากข้ึน โดยเฉพาะความ ต้องใช้นา้ มันปาล์มไปใชใ้ นการผลิตไบโอดีเซล นอกจากนย้ี ังมีการไปใช้ในอุตสาหกรรมที่สาคัญที่สาคัญ เชน่ อุตสาหกรรมนมขน้ หวานและนมจดื อตุ สาหกรรมบะหม่สี าเรจ็ ภาพ อุตสาหกรรมเนยขาวและเนย เทียม อุตสาหกรรมครีมเทียม อุตสาหกรรมของว่างและขบเคี้ยว และอุตสาหกรรมสบู่ ส่งผลทาให้มี ความต้องการใช้เพ่มิ มากขึน้ ส่งผลทาให้ราคานา้ มันปาลม์ ดิบมีราคาสูงขึน้ ประเทศไทย ผลผลิตปาลม์ นา้ มนั 35 เปอรเ์ ซ็นต์ถูกนาไปใช้ในการบริโภคและใช้อุตสาหกรรม อ่ืน ๆ 65 เปอร์เซ็นต์ โดยแบ่งเป็น การใช้ในการผลิตไบโอดีเซล 45 เปอร์เซ็นต์ อุตสาหกรรมอาหาร9 เปอร์เซน็ ต์ อตุ สาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์ 11 เปอร์เซ็นต์ สาหรับการส่งออกน้ามันปาล์มดิบเพิ่มข้ึน ในปี 2560 สงู ถงึ 3 แสนตัน (เทียบกับ 5.5 หมื่นตันในปี 2559) โดยเป็นการส่งออกไปยังตลาดเอเชีย อาทิ จีน อินเดีย ปากีสถาน และอาเซียน โดยประเทศคู่แข่งที่สาคัญ คือ มาเลเซียและอินโดนีเซีย ซึ่งเป็น ประเทศที่มกี ารสง่ ออกปาล์มนา้ มันมากทสี่ ุด
148 |ดรณุ ี พวงบตุ ร แบบฝึกหัดทา้ ยบท 1. ประเทศไทย เป็นผผู้ ลติ ปาลม์ น้ามนั อันดับที่เท่าไหรข่ องโลก และมีพ้นื ปลูกเทา่ ไหร่ 2. แหล่งปลูกปาลม์ น้ามนั ทีส่ าคัญของประเทศไทยอยภู่ าคไหน จงั หวดั อะไรบ้าง 3. ปัจจบุ ัน ประเทศไทยผลิตปาลม์ น้ามันเพียงตอ่ การใช้ในประเทศหรือไม่ เพราะอะไร 4. จงบอกการใช้ประโยชนจ์ ากปาลม์ นา้ มนั มีอะไรบ้าง 5. จงบอกผลิตภัณฑจ์ ากปาล์มน้ามนั ท่สี าคญั
พชื ไร่เศรษฐกจิ | 149 เอกสารอา้ งองิ กรมส่งเสรมิ การเกษตร. (2555). ค่มู อื ปาลม์ นา้ มนั . กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ ณรงค์ฤทธิ์ อดุลย์ฐานานุศักดิ์ และลัดดา ธรรมวิทยสกุล. (2561). อุตสาหกรรมปาล์มน้ามันไทย: ใน บริบทใหม่ท่ีท้าทาย. [Online]. Available: https://www.bot.or.th/ [2017, January 26] พิมพ์เพ็ญ พรเฉลมพงศ์และนิธิยา รัตนปานนท์. (2017). Food wiki. [Online]. Available: https:// http://www.foodnetworksolution.com/[2017, January 26] ธีระพงศ์ จันทรนิยม. (2559). คู่มือเกษตรกร การผลิตปาล์มน้ามันอย่างมีประสิทธิภาพ. ศูนย์วิจัย และพัฒนาการผลิตปาลม์ น้ามัน. หาดใหญ่ ดจิ ิตอล พร้นิ ท์. 123 หนา้ . สรุ กิตติ ศรีกลุ . (2547). การจัดการสวนปาลม์ นา้ มัน. เอกสารวชิ าการปาลม์ นา้ มนั . หน้า 35-60. สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร. (2560).ปาล์มน้ามนั .[Online]. Available: http://www.arda.or.th/ [2017, January 26]. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560a). สถิติการเพาะปลูกของประเทศไทย ปี 2559. กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2560b). สารสนเทศเศรษฐกิจเกษตรรายสินค้า ปี 2560. กระทรวง เกษตรและสหกรณ.์ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560c). สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สาคัญและแนวโน้มปี 2560. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. Chao, C.C.T and R.R. Krueger. (2007). The date palm (Phoenix dactylifera L.): overview of biology, uses, and cultivation. Hort Science. 42(5): 1077-1082. Barreveld, W.H. (1993). Date palm products. FAO Agricultural Services Bulletin No. 101. Food and Agriculture Organization of the United Nations, Rome. Pp 256. Ergo, A.B. 1997. New evidence for the African origin of Elaeis guineensis Jacq. by the discovery of fossil seeds in Uganda. Annales de Gembloux. 102: 191-201 (in French, with abstract in English) Food and Agriculture Organization [FAO]. (2017). Food and Agriculture Organization Corporate Statistical Database. Oil palm. Rome. Forero, D.C., P. Hormaza, H.M. Romero. (2012). Phenological growth stages of African oil palm (Elaeis guineensis). Ann. Appl. Biol. 160. 56–65 Hormaza, P., E.M. Fuquen, H.M. Romero. (2012). Phenology of the oil palm interspecific hybrid Elaeis oleifera × Elaeis guineensis. Sci. Agric. 69: .275-280.
150 |ดรณุ ี พวงบตุ ร Moreno L.P and H. M. Romero. (2015). Phenology of the reproductive development of Elaeis oleifera (Kunth) Cortes. Agronomía Colombiana 33(1): 36-42. Pacheco, P., S. Gnych, A. Dermawan, H. Komarudin and B. Okarda. (2017). The palm oil global value chain: Implications for economic growth and social and environmental sustainability. Working Paper 220. Bogor, Indonesia: CIFOR.
แผนการสอนประจาบทท่ี 7 ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ หวั ข้อเนอ้ื หา ความสาคญั สถานการณ์การผลติ และการตลาด การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ 1.1 ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์และความสาคญั 1.2 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 1.3 การปลกู และการเก็บเก่ยี ว 1.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 1.5 ผลิตภณั ฑ์จากการแปรรปู 1.6 สรปุ ประจาบท แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 7 เอกสารอา้ งอิง วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เมือ่ เรยี นจบบทนี้แล้ว ผเู้ รียนสามารถ 1. อธิบายความสาคญั และลักษณะทางพฤกษศาสตรข์ า้ วโพดเลย้ี งสัตว์ได้ 2. วิเคราะห์สถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลงการผลติ และการตลาดขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ ในปัจจบุ นั ได้ 3. อธบิ ายเกี่ยวกบั วธิ ีการปลกู การดแู ลรกั ษา และเก็บเกี่ยวขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ได้ 4. อธิบายการใช้เทคโนโลยกี ารผลิต การแปรรูปและผลติ ภณั ฑ์ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ 5. ตระหนักถงึ มลู ค่าทางเศรษฐกิจของขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ ทส่ี รา้ งรายได้ให้กบั ประเทศ วิธกี ารสอนและกจิ กรรมประจาบทท่ี 7 1. ช้ีแจงคาอธิบายรายวชิ า วัตถุประสงค์ เนอื้ หา และเกณฑ์การใหค้ ะแนนรายวชิ า 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ผู้สอนอธิบายเน้อื หาเร่ือง ความสาคัญของข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ สถานการณก์ ารผลิตและการตลาด รวมถงึ การแปรรปู และผลติ ภณั ฑ์ ตามเอกสารประกอบการสอน 4. บรรยายประกอบการฉายภาพสไลด์ (โปรแกรม Power Point) 5. ซกั ถาม และแลกเปล่ียนแนวคิด และเสนอแนะแนวความคดิ 6. สรปุ เนือ้ หาประจาบท 7. ให้ผู้เรียนทาแบบฝกึ หัดท้ายบทประจาบทท่ี 7 เรอ่ื งสถานการณก์ ารผลติ และการตลาด การแปร รปู และผลติ ภณั ฑ์จากข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ และกาหนดสง่ 8. ช้ีแจงหวั ข้อท่จี ะเรยี นในครั้งต่อไป เพื่อให้ผูเ้ รียนไปศึกษากอ่ นลว่ งหน้า 9. เสริมสร้างคุณธรรมและจรยิ ธรรมให้กับนกั ศกึ ษาก่อนเลกิ เรียน
152 |ดรุณี พวงบตุ ร ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 3. ภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 4. เคร่อื งฉายภาพสไลด์ 5. วีทอี าร์ทเ่ี กี่ยวข้อง 6. แบบทดสอบก่อนเรียนผา่ นระบบออนไลน์ (google form) 7. แบบฝกึ หัดหลงั เรียนผา่ นระบบออนไลน์ (kahoot) การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. จากการทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นผา่ นระบบออนไลน์ 2. จากการทาแบบฝึกหดั ท้ายบท 3. จากการการสอบปลายภาคการศึกษา
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ | 153 บทท่ี 7 ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ผลผลิตส่วน ใหญ่จะนามาใช้เป็นวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และอีกส่วนหนึ่งจะนาไปใช้ใน อุตสาหกรรมอ่ืนๆ เช่น แปูงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ น้ามันพืช และเครื่องสาอาง เป็นต้น เน่ืองจาก ภาคอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ยังคงขยายตัวเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ความต้องการใช้ข้าวโพด เล้ียงสัตว์เพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์เพ่ิมข้ึน ในขณะที่การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากเกษตรกรหันไปปลูกมนั สาปะหลังและอ้อยมากขึ้น ขณะท่ีความต้องการใช้โดยรวมมีแนวโน้ม เพ่ิมข้ึน แต่ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ ทาให้มีการนาเข้าวัตถุดิบทดแทนท่ีมีราคาต่ากว่า เช่น ขา้ วสาลี โดยนาเข้าจากต่างประเทศ ซง่ึ ปัจจุบันรฐั บาลได้กาหนดยุทธศาสตร์สินค้าพืชเศรษฐกิจ 4 ชนดิ หนงึ่ ในนัน้ กค็ อื ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ โดยมกี ารส่งเสริมให้เพ่มิ พนื้ ทป่ี ลกู และสนบั สนุนให้มีการใช้พันธ์ุ ลูกผสมทใ่ี หผ้ ลผลิตสูง เพอื่ เพ่มิ ศกั ยภาพผลผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการใชภ้ ายในประเทศ ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์และความสาคัญ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (filed corn) มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Zea may เป็นพืชตระกูลหญ้า เช่นเดยี วกับขา้ วและข้าวสาลี แต่ขา้ วโพดมีเอกลักษณ์ต่างจากกลุ่มหญ้า เนื่องจากมีเกสรตัวผู้ (tassel) แยกกนั อยู่คนละตาแหน่งกบั เกสรตวั เมยี หรอื ฝัก (ear) บนต้นเดียวกัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สามารถปลูก ได้ท่ัวไปท้ังในเขตอบอุ่น เขตกึ่งร้อนช้ืนและเขตร้อน ปัจจุบันข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชอาหารท่ีมี ความสาคัญเปน็ อันดบั 2 ของโลกรองลงมาจากขา้ วสาลี สาหรับประเทศไทย ข้าวโพดเป็นพืชไร่ท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจพืชชนิดหน่ึง ที่มีสาคัญต่อ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ สามารถทารายได้ให้กับประเทศคิดเป็นมูลค่าปีละหลายหม่ืนล้านบาท ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ส่วนใหญ่จะนามาใช้เป็นวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ที่มีการ ขยายตัวอยา่ งต่อเนือ่ งตามสถานการณ์การเติบโตของภาคปศุสัตว์ โดยเฉพาะการใช้ในการเล้ียงไก่เนื้อ และสุกร ซึ่งมีความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นส่วนประกอบในการผลิตอาหารสัตว์ 4.9 ล้านตัน ตอ่ ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97 ของผลผลติ ข้าวโพดเล้ียงสตั วใ์ นประเทศ (สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร , 2559) นอกจากน้ีผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์อีกส่วนหน่ึงจะนาไปใช้ในด้านอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรม แปูงขา้ วโพด ขา้ วโพดปนุ นา้ มันพชื และเครื่องสาอาง เปน็ ต้น
154 |ดรุณี พวงบตุ ร ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ข้าวโพด เป็นพชื ตระกูลหญา้ เช่นเดียวกบั ขา้ ว แตม่ ลี ักษณะทางทางพฤกษศาสตร์ต่างจากกลุ่ม หญ้า มลี ักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคญั ดงั นี้ เกสรตัว ใบ ลาตน้ เกสรตวั เมีย ข้อ ราก ภาพท่ี 7-1 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของข้าวโพด ที่มา: พลงั (2558) 1. ราก (root) รากของข้าวโพดเป็นระบบรากฝอย (fibrous root system) นอกจากรากที่อยู่ใต้ดินแล้ว ยังมี รากยดึ เหนยี่ ว (bracer root) ซง่ึ เกดิ ขนึ้ รอบๆ ขอ้ ทอี่ ย่ใู กล้ผิวดนิ และบางคร้ังรากพวกนี้ยังช่วยหย่ังยึด พืน้ ดินอกี ดว้ ย (ภาพท่ี 7-2) ภาพที่ 7-2 ลักษณะรากข้าวโพด ท่ีมา: ผู้เขียน
พืชไร่เศรษฐกจิ | 155 2. ลาต้น (stalk) ข้าวโพดมีลาต้นแข็ง ไส้แน่นไม่กลวง มีความยาวต้ังแต่ 60 เซนติเมตร จนถึง 6 เมตร แล้วแต่ ชนิดของพันธ์ุ ตามลาต้นมีข้อ (node) และปล้อง (internode) ปล้องท่ีอยู่ในดินและใกล้ผิวดินสั้น และจะค่อยๆ ยาวขึ้นไปทางด้านปลาย ปล้องเหนือพื้นดินจะมีจานวนประมาณ 8-20 ปล้อง พันธุ์ ขา้ วโพดส่วนมากลาตน้ สดมสี เี ขียว แตบ่ างพันธ์มุ สี ีมว่ ง (ภาพที่ 7-3) ภาพท่ี 7-3 ลักษณะลาต้นขา้ วโพด ที่มา: ผู้เขียน 3. ใบ (leaf) ใบขา้ วโพดประกอบดว้ ย ตวั ใบ กาบใบ และหูใบ (ligule) ลักษณะของใบข้าวโพดก็มีความ แตกตา่ งกนั ไปมากมายแลว้ แต่พันธุ์ จานวนใบมีตงั้ แต่ 8-48 ใบ (ภาพที่ 7-4) รูปที่ 7-4 ลักษณะใบข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ ท่ีมา: ผเู้ ขยี น
156 |ดรณุ ี พวงบตุ ร 4. ดอกตัวผู้ (tessel) และดอกตัวเมีย (ear) ขา้ วโพดมีดอกตัวผู้ และดอกตัวเมยี อย่แู ยกกนั แตอ่ ยูใ่ นต้นเดยี วกัน (monoecious) ดอกตัวผู้ รวมกันอยู่เป็นช่อ เรียกว่าช่อดอกตัวผู้ (tassel) และอยู่ตอนบนสุดของต้น ดอกตัวผู้ดอกหนึ่งจะมีอับ เกสร (anther) 3 อับ แต่ละอับยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร และมีละอองเกสร (pollen grain) ประมาณอับละ 2,500 เกสรส่วนดอกตัวเมียนั้น อยู่รวมกันเป็นช่อหรือฝักท่ีข้อกลาง ๆ ลาต้น ดอกตัว เมยี แต่ละดอกประกอบด้วยรังไข่ (ovary) และเส้นไหม (silk หรือstyle) ซ่ึงมีความยาวประมาณ 5-15 เซนตเิ มตร และยืน่ ปลายโผล่ออกไปรวมกนั เป็นกระจกุ อยตู่ รงปลายชอ่ ดอก (ภาพที่ 7-5) เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมยี รูปที่ 7-5 ลักษณะดอกข้าวโพด ที่มา: พลงั (2558) 5. ฝักและเมล็ด (ear) เมื่อรังไข่ได้รับการผสมจากละอองเกสร รังไข่ก็จะเติบโตเป็นเมล็ด ช่อดอกตัวเมียที่รับการ ผสมแล้วนี้ เรียกว่าฝัก (ear) ข้าวโพดต้นหน่ึงอาจมีมากกว่า 1 ฝักข้ึนไป และฝักหนึ่งอาจมีมากถึง 1,000 เมล็ด หรอื มากกว่านัน้ แกนกลางของฝักเรียกวา่ ซงั (cob) (ภาพที่ 7-6) รปู ท่ี 7-6 ลกั ษณะฝักและเมลด็ ขา้ วโพด ท่ีมา: พลงั (2558)
พชื ไร่เศรษฐกิจ | 157 ถ่ินกาเนิดและสภาพแวดลอ้ ม ขา้ วโพดมีถนิ่ กาเนดิ อยูใ่ นเม็กซิโกและอเมริกากลาง (ภาพท่ี 7-7) สันนิษฐานว่าการนามาปลูก โดยชนพ้ืนเมืองเม่ือประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว ซ่ึงทาให้มีการแพร่กระจายของข้าวโพดไปยังทวีป อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ ต่อมาเมื่อโคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา ในปี ค.ศ. 1493 ได้มีการนาเมล็ด ขา้ วโพดไปเผยแพร่ในสเปนทาให้มีการแพร่กระจายไปท่ัวทวีปยุโรป และแพร่ต่อมายังทวีปเอเชีย โดย ในช่วงศตวรรษท่ี 16 ชาวโปรตเุ กสไดน้ าพันธ์ขุ ้าวโพดมาปลูกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วง 50-60 ปมี าน้ปี ระเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดยุคใหม่ ซึ่งมีการแพร่กระจายไป ท่วั โลกสภาพนิเวศวิทยาของข้าวโพด พบว่าข้าวโพดสามารถปลูกได้ต้ังแต่เส้นรุ้งท่ี 50 องศาเหนือใน ทวีปยโุ รปตอนกลาง เร่อื ยลงมาในเขตรอ้ นช้นื ทเ่ี ส้นรุ้ง 42 องศาใต้ ภาพที่ 7-7 แหลง่ กาเนิดของข้าวโพด ที่มา: Römer (2016) ระยะการเจริญเติบโตและการพฒั นาของข้าวโพด เมล็ดข้าวโพดจัดเป็นพวกไม่มีระยะการฟักตัว (seed dormancy) เมื่อเมล็ดแก่เก็บเก่ียวแล้ว สามารถนาไปปลกู ได้เลย เมื่อฝงั เมลด็ ลงไปในดนิ เมล็ดจะงอกโผล่พ้นผิวดิน และใบแรกคล่ีออกให้เห็น ภายในประมาณ 4-6 วัน ต่อมาจึงจะมรี ากออกมาจากข้อแรก (nodal roots) เพิ่มจากรากชั่วคราวท่ีมี อยแู่ ล้ว การเจริญเติบโตของราก ลาต้น ใบ เป็นไปตามลาดับ จนกระท่ังเห็นช่อดอกตัวผู้ ซึ่งในระยะนี้ ข้าวโพดไร่จะมีอายุประมาณ 50-55 วัน หลังจากปลูก การเจริญเติบโตในระยะนี้เข้าสู่ระยะการผสม พันธ์ุ (reproductive stage) เส้นไหมของดอกตัวเมียจะโผล่พ้นเปลือกหุ้ม (husk) ของฝัก พร้อมท่ีจะ รับละอองเกสรได้ภายในประมาณ 55-60 วัน หลังจากปลูก หลังจากได้รับการผสมเกสรแล้ว รังไข่จะ เจริญกลายเป็นเมล็ดอ่อนและเมล็ดแก่ พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวได้ภายในประมาณ 45 วัน หลังการผสม เกสร
158 |ดรุณี พวงบุตร ระยะการเจริญเติบโตและการพัฒนาของข้าวโพดตามระบบสากล สามารถจาแนกระยะการ เจริญเติบโตออกเป็น 2 ระยะ คือ การเจริญเติบโตทางลาต้น (vegetative, V) และระยะการ เจรญิ เติบโตทางการเจรญิ พนั ธ์ุ (reproductive, R) ระยะการเจริญเติบโตทางลาต้นจะเริ่มจากระยะงอก (emergence, VE) และเริ่มนับระยะ V1, V2, V3 จนถึง Vn เมื่อข้าวโพดมีใบที่กางสมบูรณ์ (ปรากฏ leaf collar) ใบที่ 1,2,3,และ n ใบ ตามลาดับ จนถึงระยะ VT ท่ีปรากฏช่อดอกตัวผู้ ส่วนระยะการเจริญพันธุ์จะเร่ิมตั้งแต่ระยะ R1 (ออก ไหม) R2 (กาเนดิ เมลด็ ) จนถึงระยะ R7 (harvest maturity) อยา่ งไรกต็ าม การจาแนกระยะการเจรญิ เตบิ โตของข้าวโพดตามช่วงการเจริญเติบโต สามารถ แบ่งออกดงั นี้ (ภาพที่ 7-8) 1. ระยะการเจริญเติบโตทางลาต้นและใบ (vegetative stage) เป็นระยะเร่ิมตั้งแต่ที่ coleoptile โผล่พ้นดินจนถึงระยะออกดอกตัวผู้ ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 45-55 วัน ซึ่งขึ้นอยู่กับ พันธกุ รรมของข้าวโพดและสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะอุณหภมู ิ 2. ระยะออกดอก (flowering stage) เป็นระยะตั้งแต่ดอกตัวผู้บาน จนถึงระยะที่ไหมโผล่พ้น กาบห้มุ ฝัก ตลอดจนระยะผสมเกสรใชเ้ วลาทง้ั ส้นิ ประมาณ 5-15 วนั 3. ระยะการสะสมน้าหนักเมล็ด (grain filling) เป็นระยะที่เมล็ดมีการสะสมแปูงในเมล็ด จนถงึ ระยะทเ่ี มล็ดหยดุ การพฒั นาใช้เวลาทง้ั สนิ้ ประมาณ 35-45 วัน ระยะน้ีแบง่ ได้ 2 ระยะคอื 3.1 ระยะน้านม (early milk และ late milk stage) 3.2 ระยะแปงู อ่อน (dough stage) 4. ระยะการสุกแก่ทางสรีระ (physiological maturity) เป็นระยะท่ีมีช้ันเน้ือเยื่อสีดา (black layer) ปรากฏที่ส่วนโคนของเมล็ด การสะสมน้าหนักแห้งจะส้ินสุดลงเป็นระยะท่ีข้าวโพดมี น้าหนักแหง้ สงู สุด 5. ระยะสุกแก่เก็บเก่ียว (harvest maturity) เป็นระยะท่ีต้นและใบของข้าวโพด รวมท้ังกาบ หุ้มฝักแห้ง ฝักคลายตัวจากกาบหุ้ม เมล็ดมีการลดความช้ืนอย่างต่อเน่ืองตามสภาพอุณหภูมิและ ความชนื้ ของบรรยากาศ
พชื ไร่เศรษฐกจิ | 159 รูปท่ี 7-8 ระยะการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของข้าวโพด ท่มี า: บริษทั ไอออนิค จากดั (2014) การปลูกและการเก็บเกีย่ ว ฤดูปลูกขา้ วโพดในประเทศไทยมีสองฤดูดว้ ยกนั คือ ฤดปู ลกู ต้นฝนและฤดปู ลูกปลายฝน 1. ฤดูปลูกต้นฝน เร่ิมประมาณเดือนเมษายนและพฤษภาคม ข้ึนกับการตกและการกระจาย ของฝนในท้องถ่ิน กสิกรนิยมปลูกข้าวโพดในฤดูปลูกต้นฝนมากกว่าฤดูปลูกปลายฝนท้ังน้ีเน่ืองจาก ไดผ้ ลผลติ สงู กวา่ ไม่มีโรคราน้าค้างระบาดทาความเสียหาย รวมทั้งมีปัญหาเกี่ยวกับวัชพืชน้อยกว่าฤดู ปลูกปลายฝน 2. ฤดปู ลูกปลายฝน เร่ิมประมาณกรกฎาคมหรอื สิงหาคม การปลูกข้าวโพดในฤดูน้ีต้องใช้พันธ์ุ ที่มีความต้านทานต่อโรคราน้าค้าง เพราะเป็นฤดูปลูกที่โรคราน้าค้างระบาดทาความเสียหายให้แก่ ข้าวโพดมากโดยเฉพาะแปลงทปี่ ลกู ล่าชา้ วธิ ีการปลกู การปลูกข้าวโพดแนะนาให้ปลูกระยะระหว่างแถวกว้าง 75 เซนติเมตร ให้ระยะระหว่างหลุม ภายในแถวห่างกัน 25 เซนติเมตร โดยให้มีต้นข้าวโพด 1 ต้นต่อหลุมหรือให้ระยะระหว่างหลุม 50 เซนติเมตร ก็ได้แต่ต้องให้มีต้นข้าวโพด 2 ต้นต่อหลุม การปลูกตามท่ีแนะนาน้ีจะได้อัตราปลูก 8,533 ต้นต่อไร่ ซึ่งจะใช้เมล็ดประมาณ 3 กิโลกรัมต่อไร่ โดยปลูกให้ลึกประมาณ 5 เซนติเมตร ในการปลูก ควรทราบเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดท่ีใช้ปลูก เพื่อสามารถประมาณว่าควรหยอดเมล็ดต่อหลุม เท่าไร จึงจะได้จานวนตน้ ตอ่ ไร่ตามที่ตอ้ งการเมื่อตน้ ข้าวโพดมีอายุประมาณ 2 สัปดาห์
160 |ดรุณี พวงบตุ ร การเกบ็ เกย่ี ว การเก็บเกยี่ วข้าวโพดของเกษตรกรสามารถจาแนกออกเป็น 3 วิธี (สมชาย, 2558) ดังนี้ 1. การเกบ็ เกี่ยวด้วยแรงงานคน ซึ่งมีทั้งแบบเก็บฝักที่ยังไม่ปอกเปลือก คือการหักฝักข้าวโพด ออกจากต้นโดยไม่ปอกเปลือก และเก็บฝักแบบปอกเปลือกโดยจะใช้ไม้ปลายแหลมกรีดปอกเปลือก ออก แล้วหักฝักข้าวโพดโยนกองรวมกันไว้บนพ้ืนดิน ในเข่งหรือกระสอบ ซ่ึงการเก็บฝักแบบไม่ปอก เปลือกมีค่าใช้จ่ายโดยประมาณ 800-1,000 บาทต่อไร่ ส่วนการเก็บฝักแบบปอกเปลือกมีค่าใช้จ่าย โดยประมาณ 1,000-1,500 บาทตอ่ ไร่ ทัง้ นีข้ นึ้ อยู่สภาพพื้นท่ีและผลผลิต 2. การเกบ็ เกย่ี วโดยใช้เครือ่ งปลิดฝกั ขา้ วโพด แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ เครื่องปลิดฝักข้าวโพด และเครื่องปลิดและปอกเปลือกหุ้มฝักข้าวโพด โดยเคร่ืองปลิดฝักข้าวโพดท้ัง 2 แบบ ต่อพ่วงกับรถ แทรกเตอร์ และเครื่องปลิดและรูดเปลือกหุ้มฝักข้าวโพด มีกลไกเหมือนกันกับเครื่องปลิดฝักข้าวโพด แตจ่ ะมีชุดลาเลียง และชุดรูดเปลือก โดยเคร่ืองน้ีจะติดพ่วงด้านข้างของรถแทรกเตอร์ หลังจากนั้นจึง คอ่ ยรวบรวมฝักเพ่อื เกบ็ รักษาหรือจาหน่าย และมีรูปแบบหลังการเก็บรักษาเช่นเดียวกับการเก็บเก่ียว โดยใช้แรงงานคน 3. การเก็บเกีย่ วโดยใช้เคร่ืองเก่ียวนวด โดยเครื่องจะมีขนาดใหญ่ มีสมรรถนะในการทางานดี และมีความรวดเร็ว เน่ืองจากเคร่ืองเกี่ยวนวดข้าวโพด ประกอบด้วยชุดเก็บเกี่ยว ชุดกะเทาะข้าวโพด และชุดคัดแยกและทาความสะอาด ทางานได้เบ็ดเสร็จในเคร่ืองเดียว เหมาะสาหรับพ้ืนที่ราบขนาด ใหญ่ นิยมใช้ในเขตภาคกลางของประเทศ เช่น นครสวรรค์ ลพบุรี และสระบุรี เม่ือเก็บเก่ียวได้เมล็ด ข้าวโพดแล้วจะตอ้ งขนยา้ ยออกจากพ้นื ท่เี พื่อนาไปจาหนา่ ยโดยทันที โรคและแมลงท่สี าคญั ของขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ โรคและแมลงที่สามารถทาความเสียหายให้กับข้าวโพดมีหลายชนิดด้วยกัน ซึ่งสามารถเกิดได้ กับทกุ ส่วนของต้น อาจเกิดในระยะการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันอีกด้วย ส่งผลทาให้ความรุนแรงของ โรคอาจจะแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับชนิดของโรคและความรุนแรงของการเป็นโรคด้วย โรคข้าวโพดท่ี สาคัญ (สถาบันวจิ ัยและพฒั นาแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2560) มีดังน้ี 1. โรคราน้าค้าง (corn downy mildew) ลักษณะอาการที่ต้นข้าวโพดมีใบสีเหลืองซีด โดยเฉพาะในบรเิ วณยอด ต้นแคระแกรน เตี้ย ข้อถี่ ไม่มีฝักหรือมีฝักขนาดเล็ก ก้านฝักมีความยาวมาก หรอื มีจานวนฝักมากกว่าปกติ แต่จะไม่สมบูรณ์ เช่น มีเมล็ดจานวนน้อยหรือไม่มีเมล็ดเลย บางครั้งใบ ยอดมีลักษณะอาการใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับกับเขียวแก่ หลังจากใบแรกท่ีแสดงอาการแบบนี้ แลว้ ใบท่ีเจรญิ ต่อมาจะแสดงอาการแบบ systemic หมด ถา้ ความชื้นสูงเช้ือทาให้เกิดอาการยอดแตก ฝอยเปน็ พุ่ม เกสรตัวผกู้ ลายเป็นเกสรตวั เมยี สร้างเมล็ดและต้นอ่อน 2. โรคใบไหม้แผลเล็ก (southern or maydis leaf blight) ระยะแรกจะเกิดจุดเล็กๆสีเขียว อ่อนฉ่าน้าต่อมาจุดจะขยายออกตามความยาวของใบโดยจากัดด้านกว้างของแผลขนานไปตามเส้นใบ
พชื ไร่เศรษฐกจิ | 161 ตรงกลางแผลจะมสี ีเทาขอบแผลมสี ีเทานา้ ตาล ขนาดของแผลไม่แน่นอนแผลท่ีขยายใหญ่เต็มที่มีขนาด กว้าง 6-12 มิลลิเมตร และยาว 6-27 มิลลิเมตรในกรณีท่ีใบข้าวโพดเป็นโรครุนแรงแผลจะขยายตัว รวมกันเป็นแผลใหญ่และทาให้ใบแห้งตายในที่สุดอาการของโรคเม่ือเกิดในต้นระยะกล้าจะเกิดข้ึน พร้อมๆ กันทุกใบอาจจะเหี่ยวและแห้งตายภายใน 3-4 สัปดาห์หลังปลูกแต่ถ้าเกิดกับต้นแก่อาการจะ เกิดบนใบล่างๆ ก่อน นอกจากจะเกดิ บนใบแลว้ ยังเกดิ กับต้นกาบใบ ฝักและเมล็ดอกี ดว้ ย 3. โรคใบไหม้แผลใหญ่ (northern corn leaf blight) จะเกิดได้ทุกส่วนของลาต้นข้าวโพด โดยเฉพาะบนใบ นอกจากนั้นจะพบท่ีกาบใบ ลาต้น และฝัก โดยเกิดเป็นแผลมีขนาดใหญ่สีเทาหรือสี น้าตาลแผลมีลักษณะยาวตามใบ หัวท้ายเรียวคล้ายรูปกระสวย แผลมีขนาดระหว่าง 2.5-20 เซนติเมตร แผลท่ีเกิดบนใบอาจเกิดเด่ียวๆ หรือหลายแผลซ้อนร่วมกันขยายเป็นขนาดใหญ่ ถ้าแผล ขยายรวมกันมากๆจะทาให้ใบแห้งตายได้ ในสภาพไร่พบที่ส่วนล่างของข้าวโพดก่อนแล้วอาการของ โรคจะพัฒนาไปส่วนบนของต้นข้าวโพด เม่ือมีความชื้นสูงเชื้อราสร้างสปอร์สีดาบนแผลและขยายออก เห็นเป็นวงชั้น โรคน้ีพบได้ตลอดฤดูเพาะปลูก พันธุ์อ่อนแออาการรุนแรงทาให้ผลผลิตลดลงได้ ถ้าเข้า ทาลายพืชก่อนออกดอกทาให้ผลผลิตสูญเสียมาก แต่ถ้าเข้าทาลาย 6-8 สัปดาห์หลังจากข้าวโพดออก ดอกแล้วไมม่ ผี ลกระทบต่อผลผลิตการศกึ ษาความเสยี หายจากโรคนี้ในข้าวโพดพันธุ์ลูกผสมควรทาการ ประเมนิ ภายใน 3-6 สปั ดาห์หลงั การออกดอก 4. โรคราสนิม (southern rust) อาการของโรคจะเกิดได้แทบทุกส่วนของต้นข้าวโพด คือ ใบ ลาตน้ กาบใบ ฝัก ช่อดอกตัวผู้ โดยแสดงอาการเป็นจุดนนู เลก็ ๆ สนี า้ ตาลแดง ขนาดของแผลประมาณ 0.2-2.0 มลลเิ มตร แผลจะเกิดดา้ นบนใบมากกวา่ ด้านลา่ งของใบ เมือ่ เปน็ โรคในระยะแรกๆ จะพบเป็น จดุ นนู เลก็ ๆ ต่อมาแผลจะแตกออกมองเห็นเป็นผงสีสนิมเหล็กในกรณีท่ีเป็นโรครุนแรงจะทาให้ใบแห้ง ตายในท่ีสดุ 5. โรคจุดสีน้าตาล (brown spot) เกิดขึ้นบนใบ กาบใบ และลาต้น บริเวณที่ต่ากว่าฝัก อาการบนใบเกิดเป็นจุดกลมหรือรี สีเหลือง ปกติมีขนาดเล็กกว่า 1 มิลลิเมตร จุดมักจะรวมตัวกันเป็น หย่อมๆ หรือเป็นป้ืนจุดท่ีเกิดขึ้นครั้งแรกจะมีสีเขียวเหลือง ต่อมาจะเปล่ียนเป็นสีน้าตาลแดง อาการ บนเส้นกลางใบ กาบใบ เปลือกหุ้มฝัก และลาต้น แผลขยายรวมกันมีขนาดใหญ่ รูปร่างไม่แน่นอน บางคร้ังเป็นเหล่ียมถึง 5 มิลลิเมตร มีสีน้าตาลเข้ม หรือสีน้าตาลอมม่วง ต่อมาเม่ืออายุมากขึ้นแผล กลายเป็นปื้นบนใบและตามความยาวของเส้นกลางใบ เมื่อกาบใบแห้ง เน้ือเยื่อจะแตกออกทาให้เห็น ผงสปอร์สนี ้าตาลของเช้ือรา ถ้าโรครนุ แรงลาต้นเนา่ หักล้มได้ 6. โรคใบด่าง (maize dwarf mosaic) ข้าวโพดจะแสดงอาการเป็นจุดสีซีด (chlorotic spot) บรเิ วณฐานของใบอ่อนท่ีแตกใหม่ จากนั้นอาการจะขยายออกไปเป็นขีดส้ันๆ (broken streak) ไปตามแนวของเสน้ ใบ ถา้ เชือ้ เข้าทาลายในระยะกล้าข้าวโพดจะชะงักการเจริญเติบโต เม่ือข้าวโพดแก่ ใบเปล่ียนเป็นสีม่วงหรือม่วงแดง ลักษณะอาการของโรคบางครั้งคล้ายกับโรคราน้าค้าง แต่ถ้า ตรวจสอบเวลาเชา้ มดื อาการของโรคใบด่างจะไมม่ ผี งสปอรส์ ีขาวๆเกิดขึน้ เหมือนของราน้าค้าง
162 |ดรุณี พวงบตุ ร 7. โรคราเขม่าสีดา (common smut) พบทุกส่วนของพืชที่เป็นเน้ือเยื่อเจริญเซลล์อ่อนบน ส่วนต่างๆ ของพืชทีอ่ ยู่เหนือดิน ลาตน้ ใบ ฝัก และเกสรตัวผู้ เช้ือราจะสร้างปมข้ึน คร้ังแรกจะมีขนาด ใหญ่สขี าว ต่อมาจะเปล่ียนเป็นสีดาเม่ือแก่ปมจะแห้งเป็นผง ผนังท่ีหุ้มปมจะแตกออกปล่อยผงสีดาคือ สปอรข์ องเชอื้ ราภายในออกมา ซึ่งเป็นสาเหตุแพร่ระบาดของโรคในฤดูต่อไป อาการบนใบปกติจะเกิด เป็นปมเลก็ ๆ โดยท่ัวไปมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 0.6-1.2 เซนติเมตร อาการบนส่วนอ่ืนๆ ของ พชื จะเกิดปมมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเกินกว่า 1 นิ้ว บนฝักข้าวโพดส่วนใหญ่จะพบตรงปลายฝัก แต่ บางครง้ั พบบางสว่ นของฝกั หรือรอบฝัก ขา้ วโพดทแี่ สดงอาการของโรครุนแรงในขณะที่ต้นกล้าอาจตาย หรอื แคระแกรนได้ ส่วนข้าวโพดท่เี กดิ ปมบนส่วนที่ต่ากว่าฝักจะไม่ให้ผลผลิต หรือเช้ือรากระตุ้นให้เกิด ฝักเลก็ ๆ หลายฝัก 8. หนอนเจาะลาต้น (corn stem borer) เป็นหนอนผีเส้ือกลางคืน หนอนเจาะกินภายในลา ตน้ ทาให้ต้นขา้ วโพดหักลม้ งา่ ยเม่ือถกู ลมพดั แรง นอกจากนี้ยงั กัดกนิ ฝักดว้ ย พบการระบาดมากในไร่ที่ มีการปลูกข้าวโพดมานาน หรือในแหล่งที่มีการใช้สารฆ่าแมลงมาก เพราะจะไปทาลายแมลงศัตรู ธรรมชาติ 9. หนอนกระทู้ข้าวโพด (corn armyworn) พบการเข้าทาลายตั้งแต่ข้าวโพดอายุประมาณ 20 วัน ไปจนกระท่ังข้าวโพดออกฝัก การระบาดมักรุนแรงในระยะท่ีใบใกล้คลี่ และในระยะท่ีกาลัง ออกไหม โดยหนอนกดั กนิ ใบ ถ้าระบาดรุนแรงจะเหลอื ท่ีกา้ นใบ 10. หนอนเจาะฝักข้าวโพด (corn earworm) พบการกัดกินบริเวณช่อดอกตัวผู้และเส้นไหม ท่อี อกใหม่ เมื่อเสน้ ไหมทปี่ ลายฝกั ถูกกัดกินหมด หนอนจะเข้าไปกัดกินปลายฝักต่อไป ถ้ามีการระบาด ในระยะที่ยังไม่ได้รับการผสมเกสรเต็มที่จะทาให้การติดเมล็ดไม่สมบูรณ์ ถ้ามีการกัดกินในระยะที่ติด เมล็ดแลว้ ปลายฝกั อาจถกู กดั กินบา้ งได้ไมก่ ระทบต่อผลผลติ 11. มอดดิน (ground weevil) กัดกินใบและยอดอ่อนท่ีเพิ่งงอกจากเมล็ดข้าวโพด ทาให้ต้น กลา้ เสียหายถึงตายได้ ต้นท่ีรอดจากการทาลายจะแตกแขนง ชะงักการเจริญเติบโต ฝักลีบเล็กหรือไม่ ตดิ เมล็ด แมลงชนดิ นี้จะทาลายข้าวโพดในระยะตวั เตม็ วัยเทา่ น้นั
พชื ไร่เศรษฐกิจ | 163 สถานการณก์ ารผลิตและการตลาดของขา้ วโพด 1. สถานการณ์การผลติ ข้าวโพดของโลก จากการวิเคราะห์พ้ืนที่เก็บเก่ียวข้าวโพดของโลก ในช่วงปี 2547-2556 พบว่าพ้ืนที่เก็บเกี่ยว มี แนวโน้มเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะในปี 2551-2556 มีพื้นท่ีเก็บเก่ียวเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยประเทศท่ีมี พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าว 10 อันดับแรกของโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน บราซิล อินเดีย เม็กซิโก ไนจีเรีย อาร์เจนตินา ยูเครน อินโดนีเซีย และแทนซาเนีย (ภาพท่ี 7-9) โดยประเทศสหรัฐอเมริกา มีพื้นที่เก็บ เก่ียวสูงสุด 221.7 ล้านไร่ มี รองลงมา คือ จีน (221.0 ล้านไร่) สาหรับประเทศไทยมีพ้ืนเก็บเก่ียวอยู่ อันดบั ที่ โดยมพี ้นื ท่เี ก็บเกี่ยว 7.2 ลา้ นไร่ (FAO, 2014) อย่างไรก็ตาม ในปี 2558/59 พบวา่ พ้ืนทเ่ี กบ็ เกยี่ วของข้าวโพดลดลงเพียงเล็กน้อยร้อนละ 1.14 จากปี 2557/58 โดยประเทศยูเครน เป็นประเทศท่ีมีพื้นท่ีเก็บเก่ียวลดลงมากที่สุด จากพ้ืนที่ 28.9 ลา้ นไร่ เป็น 25.6 ลา้ นไร่ หรือลดลงร้อยละ 11.4 รูปที่ 7-9 พื้นท่ีเกบ็ เกี่ยวข้าวโพดใน 10 ประเทศผู้ผลติ สาคัญ ต้งั แต่ปี 2004 - 2013 ท่มี า: FAO (2014) จากการวิเคราะห์สถานการณ์การผลผลิตข้าวโพดของโลก ในช่วงปี 2547-2556 พบว่า ผลผลิตมีการเพ่ิมขึ้นเพ่ิมข้ึน (ภาพที่ 7-10) โดยประเทศที่ผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ที่มีปริมาณมากที่สุด คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยปี 2555/56 พบว่ามีผลผลิตเพิ่มข้ึนเป็น 353.7 ล้านตัน จากปี 2554/55 ผลผลิต 273.8 ล้านตนั หรอื เพ่ิมขึ้นร้อยละ 29.3% (FAO, 2014)
164 |ดรุณี พวงบุตร 400 350 353.7 United States of America 331.2 332.5 China 307.1 316.2 313.9 300 299.9 Brazil 282.3 India 267.5 273.8 250 Mexico 200 Nigeria 150 Argentina 100 Ukraine 50 United Republic of Tanzania Indonesia 0 Thailand รูปที่ 7-10 ผลผลติ ขา้ วโพดของประเทศ 10 อนั ดับแรกของโลกในปกี ารผลติ 2004-2013 ทมี่ า: FAO (2014) นอกจากนีย้ ังพบวา่ ประเทศสหรฐั อเมริกายังผลผลติ ตอ่ พน้ื ทีส่ ูงสุด คอื 1,595 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา คือ จีนและบราซิล สว่ นประเทศไทยมีผลผลติ อยู่ที่ 700 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ (ภาพที 7-11) จาก ข้อมูลช้ใี ห้เหน็ ว่าประเทศสหรัฐอเมริกามผี ลผลติ รวมสงู ท่ีสดุ เนอื่ งจากมีผลผลิตต่อพ้นื ที่สูงสุดด้วย 1,800 1,600 1,610 1,654 United States of America 1,486 1,497 1,513 1,546 1,535 1,478 1,595 China 1,400 Brazil 1,200 1,239 India 1,000 Mexico 800 Nigeria 600 617 611 630 629 652 668 669 693 692 707 Argentina 400 Ukraine United Republic of Tanzania 200 Indonesia - Thailand ภาพท่ี 7-11 ผลผลติ ต่อพืน้ ที่ขา้ วโพดของประเทศ 10 อนั ดับแรกของโลกในปีการผลิต 2004-2013 ท่ีมา: FAO (2014)
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ | 165 ในปัจจุบัน ปีเพาะปลกู 2559/60 มเี นื้อท่เี พาะปลูก 1,140.1 ล้านไร่ ลดลงจาก 1,116.7 ล้าน ไร่ ในปีเพาะปลูก 2558/59 ร้อยละ 2.10 ผลผลิต 1,039.1 ล้านตัน เพิ่มข้ึนจาก 960.1 ล้านตัน ร้อย ละ 8.23 สาหรับผลผลิตต่อไร่ 911 กิโลกรัม เพิ่มข้ึนจาก 860 กิโลกรัม ร้อยละ 6.00 โดยเกือบทุก ประเทศมีผลผลติ เพ่มิ ข้ึน ยกเวน้ ประเทศ จีน และแคนาดา (ตารางที่ 1) ตารางท่ี 7-1 เน้ือท่ีเพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ของประเทศผู้ผลิตท่ีสาคัญของโลก 10 อันดบั ปี 2558-2560 ประเทศ พ้นื ท่ีแพะปลูก (ลา้ นไร)่ ผลผลิต (ลา้ นตัน) ผลผลติ ต่อไร่ (กก./ไร่) 2557/58 2558/59 2559/60 2557/58 2558/59 2559/60 2557/58 2558/59 2559/60 สหรัฐอเมริกา 210.2 204.2 219.4 361.1 345.5 384.8 1,717 1,692 1,754 จนี 232.0 238.2 229.8 215.6 224.5 219.5 929 943 956 บราซิล 98.4 100.0 104.4 85.0 67.0 86.5 863 670 829 สหภาพยโุ รป 59.7 59.0 54.2 75.7 58.4 60.3 1,268 988 1,112 อารเ์ จนตนิ า 21.8 21.8 28.1 29.8 29.0 36.5 1,360 1326 1,298 ยูเครน 28.9 25.5 25.6 28.5 23.3 28.0 984 914 1,054 เมก็ ซโิ ก 45.7 45.0 46.8 25.5 25.9 26.0 557 577 555 อินเดีย 57.4 54.3 59.4 24.2 21.8 24.5 421 401 413 รศั เซีย 16.2 16.7 17.5 11.3 13.2 15.5 698 789 886 แคนาดา 7.6 8.2 8.2 11.4 13.5 13.2 1,498 1,654 1,594 ไทย1/ 7.2 6.6 6.5 4.7 4.0 4.1 669 642 654 รวมทง้ั โลก 1,131.1 1,116.7 1,140.1 1,015.5 960.1 1,039.1 898 860 911 1/ไทย ส่งออกข้าวโพดเล้ยี งสัตวเ์ ป็นอันดับท่ี 21 ของโลก ที่มา: สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560a) 2. สถานการณก์ ารตลาดขา้ วโพดของโลก จากการวิเคราะห์พบว่าปริมาณการส่งออกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ในปี 2549-2554 มีแนวโน้ม ลดลงอย่างต่อเน่ือง เนื่องประเทศผู้ผลิตข้าวโพดท่ีสาคัญของโลก มีพ้ืนที่เก็บเก่ียวลดลง ในขณะที่มี มูลค่าการส่งออกเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากปริมาณการผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ (สานักงาน เศรษฐกจิ การเกษตร, 2560b) อย่างไรก็ตาม ในปี 2554/55–2558/59 พบว่าความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีแนวโน้ม เพิ่มข้ึนจาก 885.04 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 958.52 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.90 ต่อปี โดยสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นจาก 277.96 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 298.83 ลา้ นตัน ในปี 2558/59 หรือเพมิ่ ขน้ึ ร้อยละ 2.87 ตอ่ ปี
166 |ดรณุ ี พวงบตุ ร โดยในปี 2558/59 ความตอ้ งการใช้มีปรมิ าณ 958.52 ลา้ นตัน ลดลงจาก 980.76 ล้านตัน ใน ปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 2.27 โดยสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลดลงจาก 301.79 ล้านตัน ในปี 2557/58 เป็น 298.83 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 0.98 นอกจากนี้ สหภาพยุโรป และบราซลิ มคี วามต้องการใชล้ ดลง ในปี 2554/55 - 2558/59 การค้ามีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจาก 103.71 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 143.93 ล้านตัน (ภาพท่ี 7-12) ในปี 2558/59 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 9.38 ต่อปี ส่วนในปี 2558/59 การค้ามีปริมาณ 143.93 ล้านตัน เพ่ิมข้ึนจาก 128.03 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 12.42 และ พบว่ามีมูลค่าการส่งออกเพ่ิมข้ึนเช่นเดียวกัน (ภาพที่ 7-13) โดยสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นผู้ส่งออกสาคัญ ส่งออกเพิ่มข้ึนจาก 46.83 ล้านตัน ในปี 2557/58 เป็น 51.20 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพ่ิมข้ึน ร้อยละ 9.33 นอกจากนี้ประเทศผู้นาเข้า ได้แก่ ญ่ีปุน เม็กซิโก สหภาพยุโรป และอียิปต์ มีการนาเข้า เพิ่มข้นึ ในปี 2554/55 - 2558/59 ราคาข้าวโพดเล้ียงสัตว์อเมริกันช้ัน 2 ตลาดชิคาโก มีแนวโน้ม ลดลง จากตนั ละ 8,060 บาท ในปี 2554/55 เหลือตันละ 5,313 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อย ละ 13.32 ต่อปี เนื่องจากสถานการณ์การผลิตโลกกลับเข้าสู่สภาวะปกติหลังจากที่ผลผลิตได้รับความ เสยี หายจานวนมากจากคล่ืนความร้อนในปี 2555/56 ในปี 2558/59 ราคาข้าวโพดเลยี้ งสัตวอ์ เมรกิ ันช้นั 2 ตลาดชคิ าโก ตันละ 5,313 บาท เพ่ิมข้ึน จากตันละ 4,925 บาท ในปี 2557/58 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 7.88 เนื่องจากสถานการณ์การผลิตใน ภาพรวมของโลกผลิตได้ลดลง ส่งผลให้ราคาเพิม่ ขึ้น ภาพท่ี 7-12 ปรมิ าณการส่งออกข้าวโพดของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 2004- 2013 ที่มา: FAO (2014)
พชื ไร่เศรษฐกิจ | 167 ภาพที่ 7-13 มลู ค่าการส่งออกข้าวโพดของประเทศ 10 อนั ดบั แรกของโลกในปีการผลติ 2004-2013 ที่มา: FAO (2014) 3. สถานการณก์ ารผลิตขา้ วโพดของไทย ในปี 2552-2556 พบว่าพ้ืนท่ีเพาะปลกู ของประเทศไทยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย 7.1 ล้านไร่ ในปี 2552 เปน็ 7.5 ล้านไร่ ในปี 2556 เพ่ิมขึน้ รอ้ ยละ 5.6 และมีผลผลิตรวมเพิ่มเป็น 5.1 ล้านตัน ใน ปี 2556 จาก 4.6 ล้านตัน ในปี 2552 หรือเพิ่มข้ึนร้อย 10.9 และมีผลผลิตต่อไร่ 671 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2556 เพิม่ ขึน้ จากใน 650 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ในปี 2552 เพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ 3.23 (ภาพที่ 7-14) อย่างไรก็ตาม ในปี 2554/55 - 2558/59 เน้ือท่ีเพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงจาก 7.40 ล้านไร่ ในปี 2554/55 เหลือ 7.15 ล้านไร่ ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.09 ต่อปี เนื่องจากราคาท่ี เกษตรกรขายได้ไม่จูงใจ เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกพืชที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า เช่น มัน สาปะหลัง และอ้อยโรงงาน สาหรับผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 672 กิโลกรัม ในปี 2554/55 เหลือ 644 กิโลกรัม ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 0.89 ต่อปี ส่งผลให้ผลผลิต รวมลดลงจาก 4.97 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 4.61 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.94 ตามการลดลงของเนื้อที่ เพาะปลกู (สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560b) ในปีปี 2558/59 เนื้อท่ีเพาะปลูกมี 7.15 ล้านไร่ ลดลงจาก 7.23 ล้านไร่ ในปี 2557/58 ร้อย ละ 1.11 เนือ่ งจากปี 2557/58 ฝนทง้ิ ช่วงและกระทบแลง้ เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน และมันสาปะหลัง ซ่ึงเป็นพืชทีท่ นแล้งและดูแลรกั ษาง่าย สาหรับผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 654 กิโลกรัม ในปี 2557/58 เหลอื 644 กโิ ลกรัม ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.53 ส่งผลให้ผลผลิตรวมลดลง จาก 4.78 ลา้ นตนั ในปี 2557/58 เหลือ 4.61 ล้านตนั ในปี 2558/59 (สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร , 2560b)
168 |ดรณุ ี พวงบตุ ร ภาพที่ 7-14 พื้นท่ีปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ของไทย ในปี 2550-2556 ท่ีมา: พลัง (2558) พ้ืนท่ีปลูกข้าวโพดที่สาคัญในประเทศไทย อยู่ในจังหวัด เพชรบูรณ์ น่าน นครราชสีมา นครราชสมี า เลย เชียงราย และตาก (ภาพที่ 7-15) ภาพที่ 7-15 พ้ืนทป่ี ลูกข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ของไทย ท่ีมา: สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2560a)
พชื ไร่เศรษฐกิจ | 169 สาหรับปัจจุบัน ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ปีเพาะปลูก 2559/60 เพิ่มขึ้นจากปีเพาะปลูก 2558/59 เนื่องจากมีปริมาณน้าเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ท้ังข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รุ่น 1 และรุ่น 2 ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ ท้ัง 2 รุ่นเพ่ิมข้ึน ถึงแม้ว่าภาพรวมเน้ือท่ีเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลง จาก เม่ือต้นปี 2559 ฝนมาล่าช้าทาให้เกษตรกรเลื่อนการปลูก และบางพื้นท่ีปรับเปลี่ยนไปปลูกมัน สาปะหลงั โรงงาน และอ้อยโรงงานแทน 4. สถานการณ์การตลาดข้าวโพดของไทย ในปี 2552-2556 พบวา่ ปริมาณการผลติ ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ มีปริมาณเมากกว่าต่อความต้องการ ใช้ในประเทศ ทาให้มีปริมาณการส่งออกส่งบางส่วน แต่มีมูลค่าการส่งออกค่อนข้างน้อย ในขณะที่ ปริมาณและมูลค่านาเข้าเพียงเล็กน้อย 0.2 ล้านตัน โดยในปี 2556 มีปริมาณการผลิต 5.1 ล้านตัน ที ปริมาณความต้องการใช้ 4.7 ล้านต้าน ปริมาณการส่งออก 0.2 ล้านตัน ปริมาณการนาเข้า 0.6 ล้าน ตัน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2554 ท่ีมีปริมาณการผลิต 4.6 ล้านตัน ปริมาณความต้องการใช้ 4.2 ล้าน ต้าน ปริมาณการสง่ ออก 0.3 ล้านตนั และปริมาณการนาเข้า 0.8 ล้านตนั มปี ริมาณการผลติ และความ ต้องการใช้เพิม่ ข้ึนรอ้ ยละ แต่มปี รมิ าณการส่งออกและนาเข้าลดลงรอ้ ยละ ตามลาดบั (ภาพที่ 7-16) 6.0 6,000 5,000 5,236 5.0 4.9 5.1 4,000 4.7 44.7,139 5.0 4.6 4.0 4.7 4.2 4.3 4.4 3.0 2,667 2,976 3,000 2.0 2,000 1,000 1,340 1,182 - 1,027 1.0 0.8 740 725 751 0.4 0.3 0.1 0.6 0.0 0.3 0.4 0.2 0.2 0.2 ภาพท่ี 7-16 การตลาดข้าวโพดเล้ยี งสัตวข์ องไทย ในปี 2552 - 2556 ท่ีมา: พลงั (2558) 4.1 ความตอ้ งการใช้ ในปี 2554/55 - 2558/59 ความต้องการใช้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 4.36 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 5.72 ล้านตนั ในปี 2558/59 หรือเพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ 6.39 ต่อปี เน่ืองจากความต้องการใช้ เป็นวัตถุดบิ ในอตุ สาหกรรมอาหารสตั ว์มมี ากข้นึ ตามการขยายตวั ของการเลี้ยงสตั ว์
170 |ดรณุ ี พวงบตุ ร ในปี 2558/59 ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 5.72 ล้านตัน เพ่ิมข้ึนจาก 5.04 ลา้ นตนั ในปี 2557/58 ร้อยละ 13.49 ในปี 2559 ไทยมีความต้องการใช้ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 5.85 ล้านตัน เพ่ิมข้ึนจาก 5.72 ล้านตัน ในปี 2558 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.27 เน่ืองจากภาคอุตสาหกรรมการเล้ียงสัตว์ยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ ความตอ้ งการใช้ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์เพ่อื เป็นวัตถุดิบอาหารสตั วเ์ พ่ิมขึน้ 4.2 การสง่ ออก ในปี 2554/55 - 2558/59 การสง่ ออกมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ จากปรมิ าณ 0.32 ล้านตนั มูลคา่ 2.95 ล้านบาท ในปี 2554/55 เปน็ ปริมาณ 0.22 ล้านตัน มูลค่า 1.88 ลา้ นบาท ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้น รอ้ ยละ 11.44 และร้อยละ 8.74 ตอ่ ปี ตามลาดับ เนอื่ งจากปี 2556/57 มีการใช้มาตรการผลักดันการ ส่งออกข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ สาหรบั ตลาดสง่ ออกทส่ี าคญั ได้แก่ จีน ฟิลิปปนิ ส์ เวียดนาม และอนิ โดนีเซีย ในปี 2558/59 การสง่ ออกมปี ริมาณ 0.22 ล้านตัน มูลค่า 1.88 ล้านบาท ลดลงจาก 0.25 ล้าน ตัน มูลค่า 2.22 ล้านบาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 12.00 และร้อยละ 15.32 ตามลาดับ เนื่องจากจีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และมาเลเซีย มีการนาเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จาก ประเทศไทยลดลง โดยมีการนาเข้าจากประเทศนอกอาเซียนเพิ่มข้ึน เช่น อินเดีย สหรัฐอเมริกา และ อารเ์ จนตนิ า เปน็ ตน้ ในปี 2559 ไทยมีปริมาณการส่งออก 0.58 ล้านตัน มูลค่า 4,855.34 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.08 ล้านตัน มูลค่า 716.74 ล้านบาท ในปี 2558 โดยปริมาณเพิ่มข้ึน 7.25 เท่า และมูลค่าเพ่ิมข้ึน 6.77 เท่าเน่ืองจากมีการส่งออกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ไปตลาดอาเซียน เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และ เวยี ดนาม ซงึ่ เปน็ ประเทศคคู่ ้าของไทยเพิม่ ข้ึน 4.3 การนาเขา้ ในปี 2554/55 - 2558/59 ปริมาณการนาเข้ามีแนวโน้มลดลงจาก 0.21 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 0.14 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 3.97 ต่อปี ส่วนมูลค่าการนาเข้ามี แนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.03 ต่อปี โดยปี 2554/55 มีมูลค่าการนาเข้า 0.74 ล้านบาท ลดลงเหลือ 0.57 ล้านบาท ในปี 2556/57 แต่ปี 2557/58 - 2558/59 มูลค่าการนาเข้ากลับเพ่ิมขึ้นเป็น 0.70 ล้านบาท และ 0.69 ลา้ นบาท ตามลาดับ เนอ่ื งจากมีการนาเข้าวัตถดุ บิ อนื่ มาทดแทนข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการบรหิ ารจดั การช่วงเวลานาเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สาหรับผู้นาเข้าทั่วไปท่ี นาเข้าภายใต้กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) และ โครงการลงทุนเกษตรแบบมีสัญญากับประเทศเพ่ือนบ้าน (Contract Farming) ภายใต้ยุทธศาสตร์ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya -Mekong Economic Cooperation Strategies: ACMECS)
พืชไร่เศรษฐกจิ | 171 ในปี 2558/59 การนาเข้ามีปริมาณ 0.14 ล้านตัน มูลค่า 0.69 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 0.15 ล้านตัน มูลค่า 0.70 ล้านบาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 6.67 และร้อยละ 1.43 ตามลาดับ เนื่องจากมีการนาเข้าวัตถุดิบอ่ืนมาทดแทนข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในอุตสาหกรรมการผลิต อาหารสตั ว์ ประกอบกบั ราคาขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ในตลาดโลกมแี นวโนม้ ปรับตวั ลดลง 4.4 ราคาท่เี กษตรกรขายได้ ราคาที่เกษตรกรขายได้ในปี 2554/55 - 2558/59 มีแนวโน้มลดลง ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ (ความชื้นไม่เกนิ 14.5%) ลดลงจากกิโลกรัมละ 7.63 บาท ในปี 2554/55 เหลอื กโิ ลกรมั ละ 7.73 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 2.17 ต่อปี (ภาพท่ี 7-17) ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2558/59 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับปี 2557/58 เนื่องจากราคาใน ตลาดโลกปรับตัวลดลง อย่างไรก็ตามราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ในประเทศกลับมี แนวโน้มสูงข้ึนจากปี 2557/58 เนื่องจากผลผลิตในประเทศลดลง ขณะท่ีความต้องการใช้มีเพ่ิมขึ้น (ภาพท่ี 7-17) 12.0 10.0 9.34 8.0 6.89 7.01 / 8.13 7.63 7.73 7.01 7.13 6.92 5.43 6.0 4.0 2.0 0.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 ภาพท่ี 7-17 ราคาท่ีเกษตรกรขายขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ ในปี 2550 - 2559 ท่มี า: สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560b)
172 |ดรณุ ี พวงบตุ ร การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ ผลผลิตข้าวโพดอาหารสัตว์ประมาณร้อยละ 90 ของผลผลิตท้ังหมด ใช้ในกระบวนการผลิต อาหารสัตว์ของประเทศ นอกจากน้ีผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์อีกส่วนหน่ึงจะนาไปใช้ในด้านอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมแปงู ขา้ วโพด ขา้ วโพดปุน น้ามันพชื น้าเชื่อม และเครอื่ งสาอาง เปน็ ต้น 1. อตุ สาหกรรมอาหารสัตว์ ใช้ได้หลายรูปแบบท้ังอาหารหยาบและอาหารข้น การใช้ในรูปอาหารหยาบคือ ใช้ต้น ใบ ซัง ทัง้ สภาพสด และแห้งและหมัก ส่วนอาหารข้นใช้ได้ทั้งเมล็ด ท้ังในรูปแหล่งให้พลังงานและแหล่งเสริม โปรตนี ภาพท่ี 7-18 การผลติ เปน็ อาหารสัตว์ ท่มี า: กรุงเทพธรุ กิจ (2015) 2. อตุ สาหกรรมแป้งขา้ วโพด แปงู ได้จากเมล็ดข้าวโพดท่ีแก่และแห้งแล้ว ผลิตภัณฑ์อาหารจากแปูงข้าวโพดมีอยู่ในรูปแบบ ต่างๆ เช่นขนมปงั ขา้ วโพด หรอื นาไปทาขนม ใช้เปน็ แปูงข้าวโพดซุปผักหรือเนื้อทอด หรือจะใช้เป็นน้า ซุปข้นราดบนอาหารหลายชนิด ภาพที่ 7-19 การผลติ เปน็ แปูง ทมี่ า: Moncel (2016)
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 173 3. นา้ มันพชื เป็นน้ามันที่สกดั จากเมล็ดข้าวโพด ท่ีแก่ และแห้งแล้วประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว และมี กรดไขมนั ทีจ่ าเปน็ อย่มู าก น้ามนั ขา้ วโพดจัดเป็นนา้ มนั ท่ีมีคุณภาพดี และมีประโยชน์ ภาพท่ี 7-20 การผลติ เปน็ นา้ มันพชื ทมี่ า: บริษัทน้ามันพชื ไทย จากัด (2016) 4. นา้ เชอื่ ม เปน็ น้าเช่อื มท่ีไดจ้ ากการย่อยสลายแปูงข้าวโพดใชใ้ นอุตสาหกรรมเครื่องดม่ื ประเภทน้าอดั ลม และขนมหวานต่างๆ ภาพท่ี 7-21 การผลติ เปน็ น้าเช่อื มขา้ วโพด ท่มี า: Instacart (2016)
174 |ดรณุ ี พวงบตุ ร 5. เครื่องสาอาง เป็นการนาสว่ นของแปงู ข้าวโพด ไหมข้าวโพด มาผลิตเป็นเครื่องสาอางที่สาคญั หลายชนดิ เชน่ ลปิ สตกิ แปูง ยาสระผม และบลัชออน ภาพที่ 7-22 การผลิตเป็นผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองสาอาง ท่มี า: Bellaphoria (2016)
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 175 สรปุ ข้าวโพดเปน็ พืชไรท่ ี่มคี วามสาคญั ทางเศรษฐกิจพืชชนิดหน่ึง ท่ีมีสาคัญต่ออุตสาหกรรมอาหาร สัตว์ สามารถทารายได้ให้กับประเทศเป็นจานวนมาก คิดเป็นมูลค่าปีละหลายหม่ืนล้านบาท ผลผลิต ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ส่วนใหญจ่ ะนามาใชเ้ ปน็ วัตถุดบิ หลกั ในอุตสาหกรรมอาหารสตั ว์ทมี่ ีการขยายตัวอย่าง ต่อเน่ืองตามสถานการณ์การเติบโตของภาคปศุสัตว์ ทาให้มีการส่งเสริมการขยายพื้นท่ีปลูกและ สนับสนุนใหม้ ีการใช้พันธ์ุลูกผสมท่ีให้ผลผลิตสูง เพื่อเพิ่มศักยภาพผลผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการ ใชภ้ ายในประเทศ ในปี 2558/59 ประเทศไทยมีพื้นท่ีเพาะปลูก 6.6 ล้านไร่ ผลผลิต 4.0 ล้านตัน และมีผลผลิต ต่อไร่ 654 กิโลกรัมต่อไร่ ซ่ึงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.88 จากปี 2557/58 นอกจากน้ียังพบว่ามี ปริมาณความต้องการใช้ภายในประเทศเพิ่มข้ึนมากกว่าปริมาณการผลิต ทาให้ปัจจุบันมีการนาเข้า ข้าวโพดอาหารสัตว์จากต่างเป็นจานวนมาก เนื่องจากมีปริมาณการผลิตที่ลดลง ส่งผลทาให้มีราคา เพ่ิมข้นึ ผลผลิตขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์มากกวา่ 90 เปอรเ์ ซน็ ตถ์ ูกนาไปใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ มีการ ขยายตัวอย่างสูงตามอุตสาหกรรมปศุสัตว์ท่ีขยายตัวอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอาหารสัตว์ปีกและสุกร มีการใช้ในปริมาณสูงในแต่ละปี นอกจากนี้ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงจะนาไปใช้ในด้านอ่ืนๆ เช่น อุตสาหกรรมแปูงขา้ วโพด ข้าวโพดปนุ นา้ มันพืช และเครื่องสาอาง เปน็ ตน้
176 |ดรุณี พวงบุตร แบบฝกึ หัดท้ายบท 1. ประเทศไทย เป็นผผู้ ลติ ข้าวโพดอันดับท่ีเทา่ ไหรข่ องโลก และมีพ้ืนปลูกเท่าไหร่ 2. แหล่งปลูกข้าวโพดอาหารสตั ว์ทส่ี าคัญของประเทศไทยอยู่ภาคไหน จงั หวัดอะไรบ้าง 3. ปัจจุบนั ประเทศไทยผลิตขา้ วโพดอาหารสตั วเ์ พยี งตอ่ การใช้ในประเทศหรือไม่ เพราะอะไร 4. จงบอกการใช้ประโยชนจ์ ากข้าวโพดอาหาร มีอะไรบา้ ง 5. จงบอกผลติ ภัณฑจ์ ากขา้ วโพดอาหารที่สาคัญ
พืชไร่เศรษฐกจิ | 177 เอกสารอ้างองิ กรุงเทพธุรกิจ. (2015). ข้าวโพดอาหารสัตว์. [Online]. Available: http://www.bangkokbiznews.com/[2015, March 6]. บริษัทนา้ มนั พืชไทย จากัด. (2016). [Online]. Available:http://thailandtrustmark.com/[2016, March 6]. บริษัทไอออนิค จากัด. (2014). ขา้ วโพด. [Online]. Available: http://www.ionique.co.th/[2014, February 6]. พลัง สุริหาร. (2558). ข้าวโพดและการปรบั ปรงุ พนั ธ.์ุ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. 189 หน้า สมชาย ชวนอดุ ม. (2558). การเก็บเก่ยี วข้าวโพดและปัญหาในการเก็บเกี่ยว. วารสาร Postharvest Newsletter. 4: 5-7. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2560). ข้าวโพด: การปลูกข้าวโพด. [Online]. Available: https://www3.rdi.ku.ac.th/[2017, January 26]. สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร. (2559). ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถ่ัวเขียว และถั่วลิสง ทศิ ทางพชื เศรษฐกิจไทยในอาเซยี น. พรทรัพยก์ ารพิมพ์. กรุงเทพฯ. 160 หนา้ . สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560a). สถิติการเพาะปลูกของประเทศไทย ปีเพาะปลูก 2560. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 194 หนา้ . สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560b). สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินค้า ปี 2560. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 99 หน้า. Bellaphoria. (2016). Bellaphoria Organic Mineral Makeup Canada. [Online]. Available: http://www.bellaphoria.com/[2016, January 26]. Food and Agriculture Organization [FAO]. (2014). Food and Agriculture Organization Corporate Statistical Database. Field corn. Rome. Instacart. (2016). Corn syrup. [Online]. Available: http://www.instacart.com/ [2016, January 26]. Moncel, B. (2016). The spruce eats. [Online]. Available: https:// www.thespruceeats.com/[2016, February 2]. Römer. (2016). Origin of Food Plants. [Online]. Available: http:// www.explainedwithmaps.com/[2015, January 26].
แผนการสอนประจาบทท่ี 8 พชื ตระกลู ถัว่ หัวข้อเนอ้ื หา ความสําคัญ สถานการณ์การผลิตและการตลาด การแปรรูปและผลติ ภณั ฑ์ของถว่ั เหลอื ง ถ่ัวเขยี ว และ ถั่วลิสง 1.1 พชื ตระกลู ถัว่ และความสําคัญ 1.2 ถ่วั เหลือง 1.3 ถ่วั เขยี ว 1.4 ถัว่ ลิสง 1.5 สรปุ ประจาํ บท แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 8 เอกสารอา้ งอิง วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เม่อื เรยี นจบบทนี้แลว้ ผ้เู รียนสามารถ 1. อธิบายความสาํ คญั และลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชตระกูลถ่วั 2. วิเคราะหส์ ถานการณ์การเปลย่ี นแปลงการผลิตและการตลาดพืชตระกลู ถั่ว ในปัจจบุ ันได้ 3. อธบิ ายบอกวิธกี ารปลูก การดูแลรกั ษา และเกบ็ เกีย่ วพชื ตระกลู ถ่วั 4. สรุปสาระเกย่ี วกบั การใช้เทคโนโลยีการผลติ การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์พืชตระกลู ถัว่ 5. ตระหนกั ถงึ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ของพชื ตระกูลถัว่ ทส่ี ร้างรายได้ให้กับประเทศ วิธีการสอนและกจิ กรรมประจาบทท่ี 8 1. ชีแ้ จงคาํ อธิบายรายวชิ า วัตถุประสงค์ เน้อื หา และเกณฑ์การใหค้ ะแนนรายวชิ า 2. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 3. ผ้สู อนอธบิ ายเนอื้ หาเร่ือง ความสําคัญของพืชตระกูลถว่ั สถานการณ์การผลติ และการตลาด รวมถงึ การแปรรูปและผลติ ภณั ฑจ์ ากพืชตระกลู ถ่ัว ตามเอกสารประกอบการสอน 4. บรรยายประกอบการฉายภาพสไลด์ (โปรแกรม Power Point) 5. ซักถาม และแลกเปลย่ี นแนวคิด และเสนอแนะแนวความคดิ 6. สรุปเนือ้ หาประจาํ บท 7. ใหผ้ เู้ รียนทาํ แบบฝกึ หัดทา้ ยบทประจําบทที่ 8 เรื่องสถานการณ์การผลติ และการตลาด การแปร รูปและผลิตภณั ฑจ์ ากพชื ตระกลู ถวั่ 8. ช้ีแจงหัวข้อท่ีจะเรยี นในครัง้ ต่อไป เพ่ือให้ผ้เู รียนไปศึกษาก่อนลว่ งหน้า 9. เสริมสรา้ งคุณธรรมและจริยธรรมใหก้ ับนักศกึ ษาก่อนเลิกเรียน
180 |ดรุณี พวงบตุ ร สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 3. ภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 4. เคร่ืองฉายภาพสไลด์ 5. แบบทดสอบก่อนเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (google form) 6. แบบฝกึ หดั หลังเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (kahoot) การวัดผลและประเมินผล 1. จากการทาํ แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นผา่ นระบบออนไลน์ 2. จากการทําแบบฝึกหดั ท้ายบท 3. จากการการสอบปลายภาคการศกึ ษา
พืชไร่เศรษฐกจิ | 181 บทท่ี 8 พืชตระกลู ถว่ั พชื ตระกลู ถัว่ ทจี่ ัดเป็นเศรษฐกจิ ของประเทศไทย คือ ถ่ัวเหลือง ถั่วลิสง และถั่วเขียว ซ่ึงมีการ ปลูกเพ่ือนํามาใช้ประโยชน์เป็นพืชอาหารมนุษย์ ส่วนผสมอาหารสัตว์ และใช้เป็นพืชบํารุงดิน เน่ืองจากพืชในวงศ์ถ่ัว มีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนในอากาศได้ ดังน้ันส่วนต้น สามารถ นํามาใชเ้ ป็นปุ๋ยพืชสดในการเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินได้ แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันพื้นที่ปลูกถั่ว เหลือง ถั่วลิสง และถั่วเขียว มีจํานวนลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ความต้องการใช้ภายในประเทศ เพ่ิมข้ึน จึงทําให้ประเทศไทยต้องการนําเข้าถั่วท้ัง 3 ชนิดจากต่างประเทศเป็นจํานวนมากในแต่ละปี ซึ่งทําให้ถั่วท้ัง 3 ชนิดมีราคาแพงในบางปี โดยเฉพาะถั่วเหลือง ซ่ึงใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ส่วน ถว่ั เขยี วและถ่ัวลสิ ง ใชใ้ นอตุ สาหกรรมอาหาร และเป็นแหล่งโปรตนี ท่ีมีความสําคญั ต่อร่างกาย พืชตระกลู ถ่ัวและความสาคัญ พืชตระกูลถ่ัว (legume) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Fabaceae หรือ Leguminosae พืชในวงศ์นี้ แยกได้เป็น 3 วงศ์ย่อย คือวงศ์ Mimosoideae วงศ์ Ceasalpinioideae และวงศ์ Faboideae ซึ่ง พืชวงศ์ย่อย Faboideae เป็นพืชตระกูลถ่ัวที่มีการนําไปใช้มากท่ีสุด โดยใช้เป็นอาหารมนุษย์ อาหาร สัตว์ และใช้เป็นพืชปรับปรุงบํารุงดิน พืชตระกูลถั่วชนิดน้ีมีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ไม้เถาเลื้อย และพืช ล้มลุก มกี ารปลกู เป็นพนื้ ท่ีจาํ นวนมากและแพรก่ ระจายพันธอุ์ ยู่ทวั่ โลก ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นพืชเศรษฐกิจท่ี สาํ คัญ ได้แก่ ถ่ัวเหลือง ถั่วลสิ ง ถว่ั เขียว ถั่วแดงหลวง และถ่วั ลนั เตา เปน็ ตน้ พชื ตระกลู ถัว่ เปน็ พชื ท่ีมคี วามสําคญั ตอ่ เศรษฐกิจและความม่ันคงด้านอาหารของประเทศ แต่ ปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ปลูกและผลผลิตพืชตระกูลถ่ัวของไทยมีแนวโน้มลดลงทุกปี ในขณะท่ีความ ตอ้ งการผลผลิตเพ่ือใช้เป็นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ และใช้สําหรับ การบริโภคภายในครัวเรือนและเพื่อการส่งออกยังคงเพ่ิมข้ึนตลอด ส่งผลทําให้ต้องนําเข้าผลผลิตจาก ต่างประเทศเป็นจํานวนมากในแต่ละปี โดยพืชตระกูลถ่ัวที่มีความสําคัญต่อเศรษฐกิจต้ังแต่อดีตจนถึง ปัจจบุ ัน ได้แก่ ถัว่ เหลือง ถว่ั ลิสง และถั่วเขียว ถ่ัวเหลอื ง ถั่วเหลือง (soybean) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Glycine max เป็นพืชตระกูลถ่ัวและจัดเป็นพืช นํ้ามันด้วย เนื่องจากส่วนเมล็ดมีการนําไปใช้ในการสกัดน้ํามันเป็นส่วนใหญ่ และใช้บริโภคเป็นอาหาร โดยตรงด้วย ส่วนกากหรือเปลือกถ่ัวเหลือง มีการนําไปใช้เป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์ ซึ่งมีปริมาณ ความต้องการใช้ในแต่ละปีเป็นจํานวนมาก ทําให้มีความต้องการใช้ในประเทศมากข้ึน เน่ืองจากการ
182 |ดรุณี พวงบตุ ร ขยายตวั ของอุตสาหกรรมปศุสัตว์ ทําให้การผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ จึงต้องมีการนําเข้ามา จากต่างประเทศในปริมาณมากในแต่ละปี การจาแนกชนดิ ของถ่วั เหลือง ถ่ัวเหลอื งสามารถจาํ แนกออกตามลกั ษณะการเจริญเติบโต และการออกดอก (growth habit and floral initiation) ได้ 2 แบบ คอื 1. แบบไม่ทอดยอด (determinate type) ปลายยอดลําต้นถ่ัวเหลืองจะหยุดการเจริญเติบโต เม่ือเริ่มออกดอก แต่ระยะระหว่างข้อ (internode) อาจยืดตัวต่อไปได้โดยไม่เพิ่มจํานวนข้อ (node) ช่อดอกของถวั่ เหลอื งจะเกดิ จากตาที่มุมใบด้านข้าง (axillary bud) และตายอด (terminal bud) ช่วง ระยะเวลาการออกดอกสั้น (flowering period) ขนาดของใบส่วนยอดเล็กกว่าส่วนโคนเล็กน้อย และ แตกกิง่ กา้ นมาก (ภาพท่ี 8-1) ภาพที่ 8-1 ลักษณะการเจริญเตบิ โตของลาํ ตน้ ถวั่ เหลือง แบบไม่ทอดยอด ท่มี า: กรมวชิ าการเกษตร (2552) 2. แบบทอดยอด (indeterminate type) เมื่อถั่วเหลืองเริ่มออกดอก ความสูงของลําต้นยังคง มีการเจริญเติบโตต่อไปอีกระยะหน่ึง โดยที่ตายอดจะไม่มีช่อดอกหรือฝักเกิดขึ้น ช่วงระยะเวลาการ ออกดอกยาว ส่วนปลายของลําต้นมีลักษณะเรียวยาว ใบส่วนยอดมีขนาดเล็กกว่าส่วนโคนมาก และมี การแตกกงิ่ ก้านนอ้ ย (ภาพที่ 8-2)
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 183 ภาพท่ี 8-2 ลักษณะการเจรญิ เติบโตของลาํ ต้นถวั่ เหลอื ง แบบทอดยอด ทมี่ า: กรมวิชาการเกษตร (2552) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ถว่ั เหลอื งเปน็ พืชทม่ี ีความแปรปรวนสูงของลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เช่น ความสูงของต้น ก่ิง ก้าน ใบ และเมล็ด โดยถัว่ เหลอื งมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ดังน้ี 1. ราก (root) ถ่ัวเหลืองมีระบบรากแบบระบบรากแก้ว (tap root system) เม่ือเมล็ดเริ่มงอก radicle ที่อยู่ ภายในเมล็ดจะเจริญโผล่ออกจากเปลือกหุ้มเมล็ดผ่านทางช่อง micropyle และขยายตัวออกอย่าง รวดเรว็ เรียกรากชนิดน้วี ่า รากแกว้ (primary root) (ภาพท่ี 8-3) ปม (nodule) ที่เกิดท่ีรากถั่วเหลือง โดยท่ัวไปจะเกิดข้ึนที่โคนรากแก้วและรากแขนง ในบริเว ใกล้เคียงซ่ึงเป็นท่ีอยู่ของเช้ือแบคทีเรีย (bacteria) พวกไรโซเบียม (rhizobium japonicum) แบคทีเรียพวกนี้เข้าไปอาศัยในรากโดยผ่านทางรากขนอ่อน ปมที่เกิดข้ึนน้ีสามารถตรึงไนโตรเจนจาก อากาศ นํามาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืช เพ่ือใช้ในการเจริญเติบโต และ เพิ่มผลผลิตของถว่ั เหลือง ภาพที่ 8-3 ลกั ษณะรากถ่วั เหลือง ทม่ี า: กรมวิชาการเกษตร (2552)
184 |ดรณุ ี พวงบตุ ร 2. ลาต้น (shoot) ลกั ษณะการเจริญเติบโตของลําต้นแบบเป็นพุ่มต้ังตรงและเลอื้ ย มกี ารแตกกงิ่ 0-24 ก่ิง ความสูง ในระยะเก็บเก่ียว 5-150 เซนติเมตร จํานวนข้อต่อต้น 3-26 ข้อ ซึ่งลักษณะการแตกก่ิง ความสูงและ จํานวนข้อข้ึนอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดิน สภาพแวดล้อมในแต่ละฤดูปลูก โดยแบ่งการ เจรญิ เติบโตถ่วั เหลืองออกได้เปน็ 3 ประเภท ดังน้ี (ภาพที่ 8-4) 1. แบบไม่ทอดยอด (determinate) การเจริญเติบโตทางลําต้นของถ่ัวเหลืองจะหยุดลงเม่ือถึง ระยะออกดอก มีการออกดอกพร้อมกันทั้งต้น และเกิดช่อดอกหรือช่อฝักที่ตายอด ส่งผลให้ฝักแก่ พร้อมกนั ทงั้ ตน้ ในระยะเกบ็ เกี่ยว 2. แบบทอดยอด (indeterminate) ถั่วเหลืองจะมีการเจริญเติบโตทางลําต้นพร้อมกับการ เจริญเติบโตในระยะการเจริญพันธุ์ มีจํานวนข้อ และใบเพ่ิมข้ึนหลังจากมีการออกดอกแรกแล้ว ความ ยาวของขอ้ จะใกลเ้ คียงกนั ในทุกส่วนของลําต้น ส่วนขนาดใบด้านบนจะเล็กกว่าด้านล่างของลําต้น ฝัก ท่ีอยูด่ ้านลา่ งของลําต้นจะแกเ่ ร็วกวา่ ฝกั ท่ีอยู่ด้านบนของลาํ ต้น 3. แบบกึ่งทอดยอด (semi-determinate)ถัว่ เหลอื งยังคงมีการเจริญเตบิ โตทางลําต้นพร้อมกับ การเติบโตในระยะเจรญิ พนั ธ์ุ แต่ชว่ งเวลาในการออกดอกแรก และดอกสุดท้ายจะสั้นกว่าถั่วเหลืองที่มี การเจริญเติบโตแบบทอดยอด การสกุ แกข่ องฝักทอ่ี ยสู่ ่วนลา่ งและส่วนบนจะสุกแกใ่ นเวลาใกลเ้ คียงกัน แบบไม่ทอดยอด แบบทอดยอด แบบกึง่ ทอดยอด ภาพที่ 8-4 ลักษณะลาํ ตน้ ถัว่ เหลือง ทีม่ า: กรมวิชาการเกษตร (2552)
พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 185 3. ใบ (leaf) ใบเกิดแบบสลับบนลําต้น ยกเว้นใบเลี้ยง (cotyledon) และใบจริงคู่แรก (primary leaf) ของต้นอ่อนเท่านั้นท่ีเกิดตรงข้ามกัน ใบจริงคู่แรกเป็นใบเดี่ยว (unifoliolate) และใบที่เกิดต่อ ๆ มา เป็นใบรวม มีใบประกอบมี 3 ใบย่อย (trifoliolate) มีก้านใบรวม (petiole) ยาว 5-10 เซนติเมตร ก้านของใบย่อย (petiolule) ของใบกลางยาวกว่าก้านของใบย่อยอีก 2 ใบ ตรงโคนก้านใบทุกชนิดมี ข้ออ่อนเรียก pulvinus ที่โคนของใบย่อยมีหูใบย่อย (stipel) และที่โคนก้านใบจะมีหูใบ(stipule) ถั่ว เหลืองบางพันธ์ุอาจมีจํานวนใบย่อย 4-7 ใบ ซ่ึงการเกิดใบย่อยท่ีมากกว่า 3 ใบนี้นอกจากจะข้ึนอยู่กับ พันธุกรรมของพนั ธ์ุถ่ัวเหลืองแล้ว ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ และสภาพแวดลอ้ มในแปลงปลูกก็มีผลต่อ การแสดงออกเชน่ กนั โดยการเกิดของใบย่อยที่มากกว่า 3 ใบ ส่วนใหญ่จะพบเพียงบางส่วนของลําต้น เท่านั้น ซ่ึงเคยมีการรายงานว่าจํานวนใบย่อยที่มีมากจะส่งผลให้จํานวนเมล็ดต่อฝักสูงด้วยเช่นกัน รปู รา่ งของใบสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ชนดิ ได้แก่ ใบแคบหรือใบเรียวยาว (lanceolate) ใบค่อนข้างแคบ (triangular) และใบกว้าง (ovate) ใบมีขนสีเทาหรือสีนํ้าตาลปกคลุมอยู่ทั่วไป ซึ่งถั่วเหลืองแต่ละพันธุ์ จะมสี ีขน ความหนาแน่น และรูปแบบของขนใบทแี่ ตกต่างกันออกไป ส่วนมากใบจะร่วงเม่ือฝักเร่ิมแก่ และเมอ่ื ฝกั แก่เต็มท่ีใบจะร่วงทัง้ หมด มบี างพันธ์ุเทา่ นั้นที่ไม่สลดั ใบเมอื่ ฝกั แกเ่ ตม็ ที่ (ภาพที่ 8-5) ใบเรยี วยาว ใบค่อนขา้ งแคบ ใบกวา้ ง ภาพท่ี 8-5 ลกั ษณะใบถ่ัวเหลอื ง ท่มี า: กรมวิชาการเกษตร (2552)
186 |ดรณุ ี พวงบตุ ร 4. ดอก ถวั่ เหลืองมีดอกเป็นช่อ (inflorescence) แบบ raceme ดอกมีสีขาวหรือสีม่วง เม่ือดอกบาน เต็มที่จะมีขนาดประมาณ 3-8 มิลลิเมตร ดอกเกิดจากตาข้างตามมุมของก้านใบหรือที่ตายอดของลํา ต้น และก่ิงแขนง ชอ่ ดอกหนึ่งๆมีดอกตั้งแต่3-15 ดอก ช่อดอกที่เกิดบนยอดของลําต้น มักจะมีจํานวน ดอกในช่อมากกวา่ ช่อดอกทเี่ กดิ ตามมุมใบแขนง ดอกถวั่ เหลืองเป็นดอกสมบูรณ์ (perfect flower) ทํา ให้การถ่ายละอองเกสร และการปฏิสนธิเกิดข้ึนภายในดอกเดียวกันเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ และมักจะ เกิดข้ึนก่อนการบานของดอก แม้ถั่วเหลืองจะสร้างดอกมากมาย แต่กลับติดฝักไม่มากนัก โดยมี เปอร์เซ็นต์การหลุดร่วงของดอกประมาณ 20-80 เปอร์เซ็นต์ หลังจากปฏิสนธิแล้ว เมล็ดซ่ึงพัฒนามา จากไขก่ ็จะเจริญเตบิ โตทันทใี นรังไข่ ซึง่ รงั ไข่ก็จะพฒั นาไปเปน็ ฝัก (ภาพท่ี 8-6) ภาพที่ 8-6 ลกั ษณะดอกถว่ั เหลอื ง ท่ีมา: กรมวิชาการเกษตร (2552) 5. ฝกั ฝกั เกิดเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 2-10 ฝัก มขี นสีเทาหรอื สนี ้ําตาล ปกคลุมอยู่ทั่วไป ฝักมีความยาว 2- 7 เซนติเมตร แต่ละฝักมีเมล็ด 1-4 เมล็ด ถั่วเหลืองส่วนใหญ่จะมี 2-3เมล็ดต่อฝัก ฝักอ่อนจะมีสีเขียว ออ่ นถงึ สเี ขียวเขม้ เมือ่ ฝักแก่จะมีสีฝักเปล่ียนไป สีฝักท่ีพบ ได้แก่ สีน้ําตาลอ่อน สีน้ําตาล สีนํ้าตาลเข้ม สีเทา และสีดํา เม่ือถึงระยะเก็บเก่ียวถ่ัวเหลืองบางพันธุ์ฝักอาจแตกทําให้เมล็ดร่วงในแปลงผลผลิต เสียหาย การแตกของฝกั มีผลมาจากทง้ั พันธกุ รรมและสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอุณหภูมิและความชื้น (ภาพท่ี 8-7)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266